The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสวดมนต์ (ฉบับมคธบาลี)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wonchai890, 2021-03-17 00:11:01

หนังสือสวดมนต์ (ฉบับมคธบาลี)

หนังสือสวดมนต์ (ฉบับมคธบาลี)

วัดปา่ ดานวเิ วก

ฉฬภิญฺานุภาเวน จตสุ จฺจาณานุภาเวน ทสพลาณานภุ าเวน สพฺพญฺญตุ าณานุภาเวน
เมตฺตากรุณามุทิตาอุเปกฺขานุภาเวน สพฺพปริตฺตานุภาเวน รตนตฺตยสรณานุภาเวน
ตุยฺหํ สพฺพโรคโสกุปทฺทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา วินสฺสนฺตุ สพฺพอนฺตรายาปิ วินสฺสนฺตุ
สพฺพสงฺกปฺปา ตุยฺหํ สมชิ ฌฺ นฺตุ ทฆี ายุตา ตยุ ฺหํ โหตุ สตวสสฺ ชีเวน สมงคฺ ิโก โหตุ สพฺพทา
อากาสปพฺพตวนภมู ิคงคฺ ามหาสมทุ ทฺ า อารกขฺ กา เทวตา สทา ตุเมหฺ อนรุ กขฺ นตฺ .ุ

มงคลจกั กวาฬน้อย

สพพฺ พทุ ธฺ านุภาเวน สพพฺ ธมมฺ านภุ าเวน สพพฺ สงฆฺ านุภาเวน พทุ ฺธรตนํ ธมมฺ รตนํ

สงฺฆรตนํ ตณิ ฺณรํ ตนานํ อานภุ าเวน จตรุ าสีติสหสฺสธมฺมกขฺ นฺธานุภาเวน ปฏิ กตตฺ ยานภุ าเวน

ชินสาวกานุภาเวน สพฺเพ เต โรคา สพฺเพ เต ภยา สพฺเพ เต อนฺตรายา สพฺเพ เต

อุปทฺทวา สพเฺ พ เต ทนุ ฺนมิ ิตฺตา สพเฺ พ เต อวมงฺคลา วินสฺสนตฺ ,ุ

ï อายวุ ฑฺฒโก ๑ ธนวฑฺฒโก สิริวฑฺฒโก ยสวฑฒฺ โก พลวฑฒฺ โก วณฺณวฑฒฺ โก

สุขวฑฺฒโก โหตุ สพพฺ ทา.

ทุกขฺ โรคภยา เวรา โสกา สตฺตุ จปุ ททฺ วา.

อเนกา อนฺตรายาป ิ วนิ สฺสนตฺ ุ จ เตชสา,

ชยสิทฺธิ ธนํ ลาภํ โสตฺถิ ภาคยฺ ํ สุขํ พลํ.

สิริ อายุ จ วณฺโณ จ โภคํ วุฑฺฒี จ ยสวา,

สตวสฺสา จ อายู จ ชีวสิทธฺ ี ภวนตฺ ุ เต.

ภวตุ สพพฺ มงฺคลํ .... โสตถฺ ี ภวนฺตุ เต.

๑ ถา้ ผูร้ บั พรเป็นสตรี ทา่ นนิยมเปล่ยี นดงั นี้ อายุวฑฺฒกา ธนวฑฒฺ กา สิรวิ ฑฒฺ กา ยสวฑฒฺ กา พลวฑฺฒกา
วณฺณวฑฺฒกา สุขวฑฺฒกา โหตุ สพพฺ ทา. นอกนั้นเหมือนกนั

86

วัดปา่ ดานวิเวก

เกณยิ านโุ มทนาคาถา

อคคฺ ิหุตตฺ ํ มุขา ยญฺ า สาวิตฺติ ฉนฺทโส มุขํ,
ราชา มุขํ มนสุ สฺ านํ นทนี ํ สาคโร มุขํ.
นกฺขตฺตานํ มุขํ จนฺโท อาทิจโฺ จ ตปตํ มุข,ํ
ปุญฺ มากงขฺ มานาน ํ สงฺโฆ เว ยชตํ มุขํ.
ภณิสสฺ าม มยํ คาถา กาลทานปฺปทปี ิกา ๑,
เอตา สณุ นตฺ ุ สกกฺ จฺจํ ทายกา ปุญฺกามิโน.

กาลทานสุตตฺ คาถา

กาเล ททนตฺ ิ สปญฺ า วทญญฺ ู วตี มจฺฉรา,
กาเลน ทนิ นฺ ํ อรเิ ยสุ อุชุภูเตสุ ตาทสิ .ุ
วิปฺปสนฺนมนา ตสสฺ วิปลุ า โหติ ทกขฺ ณิ า,
เย ตตฺถ อนโุ มทนฺติ เวยยฺ าวจจฺ ํ กโรนฺติ วา.
น เตน ทกขฺ ณิ า โอนา เตปิ ปุญฺสฺส ภาคโิ น,
ตสมฺ า ทเท อปฺปฏวิ านจิตโฺ ต ยตถฺ ทนิ ฺนํ มหปฺผล,ํ
ปุญฺานิ ปรโลกสฺม ึ ปตฏิ €ฺ า โหนฺติ ปาณินนตฺ ิ.

๑ ถา้ ใชน้ ำ� บท วิหารทานคาถา เปล่ยี นเปน็ วิหารทานทีปิกา
87

วัดป่าดานวเิ วก

วหิ ารทานคาถา

สีตํ อณุ หฺ ํ ปฏิหนฺต ิ ตโต วาฬมคิ านิ จ,
สิรสึ เป จ มกเส สิสิเร จาปิ วฏุ €ฺ ิโย.
ตโต วาตาตโป โฆโร สญฺชาโต ปฏหิ ญฺ ติ,
เลนตฺถญจฺ สุขตถฺ ญจฺ ฌายิตุํ จ วิปสฺสติ .ุํ
วหิ ารทานํ สงฆฺ สฺส อคฺคํ พทุ เฺ ธหิ วณณฺ ิต,ํ
ตสมฺ า หิ ปณฑฺ ิโต โปโส สมปฺ สฺสํ อตถฺ มตตฺ โน.
วิหาเร การเย รมฺเม วาสเยตฺถ พหุสสฺ เุ ต,
เตสํ อนฺนญฺจ ปานญจฺ วตฺถเสนาสนานิ จ.
ทเทยฺย อชุ ุภเู ตสุ วปิ ปฺ สนเฺ นน เจตสา,
เต ตสสฺ ธมฺมํ เทเสนฺต ิ สพฺพทกุ ฺขาปนูทน,ํ
ยํ โส ธมมฺ มธิ ญฺ าย ปรินพิ พฺ าตยฺ นาสโวติ.

เทวตาทิสฺสทกขฺ ิณานโุ มทนาคาถา

ยสมฺ ึ ปเทเส กปเฺ ปต ิ วาสํ ปณฑฺ ติ ชาตโิ ย,
สลี วนฺเตตฺถ โภเชตฺวา สญฺเต พรฺ หมฺ จารโิ น.
ยา ตตฺถ เทวตา อาสํุ ตาสํ ทกขฺ ณิ มาทเิ ส,
ตา ปูชิตา ปชู ยนตฺ ิ มานิตา มานยนตฺ ิ นํ.
ตโต นํ อนกุ มปฺ นตฺ ิ มาตา ปตุ ตฺ ํ ว โอรส,ํ
เทวตานุกมปฺ โิ ต โปโส สทา ภทฺรานิ ปสฺสติ.

88

วัดป่าดานวเิ วก

ตโิ รกุฑฑฺ กณฑฺ สตุ ตฺ คาถา (ยอ่ )

อทาสิ เม อกาสิ เม าติมิตตฺ า สขา จ เม,

เปตานํ ทกฺขณิ ํ ทชฺชา ปุพฺเพ กตมนุสสฺ รํ.

น หิ รณุ ณฺ ํ วา โสโก วา ยา วญฺ า ปรเิ ทวนา,

น ตํ เปตานมตถฺ าย เอวํ ตฏิ €ฺ นฺติ าตโย.

ï อยญฺจโข ทกขฺ ิณา ทินฺนา สงฺฆมหฺ ิ สปุ ตฏิ €ฺ ติ า,

ทฆี รตฺตํ หติ ายสฺส €านโส อุปกปฺปต.ิ

โส าติธมโฺ ม จ อยํ นิทสฺสิโต,

เปตานปชู า จ กตา อฬุ ารา,

พลญจฺ ภิกขฺ นู มนปุ ฺปทนิ นฺ ํ,

ตุเมหฺ หิ ปญุ ฺ ปสุตํ อนปปฺ กนฺต.ิ

สงคฺ หวตฺถคุ าถา

ทานญจฺ เปยยฺ วชญฺจ อตฺถจริยา จ ยา อธิ ,
สมานตตฺ ตา จ ธมฺเมส ุ ตตถฺ ตตฺถ ยถารห.ํ
เอเต โข สงฺคหา โลเก รถสสฺ าณวี ยายโต,
เอเต จ สงฺคหา นาสสฺ ุ น มาตา ปตุ ตฺ การณา,
ลเภถ มานํ ปูชํ วา ปิตา วา ปตุ ตฺ การณา.
ยสมฺ า จ สงฺคหา เอเต สมเวกฺขนตฺ ิ ปณฑฺ ติ า,
ตสมฺ า มหตฺตํ ปปโฺ ปนฺต ุ ปาสสํ า จ ภวนฺติ เตติ.

