The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทช11002 สุขศึกษา พลศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aunaphom.tuck, 2022-09-01 23:46:53

ทช11002 สุขศึกษา พลศึกษา

ทช11002 สุขศึกษา พลศึกษา

ใหแกประเทศไทยเปนจํานวนมาก โดยมีรายไดเฉลี่ยในการดําเนินกิจการการนวดแผนไทย

มรี ายละเอยี ด ดังนี้

การนวดตวั โดยเฉลย่ี 300 – 400 บาท/ 2 ชั่วโมง

การนวดฝาเทา โดยเฉลีย่ 150 – 250 บาท/ช่ัวโมง

การนวดประคบสมนุ ไพร โดยเฉล่ยี 300 – 350 บาท/ 2 ชั่วโมง

การนวดนํา้ มนั โดยเฉลย่ี 600 – 800 บาท/ 2 ชวั่ โมง

ดังน้นั หากผเู รยี นที่สนใจก็สามารถศกึ ษาฝกทักษะ สรา งความชํานาญนําไปสูอาชีพ

เปน ของตนเองได จากแหลงเรยี นรูตางๆ ในชุมชน เชน

แหลงเรยี นรกู ารนวดแผนไทย เขตกรงุ เทพมหานคร
1. โรงเรยี นแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (ทาเตียน) มีโรงเรียนในเครือ 3
สาขาเปดใหบริการดานการเรียน-ก า ร ส อ น เ กี่ย ว กับ ก า ร น ว ด แ ผ น ไ ท ย ม า ตั้ง แ ต
ปพุทธศักราช 2505 และตอมาไดมีการเพิ่มหลักสูตรเรียนใหมมาจนถึงปจจุบัน 392/25-28
ซอยเพ็ญพัฒน 1 ถนนมหาราช เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 02-622-3551, 02-
221-3686
2. บานนานาชาติ บานสิริรามาเพลส ถนนพัฒนาการ ระหวางซอย 48 กับ
ซอย 50 เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ โทรศพั ท 02-722-6602 ถงึ 10
3. ศูนยอ บรมเรอื นไมส ปาสมาคมแพทยแผนไทย สาขาพหลโยธนิ 54/4
กรงุ เทพฯ โทรศพั ท 089-214-1118, 084-091-9511
4. โรงเรียนพฤษภาหัตถแผนไทย 25/8 ซอย 26, ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขต
คลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศพั ท 02-2204-29225 ถงึ 3
5. โรงเรียนการนวดแผนไทย 13 หมู 12 ถนนรามคําแหง 166 แขวงมีนบุรี เขต
มีนบุรี กรงุ เทพฯ 10510 โทรศพั ท 02-917-4933, 02-517-6818
6. ศูนยพ ัฒนาการแพทยแ ผนไทย ชลนเิ วศน 530 หมบู านชลนเิ วศน ซอย 9 (แยก
18) ถนนประชาช่นื แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0-2911-0543, 0-
2585-0995
7. โครงการดอยนํ้าซับ 505 ซอยลาดพราว 48 แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง
กรงุ เทพฯ โทรศัพท 02-939-8167, 02-939-9939, 02-513-9086

8. สมาคมนวดแผนโบราณไทย 138/157 หมู 4 วงคันนายาว เขตคันนายาว
กรุงเทพฯ

9. โรงเรียนสปาออฟสยาม 163 อาคารไทยโอเช่ียน ถนนสุริยวงศ เขตบางรัก
กรุงเทพฯ โทรศัพท 02-634-1900, 081-426-5843

10. ชวี าศรม อคาเดมี่ กรุงเทพฯ ชัน้ 1 อาคารโมเดิรนทาวน 87/104
ถนนสุขมุ วิท ซอย 63 กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท 02-711-5270-3

11. ปร๊ินเซสบิวตี้เซ็นเตอร สาขาสยามสแควร 194-196 ซอย 1 (สกาลา)
ถนนพระราม 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 02-253-3681

12. เบญจ สปา 333 ซอย21 เมืองทอง 2/2 ถนนพัฒนาการ 61 เขตประเวศ
กรงุ เทพฯ 10250 โทรศพั ท 02-722-2900

13. สถาบันเวชศาสตรความงามแผนไทย 111/40 หมูบานศิริสุข ถนนวิภาวดี-
รังสิต แขวงสีกนั เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10120

14. พลอยมาลี ศนู ยฝ กสาขาสมาคมแพทยแผนไทย (ฝกออมใหญ) เลขท่ี 177
(30) ซอยพหลโยธนิ 24 ถนนพหลโยธนิ แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

15. โรงเรยี นกรงุ เทพความงามและสปา เลขท่ี 12/1 ถนนลาดพราว 122 แขวง
วังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 02-9342-690, 02-734-3290,
086-510-5078, 086-322-5458

แหลงเรียนรูก ารนวดแผนไทย เขตภาคกลาง
1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (ทาเตียน) มีโรงเรียนในเครือ
3 สาขาเปดใหบริการดานการเรียน-การสอน เกี่ยวกับการนวดแผนไทยมาตั้งแ ต
ปพทุ ธศักราช 2505 และตอมาไดมีการเพิ่มหลักสูตรเรียนใหมมาจนถึงปจจุบัน 87 หมู 1 ถนน
ศาลายา-นครชัยศรี ตําบลมหาสวัสดิ์ อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73120 โทรศัพท
034-365-001 ถงึ 04
2. โรงเรยี นแพทยแผนโบราณวดั พระเชตุพนฯ (วัดโพธิ-์ แจงวัฒนะ) อาคารสาย
ลม 50 – 89 ซอยปากเกร็ด-แจงวัฒนะ 15 ถนนแจงวัฒนะ ตําบลปากเกร็ด อําเภอปากเกร็ด
จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท 02-962-7338 ถึง 40 โทรศัพท 02-962-7338 ถึง 40
โทรศัพท 053-410-360 5 ถึง 1

