เรื่องที่ 5 หลักการและวธิ ีออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ
หลกั การออกกําลงั กายเพอื่ สุขภาพ คือ การออกกําลังกายชนิดท่ีเสริมสรางความ
ทนทานของปอด หัวใจ ระบบไหลเวียนเลอื ด รวมท้ังความแขง็ แรงของกลามเน้ือ ความออน
ตวั ของขอตอ ซ่งึ จะชว ยใหร างกายแขง็ แรงสมบูรณ สงา งามและการมสี ขุ ภาพจิตทด่ี ี ซ่ึงหลักการ
ออกกาํ ลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพมีดังนี้
1. การอบอุนรา งกายและผอ นคลาย
การออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพท่ีถูกวิธีทําไดโดยการฝกหัดบอย ๆ ดวยทาทาง
ทีถ่ กู ตอ ง กอ นจะฝก การเคล่ือนไหวรางกายสว นใดก็ตาม ตอ งมีการเตรียมความพรอมใหรางกาย
อบอนุ ทุกครง้ั เพอ่ื ปอ งกนั การบาดเจบ็ ของกลามเนือ้ ในการอบอนุ รา งกายและผอนคลาย
มีวิธีการที่สามารถทําไดคือ การวิ่งรอบสนาม การหมุนคอ หมนุ แขน หมุนสะเอว พับขา
หมนุ ขอเทา กระโดดตบมือ กม แตะสลับมอื วงิ่ อยกู บั ที่ นัง่ ยืน ฯลฯ
2. ระยะเวลาในการออกกาํ ลังกาย
ในการออกกําลงั กายอยางตอเนือ่ ง อยางนอ ยในแตละครงั้ 20 - 30 นาทตี อ วัน
3. จํานวนครั้งตอ สัปดาห
การออกกาํ ลังกายเพ่อื สขุ ภาพ ตองปฏิบัตอิ ยา งสมํ่าเสมอทุกวัน หรืออยางนอย
สัปดาหละ 3 คร้ัง และควรปฏิบัติในเวลาเดียวกัน จะชวยเพ่ิมสมรรถภาพในการทํางานของ
ระบบหวั ใจและปอด ทาํ ใหก ลามเนอื้ หัวใจและปอดแข็งแรง
4. ความหนกั ในการออกกําลงั กาย
ควรออกกําลงั กายใหหนกั ถึงรอยละ 70 ของอตั ราการเตน สงู สุดของหวั ใจ
แตล ะคน หรอื ออกกาํ ลงั กายใหเหง่อื ออก เหนื่อยพอประมาณท่ีจะสามารถพูดคุยขณะ
ออกกําลังกายได ไมควรออกกาํ ลังกายหกั โหมเกินไปเพราะจะเกิดอันตรายได
เรอ่ื งท่ี 6 กิจกรรมนนั ทนาการรปู แบบตา งๆ
กิจกรรมนันทนาการ คือการกระทํากิจกรรมใดๆที่บุคคลหรือกลุมบุคคลได
เลือกสรรเขารวมโดยความสมัครใจ ไมมีการบังคับใดๆ ท้ังโดยตรงและโดยออม การกระทํา
กิจกรรมนั้น จะตองกระทํา ในเวลาวางจากงานประจําหรือภารกิจประจําอื่นๆ โดยไมหวัง
ผลตอบแทนรางวัลใดๆ นอกจากความสนุกสนาน ความพึงพอใจ ความสุขท่ีไดรับโดยตรง
เทา นั้น
ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการมีหลายประเภท เพ่ือให
บุคคลเขา รวมทาํ กจิ กรรมไดตามความสนใจ ดังน้ี
1. การฝมือและศิลปหัตถกรรม (Arts and Crafts) เปนงานฝมือหรือ
ส่งิ ประดิษฐต าง ๆ เชน การวาดรูป งานแกะสลัก งานปน การประดิษฐดอกไม เย็บปกถักรอย
ทาํ ตุกตา ประดิษฐข า วของเครอ่ื งใช และงานศิลปะอน่ื ๆ
2. เกมส กีฬาและกรีฑา (Games , Sport and Track and Field’s) กิจกรรม
นนั ทนาการประเภทนเี้ ปน ทนี่ ิยมกนั อยา งแพรหลาย แบง ไดเปน 2 กลุมใหญ คือ กีฬากลางแจง
(Outdoor Games) ไดแก กีฬาท่ีตองใชสนามกลางแจง เชน ฟุตบอล บาสเก็ตบอลและ
กิจกรรมกลางแจงอ่ืน ๆ กีฬาในรม (Indoor Games) ไดแก กิจกรรมในโรงยิมเนเซียม หรือใน
หอ งนนั ทนาการ เชน แบดมินตัน เทเบลิ เทนนสิ หมากรกุ ฯลฯ
3. ดนตรีและรองเพลง (Music) เปนกิจกรรมนันทนาการท่ีใหความบันเทิง
ดนตรเี ปน ภาษาสากลทที่ ุกชาติทุกภาษาสามารถเขาใจเหมือนกัน แตละชาติแตละทองถ่ินจะมี
เพลงพนื้ บา นของตนเอง และเครื่องดนตรีพ้ืนบาน เราสามารถเลือกไดตามความสนใจไมวาจะ
เปนสากลหรือพนื้ บาน
4. ละครและภาพยนตร (Drama and Movies) เปนนันทนาการประเภท
ใหความรู ความบนั เทงิ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน และสะทอนใหเห็นถึงสภาพจริงของสังคม
ยคุ นนั้ ๆ
5. งานอดิเรก (Hobbies) เปนกิจกรรมนันทนาการที่ชวยใหการดําเนิน
ชีวิตประจําวัน มีความสุข เพลิดเพลิน งานอดิเรกมีหลายประเภท สามารถเลือกไดตาม
ความสนใจ เชน
5.1 ประเภทสะสม
5.2 การปลกู ตนไม
5.3 การเลี้ยงสตั ว
5.4 การถายรปู
6. กิจกรรมทางสังคม (Social activities) เปนกิจกรรมท่ีกลุมคนในสังคม
รวมจัดข้ึน โดยมีจุดมุงหมายเดียวกัน เชน การจัดเล้ียงปใหม งานเล้ียงวันเกิด การฉลองใน
โอกาสพเิ ศษตาง ๆ
7. เตนรํา ฟอนรํา (Dance) เปนกิจกรรมท่ีใชจังหวะตาง ๆ เปนกิจกรรม
ที่กอใหเกิดความสนกุ สนาน เชน เตน ราํ พ้ืนเมอื ง การรําไทย รําวง นาฏศิลป ลลี าศ
8. กิจกรรมกลางแจง (Outdoor Activities) เปนกิจกรรมนันทนาการนอก
สถานที่ ที่ใหโอกาสมนุษยไดเรียนรูธรรมชาติ ไดพักผอน เ ชน ก า ร อ ยูคา ย พัก แ ร ม
ไปทอ งเทย่ี วตามแหลงธรรมชาติ
9. ทัศนศึกษา (Field Trip) เพื่อศึกษาศิลปวัฒนธรรม ตามวัดวาอาราม
หรอื ศึกษาความกาวหนาในดานตาง ๆ ในนทิ รรศการหรอื งานแสดงตา ง ๆ
10. กิจกรรมพูด เขียน อาน ฟง (Speaking, Writing and Reading)
การพูด เขียน อานฟง ท่ีนบั วาเปนกิจกรรมนนั ทนาการ ไดแ ก
10.1 การพูด ไดแก การคยุ การโตว าที การปาฐกถา ฯ
10.2 การเขียน ไดแก การเขียนบันทึกเร่ืองราวประจํา วัน เขียนบทกวี
เขยี นเพลง เรอ่ื งสัน้ บทความ ฯ
10.3 การอาน ไดแก การอานหนังสือพิมพ อานหนงั สือทว่ั ๆ ไป ทใี่ ห
ทงั้ ความรแู ละความเพลดิ เพลิน
10.4 การฟง ไดแก การฟง วิทยุ ฟง อภปิ ราย โตวาที ทอลค โชว ฯ
11. กิจกรรมอาสาสมัคร (Voluntary Recreation) เปนกิจกรรมบําเพ็ญ
ประโยชนท่ีบุคคลเขารวมดวยความสมัครใจเปน กจิ กรรมจติ อาสา เชน กจิ กรรมอาสาพัฒนา
และกิจกรรมอาสาสมัครตา ง ๆ
กิจกรรมทา ยบทท่ี 3
ใหผ เู รียนอธิบายตามประเด็นดงั ตอไปนี้
1. ใหผูเรยี นสรปุ ความหมายของ “อาหาร” และ “สารอาหาร” มาพอสังเขป
2. จงอธบิ ายสารอาหารทจ่ี ําเปนตอ รางกาย ประกอบดว ยอะไรบาง จงอธิบาย
3. ผูเรยี นมีวิธกี ารเลือกบรโิ ภคอาหารตามหลกั โภชนาการอยา งไร
4. ถา ผเู รยี นตอ งการมสี ขุ ภาพแขง็ แรง ควรปฏิบตั ิตวั อยา งไร
5. การออกกําลงั กายมปี ระโยชนอยางไรบา ง
6. เหตุใดจงึ ตองมกี ารอบอนุ รา งกาย กอ นการเลน กีฬาทกุ ครงั้
7. ถา ผเู รยี นตอ งการทําใชเ วลาวางในการบาํ เพญ็ ประโยชน ควรเลอื กกจิ กรรม
นันทนาการแบบใด
บทท่ี 4
โรคติดตอ
สาระสําคัญ
มีความรูและความสามารถปฏิบัติตนในการปองกันโรคติดตอที่เปนปญหาตอ
สุขภาพของครอบครัว และชุมชน โดยการเผยแพรขาวสาร ขอมูล แนวทางการปองกันและ
วธิ ีการรักษาโรคอยา งถกู วธิ ี
ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั
1. บอกสาเหตขุ องการเกิดโรคติดตอได
2. อธบิ ายอาการเจบ็ ปวย การปองกนั และการรักษาโรคตดิ ตอ ได
ขอบขา ยเนอ้ื หา
เร่ืองที่ 1 โรคตดิ ตอ สาเหตุ อาการ การปองกนั และการรักษา
1. โรคไขหวดั ใหญ
2. โรคตาแดง
3. โรคผิวหนงั
4. โรคเลป็ โตสไปโรซีส (ฉ่หี น)ู
บทที่ 4
โรคติดตอ
โรคตดิ ตอ หมายถึง โรคทีเ่ กิดข้ึนกบั คนหรือสตั ว โดยเกิดจากเชอื้ โรคทเี่ ปน สิง่ มีชีวิต หรือพิษของ
เช้อื โรค และเม่อื เกดิ เปนโรคข้ึนแลวสามารถแพรกระจายจากคนหรือสัตวที่ปวยเปนโรคน้ันไปสู
คนหรือสัตวอ น่ื ไดโดยการแพรก ระจายของโรคนนั้ อาจเปน ไดท ั้งทางตรงและทางออ ม
ความสาํ คญั ของโรคติดตอ ที่สง ผลตอสุขภาพ
1. เม่ือเกดิ เจบ็ ปว ยดว ยโรคตดิ ตอจะทําใหส ขุ ภาพรางกายทรดุ โทรม สุขภาพจิต
เสียไป เกดิ ความเครียดและวติ กกังวล
2. ภายหลงั การเจ็บปว ยอาจมีผลตอสขุ ภาพในระยะยาว
3. ตอ งการระยะเวลาสําหรับการฟนฟสู ภาพรา งกายและจิตใจภายหลงั เจ็บปวย
ซง่ึ เปน ระยะทรี่ า งกายยงั ออนแอไมสมบูรณเ ต็มที่ การทาํ กจิ กรรมตาง ๆ ในการสง เสรมิ สุขภาพ
จงึ ยงั ทําไดไ มเ ตม็ ที่ดวย
องคป ระกอบของโรคมี 3 ประการ คอื
1. ส่ิงทที่ าํ ใหเ กดิ โรค คือ เช้อื โรคตา งๆ
2. มนุษย
3. ส่งิ แวดลอม ไดแก สภาวะทางอากาศ เศรษฐกจิ และสงั คม
เรอ่ื งที่ 1 โรคไขห วดั ใหญ
เปนโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสไขหวัดใหญ (Influenza virus) ซึ่งเชื้อ นี้
มีหลายชนิดมาก นอกจากคนแลวยังกอใหเกิดโรคในสัตวไดหลายชนิด เชน หมู นก มา
แตโดยท่ัวไปไวรัสของสัตวชนิดใดก็จะกอใหเกิดโรคเฉพาะสัตวชนิดนั้น เชน ไวรัสไขหวัดนก
H5N1 จะกอโรคในสัตวปกเปนหลักเน่ืองจากไวรัสน้ีมีการเปล่ียนแปลงทําใหมีการติดตอมายัง
มนษุ ยห รอื สัตวเลี้ยงลูกดว ยนมได และมีความรนุ แรงทาํ ใหเ สียชวี ิต
สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส ติดตอทางการหายใจ หรือสัมผัสน้ําลายและเสมหะของ
ผปู วยหรือสัตวท ปี่ ว ย
อาการของโรค โดยทั่วไปของโรคไขห วดั ใหญ คือ มีไข ไอ มีนํ้ามูก บางคนมีอาการ
เจบ็ คอ ปวดเม่ือยตามรางกาย คลื่นไส อาเจียน ทองเสีย อาการสวนใหญมักไมรุนแรง เปนอยู
ประมาณ 3 – 5 วัน ซ่ึงบางคร้ังจะคลายกับโรคไขหวัดธรรมดา แตทายที่สุดอาการก็จะหายไป
เองได
การปอ งกันโรคหวดั ใหญ มีขอ แนะนาํ ดังน้ี
1. การใหวัคซีนตามชนดิ ของเชือ้ โรค
2. ออกกําลังกายสม่าํ เสมอ พกั ผอ นใหเ พียงพอ รบั ประทานอาหารเพยี งพอตอ
ความตองการของรางกายและไดส ารอาหารครบ 5 หมู
3. หลกี เล่ียงการอยใู กลชิดหรือใชส ิ่งของเคร่อื งใชร ว มกับผูปวย และเมอื่ ไอจาม
ควรปดปาก ปดจมูก
4. หลีกเลี่ยงการอยูในท่ีแออัด อากาศระบายไมดี เพราะอาจมเี ชื้อไวรัสท่ี
ทําเปน สาเหตขุ องโรค
การรกั ษา
1. นอนหลับพกั ผอนใหม ากๆ หา มอาบนํา้ เย็น ใชผา ชุบนํา้ หมาดๆ เช็ดตวั เวลามีไข
สงู กนิ อาหารออ น ดม่ื นํ้ามากๆ
2. รบั ประทานพาราเซตามอล เพื่อแกปวดลดไข หรือยาปฏิชีวนะตามคําส่ังของ
แพทย
