The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสวดมนต์ (ฉบับมคธบาลี)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wonchai890, 2021-03-17 00:11:01

หนังสือสวดมนต์ (ฉบับมคธบาลี)

หนังสือสวดมนต์ (ฉบับมคธบาลี)

วดั ป่าดานวเิ วก

ค. ฤดมู อี ธกิ มาส ไม่มีปวารณา

(หมายถงึ นอกพรรษา)
๑. อธิกมาสวเสน ทส อุโปสถา, อมิ ินา ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, นว อโุ ปสถา
อวสฏิ ฺ า.
๒. อธิกมาสวเสน ทส อุโปสถา, อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, เอโก
อโุ ปสโถ อติกฺกนโฺ ต, อฏฺ อโุ ปสถา อวสิฏฺ า.
๓. อธิกมาสวเสน ทส อุโปสถา, อมิ ินา ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมปฺ ตฺโต, เทฺว อุโปสถา
อตกิ กฺ นฺตา, สตตฺ อุโปสถา อวสิฏฺ า.
๔. อธกิ มาสวเสน ทส อโุ ปสถา, อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, ตโย อุโปสถา
อตกิ ฺกนฺตา, ฉ อุโปสถา อวสิฏฺ า.
๕. อธกิ มาสวเสน ทส อโุ ปสถา, อิมนิ า ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, จตตฺ าโร
อุโปสถา อติกกฺ นฺตา, ปญฺจ อโุ ปสถา อวสิฏฺ า.
๖. อธิกมาสวเสน ทส อโุ ปสถา, อิมินา ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, ปญจฺ อุโปสถา
อตกิ กฺ นตฺ า จตตฺ าโร อโุ ปสถา อวสิฏฺา.
๗. อธิกมาสวเสน ทส อุโปสถา, อมิ ินา ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, ฉ อุโปสถา
อติกฺกนฺตา, ตโย อุโปสถา อวสิฏฺ า.
๘. อธกิ มาสวเสน ทส อุโปสถา, อิมินา ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, สตฺต อโุ ปสถา
อติกกฺ นตฺ า, เทฺว อุโปสถา อวสฏิ ฺา.
๙. อธิกมาสวเสน ทส อุโปสถา, อิมนิ า ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมปฺ ตฺโต, อฏฺ€ อุโปสถา
อตกิ กฺ นตฺ า, เอโก อโุ ปสโถ อวสฏิ ฺโ.
๑๐. อธกิ มาสวเสน ทส อโุ ปสถา, อมิ ินา ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, นว อุโปสถา
อตกิ กฺ นฺตา, ทส อุโปสถา ปรปิ ุณฺณา.

136

วัดปา่ ดานวเิ วก

ง. ฤดทู ่ีมอี ธิกมาส และปวารณาด้วย

(หมายถงึ กลางพรรษา)
๑. อธกิ มาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมนิ า ปกฺเขน เอโก อโุ ปสโถ
สมปฺ ตฺโต, อฏฺ€ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺา.
๒. อธิกมาสวเสน นว จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ
สมปฺ ตฺโต, เอโก อโุ ปสโถ อติกฺกนฺโต, สตตฺ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺ า.
๓. อธกิ มาสวเสน นว จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ
สมปฺ ตโฺ ต, เทฺว อุโปสถา อตกิ กฺ นตฺ า, ฉ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺ า.
๔. อธกิ มาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ
สมปฺ ตโฺ ต, ตโย อโุ ปสถา อตกิ กฺ นฺตา, ปญฺจ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺ า.
๕. อธกิ มาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมนิ า ปกฺเขน เอโก อโุ ปสโถ
สมปฺ ตฺโต, จตตฺ าโร อโุ ปสถา อติกฺกนฺตา, จตฺตาโร จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺ า.
๖. อธกิ มาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ นิ า ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ
สมปฺ ตฺโต, ปญจฺ อโุ ปสถา อตกิ ฺกนตฺ า, ตโย จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺา.
๗. อธิกมาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ ินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ
สมฺปตโฺ ต, ฉ อโุ ปสถา อติกกฺ นตฺ า, เทวฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺา.
๘. (วันปวารณา) อธกิ มาสวเสน นว จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกเฺ ขน เอกา
ปวารณา สมฺปตตฺ า, สตตฺ อโุ ปสถา อติกฺกนฺตา, เทวฺ อโุ ปสถา อวสิฏฺา.
๙. อธิกมาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ ินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ
สมปฺ ตโฺ ต, สตตฺ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อตกิ ฺกนตฺ า, เอโก อโุ ปสโถ อวสฏิ โฺ .
๑๐. อธกิ มาสวเสน นว จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ
สมปฺ ตโฺ ต, อฏฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อติกกฺ นฺตา, นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา
ปริปณุ ฺณา.

137

วัดป่าดานวเิ วก

การนบั พระภิกษุ

ในการนบั พระภิกษุตง้ั แต่ ๔ ถึง ๑,๐๐๐ รปู นน้ั ต้องใชว้ ธิ สี วดตา่ งๆ กนั ดงั น้ี
๑. มีภิกษุ ๔-๙๘ รปู ให้เอาคำ� บาลีในชว่ ง ๔- ๙๘ มาตอ่ ขา้ งหน้า “ภิกขฺ ู สนฺนปิ ติตา
โหนฺติ” เชน่ มภี ิกษุ ๗๗ รปู จะสวดว่า “สตฺตสตตฺ ติ ภิกขฺ ู สนนฺ ปิ ตติ า โหนตฺ ”ิ
๒. มภี ิกษุ ๙๙-๑๙๙ รปู ให้เอาคำ� บาลีในช่วง ๙๙-๑๙๙ มาตอ่ ข้างหนา้ “สนนฺ ิปติตํ
โหติ” เช่น มภี กิ ษุ ๑๒๓ รูปจะสวดว่า “เตวสี ตฺยุตตฺ รภิกขฺ สุ ตํ สนนฺ ปิ ตติ ํ โหต”ิ
๓. มีภิกษุ ๒๐๐-๒๙๙ รูป ใหเ้ อาคำ� บาลีในช่วง ๒๐๐-๒๙๙ มาต่อข้างหนา้ “ภิกฺขุสตานิ
สนฺนิปติตานิ โหนฺติ” เช่น มีภิกษุ ๒๖๗ รูปจะสวดว่า “สตฺตสฏฺ€ยุตฺตรานิ เทฺว ภิกฺขุสตานิ
สนนฺ ปิ ติตานิ โหนฺติ”
๔. มีภกิ ษุ ๓๐๐-๓๙๙, ๔๐๐-๔๙๙, ๕๐๐-๕๙๙, ๖๐๐-๖๙๙, ๗๐๐-๗๙๙, ๘๐๐-๘๙๙,
๙๐๐-๙๙๙ รปู ใหท้ ำ� เชน่ เดยี วกบั ในขอ้ ๓. เพยี งแตเ่ ปลยี่ นจาก “เทวฺ ” เปน็ “ตณี ,ิ จตตฺ าร,ิ ปญจฺ ,
ฉ, สตตฺ , อฏ€ฺ , นว” ตามเลขหลกั รอ้ ยของจำ� นวนพระทีเ่ ปลีย่ นไปตามล�ำดบั เช่นมีภิกษุ ๓๖๗ รูป
จะสวดว่า
“สตฺตสฏฺ€ยุตตฺ รานิ ตณี ิ ภกิ ขฺ สุ ตานิ สนนฺ ิปติตานิ โหนฺต”ิ
มภี ิกษุ ๔๔๐ รูปจะสวดว่า
“จตตฺ าฬีสุตฺตรานิ จตฺตาริ ภิกฺขุสตานิ สนนฺ ิปตติ านิ โหนตฺ ”ิ
มภี กิ ษุ ๕๑๒ รูปจะสวดว่า
“ทวฺ าทสตุ ฺตรานิ ปญจฺ ภกิ ขฺ สุ ตานิ สนนฺ ปิ ติตานิ โหนตฺ ”ิ
มีภกิ ษุ ๖๔๙ รปู จะสวดว่า
“เอกูนปญฺ าสุตฺตรานิ ฉ ภกิ ฺขุสตานิ สนฺนปิ ติตานิ โหนตฺ ิ”
มภี ิกษุ ๗๗๑ รปู จะสวดวา่
“เอกสตตฺ ตยฺ ตุ ตฺ รานิ สตฺต ภิกฺขสุ ตานิ สนนฺ ิปติตานิ โหนตฺ ิ”
มีภิกษุ ๘๓๔ รูปจะสวดว่า

138

วดั ปา่ ดานวเิ วก

“จตุตึสุตฺตรานิ อฏ€ฺ ภกิ ขฺ สุ ตานิ สนฺนิปตติ านิ โหนตฺ ”ิ

มภี ิกษุ ๙๙๙ รูปจะสวดว่า

“เอกูนสตุตตฺ รานิ นว ภกิ ขฺ ุสตานิ สนนฺ ปิ ติตานิ โหนฺติ”

๕. มีภกิ ษุ ๑,๐๐๐ รปู จะสวดว่า “ภกิ ฺขุสหสสฺ ํ สนนฺ ิปติตํ โหต”ิ

๔. จตฺตาโร ๕. ปญฺจ ๖. ฉ ๗. สตตฺ ๘. อฏ€ฺ

๙. นว ๑๐. ทส ๑๑. เอกาทส ๑๒. พารส ๑๓. เตรส

๑๔. จตตุ ฺทส ๑๕. ปณณฺ รส ๑๖. โสฬส ๑๗. สตฺตรส ๑ ๘. อฏฺ€ารส

๑๙. เอกนู วีสติ ๒๐. วีสติ ๒๑. เอกวีสติ ๒๒. พาวีสติ ๒๓. เตวีสติ

๒๔. จตุวีสติ ๒๕. ปญฺจวีสติ ๒๖. ฉพฺพีสติ ๒๗. สตตฺ วีสติ ๒๘. อฏ€ฺ วสี ติ

๒๙. เอกูนตึส ๓๐. สมตึส ๓๑. เอกตฺตสึ ๓๒. ทวฺ ตตฺ ึส ๓๓. เตตฺตึส

๓๔. จตตุ ฺตึส ๓๕. ปญจฺ ตตฺ ึส ๓๖. ฉตฺตึส ๓๗. สตฺตตตฺ ึส ๓๘. อฏฺ€ตฺตสึ

๓๙. เอกูนจตฺตาฬีส ๔๐. จตฺตาฬีส ๔๑. เอกจตตฺ าฬสี ๔๒. ทฺวจิ ตฺตาฬีส ๔๓. เตจตฺตาฬีส

๔๔. จตุจตฺตาฬสี ๔๕. ปญฺจจตฺตาฬสี ๔๖. ฉจตตฺ าฬสี ๔๗. สตฺตจตฺตาฬสี ๔๘. อฏ€ฺ จตตฺ าฬสี