3. สมาคมแพทยแผนไทย ศูนยฝกอาชีพ ตําบลคลองสาม อําเภอคลองหลวง
จังหวัดปทุมธานี

4. สถานนวดแผนโบราณ (หมอธนู) คลองหน่งึ คลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี
5. สวนนานาชาติ อาณาจกั รแหง การพักผอ นทเี่ พยี บพรอ มไปดว ยการนวด ในแบบ
ตาง ๆ ตลอดจนการปฏิบัติเพ่ือการ บําบัดรักษาโรค เวลาเพียง 1 หรือ 2 ช่ัวโมงกับ
ผูช ํานาญการดานการนวดที่มีคุณภาพและมากดวยประสบการณ 36/12 หมูที่ 4 ตําบลหนอง
บัว อาํ เภอเมอื งฯ จังหวดั กาญจนบรุ ี 71190 โทรศพั ท 081-9080-201, 034-633-356
6. พลอยมาลี ศนู ยฝ ก สาขา สมาคมแพทยแผนไทย (ฝก ออมใหญ) 47/78 หมูบา น
นิศาชล ถนนเพชรเกษม ตาํ บลออ มใหญ อาํ เภอสามพราน จังหวดั นครปฐม 73160
7. โรงเรียนสุขภาพเชตวัน 87 หมู 1 ถนนศาลายา-นครชยั ศรี ตาํ บลมหาสวสั ด์ิ
อําเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม 73170 โทรศัพท 034-365-001 ถึง 4
8. กลมุ พฒั นาอาชีพนวดแผนไทยวดั เสาธงทอง ตําบลเกาะเกร็ด อําเภอปากเกร็ด
จังหวดั นนทบุรี
9. สถาบันอบรมคลินิกหมอนภา การแพทยแผนไทย : 89/59 ซอยภูมิเวท 4
ตาํ บลปากเกรด็ อําเภอปากเกรด็ จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท 081-8683-888,
02-583-3377, 083-4391-414
10. โรงเรียนบุญญากรนวดแผนไทย 83/4-5 หมู 11 ถนนเลียบทางรถไฟ ตําบล
กะมัง อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โทรศัพท 035-235-688,
094-854-1221

แหลงเรยี นรกู ารนวดแผนไทย เขตภาคเหนือ
1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (ทาเตียน) มีโรงเรียนในเครือ

3 สาขาเปดใหบริการดานการเรียน-การสอน เกี่ยวกับการนวดแผนไทยมาตั้งแ ต
ปพุทธศักราช 2505 และตอมาไดม กี ารเพิ่มหลกั สูตรเรยี นใหมมาจนถึงปจจุบัน 7/1-2 ซอยหลัง
รานสมุดลานนา ถนนประชาอุทิศ ตําบลชางเผือก อําเภอเมืองฯ จังหวัดเชียงใหม โทรศัพท
053-410-360 ถึง 1

2. โรงเรยี นไอทเี อม็ นวดไทยโบราณ 17/6-7 ถนนมรกต ตําบลชางเผือก อําเภอ
เมอื งฯ จงั หวัดเชียงใหม 50300 โทรศพั ท 053-218-632

3. โรงเรยี นอาทติ ยนวดแผนไทย 159/2 ซอย 4 แกว นวรัตน ตําบลวัดเกต อําเภอ
เมอื งฯ จังหวัดเชียงใหม โทรศพั ท 053-262-574

4. โรงเรียนลานนานวดแผนไทย 47 ถนนชาง มอยเกา ซอย 3 ตําบลชางมอย
อําเภอเมืองฯ จงั หวัดเชียงใหม 50300 โทรศัพท 053-232-547

แหลง เรยี นรกู ารนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตตะวนั ออก
1. กศน. อําเภอบางปะกง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา โทรศัพท 038-531-310
2. กศน. อําเภอสนามชัยเขต จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา โทรศัพท 038-597-011
3. วารีปรุ ะ มาสสาจ แอนด สปา 52 หมู 9 ตาํ บลบางพระ อําเภอศรีราชา จังหวดั
ชลบรุ ี 20110 โทรศัพท 038-312-581
4. เรยี นพัฒนาการนวดแผนไทย พัทยา 437/48-50 ถนน พทั ยาสาย 2 ซอยยศ
ศักดิ์ (ซอย 6) อาํ เภอบางละมุง จงั หวัดชลบุรี 20150 โทรศัพท 038-414-115 5 ถึง 6

แหลง เรียนรูการนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
1. กลมุ นวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ บานดาวเรอื ง ตําบลสองหอ ง อําเภอเมืองฯ
จงั หวดั หนองคาย 41300 โทรศัพท 089-6213-512
2. วทิ ยาลยั ชมุ ชนหนองบัวลาํ ภู ตําบลดานชา ง อําเภอนากลาง จังหวดั
หนองบวั ลําภู
3. ศูนยสาธิตนวดแผนไทย สาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวดั อุดรธานี โทรศพั ท 042-
223-356 ตอ 611 หรอื โทร 042-249-692
4. กลุมแพทยแผนไทย ตําบลนาพิน อําเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
34130 โทรศัพท 08-7908-2733, 08-7958-4209

แหลง เรียนรกู ารนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตภาคใต
สโุ ข สปา วัฒนธรรมและสุขภาพ รสี อรท 5/10 หมู 3 ถนนเจาฟา ตําบลวิจิตร
อําเภอเมือง จังหวัดภูเกต็ 83000 โทรศพั ท 076-263-222

กจิ กรรมทา ยบทที่ 9

ใหผ ูเรียนอธิบายตามประเด็นดังตอไปน้ี

1. จงอธิบายประวัติการนวดแผนไทยต้งั แตสมัยอยุธยาถึงรตั นโกสินทร โดยสงั เขป
2. การนวดแผนไทยมกี ลี่ กั ษณะ อะไรบาง จงอธิบาย
3. ใหผ เู รียนบอกแหลง เรยี นรูก ารนวดแผนไทยมาอยางนอ ย 5 แหง

เฉลยกิจกรรมทา ยบท

บทท่ี 1 รา งกายของเรา

กจิ กรรมที่ 1

1. จงอธิบายวัฏจักรของชวี ิตมนุษยต ง้ั แตแรกเกิดจนตายโดยสังเขป
ตอบ
1. การเกดิ
จะคลอดจากครรภมารดา เจริญเติบโตเปนทารก แลวพฒั นาการเปนวัยเดก็ วยั รุน