3. หากมอี าการหอบหรือ ปอดอกั เสบ ควรมาพบแพทยโ ดยดว น
เร่ืองที่ 2 โรคตาแดง
โ ร ค ต า แ ด ง เ ป น โ ร ค ต า ท่ี พ บ ไ ด บ อ ย เ ป น
การอกั เสบของเยื่อบตุ า (Conjuntiva) ทค่ี ลมุ หนังตาบน
และลาง รวมเยื่อบุตาที่คลุมตาขาวโรคตาแดงอาจจะ
เปนแบบเฉียบพลัน หรือแบบเร้ือรัง สาเหตุอาจจะเกิด
จากเช้ือแบคทีเรีย ไวรัส Chlamydia trachomatis
ภูมิแพ หรือสัมผัสสารที่เปนพิษตอตา สาเหตุสวนใหญ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียและเช้ือไวรัส มักจะติดตอทางมือผาเช็ดหนาหรือผาเช็ดตัว โดยมากจะ
เปนและหายไดภายในเวลา 2 สัปดาห ตาแดงจากโรคภูมิแพ มักจะเปนตาแดงเร้ือรัง มีการ
อักเสบของหนังตา ตาแหงการใช Contact lens หรือนํ้ายาลางตาก็เปนสาเหตุของตาแดง
เรอ้ื รงั
อาการของโรคตาแดง
1. คันตา เปนอาการที่สําคัญของผูปวยตาแดงที่เกิดจากภูมิแพ อาการคัน
อาจจะเปนมากหรือนอยคนท่ีเปนโรคตาแดงโดยที่ไมมีอาการคันไมใชเกิดจากโรคภูมิแพ
นอกจากน้นั อาจจะมีประวตั ิภมู ิแพในครอบครัว เชน หอบหดื ผ่นื แพ
2. ข้ีตา ลักษณะของขต้ี ากช็ ว ยบอกสาเหตุของโรคตาแดง
- ข้ตี าใสเหมือนนาํ้ ตามักจะเกดิ จากไวรัสหรือโรคภมู แิ พ
- ขต้ี าเปน เมือกขาวมกั จะเกิดจากภูมิแพห รือตาแหง
- ข้ีตาเปนหนองมักจะรวมกับมีสะเก็ดปดตาตอนเชา ทําใหเปดตาลําบาก
สาเหตุมกั จะเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
3. ตาแดงเปน ขา งหนึ่งหรือสองขา ง
- เปน พรอ มกนั สองขางโดยมากมักจะเกดิ จากภูมิแพ
- เปนขางหนึ่งกอนแลวคอยเปนสองขางสาเหตุเกิดจากการติดเชื้อ เชน
แบคทเี รียไวรสั หรอื Chlamydia
- ผทู ่มี ีโรคตาแดงขางเดียวแบบเรื้อรัง ชนดิ น้ีตองปรึกษาแพทย
4. อาการปวดตาหรือมองแสงจาไมได มักจะเกิดจากโรคชนิดอ่ืน เชน ตอ
หิน มานตาอักเสบ เปนตน ดังนั้นหากมีตาแดงรวมกับปวดตาหรือมองแสงไมได ตองรีบพบ
แพทย
5. ตามวั แมวากระพริบตาแลวก็ยังมัวอยูโรคตาแดงมักจะเห็นปกติหาก
มอี าการตามัวรวมกับตาแดงตอ งปรึกษาแพทย
6. ประวัติอื่น การเปนหวัด การใชยาหยอดตา นํ้าตาเทียม เคร่ืองสําอาง
โรคประจําตัวยาที่ใชอยูประจํา
การปองกนั โรคตาแดง
1. อยา ใชเ ครอ่ื งสาํ อางรว มกบั คนอนื่
2. อยาใชผ า เช็ดหนาหรือผาเช็ดตัวรว มกัน
3. ลางมือบอ ย ๆ อยา เอามือขยต้ี า
4. ใสแวน ตาปอ งกนั เมือ่ ตอ งทํางานเก่ยี วของกับฝนุ ละออง สารเคมี
5. อยา ใชย าหยอดตาของผอู ืน่
6. อยาวา ยนาํ้ ในสระทีไ่ มไดใ สคลอรีน
การรกั ษาตาแดงดวยตวั เอง
1. ประคบเยน็ วนั ละ 3-4 ครัง้ ครั้งละ 10-15 นาที
2. ลา งมอื บอย ๆ
3. อยาขย้ตี าเพราะจะทําใหตาระคายมากขนึ้
4. ใสแ วน กนั แดด หากมองแสงสวา งไมไ ด
5. อยาใส contact lens ในระยะที่ตาแดง ตาอกั เสบ
6. เปลย่ี นปลอกหมอนทุกวัน
เรื่องที่ 3 โรคผวิ หนัง
โรคผิวหนัง (Skin Disease) หมายถงึ โรคทที่ ําใหลักษณะของผิวหนังมีผื่น ตุม
วงดา งขาว หรอื เปนกอนตามรา งกาย สามารถมองเห็นไดชัดเจน อาจมอี าการคนั หรือปวด
รวมดวย
สาเหตุ มกั พบมสี าเหตมุ าจากปจ จัยหลายประเภท ไดแ ก
1. ความผดิ ปกตขิ องฮอรโมน การอุดตันหรืออักเสบติดเช้ือของรุขุมขน
ไดแก สิว
2. โรคผิวหนังท่ีเกิดจากการใชยา เครอื่ งสําอาง รงั สี และแสงแดด ไดแ ก
กระ ฝา
3. โรคผิวหนงั ทเ่ี กิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ไดแ ก ฝ
4. โรคผวิ หนงั ทีเ่ กิดจากการติดเชือ้ แบคทีเรยี ไดแ ก เอดส เรมิ งูสวดั อีสุกอใี ส
หัดเยอรมัน หดู
5. โรคผวิ หนังท่ีเกิดจากการตดิ เชอ้ื รา เชน กลาก เกลือ้ น เช้ือราที่เลบ็ รงั แค
6. โรคผิวหนังท่ีเกดิ จากอาการแพห รือภูมแิ พ ไดแ ก ผื่นจากอาการแพข นสตั ว
ผ่นื จากอาการแพย า ผื่นจากอาการแพอาหาร
7. โรคผวิ หนังที่เกิดจากการแพสารอาหาร ไดแก โรคผิวขาดวติ ามนิ
8. โรคผวิ หนังทเ่ี กิดจากพันธุกรรม หรือความผิดปกติขณะตัง้ ครรภ ไดแ ก ไฝ
ปาน
9. โรคผวิ หนงั ท่ีเกดิ จากความผิดปกติของผิดหนังหรือเกิดจากหลายสาเหตุ
ไดแ ก โรคสะเก็ดเงิน ตาปลา
อาการของโรคผวิ หนงั
อาการของโรคผวิ หนังจะมีความรุนแรงมากนอ ยเพยี งใด ข้ึนอยูกบั ชนดิ และ
สาเหตุทีท่ ําใหเ กดิ โรค แตโ ดยทว่ั ไปมักพบมอี าการเปน ผืน่ แดง เปนจุด หรอื เปนวง เปนแผน
เปน ตุม นนู และเปนแผล โดยมากมักพบอาการแสบคนั และเจบ็ บริเวณที่เปน
การปอ งกนั
1. หลกี เลย่ี งจากแสงแดดตดิ ตอ กันเปน ระยะเวลานาน
2. กินอาหารทีม่ ีประโยชน 5 หมู ไดครบถวนทกุ วัน
3. ดแู ลรักษาความสะอาดของผวิ หนงั อยูเสมอ
4. สังเกตและหลีกเลีย่ งสารตา งๆ ทีก่ อ การระคายเคือง หรอื กออาการแพต อ
ผิวหนงั
การรกั ษา
การรักษาโรคผิวหนังขึ้นอยกู ับสาเหตุ อาทิ การทาหรือรับประทานยาปฏิชีวนะ
เมื่อติดเชื้อ การรักษาความสะอาดของผิวหนังเม่ือเกิดจากสิว และการรักษาดวยการผาตัด
เมอื่ เกิดมะเร็ง
เรอื่ งท่ี 4 โรคเลป็ โตสไปโรซสิ (ฉหี่ น)ู
เกดิ จากเช้ือกลุม Leptospira มักพบการระบาดในหนาฝน หรือชวงที่มีนํ้าทวมขัง
สัตวที่แพรเชื้อโรคน้ีไดแก สัตวฟนแทะ เชน หนู โดยที่ตัวมันไมเปนโรค สัตวพวกนี้เก็บเช้ือไว
ทไ่ี ต ดงั น้ันเมือ่ ฉอ่ี อกมาจะมีเชือ้ นปี้ นอยดู ว ย จึงเปน ท่ีมาของคําวาโรคฉ่ีหนู นอกจากหนูแลวยัง
พบไดใน สนุ ขั ววั ควาย เชอ้ื โรคนีส้ ามารถเขาสูรา งกายได 2 ทาง คือ
1. ทางตรง โดยการสัมผสั สตั วท มี่ เี ช้ืออยู หรือโดนสตั วท่ีมีเชอื้ กดั
2. ทางออ ม เชน
- เช้ือจากฉ่ีหนูปนอยูใ นนา้ํ หรือดินแลว เขา สคู นทางบาดแผล
- มือสมั ผสั เชื้อท่ปี นอยูใ นนํา้ หรือดินแลว เอาเชอื้ ทางเยื่อบุใน
ปาก ตา จมกู
- กนิ นํา้ หรอื อาหารที่ปนเปอ นเชือ้ โรคเขาไป
กลมุ เสยี่ งตอ การเกดิ โรค
1. เกษตรกร ชาวไร ชาวนา ชาวสวน
2. คนงานในฟารม เล้ยี งสัตว โค สุกร ปลา ฯลฯ
3. กรรมกรขดุ ทอระบายน้ํา เหมืองแร โรงฆาสัตว
4. กลุมอื่นๆ เชน แพทย เจาหนาท่ีหองทดลอง ทหารตํารวจท่ีปฏิบัติงานตาม
ปา เขา
5. กลมุ ประชาชนทัว่ ไป ท่อี ยใู นแหลงทม่ี ีนา้ํ ทว มขัง หรอื มีหนอู าศัยอยู
อาการของโรค
อาการของโรคแบง ออกเปนกลุมใหญ ๆ ได 2 กลมุ ไดแก
1. กลุมท่ีไมมีอาการตัวเหลืองตาเหลือง หรือกลุมท่ีอาการไมรุนแรง กลุมนี้
อาการไมร นุ แรง หลังจากไดรับเช้ือ 10-26 วัน โดยเฉล่ีย 10 วัน ผูปวยก็จะเกิดอาการของโรค
ไดแกปวดเมื่อยกลามเน้ืออยางรุนแรง อาจจะมีอาการคลื่นไสอาเจียน และมีไขขึ้นสูงดวย
บางรายอาจเกิดการเบ่ืออาหาร ทองเสีย ปวดทอง ตาแดง เจ็บตา เกิดผื่นข้ึนตามตัว หรือมีจ้ํา
เลือดตามผิวหนงั ระยะการสรางภูมิ ระยะน้ีถาเจาะเลือดจะพบภูมิตานทานโรค ผูปวยจะมีไข
ขึ้นใหม ปวดศีรษะ คอแขง็ มีการอักเสบของเยอ่ื หุม สมอง และตรวจพบ เช้ือโรคในปส สาวะ
2. กลุมท่ีมีอาการตัวเหลืองตาเหลือง กลุมน้ีไขจะไมหายแตจะเปนมากขึ้นโดย
พบมีอาการตัวเหลอื งตาเหลอื ง มผี น่ื ที่เพดานปาก มีจุดเลอื ดออกตามผวิ หนัง ตบั และไตอาจวาย
ได ดซี า น เยื่อหมุ สมองอักเสบ กลา มเน้ืออกั เสบ อาจจะมีอาการไอเปนเลือด อาการเหลือง จะ
ปรากฏหลังจากไดร ับเช้อื โรคนานเกนิ 4 วัน ผูป วยอาจจะเสยี ชีวิตในระยะน้ีหรือในตนสัปดาหที่
สามจากไตวาย
การปอ งกนั โรคฉี่หนู มีขอแนะนาํ ดงั น้ี
1. กําจดั หนแู ละปรบั ปรงุ สง่ิ แวดลอมใหส ะอาดถูกสุขลักษณะ เพื่อไมใหเปนแหลง
เพาะพันธขุ องหนู
2. หลกี เล่ียงการลงไปอาบแชใ นแหลงน้ําที่ววั หรอื ควายลงไปกนิ น้าํ แชน้าํ
3. หลีกเล่ียงการแชน้ํา ยํ่าโคลนดวยเทาเปลา โดยเฉพาะอยางย่ิงเมื่อมีบาดแผล
ท่ีขา เทา หรอื ตามรางกาย
4. หลีกเล่ียงการเดนิ เทาเปลาในทุง นา ในคอกสตั ว
5. สวมเคร่อื งปอ งกนั ตนเองดวยการสวมถุงมอื ยาง รอ งเทา บูทยาง และสวมเส้อื ผา
ท่ีมิดชดิ เมื่อตองทาํ งานในไรน าหรือทีเ่ ปย กชนื้ แฉะ
6. อาบนํ้าชาํ ระลา งรางกายดว ยนาํ้ สะอาดและสบูท ันที หลงั การลุยนาํ้ ย่ําโคลน
หรอื กลบั จากทุง นา
7. ไมชําแหละสัตวโ ดยไมส วมถงุ มือ
8. ไมกนิ เนอ้ื สตั ว เครอ่ื งในสัตวท่ไี มไดทําใหสุกหรือผกั สดจากทองนาท่ีไมไดลางให
สะอาด หลีกเล่ียงการอม กลนื นํ้า หรือลมื ตาในนํา้ ที่ไมสะอาด
9. หลีกเล่ียงการดื่มน้ํา หรือรับประทานอาหารจากภาชนะท่ีเปดฝาท้ิงไว
เพราะอาจมหี นูมาฉีร่ ดไว
การรกั ษา
โรคน้ีรักษาไดดวยยาปฏิชีวนะ เชน เพนนิซิลิน (penicillin) เตตราซัยคลิน
(tetracycline) สเตร็ปโตมัยซิน (streptomycin) หรือ อิริทรอมัยซิน (erythromycin)
ควรไดรับยาภายใน 4-7 หลังเกิดอาการ และควรไดร บั นํา้ และเกลอื แรอยางเพยี งพอ
กิจกรรมทา ยบทท่ี 4
ใหผเู รยี นอธิบายตามประเด็นดงั ตอ ไปน้ี
1. จงบอกสาเหตุของการเกิดโรคติดตอ มาพอสังเขป
2. จงบอกวิธกี ารปองกนั โรคไขหวัดใหญ มาพอสงั เขป
เรอื่ งที่ 5
ยาสามญั ประจําบาน
สาระสาํ คญั
ยาสามัญประจําบาน เปนยาที่ประชาชนทุกคนควรจะมีไวใชในครอบครัว
เพ่ือใชสําหรับบรรเทาอาการเจ็บปวยเบื้องตนของสมาชิกในครอบครัว เวลาที่เกิดอาการ
เจ็บปวย หลงั จากน้ันจึงนาํ สงสถานพยาบาลตอไป
ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั
1. อธบิ ายหลกั การใชยาสามัญประจาํ บานไดถกู ตอ ง
2. บอกอันตรายจากการใชยาและความเช่ือทผี่ ดิ เกย่ี วกับการใชยาได
ขอบขายเนือ้ หา
เรื่องที่ 1 หลักการและวิธกี ารใชย าสามัญประจําบาน
เร่ืองที่ 2 อันตรายจากการใชยาทีผ่ ิด
บทที่ 5
ยาสามญั ประจําบา น