๔๙. เอกนู ปญฺาส ๕๐. ปญฺาส ๕๑. เอกปญฺ าส ๕๒. ทฺวปิ ญฺ าส ๕๓. เตปญฺาส

๕๔. จตปุ ญฺ าส ๕๕. ปญฺจปญฺาส ๕๖. ฉปญฺาส ๕๗. สตฺตปญฺาส ๕๘. อฏ€ฺ ปญฺ าส

๕๙. เอกนู สฏฺ€ี ๖๐. สฏ€ฺ ี ๖๑. เอกสฏ€ฺ ี ๖๒. ทฺวิสฏ€ฺ ี ๖๓. เตสฏฺ€ี

๖๔. จตุสฏ€ฺ ี ๖๕. ปญจฺ สฏฺ€ี ๖๖. ฉสฏฺ€ี ๖๗. สตตฺ สฏ€ฺ ี ๖๘. อฏ€ฺ สฏฺ€ี

๖๙. เอกนู สตฺตติ ๗๐. สตตฺ ติ ๗๑. เอกสตตฺ ต ิ ๗๒. ทฺวิสตฺตติ ๗๓. เตสตตฺ ติ

๗๔. จตสุ ตตฺ ติ ๗๕. ปญฺจสตตฺ ติ ๗๖. ฉสตตฺ ติ ๗๗. สตตฺ สตตฺ ติ ๗๘. อฏ€ฺ สตฺตติ

๗๙. เอกนู าสีติ ๘๐. อสีติ ๘๑. เอกาสตี ิ ๘๒. ทฺวาสตี ิ ๘๓. ตยาสตี ิ

๘๔. จตุราสีติ ๘๕. ปญฺจาสีติ ๘๖. ฉฬาสตี ิ ๘๗. สตฺตาสตี ิ ๘๘. อฏฺ€าสีติ

๘๙. เอกนู นวุติ ๙๐. นวตุ ิ ๙๑. เอกนวุติ ๙๒. เทวฺ นวตุ ิ ๙๓. เตนวุติ

๙๔. จตุนวุติ ๙๕. ปญฺจนวตุ ิ ๙๖. ฉนวุติ ๙๗. สตฺตนวตุ ิ ๙๘. อฏ€ฺ นวตุ ิ

139

วัดปา่ ดานวเิ วก

๙๙. เอกูนภกิ ฺขสุ ตํ ๑๐๐. ภิกฺขสุ ตํ ๑๐๑. เอกุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๐๒. ทวฺ ยตุ ตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ
๑๐๓. ตยตุ ฺตรภิกขฺ ุสต ํ ๑๐๔. จตุตฺตรภกิ ฺขุสตํ ๑๐๕. ปญฺจตุ ตฺ รภิกฺขุสตํ ๑๐๖. ฉตุ ตฺ รภกิ ฺขสุ ตํ
๑๐๗. สตตฺ ตุ ฺตรภกิ ฺขุสตํ ๑๐๘. อฏฺ€ตุ ตฺ รภกิ ฺขุสตํ ๑๐๙. นวุตฺตรภกิ ฺขุสตํ
๑๑๐. ทสตุ ฺตรภกิ ขฺ สุ ตํ ๑๑๑. เอกาทสุตฺตรภกิ ขฺ สุ ตํ ๑๑๒. ทวฺ าทสุตตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ
๑๑๓. เตรสตุ ตฺ รภิกฺขุสตํ ๑๑๔. จตตุ ทฺ สุตฺตรภิกฺขสุ ตํ ๑๑๕. ปญฺจทสตุ ฺตรภิกฺขสุ ตํ
๑๑๖. โสฬสุตตฺ รภิกฺขสุ ตํ ๑๑๗. สตฺตรสุตฺตรภิกขฺ สุ ตํ ๑๑๘. อฏ€ฺ ารสตุ ตฺ รภกิ ขฺ ุสตํ
๑๑๙. เอกูนวีสตฺยุตฺตรภกิ ฺขุสตํ ๑๒๐. วีสตฺยุตฺตรภกิ ฺขสุ ตํ ๑๒๑. เอกวีสตฺยตุ ฺตรภิกฺขสุ ตํ
๑๒๒. ทวฺ าวสี ตฺยตุ ฺตรภิกฺขุสตํ ๑๒๓. เตวสี ตฺยตุ ฺตรภกิ ขฺ ุสตํ ๑๒๔. จตวุ สี ตฺยุตฺตรภิกฺขสุ ตํ
๑๒๕. ปญฺจวสี ตฺยตุ ตฺ รภกิ ขฺ ุสตํ ๑๒๖. ฉพฺพสี ตฺยตุ ตฺ รภิกขฺ ุสตํ ๑๒๗. สตฺตวสี ตฺยตุ ตฺ รภกิ ขฺ ุสตํ
๑๒๘. อฏ€ฺ วีสตฺยตุ ฺตรภิกขฺ ุสตํ ๑๒๙. เอกนู ตึสุตฺตรภกิ ฺขสุ ตํ ๑๓๐. สมตสึ ตุ ตฺ รภกิ ขฺ ุสตํ
๑๓๑. เอกตฺตึสุตตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ ๑๓๒. ทวฺ ตตฺ ึสตุ ตฺ รภกิ ฺขสุ ตํ ๑๓๓. เตตตฺ ึสุตฺตรภกิ ขฺ ุสตํ
๑๓๔. จตุตตฺ สึ ตุ ฺตรภิกฺขสุ ตํ ๑๓๕. ปญฺจตตฺ ึสตุ ฺตรภกิ ขฺ สุ ตํ ๑๓๖. ฉตฺตึสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๓๗. สตฺตตฺตึสตุ ตฺ รภกิ ฺขสุ ตํ ๑๓๘. อฏฺ€ตตฺ ึสุตตฺ รภิกฺขสุ ตํ ๑๓๙.เอกนู จตตฺ าฬสี ตุ ตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ
๑๔๐. จตฺตาฬีสตุ ฺตรภิกฺขุสตํ ๑๔๑. เอกจตตฺ าฬสี ตุ ตฺ รภกิ ฺขุสตํ ๑๔๒. ทวฺ าจตตฺ าฬสี ตุ ตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ
๑๔๓. เตจตฺตาฬสี ุตฺตรภิกขฺ ุสตํ ๑๔๔. จตุจตฺตาฬีสตุ ตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ ๑๔๕. ปญจฺ จตตฺ าฬสี ตุ ตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ
๑๔๖. ฉจตฺตาฬสี ุตตฺ รภิกขฺ ุสตํ ๑๔๗. สตตฺ จตตฺ าฬีสุตฺตรภิกขฺ สุ ตํ ๑๔๘. อฏ€ฺ จตตฺ าฬสี ตุ ตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ
๑๔๙. เอกนู ปญฺาสุตฺตรภกิ ขฺ สุ ตํ ๑๕๐. ปญฺาสุตฺตรภิกฺขสุ ตํ ๑๕๑. เอกปญฺ าสุตฺตรภิกขฺ สุ ตํ
๑๕๒. ทวฺ าปญฺ าสตุ ฺตรภกิ ฺขุสตํ ๑๕๓. เตปญฺ าสุตตฺ รภกิ ฺขุสตํ ๑๕๔. จตปุ ญฺาสตุ ฺตรภิกขฺ สุ ตํ
๑๕๕. ปญจฺ ปญฺ าสตุ ตฺ รภิกฺขุสตํ ๑๕๖. ฉปญฺ าสุตตฺ รภกิ ฺขุสตํ ๑๕๗. สตตฺ ปญฺ าสตุ ตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ
๑๕๘. อฏ€ฺ ปญฺ าสตุ ตฺ รภกิ ฺขุสตํ ๑๕๙. เอกูนสฏ€ฺ ยตุ ตฺ รภกิ ฺขุสตํ ๑๖๐. สฏฺ€ยุตตฺ รภิกขฺ สุ ตํ
๑๖๑. เอกสฏ€ฺ ยตุ ตฺ รภิกฺขสุ ตํ ๑๖๒. ทฺวาสฏฺ€ยุตฺตรภกิ ฺขสุ ตํ ๑๖๓. เตสฏ€ฺ ยตุ ตฺ รภกิ ฺขุสตํ
๑๖๔. จตสุ ฏ€ฺ ยตุ ฺตรภกิ ฺขุสตํ ๑๖๕. ปญฺจสฏ€ฺ ยตุ ฺตรภกิ ฺขสุ ตํ ๑๖๖. ฉสฏฺ€ยตุ ตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ
๑๖๗. สตฺตสฏฺ€ยตุ ตฺ รภกิ ฺขสุ ตํ ๑๖๘. อฏ€ฺ สฏ€ฺ ยุตฺตรภิกขฺ สุ ตํ ๑๖๙. เอกนู สตตฺ ตยฺ ตุ ตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ

140

วดั ป่าดานวเิ วก

๑๗๐. สตฺตตยฺ ตุ ฺตรภิกขฺ ุสตํ ๑๗๑. เอกสตตฺ ตยฺ ุตฺตรภกิ ฺขสุ ตํ ๑๗๒. ทฺวสิ ตฺตตฺยตุ ตฺ รภิกฺขุสตํ

๑๗๓. เตสตฺตตฺยตุ ตฺ รภิกขฺ สุ ตํ ๑๗๔. จตุสตตฺ ตฺยุตฺตรภกิ ขฺ สุ ตํ ๑๗๕. ปญจฺ สตตฺ ตยฺ ตุ ตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ

๑๗๖. ฉสตตฺ ตยฺ ุตตฺ รภกิ ขฺ สุ ตํ ๑๗๗. สตฺตสตฺตตยฺ ตุ ฺตรภิกฺขุสตํ ๑๗๘. อฏฺ€สตตฺ ตยฺ ตุ ฺตรภิกขฺ สุ ตํ

๑๗๙. เอกนู าสตี ยฺ ตุ ตฺ รภิกขฺ สุ ตํ ๑๘๐. อสตี ฺยตุ ฺตรภกิ ขฺ ุสตํ ๑๘๑. เอกาสีตฺยตุ ฺตรภิกฺขสุ ตํ

๑๘๒. ทฺวาสตี ยฺ ตุ ตฺ รภกิ ฺขสุ ตํ ๑๘๓. ตยาสีตยฺ ุตตฺ รภกิ ฺขสุ ตํ ๑๘๔. จตุราสตี ยฺ ุตฺตรภิกฺขุสตํ

๑๘๕. ปญฺจาสตี ยฺ ตุ ฺตรภกิ ฺขสุ ตํ ๑๘๖. ฉฬาสีตยฺ ตุ ตฺ รภิกขฺ สุ ตํ ๑๘๗. สตตฺ าสีตยฺ ตุ ตฺ รภิกขฺ ุสตํ

๑๘๘. อฏ€ฺ าสีตยฺ ตุ ตฺ รภกิ ขฺ ุสตํ ๑๘๙. เอกูนนวตุ ยฺ ตุ ตฺ รภิกฺขสุ ตํ ๑๙๐. นวตุ ฺยตุ ฺตรภกิ ฺขสุ ตํ

๑๙๑. เอกนวตุ ฺยตุ ฺตรภิกฺขุสตํ ๑๙๒. เทฺวนวตุ ยฺ ตุ ตฺ รภกิ ขฺ ุสตํ ๑๙๓. เตนวุตยฺ ุตฺตรภกิ ขฺ ุสตํ

๑๙๔. จตุนวุตยฺ ุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๙๕. ปญฺจนวตุ ยฺ ุตฺตรภกิ ฺขุสตํ ๑๙๖. ฉนวุตฺยุตฺตรภกิ ขฺ สุ ตํ

๑๙๗. สตฺตนวุตยฺ ตุ ตฺ รภกิ ฺขสุ ตํ ๑๙๘. อฏฺ€นวตุ ฺยุตฺตรภิกฺขสุ ตํ ๑๙๙. เอกนู สตุตตฺ รภกิ ฺขุสตํ

๒๐๐. เทวฺ ๒๐๑. เอกุตตฺ รานิ เทวฺ ๒๐๒. ทฺวยุตตฺ รานิ เทวฺ

๒๐๓. ตยุตตฺ รานิ เทวฺ ๒๐๔. จตตุ ฺตรานิ เทวฺ ๒๐๕. ปญฺจตุ ตฺ รานิ เทวฺ

๒๐๖. ฉตุ ฺตรานิ เทวฺ ๒๐๗. สตตฺ ุตฺตรานิ เทวฺ ๒๐๘. อฏฐฺ ุตตฺ รานิ เทฺว

๒๐๙. นวตุ ฺตรานิ เทฺว ๒๑๐. ทสตุ ตฺ รานิ เทวฺ ๒๑๑. เอกาทสตุ ตฺ รานิ เทวฺ

๒๑๒. ทฺวาทสตุ ตฺ รานิ เทฺว ๒๑๓. เตรสุตตฺ รานิ เทฺว ๒๑๔. จตุตทฺ สตุ ตฺ รานิ เทวฺ

๒๑๕. ปญจฺ ทสตุ ตฺ รานิ เทฺว ๒๑๖. โสฬสุตฺตรานิ เทวฺ ๒๑๗. สตฺตรสุตตฺ รานิ เทฺว

๒๑๘. อฏ€ฺ ารสตุ ตฺ รานิ เทวฺ ๒๑๙. เอกูนวสี ตยฺ ตุ ตฺ รานิ เทฺว ๒๒๐. วีสตยฺ ุตตฺ รานิ เทฺว

๒๒๑. เอกวสี ตยฺ ตุ ตฺ รานิ เทวฺ ๒๒๒. ทฺวาวีสตฺยตุ ตฺ รานิ เทฺว ๒๒๓. เตวีสตยฺ ุตตฺ รานิ เทวฺ

๒๒๔. จตุวสี ตฺยุตตฺ รานิ เทฺว ๒๒๕. ปญจฺ วสี ตยฺ ตุ ตฺ รานิ เทวฺ ๒๒๖. ฉพฺพีสตฺยตุ ฺตรานิ เทฺว

๒๒๗. สตฺตวสี ตยฺ ุตฺตรานิ เทวฺ ๒๒๘. อฏฺ€วสี ตยฺ ตุ ฺตรานิ เทวฺ ๒๒๙. เอกนู ตสึ ตุ ฺตรานิ เทฺว

๒๓๐. ตึสุตฺตรานิ เทวฺ ๒๓๑. เอกตตฺ ึสตุ ตฺ รานิ เทวฺ ๒๓๒. ทวฺ ตฺตสึ ุตฺตรานิ เทฺว

๒๓๓. เตตฺตึสตุ ฺตรานิ เทฺว ๒๓๔. จตตุ ฺตสึ ตุ ฺตรานิ เทฺว ๒๓๕. ปญฺจตตฺ สึ ุตฺตรานิ เทฺว

๒๓๖. ฉตตฺ ึสตุ ฺตรานิ เทวฺ ๒๓๗. สตตฺ ตตฺ สึ ตุ ฺตรานิ เทฺว ๒๓๘. อฏฺ€ตตฺ สึ ตุ ฺตรานิ เทวฺ

141

วัดปา่ ดานวเิ วก

๒๓๙. เอกนู จตตฺ าฬสี ุตตฺ รานิ เทฺว ๒๔๐. จตตฺ าฬสี ตุ ตฺ รานิ เทวฺ ๒๔๑. เอกจตตฺ าฬสี ตุ ตฺ รานิ เทวฺ

๒๔๒. เทวฺ จตฺตาฬีสุตตฺ รานิ เทฺว ๒๔๓. เตจตฺตาฬีสตุ ฺตรานิ เทวฺ ๒๔๔. จตุจตฺตาฬีสตุ ฺตรานิ เทวฺ

๒๔๕. ปญจฺ จตฺตาฬสี ตุ ตฺ รานิ เทฺว ๒๔๖. ฉจตฺตาฬสี ุตฺตรานิ เทวฺ ๒๔๗. สตตฺ จตตฺ าฬสี ตุ ตฺ รานิ เทวฺ

๒๔๘. อฏ€ฺ จตฺตาฬีสุตฺตรานิ เทฺว ๒๔๙. เอกนู ปญฺ าสุตตฺ รานิ เทฺว ๒๕๐. ปญฺาสุตตฺ รานิ เทวฺ

๒๕๑. เอกปญฺ าสุตตฺ รานิ เทฺว ๒๕๒. ทวฺ ปิ ญฺ าสุตตฺ รานิ เทฺว ๒๕๓. เตปญฺ าสุตตฺ รานิ เทวฺ

๒๕๔. จตุปญฺาสุตตฺ รานิ เทฺว ๒๕๕. ปญฺจปญฺ าสตุ ฺตรานิ เทฺว ๒๕๖. ฉปญฺ าสตุ ฺตรานิ เทฺว

๒๕๗. สตฺตปญฺาสตุ ตฺ รานิ เทวฺ ๒๕๘. อฏ€ฺ ปญฺ าสตุ ฺตรานิ เทฺว ๒๕๙. เอกนู สฏฺ€ยุตฺตรานิ เทวฺ