วัยผใู หญ วยั ชรา ตามลําดบั
2. การแก
เมื่ออายุมากขน้ึ รางกายจะมกี ารเปลย่ี นแปลงทเ่ี ห็นไดชดั เชน ผิวหนังเหี่ยวยน

การเคลือ่ นไหวชา ลง
3. การเจบ็
การเจ็บปวยของมนุษยสว นใหญเกิดจากการขาดดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกตอง ถาไมดูแล

รกั ษาสุขภาพตนเอง รางกายยอ มออ นแอและมีโอกาสจะรับเชอื้ โรคเขาสูรางกาย
4. การตาย
การตายคือ เม่ือถึงวัยที่รางกายเส่ือมสภาพไปตามธรรมชาติ เมื่ออยูในวัยหนุมสาว

จงึ ควรดูแลรักษาสุขภาพและดาํ รงชีวิตดว ยความไมประมาท

2. จงอธิบายลกั ษณะโครงสรา งหนา ทแ่ี ละการทาํ งานของอวยั วะภายนอก มา 1 อยา ง
ตอบ ตา เปน อวยั วะที่ทาํ ใหม องเหน็ สง่ิ ตาง ๆ และชวยใหเกิดการเรียนรู สวนประกอบของตา
คือ

 คิว้
 หนังตา และเปลอื กตา
 ขนตา
 ตอ มนาํ้ ตา

3. จงอธิบายลักษณะโครงสรา งหนา ที่และการทํางานของอวยั วะภายใน มา 1 อยา ง
ตอบ ลําไสใหญ แบง ออกเปน3 สว นคอื

 กระเปาะลําไสใ หญเ ปนลําไสใหญส วนแรก ตอ จากลาํ ไสเลก็ ทําหนา ที่รับ กากอาหาร
จากลาํ ไสเลก็

 โคลอน (Colon) เปนลําไสใ หญสวนทย่ี าวทีส่ ดุ ประกอบดวยลาํ ไสใ หญข วา ลําไสใหญ
กลาง และลาํ ไสใ หญซาย มหี นาที่ดูดซมึ นา้ํ และพวกวติ ามนิ บี12 ท่ีแบคท่ีเรียในลาํ ไส
ใหญ สรา งข้นึ และขบั กากอาหารเขา สลู าํ ไสใ หญสว นตอ ไป

 ไสต รง เม่อื กากอาหารเขา สูไ สต รงจะทําใหเกิดความรูสึกอยากถายขนึ้ เพราะความดนั
ในไสตรงเพม่ิ ขึ้นเปนผลทาํ ใหกลา มเนือ้ หรู ูดท่ีทวารหนกั ดา นใน ซ่ึงจะทําใหเ กดิ การถา ย
อุจจาระออกทางทวารหนักตอไป

4. จงอธิบายวธิ ีการดูแลอวยั วะภายนอกและภายใน มาพอสงั เขป
ตอบ 1.การดูแลรกั ษาอวยั วะภายนอก

 ระมดั ระวังดแู ลไมใหศ ีรษะไดร ับความกระทบกระเทอื น
 ไมค วรใชสายตาเพง มองนานๆ ควรพกั สายตาเปนระยะๆ โดยการหลับตาเบาๆ
 ไมใชข องแขง็ ท่ีไมใ ชอุปกรณแคะหู ทาํ การแคะหูโดยเดด็ ขาด

ฯลฯ
2. การดูแลรักษาอวยั วะภายใน
 รับประทานอาหารที่ถกู สขุ ลักษณะ มีสารอาหารครบทุกหมู
 หลกี เลีย่ งสารเสพติดใหโ ทษทุกชนดิ
 ผอนคลายความตงึ เครียด พักผอ นใหเพยี งพอ

ฯลฯ

เฉลยกจิ กรรมที่ 2

1. ง 2. ข 3. ง 4. ค 5. ก
6. ค 7. ข 8. ข 9. ข 10. ค

บทที่ 2 การวางแผนครอบครัวและพฒั นาการทางเพศ

1. การวางแผนชวี ิต หมายถึงอะไร
ตอบ การวางแผนชวี ติ คือ การกําหนดเปาหมายของชวี ติ ในดานตางๆ การวางแผนชีวิต
เปน กระบวนการนําไปสูว ัตถปุ ระสงคทีว่ างไว โดยมแี นวทางทแ่ี นนอน

2. การเตรียมตัวกอ นสมรสควรปฏิบตั ิตนอยา งไร
ตอบ 1.สํารวจวุฒิภาวะทางอารมณ กอนการตัดสินใจแตงงาน จําเปนท่ีท้ังสองฝายจะตอง
สํารวจตัวเองมีความพรอมที่จะแตงงานแลวหรือยัง โดยเฉพาะความพรอมของวุฒิภาวะทาง
อารมณ

2. สาํ รวจความพรอมดานสขุ ภาพของทง้ั สองฝาย ทั้งทางดานรา งกายและจิตใจ คูสมรส
จึงควรไปปรกึ ษาแพทยกอ นแตงงาน เพ่ือใหตรวจรา งกายโดยละเอียด และขอคําปรึกษาในดาน
สุขภาพ

3. การปรบั ตัวในชวี ิตสมรสควรปฏบิ ตั ิตนอยางไร
ตอบ 1.ใหเ กียรตกิ ัน ยกยองกัน

2.มคี วามซอ่ื สัตยต อกนั ไมประพฤตนิ อกใจ
3.มกี ารวางแผนเกย่ี วกับการใชจาย

ฯลฯ

4. นักศกึ ษามีแนวทางในการปอ งกันการใชความรุนแรงในครอบครัวและสังคม อยางไร
ตอบ ปลกู ฝงความรกั และความเขา ใจกนั ในครอบครัว พูดจากันดว ยเหตผุ ล เห็นใจผอู นื่ ออ นแอ
กวา ไมใ ชความรุนแรงตอ กนั

5.นักศกึ ษาจะปฏิบตั ิตวั อยา งไรใหครอบครวั มคี วามสขุ
ตอบ 1.ฐานะสามภี รรยา ชว ยกบั ประคบั ประคองชีวติ ครอบครวั ใหร าบรน่ื ม่ันคง