ยาสามัญประจาํ บา นเปน ยาแผนปจ จุบนั และแผนโบราณทีป่ ระชาชนท่วั ไปสามารถ
หาซอ้ื และจาํ หนา ยไดโ ดยไมต องมใี บอนุญาตจากแพทย และใชรกั ษาอาการเจ็บปวยเล็กๆนอยๆ
เชน ไอ ปวดหัว ปวดทอง ของมีคมบาด และแผลพุพอง ซึ่งองคการเภสัชกรรม กระทรวง
สาธารณสุขไดผลิตยาตาง ๆ ท่ีมีคุณภาพดี ราคาถูก และไดมาตรฐานสําหรับจําหนายใหแก
ประชาชนท่วั ไปหากใชแลวอาการไมด ีขึน้ ควรไปปรึกษาแพทยเพอ่ื รบั การรกั ษาตอ ไป
ตัวอยา งยาสามัญประจําบาน ควรมีไวไ ดแก
1. ยาแกปวดแกไข
2. ยาแกแพ
3. ยาถา ย หรอื ยาระบาย
4. ยาสําหรับกระเพาะอาหารและลําไส
- ยาลดกรด
- ยาธาตนุ ํ้าแดง
- ผงนาํ้ ตาลเกลอื แร
- ทงิ เจอรมหาหงิ คุ
5. ยาสาํ หรบั สูดดมและแกลมวงิ เวยี น
6. ยาแกไอ แกเจ็บคอ
7. ยาสาํ หรบั โรคผิวหนัง
8. ยารกั ษาแผล
- ยาใสแ ผลสด
- แอลกอฮอลเ ชด็ แผล
เรอ่ื งที่ 1 หลกั การและวธิ กี ารใชยาสามัญประจําบา น
หลกั และวิธกี ารใชย า
ยารกั ษาโรคน้ันมีทั้งคุณและโทษ เพื่อใหเกิดความปลอดภัย ควรคํานึงหลักการ
ใชย าดงั นี้
1. ใชย าตามคําสงั่ แพทย เทาน้นั เพื่อจะไดใ ชย าถูกตอ งตรงกับโรค ไมควรใชยา
ตามคาํ โฆษณา เพราะการโฆษณาน้ันอาจแจง สรรพคุณยาเกนิ ความจรงิ
2. ใชย าใหถูกวิธี เพราะการจะนํายาเขาสูรางกายมีหลายวิธี เชน การกิน การ
ฉีด การทา การหยอด การเหนบ็ เปนตน การจะใชวิธีใดก็ข้ึนอยูกับคุณสมบัติของตัวยาน้ัน ๆ
ดงั นั้นกอ นใชย า จึงจําเปน ตอ งอา นฉลาก ศกึ ษาวิธกี ารใชใหล ะเอียดกอ นใชท กุ คร้ัง
3. ใชยาใหถูกขนาด ใชใหถูกขนาดตามที่แพทยส่ัง คือไมมากหรือนอยเกินไป
จึงจะใหผ ลดใี นการรักษา เชน ใหกินคร้ังละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก็ไมควรกิน 2 เม็ด หรือเพ่ิม
เปน วนั ละ 4 - 5 คร้งั เปนตน และการใชยาในแตละคนก็แตกตางกันโดยเฉพาะเด็กจะมีขนาด
การใชท ีแ่ ตกตางจากผูใหญ
4. ใชยาใหถูกเวลา คือ ชวงเวลาในการรับประทานยาหรือการนํายาเขาสู
รา งกายดวยวิธตี าง ๆ เชน หยอด เหนบ็ ทา ฉีด เปน ตน เพ่ือใหปริมาณของยาในกระแสเลือดมี
มากพอในการบาํ บัดรกั ษาโดยไมเกิดพษิ และไมนอยเกินไปจนสามารถรักษาโรคได ซ่ึงการใชยา
ใหถ กู เวลาควรปฏบิ ตั ดิ ังนี้
4.1 การรับประทานยากอนอาหาร ควรรับประทานกอ นอาหารอยางนอย
½ - 1 ชว่ั โมง เพื่อใหย าถูกดดู ซึมไดดีถา ลมื กนิ ยาในชวงใดกใ็ หกนิ หลังอาหารม้อื น้ันผานไปแลว
อยา งนอ ย 2 ช่ัวโมง
4.2 การรบั ประทานยาหลังอาหาร ควรรับประทานหลังอาหารทันที หรือ
หลงั จากกนิ อาหารแลวอยา งนอ ย 15 นาที เพ่ือใหยาถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือดรวมกับอาหาร
ในลาํ ไสเล็ก
4.3 การรบั ประทานยากอ นนอน ควรรบั ประทานยานน้ั หลงั จากกินอาหาร
มอื้ เย็นเสรจ็ แลว ไมตา่ํ กวา 4 ชว่ั โมง กอนเขานอน
5. ใชย าใหถ ูกมาตรฐาน ตอ งใชย าทมี่ ตี ัวยาครบทั้งชนดิ และปริมาณไมใชยา
ที่เสอื่ มคุณภาพหรือหมดอายุ สามารถดูไดจากวัน, เดือน, ป ท่ีระบุไววาผลิต เม่ือใด หมดอายุ
เม่ือใด เปน ตน
6. ใชย าใหถ ูกกบั คน ตอ งอานใหละเอียดกอนใชยาวา ยาชนิดใดใชกับใคร เพศ
และอายุ
7. ใชยาใหถูกกับโรค คือ ใชยาใหตรงกับโรคที่เปน การจะเลือกใชยาตัวใด
ในการรกั ษาน้นั ควรใหแ พทย หรือเภสัชกรผูร ูเปนคนจัดให
8. การใชยาที่ใชภายนอก ยาท่ีใชภายนอก ไดแก ข้ีผ้ึง ครีม ยาผง ยาเหน็บ
ยาหยอดโดยมีวธิ กี ารดังน้ี
8.1 ยาใชทา ใหทาเพียงบางๆ เฉพาะบริเวณที่เปนโรค หรือบริเวณที่มี
อาการ
8.2 ยาใชถูนวด ใหทาและถบู ริเวณท่ีมีอาการเบา ๆ
8.3 ยาใชโรย กอนที่จะโรยยาควรทําความสะอาดแผลและเช็ดบริเวณ
โดยรอบดว ยแอลกอฮอลหรือยาฆา เชือ้ ทจ่ี ะทําใหแ หง เสียกอน ไมควรโรยยาท่ีแผลสด หรือแผล
ที่มนี ํ้าเหลืองเพราะผงยาจะเกาะกนั แข็งปด แผล อาจเปน แหลงสะสมเชือ้ โรคภายในแผลได
8.4 ยาใชห ยด จะมีประเภทยาหยอดตา หยอดหู หยอดหรือพน จมูก โดยยา
หยอดตาใหใชหลอดหยอดยาท่ีใหมา โดยเฉพาะเวลาหยอดจะตองไมใหหลอดสัมผัสกับตา
ใหหยอดบรเิ วณกลางหรอื หางตาตามจํานวนที่กําหนดไวในฉลากหรือตามที่แพทยสั่ง ยาหยอด
ยาเมื่อเปดใชแ ลว ไมควรเก็บไวใ ชนานเกิน 1 เดือน และไมใ ชย ารว มกันหลายคน
9. การใชยาท่ีใชภายนอกและยาท่ีใชภายใน คือ ยาท่ีใชรับประทาน ไดแก
ยาเม็ด ยาผง ยานาํ้ โดยมีวิธีการใชดังนี้
9.1 ยาเม็ด ที่ใหเค้ียวกอนรับประทาน ไดแก ยาลดกรดชนิดเม็ด ยาที่หาม
เคี้ยว ใหกลืนลงไปเลย ไดแก ยาชนิดที่เคลือบนํ้าตาล และชนิดท่ีเคลือบฟลมบางๆ จับดูจะรูสึก
ลืน่
9.2 ยาแคปซูล เปนยาที่หามเคี้ยวใหกลืนลงไปเลย ทั้งชนิดออน และชนิด
แขง็ ซึง่ ชนิดแขง็ จะประกอบดว ยปลอก 2 ขางสวมกัน
9.3 ยาผง มีอยหู ลายชนดิ และใชแ ตกตา งกนั เชน ตวงใสชอนรบั ประทาน
แลว ด่มื นาํ้ ตามหรือชนิดตวงมาละลายนํ้ากอ น และยาผงทตี่ อ งละลายนาํ้ ในขวดใหไ ดปรมิ าตร
ทก่ี าํ หนดไวกอ นท่ีจะใชรับประทาน นา้ํ ท่ีนาํ มาใชล ะลายยาตองเปนน้าํ ด่มื ท่ีตมสุกท้งิ ใหเ ย็นแลว
และควรใชยาใหหมดภายใน 7 วันหลงั จากผสมนํ้าแลว
10. ใชยาตามคําแนะนําในฉลาก ปกติยาทุกชนิดจะมีฉลากยากํากับไว
เพ่ือบอกถึงช่อื ยา วิธีการใช และรายละเอียดอ่ืน ๆ ซึ่งเราจําเปนตองอานใหเขาใจโดยละเอียด
กอ นใช วา เปน ยาประเภทใดจะไดป ฏิบตั ิตามใหถูกตอ งตามท่ฉี ลากยาแนะนําเอาไว
ลักษณะยา
ยามีหลายประเภท มีท้งั ยากิน ยาทา ยาอมในแตละประเภทมอี กี หลายชนดิ
ซง่ึ มีวธิ กี ารและขอควรระวงั แตกตางกนั จึงจาํ เปน ตองเรยี นรูถงึ ลักษณะและประเภทของยา
การจําแนกประเภทของยา
ตามพระราชบัญญัติยา ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2522 ไดใหความหมายวา ยา หมายถึง
สารที่ใชใ นการวิเคราะห บาํ บัดรกั ษา ปอ งกันโรคหรอื ความเจ็บปวยของมนุษยและสัตว รวมทั้ง
ใชในการบํารุงและเสรมิ สรางสขุ ภาพรางกายและจติ ใจดวย สามารถจําแนกได เปน 6 ประเภท
ดงั น้ี
1. ยาแผนปจ จบุ นั หมายถึง ยาทีใ่ ชรกั ษาโรคแผนปจจุบันทั้งในคนและสัตว เชน
ยาลดไข ยาปฏชิ วี นะ ยาแกป วด ยาแกแ พ เปนตน
2. ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาท่ีใชรักษาโรคแผนโบราณท้ังในคนและสัตวยา
ชนดิ นีจ้ ะตอ งข้ึนทะเบียนเปน ตํารบั ยาแผนโบราณอยางถูกตอ ง เชน ยามหานลิ แทง ทอง
ยาธาตบุ รรจบ ยาเทพมงคล ยาเขียวยาหอม เปนตน
3. ยาอันตราย หมายถึง ยาท่ีตองควบคุมการใชเปนพิเศษ เพราะหากใชยา
ประเภทน้ี ไมถูกตองอาจมีอันตรายถึงแกชีวิตได เชน ยาปฏิชีวนะชนิดตางๆ ยาจําพวก
แกค ล่นื เหยี นอาเจยี น เปนตน
4. ยาสามัญประจําบาน หมายถึง ยาท้ังที่เปนแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ซ่ึงกําหนดไวในพระราชบัญญัติยาวาเปนยาสามัญประจําบาน เชน ยาธาตุน้ําแดง ยาขับลม
ยาเมด็ ซัลฟากวั นดิ ีน ยาระบายแมกนเี ซยี ดีเกลอื ยาเมด็ พาราเซตามอล เปน ตน
5. ยาสมุนไพร หมายถึง ยาท่ีไดจากพืช สัตว หรือแร ซ่ึงยังไมไดนํามาผสมหรือ
เปลี่ยนสภาพ เชน วานหางจระเข กระเทียม มะขาม มะเกลือ นอแรด เขี้ยวเสือ ดีงูเหลือม
ดีเกลอื สารสม จนุ สี เปนตน
6. ยาควบคุมพิเศษ ไดแก ยาแผนปจจุบัน หรือยาแผนโบราณท่ีรัฐมนตรี
ประกาศเปน ยาควบคุมพเิ ศษ เชน ยาระงับประสาทตาง ๆ
รูปแบบของยา
ยาท่ีผลิตในปจจุบันมีหลายรูปแบบ เพ่ือสะดวกแกการใชยาและใหมี
ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ไดแ ก
1. ยาเมด็ มที ้งั ยาเมด็ ธรรมดา เชน พาราเซตามอล เม็ดเคลือบฟลม เชน ยาแก
ไอ ยาเม็ดเคลือบน้ําตาล เชน ไวตามิน เม็ดเคลือบพิเศษ เพ่ือใหยาแตกตัวที่ลําไส เชน ยาวัณ
โรค ยาแกป วด
2. ยาแคปซูล แคปซูลชนดิ แขง็ ไดแ ก ยาปฏิชวี นะตา ง ๆ แคปซูลชนิดออนไดแก
นํ้ามันตับปลา วิตามินอี ปลอกหุมของยานี้จะละลายในกระเพาะอาหาร เพราะมีรสขมหรือมี
กล่นิ แรง
3. ยานา้ํ มหี ลายชนดิ เชน ยาแกไ อนํา้ เชื่อม ยาแกไ ขห วดั เด็ก
4. ยาฉีด ทําเปนหลอดเล็ก ๆ และเปน ขวด รวมทั้งนาํ้ เกลอื ดว ย
นอกจากนี้ยังมียาขี้ผ้ึงทาผิวหนัง บดผง ยาเหนบ็ ยาหยอดตา ยา
หยอดหู ยาหยอดจมูก ยาอม รูปแบบของยาข้นึ อยูกับจดุ มงุ หมายผูใช
การเก็บรกั ษา
วิธีการเก็บรักษายาที่ถูกตองดวย เพ่ือใหยามีคุณภาพในการรักษา ไมเส่ือม
คณุ ภาพเรว็ มวี ิธกี ารเกบ็ รักษา ดังนี้
1. ตูย าควรตง้ั ใหพ น จากมอื เดก็ โดยอยูในระดับทีเ่ ดก็ ไมส ามารถหยบิ ถึง
เพราะจะกอใหเกิดอนั ตรายได
2. ไมตัง้ ตยู าในทช่ี ้นื ควรต้ังอยูในที่ที่อากาศถายเทไดสะดวก และควรเก็บยาให
หา งจากหอ งครวั หอ งนาํ้ และตนไม
3. ควรจัดตูยาใหเ ปน ระเบยี บ โดยแยกประเภทของยา เชน ยาใชภายนอกยาใช
ภายใน และเวชภัณฑ เพ่อื ปองกันอันตรายจากการหยิบยาผิด
4. ตูยาควรต้ังอยูในท่ีที่แสงแดดสงเขาไปไมถึง เพราะยาบางชนิดหากถูก
แสงแดด จะเส่ือมคุณภาพจึงตองเก็บในขวดทึบแสงมักเปนขวดสีชา เชน ยาหยอดตา
ยาวติ ามิน ยาปฏิชีวนะ
การสงั เกตยาทเี่ สอ่ื มสภาพ
ยาเสือ่ มสภาพ หมายถึง ยาท่ีหมดอายุ ไมมีผลทางการรักษาและอาจกอใหเกิด
ปญหาตอ สขุ ภาพได กอ นการใชย าและเวชภณั ฑทุกชนิด จะตองสังเกตลักษณะของยา วามีการ
เส่ือมสภาพหรือไม โดยมีขอสังเกตดงั ตอ ไปน้ี
1. ยาเม็ดธรรมดา เปนยาท่ีจะเกิดการเปลี่ยนสภาพไดงายเม่ือถูกความชื้นของ
อากาศ ทกุ ครั้งทเ่ี ปด ขวดใชยาแลวควรปดฝาขวดใหแนน ถาพบวายามีกล่ินผิดไปจากเดิม เม็ด
ยามีผลกึ เกาะอยู แสดงวา ยาเสอื่ มสภาพไมค วรนํามาใช