89

วดั ปา่ ดานวิเวก

อคคฺ ปฺปสาทสตุ ฺตคาถา

อคฺคโต เว ปสนนฺ าน ํ อคคฺ ํ ธมฺมํ วิชานตํ,
อคเฺ ค พุทฺเธ ปสนฺนานํ ทกฺขิเณยเฺ ย อนุตตฺ เร.
อคฺเค ธมเฺ ม ปสนนฺ านํ วริ าคปู สเม สเุ ข,
อคเฺ ค สงเฺ ฆ ปสนฺนาน ํ ปุญฺกฺเขตฺเต อนุตตฺ เร.
อคฺคสฺมึ ทานํ ททต ํ อคคฺ ํ ปุญฺ  ปวฑฺฒติ,
อคฺคํ อายุ จ วณฺโณ จ ยโส กิตตฺ ิ สขุ ํ พล.ํ
อคฺคสฺส ทาตา เมธาวี อคคฺ ธมฺมสมาหโิ ต,
เทวภูโต มนุสโฺ ส วา อคฺคปฺปตฺโต ปโมทตีติ.

อาทิยสตุ ตฺ คาถา

ภตุ ตฺ า โภคา ภฏา ภจจฺ า วติ ิณฺณา อาปทาสุ เม,
อุทฺธคฺคา ทกฺขณิ า ทนิ ฺนา อโถ ปญฺจ พลี กตา.
อุปฏ€ฺ ิตา สลี วนฺโต สญฺ ตา พรฺ หมฺ จารโิ น,
ยทตฺถํ โภคมิจเฺ ฉยยฺ ปณฑฺ โิ ต ฆรมาวส.ํ
โส เม อตฺโถ อนุปปฺ ตฺโต กตํ อนนตุ าปิยํ,
เอตํ อนสุ สฺ รํ มจฺโจ อรยิ ธมเฺ ม €ิโต นโร.
อเิ ธว นํ ปสํสนฺติ เปจฺจ สคฺเค ปโมทตีต.ิ

90

วัดป่าดานวิเวก

โภชนทานานุโมทนาคาถา

อายโุ ท พลโท ธีโร วณณฺ โท ปฏภิ าณโท,
สุขสฺส ทาตา เมธาว ี สขุ ํ โส อธิคจฺฉติ.
อายุํ ทตฺวา พลํ วณณฺ ํ สุขญฺจ ปฏิภาณโท,
ทีฆายุ ยสวา โหต ิ ยตถฺ ยตฺถปู ปชชฺ ตตี ิ.

รตนตฺตยานุภาวาทคิ าถา

รตนตตฺ ยานภุ าเวน รตนตฺตยเตชสา,
ทุกขฺ โรคภยา เวรา โสกา สตฺตุ จปุ ททฺ วา.
อเนกา อนตฺ รายาปิ วนิ สฺสนตฺ ุ อเสสโต,
ชยสทิ ฺธิ ธนํ ลาภํ โสตฺถิ ภาคฺยํ สขุ ํ พล.ํ
สริ ิ อายุ จ วณโฺ ณ จ โภคํ วุฑฺฒี จ ยสวา,
สตวสสฺ า จ อายู จ ชวี สทิ ฺธี ภวนตฺ ุ เต.

โส อตฺถลทโฺ ธ

โส อตฺถลทฺโธ สขุ โิ ต วิรโุ ฬหฺ พทุ ธฺ สาสเน,
อโรโค สุขโิ ต โหห ิ สห สพฺเพหิ าตภิ ิ.
สา อตฺถลทธฺ า สุขิตา วิรฬุ หฺ า พุทฺธสาสเน,
อโรคา สุขิตา โหห ิ สห สพเฺ พหิ าติภ.ิ
เต อตฺถลทฺธา สขุ ติ า วริ ฬุ หฺ า พุทธฺ สาสเน,
อโรคา สขุ ิตา โหถ สห สพเฺ พหิ าตภิ ิ.

91

วัดป่าดานวิเวก

เทวตาภิสมมฺ นตฺ นคาถา

ยานีธ ภตู านิ สมาคตาน,ิ
ภุมมฺ านิ วา ยานิว อนฺตลิกฺเข,
สพเฺ พว ภตู า สุมนา ภวนฺตุ,
อโถปิ สกฺกจจฺ สุณนฺตุ ภาสติ ํ.
สุภาสิตํ กิญฺจิปิ โว ภเณม,ุ
ปญุ เฺ  สตปุ ฺปาทกรํ อปาปํ,
ธมฺมูปเทสํ อนุการกานํ,
ตสมฺ า หิ ภูตานิ สเมนฺตุ สพฺเพ.
เมตตฺ ํ กโรถ มานุสยิ า ปชาย,
ภูเตสุ พาฬฺหํ กตภตฺติกาย,
ทวิ า จ รตโฺ ต จ หรนตฺ ิ เย พลึ,
ปจโฺ จปการํ อภิกงฺขมานา.
เต โข มนสุ ฺสา ตนกุ านภุ าวา,
ภตู า วิเสเสน มหิทธฺ ิกา จ,
อทสิ ฺสมานา มนุเชหิ าตา,
ตสฺมา หิ เน รกขฺ ถ อปปฺ มตตฺ า.

... สทิ ธฺ มตฺถุ สิทธฺ มตถฺ ุ สทิ ธฺ มตฺถุ อทิ ํ ผลํ,
เอตสฺมึ รตนตฺตยสฺมึ สมฺปสาทนเจตโส.

92

วัดป่าดานวเิ วก

บทสวดมนตต์ อ่ ทา้ ยและบทแผเ่ มตตาตา่ งๆ

อตีตปจจฺ เวกขฺ ณปา€

อชฺช มยา อปจฺจเวกฺขิตฺวา ยํ จีวรํ ปริภุตฺตํ, ตํ ยาวเทว สีตสฺส ปฏิฆาตาย,
อุณฺหสฺส ปฏิฆาตาย, ฑํสมกสวาตาตปสิรึสปสมฺผสฺสานํ ปฏิฆาตาย, ยาวเทว
หิริโกปินปฏิจฉฺ าทนตฺถํ.
อชชฺ มยา อปจจฺ เวกฺขิตฺวา โย ปณิ ฺฑปาโต ปรภิ ุตฺโต, โส เนว ทฺวาย น มทาย
น มณฺฑนาย น วิภูสนาย, ยาวเทว อิมสฺส กายสฺส €ิติยา ยาปนาย วิหึสุปรติยา
พฺรหมฺ จรยิ านุคฺคหาย, อิตปิ ุราณญจฺ เวทนํ ปฏิหงฺขามิ นวญฺจ เวทนํ น อุปปฺ าเทสฺสาม.ิ
ยาตรฺ า จ เม ภวสิ สฺ ติ อนวชชฺ ตา จ ผาสวุ หิ าโร จาติ.
อชฺช มยา อปจฺจเวกขฺ ติ วฺ า ยํ เสนาสนํ ปรภิ ตุ ฺต,ํ ตํ ยาวเทว สีตสฺส ปฏิฆาตาย,
อุณฺหสฺส ปฏิฆาตาย, ฑํสมกสวาตาตปสิรึสปสมฺผสฺสานํ ปฏิฆาตาย, ยาวเทว
อุตปุ รสิ ฺสยวโิ นทนํ ปฏิสลฺลานารามตถฺ ํ.
อชชฺ มยา อปจฺจเวกขฺ ิตฺวา โย คลิ านปจจฺ ยเภสชชฺ ปรกิ ขฺ าโร ปริภุตฺโต, โส ยาวเทว
อปุ ฺปนนฺ านํ เวยยฺ าพาธิกานํ เวทนานํ ปฏิฆาตาย, อพฺยาปชฺฌปรมตายาต.ิ

อภิณหฺ ปจจฺ เวกฺขณปา€

ชราธมฺโมมฺหิ ชรํ อนตีโต.
เรามคี วามแกเ่ ป็นธรรมดา จักล่วงพน้ ความแก่ไปไม่ได.้
พยฺ าธธิ มฺโมมฺหิ พฺยาธึ อนตีโต.
เรามคี วามเจบ็ ไข้เปน็ ธรรมดา จกั ล่วงพน้ ความเจบ็ ไข้ไปไม่ได้.

93

วัดปา่ ดานวิเวก

มรณธมโฺ มมฺหิ มรณํ อนตีโต.
เรามคี วามตายเป็นธรรมดา จักล่วงพ้นความตายไปไมไ่ ด้.
สพเฺ พหิ เม ปเิ ยหิ มนาเปหิ นานาภาโว วนิ าภาโว.
เราจกั ละเว้นเป็นต่างๆ คือวา่ จักต้องไดพ้ ลดั พรากจากของรักของเจริญใจทั้งส้ินไป.
กมมฺ สฺสโกมฺหิ กมมฺ ทายาโท กมมฺ โยนิ กมฺมพนฺธุ กมฺมปฏสิ รโณ,
เรามีกรรมเป็นของๆตน, มีกรรมเป็นผู้ให้ผล, มีกรรมเป็นแดนเกิด, มีกรรมเป็น
ผ้ตู ิดตาม, มกี รรมเปน็ ที่พงึ่ อาศยั .
ยํ กมฺมํ กรสิ ฺสามิ กลฺยาณํ วา ปาปกํ วา ตสสฺ ทายาโท ภวิสฺสามิ.
เราจักท�ำกรรมอันใดไว้, เป็นบุญหรือเป็นบาป, เราจักเป็นทายาท คือว่า
จกั ต้องได้รับผลของกรรมน้นั สืบไป.
เอวํ อเมหฺ หิ อภิณหฺ ํ ปจฺจเวกขฺ ิตพฺพ.ํ
เราทัง้ หลายควรพิจารณาอย่างนี้ ทกุ วันๆ เถดิ .