2. ฐานะบดิ า มารดา ชวยกนั เลย้ี งดลู ูกดวยความรกั และเอาใจใส

3. ฐานะลกู ควรใหค วามเคารพเชอื่ ฟงคาํ สง่ั สอนอบรมของพอ แม และแสดงความรักตอ
พอ แมโ ดยการขยนั หมน่ั เพียรในการศกึ ษาเลาเรียน ประพฤติตนเปน คนดี ชว ยพอแมทํางานบาน
ไมเกเร เสพสารเสพตดิ เลนการพนัน รวมท้ังปฏบิ ตั ิกจิ กรรมภายในยามวา งรว มกับครอบครัว

6. จงเปรยี บเทยี บพฒั นาการทางดานรา งกายของวัยรุนชายและวยั รุน หญงิ
ตอบ วัยรนุ ชายเกดิ นมข้ึนพาน (หัวนมโตขนึ้ เล็กนอ ย กดเจ็บ) เสียงแตก หนวดเคราข้ึน และเร่ิม
มีฝน เปย ก (การหลัง่ นา้ํ อสจุ ิในขณะหลับ มักสมั พันธก บั ความฝน เร่อื งเพศ) การเกิดฝนเปย ก
ครัง้ แรก

วยั รนุ หญิงเปนสาวข้นึ เตา นมมขี นาดโตขึ้น ไขมันท่เี พิ่มขนึ้ ทาํ ใหม รี ูปรางทรวดทรง
สะโพกผายออก และเร่ิมมีประจาํ เดือนครั้งแรก การมีประจําเดือนครัง้ แรก เปนสญั ญาณเขาสู
วัยรุนในหญงิ

ท้ังสองเพศมกี ารเปล่ียนแปลงของอวัยวะเพศขนาดโตขึน้ และเปลย่ี นเปนแบบผูใหญ
มขี นขึ้นบริเวณอวยั วะเพศ มีกลนิ่ ตัว มสี ิวขึ้น

7. นักศกึ ษาจะมีการจดั การกบั ปญ หาดานอารมณ และความตองการทางเพศของตนเองได
อยางไร
ตอบ 1.การควบคุมจติ ใจของตนเอง ตอ งพยายามควบคมุ จิตใจตนเอง มิใหเ กดิ อารมณท าง
เพศโดยการยึดมัน่ ศลี ธรรม

2. การหลีกเล่ยี งจากสง่ิ เรา เพือ่ มิใหเ กดิ อารมณทางเพศ ปฏบิ ัติไดดงั น้ี
 หลกี เล่ยี งการดม การไดก ลนิ่ การอาน การฟง การคิด และจติ นาการ ตลอดจน
การสมั ผสั ส่งิ ทจี่ ะนําไปสกู ารเกดิ อารมณทางเพศ
 ไมค วรอยกู ันลําพงั กับเพศตรงขาม โดยเฉพาะคนท่ีเปนครู กั เพราะเปน โอกาสท่ี
จะทาํ ใหเกิดอารมณทางเพศ อาจมีเพศสัมพนั ธกันได
 หลกี เลี่ยงการสัมผัสรางกายของเพศตรงขาม เพราะจะเปน ตวั กระตุนทาํ ใหเ กดิ
อารมณทางเพศ อาจมีเพศสมั พันธได

8. ใหน ักศกึ ษาบอกวิธีการปองโรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพนั ธ มาพอเขา ใจ
ตอบ 1. ใสถงุ ยางอนามยั หากจะมเี พศสมั พนั ธกับคนท่ไี มแนใจวา มีเชื้อหรอื ไม

2. รักษาความสะอาดของรา งกายและอวัยวะเพศอยางสมาํ่ เสมอ
3. ไมเปลย่ี นคูนอน ใหม สี ามี หรือภรรยาคนเดียว
4. ไมควรมเี พศสมั พนั ธต งั้ แตยังอายนุ อย มสี ถติ ิวาผูท ่ีมเี พศสมั พนั ธต ง้ั แตอ ายุ
ยังนอย จะมโี อกาสตดิ โรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพันธสูง

ฯลฯ

บทที่ 3 การดูแลสุขภาพ

1. ใหนกั ศกึ ษาสรุปความหมายของ “อาหาร” และ “สารอาหาร” มาพอสังเขป
ตอบ อาหาร หมายถงึ สงิ่ ท่ีมนุษยแ ละสตั วกินดืม่ เขาไปแลวบํารุงรางกายใหเจริญเติบโต และ
ดํารงชวี ิต รวมทัง้ สิ่งที่ตน ไมดูดเขาไปหลอ เล้ยี งสวนตา ง ๆ ของตน ไมใหเจริญเตบิ โตและดํารงอยู

สารอาหาร หมายถึง สารท่ีไดรับจากอาหารที่รับประทานเขาไปในรางกายแลวจะ
นาํ ไปใชประโยชนต ามสว นตา งๆของรา งกาย เชน ใหพลงั งานในการดํารงชีวิต เปนสว นประกอบ
ของเนื้อเยือ่ ในสวนตา งๆ ของรา งกาย

2. จงอธิบายสารอาหารที่จําเปนตอ รางกาย ประกอบดว ยอะไรบา ง จงอธิบาย
ตอบ สารอาหารออกเปน 6 ประเภทใหญ ดังน้ี

1. คารโบไฮเดรต เปน สารอาหารประเภทแปง และนํ้าตาล
2. โปรตีน เปนสารอาหารทีจ่ าํ เปนตอรางกายของสิ่งท่มี ชี วี ติ ประกอบ ดว ยธาตุ
สําคัญ ๆ คอื คารบ อน โฮโดรเจน ออกซเิ จน และไนโตรเจน นอกจากนย้ี ังมธี าตอุ ื่นอีกดว ย
3. ไขมัน (Lipid Fat) เปน สารอาหารทีป่ ระกอบดวย คารบอน ไฮโดรเจน
ออกซิเจน ไขมนั เปนสารอาหารทีไ่ มสามารถละลายในนํา้ ได

4.วิตามิน (Vitamin) เปนสารอาหารที่มีหนาท่ีชวยการทํางานของระบบ
ตา งๆในรา งกาย

5. เกลือแร (Mineral Salt) เปนสารอาหารทไ่ี มไ ดใหพลงั งานแกรา งกาย
แตช ว ยเสริมสรา งใหเ ซลลหรืออวัยวะบางสวนของรางกายทนทานไดเปนปกติ