2. ยาเม็ดชนิดเคลือบน้ําตาล จะเปลี่ยนแปลงงายถาถูกความรอนหรือความชื้น
จะทําใหเม็ดยาเย้ิมสีละลาย ซีดและดางไมเสมอกัน หรือบางคร้ังเกิดการแตกรอนได ถาพบ
สภาพยาดังกลา วกไ็ มควรนํามาใช
3. ยาแคปซูล ยาชนิดแคปซูลที่เสื่อมสภาพสามารถสังเกตไดจากการที่
แคปซูลจะพองหรอื แยกออกจากกัน และยาภายในแคปซลู กจ็ ะมีสีเปลี่ยนไป ไมค วรนํามาใช
4. ยาฉีด ยาฉีดท่ีเส่ือมสภาพจะสังเกตไดงายโดยดูจากยาท่ีบรรจุในขวดหรือ
หลอด ยาฉีดชนิดเปนผง ถามลี กั ษณะตอ ไปนี้แสดงวาเส่อื มสภาพ
- สีของยาเปลย่ี นไป
- ผงยาเกาะติดผนงั หลอดแกว
- ผงยาเกาะตวั และตอ งใชเวลาทําละลายนานผิดปกติ
- เมือ่ ดูดยาเขาหลอดฉดี ยาทาํ ใหเขม็ อุดตนั
5. ยานาํ้ ใส ลกั ษณะของยานาํ้ ใสทเ่ี สือ่ มสภาพสังเกตไดงายดงั น้ี
- สีของยาเปลีย่ นไปจากเดิม
- ยาขุนผดิ ปกตแิ ละอาจมกี ารตกตะกอนดว ย
- ยามกี ลน่ิ บดู เปรย้ี ว
6. ยานาํ้ แขวนตะกอน ลักษณะของยาน้าํ แขวนตะกอนท่ีเส่ือมสภาพ
จะสังเกตพบลกั ษณะดงั นี้
- มสี ี กลน่ิ และรสเปล่ยี นไปจากเดิม
- เมือ่ เขยา ขวดแลวตัวยาไมเ ปนเน้อื เดียวกัน หรอื ยามตี ะกอนแข็งเขยาไมแ ตก
7. ยาเหนบ็ ลักษณะของยาเหนบ็ ท่ีเส่อื มสภาพและไมควรใชมดี ังนี้
- เม็ดยาผดิ ลกั ษณะจากรปู เดมิ จนเหนบ็ ไมได
- ยาเหลวละลายจนไมสามารถใชไ ด
8. ยาขผ้ี ึ้ง เมื่อเสือ่ มสภาพจะมลี กั ษณะทีส่ งั เกตไดง ายดังน้ี
- มกี ารแยกตัวของเนือ้ ยา
- เนื้อยาแขง็ ผดิ ปกติ
- สขี องขี้ผึง้ เปล่ยี นไปและอาจมจี ุดดางดําเกดิ ขึน้ ในเนื้อยา
เร่อื งท่ี 2 อนั ตรายจากการใชยาทผี่ ิด
อนั ตรายทเ่ี กดิ จากการใชย า มีดงั น้ี
1. การใชยาเกินขนาด เกิดจากการรับประทานยาชนิดเดียวกันในปริมาณ
มากกวาทแี่ พทยก าํ หนด ซ่ึงกอใหเ กิดอนั ตรายตอ รา งกายจนถงึ ข้นั เสียชีวติ ได
2. การใชยาเส่ือมคุณภาพ เชน การรับประทานยาหมดอายุ ทําใหรักษา
ไมหาย และอาจอาการทรุดหนักเปนอันตรายตอ ชีวิต
3. การใชย าตดิ ตอ กนั เปนเวลานาน ทําใหเ ปนพษิ ตอระบบตาง ๆ ของรา งกาย
และเกิดการติดยา เชน การรบั ประทานยาแกปวดบางชนดิ เปน เวลานาน
4. การใชยาจนเกิดการดื้อยา เกิดจากการรับประทานยาไมครบจํานวน หรือ
ระยะเวลาตามแพทยสั่ง หรือยังไมทันจะหายจากโรค ผูปวยก็เลิกใชยาชนิดน้ัน เช้ือโรคใน
รา งกายถูกทําลายไมหมด ทาํ ใหการรกั ษาไมไ ดผล
5. การใชยา โดยไมทราบถึงผลขางเคียงของยาบางชนิด มีผลขางเคียงที่มี
ตอรางกาย เชน ยาแกหวัด ชวยลดนํ้ามูกและลดอาการแพตางๆ แตมีผลขางเคียงทําใหผูใช
รูสึกงวงนอนซึมเซา ถาผูใชไมทราบ และไปทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร หรือขับขี่ยานพาหนะ
ก็จะกอ ใหเ กิดอบุ ตั ิเหตุไดงาย
ขอแนะนาํ การใชย า
1. ควรใชย าที่รูจ ักคุณและโทษเปนอยางดีแลว
2. เลือกใชยาเปนตัว ๆตามอาการและสาเหตขุ องโรค
3. ควรกินยาใหไดขนาด (เทยี บตามอาย)ุ และเมือ่ อาการดีข้ึนแลวก็ตอ งกินให
ครบตามกาํ หนดระยะเวลาของยาแตละชนดิ โดยเฉพาะกลุม ยาปฏชิ ีวนะ
4. เม่ือกินยาหรือใชย าแลวอาการไมด ีข้ึน รบี ไปพบแพทยโดยเรว็
5. เมอื่ กินยาหรอื ใชยาแลว เกดิ อาการแพ (เชน มลี มพิษผืน่ แดง ผื่นคนั หนงั ตา
บวม หายใจหอบแนน ) ควรหยุดยาและปรึกษาแพทยโ ดยเฉพาะผทู มี่ ปี ระวัติแพย า ควรแจงกอน
เขารับการรักษา
6. ควรซื้อยาจากรา นขายยาที่มเี ภสัชกรใหค ําแนะนํา
7. เวลาซ้ือยาควรบอกชื่อยาท่ีตอ งการเปนตวั ๆ โดยเฉพาะยากลุมสเตยี รอยด
(เพรด็ นิโซโลน เดกซาเมโซน) และยาปฏชิ ีวนะบางชนิดอาจปนอันตรายได
8. เด็กเลก็ หญงิ ตั้งครรภและหญงิ ท่ีเล้ยี งลูกดวยนมตัวเอง ควรเลือกใชยาที่ไมม ี
อนั ตรายตอ เดก็ หรอื ทารกในทอ ง และปรึกษาแพทยหรือเภสชั กรทุกครงั้
ยาทหี่ ญิงต้ังครรภไ มค วรใช เชน
1. เหลา
2. บุหรี่
3. ยาเสพตดิ (เชน ฝน เฮโรอีน ฯลฯ)
4. ยานอนหลบั
5. แอสไพรนิ
6. ฮอรโ มนเพศ (เชน เอสโตรเจน โปรเจสเตอรโรน,แอนโดรเจน ฯลฯ)
7. สเตียรอยด (เชน เพร็ดนิโซโลน เดกซาเมธาโซน ฯลฯ)
8. ซัลฟา
9. เตตราไซคลนี
10. ไดแลนตนิ (ใชรกั ษาโรคลมชัก)
11. ยาแกคลื่นไสอาเจยี น (ถา จําเปนใหใชวติ ามนิ บี 6 )
12. ยาขบั เลอื ดพวกเออรก อต
ยาที่หญงิ เลี้ยงลกู ดว ยนมตัวเองไมค วรใช เชน
1. ยารกั ษาโรคคอพอกเปนพษิ
2. ยาขบั เลอื ดพวกเออรก อต
3. แอสไพริน
4. ยานอนหลบั และยากลอ มประสาท
5. ซลั ฟา
6. เตตราไซคลนี
7. ยาระบาย
8. ยาคุมกาํ เนิด
9. รเี ซอรพนี (ใชร ักษาความดันเลอื ดสงู )
ยาทท่ี ารกไมค วรใช เชน
1. เตตราไซคลนี
2. คลอแรมเฟนิคอล
3. ซลั ฟา
4. แอสไพรนิ
5. ยาแกหวดั แกแพ (ในชว งอายุ 2 สปั ดาหแรก)
6. ยาแกทอ งเสยี – โลโมตลิ (Lomotill) ในทารกต่ํากวา 6 เดือน อโิ มเดยี ม
(Imodium) ในทารกตาํ่ กวา 1 ป
วิธีการใชยาเพอ่ื ดแู ลรกั ษาตนเอง มีดงั น้ี
1. ควรมีความรูและศึกษาเร่ืองยาชนิดนั้น และใชยารักษาตนเองในระยะส้ัน
หากอาการไมด ขี ึ้นควรไปพบแพทย
2. ไมควรใชยาผสมหลายชนิด ควรเลือกใชยาท่ีมีสวนประกอบเปนตัวยาเดี่ยว ๆ
เชน การใชย าแกปวด ควรใชยาที่มีแอสไพรินหรือพาราเซตามอลอยางเดียว ไมควรใชยาท่ีผสมอยู
กบั ยาชนดิ อืน่ ๆ
3. หากเกิดอาการผิดปกติและสงสัยวา แพยาใหหยุดยาทนั ทีและรีบไปพบแพทย
4. อยา ซ้อื ยาทีไ่ มม ฉี ลากยาและวิธีการใชย ากํากบั
5. อยาหลงเชอ่ื จากคําโฆษณาชวนเชือ่ หรือฟง คําแนะนําจากบุคคลอื่นทไ่ี มมีความรู
เรอื่ งยาดีพอ
6. ควรเก็บยาไวใ นที่มดิ ชิด พน จากมอื เด็กและไมม แี สงแดดสองถึง
กิจกรรมทา ยบทท่ี 5
ใหผูเรียนอธบิ ายตามประเด็นดงั ตอไปนี้
1. จงบอกหลกั การใชย าสามัญประจาํ บา นท่ีถูกตอง
2. ใหผ ูเรียนบอกถึงอนั ตรายจากการใชยาท่ีไมถกู ตอ ง
บทที่ 6
สารเสพตดิ
สาระสําคัญ
มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับประเภทของสารเสพติดประเภทกดประสาท
ตลอดจนอันตรายและการปอ งกนั สารเสพตดิ
ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง
1. บอกความหมาย ประเภทของสารเสพตดิ แตประเภทได
2. อธิบายอันตรายของสารเสพติดได
3. อธิบายวธิ ีการหลีกเลี่ยงและการปองกันสารเสพตดิ ได
ขอบขายเนอ้ื หา
เร่อื งท่ี 1 ประเภทของสารเสพติด
ประเภทกดระบบประสาท
เร่ืองที่ 2 อนั ตรายและการปอ งกนั สารเสพติด
บทที่ 6
สารเสพติด
ปจจุบันปญหาการแพรระบาดของสารเสพติดมีแนวโนมเพิ่มสูงข้ึน และมีรูปแบบ
ท่หี ลากหลายยากแกก ารตรวจสอบขึ้น สง ผลใหเด็กและเยาวชนมีความเสี่ยงตอภัยของสารเสพ
ตดิ มากขึน้ จงึ ควรศกึ ษาอนั ตรายและวธิ กี ารหลกี เล่ียง เพือ่ ปอ งกันสารเสพติดได
เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ประเภท และลักษณะของสารเสพตดิ
องคการอนามัยโลกไดใหค วามหมายของสารเสพติดไววา สารใดกต็ ามที่เสพ
เขา สรู า งกายโดยการ ฉีด สบู หรอื ดม จะทําใหมีผลตอจิตใจและรางกาย 4 ประการ คือ
1. เม่ือเสพติดแลว จะมคี วามตองการท้ังทางดานรา งกายและจิตใจ
2. ผทู ีใ่ ชยาตดิ แลว จะมีการเพ่มิ ปริมาณการเสพขน้ึ เร่อื ยๆ ไป
3. เมื่อหยุดใชยาจะเกิดอาการอดหรือเลิกยาท่ีเรียกวา อาการเส้ียน หรือลงแดง
ทนั ที
4. สงิ่ เสพติดทาํ ลายสุขภาพ
ประเภทและลักษณะของสารเสพติด
เราสามารถแบงสารเสพติดชนิดตาง ๆ ออกไดเปน 4 ประเภทตามฤทธ์ิท่ีมีตอ
รางกายผเู สพดงั น้ี
1. ประเภทออกฤทธ์ิกดประสาท ไดแก ฝน เฮโรอีน ยานอนหลับ จะมีฤทธ์ิทํา
ใหสมองมนึ งง ประสาทชา งว งซึม หมดความเปนตวั ของตัวเองไปชว่ั ขณะ
2. ประเภทออกฤทธ์ิกระตุนประสาท ไดแก กระทอม แอมเฟตตามีน (ยามา
หรือยาบา) ยากลอมประสาท กอ ใหเกดิ โทษ ประเภทนีจ้ ะทาํ ใหเกิดอาการตื่นเตนตลอดเวลาไม
รสู กึ งวงนอน แตเม่อื หมดฤทธิย์ าแลว จะหมดแรง เพราะรางกายไมไ ดร บั การพกั ผอน
3. ประเภทออกฤทธิ์หลอนประสาท ไดแก สารระเหย ทําใหเกิดอาการประสาท
หลอนเหน็ ภาพลวงตา หแู วว อารมณแปรปรวน ควบคมุ อารมณต ัวเองไมได อาจทําอันตรายตอ
ชีวิตตนเองและผูอื่น
4. ประเภทออกฤทธห์ิ ลายอยาง ไดแก กญั ชา ทาํ ใหเกิดประสาทหลอน
มีอาการหลงผดิ เกดิ ความเสอื่ มโทรมทั้งสขุ ภาพกายและทางจิต
เรื่องที่ 2 อนั ตรายและการปองกนั สารเสพตดิ
โทษของสารเสพติดทเี่ ปน อันตรายตอ ตนเอง ครอบครัว และสังคม คอื
1. โทษตอสุขภาพ ทําใหการทํางานของระบบตาง ๆ ในรางกายเส่ือมลง สุขภาพ
รา งกายทรดุ โทรม เปนบอเกิดของโรคตา งๆ บุคลกิ ภาพเสยี และภูมติ า นทานของรางกายลดลง
2. โทษทางเศรษฐกิจ เกิดภาระใหกับรัฐบาล ตองนํางบประมาณมาใชในการ
ปองกันและรักษาผตู ิดยาเสพติด
3. โทษทางสังคม ครอบครัวมีปญหาไมม ีความสุข เปน ภาระสงั คม กอใหเกิดปญหา
อาชญากรรมไดงา ย
4. โทษทางการปกครอง เปนภาระของรัฐบาลที่ตองเสียเงินงบประมาณในการ
ปราบปรามอาชญากรรมจากยาเสพตดิ
วิธกี ารหลีกเลี่ยงและปอ งกนั การตดิ สารเสพตดิ
1. เชอื่ ฟงคาํ สอนของพอ แม และผูใหญทตี่ นเองเคารพนบั ถือ
2. เมื่อมีปญหาควรปรึกษาพอแม ครู หรือผูใหญที่ตนนับถือไมควรเก็บปญหาไว
คนเดียว
3. หลีกเลีย่ งไมเ ขา ใกลจ ากผทู ี่ตดิ สารเสพติด ผจู าํ หนา ยหรอื ผลิตยาเสพตดิ
4. ถาพบคนกําลังเสพสารเสพติด หรือพบคนจําหนาย หรือแหลงผลิตควรแจง
ใหผูใ หญ หรือเจาหนาที่ตาํ รวจทราบโดยดว น
5. ตอ งไมใหค วามรว มมอื หรือชวยเหลือกบั คนท่ตี ิดสารเสพตดิ
6. ศึกษาโทษและอันตรายของสารเสพติด เพื่อท่ีจะไดสามารถปองกันตนเองและ