กายคตาสตภิ าวนา

อยํ โข เม กาโย กายของเรานี้แล

อุทธฺ ํ ปาทตลา เบอ้ื งบนแตพ่ ื้นเทา้ ขึน้ มา

อโธ เกสมตฺถกา เบื้องตำ�่ แตป่ ลายผมลงไป

ตจปริยนโฺ ต มหี นังหมุ้ อยเู่ ป็นทส่ี ุดรอบ

ปโู ร นานปปฺ การสสฺ อสจุ โิ น เต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ

อตถฺ ิ อมิ สฺมึ กาเย มีอยใู่ นกายน้ี

เกสา คอื ผมท้งั หลาย โลมา คือ ขนท้ังหลาย

94

วดั ป่าดานวเิ วก

นขา คือ เล็บท้ังหลาย ทนฺตา คอื ฟันท้งั หลาย

ตโจ คือ หนัง มํสํ คือ เน้ือ

นหารู คือ เอน็ ทงั้ หลาย อฏฺ€ คอื กระดกู ทั้งหลาย

อฏฺ€มิ ญิ ฺชํ เย่ือในกระดกู วกฺกํ มา้ ม

หทยํ หัวใจ ยกนํ ตบั

กโิ ลมกํ พังผดื ปหิ กํ ไต

ปปผฺ าสํ ปอด อนฺตํ ไส้ใหญ่

อนตฺ คณุ ํ ไสน้ อ้ ย อทุ รยิ ํ อาหารใหม่

กรสี ํ อาหารเกา่ มตฺถเก มตถฺ ลงุ คฺ ํ เยอ่ื ในสมองศีรษะ

ปติ ฺตํ นำ�้ ดี เสมฺหํ นำ�้ เสลด

ปุพโฺ พ น�้ำเหลือง โลหิตํ น�ำ้ เลือด

เสโท นำ้� เหงือ่ เมโท น้ำ� มันขน้

อสสฺ ุ น้�ำตา วสา นำ้� มันเหลว

เขโฬ น้�ำลาย สิงฆฺ าณกิ า น�้ำมูก

ลสิกา น�ำ้ ไขข้อ มตุ ตฺ ํ นำ้� มูตร

เอวมยํ เม กาโย กายของเราน้ี อย่างน้ี

อุทธฺ ํ ปาทตลา เบอ้ื งบนแตพ่ ื้นเท้าขึ้นมา

อโธ เกสมตฺถกา เบื้องต่�ำแต่ปลายผมลงไป

ตจปริยนฺโต มหี นังหมุ้ อยูเ่ ปน็ ท่ีสดุ รอบ

ปโู ร นานปฺปการสสฺ อสจุ ิโน. เต็มไปดว้ ยของไม่สะอาด

มีประการ ตา่ งๆ อยา่ งน้แี ล ๛

95

วัดปา่ ดานวเิ วก

ค�ำนมสั การรอยพระพทุ ธบาท

(นำ� ) หนฺท มยํ ปาทลญฺชนปา€ ภณาม เส.

วนทฺ ามิ พทุ ฺธํ ภวปารตณิ ณฺ ํ,
ข้าพเจา้ ขอนมสั การพระพุทธเจา้ ผขู้ ้ามพน้ ฝ่งั แห่งภพ,
ติโลกเกตุํ ติภเวกนาถ,ํ
ผู้เป็นธงชยั ของไตรโลก ผเู้ ป็นนาถะเอกของไตรภพ,
โย โลกเสฏฺโ สกลํ กเิ ลส,ํ เฉตฺวาน โพเธสิ ชนํ อนนฺต.ํ
ผปู้ ระเสรฐิ ในโลก ตดั กเิ ลสทง้ั สนิ้ ไดแ้ ลว้ ชว่ ยปลกุ ชนหาทสี่ ดุ มไิ ด้ ใหต้ รสั รมู้ รรคผล
และนพิ พาน.
ยํ นมฺมทาย นทยิ า ปุลิเน จ ตีเร,
รอยพระบาทใด อนั พระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงแสดงไว้ ในหาดทรายแทบฝง่ั แมน่ ำ�้ นมั มะทา,
ยํ สจจฺ พนฺธคิรเิ ก สมุ นา จ ลคฺเค,
รอยพระบาทใด อนั พระพทุ ธองคไ์ ด้ทรงแสดงไว้ เหนือเขาสจั จะพนั ธ์และเหนอื ยอด
เขาสุมะนา,
ยํ ตตฺถ โยนกปุเร มนุ ิโน จ ปาท,ํ ตํ ปาทลญฺชนมหํ สิรสา นมาม.ิ
รอยพระบาทใด อันพระพุทธองค์ได้ทรงแสดงไว้ ในเมืองโยนะกะ, ข้าพเจ้า
ขอนมัสการพระบาท และรอยพระบาทนน้ั ๆ ของพระมนุ ดี ว้ ยเศยี รเกลา้ .
สุวณณฺ มาลเิ ก สวุ ณฺณปพพฺ เต, สมุ นกเู ฏ โยนกปุเร นมมฺ ทาย นทยิ า, ปญจฺ ปาทวรํ €านํ
อหํ วนทฺ ามิ ทูรโต.
ข้าพเจ้าขอนมัสการสถานท่ีมีรอยพระบาทอันประเสริฐ ๕ สถานแต่ที่ไกล, คือ

96

วดั ปา่ ดานวิเวก

ทเี่ ขาสวุ รรณะมาลกิ ะ ๑, ทเ่ี ขาสวุ รรณะบรรพต ๑, ทย่ี อดเขาสมุ ะนะกฏู ๑, ทโี่ ยนะกะบรุ ี ๑,
ทแ่ี ม่นำ้� นัมมะทา ๑.
อจิ ฺเจวมจฺจนตฺ นมสสฺ เนยยฺ ,ํ นมสสฺ มาโน รตนตฺตยํ ยํ,
ข้าพเจ้าขอนมสั การอยซู่ งึ่ พระรตั นตรัยใด, อนั บคุ คลควรไหว้โดยสว่ นยง่ิ , อยา่ งน้ี
ด้วยประการฉะน,ี้
ปุญฺ าภิสนทฺ ํ วปิ ุลํ อลตฺถํ,
ไดแ้ ลว้ ซ่งึ กองบุญอันไพบูลย,์
ตสสฺ านภุ าเวน หตนฺตราโย.
ขออานุภาพแหง่ พระรัตนตรัยนัน้ , จงกำ� จัดภัยอนั ตรายเสยี เถิด.
อามนตฺ ยามิ โว ภกิ ขฺ เว,
ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย, เราขอเตอื นทา่ นท้ังหลาย,
ปฏเิ วทยามิ โว ภิกฺขเว,
ดูก่อนภกิ ษทุ ง้ั หลาย, เราขอให้ท่านทง้ั หลายทราบไว้ว่า,
ขยวยธมมฺ า สงขฺ ารา,
สงั ขารท้งั หลายมคี วามเส่ือมสนิ้ ไปเป็นธรรมดา,
อปฺปมาเทน สมปฺ าเทถาต.ิ
ขอท่านท้ังหลายจงยังประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน, ให้ถึงพร้อมด้วยความ
ไม่ประมาทเถดิ .
อติ ิ. ดว้ ยประการฉะนแ้ี ล.

97

วัดปา่ ดานวเิ วก

ทสธมมฺ สตุ ตฺ ปาโ€

(นำ� ) หนทฺ มยํ ทสธมมฺ สุตตฺ ํ ภณาม เส.

ทส อเิ ม ภิกขฺ เว ธมฺมา, ปพฺพชิเตน อภิณหฺ ํ ปจจฺ เวกขฺ ิตพพฺ ํ.
ดูก่อนภกิ ษฺ ุทง้ั หลาย, ธรรมทั้ง ๑๐ ประการน้ี, บรรพชิตควรพจิ ารณาเนือง ๆ,
กตเม ทส,
๑๐ ประการไฉนบ้าง ?
เววณณฺ ิยมฺหิ อชฌฺ ูปคโตติ.
บดั นเี้ รามเี พศตา่ งจากคฤหสั ถแ์ ลว้ , อาการกริ ยิ าใด ๆ ของสมณะ, เราตอ้ งทำ� อาการ
กริ ยิ านน้ั ๆ.
ปรปฏิพทฺธา เม ชีวกิ าต.ิ
ความเลี้ยงชวี ิตของเราเนอ่ื งดว้ ยผ้อู ืน่ , เราควรท�ำตวั ใหเ้ ขาเล้ียงงา่ ย.
อญฺโ เม อากปฺโป กรณโี ยต.ิ
อาการกาย วาจาอย่างอื่น, ทเี่ ราจกั ต้องท�ำใหด้ ขี น้ึ ไปกว่านี้ ยังมอี ยอู่ กี , มิใช่เพียง
เท่าน้.ี
กจฺจิ นุ โข เม อตฺตา สีลโต น อุปวทตีต.ิ
ตวั ของเราเอง, ตเิ ตยี นตวั เราเองโดยศีลไดห้ รือไม่ ?
กจฺจิ นุ โข มํ อนุวจิ ฺจ วิญญฺ ู สพฺรหฺมจารี สลี โต น อปุ วทนตฺ ตี ิ.
สพรหั มะจารผี ้รู ูใ้ ครค่ รวญแลว้ , ตเิ ตียนเราโดยศีลไดห้ รอื ไม่ ?
สพฺเพหิ เม ปเิ ยหิ มนาเปหิ นานาภาโว วนิ าภาโวต,ิ
เราจักตอ้ งพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ท้งั นน้ั .