6. นํา้ (Water) เปนสารอาหารที่สําคัญท่สี ุดส่งิ มชี วี ิต โดยรางกายเรามนี ํ้า
เปนองคป ระกอบอยูประมาณ 70 % ของน้ําหนกั ตวั

3. นกั ศึกษามวี ิธีการเลอื กบรโิ ภคอาหารตามหลักโภชนาการอยา งไร
ตอบ 1. รบั ประทานอาหารใหไ ดสารอาหารครบถว นตามท่ีรา งกายตองการ

2. ตองไมร บั ประทานอาหารมากเกินไป หรือรบั ประทานอาหารนอยเกินไป
3. เลือกรบั ประทานอาหารทสี่ ดสะอาด
4.ถา นักศึกษาตอ งการมีสุขภาพแข็งแรง ควรปฏิบตั ิตัวอยางไร
ตอบ 1.การรับประทานอาหารหลกั โภชนาการ
2. พกั ผอนใหเ พยี งพอ
3. ออกกาํ ลงั กายสมาํ่ เสมอ
4. ไมเครยี ด
5. ขบั ถายเปนประจํา
6. ตรวจสุขภาพประจาํ ป

5. การออกกําลังกายมีประโยชนอยา งไรบาง
ตอบ ประโยชนข องการออกกําลงั กาย มีดังน้ี

1. ประโยชนตอระบบหายใจ
2. ประโยชนต อระบบไหลเวียนของโลหิตดี
3. ประโยชนตอระบบกลา มเน้ือ
4. ประโยชนตอการเผาผลาญในรา งกาย
5. ประโยชนต อ ระบบขับถา ย
6. ประโยชนตอ สขุ ภาพจิต และอารมณไมเ ครียด

6. เหตุใดจึงตอ งมีการอบอนุ รางกาย กอนการเลน กีฬาทุกครงั้
ตอบ เปนการเตรยี มความพรอมใหร า งกายอบอนุ ทุกครงั้ เพื่อปองกนั การบาดเจ็บของ
กลามเน้ือ ในการอบอุนรา งกายและผอนคลาย มีวธิ ีการท่สี ามารถทําไดคอื การวง่ิ รอบสนาม
การหมุนคอ หมนุ แขน หมนุ สะเอว พบั ขา หมุนขอ เทา กระโดดตบมอื กม แตะสลับมือ ว่ิงอยกู ับ
ท่ี นงั่ ยืน ฯลฯ

7. ถา นักศึกษาตองการทาํ ใชเ วลาวา งในการบําเพ็ญประโยชน ควรเลือกกิจกรรมนนั ทนาการ
แบบใด
ตอบ กิจกรรมอาสาสมคั ร (Voluntary Recreation) เชน กจิ กรรมอาสาพฒั นา และกจิ กรรม
อาสาสมัครตาง ๆ

บทที่ 4 โรคติดตอ

1. จงบอกสาเหตุของการเกิดโรคติดตอ มาพอสงั เขป
ตอบ

1. โรคไขหวดั ใหญ สาเหตจุ ากเชอ้ื ไวรสั ติดตอ ทางการหายใจ หรอื สัมผสั นํ้าลายและ
เสมหะของผปู วยหรือสตั วท่ีปว ย

2. โรคตาแดง สาเหตจุ ากการอักเสบของเย่ือบตุ า ทคี่ ลุมหนงั ตาบนและลา งรวมเยือ่
บุตาทคี่ ลมุ ตาขาว สัตวทแี่ พรเชอ้ื คือแมลงหวี่

3. โรคผิวหนัง สาเหตุจากการตดิ เชอ้ื แบคทีเรีย เช้ือรา
4. โรคเลป็ โตสไปโรซิส (ฉ่ีหนู) สาเหตุเกิดจากเชื้อกลมุ Leptospira มกั พบการ

ระบาดในหนา ฝน หรอื ชว งที่มีนํ้าทว มขัง สัตวทแี่ พรเ ชอ้ื โรคนี้ไดแก สตั วฟน แทะ
เชน หนู

2. จงบอกวธิ กี ารปองกันโรคไขหวัดใหญ มาพอสงั เขป
ตอบ 1. การใหวัคซนี ตามชนิดของเช้ือโรค

2. ออกกาํ ลังกายสมํา่ เสมอ พักผอนใหเ พยี งพอ รับประทานอาหารเพียงพอตอ
ความตองการของรางกายและไดสารอาหารครบ 5 หมู

3. หลกี เลยี่ งการอยูใกลช ดิ หรอื ใชสง่ิ ของเคร่อื งใชรว มกับผูป วย และเมือ่ ไอ จาม
ควรปด ปาก ปดจมกู

4. หลีกเลีย่ งการอยใู นทแ่ี ออัด อากาศระบายไมดี เพราะอาจมีเช้ือไวรัสทีท่ ําเปนสาเหตุ
ของโรค

บทที่ 5 ยาสามญั ประจําบา น

1. จงบอกหลักการใชยาสามญั ประจาํ บานทีถ่ กู ตอง

ตอบ 1. ใชย าตามคําสง่ั แพทย
2. ใชย าใหถ กู วธิ ี
3. ใชย าใหถกู ขนาด
4. ใชย าใหถ ูกเวลา
5. ใชยาใหถูกกับคน
ฯลฯ

2. ใหน ักศกึ ษาบอกถงึ อันตรายจากการใชย าที่ไมถูกตอง

ตอบ 1. การใชยาเกินขนาด เกิดจากการรับประทานยาชนิดเดียวกันในปริมาณมากกวา
ท่ีแพทยก าํ หนด ซึ่งกอใหเ กดิ อันตรายตอ รา งกายจนถงึ ขั้นเสียชวี ติ ได

2. การใชย าเสื่อมคณุ ภาพ เชน การรับประทานยาหมดอายุ ทําใหการรักษาไมหาย
และอาการทรดุ หนกั เปนอันตรายตอชีวติ