๒๖๐. สฏ€ฺ ยตุ ฺตรานิ เทฺว ๒๖๑. เอกสฏฺ€ยุตฺตรานิ เทวฺ ๒๖๒. ทวฺ าสฏฺ€ยุตฺตรานิ เทวฺ

๒๖๓. เตสฏฺ€ยุตตฺ รานิ เทวฺ ๒๖๔. จตุสฏ€ฺ ยุตฺตรานิ เทวฺ ๒๖๕. ปญฺจสฏ€ฺ ยุตตฺ รานิ เทวฺ

๒๖๖. ฉสฏฺ€ยุตตฺ รานิ เทวฺ ๒๖๗. สตฺตสฏฺ€ยตุ ฺตรานิ เทฺว ๒๖๘. อฏ€ฺ สฏฺ€ยตุ ตฺ รานิ เทวฺ

๒๖๙. เอกูนสตตฺ ตยฺ ตุ ตฺ รานิ เทวฺ ๒๗๐. สตฺตตฺยุตฺตรานิ เทวฺ ๒๗๑. เอกสตฺตตยฺ ตุ ฺตรานิ เทวฺ

๒๗๒. เทฺวสตฺตตยฺ ตุ ตฺ รานิ เทฺว ๒๗๓. เตสตฺตตยฺ ุตตฺ รานิ เทฺว ๒๗๔. จตสุ ตฺตตฺยุตฺตรานิ เทฺว

๒๗๕. ปญจฺ สตฺตตยฺ ตุ ตฺ รานิ เทฺว ๒๗๖. ฉสตตฺ ตยฺ ุตฺตรานิ เทฺว ๒๗๗. สตตฺ สตตฺ ตยฺ ตุ ตฺ รานิ เทวฺ

๒๗๘. อฏ€ฺ สตตฺ ตยฺ ตุ ฺตรานิ เทฺว ๒๗๙. เอกูนาสตี ยฺ ุตตฺ รานิ เทวฺ ๒๘๐. อสีตฺยตุ ตฺ รานิ เทวฺ

๒๘๑. เอกาสีตยฺ ุตฺตรานิ เทวฺ ๒๘๒. ทวฺ าสตี ยฺ ตุ ฺตรานิ เทวฺ ๒๘๓. ตยาสีตฺยุตตฺ รานิ เทฺว

๒๘๔. จตรุ าสตี ยฺ ตุ ตฺ รานิ เทฺว ๒๘๕. ปญจฺ าสตี ยฺ ุตฺตรานิ เทวฺ ๒๘๖. ฉฬาสีตยฺ ตุ ตฺ รานิ เทฺว

๒๘๗. สตตฺ าสตี ฺยตุ ฺตรานิ เทวฺ ๒๘๘. อฏ€ฺ าสีตฺยตุ ตฺ รานิ เทฺว ๒๘๙. เอกูนนวุตยฺ ตุ ฺตรานิ เทวฺ

๒๙๐. นวตุ ยฺ ตุ ตฺ รานิ เทวฺ ๒๙๑. เอกนวุตยฺ ตุ ฺตรานิ เทวฺ ๒๙๒. เทฺวนวตุ ฺยุตตฺ รานิ เทวฺ

๒๙๓. เตนวุตยฺ ุตฺตรานิ เทฺว ๒๙๔. จตุนวตุ ยฺ ุตฺตรานิ เทฺว ๒๙๕. ปญฺจนวุตยฺ ตุ ฺตรานิ เทฺว

๒๙๖. ฉนวุตยฺ ุตฺตรานิ เทฺว ๒๙๗. สตฺตนวุตฺยตุ ฺตรานิ เทฺว ๒๙๘. อฏ€ฺ นวตุ ยฺ ุตตฺ รานิ เทวฺ

๒๙๙. เอกูนตสึ ตุตตฺ รานิ เทฺว ๓๐๐. ตีณิ ๔๐๐. จตฺตาริ

๕๐๐. ปญจฺ ๖๐๐. ฉ ๗๐๐. สตตฺ

๘๐๐. อฏฺ€ ๙๐๐. นว ๑,๐๐๐. ภกิ ฺขสุ หสสฺ ํ

142

วัดป่าดานวิเวก

กฐนิ

หนงึ่ เดือนทา้ ยฤดูฝน ตง้ั แตแ่ รม ๑ ค�ำ่ เดอื น ๑๑ ถงึ วนั เพญ็ เดอื น ๑๒ เปน็ คราวทีภ่ ิกษุ
ท้ังหลายหาผ้าท�ำจีวรเปลี่ยนของเดิม เป็นคราวที่ทายกถวายผ้าแก่สงฆ์เพื่อประโยชน์นี้
มพี ระพทุ ธานญุ าตเปน็ พิเศษไว้ เพอ่ื สงฆย์ กผา้ อนั ไมพ่ อแจกกนั ใหแ้ กภ่ กิ ษรุ ปู หนง่ึ รบั เอาไปทำ� จวี ร
ผนื ใดผืนหนง่ึ ในไตรจีวร ภกิ ษุนน้ั ทำ� ต้งั แตซ่ ัก กะ ตัด เย็บ ย้อม เสรจ็ ในวนั นั้น ทำ� พนิ ทุกัปปะ
อธิษฐานเป็นจีวรครอง เป็นจีวรกฐิน เรียกวา่ กรานกฐิน แปลวา่ ขงึ ไมส้ ะดงึ อธบิ ายวา่ ครง้ั ก่อน
พระไม่ช�ำนาญในการเย็บจีวร ต้องเอาเข้าขึงที่ไม้สะดึงเย็บ เสร็จแล้วบอกแก่ภิกษุท้ังหลาย
เพ่ืออนุโมทนา ภิกษเุ หล่าน้ันอนโุ มทนา ทั้งภิกษผุ ูก้ ราน ทั้งภกิ ษุผูอ้ นโุ มทนาย่อมไดอ้ านสิ งสแ์ หง่
การกรานกฐิน เลื่อนเขตอานสิ งสจ์ �ำพรรษาท้ัง ๕ ออกไปไดอ้ กี ๔ เดอื น ตลอดฤดูเหมันต์

วธิ ีกฐินอย่างธรรมยุติกา

ค�ำถวายผา้ กฐินทาน

(ว่า นโม ฯ ๓ หน)

อิมํ ภนเฺ ต, สปริวารํ กนิ ทสุ สฺ ,ํ สงฆฺ สสฺ โอโณชยาม, สาธุ โน ภนฺเต สงฺโฆ, อมิ ํ สปริวารํ
กินทุสฺสํ ปฏิคฺคณฺหาตุ, ปฏิคฺคเหตฺวา จ, อิมินา ทุสฺเสน กินํ อตฺถรตุ, อมฺหากํ ทีฆรตฺตํ
หติ าย สขุ าย.
ค�ำแปล ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าท้ังหลาย ขอน้อมถวาย ซ่ึงผ้ากฐิน กับท้ังบริวารนี้
แด่พระสงฆ.์ ขอพระสงฆจ์ งรับซึง่ ผ้ากฐนิ กบั ทง้ั บรวิ ารน้ี ของข้าพเจ้าทั้งหลาย, ก็แล คร้ันรับแลว้
จงกรานกฐินด้วยผ้านี,้ เพือ่ ประโยชน์ และความสุข แก่ข้าพเจ้าทง้ั หลาย สิ้นกาลนานเทอญ.

(สงฆร์ ับวา่ “สาธุ” พรอ้ มกัน)

143

วดั ปา่ ดานวิเวก

ค�ำอปโลกน์กฐิน

(รูปท่ี ๑ วา่ )

อิทานิ โข ภนฺเต, (หรือ อิทานิ โข อาวุโส), อิทํ สปริวารํ กินทุสฺสํ สงฺฆสฺส
กนิ ตถฺ ารารหกาเลเยว อปุ ปฺ นฺนํ, อที เิ ส จ กาเล เอวํ อุปปฺ นเฺ นน ทสุ เฺ สน กนิ ตฺถาโร วสสฺ ํ วตุ ถฺ านํ
ภิกฺขูนํ ภควตา อนุญฺาโต, เยน อากงฺขมานสฺส สงฺฆสฺส ปญฺจ กปฺปิสฺสนฺติ. อนามนฺตจาโร
อสมาทานจาโร คณโภชนํ ยาวทตฺถจีวรํ โย จ ตตฺถ จวี รปุ ปฺ าโท โส เนสํ ภวสิ สฺ ติ. จตสู ุปิ
เหมนตฺ ีเกสุ มาเสสุ จวี รกาโล มหนตฺ ีกโต ภวิสฺสต.ิ อทิ านิ ปน สงโฺ ฆ อากงขฺ ติ นุ โข กนิ ตฺถารํ,
อุทาหุ นากงฺขต?ิ
ภิกษุท้ังหลายพึงรับว่า “อากงฺขาม ภนฺเต” ผู้แก่พรรษากว่าพึงว่าแต่บท “อากงฺขาม”
ถงึ บท “ภนเฺ ต” พึงนง่ิ ถึงบทตอ่ ไป พึงรโู้ ดยนัยน้ี
ค�ำแปล ดูก่อนท่านผู้เจริญทั้งหลาย, (ข้าแต่ท่านผู้มีอายุท้ังหลาย), บัดนี้แล ผ้ากฐินกับ
ท้ังบริวารอันน้ี เกิดข้ึนแล้วแก่สงฆ์ในกาลอันควรกรานกฐินน่ันแหละ (ในกาลอันควรแก่ลาด
ไม้สะดึงทีเดียว), ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงอนุญาตการกรานกฐินแก่ภิกษุท้ังหลาย ผู้ได้อยู่
จ�ำพรรษาแล้ว ด้วยผ้าที่เกิดขึ้นแล้วอย่างน้ี ในกาลเช่นน้ี, อาศัยการกรานกฐินไรเล่า เป็นเหตุ
อานสิ งส์ ๕ จักสำ� เรจ็ แกส่ งฆ์ผูป้ รารถนาอยู่. คอื เทยี่ วไปด้วยไมต่ ้องบอกลา ๑ เทยี่ วจาริกไปดว้ ย
ไมต่ อ้ งถือเอาไตรจวี รไปครบสำ� รบั ๑ ฉนั คณะโภชนไ์ ด้ ๑ เก็บอติเรกจวี รไวไ้ ด้ตามปรารถนา ๑
จวี รลาภเกดิ ขน้ึ ในอาวาสนน้ั จกั เปน็ ของไดแ้ กพ่ วกเธอ ๑ ทง้ั จวี รกาลของเธอเหลา่ นนั้ จกั ไดท้ ำ� ใหเ้ ปน็
กาลมาก ยดื ออกไปในฤดเู หมนั ต์ ๔ เดอื น. กบ็ ดั นี้ สงฆป์ รารถนาจะกรานกฐนิ , หรอื ไมป่ รารถนา?
ภกิ ษทุ ั้งหลายพงึ รบั ว่า “ขา้ แต่ทา่ นผูเ้ จริญ ข้าพเจ้าท้ังหลายปรารถนาจะกรานกฐนิ น้นั อย”ู่

144

วัดป่าดานวเิ วก

(รูปท่ี ๒ วา่ ดงั น้)ี

โส โข ปน ภนฺเต กินตฺถาโร, ภควตา ปุคฺคลสฺส อตฺถารวเสเนว อนุญฺาโต,
นาญฺ ตตฺ ร ปคุ คฺ ลสฺส อตฺถารา อตฺถตํ โหติ กนิ นฺติ หิ วตุ ฺตํ ภควตา. น สงฺโฆ วา คโณ วา
กินํ อตฺถรติ. สงฺฆสฺส จ คณสฺส จ สามคฺคิยา ปุคฺคลสฺเสว อตฺถารา, สงฺฆสฺสปิ คณสฺสปิ
ตสฺเสว ปุคฺคลสฺสปิ อตฺถตํ โหติ กนิ ํ. อิทานิ กสฺสิมํ กนิ ทุสฺสํ ทสฺสาม กนิ ํ อตฺถริตุํ, โย
ชิณฺณจีวโร วา ทุพฺพลจีวโร วา, โย วา ปน อุสฺสหิสฺสติ อชฺเชว จีวรกมฺมํ นิฏฺาเปตฺวา,
สพฺพวธิ านํ อปริหาเปตวฺ า กนิ ํ อตฺถริตุํ, สมตฺโถ ภวิสฺสต.ิ

(สงฆพ์ ึงน่งิ อย)ู่

ค�ำแปล ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ก็การกรานกฐินน่ันแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงอนุญาต
ด้วยอ�ำนาจแห่งความกรานของบุคคลอย่างเดียว, เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ว่า กฐิน
ไม่เป็นอันกรานแล้ว นอกจากการกรานแห่งบุคคลดังน้ี. สงฆ์หรือคณะก็หากรานได้ไม่. เพราะ
อาศยั ความกรานกฐนิ แหง่ บคุ คลโดยความพร้อมเพรยี งแห่งสงฆด์ ว้ ย แหง่ คณะดว้ ย กฐนิ แหง่ สงฆ์
แหง่ คณะแห่งบุคคลน้นั เป็นอันสงฆ์และคณะและบคุ คลนัน้ ได้กรานแล้ว. กบ็ ดั น้ี เราทง้ั หลายจกั ให้
ผ้ากฐินนีแ้ ก่ภิกษุรูปใดเพ่อื จะกรานกฐิน. ภิกษุใดมีจีวรเกา่ ครำ่� ครา่ หรือมีจวี รทุพพลภาพ, ก็หรือ
ว่าภิกษุใดอาจหาญ จกั เปน็ ผสู้ ามารถ เพื่อจะใหจ้ วี รกรรมส�ำเรจ็ ในวนั นนี้ ่ีแหละ ไมใ่ ห้วิธที ัง้ ปวง
เสอื่ มแลว้ กรานกฐินได้.