98

วัดปา่ ดานวิเวก

กมฺมสฺสโกมฺหิ กมฺมทายาโท กมฺมโยนิ กมฺมพนฺธุ กมฺมปฏิสรโณ, ยํ กมฺมํ กริสฺสามิ
กลยฺ าณํ วา ปาปกํ วา ตสฺส ทายาโท ภวสิ สฺ ามตี .ิ
เรามีกรรมเป็นของตัว, เป็นผู้รับผลของกรรม, มีกรรมเป็นก�ำเนิด, มีกรรม
เปน็ เผ่าพนั ธ์,ุ มีกรรมเปน็ ท่พี ่ึงอาศัย, เราทำ� ดจี กั ไดด้ ี, ทำ� ช่วั จักได้ชั่ว, เราจกั เป็นผรู้ ับผล
ของกรรมน้นั .
กถมภฺ ูตสสฺ เม รตฺตินทฺ วิ า วตี ิปตนตฺ ีติ,
วนั คืนลว่ งไป ๆ บัดนี้เราท�ำอะไรอยู่.
กจจฺ ิ นุ โขหํ สุญฺาคาเร อภิรมามตี ิ,
เรายนิ ดใี นทสี่ งัดหรือไม่ ?
อตฺถิ นุ โข เม อตุ ฺตรมิ นสุ ฺสธมมฺ า อลมริยาณทสฺสนวเิ สโส อธคิ โต, โสหํ ปจฺฉิเม กาเล
สพฺรหมฺ จารหี ิ ปฏุ โฺ € น มงฺกุ ภวสิ สฺ ามีติ.
คุณวิเศษของเรามีอยู่หรือไม่ ?, ท่ีจะท�ำให้เราเป็นผู้ไม่เก้อเขิน, ในเวลา
เพอื่ นบรรพชิตถามในกาลภายหลงั .
อิเม โข ภกิ ฺขเว ทส ธมมฺ า, ปพฺพชิเตน อภณิ หฺ ํ ปจจฺ เวกขฺ ิตพฺพาติ.
ดกู อ่ นภกิ ษฺ ทุ ้ังหลาย, ธรรมทั้ง ๑๐ ประการน้ีแล, บรรพชิตควรพจิ ารณาเนอื ง ๆ
ฉะน.ี้

99

วัดปา่ ดานวเิ วก

พรฺ หฺมวหิ ารผรณปา€

(เมตตาตน)

อหํ สขุ โิ ต โหมิ, นทิ ทฺ ุกโฺ ข โหม,ิ

อเวโร โหมิ, อพยฺ าปชฺโฌ โหม,ิ

อนโี ฆ โหมิ, สขุ ี อตตฺ านํ ปริหรามิ.

(เมตตาสรรพสตั ว)์

(เมตตา) สพฺเพ สตฺตา สขุ ิตา โหนตฺ .ุ สพเฺ พ สตตฺ า อเวรา โหนฺตุ. สพเฺ พ สตฺตา

อพฺยาปชฺฌา โหนฺตุ. สพฺเพ สตฺตา อนีฆา โหนตฺ ุ. สพเฺ พ สตฺตา สขุ ี อตตฺ านํ ปริหรนตฺ .ุ

(กรุณา) สพฺเพ สตฺตา สพพฺ ทกุ ฺขา ปมุญจฺ นฺต.ุ

(มุทติ า) สพฺเพ สตตฺ า ลทฺธสมฺปตฺตโิ ต มา วิคจฉฺ นฺต.ุ

(อุเบกขา) สพฺเพ สตฺตา กมฺมสฺสกา กมฺมทายาทา กมฺมโยนี กมฺมพนฺธู

กมฺมปฏิสรณา, ยํ กมมฺ ํ กริสสฺ นฺติ กลยฺ าณํ วา ปาปกํ วา ตสฺส ทายาทา ภวสิ ฺสนตฺ .ิ

เมตฺตายงกฺ ญิ จฺ ิ

ยงกฺ ญิ ฺจิ กุสลํ กมมฺ ํ สพฺเพหิ กเตหิ กตํ ปญุ ฺ  โน, อนโุ มทนตฺ ุ สนุ นตฺ ุ โภนโฺ ต
เย เทวา อสมฺ ึ าเน อธคิ ตา ทฆี ายุกา สทา โหนตฺ ุ สขุ ิตา โหนตฺ ุ ทุกฺขา ปมญุ จฺ นฺตุ,
มาตาปิตา สุขิตา โหนฺตุ ทุกฺขา ปมุญฺจนฺตุ, สพฺเพ าติกา สุขิตา โหนฺตุ ทุกฺขา
ปมญุ ฺจนฺต,ุ สพฺเพ อาติกา สุขิตา โหนฺตุ ทกุ ฺขา ปมญุ ฺจนฺต,ุ สพฺเพ ปสิ า สพเฺ พ ยกขฺ า
สพฺเพ เปตา สุขิตา โหนฺตุ ทุกฺขา ปมุญฺจนฺตุ, สพฺเพ อาจริยุปชฺฌายา สุขิตา โหนฺตุ
ทุกขฺ า ปมุญจฺ นฺต,ุ สพเฺ พ นกฺขตตฺ า สขุ ติ า โหนตฺ ุ ทุกฺขา ปมญุ จฺ นตฺ ุ, สพฺเพ เทวา สขุ ิตา
โหนฺตุ ทุกฺขา ปมุญฺจนฺตุ, สพฺเพ สมฺปตฺตนี ํ สมชิ ฌฺ นฺตุ โว.

100

วัดป่าดานวิเวก

เมตตฺ านิสํสสตุ ตฺ ปาโ€

เอวมเฺ ม สตุ .ํ เอกํ สมยํ ภควา, สาวตถฺ ยิ ํ วหิ รติ, เชตวเน อนาถปิณฑฺ ิกสฺส, อาราเม.
ตตรฺ โข ภควา ภกิ ฺขู อามนเฺ ตสิ ภกิ ขฺ โวต.ิ ภทนฺเตติ เต ภิกขฺ ู ภควโต ปจจฺ สโฺ สส.ํุ ภควา
เอตทโวจ.
ï เมตตฺ าย ภกิ ขฺ เว เจโตวมิ ตุ ฺตยิ า, อาเสวิตาย ภาวิตาย พหลุ ีกตาย, ยานกี ตาย
วตถฺ ุกตาย อนุฏ€ฺ ติ าย ปรจิ ิตาย สสุ มารทฺธาย, เอกาทสานสิ สํ า ปาฏกิ งฺขา. กตเม เอกาทส.
สุขํ สปุ ติ สุขํ ปฏิพชุ ฺฌต,ิ น ปาปกํ สปุ ินํ ปสฺสต,ิ มนสุ สฺ านํ ปโิ ย โหติ อมนุสสฺ านํ
ปิโย โหติ, เทวตา รกฺขนฺติ, นาสฺส อคฺคิ วา วิสํ วา สตฺถํ วา กมติ, ตุวฏํ จิตฺตํ
สมาธิยติ, มุขวณฺโณ วิปฺปสีทติ, อสมฺมุโฬฺห กาลํ กโรติ, อุตฺตรึ อปฺปฏิวิชฺฌนฺโต
พรฺ หฺมโลกปู โค โหต.ิ
เมตฺตาย ภิกฺขเว เจโตวิมุตฺติยา, อาเสวิตาย ภาวิตาย พหุลีกตาย, ยานีกตาย
วตฺถุกตาย อนุฏฺ€ิตาย ปรจิ ิตาย สสุ มารทฺธาย, อิเม เอกาทสานิสํสา ปาฏกิ งฺขาติ.
อิทมโวจ ภควา, อตตฺ มนา เต ภิกขฺ ู ภควโต ภาสิตํ, อภนิ นฺทนุ ฺต.ิ

จตรุ ปปฺ มญฺ าปาโ€

อตฺถิ โข เตน ภควตา ชานตา ปสฺสตา อรหตา สมฺมาสมฺพุทฺเธน, จตสฺโส
อปฺปมญฺาโย สมฺมทกขฺ าตา.
อธิ ภกิ ฺขุ เมตฺตาสหคเตน เจตสา เอกํ ทิสํ ผริตวฺ า วิหรติ, ตถา ทตุ ยิ ํ ตถา ตตยิ ํ
ตถา จตตุ ถฺ ,ํ อิติ อทุ ธฺ มโธ ติรยิ ํ สพฺพธิ สพพฺ ตฺตตาย สพฺพาวนตฺ ํ โลกํ, เมตตฺ าสหคเตน
เจตสา, วิปเุ ลน มหคฺคเตน อปปฺ มาเณน อเวเรน อพยฺ าปชฺเฌน ผรติ วฺ า วิหรติ.