3. การใชย าตดิ ตอ กันเปน เวลานาน ทําใหเปนพิษตอระบบตาง ๆ ของรางกาย และ
เกดิ การตดิ ยา เชน การรบั ประทานยาแกป วดบางชนดิ เปน เวลานาน

4. การใชยาจนเกิดการดื้อยา เกิดจากการรับประทานยาไมครบจํานวนตามแพทย
ส่ัง หรือยังไมทันจะหายจากโรค ผูปวยก็เลิกใชยาชนิดน้ัน ทําใหเชื้อโรคในรางกายถูกทําลาย
ไมหมด ทําใหย ารกั ษาไมไ ดผ ล

5. การใชยา โดยไมทราบถึงผลขางเคียงของยาบางชนิด มีผลขางเคียงท่ีมีตอ
รางกาย เชน ยาแกหวัด ชวยลดนํ้ามูกและลดอาการแพตางๆ แตมีผลขางเคียงทําใหผูใช รูสึก
งวงนอนซึมเซา ถาผูใชไมทราบ และไปทํางานเก่ียวกับเครื่องจักร หรือ ขับขี่ยานพาหนะ ก็จะ
กอใหเ กิดอบุ ัตเิ หตุไดงาย

บทที่ 6 สารเสพตดิ

1. สารเสพตดิ หมายถงึ อะไร
ตอบ สารเสพติด คอื สารใดก็ตามทีเ่ สพเขาสูรางกายโดยการ ฉดี สูบ หรือดม จะทาํ ใหมผี ลตอ
จติ ใจและรา งกาย 4 ประการ คอื

1. เม่อื เสพตดิ แลวจะมีความตอ งการทงั้ ทางดานรางกายและจิตใจ
2. ผูท ใ่ี ชยาตดิ แลว จะมกี ารเพมิ่ ปริมาณการเสพขน้ึ เรอื่ ยๆ ไป
3. เมอ่ื หยดุ ใชยาจะเกดิ อาการอดหรือเลกิ ยาท่เี รียกวา ลงแดงทนั ที
4. สิ่งเสพติดทําลายสุขภาพ

2. สารเสพติด มีกป่ี ระเภท อะไรบาง ใหน กั ศกึ ษายกตวั อยา ง
ตอบ สารเสพติด มี 4 ประเภทดงั นี้

1. ประเภทออกฤทธก์ิ ดประสาทเชน ฝน เฮโรอีน ยานอนหลบั
2. ประเภทออกฤทธก์ิ ระตนุ ประสาท เชน กระทอม แอมเฟตตามนี
(ยามา หรือยาบา ) ยากลอมประสาท
3. ประเภทออกฤทธิ์หลอนประสาท ไดแ ก สารระเหย
4. ประเภทออกฤทธิ์หลายอยา ง ไดแก กญั ชา
3. โทษของสารเสพติด มอี ะไรบาง จงอธบิ ายมาพอสงั เขป
ตอบ
1. โทษตอสุขภาพ ทําใหการทํางานของระบบตาง ๆ ในรางกายเส่ือมลง สุขภาพ
รา งกายทรดุ โทรม เปนบอ เกดิ ของโรคตา งๆ บุคลกิ ภาพเสยี และภมู ิตา นทานของรางกายลดลง
2. โทษทางเศรษฐกิจ เกิดภาระใหกบั รฐั บาล ตอ งนาํ งบประมาณมาใชในการปองกัน
และรักษาผูตดิ ยาเสพตดิ
3. โทษทางสังคมครอบครัวมีปญหาไมมีความสุข เปนภาระสังคม กอใหเกิดปญหา
อาชญากรรมไดง า ย
4. โทษทางการปกครอง เปนภาระของรัฐบาลท่ีตองเสียเงินงบประมาณในการ
ปราบปรามอาชญากรรมจากยาเสพติด

4. ถา ในชุมชนทน่ี กั ศกึ ษาอาศัยอยมู คี นติดยาเสพติด นักศกึ ษาจะปฏิบัตติ วั อยางไร
ตอบ

1. ไมท ดลองยาเสพติด
2. ไมคบเพื่อนท่ีตดิ ยาเสพติด
3. ดูแลเดก็ และบคุ คลในครอบครัวอยาใหเ กยี่ วขอ งกบั ยาเสพติด

ฯลฯ

บทที่ 7 ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส นิ

1. ใหนักศกึ ษาบอกถงึ อันตรายท่ีอาจเกดิ ข้ึนในชวี ิตประจําวัน
ตอบ

1. การบริโภคท่มี ีส่ิงปลอมปนในอาหาร
2. การมีสมั พันธท างเพศแบบสาํ สอ นทางเพศ
3. การเสพสิ่งเสพติด
4. การใชรถใชถ นนเกดิ อุบัติเหตจุ ากการใชรถใชถ นน
5. การเลน กฬี าและการออกกําลังกาย

ฯลฯ

2. นักศึกษาจะมวี ธิ ีปองกนั อนั ตรายที่เกดิ ข้ึนในบา นอยา งไร
ตอบ

1. รอบคอบ ใจเย็น ไมทําสง่ิ ใด ไมเปนคนเจาอารมณ
2. เปนคนมรี ะเบยี บในการทํางาน เก็บของอยางเปนระเบียบหางา ย
3. ใหค วามรอู ยา งถกู ตองแกสมาชกิ ในบานในการใชเ ครื่องใชไฟฟาในบาน
4. หมนั่ ซอมแซมอปุ กรณ เครื่องมอื เครื่องใชตางๆ ที่ชาํ รดุ ใหอยใู นสภาพดี

ฯลฯ

3.นักศึกษาจะมีวธิ ีปอ งกันอนั ตรายท่ีเกิดขึ้น จากการเดนิ ทางโดยรถประจําทางอยา งไร
ตอบ

1. ควรรอข้นึ รถ บริเวณปายรถประจําทาง และขึ้นรถดว ยความรวดเร็ว
2. เม่อื จะข้นึ หรือลงจากรถ ควรรอใหรถเขา ปาย และจอดใหส นิทกอน
3. ไมแ ยง กันขึ้นหรือลงรถ ควรขน้ึ และลงตามลําดับกอ น – หลงั
4. ไมหอยโหนขางรถ หลังรถ หรือข้ึนไปอยูบนหลังคารถ เพราะอาจพลัดตกลง
มาได