(รูปที่ ๓ ว่าดังน)้ี

อิธ อเมฺหสุ อายสฺมา (อิตฺถนฺนาโม), สพฺพมหลฺลโก พหุสฺสุโต ธมฺมธโร วินยธโร,
สพฺรหฺมจารนี ํ สนฺทสฺสโก สมาทปโก สมุตเฺ ตชโก สมปฺ หสํ โก, พหุนนฺ ํ อาจริโย วา อุปชฺฌาโย วา
หุตฺวา โอวาทโก อนุสาสโก, สมตฺโถ จ ตํ ตํ วินยกมฺมํ อวิโกเปตฺวา กินํ อตฺถริตํุ.
มญฺามหเมวํ สพโฺ พยํ สงโฺ ฆ อมิ ํ สปริวารํ กนิ ทุสฺสํ, อายสฺมโต (อิตฺถนนฺ ามสฺส) ทาตกุ าโม.

145

วัดปา่ ดานวเิ วก

ตสฺมึ กนิ ํ อตฺถรนฺเต, สพฺโพยํ สงฺโฆ สมฺมเทว อนุโมทิสฺสติ, อายสฺมโต (อิตฺถนฺนามสฺเสว)
อมิ ํ สปริวารํ กนิ ทสุ ฺสํ ทาต,ํุ รุจฺจติ วา โน วา สพฺพสสฺ มิ สสฺ สงฆฺ สฺส?

สงฆ์พึงรบั ว่า “รจุ ฺจติ ภนฺเต”

ค�ำแปล บรรดาเราท้งั หลาย ท่านผมู้ ีอายุ (ช่อื นี้),ทา่ นมพี รรษายกุ าลมากกวา่ สงฆ์ทัง้ ปวง
เป็นพหุสูต ทรงธรรม ทรงวินัย, แสดงให้เพื่อนพรหมจรรย์เห็นจริง ได้รับปฏิบัติให้อาจหาญ
ใหร้ นื่ เรงิ (ในสมั มาปฏบิ ตั )ิ , และเปน็ อาจารย์ หรอื เปน็ อปุ ชั ฌายะ เปน็ ผใู้ หโ้ อวาทสง่ั สอนแกค่ ฤหสั ถ์
บรรพชติ เปน็ อนั มาก. อนงึ่ สามารถเพอ่ื จะกรานกฐนิ ไมใ่ หว้ นิ ยั กรรมนน้ั ๆ กำ� เรบิ . ขา้ พเจา้ สำ� คญั
ว่า สงฆ์ท้ังปวงนี้ปรารถนาจะให้ผ้ากฐินกับทั้งบริวารน้ี, แก่ท่านผู้มีอายุ (ชื่อน้ี), เมื่อท่านนั้น
กรานกฐนิ อย,ู่ สงฆท์ ง้ั ปวงนจ้ี กั อนโุ มทนาโดยชอบทวั่ กนั , การใหผ้ า้ กฐนิ กบั ทงั้ บรวิ ารน,ี้ แกท่ า่ น
(ช่ือน)้ี , ย่อมชอบหรอื ไม่ชอบแกส่ งฆท์ ง้ั ปวง?

“ชอบละ เจา้ ข้า”

(รูปที่ ๔ ว่าดงั น้)ี

ยทิ อายสฺมโต (อิตถฺ นฺนามสฺส) อมิ ํ สปริวารํ กนิ ทุสสฺ ํ ทาตํุ, สพพฺ สสฺ ิมสสฺ สงฆฺ สฺส รจุ จฺ ต,ิ
สาธุ ภนเฺ ต สงโฺ ฆ อิมํ กนิ ทุสฺสปรวิ ารภูตํ ติจวี รํ วสสฺ าวาสกิ ฏฺติ ิกาย อคาเหตฺวา, อายสมฺ โต
(อิตถฺ นฺนามสฺเสว) อิมินา อปโลกเนน ททาต.ุ กนิ ทสุ ฺสํ ปน อปโลกเนน ทยิ ยฺ มานํปิ น รูหติ.
ตสฺมา ตํ อิทานิ ตฺติทุติเยน กมฺเมน อกุปฺเปน านารเหน, อายสฺมโต (อิตฺถนฺนามสฺส)
เทมาติ, กมฺมสนฺนิฏฺ านํ กโรต.ุ

สงฆพ์ งึ รบั ว่า “สาธุ ภนเฺ ต”

ค�ำแปล ถ้าการให้ผ้ากฐินกับบริวารนี้, แก่ท่าน (ช่ือว่า), ควรชอบแก่สงฆ์ทั้งปวงนี้ไซร้,
ขอสงฆ์จงให้ผ้าไตรซ่ึงเป็นบริวารของผ้ากฐินไตรนี้ แก่ท่าน (ชื่อน้ี), ด้วยการอปโลกน์น้ีเถิด

146

วัดป่าดานวเิ วก

อย่าให้ต้องถอื เอาตามล�ำดบั พรรษาเลย. ก็แลผา้ กฐินแม้สงฆจ์ ะให้ดว้ ยอปโลกนก์ ็ไมข่ ึ้น. (ตอ้ งให้
ดว้ ยญตั ตทิ ตุ ยิ กรรมนัน้ จงึ ขนึ้ ) เพราะฉะนนั้ บดั นี้ ขอสงฆจ์ งทำ� กรรมสันนฏิ ฐานว่า เราท้งั หลาย
ใหผ้ ้ากฐินนั้นแกท่ า่ น (ชอ่ื น)้ี , ดว้ ยญตั ติทตุ ยิ กรรม อนั ไมก่ �ำเริบอนั ควรแก่ฐานะ ณ กาลบัดนีแ้ ล.

“ดลี ะ เจา้ ขา้ ”

ค�ำอธิบาย

๒ บทว่า “อิตฺถนฺนาโม” และ “อิตฺถนฺนามสฺส” ท่ีวงเล็บไว้นั้น ให้เปลี่ยนตามชื่อฉายา
ท่านผจู้ ะกรานกฐนิ ตัวอยา่ ง เช่น ทา่ นผู้กรานกฐนิ ช่ือ สุมงคฺ โล ถ้าในวงเลบ็ ว่า “อิตฺถนฺนาโม”
ก็เปล่ียนเป็น “สุมงฺคโล” ถ้าในวงเล็บว่า “อิตฺถนฺนามสฺส” ก็เปล่ียนเป็น “สุมงฺคลสฺส” ดังน้ีทุก
แห่งไปแต่ถา้ ท่านผูจ้ ะกรานกฐินมีราชทนิ นาม เปน็ พระราชาคณะหรือพระครู เปน็ ตน้ กใ็ หใ้ ชช้ ื่อ
ราชทินนามนั้นๆ แทนช่ือฉายาบทว่า “สพฺพมหลฺลโก” น้ีส�ำหรับท่านผู้กรานกฐินแก่พรรษา
ในสงฆ์ ถ้าในสงฆม์ ภี ิกษุผมู้ ีพรรษาแก่กวา่ ทา่ นใหย้ กเสียไมต่ ้องว่า
ค�ำว่า “พหุนฺนํ อาจริโย วา อุปชฺฌาโย วา หุตฺวา” ดังนี้นั้น ถ้าท่านผู้กรานน้ันเป็น
แต่อาจารย์ของภิกษุท้ังหลายจงว่า “พหุนฺนํ อาจริโย หุตฺวา” ถ้าเป็นอุปัชฌายะจงว่า “พหุนฺนํ
อุปชฺฌาโย หุตวฺ า” ถา้ เป็นทั้ง ๒ อย่างคงว่าตามแบบ

คำ� อปโลกนจ์ บแตเ่ ท่านี้

147

วัดปา่ ดานวเิ วก

ตตฺ ทิ ุติยกมมฺ วาจา

(๑) นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ทุ ฺธสฺส นโม ตสฺส
(๒) ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺ สสฺ
(๓) นโม ตสฺส ภควโต
(๔) อรหโต สมฺมา
(๕) สมพฺ ทุ ฺธสฺส
(ขอนอบน้อมแด่พระผู้มพี ระภาค อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจ้าพระองค์น้นั .)
สณุ าตุ เม ภนเฺ ต สงฺโฆ. อิทํ สงฺฆสสฺ กนิ ทสุ สฺ ํ อปุ ฺปนนฺ ,ํ ยทิ สงฆฺ สสฺ ปตตฺ กลลฺ ,ํ สงโฺ ฆ
อิมํ กนิ ทุสฺสํ, อายสมฺ โต (อติ ฺถนนฺ ามสสฺ ) ทเทยยฺ , กนิ ํ อตฺถรติ ํุ, เอสา ตฺติ.
สุณาตุ เม ภนฺเต สงโฺ ฆ. อิทํ สงฺฆสฺส กนิ ทสุ สฺ ํ อปุ ปฺ นนฺ ํ, สงฺโฆ อิมํ กนิ ทสุ สฺ ,ํ อายสฺมโต
(อิตฺถนฺนามสฺส) เทติ, กินํ อตฺถริตํุ. ยสฺสายสฺมโต ขมติ, อิมสฺส กินทุสฺสสฺส, อายสฺมโต
(อติ ถฺ นฺนามสฺส) ทาน,ํ กนิ ํ อตถฺ ริตํุ, โส ตณุ หฺ สสฺ , ยสสฺ น ขมต,ิ โส ภาเสยฺย. ทนิ นฺ ํ อิทํ
สงฺเฆน กนิ ทุสฺสํ, อายสฺมโต (อิตฺถนฺนามสฺส) กนิ ํ อตฺถริตุํ. ขมติ สงฺฆสฺส, ตสฺมา ตุณฺหี,
เอวเมตํ ธารยามิ.
ค�ำแปล ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจา้ ผา้ กฐนิ นี้ เกิดขน้ึ แลว้ แก่สงฆ์, ถ้าความ
พร้อมพรงั่ ของสงฆถ์ งึ ทแ่ี ลว้ , สงฆ์พงึ ให้ผ้ากฐนิ นี้ แก่ทา่ น (ช่ือน)้ี เพ่อื จะกรานกฐิน, น้เี ป็นญตั ติ.
(คอื คำ� เสนอ)
ขา้ แตท่ ่านผู้เจรญิ ขอสงฆ์จงฟงั ขา้ พเจ้า. ผา้ กฐนิ นเี้ กดิ ขนึ้ แลว้ แกส่ งฆ์ สงฆใ์ ห้ผา้ กฐนิ น้ีแก่
ท่าน (ชอื่ นี้), เพอื่ จะกรานกฐินชอบแกท่ ่านใด, ท่านผู้น้นั เป็นผนู้ ิ่ง. ไม่ชอบแก่ท่านผใู้ ด, ท่านผนู้ ้ัน
พงึ พูด. ผ้ากฐนิ นีอ้ นั สงฆใ์ หแ้ ลว้ แกท่ ่าน (ช่ือน้)ี เพอื่ กรานกฐิน. ยอ่ มชอบแก่สงฆ์, เหตนุ ัน้ สงฆจ์ ึง
นิ่งอย,ู่ ข้าพเจ้าทรงความนีไ้ ว้ดว้ ยอาการอย่างน้ี.

จบญตั ตทิ ตุ ยิ กรรมวาจาเทา่ นี้

148

วัดป่าดานวเิ วก

ค�ำกรานกฐนิ

ถ้ากรานด้วยผ้าสังฆาฏิว่า
“อมิ าย สงฺฆาฏยิ า กนิ ํ อตถฺ ราม”ิ
“ขา้ พเจ้ากรานกฐนิ ด้วยผ้าสงั ฆาฏผิ ืนนี”้
ถ้ากรานด้วยผา้ ห่มว่า
“อิมินา อุตตฺ ราสงฺเคน กนิ ํ อตถฺ ราม”ิ
“ข้าพเจา้ กรานกฐนิ ด้วยผา้ หม่ ผืนน”ี้
ถา้ กรานด้วยผ้านุ่งวา่
“อิมินา อนตฺ รวาสเกน กนิ ํ อตถฺ รามิ”
“ขา้ พเจา้ กรานกฐนิ ด้วยผ้าน่งุ ผนื นี”้

ค�ำเสนออนโุ มทนากฐนิ

“อตถฺ ตํ อาวโุ ส สงฆฺ สฺส กนิ ํ, ธมมฺ ิโก กนิ ตถฺ าโร อนุโมทถ”
ถ้าอ่อนกว่าผู้อนุโมทนา แม้รูปหน่ึงว่า “ภนฺเต” แทน “อาวุโส” ถ้าว่ากับภิกษุรูปเดียว
ทอ่ี อ่ นกวา่ พึงว่า “อนุโมทาห”ิ แทน “อนุโมทถ”
ค�ำแปล “ดูก่อนท่านผมู้ ีอายทุ ง้ั หลาย กฐนิ ของสงฆ์ ขา้ พเจ้ากรานเสรจ็ แล้ว การกรานกฐนิ
ชอบธรรม ขอทา่ นทัง้ หลายอนโุ มทนาเถิด”

ค�ำอนโุ มทนากฐนิ

วา่ ทลี ะรูป “อตฺถตํ ภนฺเต สงฺฆสสฺ กนิ ํ, ธมมฺ ิโก กนิ ตถฺ าโร อนโุ มทาม”ิ
ว่าพรอ้ มกัน “อตฺถตํ ภนเฺ ต สงฆฺ สสฺ กนิ ํ, ธมฺมโิ ก กนิ ตฺถาโร อนุโมทาม”

149

วดั ป่าดานวิเวก

ถา้ แก่กวา่ ผกู้ รานกฐินให้ว่า “อาวโุ ส” แทน “ภนเฺ ต”
ค�ำแปล “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ กฐินของสงฆ์ท่านกรานเสร็จแล้ว การกรานกฐินชอบธรรม
ขา้ พเจา้ ขออนุโมทนา”