ผูใ กลช ดิ จากการติดสารเสพติด
7. ไมห ลงเชื่อคาํ ชักชวนโฆษณา หรอื คําแนะนาํ ใด ๆ เกี่ยวกบั การเสพสารเสพติด
8. ไมใชยาอันตรายทุกชนิด โดยปราศจากคําแนะนาํ จากแพทยสั่งไวเ ทา นน้ั
9. หากสงสัยวาตนเองจะติดสารเสพตดิ ตอ งรบี แจงใหผ ใู หญห รอื ผูปกครองทราบ
10. ยึดมั่นในหลักคําสอนของศาสนาท่ีนับถือ เพราะทุกศาสนามีจุดมุงหมายให
บุคคลประพฤติแตสง่ิ ดีงามและละเวน ความชว่ั
กจิ กรรมทา ยบทที่ 6
ใหผ เู รยี นอธบิ ายตามประเด็นดังตอ ไปนี้
1. สารเสพตดิ หมายถงึ อะไร
2. สารเสพตดิ มีก่ปี ระเภท อะไรบาง ใหผ ูเรียนยกตวั อยา ง
3. โทษของสารเสพติด มีอะไรบาง จงอธิบายมาพอสงั เขป
4. ถาในชมุ ชนที่ผเู รยี นอาศยั อยมู ีคนติดยาเสพตดิ ผูเ รยี นจะปฏบิ ตั ติ ัวอยา งไร
บทท่ี 7
ความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยสนิ
สาระสําคญั
ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยของ
ตนเอง ท่ีเกิดจากอันตรายจากการใชชีวิตประจําวันในการเดินทาง ในบานและภัยจากภัย
ธรรมชาติ
ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั
1. บอกอนั ตรายทีอ่ าจเกดิ ข้นึ ในชีวติ ประจําวัน
2. อธิบายแนวทางปองกัน แกไ ขอันตรายท่ีเกิดขึ้นในชีวติ ประจําวันไดอยา ง
เหมาะสม
ขอบขา ยเน้อื หา
อนั ตรายตาง ๆ ทีอ่ าจเกิดขึ้นในชีวิตประจาํ วัน พรอมแนวทางปองกนั การแกไ ข
เรื่องที่ 1 อันตรายที่อาจเกดิ ขึน้ ในบาน
เรื่องที่ 2 อันตรายทอ่ี าจเกิดขน้ึ จากการเดินทาง
เรอ่ื งท่ี 3 อันตรายจากภยั ธรรมชาติ
บทท่ี 7
ความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยสนิ
การดาํ รงชีวิตในปจ จบุ ัน มปี จจัยเสี่ยงและอันตรายตางๆที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน
ของมนษุ ย ไมวาจะเปน อันตรายท่ีเกดิ ขึน้ ในบา น อันตรายจากการเดนิ ทาง และอันตรายจากภัย
พิบัติธรรมชาติ จงึ ตองมแี นวทางปอ งกนั และแกไขภยั อันตรายตาง ๆ ทอี่ าจเกดิ ขึ้น
เร่อื งที่ 1 อันตรายทอ่ี าจเกดิ ข้ึนในบาน
1. ความหมายของอบุ ตั เิ หตใุ นบา น
อุบตั ิเหตใุ นบาน หมายถงึ เหตุการณที่เกิดข้ึนโดยไมคาดคิด อาจเกิดจากความ
ประมาทของตนเอง จากคนอ่ืน จากเหตุการณสุดวิสัย อุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นภายในบาน เชน การ
พลดั ตกหกลม ไฟไหม นํ้ารอนลวก การถูกของมีคมบาด การไดรับสารพิษ ไดรับอุบัติเหตุจาก
แกส หงุ ตม เปน ตน
2. การปองกันอุบัติเหตุในบาน เราสามารถที่จะปองกันอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้น
ภายในบาน ดว ยหลักปฏบิ ัติ ดังนี้
2.1 รอบคอบ ใจเยน็ ไมเ ปนคนเจาอารมณ
2.2 เปน คนมีระเบยี บในการทํางาน เก็บของอยา งเปนระเบียบหางา ย
2.3 ใหความรูอ ยา งถกู ตอ งแกส มาชิกในบาน ในการใชเครอ่ื งใชไ ฟฟา ในบาน
2.4 หมั่นซอมแซมอปุ กรณ เครือ่ งมอื เครื่องใชตางๆ ทชี่ าํ รดุ ใหอ ยใู นสภาพดี
2.5 เกบ็ สง่ิ ท่เี ปนอนั ตรายท้งั หลาย เชน ยา สารเคมี เช้ือเพลิง ใหพ นจากมอื เด็ก
2.6 หลกี เล่ียงการเขาไปอยูในบรเิ วณ ท่ีอาจมอี นั ตรายได เชน ทร่ี กชื้น ทมี่ ืดมิด
ท่ขี รุขระ เปนหลุมเปน บอ เปนตน
2.7 การใชแกสหงุ ตม ภายในบา น ตอ งปดถังแกสหลงั การใชทุกครงั้
2.8 มีถงั ดบั เพลงิ ไวในบาน ตอ งศกึ ษาวธิ กี ารใชแ ละสามารถหยบิ ใชไ ดส ะดวก
2.9 หลังจากจุดธปู ไหวพระควรดบั ไฟใหเรยี บรอย
เร่ืองท่ี 2 อนั ตรายทอ่ี าจจะเกิดขน้ึ จากการเดนิ ทาง
ในปจจบุ ันคนเรามีการเดินทางตามสถานที่ตาง ๆ ตลอดเวลา การเดินทาง แตละ
ครั้งอาจเดินทางดวยเทา รถ เรอื หรอื เครือ่ งบนิ บางคร้ังอาจเดินทางราบร่ืน แตบางคร้ังอาจ
พบอุบัติเหตทุ ี่ไมค าดคิดขณะเดินทางได ซง่ึ อาจนําไปสูการสูญเสียทรัพยส ิน ไดรับบาดเจ็บจนถึง
เสยี ชีวติ ได
ขอควรปฏบิ ตั ิในการปอ งกนั อบุ ัตเิ หตุจากการเดินทาง
1. ขอปฏบิ ตั ใิ นการเดนิ ทาง
1.1 ควรศกึ ษาและปฏบิ ัติตามกฎจราจรอยา งเครง ครัด
1.2 ควรเดินบนทางเทาและเดนิ ชิดซายของทางเทา
1.3 ถา ไมมีทางเทาใหเดินชิดขวาของถนนมากทีส่ ดุ เพ่อื จะไดเ หน็ รถที่
สวนมาได
1.4 ควรขามสะพานลอย เพ่ือความปลอดภยั ของตนเอง
1.5 ไมปนปายรัว้ กลางถนนหรอื รว้ั ริมทาง
1.6 ใสเส้ือผา สขี าวหรือสอี อนๆ เมอื่ ตองออกนอกบานเวลากลางคนื
2. ขอ ปฏบิ ตั ิในการใชรถประจําทาง
2.1 ควรรอข้ึนรถบริเวณปา ยรถประจาํ ทาง และข้นึ รถดว ยความรวดเร็ว
2.2 เมอ่ื จะข้ึนหรือลงจากรถ ควรรอใหร ถเขา ปา ย และจอดใหสนิทกอน
2.3 ไมแ ยง กนั ข้ึนหรือลงรถ ควรข้ึนและลงตามลําดบั กอน – หลัง
2.4 ไมหอยโหนขางรถ หลังรถ หรือขึ้นไปอยูบนหลังคารถ เพราะอาจ
พลดั ตกลงมาได
2.5 เมื่อข้ึนบนรถแลวควรเดินชิดเขาขางใน หาท่ีนั่งและน่ังใหเปนที่
ถาตอ งยนื ก็ควรหาท่ยี ดึ เหน่ยี วใหมน่ั คง
2.6 ไมย่ืนสวนใดสว นหนึ่งของรา งกายออกนอกรถ
2.7 ไมรบกวนสมาธิผูข บั และไมพดู ยแุ หยหรือพูดสง เสรมิ ใหผ ขู บั ขบั รถ
ดวยความประมาท และไมควรนําโทรศัพทข้นึ มาเลน รบกวนผูอื่น
3. ขอปฏบิ ัติในการโดยสารรถไฟ
3.1 ไมแยง กนั ขึ้นหรอื ลงจากรถไฟ
3.2 ไมหอ ยโหนขางรถ นัง่ บนหลงั คา หรอื น่ังบนขอบหนา ตา งรถไฟ
3.3 ไมยื่นสวนหน่งึ สว นใดของรา งกายออกนอกรถไฟ
3.4 ไมเดินเลนไปมาระหวางตูรถไฟ และไมย ืนเลนบริเวณหัวตอระหวาง
ตูรถไฟ
3.5 สมั ภาระตาง ๆ ควรจัดเก็บเขา ท่ีใหเ รียบรอย ไมวางใหเปนทก่ี ดี
ขวางทางเดนิ และไมเกบ็ ไวบ นทส่ี งู ในลกั ษณะที่อาจหลนมาถูกคนได
3.6 ไมดม่ื เครอ่ื งดืม่ ท่ีมแี อลกอฮอล
3.7 ถา มีอุบตั ิเหตเุ กิดข้ึนหรอื จะเกดิ อบุ ัตเิ หตขุ ้ึน ถา รถไฟไมห ยดุ ว่งิ ใหดงึ
สายโซสญั ญาณขางตูร ถไฟ เพือ่ แจง เหตุใหเ จาหนา ทปี่ ระจํารถไฟทราบ
4. ขอปฏบิ ัตใิ นการโดยสารเรอื
4.1 การข้ึนลงเรอื ตอ งรอใหเรือเขาเทียบทาและจอดสนิทกอน ควรจับ
ราวหรือส่ิงยดึ เหนี่ยวขณะท่กี าวขึน้ หรือลงเรอื
4.2 หาท่ีนัง่ ใหเ รียบรอย ไมไ ตกราบเรือเลน ไมย นื พักเทาบนกราบเรอื
ไมนั่งบนกราบเรอื หรือบริเวณหัวทายเรอื เพราะอาจพลัดตกน้าํ ไดระหวา งเรือแลน
4.3 ไมใ ชมอื เทา ราน้าํ เลน ขณะอยูบนเรอื
4.4 เมื่อเวลาตกใจ ไมควรเกาะกลมุ หรอื ไมนั่งรวมกลมุ กันอยดู านใด
ดานหน่งึ ของเรือ เพราะจะทาํ ใหเรือเอยี งและลม ได
4.5 ควรทราบทเ่ี ก็บเคร่อื งชชู พี เพือ่ ที่จะหยบิ ใชไ ดทันทวงทเี มอ่ื เกิด
อบุ ตั ิเหตเุ รอื ลม
เร่อื งที่ 3 อนั ตรายจากภัยธรรมชาติ
ภัยธรรมชาติ หมายถึง ภัยอันตรายตางๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมี
ผลกระทบตอชวี ิต ความเปนอยูของมนุษย นับต้ังแตโบราณกาลแลวที่มนุษย ผจญกับความ
ยิ่งใหญของธรรมชาติ การเกิดปรากฏการณตางๆ ในธรรมชาติไมวาจะเปนแผนดินไหว ภัยแลง
ภยั หนาว ฯลฯ เหลาน้ี แตล ะคร้งั นาํ มาซึ่งความสญู เสยี ทง้ั ชวี ิตและทรพั ยสินของมนุษยเปนอยาง
มาก ภัยธรรมชาตสิ ามารถแบง เปน 9 ประเภทใหญ ๆ คอื
1. วาตภัย ภัยธรรมชาตซิ ่ึงเกดิ จากพายลุ มแรง แบงได 2 ชนิด
1.1 วาตภยั จากพายหุ มุนเขตรอ น ไดแก ดเี ปรสชัน่ พายโุ ซนรอน พายุ
ไตฝ ุน
1.2 วาตภัยจากพายุฤดูรอน สวนมากจะเกิดระหวางเดือนมีนาคมถึง
เดอื นเมษายน โดยจะเกิดถใ่ี นภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื พายฤุ ดูรอนจะเกิดในชวง
ทม่ี ีลกั ษณะอากาศรอนอบอา วติดตอกันหลายวัน แลวมีกระแสอากาศเย็นจากความกดอากาศ
สงู ในประเทศจนี พดั มาปะทะกัน ทาํ ใหเ กดิ ฝนฟาคะนองมพี ายุลมแรงและอาจมีลูกเห็บตกไดจะ
ทาํ ความเสยี หายในบริเวณทไ่ี มกวางนัก ประมาณ 20 - 30 ตารางกิโลเมตร
2 อทุ กภยั
อุทกภัย คือ ภัยและอันตรายที่เกิดจากสภาวะน้ําทวมหรือนํ้าทวม
ฉับพลันมีสาเหตุมาจากเกิดฝนตกหนักหรือฝนตกตอเนื่องเปนเวลานาน ซึ่งประเภทของ
อุทกภัย มีดังน้ี
2.1 น้ําปาไหลหลาก หรือนํา้ ทว มฉับพลันมักจะเกิดข้ึนในท่ีราบต่ําหรือ
ท่ีราบลุมบริเวณใกลภูเขาตนนํา้ เกิดข้ึนเนื่องจากฝนตกหนักตอเนื่องเปนเวลานาน
ทําใหจํานวนนํ้าสะสม มีปริมาณมากจนพื้นดินและตนไมดูดซับน้ําไมไหว ไหลบาลงสูท่ีราบตํ่า
เบอื้ งลา งอยา งรวดเร็วทาํ ใหบา นเรอื นพงั ทลายเสยี หาย และอาจทาํ ใหเกดิ อันตรายถงึ ชวี ติ ได
2.2 นํ้าทวม หรือนํ้าทวมขังเปนลักษณะของอุทกภัยท่ีเกิดขึ้นจาก
ปรมิ าณนาํ้ สะสมจํานวนมากทไ่ี หลบา ในแนวระนาบจากท่สี ูงไปยังที่ตํ่าเขาทวมอาคารบานเรือน
สวนไรนาไดรับความเสียหาย หรือเปนสภาพน้ําทวมขัง ในเขตเมืองใหญท่ีเกิดจากฝนตกหนัก
ตอเนื่องเปนเวลานาน มีสาเหตุมาจากระบบการระบายนํ้าไมดีพอมีส่ิงกอสรางกีดขวางทาง
ระบายนา้ํ หรือเกดิ นา้ํ ทะเลหนนุ สงู กรณีพ้ืนทีอ่ ยใู กลช ายฝง ทะเล
2.3 น้ําลนตลิ่ง เกดิ ขน้ึ จากปริมาณนํา้ จํานวนมากท่ีเกิดจากฝนตกหนัก
ตอเน่ืองที่ไหลลงสู ลํานํ้าหรือแมน้ํามีปริมาณมากจนระบายลงสูลุมน้ําดานลาง หรือออกสู
ปากนาํ้ ไมท ัน ทาํ ใหเกิดสภาวะน้ําลนตล่ิงเขาทวมสวน ไรนา และบานเรอื นตามสองฝงนํา้
จนไดรบั ความเสียหาย ถนน หรือสะพานอาจชํารุด
3. ภยั แลง
ภัยแลง คือ ภัยที่เกิดจากการขาดแคลนนํ้าในพื้นท่ีใดพ้ืนท่ีหน่ึงเปน
เวลานาน ฝนแลงไมตกตอ งตามฤดูกาล จนกอใหเกิดความแหงแลง และสงผลกระทบตอชุมชน
มีสาเหตุมาจากพายุหมุนเขตรอนเคลื่อนผานประเทศไทยนอย หรือไมมีผานเขามาเลย
รองความกดอากาศตํา่ มีกาํ ลังออน มรสมุ ตะวันตกเฉียงใตม กี าํ ลงั ออ น เกิดสภาวะฝนท้ิงชวงเปน