101

วดั ปา่ ดานวิเวก

กรุณาสหคเตน เจตสา เอกํ ทิสํ ผริตฺวา วิหรติ, ตถา ทุติยํ ตถา ตติยํ ตถา
จตุตถฺ ,ํ อติ ิ อุทฺธมโธ ติริยํ สพพฺ ธิ สพฺพตฺตตาย สพพฺ าวนตฺ ํ โลกํ, กรุณาสหคเตน เจตสา,
วิปุเลน มหคฺคเตน อปปฺ มาเณน อเวเรน อพยฺ าปชเฺ ฌน ผริตฺวา วิหรติ.
มุทิตาสหคเตน เจตสา เอกํ ทิสํ ผริตฺวา วิหรติ, ตถา ทุติยํ ตถา ตติยํ ตถา
จตุตฺถํ, อติ ิ อทุ ฺธมโธ ตริ ิยํ สพฺพธิ สพฺพตตฺ ตาย สพพฺ าวนฺตํ โลก,ํ มุทติ าสหคเตน เจตสา,
วปิ เุ ลน มหคฺคเตน อปฺปมาเณน อเวเรน อพฺยาปชเฺ ฌน ผรติ วฺ า วิหรต.ิ
อุเปกขฺ าสหคเตน เจตสา เอกํ ทสิ ํ ผริตวฺ า วิหรติ, ตถา ทุตยิ ํ ตถา ตติยํ ตถา
จตุตฺถํ, อิติ อุทฺธมโธ ติริยํ สพฺพธิ สพฺพตฺตตาย สพฺพาวนฺตํ โลกํ, อุเปกฺขาสหคเตน
เจตสา, วิปเุ ลน มหคฺคเตน อปปฺ มาเณน อเวเรน อพฺยาปชฺเฌน ผริตวฺ า วหิ รต.ิ
อิมา โข เตน ภควตา ชานตา ปสฺสตา อรหตา สมฺมาสมฺพุทฺเธน, จตสฺโส
อปปฺ มญฺาโย สมฺมทกขฺ าตาติ.

อมิ ินา ปุญฺ กมเฺ มนาตอิ าทกิ าปตตฺ ทิ านคาถา

อิมินา ปญุ ฺ กมเฺ มน อุปชฌฺ ายา คณุ ุตฺตรา,
อาจรยิ ูปการา จ มาตาปติ า จ าตกา. (ปิยา มมํ)
สรุ ิโย จนฺทมิ า ราชา คณุ วนฺตา นราปิ จ,
พรฺ หมฺ มารา จ อินทฺ า จ โลกปาลา จ เทวตา.
ยโม มิตตฺ า มนุสฺสา จ มชฺฌตตฺ า เวรกิ าปิ จ,
สพเฺ พ สตฺตา สขุ ี โหนฺตุ ปุญฺานิ ปกตานิ เม,
สุขํ จ ติวธิ ํ เทนตฺ ุ ขปิ ปฺ ํ ปาเปถ โว มต.ํ

102

วัดปา่ ดานวิเวก

อิมนิ า ปุญฺกมเฺ มน อมิ นิ า อุททฺ สิ ฺเสน จ,
ขิปฺปาหํ สุลเภ เจว ตณฺหปุ าทาน เฉทน.ํ
เย สนตฺ าเน หินา ธมฺมา ยาว นิพฺพานโต มมํ,
นสสฺ นฺตุ สพฺพทา เยว ยตฺถ ชาโต ภเว ภเว.
อุชุจติ ฺตํ สตปิ ญฺา สลเฺ ลโข วิริยมฺหินา,
มารา ลภนตฺ ุ โนกาส ํ กาตุญฺจ วริ เิ ยสุ เม.
พุทธฺ าทปิ วโร นาโถ ธมฺโม นาโถ วรตุ ตฺ โม,
นาโถ ปจฺเจกพุทฺโธ จ สงโฺ ฆ นาโถตฺตโร มม,ํ
เตโสตตฺ มานภุ าเวน มาโรกาสํ ลภนฺตุ มา ๑.

เทวตาปตตฺ ิทานคาถา

ยา เทวตา สนฺติ วิหารวาสิน,ี
ถเู ป ฆเร โพธฆิ เร ตหึ ตหึ,
ตา ธมฺมทาเนน ภวนตฺ ุ ปชู ิตา,
โสตฺถึ กโรนเฺ ตธ วหิ ารมณฺฑเล.
เถรา จ มชฺฌา นวกา จ ภกิ ฺขโว,
สารามกิ า ทานปตี อุปาสกา,
คามา จ เทสา นคิ มา จ อสิ ฺสรา,
สปฺปาณภูตา สุขติ า ภวนตฺ ุ เต.
ชลาพชุ า เยปิ จ อณฺฑสมฺภวา,

๑ ถา้ สวดคนเดียว เปลี่ยนเปน็ ลภนตฺ ุ เม

103

วดั ป่าดานวเิ วก

สํเสทชาตา อถโวปปาติกา,

นิยฺยานกิ ํ ธมฺมวรํ ปฏิจจฺ เต,

สพเฺ พปิ ทุกฺขสสฺ กโรนฺตุ สงฺขยํ.

€าตุ จริ ํ สตํ ธมฺโม ธมฺมทธฺ รา จ ปคุ ฺคลา,

สงฺโฆ โหตุ สมคฺโค ว อตฺถาย จ หติ าย จ.

อเมฺห รกฺขตุ สทธฺ มฺโม สพเฺ พปิ ธมฺมจาริโน,

วฑุ ฒฺ ึ สมปฺ าปุเณยฺยาม ธมฺเม อริยปปฺ เวทเิ ต.

ปตฺตทิ านคาถา (ยอ่ )

ปญุ ฺ สสฺ ทิ านิ กตสสฺ ยานญฺานิ กตานิ เม,
เตสญฺจ ภาคิโน โหนฺต ุ สตฺตานนตฺ าปฺปมาณกา.
เย ปยิ า คณุ วนตฺ า จ มยหฺ ํ มาตาปติ าทโย,
ทิฏ€ฺ า เม จาปฺยทฏิ ฺ€า วา อญเฺ  มชฺฌตตฺ เวรโิ น.
สตฺตา ติฏ€ฺ นฺติ โลกสมฺ ึ เตภมุ ฺมา จตุโยนกิ า,
ปญฺเจกจตโุ วการา สสํ รนฺตา ภวาภเว.
าตํ เย ปตตฺ ทิ านมฺเม อนุโมทนตฺ ุ เต สย,ํ
เย จิมํ นปปฺ ชานนฺติ เทวา เตสํ นิเวทยํุ.
มยา ทินฺนาน ปญุ ฺาน ํ อนโุ มทนเหตุนา,
สพเฺ พ สตตฺ า สทา โหนฺตุ อเวรา สขุ ชีวโิ น.
เขมปฺปทญฺจ ปปโฺ ปนฺต ุ เตสาสา สิชฺฌตํ สภุ า.

104

วัดป่าดานวิเวก

ตโิ ลกวิชยราชปตฺติทานคาถา

ยงฺกิญฺจิ กุสลํ กมมฺ ํ กตตฺ พฺพํ กิริยํ มม,
กาเยน วาจามนสา ตทิ เส สคุ ตํ กตํ,
เย สตตฺ า สญฺิโน อตฺถ ิ เย จ สตตฺ า อสญฺ ิโน,
กตํ ปญุ ฺ ผลํ มยฺหํ สพฺเพ ภาคี ภวนตฺ ุ เต,
เย ตํ กตํ สุวทิ ติ ํ ทินนฺ ํ ปุญฺ ผลํ มยา,
เย จ ตตฺถ น ชานนตฺ ิ เทวา คนฺตฺวา นิเวทยุ,
สพเฺ พ โลกมหฺ ิ เย สตตฺ า ชวี นฺตาหารเหตกุ า,
มนญุ ฺ โภชนํ สพฺเพ ลภนฺตุ มม เจตสาต.ิ

ปจฉฺ มิ คาถา

โหตุ สพพฺ ํ สมุ งฺคล ํ รกขฺ นตฺ ุ สพฺพเทวตา,
สพฺพพุทธฺ านุภาเวน โสตถฺ ี โหนตฺ ุ นริ นฺตรํ.
โหตุ สพฺพํ สุมงฺคลํ รกฺขนฺตุ สพฺพเทวตา,
สพพฺ ธมมฺ านุภาเวน โสตฺถี โหนฺตุ นริ นตฺ ร.ํ
โหตุ สพพฺ ํ สมุ งคฺ ลํ รกขฺ นฺตุ สพพฺ เทวตา,
สพฺพสงฆฺ านภุ าเวน โสตฺถี โหนฺตุ นริ นตฺ รํ.