ท�ำกปั ปยิ ะ

มพี ระพทุ ธานุญาตให้บริโภคผกั ผลไม้ ด้วยสมณกัปปะกรรมท่คี วรแก่สมณะ ๕ คอื
๑. ผลจดดว้ ยไฟ
๒. ผลจดดว้ ยศัสตรา
๓. ผลจดดว้ ยเล็บ
๔. ผลไม้ไมม่ ีพืช
๕. ผลมพี ชื จะพงึ ปล้อนเสียได้
พืช มีรากไมเ้ ปน็ ต้นซ่ึงเกิดอยใู่ นท่ชี อ่ื ว่า ภตู คาม เป็นวตั ถแุ ห่งปาจิตตีย์ พืชนัน้ เมือ่ พราก
ให้พ้นจากทีแ่ ล้ว ชอ่ื ว่าพชี คาม เปน็ วัตถแุ หง่ ทกุ กฏ พีชคามนนั้ เมอ่ื จะบริโภคพึงบงั คับอนุปสมั บนั
ว่า “กปปฺ ิยํ กโรหิ” ทา่ นจงทำ� กัปปิยะดังนี้ เสียอกี แลว้ จงึ บริโภค เมอ่ื เป็นเชน่ นี้ ชอ่ื วา่ ใหพ้ ้นจาก
พีชคาม ก็แลจะท�ำกัปปิยะน้ันพึงท�ำด้วยไฟ หรือศัสตรา หรือเล็บ โดยการจดหรือแทง หรือตัด
ดว้ ยจงอย เขา้ ในประเทศอนั หน่ึงแห่งพืชนนั้ ในทางปฏิบัติมกั ให้อนปุ สมั บันใช้เล็บจกิ หรอื เดด็ ให้
ขาด กล่าววา่ “กปปฺ ยิ ํ ภนฺเต” ท�ำกัปปยิ ะผลมะขวิด เป็นตน้ พืชข้างในหลดุ จากกะลาคลอนอยู่
พงึ ใหต้ อ่ ยออกทำ� กปั ปยิ ะ ถา้ ตดิ กนั อยไู่ ซร้ จะทำ� แมใ้ นกะลากค็ วร กแ็ ลผลอนั ใดเปน็ ของออ่ นไมม่ ี
พชื และผลใดที่มีพชื ปลอ้ นออกเสยี บรโิ ภคไดก้ จิ ทีจ่ ะทำ� กัปปิยะ ในผลไมน้ น้ั ไมม่ ี

150

วัดป่าดานวเิ วก

ค�ำอาราธนาและเบด็ เตล็ด

ค�ำอาราธนาพระปริตร

วิปตตฺ ิปฏพิ าหาย สพพฺ สมฺปตตฺ สิ ิทฺธยิ า,
สพพฺ ทุกฺขวนิ าสาย ปริตตฺ ํ พรฺ ถู มงฺคล.ํ
วปิ ตตฺ ปิ ฏิพาหาย สพพฺ สมฺปตตฺ สิ ทิ ฺธิยา,
สพฺพภยวินาสาย ปริตฺตํ พรฺ ถู มงคฺ ลํ.
วิปตตฺ ปิ ฏพิ าหาย สพฺพสมปฺ ตตฺ สิ ทิ ฺธยิ า,
สพพฺ โรควินาสาย ปริตฺตํ พรฺ ถู มงคฺ ล.ํ

ค�ำอาราธนาธรรม

พฺรหฺมา จ โลกาธปิ ตี สหมปฺ ติ,
กตอฺ ญชฺ ลี อนธฺ ิวรํ อยาจถ,
สนตฺ ีธ สตตฺ าปปฺ รชกฺขชาตกิ า,
เทเสตุ ธมมฺ ํ อนุกมปฺ ิมํ ปชํ.

ค�ำอาราธนาศลี ๕

มยํ ภนเฺ ต, (วสิ ุ วสิ ุ รกขฺ ณตฺถาย), ตสิ รเณน สห, ปญฺจ สลี านิ ยาจาม.
ทตุ ิยมปฺ ิ มยํ ภนฺเต, (วสิ ุ วิสุ รกฺขณตถฺ าย), ตสิ รเณน สห, ปญฺจ สลี านิ ยาจาม.
ตตยิ มฺปิ มยํ ภนเฺ ต, (วสิ ุ วิสุ รกฺขณตฺถาย), ติสรเณน สห, ปญจฺ สลี านิ ยาจาม.

151

วัดป่าดานวิเวก

อกี นัยหน่ึง ค�ำอาราธนาศลี ๕ เปน็ นจิ จะศีล

มยํ ภนฺเต, ติสรเณน สห, ปญจฺ งฺคสมนฺนาคตํ, นจิ จฺ สลี ํ ยาจาม.
ทุตยิ มปฺ ิ มยํ ภนฺเต, ตสิ รเณน สห, ปญฺจงคฺ สมนฺนาคต,ํ นิจฺจสลี ํ ยาจาม.
ตตยิ มฺปิ มยํ ภนฺเต, ติสรเณน สห, ปญฺจงคฺ สมนฺนาคตํ, นิจฺจสีลํ ยาจาม.

ค�ำอาราธนาศลี ๘

มยํ ภนเฺ ต, (วิสุ วิสุ รกขฺ ณตฺถาย), ติสรเณน สห อฏฺ สีลานิ ยาจาม.
ทตุ ยิ มปฺ ิ มยํ ภนฺเต, (วสิ ุ วสิ ุ รกฺขณตฺถาย), ตสิ รเณน สห อฏฺ สีลานิ ยาจาม.
ตตยิ มปฺ ิ มยํ ภนฺเต, (วสิ ุ วสิ ุ รกฺขณตถฺ าย), ติสรเณน สห อฏฺ สีลานิ ยาจาม.

ค�ำอาราธนาอโุ บสถศลี

มยํ ภนเฺ ต, ติสรเณน สห, อฏฺ งฺคสมนฺนาคต,ํ อุโปสถํ ยาจาม. (๓ หน)
ค�ำอาราธนาศลี เหลา่ น้ี นยิ มใชใ้ นเวลาสมาทานมากคน ถ้าคนเดยี วพึงเปล่ียนคำ� วา่
มยํ เปน็ อหํ และคำ� วา่ ยาจาม เป็น ยาจามิ.
ค�ำอธิบาย
ค�ำอาราธนา บางท่านใช้ตัดค�ำว่า (วิสุ วิสุ รกฺขณตฺถาย) ออก เช่นน้ีก็ใช้ได้
เมอ่ื เปน็ เชน่ นี้ พงึ ทราบความตา่ งกนั ทีม่ ีคำ� วา่ วสิ ุ วสิ ุ รกฺขณตฺถาย นนั้ หมายความว่า
ต่างคนต่างรักษาอย่างหน่ึง ต่างคนต่างขออย่างหน่ึง ขอให้ให้ทีละสิกขาบทอย่ารวม
เทียบปัจเจกสมาทาน เมื่อล่วงสิกขาบทไหนขาดเฉพาะสิกขาบทน้ัน สิกขาบทอ่ืนไม่ขาด
ถา้ สมาทานรวมสกิ ขาบทใดบทหนึง่ ขาดไป กข็ าดทงั้ หมด

152

วัดปา่ ดานวเิ วก

สรณคมน์ และ ศลี

เบญจศีล (ศลี ๕)

นมสั การ
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ทุ ธฺ สฺส. (๓ หน )

สรณคมน์
พุทธฺ ํ สรณํ คจฺฉามิ,
ธมฺมํ สรณํ คจฺฉาม,ิ
สงฺฆํ สรณํ คจฺฉาม.ิ
ทุติยมฺปิ พทุ ธฺ ํ สรณํ คจฉฺ าม,ิ
ทุติยมปฺ ิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ,
ทุตยิ มปฺ ิ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ าม.ิ
ตติยมฺปิ พทุ ฺธํ สรณํ คจฺฉาม,ิ
ตติยมปฺ ิ ธมมฺ ํ สรณํ คจฺฉาม,ิ
ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ.

สิกขาบท ๕
ปาณาตปิ าตา เวรมณี สกิ ฺขาปทํ สมาทยิ าม.ิ
อทินฺนาทานา เวรมณี สกิ ฺขาปทํ สมาทยิ าม.ิ
กาเมสมุ ิจฉฺ าจารา เวรมณี สิกขฺ าปทํ สมาทยิ าม.ิ

153

วัดป่าดานวิเวก

มุสาวาทา เวรมณี สิกขฺ าปทํ สมาทิยาม.ิ
สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺ านา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทยิ ามิ.

ทา้ ยศลี
ก. แบบปกติ
อมิ านิ ปญฺจ สกิ ขฺ าปทานิ, สเี ลน สุคตึ ยนตฺ ิ, สเี ลน โภคสมฺปทา, สเี ลน นพิ พฺ ตุ ึ
ยนฺติ, ตสฺมา สลี ํ วิโสธเย.
ข. แบบนจิ จะศีล
อิมานิ ปญจฺ สิกฺขาปทานิ, นจิ ฺจสลี วเสน สาธุกํ รกขฺ ติ พพฺ าน,ิ (รับว่า อาม ภนฺเต)
สเี ลน สุคตึ ยนฺติ, สเี ลน โภคสมปฺ ทา, สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ, ตสฺมา สีลํ วโิ สธเย.
อกี อยา่ งหนง่ึ น�ำใหส้ มาทานรวมว่า “อิมานิ ปญฺจ สิกฺขาปทานิ สมาทิยาม”ิ มที ี่
ใช้ในบางโอกาส เช่น ในเวลาแสดงตนเป็นพุทธมามกะ แต่ไม่ต้องว่าค�ำลงท้ายศีล
ดงั กลา่ วแล้ว.

ศลี ๘ และอโุ บสถศีล

(นมสั การ และสรณคมน์ เหมือนศีล ๕)
สกิ ขาบท ๘
ปาณาตปิ าตา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทยิ ามิ.
อทนิ ฺนาทานา เวรมณี สกิ ฺขาปทํ สมาทิยาม.ิ
อพรฺ หฺมจรยิ า เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ.
มสุ าวาทา เวรมณี สกิ ฺขาปทํ สมาทยิ าม.ิ

154

วดั ปา่ ดานวิเวก

สุราเมรยมชชฺ ปมาทฏฺานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยาม.ิ
วกิ าลโภชนา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยาม.ิ
นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนมาลาคนฺธวิเลปนธารณ มณฺฑนวิภูสนฏฺานา เวรมณี
สิกขฺ าปทํ สมาทยิ าม.ิ
อุจจฺ าสยนมหาสยนา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยาม.ิ

ทา้ ยศีล ๘

ก. แบบปกติ
อิมานิ อฏฺ สิกขฺ าปทาน,ิ สีเลน สคุ ตึ ยนตฺ ,ิ สเี ลน โภคสมปฺ ทา, สเี ลน นพิ ฺพตุ ึ ยนตฺ ิ,
ตสมฺ า สีลํ วิโสธเย.
ข. แบบอโุ บสถศีล
เมอื่ เวลาสมาทานสิกขาบทจบแลว้ พึงน�ำให้ว่าค�ำสมาทาน ดงั น้ี
อิมํ อฏฺงฺคสมนฺนาคตํ, พุทฺธปญฺตฺตํ อุโปสถํ, อิมญฺจ รตฺตึ อิมญฺจ ทิวสํ, สมฺมเทว
อภิรกขฺ ติ ุ สมาทยิ ามิ.
(แปลวา่ ) ขา้ พเจา้ สมาทานซงึ่ อโุ บสถศลี , ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงบญั ญตั ไิ วแ้ ลว้ น้ี อนั ประกอบ
ด้วยองค์ ๘ ประการ ดังได้สมาทานมาแล้วน้ี, เพ่ือจะรักษาไว้ให้ดี ไม่ให้ขาด ไม่ให้ท�ำลาย,
สนิ้ วันหนึ่งกบั คนื หนึ่ง ณ เวลาวนั น้.ี
ท้ายศีลอุโบสถ
อิมานิ อฏฺ สกิ ฺขาปทานิ, อชเฺ ชกํ รตฺตนิ ฺทิวํ อโุ ปสถวเสน สาธกุ ํ รกขฺ ติ พพฺ านิ, (ผสู้ มาทาน
รบั วา่ อาม ภนฺเต) สเี ลน สคุ ตึ ยนตฺ ิ, สีเลน โภคสมฺปทา, สเี ลน นพิ พฺ ุตึ ยนฺต,ิ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย.

155

วัดป่าดานวิเวก

ค�ำถวายผ้าป่า

อมิ านิ มยํ ภนฺเต, ปสํ ุกลู จวี รานิ, สปรวิ าราน,ิ สีลวนตฺ สฺส, โอโณชยาม, สาธุ โน ภนเฺ ต,
สีลวนฺโต, อิมานิ, ปํสุกลู จวี ราน,ิ สปรวิ าราน,ิ ปฏคิ คฺ ณหฺ าตุ, อมฺหากํ, ทีฆรตฺต,ํ หติ าย, สุขาย.
ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ ขา้ พเจา้ ทง้ั หลาย ขอนอ้ มถวายผา้ บงั สกุ ลุ จวี ร (ผา้ ปา่ ) กบั ทงั้ เครอ่ื งบรวิ าร
ทั้งหลายเหล่านี้ แด่ท่านผ้มู ศี ลี ขอท่านผู้มศี ีลจงรับ ผา้ บงั สุกลุ จีวร กบั ท้งั เคร่ืองบริวารทัง้ หลาย
เหลา่ นี้ ของขา้ พเจา้ ทง้ั หลาย เพอ่ื ประโยชน์ และความสขุ แกข่ า้ พเจา้ ทง้ั หลาย ตลอดกาลนานเทอญ.