เวลานานหรอื เกดิ ปรากฏการณเอลนิโญรุนแรง ทาํ ใหฝ นนอ ยกวา ปกติ
4. พายฝุ นฟา คะนอง
พายุฝนฟาคะนอง เปนปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นเปน
ประจําทุกวันเหนือพื้นผิวโลก โดยการกอตัวท่ีเกิดข้ึนในแตละพ้ืนท่ีจะเปนไปตามฤดูกาลใน
บริเวณใกลเสนศูนยสูตรมีโอกาสท่ีจะเกิดฝนฟาคะนองไดตลอดป เนื่องจากมีสภาพอากาศใน
เขตรอนจงึ มอี ากาศรอนอบอา ว ซึ่งเอือ้ ตอการกอ ตัวของพายฝุ นฟาคะนองไดต ลอดป
5. คลนื่ พายซุ ดั ฝง
คลื่นพายุซัดฝง คือ คลื่นซัดชายฝงขนาดใหญ อันเน่ืองมาจากความแรง
ของลม ที่เกดิ ข้นึ จากพายหุ มุนเขตรอ นท่ีเคลอ่ื นตัวเขาหาฝง โดยปกติมีความรุนแรงมากในรัศมี
ประมาณ 100 กิโลเมตร แตบางคร้ังอาจเกิดไดเมื่อศูนยกลางพายุอยูหางมากกวา 100
กโิ ลเมตรได ขึ้นอยกู ับความรุนแรงของพายุและสภาพภมู ิศาสตรข องพืน้ ท่ีชายฝง ทะเล
6. แผน ดนิ ไหว
แผน ดินไหว เปน ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติท่เี กิดจากการสั่นสะเทือนของ
พืน้ ดนิ อันเน่ืองมาจากการปลดปลอยพลังงานเพอ่ื ลดความเครียดท่ีสะสมไวภายในโลกออกมา
เพอื่ ปรบั ความสมดลุ ของเปลือกโลกใหคงท่ี
7. แผน ดนิ ถลม
แผนดินถลม เปนปรากฎการณทางธรรมชาติของการสึกกรอนชนิดหน่ึง
ท่ีกอใหเกดิ ความเสยี หายตอ บริเวณพื้นท่ีท่ีเปนเนินสูงหรือภูเขาท่ีมีความลาดชันมาก เนื่องจาก
ขาดความสมดุลในการทรงตัวบริเวณดังกลาว ทําใหเกิดการปรับตัวของพ้ืนที่ตอแรงดึงดูดของ
โลกและเกิดการเคล่ือนตวั ขององคป ระกอบธรณวี ิทยาบริเวณนน้ั จากที่สูงลงสูท่ีต่ํา แผนดินถลม
มักเกิดในกรณีทีม่ ีฝนตกหนักมาก บริเวณภูเขาและภูเขานั้นอุมน้ําไว จนเกิดการอ่ิมตัว ทําให
เกดิ การพังทลายกลายเปน ดนิ ถลม
8. ไฟปา
ไฟปา การเกิดไฟปาเกิดจากความประมาทมักงายของคน ไฟปา
รอยละ 90 เกิดจากฝม อื มนุษย โดยเฉพาะผูบกุ รกุ ไปในปา ทาํ การกอ กองไฟแลวไมดับไฟใหสนิท
หรือทิ้งกนบหุ ร่ีโดยไมดับกอน ไฟปาจะทําความเสียหายใหกับปาไม แลวยังทําลายชีวิตสัตวปา
อีกดวย ตลอดจนกอ ใหม ลพษิ ทางอากาศบริเวณกวางและมีผลกระทบตอการจราจรทางอากาศ
ดวย
9. สึนามิ
สนึ ามิ คอื คลืน่ หรอื กลมุ คลน่ื ที่มจี ดุ กาํ เนดิ อยูในเขตทะเลลกึ ซ่งึ มกั ปรากฏ
หลังแผนดินไหวขนาดใหญ แผนดินไหวใตทะเล ภูเขาไฟระเบิด ดินถลมแผนดินทรุด หรือ
อกุ กาบาตขนาดใหญต กสูพ้ืนทะเลหรือมหาสมุทรบนผิวโลกคลน่ื สึนามิท่ีเกิดขึ้นนี้จะถาโถมเขาสู
พนื้ ทช่ี ายฝงทะเลดวยความรวดเร็วและรุนแรงสรางความเสียหายอยางใหญหลวงใหแกชีวิตและ
ทรพั ยสนิ ท่อี ยูอาศยั
กิจกรรมทา ยบทท่ี 7
ใหผเู รียนอธบิ ายตามประเด็นดงั ตอไปน้ี
1. ใหผูเ รียนบอกถงึ อันตรายทีอ่ าจเกดิ ขึ้นในชวี ติ ประจําวนั
2. ผูเรยี นจะมวี ิธปี อ งกันอันตรายที่เกดิ ข้ึนในบานอยางไร
3. ผเู รยี นจะมวี ิธปี อ งกันอันตรายที่เกิดขึ้น จากการเดนิ ทางโดยรถประจําทางอยา งไร
4. ผูเรียนมวี ธิ ีการปอ งกันภัยทเี่ กิดขนึ้ จากนํา้ ทว ม อยางไรบาง
บทท่ี 8
ทักษะชีวติ เพือ่ การคดิ
สาระสาํ คัญ
การมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับทักษะท่ีจําเปนสําหรับชีวิตมนุษย โดยเฉพาะ
ทักษะ ท่ีจําเปนสําหรับชีวิต 4 ประการ ซ่ึงจะชวยใหบุคคลดังกลาว สามารถท่ีนําไปใชใน
ชวี ิตประจําวนั ของตนเองและครอบครัวไดอ ยา งเหมาะสม
ผลการเรียนรูท่คี าดหวัง
1. บอกความหมายและความสาํ คญั ของทักษะชวี ติ
2. สามารถนําทักษะชีวิตไปใชในชีวิตประจําวันของตนเองและครอบครัวไดอยาง
เหมาะสม
3. แนะนําผูอื่นในการนําทกั ษะชวี ิตมาประยุกตใ ชใ นชวี ิตครอบครัวและการทํางาน
ไดอ ยา งเหมาะสม
ขอบขา ยเน้อื หา
เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของทักษะชีวิต
เร่อื งท่ี 2 ทกั ษะชีวติ ที่จําเปน 4 ประการ
2.1 ทักษะการคิดสรา งสรรค
2.2 ทกั ษะการคิอยางมีวจิ ารณญาณ
2.3 ทักษะการตดั สินใจ
2.4 ทักษะการแกปญหา
บทท่ี 8
ทกั ษะชีวิตเพื่อการคดิ
เน่อื งจากสภาพสงั คม เศรษฐกิจ และการเมืองในปจจุบัน มีการเปล่ียนแปลงอยาง
รวดเร็ว ทําใหประชาชนตองปรับตัวเพื่อดํารงชีวิตใหอยูรอดภายใตสถานการณที่แข็งขัน และ
เรงรบี ดงั กลาว ซงึ่ การท่จี ะปรับตัวใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข จําเปนตองมีทักษะในการ
ดําเนินชีวิต เชน ทักษะการแกปญหา ทักษะการตัดสินใจ ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ
เปน ตน
เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญของทักษะชีวิต
ทักษะชีวติ ( Life skill ) หมายถึง ความสามารถของบคุ คล อันประกอบดวย การมี
ความรู มีเจตคติที่ดีและมีทักษะท่ีสามารถจะจัดการกับปญหาดานใดดานหนึ่งของตนเองได
เพ่ือใหสามารถอยูรอดไดอยางมีความสุขในสภาพสังคมท่ีเต็มไปดวยปญญาและความ
เปลี่ยนแปลงในยุคปจจุบัน และสามารถปรับตัวเตรียมความพรอมสําหรับการดําเนินชีวิตใน
อนาคต
องคป ระกอบของทักษะชวี ิต มี 10 ประการ
องคประกอบของทักษะชีวิตจะมีความแตกตางกันตามวัฒนธรรมและสถานท่ี
แตทักษะชีวิตที่จําเปนที่สุดที่ทุกคนควรมี ซ่ึงองคการอนามัยโลกไดสรุปไว และถือเปนหัวใจ
สาํ คัญในการดาํ รงชวี ติ คอื
1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision Making) เปนความสามารถในการตัดสินใจ
เก่ยี วกบั เรอ่ื งราวตา งๆ ในชวี ิตไดอยา งมรี ะบบ
2. ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการ
กบั ปญหาทเ่ี กิดข้ึนในชีวิตไดอยางมีระบบ ไมเกิดความเครียดทางกายและจิตใจจนอาจลุกลาม
เปนปญ หาใหญโตเกินแกไ ข
3. ทกั ษะการคิดสรางสรรค (Creative Thinking) เปนความสามารถในการคิด
ท่ีจะเปนสวนชวยในการตัดสินใจและแกไขปญหาโดยการคิดสรางสรรค เพื่อคนหาทางเลือก
ตางๆรวมทั้งผลท่ีจะเกิดขึ้นในแตละทางเลือก และสามารถนําประสบการณมาปรับใชใน
ชีวิตประจําวนั ไดอยา งเหมาะสม
4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เปนความสามารถ
ในการคิดวิเคราะหขอมูลตางๆ และประเมินปญหาหรือสถานการณท่ีอยูรอบตัวเราที่มีผลตอ
การดําเนนิ ชีวิต
5. ทักษะการส่ือสารอยางมีประสิทธิภาพ (Effective Communication)
เปนความสามารถในการใชคําพูดและทาทางเพื่อแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองได
อยา งเหมาะสมกบั วัฒนธรรมและสถานการณตางๆ
6. ทกั ษะการสรางสัมพนั ธภาพระหวา งบุคคล(Interpersonal Relationship)
เปนความสามารถในการสรางความสัมพันธที่ดีระหวางกันและกัน และสามารถรักษา
สมั พันธภาพไวไ ดย ืนยาว
7. ทักษะการตระหนักรูในตน (Self Awareness) เปนความสามารถในการ
คนหารูจกั และเขาใจตนเอง เชน รูขอดี ขอเสียของตนเอง รูความตองการ และสิ่งที่ไมตองการ
ของตนเอง
8. ทักษะการเขาใจผูอ่ืน (Empathy) เปนความสามารถในการเขาใจ
ความเหมือนหรอื ความแตกตางระหวางบุคคล ในดานความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา
ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ ชวยใหสามารถยอมรับบุคคลอื่นที่ตางจากเรา เกิดการ
ชวยเหลือบคุ คลอน่ื ทดี่ อยกวา หรือไดร ับความเดอื ดรอ น เชน ผตู ดิ ยาเสพตดิ ผูต ดิ เชือ้ เอดส
9. ทักษะการจัดการกับอารมณ (Coping with Emotion) เปนความสามารถ
ในการรับรูอารมณของตนเองและผูอ ื่น รูว าอารมณม ผี ลตอการแสดงพฤตกิ รรมอยางไร รูวิธีการ
จัดการกับอารมณโกรธ และความเศราโศก ท่ีสงผลทางลบตอรางกาย และจิตใจไดอยาง
เหมาะสม
10. ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with stress) เปนความ
สามารถในการรบั รูถ ึงสาเหตุ ของความเครียด รูวิธีผอนคลายความเครียด และแนวทางในการ
ควบคุมระดับความเครียด เพื่อใหเกิดการเบ่ียงเบนพฤติกรรมไปในทางท่ีถูกตองเหมาะสมและ
ไมเกดิ ปญ หาดานสขุ ภาพ
เร่อื งท่ี 2 ทักษะชีวติ ท่จี าํ เปน
จากองคป ระกอบของทักษะชีวิต 10 ประการ เมื่อจําแนกแลวมีทักษะ 4 ประการ
ท่จี ะชว ยในการดาํ รงชวี ติ ของตนเอง ครอบครวั และสังคมไดอ ยางมคี วามสุข คอื
1. ทักษะการคดิ สรางสรรค (Creative Thinking)
1.1 ลกั ษณะสาํ คัญของความคิดรเิ ริ่มสรา งสรรคจ ะประกอบดวยคณุ ลกั ษณะ
ตา ง ๆ ดงั ตอ ไปนค้ี ือ
1.1.1 เปนความคิดท่มี ีอสิ ระ และสรา งใหเ กดิ เปน แนวคดิ ใหมๆ
1.1.2 ไมม ีขอบเขตจํากัด หรือกฎเกณฑตายตัว และเปนแนวคิดท่ี นาจะ
เปนไปได
1.1.3 เปนแนวคิดท่ีอาศัยการมองที่กาวไกล สรางใหเกิดความคิด
ทีต่ อเนอื่ ง
1.1.4 เปนความคิดท่ีอยูในลกั ษณะของจินตนาการ ซ่ึงคนทว่ั ไปจะไมค อ ย
คิดกนั
1.1.5 ระบบของความคิดน้จี ะกระจายไปไดห ลายทิศทาง และหลาย
ทางเลือก
1.1.6 เปนความคิดท่ีอยูในลกั ษณะแปลก และแหวกแนวออกไปจาก
ความคิดปกติท่วั ไป
1.1.7 สรางใหเกิดสิง่ ประดษิ ฐใหม นวตั กรรมใหม และมกี ารพฒั นา
ทีแ่ ปลกใหมท เ่ี ปนประโยชนและสรา งสรรค
1.1.8 ความคดิ น้ีจะไมกอใหเกิดความเสียหายหรือเปนภัยตอตนเองและ
ผอู นื่
1.2 ทาํ ไมตอ งฝกและพฒั นาใหเ กดิ ความคดิ สรา งสรรค
ความคิดสรางสรรคสามารถฝกและพัฒนาได โดยคนเราจะมีความพรอม
ต้ังแตว ยั เดก็ ซง่ึ อยรู ะดับประถมศึกษาจะจัดหลักสูตรใหเอื้ออํานวยและกระตุนใหเกิดความคิด
รเิ ร่ิมตา งๆ เพ่อื นําไปสูการพัฒนาอยา งสรางสรรค ดงั นคี้ อื
1.2.1 สรางใหบ คุ คลกลาคิดกลาแสดงออก