105

วดั ปา่ ดานวเิ วก

วธิ บี รรพชาอปุ สมบทแบบเอสาหงั

กุลบุตรผู้มีศรัทธามุ่งอุปสมบท พึงรับผ้าไตรอุ้มประนมมือ เข้าไปในสังฆสันนิบาต
วางผ้าไตรไว้ข้างตัวด้านซ้าย รับเครื่องสักการะถวายพระอุปัชฌายะ แล้วกราบลงด้วย
เบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครัง้ นง่ั คุกเข่า อ้มุ ผ้าไตร ประนมมอื เปล่งวาจา ถงึ สรณะและขอบรรพชา
ดว้ ยค�ำมคธหยดุ ตามจดุ จุลภาคว่า
เอสาหํ ภนฺเต, สุจิรปรินิพฺพุตมฺปิ, ตํ ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ, ธมฺมญฺจ ภิกฺขุสงฺฆญฺจ.
ลเภยยฺ าหํ ภนเฺ ต, ตสฺส ภควโต, ธมมฺ วินเย ปพฺพชฺชํ, ลเภยฺยํ อปุ สมฺปท.ํ
ทตุ ิยมปฺ าหํ ภนเฺ ต, สุจิรปรินิพพฺ ตุ มปฺ ิ, ตํ ภควนตฺ ํ สรณํ คจฺฉาม,ิ ธมฺมญจฺ ภิกฺขสุ งฆฺ ญฺจ.
ลเภยฺยาหํ ภนเฺ ต, ตสสฺ ภควโต, ธมฺมวนิ เย ปพฺพชฺชํ, ลเภยฺยํ อุปสมฺปท.ํ
ตติยมฺปาหํ ภนฺเต, สุจิรปรินพิ พฺ ตุ มฺปิ, ตํ ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉาม,ิ ธมมฺ ญจฺ ภกิ ฺขสุ งฺฆญจฺ .
ลเภยฺยาหํ ภนเฺ ต, ตสฺส ภควโต, ธมมฺ วนิ เย ปพฺพชชฺ ํ, ลเภยยฺ ํ อปุ สมปฺ ทํ.
อหํ ภนฺเต, ปพพฺ ชฺชํ ยาจาม.ิ อิมานิ กาสายานิ วตฺถานิ คเหตวฺ า, ปพพฺ าเชถ มํ ภนฺเต,
อนุกมปฺ ํ อุปาทาย.
ทุติยมปฺ ิ อหํ ภนเฺ ต, ปพพฺ ชฺชํ ยาจามิ. อิมานิ กาสายานิ วตฺถานิ คเหตฺวา, ปพพฺ าเชถ มํ
ภนเฺ ต, อนุกมปฺ ํ อปุ าทาย.
ตติยมปฺ ิ อหํ ภนเฺ ต, ปพพฺ ชฺชํ ยาจามิ. อิมานิ กาสายานิ วตถฺ านิ คเหตฺวา, ปพฺพาเชถ มํ
ภนเฺ ต, อนกุ มฺปํ อปุ าทาย.
ถ้าบวชเป็นสามเณร ยกคำ� วา่ ลเภยยฺ ํ อุปสมฺปทํ ออกเสีย
ในลำ� ดบั นน้ั พระอปุ ชั ฌายะรบั เอาผา้ ไตรจากผมู้ งุ่ บรรพชาวางไวต้ รงหนา้ ตกั แลว้ กลา่ วสอน
ถงึ คณุ ของพระรตั นตรยั เปน็ ตน้ และบอก ตะจะปญั จะกะกมั มฏั ฐาน ใหว้ า่ ตามไปทลี ะบท โดยอนโุ ลม
และปฏิโลม ดงั น้ี
เกสา, โลมา, นขา, ทนตฺ า, ตโจ. (อนโุ ลม)
ตโจ, ทนฺตา, นขา, โลมา, เกสา. (ปฏโิ ลม)

106

วดั ป่าดานวเิ วก

ครั้นสอนแล้ว พระอุปัชฌายะชักอังสะออกจากไตรสวมให้แล้วสั่งให้ออกไปครองไตรจีวร
ตามระเบยี บ ครั้นเสร็จแลว้ เขา้ ไปหาพระอาจารยร์ ับเครื่องสกั การะถวายทา่ นแลว้ กราบ ๓ หน
นั่งคกุ เข่า ประนมมือเปลง่ วาจาขอสรณะและศลี ดังน้ี
อหํ ภนฺเต, สรณสลี ํ ยาจามิ.
ทตุ ยิ มฺปิ อหํ ภนฺเต, สรณสีลํ ยาจามิ.
ตติยมฺปิ อหํ ภนฺเต, สรณสลี ํ ยาจามิ.
ล�ำดบั นั้น พระอาจารยก์ ล่าวคำ� นมัสการน�ำใหผ้ มู้ ุ่งบรรพชาวา่ ตามไป ดงั นี้
นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพุทธฺ สฺส. (๓ หน)
แต่นั้น ท่านจะสั่งด้วยค�ำว่า “เอวํ วเทหิ” หรือ “ยมหํ วทามิ ตํ วเทหิ” พึงรับว่า
“อาม ภนฺเต”
ครัน้ แล้วทา่ นนำ� ให้เปล่งวาจาถงึ สรณคมน์ตามไปทีละพากย์ ดังน้ี

พุทธฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ,
ธมมฺ ํ สรณํ คจฺฉามิ,
สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ.
ทตุ ยิ มปฺ ิ พุทธฺ ํ สรณํ คจฉฺ าม,ิ
ทุติยมปฺ ิ ธมมฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ,
ทตุ ิยมปฺ ิ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ.
ตตยิ มฺปิ พุทธฺ ํ สรณํ คจฉฺ าม,ิ
ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฉฺ ามิ,
ตตยิ มฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ.
เมอื่ จบแลว้ ทา่ นบอกวา่ “สรณคมนํ นฏิ ฺ ติ ”ํ พงึ รบั วา่ “อาม ภนเฺ ต” ลำ� ดบั นนั้ พระอาจารย์
จะบอกใหร้ วู้ า่ การบรรพชาเปน็ สามเณรสำ� เรจ็ ดว้ ยสรณคมนเ์ พยี งเทา่ น้ี ทนี น้ั พงึ สมาทานสกิ ขาบท
๑๐ ประการ ว่าตามทา่ นไปดังนี้

107

วัดป่าดานวเิ วก

ปาณาตปิ าตา เวรมณี.
อทินนฺ าทานา เวรมณ.ี
อพรฺ หฺมจริยา เวรมณี.
มุสาวาทา เวรมณ.ี
สุราเมรยมชชฺ ปมาทฏฺ านา เวรมณ.ี
วิกาลโภชนา เวรมณี.
นจฺจคีตวาทิตวิสกู ทสสฺ นา เวรมณี.
มาลาคนธฺ วเิ ลปนธารณมณฺฑนวภิ ูสนฏฺ านา เวรมณ.ี
อุจฺจาสยนมหาสยนา เวรมณี.
ชาตรปู รชตปฏิคคฺ หณา เวรมณี.
อิมานิ ทส สิกฺขาปทานิ สมาทยิ าม.ิ (ว่า ๓ หน)
ในล�ำดับนั้น สามเณรพึงรับบาตร อุ้มเข้าไปหาพระอุปัชฌายะในสังฆสันนิบาตวางไว้
ขา้ งตวั ดา้ นซ้าย รบั เคร่อื งสักการะถวายท่านแลว้ กราบ ๓ หน น่งั คุกเข่าประนมมือกล่าวคำ� ขอนสิ ยั
ว่าดงั น้ี
อหํ ภนฺเต นสิ ฺสยํ ยาจาม.ิ
ทตุ ยิ มปฺ ิ อหํ ภนเฺ ต นสิ ฺสยํ ยาจามิ.
ตติยมปฺ ิ อหํ ภนเฺ ต นสิ สฺ ยํ ยาจามิ.
อปุ ชฌฺ าโย เม ภนฺเต โหห.ิ (ว่า ๓ หน)
พระอปุ ชั ฌายะกลา่ วว่า โอปายิกํ, ปฏิรูป,ํ ปาสาทิเกน สมปฺ าเทห.ิ บทใดบทหนึง่ พงึ รับวา่
สาธุ ภนฺเต ทุกบทไป แต่นนั้ สามเณรพึงกลา่ วรบั เป็นธุระให้ทา่ นว่าดังน้ี
อชฺชตคฺเคทานิ เถโร, มยฺหํ ภาโร, อหมปฺ ิ เถรสสฺ ภาโร. (ว่า ๓ หน) เสร็จแลว้ กราบลง
๓ หน

108

วัดปา่ ดานวเิ วก

ล�ำดับนัน้ พระอปุ ชั ฌายะแนะน�ำสามเณรไปตามระเบียบแล้ว พระอาจารย์ผเู้ ปน็ กรรมวาจา

เอาบาตรมสี ายคลอ้ งตวั ผูม้ งุ่ อุปสมบทบอกบาตรและจวี ร ผู้มงุ่ อุปสมบทพงึ รับว่า อาม ภนเฺ ต ๔ หน

ดังนี้

ค�ำบอกบาตรจีวร ค�ำรับ

๑. อยนฺเต ปตโฺ ต. อาม ภนเฺ ต.

๒. อยํ สงฆฺ าฏ.ิ อาม ภนฺเต.

๓. อยํ อตุ ตฺ ราสงฺโค. อาม ภนฺเต.

๔. อยํ อนตฺ รวาสโก. อาม ภนฺเต.

ตอ่ จากนน้ั พระอาจารยท์ ่านบอกใหอ้ อกไปขา้ งนอกว่า “คจฉฺ อมมุ ฺหิ โอกาเส ตฏิ ฺาห”ิ

พงึ ถอยออกลกุ ขนึ้ เดนิ ไปยนื อยใู่ นทท่ี กี่ ำ� หนดไว้ พระอาจารยท์ า่ นสวดสมมตติ นเปน็ ผสู้ อนซอ้ มแลว้

ออกไปสวดถามอันตรายิกรรม พงึ รับวา่ นตถฺ ิ ภนเฺ ต ๕ หน และ อาม ภนเฺ ต ๘ หน ดังนี้

ถาม ตอบ

๑. กฏุ ฺ? นตถฺ ิ ภนเฺ ต.

๒. คณโฺ ฑ? นตฺถิ ภนฺเต.

๓. กิลาโส? นตฺถิ ภนฺเต.

๔. โสโส? นตฺถิ ภนฺเต.

๕. อปมาโร? นตถฺ ิ ภนฺเต.

๑. มนุสโฺ สสิ? อาม ภนฺเต.

๒. ปุรโิ สส?ิ อาม ภนฺเต.

๓. ภุชสิ ฺโสส?ิ อาม ภนเฺ ต.

๔. อนโณส?ิ อาม ภนฺเต.

๕. นสิ ราชภโฏ? อาม ภนฺเต.