ค�ำถวายทาน

(แดพ่ ระภิกษแุ บบไมต่ ้องอปโลกน)์

อิมานิ มยํ ภนฺเต, ภตฺตานิ, สปริวารานิ, สีลวนฺตสฺส, โอโณชยาม, สาธุ โน ภนฺเต,
สีลวนโฺ ต, อิมาน,ิ ภตตฺ านิ, สปรวิ ารานิ, ปฏคิ คฺ ณหฺ าตุ, อมหฺ าก,ํ ทฆี รตตฺ ,ํ หิตาย, สขุ าย.
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าท้ังหลาย ขอน้อมถวาย ซึ่งภัตตาหาร กับทั้งบริวารทั้งหลาย
เหลา่ นี้ แดท่ า่ นผทู้ รงศลี ผเู้ จรญิ ขอทา่ นผทู้ รงศลี ผเู้ จรญิ จงรบั ซง่ึ ภตั ตาหาร กบั ทงั้ บรวิ ารทงั้ หลาย
เหล่านี้ ของขา้ พเจา้ ทัง้ หลาย เพ่อื ประโยชน์และความสขุ แกข่ า้ พเจา้ ท้ังหลาย ส้ินกาลนานเทอญ.

ค�ำถวายทานอุทศิ

(แด่พระภกิ ษแุ บบไม่ตอ้ งอปโลกน)์

อิมานิ มยํ ภนฺเต, ภตฺตานิ, สปริวารานิ, สีลวนฺตสฺส, โอโณชยาม, สาธุ โน ภนฺเต,
สีลวนฺโต, อิมานิ, ภตฺตานิ, สปริวารานิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ, อมฺหากญฺเจว, มาตาปิตุอาทีนญฺจ,
าตกานญจฺ , กาลกตาน,ํ ทีฆรตฺต,ํ หิตาย, สขุ าย.
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าท้ังหลาย ขอน้อมถวาย ซึ่งภัตตาหารกับท้ังเครื่องบริวาร
ท้ังหลายเหล่าน้ี แด่ท่านผู้ทรงศีลผู้เจริญ ขอท่านผู้ทรงศีลผู้เจริญจงรับ ซึ่งภัตตาหาร กับทั้ง

156

วัดปา่ ดานวเิ วก

เคร่ืองบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี ของข้าพเจ้าท้ังหลาย เพื่อประโยชน์ และความสุข แก่ข้าพเจ้า
ทั้งหลาย และแก่ญาติทั้งหลาย มีมารดาบิดาเปน็ ต้น ผลู้ ว่ งลับไปแล้ว ส้ินกาลนานเทอญ.

ค�ำชกั ผา้ บงั สุกุล

“อิมํ ปสํ กุ ูลจวี รํ อสฺสามิกํ มยหฺ ํ ปาปุณาติ”

ค�ำถวายสังฆทาน

อิมานิ มยํ ภนฺเต, ภตฺตานิ, สปรวิ ารานิ, ภิกฺขสุ งฆฺ สฺส, โอโณชยาม, สาธุ โน ภนฺเต,
ภิกฺขุสงโฺ ฆ. อิมานิ, ภตตฺ าน,ิ สปรวิ าราน,ิ ปฏคิ ฺคณหฺ าตุ, อมฺหากํ, ทีฆรตตฺ ,ํ หติ าย, สุขาย.
ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ ขา้ พเจา้ ทงั้ หลาย ขอนอ้ มถวาย ซง่ึ ภตั ตาหาร กบั ทง้ั เครอื่ งบรวิ ารทง้ั หลาย
เหล่านี้ แดพ่ ระภิกษสุ งฆ์ ขอพระภกิ ษุสงฆ์จงรับ ซง่ึ ภัตตาหาร กบั ท้ังเคร่ืองบริวารท้งั หลายเหลา่ น้ี
ของขา้ พเจา้ ท้ังหลาย เพื่อประโยชน์ และความสุข แก่ข้าพเจ้าท้งั หลาย ตลอดกาลนานเทอญ.

ค�ำถวายสังฆทานอทุ ศิ

อิมานิ มยํ ภนฺเต, ภตตฺ าน,ิ สปรวิ าราน,ิ ภิกฺขสุ งฆฺ สสฺ , โอโณชยาม, สาธุ โน ภนเฺ ต,
ภิกฺขุสงฺโฆ. อิมานิ, ภตฺตานิ, สปริวารานิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ, อมฺหากญฺเจว, มาตาปิตุอาทีนญฺจ,
าตกานญฺจ, กาลกตาน,ํ ทฆี รตตฺ ,ํ หิตาย, สขุ าย.
ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ ขา้ พเจา้ ทงั้ หลาย ขอนอ้ มถวาย ซงึ่ ภตั ตาหารกบั ทง้ั เครอื่ งบรวิ ารทง้ั หลาย
เหล่านี้ แด่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระสงฆ์จงรับ ซึ่งภัตตาหาร กับทั้งเครื่องบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี
ของข้าพเจ้าท้ังหลาย เพ่ือประโยชน์ และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย และแก่ญาติท้ังหลาย
มมี ารดาบดิ าเปน็ ต้น ผู้ลว่ งลับไปแล้ว ตลอดกาลนานเทอญ.

157

วดั ป่าดานวเิ วก

ค�ำอปโลกน์สงั ฆทาน

(ว่า นโม ฯ ๓ หน)
ยคฺเฆ ภนเฺ ต สงฺโฆ ชานาต,ุ อยํ ปมภาโค เถรสฺส ปาปุณาต,ิ อวเสสา ภาคา อวเสสานํ
ภกิ ฺขสุ ามเณรานํ ปาปุณนฺต,ุ ยถาสุขํ ปรภิ ญุ ชฺ นฺตุ. (๓ จบ)

(พระสงฆร์ บั พร้อมกนั วา่ “สาธ”ุ )

ค�ำอปโลกนอ์ กี แบบหน่งึ

(วา่ นโม ฯ ๓ หน)
ยคฺเฆ ภนฺเต สงฺโฆ ชานาตุ. เอโส ปมภาโค เถรสฺส ปาปุณาติ, อวเสสา ภาคา
อมฺหากํ ปาปณุ นตฺ ุ, ภกิ ขู จ สามเณรา จ คหฏฺา จ, ยถาสขุ ํ ปริภุญชฺ นฺต.ุ
เอโส ปมภาโค เถรสฺส ปาปุณาติ, อวเสสา ภาคา อมฺหากํ ปาปุณนฺตุ, ภิกขู จ
สามเณรา จ คหฏฺา จ, ยถาสขุ ํ ปรภิ ุญฺชนตฺ .ุ
เอโส ปมภาโค เถรสฺส ปาปุณาติ, อวเสสา ภาคา อมฺหากํ ปาปุณนฺตุ, ภิกขู จ
สามเณรา จ คหฏฺา จ, ยถาสขุ ํ ปรภิ ญุ ชฺ นตฺ .ุ

(พระสงฆ์รบั พรอ้ มกนั วา่ “สาธ”ุ )

158

วดั ปา่ ดานวิเวก

ทพิ ยมนต์

โดย
ทา่ นพอ่ ลี ธมฺมธโร
วดั อโศการาม จังหวัดสมทุ รปราการ

หนังสือ “ทิพยมนต์” น้ีได้เขียนข้ึนเป็นสายบรรทัดเคร่ืองจูงใจของผู้ปฏิบัติให้บรรลุถึง
ความบรสิ ทุ ธิ์ เพราะมนตห์ มวดนย้ี อ่ มเปน็ ผลดแี กผ่ ทู้ อ่ งบน่ เพราะเปน็ เรอื่ งในตวั ของตวั เอง ธรรมดา
คนทเ่ี กดิ มายอ่ มอาศยั อยใู่ นธาตทุ งั้ ๖ ธาตเุ หลา่ นนั้ สะสมขน้ึ ดว้ ยการกระทำ� ของตนเอง ดบี า้ งชวั่ บา้ ง
เมื่อเป็นเช่นนี้ ธาตเุ หล่าน้ันยอ่ มลงโทษแกผ่ ้อู าศยั อยู่ เปรียบเหมอื นกับเดก็ มันเปน็ ส่งิ ทค่ี อยรบกวน
ใจอยูเ่ สมอ ฉะนนั้ การสวดมนต์ ก็เท่ากับวา่ เราเลยี้ งเด็ก บ�ำรงุ เด็กใหไ้ ดร้ บั ความสมบูรณ์ เมือ่ เด็ก
ไดร้ บั ความสมบรู ณเ์ ชน่ นนั้ แลว้ ผใู้ หญย่ อ่ มไดร้ บั ความสะดวกสบาย ฉะนน้ั ถา้ ใครเสกบน่ เทา่ กบั วา่
เราเลยี้ งเดก็ แล้วด้วยอาหาร เรากลอ่ มเด็กแล้วด้วยเพลงอันไพเราะ คอื พุทธคณุ อำ� นาจพทุ ธคณุ น้ี
อาจจะท�ำธาตุของตนให้บริสุทธิ์ข้ึนเป็นธาตุกายสิทธิ์ เหมือนแร่ธาตุท่ีมีอยู่ในโลก ย่อมแล่น
หรือดึงดูดถึงกันได้ทุกวินาที หรือเปรียบเสมือนสายไฟฟ้า ส่วนมนต์คาถาท่ีสวดเปรียบเหมือน
กระแสไฟ มงุ่ ไปทศิ ใดยอ่ มถงึ ทน่ี น้ั ๆ อาจทจ่ี ะทำ� ใหด้ นิ ฟา้ อากาศเปน็ มงคล เพราะมนตห์ มวดนเี้ ปน็
มนต์ กบิลฤาษปี นอยดู่ ้วย ตามเรื่องท่เี ล่าไวด้ งั น้ี
ในอดีตกาล มีฤาษตี นหนึ่งไปเจรญิ ทิพยมนตอ์ ยูใ่ นปา่ สกั ณ ประเทศอนิ เดยี ตามตำ� นาน
เลา่ วา่ ในปา่ นนั้ เปน็ มหามงคล เชน่ ตน้ ไมท้ ง้ั หลายสบั เปลยี่ นกนั เกดิ ดอกออกผลอยตู่ ลอดทกุ ฤดกู าล
มีน�้ำใสสะอาด สัตว์ตัวไหนเจ็บป่วยว่ิงผ่านเข้าไปได้กินน้�ำในที่นั้น อาการป่วยนั้นจะสูญสิ้นไป
ใบหญ้าและเถาวัลย์สดชื่นอยู่เป็นนิจ สัตว์ที่ดุร้ายและโหดร้ายเบียดเบียนกัน เมื่อเข้าไปผ่าน
ในสถานทีน่ ัน้ ก็ราวกับวา่ เปน็ เพอ่ื นเป็นมิตรกันเอง สตั วท์ งั้ หลายก็อาศยั ปา่ นั้นอยโู่ ดยความร่นื เริง
กลนิ่ โสโครก ซากสตั วต์ า่ งๆ ทต่ี ายในทนี่ น้ั ไมป่ รากฏ ถา้ หากวา่ ความตายจะมาถงึ ตนกต็ อ้ งดนิ้ รน
หนไี ปตายทอ่ี น่ื ในทน่ี พ้ี วกชาวศากยสกลุ วงศข์ องพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ไดไ้ ปตงั้ เมอื งหลวงในทน่ี นั้
เรยี กว่า กรุงกบิลพัสดุ์ซง่ึ ยังเปน็ บ้านเมอื งมาจนบดั น้ี (ประเทศเนปาล)

159

วดั ปา่ ดานวเิ วก

น่ีเกิดจากความศักดิ์สิทธ์ิซ่ึงกปิลฤาษีได้ไปเจริญทิพยมนต์อยู่ในที่น้ัน วิธีเจริญของฤาษี
ตนนั้น วาระแรกเขาไดห้ ันหนา้ ไปทางทิศตะวันออก ได้เจรญิ มนตห์ มวดนี้อยูต่ ลอด ๗ วัน วาระ
ท่ี ๒ เขาหันหนา้ ไปทางทิศอุดร วาระที่ ๓ เขาหนั หนา้ ไปทางทศิ ใต้ วาระท่ี ๔ เขาได้หนั หนา้ ไป
ทางทิศตะวนั ตก วาระที่ ๕ เขาไดห้ นั หน้าลงไปทางใตพ้ ้นื ปฐพี วาระท่ี ๖ เขาได้ยกมอื แหงนหน้า
ข้นึ ไปในอากาศ ท�ำจิตใหส้ ะอาด เอารัศมขี องดวงดาวเปน็ นิมิต วาระที่ ๗ เขาได้เจรญิ อานาปาน์
ปล่อยลมของเขาเองออกทกุ ทิศ โดยอำ� นาจแหง่ กำ� ลังจิตท่ีประกอบดว้ ยพรหมวิหารทัง้ ๔ เรียกว่า
“ทพิ ยมนต”์ ดังน้ี เลา่ มานต้ี ามเรื่องราวของชาวอินเดยี เลา่ ให้ฟงั ต่อจากนน้ั ก็ใหน้ กึ ถงึ พระสมั มา
สมั พทุ ธเจา้ ผบู้ รสิ ทุ ธด์ิ ว้ ยคณุ ธรรมอนั เลศิ จนพระองคส์ ามารถจะเสกธาตขุ องพระองคเ์ องใหบ้ รสิ ทุ ธิ์
ยง่ิ กว่าธาตใุ ด ๆ ทั้งหมดในโลก เชน่ พระบรมธาตอุ ันเปน็ ธาตกุ ายสทิ ธ์ิ ซึ่งมปี รากฏอยใู่ นผเู้ คารพ
นบั ถือ ไดท้ ราบข่าวว่า เสด็จมาบา้ ง เสด็จหนีบา้ ง ซ่งึ เปน็ สง่ิ แปลกประหลาดอยู่มาก สิ่งเหลา่ น้ีก็
ส�ำเร็จมาจากดวงจิตอันบริสุทธิ์นั้นเอง เมื่อจิตบริสุทธิ์แล้วธาตุท้ัง ๖ ก็พลอยบริสุทธิ์ไปด้วย
เมอื่ ธาตเุ หลา่ นเ้ี นอ่ื งอยดู่ ว้ ยโลก อาจจะทำ� โลกใหไ้ ดร้ บั ความชมุ่ เยน็ ไปดว้ ยกไ็ ด้ เพราะธาตทุ ง้ั หมด
ยอ่ มเนื่องถึงกนั ถา้ พวกเราพทุ ธบรษิ ทั ตั้งใจประพฤติปฏิบตั เิ ช่นน้ัน เชื่อแน่ว่าต้องได้รบั ผลดีตาม
จ�ำนวนของปริมาณ ถ้าหากว่าจิตมิได้ฝึกหัดในทางน้ี มัวเมาแต่สะสมความชั่วใส่ตนแล้ว จิตก็
ต้องเดือดร้อน อ�ำนาจแห่งความร้อนของดวงจิตก็จะท�ำให้ธาตุในตัวทุกส่วนร้อนเป็นไฟไปด้วย
ไฟเหลา่ นก้ี จ็ ะตอ้ งระบายไปในทต่ี า่ งๆทวั่ โลก ความรอ้ นอนั นเี้ มอื่ มปี รมิ าณมากขน้ึ กจ็ ะจบั กลมุ่ กนั
ขึ้นเปน็ เคร่ืองสนบั สนนุ ช่วยแสงอาทิตย์ให้แรงกล้า แล้วก็ทำ� อากาศธาตุ ดิน น้ำ� ไฟ ลม ให้วิบัติ
เปล่ียนแปลงไปโดยอาการต่างๆ เช่นฤดูท้ัง ๓ ก็จักไม่คงท่ี เมื่อเป็นเช่นน้ีมนุษย์ที่อาศัยอยู่ก็จะ
ตอ้ งวบิ ตั หิ รอื เดอื ดรอ้ นไปตามกนั ขนั้ ทส่ี ดุ ของความชว่ั กจ็ ะทำ� ใหโ้ ลกทเ่ี ราอาศยั อยนู่ แ้ี ตกสลายไป
ท่ีเขาเรียกวา่ ไฟประลัยกลั ป์ไหม้โลก คนเราไม่ได้นกึ คิดจึงเหมาใหธ้ รรมชาตเิ ปน็ เองเสียโดยมาก
เมอื่ เปน็ เชน่ นกี้ ็มิใช่นักเหตผุ ล เพราะส่งิ ทง้ั หลายต้องมีเหตุจงึ มผี ล โลกที่ปรากฏอยยู่ อ่ มสำ� เร็จมา
จากดวงจิตเป็นตัวเหตุ จติ ดโี ลกตอ้ งดี จิตช่ัวโลกต้องชั่ว
ฉะนน้ั จงึ ไดเ้ ขยี นแนวทางอบรมดวงจติ ไวใ้ นหนงั สอื เลม่ น้ี เพอ่ื สรา้ งความรม่ เยน็ เปน็ สขุ ตอ่ ไป