1.2.2 ความคิดน้จี ะนําบคุ คลไปสสู ง่ิ ใหมแ ละวธิ กี ารใหม
1.2.3 สรา งใหบุคคลเปนผูทม่ี องโลกในมมุ กวาง และยืดหยนุ
1.2.4 สรา งใหบุคคลไมอ ยูก บั ที่ และบมเพาะความขยนั
1.2.5 สรางใหบุคคลเกิดความสามารถในการแกไขปญหาตามสภาพและ
ตามขอจํากัดของทรพั ยากร
1.2.6 สรางผลงานและเกดิ สงิ่ ใหม ๆ
1.3 วธิ ีการพฒั นาใหเกิดความคดิ สรา งสรรค
การพัฒนาใหเกิดความคิดสรางสรรคในตนเอง จะตองฝกและพัฒนาตนเอง
ดงั นี้
1.3.1 ใหอสิ ระตนเอง
1.3.2 นาํ ตนออกนอกขอบเขต กฎเกณฑ กรอบ และเกราะกาํ บังตา งๆ
1.3.3 คิดใหลกึ ซง้ึ ละเอียด รอบคอบ
1.3.4 อาศยั การใชสมาธแิ ละสติใหอ ยเู หนืออารมณ
1.3.5 ปราศจากอคติ คานยิ มสงั คม
1.3.6 ยอมรับคําวพิ ากษว ิจารณไ ด
1.3.7 อยา ใหเ วลามาเรง รดั ความคิดจนเกินไป
1.3.8 ไมม ุงหวงั ผลกาํ ไรจากความคดิ
1.3.9 มีทกั ษะในการฟง
1.3.10 หมั่นฝก ฝนความคิดอยางสมํ่าเสมอ
1.4 วธิ ีกระตนุ ใหเกดิ ความคดิ ริเรมิ่ สรางสรรค
การกระตุนใหบ ุคคลเกดิ ความคิดริเร่ิมสรางสรรคไดนั้น ผูที่เปนตัวกระตุน
อาทิเชน พอ แม ผปู กครอง ครู หรอื บังคบั บญั ชา สามารถใชวิธีการตางๆ ตอไปนี้ฝกใชความคิด
อยา งสรา งสรรคไ ด โดยอยใู นบรรยากาศทดี่ ี เอ้อื อํานวยใหเ กดิ การใชป ญญาคอื
1.4.1 การระดมสมองอยางอสิ ระ
1.4.2 การเขยี นวิจารณค วามคิด
1.4.3 การแยกความเหมือน – ตาง
1.4.4 การอปุ มาอปุ ไมย
1.4.5 การมีความคลุมเครือ
1.5 อปุ สรรคของความคดิ สรางสรรค
1.5.1 อุปสรรคจากตนเองไมม่ันใจในตนเอง ใชความเคยชินและ
สัญชาตญาณแกไขปญหา พอใจในคําตอบเดิม ๆ กลัวพลาด ไมกลาเส่ียง ไมกลารับผิดชอบ
ชอบสรา งขอบเขตและกฎเกณฑใหต นเอง ชอบเลียนแบบแอบอางผอู ื่น ชอบเปนผูตาม สามารถ
ทําตามคําสั่งไดดี ไมชอบแสวงหาความรู ไมเสาะหาประสบการณ ไมเปดใจ ปราศจากการ
ยดื หยนุ ไมมีสมาธิ ไมมสี ติ
1.5.2 อปุ สรรคจากบคุ คลอนื่ ไมยอมรับฟง มุงตําหนิ วิจารณ และปฏิเสธ
ทกุ ประเดน็ อิจฉา เยาะเยย ถากถาง ปดโอกาส
1.5.3 ขาดการกระตุนสงเสริม มีการบั่นทอนกําลังใจ ปราศจากการ
ยอมรบั เนน ผลกําไรจนเกินไป มคี วามจํากัดดานเวลา ทรพั ยากรอน่ื ๆ
2. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical thinking) คือความสามารถ
ในการสรางและประเมินขอสรุปจากหลักฐาน หรือสภาวการณใดไดอยางถูกตองตามความ
เปน จริง มีองคป ระกอบ 4 อยางดงั นี้
2.1 ทกั ษะเบอื้ งตนสาํ หรบั ใชเ ปน เคร่ืองมือในการคิด ไดแก ความสามารถใน
การสงั เกตความสามารถในการคนหารูปแบบและ การสรุปสาระสาํ คัญและการประเมินขอสรุป
บนพืน้ ฐานจากการสงั เกต
2.2 ความรูเฉพาะเก่ียวกับส่ิงที่ตองคิด ไดแก ความรูเกี่ยวกับเน้ือหาสาระ
หลักฐาน หรือสถานที่เก่ียวของ เชน เมื่อตองตัดสินใจวาจะเช่ือหรือไมเช่ือในเรื่องใด ตองหา
เหตผุ ล หลกั ฐานตาง ๆประกอบการตดั สนิ ใจ
2.3 การรูคิด ไดแก รูกระบวนการรูคิดของตนและควบคุมใหปฏิบัติตาม
กระบวนการคดิ น้ัน เชน ตอ งจดจอ ใครค รวญ พิจารณาตามหลกั เหตุผล เปน ตน
2.4 แรงจูงใจ หมายถึง พลังท่ีใชในการคิด ซ่ึงเกิดจากความตองการหรือ
ปรารถนาทจ่ี ะคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ แรงจงู ใจในการคิดจะกําหนดเจตคติ และนิสัยใน การคิด
ของบุคคลน้ัน ๆ ทําใหเ ชอ่ื หรือไมเชื่อในเรอ่ื งใดเร่อื งหนงึ่
3. ทกั ษะการตัดสินใจ (Dicision Making) การตัดสินใจเปนกระบวนการของการ
หาโอกาสที่จะหาทางเลือกที่เปนไปไดและการเลือกทางเลือกท่ีมีอยูหลายๆ ทางเลือกและได
แบง การตัดสินใจออกเปน 2 ชนิด คอื
3.1 การตัดสินใจที่กําหนดไวลวงหนา (Program Decision) เปนการตัดสินใจ
ตามระเบยี บ กฎเกณฑ แบบแผนทเี่ คยปฏิบัติมาจนกลายเปน งานประจํา (Routine)
3.2 การตัดสินใจท่ีไมไดกําหนดไวลวงหนา (Non – Program Decision)
เปนการตัดสินใจในเรื่องใหมที่ไมเคยมีมากอน และไมมีกฎเกณฑ ไมมีระเบียบ จึงเปนเรื่องท่ี
สรางความกังวลใจพอสมควร
ขั้นตอนการตดั สนิ ใจ สามารถแบง ออกได ดงั น้ี
ขั้นที่ 1 การระบุปญหา (Define Problem) เปนขั้นตอนแรกที่มีความสําคัญ
อยางมากเพราะจะตองระบปุ ญ หาไดถูกตอง จงึ จะดาํ เนนิ การตัดสนิ ใจในขัน้ ตอนตอ ๆ ไปได
ขั้นท่ี 2 การระบุขอจํากัดของปจจัย (Identify Limiting Factors)
เปน การระบุปญหาไดถูกตองแลว นําไปพิจารณาถึงขอจํากัดตาง ๆ ของตนเองหรือหนวยงาน
โดยพจิ ารณาจากทรัพยากรซึ่งเปน องคป ระกอบของกระบวนการผลิต
ข้ันที่ 3 การพัฒนาทางเลือก (Development Alternative) เปนการพัฒนา
ทางเลือกตาง ๆ ข้ึนมาซึ่งทางเลือกเหลาน้ีควรเปนทางเลือกที่มีศักยภาพและมีความ
เปนไปไดใ นการแกปญ หาใหนอยลงหรือใหป ระโยชนส งู สุด เชน เพิม่ การทาํ งานกะพเิ ศษ
เพ่มิ การทาํ งานลวงเวลาโดยใชตารางปกตเิ พม่ิ จาํ นวนพนักงาน เปนตน
ข้ันที่ 4 การวิเคราะหทางเลือก (Analysis the Alterative) เม่ือไดทํา
การพฒั นาทางเลือกตาง ๆ โดยนําเอาขอดี ขอเสียของแตละทางเลือกมาเปรียบเทียบกันอยาง
รอบคอบ ควรพจิ ารณาวา ทางเลือกนน้ั หากนาํ มาใช จะเกดิ ผลตอ เนือ่ งอะไรตามมา
ขนั้ ที่ 5 การเลอื กทางเลอื กท่ดี ที ีส่ ุด (Select the Best Alternative)
เมอื่ ผบู ริหารไดท ําการวิเคราะห และประเมินทางเลือกตางๆ แลว บุคคลควรเปรียบเทียบขอดี
และขอ เสียของแตละทางเลอื กอีกครั้งหนง่ึ แลวจึงตดั สินใจ
4. ทกั ษะการแกป ญ หา (Problem Solving)
ทักษะการแกปญหาอาจทําไดห ลายวิธี ทัง้ น้ีขึน้ อยูก บั ลักษณะของปญหา ความรู
และประสบการณของผูแกป ญ หาน้ัน ซ่งึ แตละขั้นตอนมีความสัมพนั ธด ังน้ี
4.1 ทําความเขา ใจปญหา ผูแกปญหาจะตองทําความเขาใจกับปญหาที่พบให
ถอ งแทในประเด็นตา งๆ คอื
- ปญ หาถามวาอยางไร
- มขี อ มูลใดแลวบาง
- มีเงือ่ นไขหรือตอ งการขอมลู ใดเพมิ่ เตมิ อีกหรอื ไม
4.2 วางแผนแกปญหา ขั้นตอนนี้จะเปนการคิดหาวิธี วางแผนเพื่อแกปญหา
โดยใชข อมลู จากปญ หาท่ีไดวเิ คราะหไวแ ลว ในข้นั ที่ 1 ประกอบกบั ขอมูลและความรูท่ีเกี่ยวของ
กับปญหานน้ั และนํามาใชประกอบการวางแผนการแกปญ หาในกรณีทปี่ ญ หาตองตรวจสอบโดย
การทดลอง ขั้นตอนน้ีก็จะเปนการวางแผนการทดลอง ซ่ึงประกอบดวยคาดคะเนผลที่จะเกิด
ลว งหนา (การต้ังสมมติฐาน) กําหนดวิธี ทดลองหรือตรวจสอบและอาจรวมถึงแนวทางในการ
ประเมนิ ผลการแกป ญหา
4.3 ดาํ เนนิ การแกป ญหาและประเมนิ ผล ขัน้ ตอนน้จี ะเปนการลงมือแกปญหา
และประเมินวาวิธีการแกปญหาและผลที่ไดถูกตองหรือไม หรือไดผลเปนอยางไร ถาการ
แกป ญหาทําไดถ ูกตองกจ็ ะมีการประเมินตอไปวาวิธีการน้ันนาจะยอมรับไปใชในการแกปญหา
อ่ืนๆ แตถาพบวาการแกปญหาน้ัน ไมประสบความสําเร็จก็จะตองยอนกลับไปเลือกวิธีการ
แกปญหาอื่นๆท่ีไดกําหนดไวแลวในข้ันท่ี 2 และถายังไมประสบความสําเร็จ ผูเรียนจะตอง
ยอนกลับไป ทําความเขาใจปญหาใหมวามีขอบกพรองประการใด เชนขอมูลกําหนดใหไม
เพยี งพอ เพ่ือจะไดเ ร่มิ ตนการแกปญหาใหม
4.4 ตรวจสอบการแกป ญหา เปนการประเมนิ ภาพรวมของการแกปญหาทั้งใน
ดา นวิธีการแกป ญ หา ผลการแกปญ หาและการตดั สนิ ใจ รวมทัง้ การนาํ ไปประยกุ ตใช ทงั้ นี้
ในการแกป ญหาใด ๆ ตอ งตรวจสอบถงึ ผลกระทบตอ ครอบครวั และสังคมดวย
กจิ กรรมทายบทท่ี 8
จงใหผูเรยี นอธบิ ายตามประเดน็ ดังตอไปนี้
1. จงบอกความหมายและความสําคัญของทกั ษะชวี ิต
2. การท่ผี เู รียนรจู ักตนเองวา มขี อดี – ขอเสีย ถือวา มีทักษะชีวติ ในดา นใด
3. ในกรณีเกิดความเครียดในการเตรยี มสอบ ผเู รยี นจะมวี ธิ ีจดั การความเครียดของตนเอง
อยา งไร
4. ถา เพื่อนในที่ทํางานของผูเรียนทะเลาะกัน ผูเ รยี นจะแนะนาํ เพ่อื นอยา งไร ในการแกไข
ปญหาที่เกิดข้นึ
บทท่ี 9
อาชพี งานบริการดา นสุขภาพ
สาระสาํ คญั
การนวดแผนไทยสามารถชว ยรักษา/บรรเทาอาการของโรคได ในปจจุบันการนวด
แผนไทยมีช่ือเสียงท่ัวโลก โดยเฉพาะในแวดวงกายภาพบําบัด การเรียนรูเร่ืองการนวดแผน
ไทยจะชว ยใหม แี นวทางเลอื กในการดแู ลสุขภาพไดอ ีกทางหนง่ึ
ผลการเรยี นรูท ค่ี าดหวงั
1. อธบิ ายประวัติและท่ีมาของการบริการดานสุขภาพได
2. อธิบายและการเลอื กใชวธิ กี ารนวดแผนไทย
3. บอกแหลงเรียนรกู ารนวดแผนไทยได
ขอบขา ยเนอ้ื หา
เร่ืองท่ี 1 ประวัติและท่มี าของการบรกิ ารดา นสุขภาพ
ประวัติการนวดแผนไทย
ประเภทของการนวดแผนไทย
เร่ืองที่ 2 วธิ กี ารนวดแผนไทยแบบตางๆ
เรอ่ื งที่ 3 แหลง ขอมูลการเรียนรกู ารนวดแผนไทย
บทท่ี 9
อาชพี งานบรกิ ารดา นสขุ ภาพ
เรื่องที่ 1 ความหมายงานบรกิ ารดานสขุ ภาพ
ในปจจุบันคนเรามีการดูแลสุขภาพของตนเองกันมากข้ึน โดยใหความสําคัญตอ
ตัวเองเพ่ิมเติมจากปจจัย 4 ท่ีตองใหความสําคัญอยูแลว จึงเกิดธุรกิจงานบริการดานสุขภาพ
เพื่อตอบสนองความตองการของทุกๆ คน ซ่ึงมีหลายประเภท เชน การนวดแผนไทย การทํา
สปา การฝก โยคะ การเตนแอโรบคิ และการลลี าศเพ่ือสุขภาพ เปน ตน ในที่น้จี ะขอยกตวั อยา ง
การนวดแผนไทย เพอื่ เปนลูทางไปสกู ารประกอบอาชีพกบั งานบรกิ ารดา นสุขภาพได ตอไป
การนวดแผนไทย
การนวดแผนไทย เปนทั้งศาสตรและศิลปท่ีมีมาแตโบราณ โดยภูมิปญญาอันล้ําคา
ของคนไทยทส่ี ั่งสมและเรียนรวู ิธีการชวยเหลอื กันเองเมือ่ ปวดเม่ือย เจ็บปวย รูจ กั การผอนคลาย
กลามเนื้อดวยการบีบ นวด ยืด เหยียด ดัดดึงตนเองหรือรูไวชวยเหลือผูอื่น การนวดเปนการ