ฯลฯ

4. นกั ศกึ ษามีวธิ ีการปองกันภัยทเ่ี กิดขึน้ จากน้ําทวม อยางไรบาง
ตอบ

1. ติดตามสภาวะอากาศ ฟง คาํ เตือนจากกรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา
2. ฝก ซอ มการปอ งกนั ภัยพิบตั ิ เตรียมพรอ มรับมอื และวางแผนอพยพหากจาํ เปน
3. เตรยี มนํา้ ดม่ื เครอ่ื งอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอร่ี วทิ ยุกระเปา ห้ิวติดตามขาวสาร
4. ซอ มแซมอาคารใหแขง็ แรง เตรียมปองกันภยั ใหส ัตวเ ลีย้ งและพืชผลการเกษตร
5. เตรยี มพรอมเสมอเมอื่ ไดร บั แจงใหอพยพไปท่ีสงู เม่ืออยใู นพืน้ ทเี่ สย่ี งภยั และฝนตกหนัก

ตอเนอ่ื ง
ฯลฯ

บทท่ี 8 ทกั ษะชีวิตเพอ่ื การคิด

1. จงบอกความหมายและความสาํ คญั ของทักษะชวี ติ
ตอบ ทักษะชีวติ ( Life skill ) หมายถงึ ความสามารถของบุคคล อันประกอบดวยการมีความรู
มเี จตคติที่ดีและมีทกั ษะท่ีสามารถจะจดั การกับปญหาดา นใดดา นหน่งึ ของตนเองได

ทักษะชีวิตมีความสําคัญในการชวยใหมนุษยสามารถอยูรอดไดอยางมีความสุข
ทา มกลางความเปล่ยี นแปลงในยุคปจจบุ นั และสามารถปรบั ตวั ในการดําเนินชวี ติ ในอนาคตได

2. การท่ีนกั ศกึ ษารูจกั ตนเองวามีขอดี – ขอ เสยี ถือวามีทกั ษะชวี ติ ในดานใด
ตอบ ทกั ษะการตระหนกั รใู นตน (Self Awareness)

3. ในกรณีเกดิ ความเครียดในการเตรียมสอบ นกั ศึกษาจะมีวิธีจดั การความเครียดของตนเอง
อยา งไร
ตอบ 1. การผอนคลายทางรางกาย เชน การหายใจลึกๆ การออกกําลงั กาย การนวด

2.การพกั ผอ น การรับประทานอาหาร การอาบนาํ้ อนุ
3.การดูภาพยนตร การฟงเพลง
ฯลฯ

4.ถาเพือ่ นในที่ทํางานของนักศกึ ษาทะเลาะกัน นักศึกษาจะแนะนําเพอื่ นอยางไร ในการแกไข
ปญหาท่ีเกิดขึน้
ตอบ แนะนําใหเพอื่ นพดู คุย ทําความเขา ใจกัน โดยหาขอ มูลวา เหตุใดถงึ ทะเลาะกัน สามารถ
จะทําความเขาใจ หรอื ตกลงกนั ในปญหาท่ีเกดิ ขนึ้ ไดหรอื ไม และชี้ใหเพือ่ นเห็นถึงผลกระทบของ
การทะเลาะทจ่ี ะสงผลตอ การทาํ งาน

บทที่ 9 อาชพี งานบรกิ ารดา นสุขภาพ

1.จงอธิบายประวตั กิ ารนวดแผนไทยต้งั แตสมัยอยธุ ยาถึงรัตนโกสินทร โดยสงั เขป
ตอบ สมัยอยุธยาเริม่ ในรชั สมยั ของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ มีการแบงเปนกรมตางๆ เชน
กรมแพทยา กรมหมอยา กรมหมอกุมาร เปนตน โดยยุครุงเรืองมากคือรัชสมัยของสมเด็จพระ
นเรศวรมหาราช

ในสมยั รัตนโกสนิ ทร พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 3) รวบรวมองค
ความรู ดา นการนวดไทย ไว ณ วัดพระเชตพุ นวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์)

เปน รปู ปนรปู ฤๅษีดดั ตนจนครบ 80 ทา พรอ มวธิ กี ารนวดอยางละเอยี ด
ในสมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจา อยูหัว (รัชกาลที่ 5) ไดชําระตํารา การนวด
แผนไทย และเรียกตําราฉบับนี้วา “ตําราแผนนวดฉบับหลวง” และไดนําความรู ในตํารา
ถา ยทอดมาจนถึงปจ จบุ ัน

2 .การนวดแผนไทยมีก่ลี ักษณะ อะไรบาง จงอธิบาย
ตอบ การนวดแผนไทยมี 3 ลกั ษณะ คอื

1. การนวดยืด ดัด ลักษณะการนวดแบบน้ีคือ การยืด ดัดกลามเนื้อ เสนเอ็น พังผืด
ใหยดื คลาย

2. การนวดแบบจบั เสน ลักษณะการนวด คอื การใชนํา้ หนกั กดลงตลอดลําเสนไปตาม
อวยั วะตางๆ

3. การนวดแบบกดจดุ ลกั ษณะการนวดคือ การใชนํ้าหนักกดลงไปบนจุดของรางกาย
โดยการกระตนุ จุดสะทอนท่ีอยบู นสวนตาง ๆ บนรา งกาย

3.ใหน กั ศกึ ษาบอกแหลง เรียนรูการนวดแผนไทยมาอยา งนอย 5 แหง
ตอบ 1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวดั พระเชตพุ นฯ (ทา เตียน) กรงุ เทพฯ

2. ศูนยอ บรมเรือนไมสปาสมาคมแพทยแ ผน กรงุ เทพฯ
3. สมาคมแพทยแ ผนไทย จงั หวดั ปทุมธานี
4. ศนู ยสาธิตนวดแผนไทย จังหวัดอุดรธานี
5. โรงเรยี นลานนานวดแผนไทย จังหวดั เชียงใหม

บรรณานุกรม

วภิ าวดี ลม้ี ง่ิ สวสั ดิ์และจนิ ตนา ไมเจรญิ . (2547). หนงั สอื เรยี นสาระการเรียนรพู นื้ ฐาน
กลมุ สาระการเรียนรสู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา สุขศกึ ษา. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั
สาํ นักพิมพแมค็ จาํ กัด