พระอาจารย์ ลี

160

วัดปา่ ดานวเิ วก

หมวด ๑

ไหวพ้ ระ

ค�ำขอขมาโทษและค�ำนมัสการพระบรมธาตุ พระอรหันตธาตุ พระพุทธรูป พระสถูป
พระเจดยี ์ ตลอดจนตน้ ไมม้ หาโพธิ์ ซง่ึ เปน็ วตั ถทุ พ่ี ทุ ธบรษิ ทั ควรเคารพสกั การะทว่ั ๆไป เพอื่ ใหเ้ ปน็
สิรมิ งคลแก่ตนเอง

อรหํ สมฺมาสมพฺ ทุ ฺโธ ภควา, พระผมู้ ีพระภาคเป็นผไู้ กลจากกิเลส ตรสั ร้เู องชอบ
ตํ ภควนฺตํ อภวิ าเทมิ. ข้าพเจ้าอภวิ าทกราบไหว้พระผมู้ ีพระภาคเจ้าพระองคน์ นั้ (กราบ)
สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม, พระธรรมที่พระผูม้ พี ระภาคตรัสดแี ล้ว
ตํ ธมมฺ ํ นมสสฺ าม.ิ ข้าพเจา้ นมสั การกราบไหว้พระธรรมน้ัน (กราบ)
สุปฏปิ นฺโน ภควโต สาวกสงโฺ ฆ, พระสงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคทีท่ ่านปฏิบัตดิ ีแล้ว
ตํ สงฺฆํ นมามิ. ข้าพเจ้านอบนอ้ มกราบไหว้พระสงฆ์น้ัน (กราบ)
นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสสฺ .
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพทุ ฺธสฺส.
นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ทุ ฺธสสฺ .
อุกาส ทฺวารตตฺ เยน กตํ, สพฺพํ อปราธํ ขมตุ โน ๑ ภนฺเต.
วนฺทามิ ภนฺเต เจติยํ, สพฺพํ สพฺพตฺถ€าเน, สุปติฏฺ€ิตํ สารีรงฺกธาตุํ, มหาโพธึ
พุทฺธรูปํ สกฺการตฺถํ, อหํ วนฺทามิ ธาตุโย, อหํ วนฺทามิ สพฺพโส, อิจฺเจตํ รตนตฺตยํ,
อหํ วนทฺ ามิ สพพฺ ทา.
พทุ ธฺ ปูชา มหาเตชวนฺโต, ธมมฺ ปูชา มหปปฺ ญโฺ , สงฆฺ ปูชา มหาโภคาวโห.

๑ คนเดียววา่ ขมถ เม

161

วดั ป่าดานวเิ วก

พทุ ธฺ ํ ธมมฺ ํ สงฆฺ ํ, ชีวติ ํ ยาวนพิ ฺพานํ สรณํ คจฉฺ าม.ิ
ปรสิ ทุ ฺโธ อหํ ภนฺเต, ปรสิ ุทฺโธ ติ ม,ํ พทุ ฺโธ ธมฺโม สงโฺ ฆ ธาเรตุ.
สพฺเพ สตฺตา สทา โหนฺตุ อเวรา สขุ ชวี ิโน.
กตํ ปญุ ฺผลํ มยหฺ ํ สพเฺ พ ภาคี ภวนตฺ ุ เต.

(จบแลว้ กราบสามครงั้ )

หมวด ๒

สวดมนต์

สวดมนตด์ ว้ ยพระพุทธคุณตง้ั ธาตุทงั้ ๖
นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพทุ ธฺ สฺส.
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทฺธสสฺ .
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺ สสฺ .
พุทธฺ ํ อายุวฑฺฒนํ ชีวติ ํ ยาวนพิ ฺพานํ สรณํ คจฺฉามิ,
ธมมฺ ํ อายุวฑฒฺ นํ ชีวิตํ ยาวนิพฺพานํ สรณํ คจฺฉามิ,
สงฆฺ ํ อายวุ ฑฒฺ นํ ชวี ติ ํ ยาวนิพฺพานํ สรณํ คจฺฉามิ.
ทตุ ยิ มฺปิ พุทธฺ ํ อายวุ ฑฺฒนํ ชีวติ ํ ยาวนพิ ฺพานํ สรณํ คจฺฉามิ,
ทตุ ิยมฺปิ ธมมฺ ํ อายวุ ฑฺฒนํ ชวี ิตํ ยาวนพิ ฺพานํ สรณํ คจฉฺ ามิ,
ทุติยมฺป ิ สงฺฆํ อายุวฑฒฺ นํ ชวี ิตํ ยาวนพิ ฺพานํ สรณํ คจฺฉามิ.
ตติยมฺปิ พทุ ธฺ ํ อายวุ ฑฺฒนํ ชีวติ ํ ยาวนพิ ฺพานํ สรณํ คจฉฺ าม,ิ
ตตยิ มปฺ ิ ธมฺมํ อายวุ ฑฺฒนํ ชีวติ ํ ยาวนิพฺพานํ สรณํ คจฺฉาม,ิ
ตติยมปฺ ิ สงฺฆํ อายวุ ฑฒฺ นํ ชวี ติ ํ ยาวนพิ พฺ านํ สรณํ คจฉฺ าม.ิ

162

วัดปา่ ดานวเิ วก

หมวดธาตลุ ม ๓ ขอ้ ดงั นี้

๑. วาโย จ พทุ ธฺ คณุ ํ อรหํ พุทฺโธ อติ ิปิ โส ภควา นมามหิ ,ํ อรหํ สมมฺ าสมพฺ ุทโฺ ธ,
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู, อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
พทุ ฺโธ ภควาติ.

(ให้ระลึกถงึ พระพุทธเจ้าผู้บริสุทธิ์ - อรหํ สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ พระบริสทุ ธิคุณ)

๒. วาโย จ ธมเฺ มตํ อรหํ พุทฺโธ อติ ิปิ โส ภควา นมามหิ ํ, สวฺ ากฺขาโต ภควตา
ธมฺโม, สนทฺ ิฏ€ฺ ิโก อกาลิโก เอหปิ สสฺ โิ ก, โอปนยโิ ก ปจฺจตฺตํ เวทติ พฺโพ วญิ ญฺ หู ีต.ิ

(ใหร้ ะลกึ ถงึ พระสารบี ตุ รผ้มู ีปญั ญา - วิชชฺ าจรณสมปฺ นโฺ น พระปญั ญาคุณ)

๓. วาโย จ สงฺฆานํ อรหํ พุทโฺ ธ อติ ปิ ิ โส ภควา นมามิห,ํ สปุ ฏปิ นโฺ น ภควโต
สาวกสงโฺ ฆ, อุชุปฏปิ นโฺ น ภควโต สาวกสงโฺ ฆ, ายปฏปิ นฺโน ภควโต สาวกสงโฺ ฆ,
สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ, ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ, อฏฺ€ ปุริสปุคฺคลา,
เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ, อาหเุ นยฺโย ปาหเุ นยโฺ ย ทกฺขิเณยฺโย อญชฺ ลกิ รณีโย, อนุตตฺ รํ
ปญุ ฺกเฺ ขตฺตํ โลกสฺสาติ.

(ใหร้ ะลึกถงึ พระโมคคัลลานะผู้มีฤทธิ์ - สตถฺ าเทวมนสุ ฺสานํ พระกรณุ าธคิ ุณ)

ธาตปุ รสิ ุทธฺ านภุ าเวน, สพพฺ ทกุ ขฺ า สพพฺ ภยา สพพฺ โรคา วิมจุ จฺ นฺต,ิ อติ ิ อุทธฺ มโธ
ตริ ิยํ สพพฺ ธิ สพพฺ ตตฺ ตาย สพพฺ าวนตฺ ํ โลกํ, เมตตฺ า กรุณา มุทติ า อเุ ปกฺขา สหคเตน
เจตสา, จตุทฺทิสํ ผริตฺวา วิหรติ, สุขํ สุปติ สุขํ ปฏิพุชฺฌติ, น ปาปกํ สุปินํ ปสฺสติ,
มนุสสฺ านํ ปโิ ย โหติ อมนสุ สฺ านํ ปิโย โหต,ิ เทวตา รกฺขนฺติ, นาสฺส อคฺคิ วา วิสํ วา
สตฺถํ วา กมติ, ตวุ ฏํ จิตฺตํ สมาธิยต,ิ มขุ วณฺโณ วปิ ฺปสีทติ, อสมฺมุโฬฺห กาลํ กโรติ,
อุตฺตรึ อปฺปฏิวิชฺฌนฺโต พฺรหฺมโลกูปโค โหติ, อิติ อุทฺธมโธ ติริยํ อเวรํ อเวรา
สุขชีวิโน, กตํ ปุญฺผลํ มยฺหํ สพฺเพ ภาคี ภวนฺตุ เต. ภวตุ สพฺพมงฺคลํ รกฺขนฺตุ

163

วัดป่าดานวิเวก

สพฺพเทวตา, สพพฺ พุทฺธานุภาเวน สพพฺ ธมมฺ านภุ าเวน สพพฺ สงฆฺ านุภาเวน, โสตฺถี โหนฺตุ
นริ นตฺ รํ อรหํ พุทโฺ ธ อิติปิ โส ภควา นมามิหํ.

วธิ ีเปล่ยี นธาตุ เหมอื นขอ้ ต้นท้งั หมด คือ ข้อ ๑ พุทธคุณ ข้อ ๒ ธรรมคณุ และข้อ ๓
สังฆคุณ แลว้ ตอ่ ด้วยบท "ธาตปุ รสิ ุทฺธานภุ าเวน ฯลฯ" เป็นการเปลย่ี นแตช่ ื่อธาตุเท่าน้ัน

หมวดธาตุไฟ
๑. เตโช จ พทุ ฺธคุณํ ฯลฯ
๒. เตโช จ ธมฺเมตํ ฯลฯ
๓. เตโช จ สงฆฺ านํ ฯลฯ

หมวดธาตุน�้ำ
๑. อาโป จ พุทฺธคุณํ ฯลฯ
๒. อาโป จ ธมเฺ มตํ ฯลฯ
๓. อาโป จ สงฆฺ านํ ฯลฯ

หมวดธาตดุ ิน
๑. ป€วี จ พทุ ธฺ คณุ ํ ฯลฯ
๒. ป€วี จ ธมฺเมตํ ฯลฯ
๓. ป€วี จ สงฆฺ านํ ฯลฯ

หมวดอากาศธาตุ
๑. อากาสา จ พทุ ธฺ คณุ ํ ฯลฯ
๒. อากาสา จ ธมฺเมตํ ฯลฯ
๓. อากาสา จ สงฆฺ านํ ฯลฯ

164

วัดป่าดานวิเวก

หมวดวญิ ญาณธาตุ
๑. วิญฺ าณญฺจ พทุ ฺธคุณํ ฯลฯ
๒. วิญฺาณญจฺ ธมฺเมตํ ฯลฯ
๓. วิญฺาณญฺจ สงฺฆานํ ฯลฯ