ชวยเหลือเก้อื กูลท่อี บอุนเริ่มจากคน ในครอบครวั ดว ยสอื่ สมั ผัสแหงความรกั และความเอื้ออาทร
ถายทอดความรูจากการสั่งสมประสบการณจากคนรุนหนึ่ง ไปยังอีกรุนหนึ่ง แตในปจจุบัน
หลายคนกย็ ังเสาะแสวงหา ในการดแู ลสขุ ภาพของตนเองโดยการนวดแผนไทย เปน อกี ทางเลือก
หนงึ่ สําหรับการดูแลสขุ ภาพ และไดรบั ความนยิ มมากขน้ึ เรือ่ ย ๆ จงึ กลายเปน ศาสตรแ ขนงหน่ึง
ทม่ี บี ทบาทในการนาํ มาบาํ บดั รักษาอาการ และโรคบางอยาง
ประวัตกิ ารนวดแผนไทย
จากหลักฐานทางประวัติศาสตรท ี่บนั ทึกเรื่องราวเกี่ยวกับการนวดไทยที่เกาแกท่ีสุด
คือ ศิลาจารึกสมัยสุโขทัยท่ีขุดพบในปามะมวง ซึ่งตรงกับสมัยพอขุนรามคําแหง ซ่ึงไดจารึก
รูปการรักษาโรคดว ยการนวดไว
ในสมยั อยธุ ยามีหลกั ฐานที่ปรากฏอยา งชัดเจนเกย่ี วกบั การนวดไทยในป พ.ศ. 1998
ในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โดยมีพระราชกฤษฎีกาแบงหนาท่ีของแพทยตาม
ความชาํ นาญเฉพาะทาง โดยแยกเปนกรมตางๆ เชน กรมแพทยา กรมหมอยา กรมหมอกุมาร
กรมหมอนวด กรมหมอตา กรมหมอวัณโรค โรงพระโอสถ นอกจากน้ียังไดมีการกําหนดศักดินา
และดํารงยศตําแหนงเปนหลวง ขุนหมื่น พัน และครอบครองท่ีนาตามยศและศักดินาท่ีดํารง
ซึ่งปรากฏอยูในกฎหมาย “นาพลเรือน” ตอมาในรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ซึง่ เปน ยคุ ท่ีการนวดไทยรงุ เรอื งมาก โดยปรากฏในจดหมายเหตุของราชทูตจากประเทศฝร่ังเศส
ชอื่ ลา ลู แบร ในปพ .ศ. 2230 วา
“ในกรงุ สยามนน้ั ถาใครปว ยไขล ง ก็จะเรม่ิ ทําเสน สายยืด โดยใหผ ชู ํานาญทางน้ี
ข้ึนไปบนรางกายของคนไข แลวใชเทาเหยีบ กลาวกันวาหญิงมีครรภมักใชใหเด็กเหยียบ
เพือ่ ใหคลอดบตุ รงา ยไมพักเจ็บปวดมาก”
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลาเจาอยหู ัว (รชั กาลท่ี 3) ราว พ.ศ. 2375 ทรงให
วัดโพธิ์ (วัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร ในปจจุบัน) เปนมหาวิทยาลัยของปวง
ชน ทรงใหเลอื กสรรและปรับปรุงตํารายาสมุนไพรรอบพระอาราม และทรงโปรดใหปนรูปฤๅษี
ดดั ตนซึ่งเปน รูปหลอ ดว ยสังกะสผี สมดีบกุ เพ่ิมเตมิ จนครบ 80 ทา พรอมโปรดใหเขียนโคลงอธิบาย
ประกอบทารูปฤาษีเหลาน้ัน ในการแกอาการโรคน้ัน จนครบ 80 ทา และจารึกสรรพวิชาการ
นวดไทยลงบนแผนหินออน 60 ภาพ แสดงถึงจุดนวดอยางละเอียดประดับบนผนังศาลาราย
และบนเสาภายในวัดโพธ์ิ ถือไดวาเปนการรวบรวมองคความรูดานการนวดไทยไวอยางเปน
ระบบ
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 5) ราว พ.ศ. 2449
ทรงใหกรมหม่ืนภูบดีราชหฤทัย กรมหม่ืนอักษรสาสนโสภณและหลวงสารประเสริฐ ไดชําระ
ตําราการนวดแผนไทย และเรียกตําราฉบับน้ีวา “ตําราแผนนวดฉบับหลวง” ตํารานวดน้ีใช
เรียนในหมูแพทยหลวง หรือแพทยในพระราชสํานัก และ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลาเจาอยูหัว และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวนั้น ผูที่มีชื่อเสียงมากใน
การนวดในขณะนั้นคือ หมออินเทวดา ซ่ึงเปนหมอนวด ในราชสํานัก ไดถายทอดวิชานวด
ท้งั หมดใหแกบุตรชายคือ หมอชิต เดชพันธ ซึ่งตอมา ไดถายทอดความรูใหแกลูกศิษย ความรู
เกี่ยวกบั การนวดแผนโบราณนัน้ เริม่ แพรหลาย และเปดกวางสําหรับบุคคลท่ัวไปเม่ือประมาณ
30 ปม านี้
แบบของการนวดแผนไทย
การนวดแผนไทยแบงออกเปน 2 แบบ ไดแ ก
1. การนวดแบบราชสาํ นัก เปนการนวดเพื่อถวายพระมหากษัตริยและเจานาย
ช้นั สูง ในราชสาํ นักการนวดประเภทนีจ้ งึ ใชเฉพาะมอื นิว้ หวั แมม อื และปลายนิ้วเพื่อท่ีผูนวดจะ
ไดส มั ผัสรางกายของผรู บั การนวดใหน อยทส่ี ุด
2. การนวดแบบทั่วไป (แบบเชลยศักด์ิ) หรือเรียกกันท่ัวไปวา “จับเสน”
เปนการนวดของสามญั ชนเพอ่ื ผอนคลายกลามเนื้อ และชวยการไหวเวียนของโลหิตโดย ใชมือ
นวดรว มกบั อวยั วะอืน่ ๆ เชน ศอก เขา และเทา ดว ยทาทางท่วั ไปไมม แี บบแผน
ประเภทของการนวดแผนไทย
การนวดแผนไทย ทําใหส ุขภาพดี ผอ นคลาย ซ่ึงแบง ออกไดห ลายประเภท ไดแก
นวดนํ้ามัน เปน การนวดรางกายโดยใชนํา้ มนั ทส่ี กัดจากธรรมชาตทิ ี่บริสุทธิ์ ท่ีมีกล่ิน
หอมจากธรรมชาติ ชว ยใหส ดชื่น ผอนคลาย และคลายเครียด ดวยกล่ินหอม เฉพาะทางที่ใชใน
การบําบดั อาการใหเบาบางลง เชน อาการนอนไมหลับ อาการเครียด หดหู นอกจากนี้น้ํามัน
บรสิ ทุ ธ์ิยังชว ยบาํ รุงผิว และกระชบั รูปราง ทําใหรูสกึ สบายตวั
นวดผอนคลาย เปนการนวดท่ีถูกสุขลักษณะตามแบบแผนไทยโบราณ ซึ่งสงผล
โดยตรงตอรา งกายและจิตใจ ทําใหเกิดการไหลเวียนของเลือดลม คลายกลามเน้ือท่ีลา รักษา
อาการปวดเมื่อยตามรางกาย คลายเครียด เคล็ดขัดยอก ชวยใหสุขภาพกระปร้ีกระเปรา
จิตใจผอนคลาย
นวดฝาเทา เปน การปรับสมดุลในรางกาย ชวยใหระบบการไหวเวียนไปยังอวัยวะ
ตา ง ๆ ภายในรา งกายไดด ขี ้ึน สง ผลใหม กี ารขบั ถายของเสียออกจากเซลลป รับสภาวะสมดุลของ
รา งกายทาํ ใหส ขุ ภาพโดยรวมดขี ้นึ
นวดสปอรต การออกกําลังกายอยางหักโหมจนเกินไป อาจทําใหเกิดอาการเกร็ง
ของกลามเน้ือเฉพาะสวน หรืออาการลา การนวดสปอรต จึงเปนการนวดคลายกลามเน้ือ
ดงั กลาว ชวยใหก ลา มเนอ้ื ผอ นคลาย
นวดสลายไขมัน – อโรมา เปนการนวดน้ํามัน เพื่อผอนคลายกลามเนื้อ ทุกสวน
ของรา งกาย
นวด – ประคบ เปนการใชลูกประคบสมุนไพร ประคบตามรางกาย เพื่อผอนคลาย
กลา มเนื้อทีต่ ึงหรือเครียดใหสบาย
นวด – ไมเกรน เปนการนวดเพ่ือแกอาการปวดศีรษะ โดยจะกดจุดบริเวณศีรษะ
ทปี่ วด
เรื่องที่ 2 วิธกี ารนวดแผนไทยแบบตางๆ
เราสามารถนวดบนรา งกาย โดยใชว ธิ ีการนวดตาง ๆ ดังน้ี
การนวด การใชน้ําหนักกดลงบนสวนตาง ๆ ของรางกาย นํ้าหนักท่ีกดจะทําให
กลามเนื้อ เสน เอน็ พงั ผืดคลาย การนวดไทยเนน มักจะใชนาํ้ หนกั ของรา งกายเปนแรงกด
การบีบ เปนการใชนํ้าหนักกดลงบนสวนตาง ๆ ของรางกาย ในลักษณะ
2 แรงกดเขาหากัน
การคลึง การใชน้ําหนักกดคลึง เปนการกระจายนํ้าหนักกดบนสวนน้ัน การคลึง
ใหผ ลในการคลายใชกบั บริเวณท่ไี วตอ การสมั ผัส เชน กระดูก ขอตอ
การถู การใชน้ําหนักถู เพ่ือทําใหผิวหนังเกิดการยืดขยายรูขุมขนเปด วิธีน้ีนิยมใช
กับยาหรอื นาํ้ มันเพ่อื ใหต ัวยาซึมเขา ไดด ี
การกล้ิง การใชนํ้าหนักหมุนกลิ้ง ทําใหเกิดแรงกดตอเนื่องไปตลอดอวัยวะ ท้ังยัง
เปน การยืดกลา มเนอ้ื อกี ดว ย
การหมุน การใชนํ้าหนักหมุนสวนที่เคลื่อนไหวไดคือ ขอตอ เพื่อใหพังผืด เสนเอ็น
รอบ ๆ ขอตอ ยืดคลายการเคลอ่ื นไหวดีขน้ึ
การบดิ จะมีลักษณะคลา ยกบั การหมนุ
การดัด การใชน้ําหนักยืด ดัดกลามเน้ือ เสนเอ็นพังผืดใหยืดกวาการทํางานปกติ
เพอ่ื ใหเ สน หยอนคลาย
การทบุ การใชน ้ําหนกั ทบุ ตบ สับ ลงบนกลา มเนือ้ ใหท ว่ั
การเขยา การใชน้ําหนักเขยากลามเน้ือ เพื่อกระจายความยืดหยุนของกลามเนื้อ
ใหทั่ว
ลกั ษณะการนวดแผนโบราณ แบงออกเปน 3 ลกั ษณะ
1. การนวดยืด ดัด ลักษณะการนวดแบบน้ี คือ การยืด ดัดกลามเนื้อ เสนเอ็น
พังผืด ใหย ืดคลาย
2. การนวดแบบจบั เสน ลกั ษณะการนวด คือ การใชนาํ้ หนกั กดลงตลอด ลําเสนไป
ตามอวยั วะตา งๆ การนวดชนิดน้ีตองอาศัยความเช่ืยวชาญของผูนวด ซ่ึงไดทําการนวดมานาน
และสงั เกตถงึ ปฏิกิรยิ าของแรงกดทแ่ี ลนไปตามอวยั วะตาง ๆ
3. การนวดแบบกดจดุ ลกั ษณะการนวด จะเนนการใชน้ําหนักกดลงไปบนจุดของ
รา งกาย การนวดน้เี กิดจากประสบการณและความเชื่อวาอวัยวะของรางกาย มีแนวสะทอนอยู
บนสวนตา ง ๆ และเราสามารถกระตุน การทํางานของอวยั วะน้ันโดยการกระตุนจุดสะทอนท่ีอยู
บนสว นตาง ๆ บนรา งกาย
เทคนคิ การนวดแผนโบราณ
1. นวดดวยน้ิวหัวแมมือ วิธีกดนวดแบบนี้ใชผิวหนาของนิ้วหัวแมมือสวนบน ไมใช
ปลายนวิ้ หรอื ปลายเลบ็ จกิ ลงไป
2. นวดดวยฝามือ เหมาะสําหรับการนวดบรเิ วณทมี่ พี ื้นท่กี วาง นาํ้ หนกั ตัวท่ีท้ิงลงไป
ที่ฝา มอื จะชว ยทาํ ใหก ารนวดดวยวิธนี ไี้ ดผลดียิง่ ขน้ึ ซง่ึ สามารถนวดได 3 ลกั ษณะคอื
2.1 นวดดวยทา ประสานมอื
2.2 นวดดวยทาผีเสอื้ บนิ
2.3 นวดโดยวางมอื หา งจากกันเล็กนอ ย
3. นวดดวยนิ้วหัวแมมือท้ังสองขางพรอมกัน วิธีนี้จะชวยกระตุนเสนพลังตาง ๆ
โดยการเลอ่ื นน้ิวไปตามแนวเสน เวนชองวางระหวางนิ้วทั้งสองขา งประมาณ 2-3 ซม.
4. กดนวดดว ยเทา นิยมใชวธิ ีการกดนวดบริเวณที่กวางและมีสวนเวาสวนโคงอยาง
นอ งขาหรอื ตน ขาทคี่ อนขางแข็งแกรงของผูรับการนวด ในขณะที่การใชสนเทานวด จะเหมาะ
สาํ หรบั การนวดในทาทีต่ อ งการแรงกดมาก ๆ
5. กดนวดดวยเขา การกดนวดดวยเขามักจะนิยมใชในทาที่มือจําเปนตองไปจับ
อวยั วะสวนอนื่ อยู ซ่งึ จะถา ยเทนา้ํ หนักไดด ี นิยมใชในการนวดตนขาสวนลา งและสะโพก
6. ยืนกด การใชทาน้ีจะตองระวังการยืนใหดี ควบคุมใหไดวาจะทิ้งนํ้าหนักตัวไป
สวนไหนจึงจะไมเ ปน อันตรายและเกิดประโยชนกับผูรับการนวดมากท่ีสุด มักนิยมยืนครอมตน
ขาของผรู ับการนวด
7. กดนวดดว ยขอ ศอก นิยมใชปลายขอศอกแหลม ๆ กดลงไป มักกดบริเวณตนขา
สะโพกและไหล ทีม่ กี ลา มเน้ือคอนขางหนา มีไขมันสะสมมาก
8. กดนวดดวยทอนแขน ถาหากผูรับการนวดรูสึกเจ็บ ใหใชวิธีการนวดดวยทอน
แขนแทน เพราะจะรูสึกนมุ นวลขึน้ มากเลยทีเดียว
เรื่องที่ 3 แหลง ขอมลู การเรียนรูการนวดแผนไทย
เน่อื งจากการนวดแผนไทยไดร ับความนิยมเปนอยางมากในปจจุบัน ดังน้ันจึงมีการ
นําบริการ การนวดแผนไทยมาทําเปนธรุ กิจควบคูกับธุรกิจสปา ซ่ึงกลายเปนธุรกิจท่ีสรางรายได