วีณา เลิศวิไลกลุ นที. (2551). หมวดวิชาพฒั นาทกั ษะชวี ติ ระดบั ประถมศกึ ษา
กรุงเทพฯ : บรษิ ทั นวตสาร จาํ กดั

วุฒชิ ยั อนันคูและคณะ. (2548). หมวดวชิ าพัฒนาทกั ษะชวี ิต ระดบั ประถมศกึ ษา
กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สาํ นักพมิ พบ รรณกิจ 1991 จํากดั

สวุ ฒั น แกวสังขทอง. (2547). หมวดวชิ าพัฒนาทักษะชีวิต ระดับประถมศกึ ษา
นนทบุรี : บรษิ ทั ปย มติ ร มัลติมีเดยี จํากดั

การศกึ ษาทางไกล,สถาบัน.(2551) ชดุ การเรยี นทางไกล หมวดวิชาพฒั นาทกั ษะชวี ิต 1
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ สกสค.ลาดพรา ว

รศ.นพ.สุรเกยี รติ อาชานานุภาพ (2544) คูมอื หมอชาวบา น สาํ นักพมิ พหมอชาวบา น
กรุงเทพฯ

นภิ า แกว ศรีงาม “ความคดิ ริเร่มิ สรา งสรรค (Creative Thinking)” 2552.
[ระบบออนไลน]. แหลง ทีม่ า. http://www.geocities.com/phichitnfc/KN2.htm
(14 กันยายน 2552).

“การคิดอยา งมวี จิ ารญาณ : Critical Thinking” 2552. [ระบบออนไลน]. แหลง ทม่ี า
http://www.swuaa.com/webnew (14 กนั ยายน 2552).

“การตดั สนิ ใจ” 2552. [ระบบออนไลน] . แหลง ทม่ี า http://www.radompon.com/
resourcecenter/?q=node/41 (14 กันยายน 2552).

“กระบวนการแกป ญ หา (problem solving process)” 2552. [ระบบออนไลน] .
แหลง ที่มา. http://toeyswu.multiply.com/journal/item/6
(14 กันยายน 2552).

“โรคฉห่ี นู Leptospirosis.” 2552. [ระบบออนไลน]. แหลงทมี่ า
http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/infectious/
lestospirosis.htm#.V0PW6PmLTIU (9 กันยายน 2552).

นพ. สรุ ยิ เดว ทรีปาตี. “พฒั นาการและการปรับตวั ในวยั รนุ ” 2552. [ระบบออนไลน].
แหลงที่มา http://www.dekplus.org/update/index.html (9 กันยายน 2552).

เยาวเรศ นาคแจง. ใกลห มอ ปที่ 26 ฉบบั ท่ี 12 (ธ.ค. 2545 -ม.ค. 2546) : 92-93

วนั ทนยี  วาสิกะสินและคณะ. 2537. ความรูทว่ั ไปเกยี่ วกบั เพศศึกษา. กรุงเทพฯ:
สาํ นกั พิมพม หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร, หนา 57 - 74

โครงการปองกันเอดสบ างซอื่ มลู นธิ ิศุภนิมิตแหง ประเทศไทย. 2539. จดุ ประกาย BAPP.
กรงุ เทพฯ: ศนู ยการพมิ พอาคเนย, หนา ๕๗-๗๐.

วราวธุ สมุ าวงศ. เกร็ดจากลวมยาชดุ คลนิ กิ ผหู ญิง. กรุงเทพฯ: สํานกั พิมพพ ิมพทอง,
มปพ.

นวพล ใจดี : คมู อื อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เทคนิคการนวดไทยแบบเชลยศกั ดิ์ ,2553.
สาํ นักพมิ พ ฮบั เฮลท เมดิซิน. กรงุ เทพมหานคร

ปรยี านุช วงษต าแพง : อบ อบ นวด, 2553, สาํ นักพมิ พ ธิงค กูด. กรุงเทพมหานคร

ที่ปรกึ ษา คณะผูจดั ทาํ
นายสุรพงษ จําจด
นายประเสรฐิ หอมดี เลขาธิการ กศน.
นางตรนี ุช สขุ สุเดช รองเลขาธกิ าร กศน.
ผอู าํ นวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบ
นายวิมล ชาญชนบท และการศึกษาตามอัธยาศัย
ด.ต.ชาติวฒุ ิ เพ็ชรนอ ย ผอู ํานวยการ สถาบนั กศน. ภาคกลาง
รองผอู าํ นวยการ สถาบัน กศน. ภาคกลาง

ผสู รปุ เนอ้ื หา ผูอาํ นวยการ กศน.อําเภอมหาราช
นางชัชรินทร สินประมวญ ครู กศน.อําเภอมหาราช
นายเชวงศกั ด์ิ มาโชค ครู กศน.อําเภอมหาราช
นางประภารตั น อินเอก เจา หนาท่ี สถาบัน กศน. ภาคกลาง
นางสาวเพญ็ ชลติ า ขําสุนทร ครู สถาบนั กศน. ภาคกลาง
นางสาวอรุณวรรณ แสงทอง

ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ผอู ํานวยการสาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั เพชรบรุ ี
นายศุภัชณฏั ฐ หลกั เมือง ศกึ ษานเิ ทศก กศน.จงั หวดั เพชรบุรี
นางทองสขุ รัตนประดิษฐ ครู กศน.อําเภอหวั หนิ
นางสาวณัฐกฤตา ทับทิม ครู กศน.อําเภอเมอื งสมุทรสงคราม
นางสาวจรยิ า สมทุ วนชิ ครู กศน.อําเภอเมืองเพชรบุรี
นางสาวสาํ ราญ นาคทอง
เจาหนาที่ สถาบนั กศน. ภาคกลาง
ผพู มิ พต น ฉบับ ครู สถาบัน กศน. ภาคกลาง
นางสาวเพ็ญชลิตา ขําสุนทร
นางสาวอรณุ วรรณ แสงทอง กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศยั
ผอู อกแบบปก
นายศุภโชค ศรรี ัตนศิลป


Click to View FlipBook Version