ให้สนใจท่องในหมวดต้นให้แม่นย�ำ ส่วนธาตุที่ต่อมาน้ันจะเข้าใจ และจ�ำง่าย เพราะ
เป็นเรื่องเดียวกันเพียงแต่เปลี่ยนธาตุเท่าน้ัน ธาตุท้ัง ๖ หมวดน้ี มีอยู่ในตัวของเราผู้สวดทุกคน
เพราะฉะนน้ั เวลาสวด ให้นกึ ถงึ ธาตนุ ้นั ๆด้วย เช่น ลม-ส่วนที่พดั ไปมา มีลมหายใจเปน็ ต้น ไฟ-
ความอบอุ่น น�้ำ-มีอาการเหลวๆ ดิน-แข็ง อากาศ-ช่องว่าง วิญญาณ-ความรู้ ดังน้ีเป็นต้น
การสวดจงึ จะเปน็ ประโยชนม์ าก
อนึ่ง เม่อื จะสวดธาตุในพิธีอน่ื เชน่ การสวดธาตุเพ่อื เปน็ การเจรญิ อายุ และจิตใจของผปู้ ่วย
หรือสวดสลับในพธิ ีพทุ ธาภเิ ศก เปน็ ตน้ นิยมสวดขนั ธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ และอาการ ๓๒ เพม่ิ เตมิ
ดว้ ย การสวดทำ� นองเดยี วกับการสวดธาตทุ กุ อย่าง เปลยี่ นแต่ชอ่ื ขนั ธ์ อายตนะ และอาการ ๓๒
ไปโดยลำ� ดบั เท่าน้ัน

หมวดขนั ธ์ ๕
๑. รปู ญฺจ ๒. เวทนา จ ๓. สญฺา จ ๔. สงขฺ ารา จ ๕. วิญฺ าณญจฺ

หมวดอายตนะ ๑๒
๑. จกฺขุ จ ๒. โสตญฺจ ๓. ฆานญฺจ ๔. ชวิ หฺ า จ
๕. กาโย จ ๖. มโน จ ๗. รูปญจฺ ๘. สทโฺ ท จ
๙. คนฺโธ จ ๑๐. รโส จ ๑๑. โผฏฺ€พฺพา จ ๑๒. ธมมฺ ารมมฺ ณญจฺ

165

วดั ปา่ ดานวิเวก

หมวดอาการ ๓๒

๑. เกสา จ ๒. โลมา จ ๓. นขา จ ๔. ทนฺตา จ

๕. ตโจ จ ๖. มสํ ญฺจ ๗. นหารู จ ๘. อฏฺ€ จ

๙. อฏฺ€ิมญิ ฺชญฺจ ๑๐. วกกฺ ญจฺ ๑๑. หทยญจฺ ๑๒. ยกนญฺจ

๑๓. กิโลมกญฺจ ๑๔. ปหิ กญฺจ ๑๕. ปปฺผาสญฺจ ๑๖. อนตฺ ญจฺ

๑๗. อนตฺ คุณญจฺ ๑๘. อทุ ริยญจฺ ๑๙. กรสี ญจฺ ๒๐. มตถฺ ลุงคฺ ญฺจ

๒๑. ปติ ตฺ ญจฺ ๒๒. เสมหฺ ญฺจ ๒๓. ปุพฺโพ จ ๒๔. โลหิตญจฺ

๒๕. เสโท จ ๒๖. เมโท จ ๒๗. อสฺสุ จ ๒๘. วสา จ

๒๙. เขโฬ จ ๓๐. สิงฆฺ าณิกา จ ๓๑. ลสิกา จ ๓๒. มุตฺตญจฺ

หมวด ๓

ภาวนา

หมวดนี้ ใหก้ ารศกึ ษาวิธีปฏบิ ตั ิ อานาปานสติภาวนามัย ต่อไป
มีข้อส�ำคญั อยู่ ๗ ขอ้ คอื
๑. ใหภ้ าวนา พุทฺ ลมเข้ายาวๆ โธ ลมออกยาวๆ ก่อน ๓ คร้ัง หรือ ๗ คร้ัง (คำ� ภาวนา
กบั ลมใหย้ าวเท่ากนั )
๒. ใหร้ จู้ กั ลมเข้าลมออกโดยชัดเจน
๓. ใหร้ จู้ กั สงั เกตลมในเวลาเข้าออกว่า มลี ักษณะอยา่ งไร สบายหรือไมส่ บาย กวา้ งหรือ
แคบ ขัดหรือสะดวก ช้าหรอื เรว็ สน้ั หรือยาว รอ้ นหรือเย็น ถา้ ไมส่ บายกใ็ ห้เปลยี่ นแปลงแก้ไขจนได้
รบั ความสะดวกสบาย เชน่ เข้ายาวออกยาวไม่สบาย ใหเ้ ปลย่ี นเป็นเขา้ ส้นั ออกสั้น เปน็ ต้น จนกว่า
จะได้รับความสบาย เม่ือได้รับความสบายสะดวกดีแล้วให้กระจายลมท่ีสบายนั้นไปในส่วนต่างๆ
ของร่างกาย เช่นสูดลมเข้าไปที่ท้ายทอยปล่อยลงไปในกระดูกสันหลังให้ตลอด ถ้าเป็นเพศชาย
ปลอ่ ยไปตามขาขวาทะลถุ ึงปลายเท้า แลว้ กระจายไปในอากาศ แล้วก็กลบั มาสดู ใหม่ ปลอ่ ยเข้าไป

166

วดั ปา่ ดานวิเวก

ในทา้ ยทอย ปลอ่ ยลงไปในกระดกู สันหลงั ปล่อยไปตามขาซา้ ยทะลุถงึ ปลายเทา้ แล้วกระจายไป
ในอากาศ แล้วก็กลับมาปล่อยตั้งแต่ท้ายทอยผ่านไหล่ทั้งสองถึงข้อศอก ข้อมือทะลุถึงปลายนิ้ว
กระจายไปในอากาศ แลว้ ก็ปล่อยลงคอหอยกระจายไปที่ขัว้ ปอดขว้ั ตับ กระจายเรอ่ื ยลงไปจนถงึ
กระเพาะเบา กระเพาะหนัก แล้วก็สูดลมหายใจเข้าไปตรงกลางอกทะลุไปจนถึงล�ำไส้ กระจาย
ลมสบายเหล่าน้ีให้ท่ัวถึงกันได้ จะได้รับความสะดวกข้ึนมาก (ถ้าเป็นเพศหญิงให้กระจายลม
ทางซา้ ยกอ่ น เพราะเพศหญิงและชายเสน้ ประสาทตา่ งกัน)
๔. ให้รู้จกั ขยายลมออกเปน็ ๔ แบบคอื
• เขา้ ยาวออกยาว
• เขา้ สั้นออกสั้น
• เขา้ ส้นั ออกยาว
• เขา้ ยาวออกส้ัน
แบบใดเป็นแบบท่ีสบายให้เอาแบบนั้น หรือท�ำให้สบายได้ทุกแบบย่ิงดี เพราะสภาพของ
บคุ คล ลมหายใจย่อมเปลยี่ นแปลงไดท้ กุ เวลา
๕. ให้รู้จักท่ีตั้งของจิต ฐานไหนเป็นท่ีสบายของตัวให้เลือกเอาฐานน้ัน (คนที่เป็นโรค
เส้นประสาท ปวดศีรษะ ห้ามตั้งข้างบน ให้ต้ังอย่างสูงตั้งแต่คอหอยลงไป และห้ามสะกดจิต
สะกดลม ใหป้ ลอ่ ยตามสบาย ปล่อยใจตามลมเข้าออกให้สบาย แตอ่ ยา่ ใหห้ นไี ปจากวงของลม)
ฐานเหลา่ นั้นได้แก่ ๑. ปลายจมกู ๒. กลางศีรษะ ๓. เพดาน ๔. คอหอย ๕. ล้ินปี่ ๖. ศูนย์ (สะดือ) นี้
ฐานโดยย่อคอื ที่พกั ลม
๖. ใหร้ จู้ กั ขยายจติ คือทำ� ความรสู้ กึ ใหก้ ว้างขวางออกไปทวั่ สรรพางค์กาย
๗. ใหร้ จู้ ักประสานลม และขยายจติ ออกให้กว้างขวางใหร้ สู้ ว่ นต่างๆของลม ซึ่งมอี ยูใ่ น
ร่างกายนนั้ ก่อน แลว้ จะไดร้ ใู้ นส่วนอน่ื ๆท่วั ไปอีกมาก คือ ธรรมชาติลมมหี ลายจ�ำพวก ลมเดนิ ใน
เส้นประสาท ลมเดนิ หุ้มเส้นประสาทท่วั ๆไป ลมกระจายออกจากเสน้ ประสาท แล่นแทรกแซงไปทว่ั
ทกุ ขมุ ขน ลมให้โทษและใหค้ ณุ ย่อมมีปนกนั อยโู่ ดยธรรมชาติของมนั

167

วัดปา่ ดานวิเวก

สรุปแลว้ ก็คือ
๑. เพ่ือช่วยให้พลังงานท่ีมีในร่างกายทุกส่วนของคนเราทุกคนให้ดีขึ้น เพ่ือต่อสู้สิ่งต่างๆ
ในตวั เช่น ไมส่ บายในรา่ งกายเปน็ ตน้
๒. เพื่อช่วยความรู้ท่ีมีอยู่แล้วในตัวของคนทุกคนให้แจ่มใสข้ึน เพื่อเป็นหลักวิชา วิมุติ
วสิ ทุ ธิ์ ความหมดจด สะอาดในทางจิตใจ
หลักอานาปาฯ ท้ัง ๗ ข้อน้ีควรถือไว้เป็นหลักสูตรเพราะเป็นเร่ืองส�ำคัญของอานาปาฯ
ทั้งส้ิน
ไหว้พระ สวดมนต์ ภาวนา ๓ อย่างนี้ ตอ้ งควบกันเสมอไป จึงจะเปน็ หนทางช�ำระจิตใจ
ของพุทธบรษิ ทั ให้บริบูรณ์โดยธรรม สมกบั ค�ำทวี่ ่า “สพพฺ ปาปสฺส อกรณ”ํ อยา่ ท�ำความชว่ั ใหร้ ว่ั
ไหลเขา้ มาสกู่ ายวาจาใจ “กสุ ลสสฺ ปู สมปฺ ทา” จงทำ� ความดใี หส้ มบรู ณบ์ รบิ รู ณเ์ ทอญ หมายความวา่
กายเราก็ได้ท�ำ คือไหว้พระในข้อต้น สวดมนต์ทางวาจาเราก็ได้พูด เช่นสวดพุทธคุณเข้าธาตุ
ภาวนาทางใจเรากไ็ ดน้ กึ เชน่ “พทุ โฺ ธ” เมอื่ เปน็ เชน่ นเี้ ราจกั มจี ติ ผอ่ งใส เขา้ ถงึ หวั ใจของศาสนาดงั น้ี
ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกย่อมเป็นไปด้วยอ�ำนาจจิตท้ังส้ิน ใจช่ัวใช้อ�ำนาจในทางท่ีผิด
จิตฝึกหดั แลว้ ด้วยดยี ่อมมอี �ำนาจใชไ้ ปในทางท่ีถกู ผกู ใจคน ได้รบั ผลล้นค่า.

คาถาท่านพ่อลี

“อรหํ พทุ ฺโธ อติ ปิ ิ โส ภควา นมามหิ ํ”

(ใหว้ ่า ๓ - ๗ ครั้ง และใช้สวดประจ�ำทกุ คนื ก่อนนอน จำ� นวนเทา่ อายุย่งิ ดี ทวสี ิริมงคล)

168

วดั ป่าดานวเิ วก

คาถาขอฝน

มหาการณุ โิ ก นาโถ หติ าย สพพฺ ปาณินํ,
ปเู รตวฺ า ปารมี สพพฺ า ปตโฺ ต สมโฺ พธิมุตฺตม,ํ
เอเตน สจฺจวชเฺ ชน โหตุ เต ชยมงฺคลํ.
มหาการุณิโก นาโถ อตถฺ าย สพฺพปาณิน,ํ
ปเู รตฺวา ปารมี สพฺพา ปตฺโต สมฺโพธิมุตตฺ มํ,
เอเตน สจฺจวชฺเชน เทโว วสฺสตุ ธมมฺ โต.
สภุ โู ต จ มหาเถโร มหากาโย มโหทโร,
นลี วณฺโณ มหาเตโช ปวสสฺ นตฺ ุ วลาหกา.
มหาการุณโิ ก นาโถ หิตาย สพฺพปาณิน,ํ
ปูเรตวฺ า ปารมี สพฺพา ปตฺโต สมโฺ พธมิ ตุ ตฺ มํ,
เอเตน สจจฺ วชเฺ ชน โหตุ เต ชยมงฺคลํ.
มหาการณุ โิ ก นาโถ หติ าย สพฺพปาณนิ ํ,
ปเู รตฺวา ปารมี สพพฺ า ปตโฺ ต สมโฺ พธิมตุ ฺตม,ํ
เอเตน สจฺจวชเฺ ชน เทโว วสฺสตุ กาลโต.
สภุ ูโต จ มหาเถโร มหากาโย มโหทโร,
นีลวณฺโณ มหาเตโช ปวสฺสนฺตุ วลาหกา.
มหาการณุ โิ ก นาโถ หิตาย สพฺพปาณนิ ,ํ
ปเู รตฺวา ปารมี สพพฺ า ปตโฺ ต สมฺโพธมิ ตุ ตฺ มํ,
เอเตน สจฺจวชฺเชน โหตุ เต ชยมงฺคลํ.
มหาการุณิโก นาโถ สขุ าย สพพฺ ปาณนิ ,ํ

169

วดั ป่าดานวิเวก

ปเู รตฺวา ปารมี สพฺพา ปตโฺ ต สมฺโพธิมตุ ตฺ ม,ํ

เอเตน สจฺจวชฺเชน เทโว วสฺสตุ €านโส.

สภุ โู ต จ มหาเถโร มหากาโย มโหทโร,

นลี วณฺโณ มหาเตโช ปวสสฺ นฺตุ วลาหกา.

ฉนนฺ า เม กุฏิกา สขุ า นิวาตา,

วสฺส เทว ยถาสุขํ,

จิตฺตํ เม สุสุมาหิตํ วมิ ุตตฺ ํ,

อาตาปี วิหรามิ วสฺส เทวาติ.

170


Click to View FlipBook Version