๖. อนญุ ฺ าโตสิ มาตาปติ ูหิ? อาม ภนเฺ ต.

109

วัดป่าดานวิเวก

๗. ปริปณุ ณฺ วีสติวสโฺ สสิ? อาม ภนเฺ ต.

๘. ปรปิ ุณณฺ นเฺ ต ปตตฺ จีวร?ํ อาม ภนฺเต.

๑. กินนฺ าโมส?ิ อหํ ภนเฺ ต....(๑).....นาม.

๒. โก นาม เต อปุ ชฌฺ าโย? อปุ ชฺฌาโย เม ภนเฺ ต อายสมฺ า........(๒).........นาม.

ถา้ ตอบพร้อมกนั ใหเ้ ปลี่ยน เม เป็น โน

ช่องท่ี.........(๑)........ไว้ พระอุปัชฌายะหรืออาจารย์ท่านจะต้ังช่ือของอุปสัมปทาเปกขะ

กรอกลงช่องให้ไว้ก่อนวันบวช และช่องที่.........(๒)........... ไว้ในช่องชื่อของพระอุปัชฌาย์

ก็เชน่ เดียวกัน ให้กรอกตามช่ือของพระอปุ ัชฌายะ ซึ่งทา่ นจะบอก และกรอกให้ไว้ก่อนวันบวช

ครนั้ สวดสอนซอ้ มแลว้ ทา่ นกลบั เขา้ มาสวดขอเรยี กอปุ สมั ปทาเปกขะเขา้ มา อปุ สมั ปทาเปกขะ

พงึ เขา้ มาในสังฆสันนบิ าตกราบลงตรงหนา้ พระอปุ ัชฌายะ ๓ หน แล้วนงั่ คุกเขา่ ประนมมือเปล่ง

วาจาขออุปสมบท ว่าดงั นี้

สงฺฆมภฺ นฺเต, อุปสมฺปทํ ยาจาม,ิ อุลลฺ ุมปฺ ตุ มํ ภนฺเต, สงฺโฆ อนกุ มปฺ ํ อปุ าทาย.

ทตุ ิยมปฺ ิ ภนฺเต, สงฺฆํ อปุ สมปฺ ทํ ยาจาม,ิ อุลลฺ มุ ปฺ ตุ มํ ภนฺเต, สงฺโฆ อนกุ มปฺ ํ อปุ าทาย.

ตตยิ มปฺ ิ ภนฺเต, สงฆฺ ํ อุปสมปฺ ทํ ยาจามิ, อลุ ลฺ มุ ปฺ ตุ มํ ภนเฺ ต, สงฺโฆ อนุกมปฺ ํ อปุ าทาย.

ถา้ ว่าพรอ้ มกนั ให้เปลยี่ น ยาจามิ เปน็ ยาจาม เปลย่ี น มํ เปน็ โน

ในล�ำดับนั้น พระอุปัชฌายะกล่าวเผดียงสงฆ์แล้ว พระอาจารย์สวดสมมติตนถาม

อันตรายกิ ธรรม อุปสมั ปทาเปกขะพึงรับว่า นตถฺ ิ ภนเฺ ต ๕ หน อาม ภนเฺ ต ๘ หน ตอบชอ่ื ตนและ

ชอื่ อปุ ัชฌายะรวม ๒ หน โดยนยั หนหลงั แต่นนั้ พึงนงั่ ฟงั ท่านสวดกรรมวาจาอุปสมบทไปจนจบ

ครน้ั จบแลว้ ท่านเอาบาตรออกจากตวั พึงกราบ ๓ หน นัง่ พบั เพียบประนมมือ ฟงั พระอปุ ชั ฌายะ

บอกอนุศาสนไ์ ปจนจบแล้วรับวา่ อาม ภนเฺ ต แล้วกราบ ๓ หน

จบวิธอี ุปสมบทแบบเอสาหัง

110

วดั ป่าดานวเิ วก

หมวดวนิ ัยกรรม ๑

วธิ ีท�ำพนิ ทกุ ัปปะ

ใชด้ นิ สอดำ� หรอื สอี ยา่ งอนื่ กไ็ ด้ วาดเปน็ จดุ หรอื แววกลมทเี่ อกเทศแหง่ ผา้ พงึ เปลง่ วาจา หรอื
ผกู ใจในขณะท่ีท�ำอยู่วา่
“อิมํ พนิ ฺทุกปปฺ ํ กโรมิ”

อธิษฐาน

อธิษฐานมี ๒ คอื
๑. อธิษฐานด้วยกาย เอามือจับหรือลูบบริขารที่จะอธิษฐานแล้วท�ำความผูกใจตาม
คำ� อธิษฐาน
๒. อธษิ ฐานด้วยวาจา คอื ลน่ั คำ� อธษิ ฐาน ไม่ถกู ของด้วยกายกไ็ ด้ แจกออกเปน็ ๒ คือ
๒.๑ อธษิ ฐานในหัตถบาส ของอยภู่ ายใน ๒ ศอกคบื หรือศอก ๑ ในระหวา่ ง
๒.๒ อธิษฐานนอกหัตถบาส ของอยูห่ า่ งตัวเกิน ๒ ศอก คบื หรอื ศอก ๑ ในระหวา่ ง

ค�ำอธษิ ฐานบรขิ ารต่างๆ

ค�ำอธษิ ฐานบรขิ ารส่ิงเดียวในหัตถบาส ว่าดงั นี้

สังฆาฏิ (ผา้ ทาบ) “อิมํ สงฺฆาฏึ อธิฏฺาม”ิ

อุตตราสงค์ (ผ้าห่ม) “อมิ ํ อุตตฺ ราสงฺคํ อธิฏฺ าม”ิ

อนั ตรวาสก (ผา้ นงุ่ ) “อมิ ํ อนตฺ รวาสกํ อธฏิ ฺ ามิ”

บาตร “อิมํ ปตตฺ ํ อธฏิ ฺ ามิ”

ผ้านสิ ที นะ (ผา้ ปนู ง่ั ) “อมิ ํ นิสีทนํ อธฏิ ฺามิ”

๑ อา้ งองิ จากหนงั สอื วนิ ัยมุข เล่ม ๑ – ๒, บุพพสกิ ขาวรรณนา และอปุ สมบทวิธี
111

วดั ป่าดานวิเวก

ผ้าปิดฝี “อิมํ กณฺฑปุ ฏิจฉฺ าทึ อธิฏฺ ามิ”

ผ้าอาบน�ำ้ ฝน “อิมํ วสฺสิกสาฏิกํ อธฏิ ฺ าม”ิ

ผา้ ปูนอน “อิมํ ปจจฺ ตฺถรณํ อธิฏฺามิ”

ผ้าเช็ดหน้าเชด็ ปาก “อิมํ มขุ ปญุ ฺฉนโจลํ อธฏิ ฺ าม”ิ

ผา้ เปน็ บริขาร “อิมํ ปรกิ ขฺ ารโจลํ อธิฏฺาม”ิ

ผา้ ประคดเอว “อิมํ กายพนธฺ นํ อธฏิ ฺ าม”ิ

ถ้าจะอธิษฐานผ้าหลายผืนควบกนั ให้ว่าดงั น้ี :-

ผ้าปูนอน “อิมานิ ปจจฺ ตฺถรณานิ อธฏิ ฺ าม”ิ

ผ้าเชด็ หนา้ เชด็ ปาก “อมิ านิ มขุ ปญุ ฺฉนโจลานิ อธิฏฺ ามิ”

ผา้ เป็นบริขาร “อิมานิ ปริกฺขารโจลานิ อธฏิ ฺามิ”

ถ้าของอยหู่ า่ งตัว พึงใชอ้ ธิษฐานนอกหัตถบาสลั่นวาจาตามแบบนัน้ แตเ่ ปลีย่ นบทวา่ “อมิ ํ”

เป็น “เอตํ” เปลย่ี นบทวา่ “อิมานิ” เป็น “เอตาน”ิ

เมื่อจะอธิษฐาน ถ้าเป็นบริขารท่ีก�ำหนดให้มีแต่ส่ิงเดียวของเดิมมีอยู่แล้ว จะเปล่ียนใหม่

ตอ้ งเลกิ ของเดมิ เสยี กอ่ น ยกเลกิ บรขิ ารเดมิ ทา่ นเรยี กวา่ ปจั จทุ ธรณ์ หรอื ถอนอธษิ ฐาน มแี บบวางไว้

แสดงผ้าสงั ฆาฏิเปน็ ตัวอยา่ ง วา่ ดังน้ี

“อมิ ํ สงฺฆาฏึ ปจฺจทุ ฺธราม”ิ

ยกเลิกบริขารอ่ืน พึงเปลี่ยนตามช่ือถ้าเป็นบริขารที่จะใช้นุ่งห่ม พึงย้อมให้ได้สี และ

ท�ำพินทกุ ปั ปะ ตามแบบอันกลา่ วแลว้ กอ่ นจงึ อธษิ ฐาน

วกิ ปั

ผ้านอกจากของอธษิ ฐานมปี ระมาณเพยี งยาว ๘ นวิ้ กว้าง ๔ นิ้ว พอเป็นช้ินใชป้ ระกอบเปน็
จีวรได้ เรยี กว่า อติเรกจวี ร ภกิ ษมุ เี ป็นสทิ ธขิ องตนได้เพียง ๑๐ วัน มเี กนิ ก�ำหนดนน้ั ไปมีสิกขาบท
ปรบั อาบัติปาจติ ตีย์ท่ีใหส้ ละของนัน้ เสีย ภกิ ษปุ รารถนาจะเอาไว้ใช้

112

วดั ปา่ ดานวิเวก

นอกจากการอธษิ ฐาน พงึ ทำ� ใหเ้ ปน็ ของ ๒ เจา้ ของในระหวา่ งตนกบั ภกิ ษอุ นื่ เรยี กวา่ วกิ ปั
วิกปั แก่สามเณรทา่ นกอ็ นุญาต แต่ทำ� กนั มากในระหวา่ งภิกษดุ ้วยกัน

วิกปั มี ๒ คือ

๑. วิกปั ตอ่ หนา้ คือ วกิ ปั ต่อหน้าผ้รู บั ในหัตถบาส
จีวรผนื เดยี ว ว่า “อมิ ํ จวี รํ ตุยฺหํ วิกปฺเปมิ”
จวี รหลายผนื ว่า “อมิ านิ จวี รานิ ตยุ หฺ ํ วกิ ปเฺ ปม”ิ
บาตรใบเดยี ว วา่ “อิมํ ปตตฺ ํ ตุยหฺ ํ วกิ ปเฺ ปมิ”
บาตรหลายใบ วา่ “อิเม ปตฺเต ตยุ หฺ ํ วกิ ปเฺ ปมิ”
๒. วิกปั ลับหลัง คือ วิกปั ใหส้ หธรรมกิ รูปใดรปู หนึ่ง ผู้ไม่ได้อยู่เฉพาะหนา้ ล่นั วาจาต่อหน้า
สหธรรมิกรูปอื่น ในที่นี้จักไม่ขอกล่าวโดยละเอียด ในทางปฏิบัติที่ท�ำกันมา ใช้วิกัปต่อหน้าก็
เพยี งพอให้ส�ำเรจ็ ประโยชน์ตามตอ้ งการไดแ้ ล้ว
วกิ ปั ต่อหน้า ถ้าของอย่นู อกหตั ถบาส ใหว้ า่
“อิตํ” แทน “อิมํ”
“เอตานิ” แทน “อมิ าน”ิ
“เอเต” แทน “อิเม”
จีวรท่ีวิกัปไว้ จะบริโภคต้องขอให้ผู้รับถอนก่อน ไม่ท�ำอย่างน้ันแล้วบริโภค มีสิกขาบท
ปรบั อาบัตปิ าจติ ตีย์
ค�ำถอนวิกปั ตอ่ หน้า ในหตั ถบาส ว่าดังน้ี :-
ผู้ถอนแก่กวา่
จวี รผืนเดียว “อิมํ จวี รํ มยฺหํ สนฺตกํ ปรภิ ุญชฺ วา วสิ ชเฺ ชหิ วา ยถาปจจฺ ยํ วา กโรห”ิ
จีวรหลายผนื “อมิ านิ จวี รานิ มยฺหํ สนฺตกานิ ปริภญุ ฺช วา วิสชฺเชหิ วา ยถาปจฺจยํ วา
กโรหิ”

113

วดั ปา่ ดานวเิ วก

ผูถ้ อนออ่ นกวา่

จวี รผืนเดยี ว “อมิ ํ จวี รํ มยหฺ ํ สนตฺ กํ ปริภุญชฺ วา วิสชฺเชหิ วา ยถาปจจฺ ยํ วา กโรถ”
จีวรหลายผืน “อิมานิ จวี รานิ มยหฺ ํ สนตฺ กานิ ปรภิ ญุ ชฺ ถ วา วิสชเฺ ชถ วา ยถาปจฺจยํ วา
กโรถ”
ถ้าถอนนอกหตั ถบาส พงึ เปล่ียน
“เอตํ” แทน “อิม”ํ
“เอตาน”ิ แทน “อิมานิ”
นอกนั้นคงว่าอยา่ งเดยี วกนั กับถอนในหตั ถบาส
บาตรที่วิกัปไว้แล้ว ไม่มีก�ำหนดให้ถอนก่อนจึงบริโภคพึงใช้เป็นของวิกัปเถิด แต่เมื่อ
จะอธิษฐานพึงให้ถอนก่อน ค�ำที่จะพึงใช้เปลี่ยนแปลงไปตามชื่อของก็ดี ตามจ�ำนวนของก็ดี
ตามฐานะที่ของตง้ั อย่กู ็ดี พงึ เทียบเคยี งกบั คำ� ถอนวกิ ปั จวี รเถิด

ค�ำเสยี สละไตรจวี รล่วงราตรี

จีวรเป็นนิสสัคคีย์ เพราะอยู่ปราศจากเขตล่วงราตรีนั้นพึงสละแก่สงฆ์ก็ได้ แก่คณะก็ได้
แกบ่ ุคคลกไ็ ด้
ค�ำเสยี สละแก่บุคคล วา่ ดงั น้ี :-
“อทิ ํ เม ภนฺเต จีวรํ รตฺตวิ ปิ ปฺ วตุ ฺถํ อญฺตฺร ภิกฺขุสมมฺ ตยิ า นิสฺสคคฺ ยิ ,ํ อิมาหํ อายสมฺ โต
นิสสฺ ชชฺ ามิ”
ถ้าเสียสละจีวร ๒ ผนื วา่ “ทฺวิจวี รํ”
ถา้ เสียสละทั้ง ๓ ผืน วา่ “ตจิ วี รํ”
ถ้าผเู้ สียสละแก่กวา่ พึงวา่ “อาวุโส” แทน “ภนฺเต”
จีวรเป็นนิสสัคคีย์ ยังไม่ได้สละ บริโภคต้องทุกกฏ สละแล้วได้คืนมา ยังปรารถนาอยู่
พงึ อธิษฐานเป็นไตรจีวรใหม่

114

วัดปา่ ดานวิเวก

เมอ่ื สละนน้ั พงึ ตง้ั ใจสละใหข้ าด แลว้ จงึ แสดงอาบตั ิ ภกิ ษผุ รู้ บั เสยี สละนนั้ หากจะถอื เอาเสยี ที
เดียวเจ้าของเดมิ กไ็ ม่มีกรรมสิทธ์ิท่จี ะเรยี กคนื ได้ แตเ่ ปน็ ธรรมเนียมอนั ดขี องเธอ เม่อื รบั แล้วคนื ให้
เจ้าของเดิม ไมท่ �ำอย่างน้นั ตอ้ งทกุ กฏ
ค�ำคนื ให้ ว่าดังน้ี :-
จวี รผืนเดยี ว “อิมํ จีวรํ อายสมฺ โต ทมมฺ ิ”
จีวรหลายผนื “อมิ านิ จวี รานิ อายสฺมโต ทมมฺ ิ”

ค�ำเสียสละอติเรกจวี รลว่ ง ๑๐ วัน

ค�ำเสยี สละแกบ่ คุ คล ของอยใู่ นหตั ถบาส วา่ ดงั น้ี :-
จีวรผืนเดียว “อิทํ เม ภนฺเต จีวรํ ทสาหาติกฺกนฺตํ นิสฺสคฺคิยํ, อิมาหํ อายสฺมโต
นิสฺสชฺชาม”ิ
จีวรหลายผืน “อิมานิ เม ภนฺเต จีวรานิ ทสาหาติกฺกนฺตานิ นิสฺสคฺคิยานิ, อิมานาหํ
อายสมฺ โต นสิ สฺ ชชฺ ามิ”

ถา้ สละของอยนู่ อกหตั ถบาสว่า
“เอตํ” แทน “อิท”ํ
“เอตาหํ” แทน “อิมาห”ํ
“เอตาน”ิ แทน “อิมานิ”
“เอตานาห”ํ แทน “อมิ านาห”ํ
ถ้าผู้เสียสละแก่พรรษากว่าผรู้ บั ให้ว่า “อาวุโส” แทน “ภนฺเต”
ค�ำคนื ให้ ว่าดังนี้ :-
จีวรผืนเดียว “อมิ ํ จวี รํ อายสมฺ โต ทมมฺ ”ิ
จวี รหลายผืน “อิมานิ จีวรานิ อายสฺมโต ทมมฺ ”ิ
ถา้ ของอยู่นอกหัตถบาส พงึ เปล่ียนโดยนยั ดงั กล่าวแลว้ น้นั

115

วัดปา่ ดานวเิ วก

ค�ำเสยี สละอติเรกบาตรล่วง ๑๐ วนั

บาตร เป็นของทรงอนุญาตให้เป็นบริขารของภิกษุเฉพาะใบเดียว เรียกบาตรอธิษฐาน
บาตรตัง้ แตใ่ บท่ี ๒ ขนึ้ ไป เรยี กอตเิ รกบาตร ภกิ ษใุ หล้ ่วง ๑๐ วนั ไป เป็น นิสสคั คิยปาจติ ตยี ์
ค�ำเสียสละแกบ่ ุคคล ของอยใู่ นหัตถบาส วา่ ดงั นี้ :-

บาตรใบเดียว “อยํ เม ภนเฺ ต ปตฺโต ทสาหาติกกฺ นโฺ ต นิสสฺ คฺคิโย, อิมาหํ อายสมฺ โต
นสิ ฺสชชฺ าม”ิ

ถา้ ผเู้ สยี สละแก่พรรษากว่าผูร้ ับให้ว่า “อาวุโส” แทน “ภนเฺ ต”
ค�ำคืนให้ ว่าดังนี้ :-
บาตรใบเดียว “อิมํ ปตตฺ ํ อายสมฺ โต ทมฺมิ”

วิธีแสดงอาบตั ิ

โทษที่เกิดเพราะความละเมิด ในข้อทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ห้ามเรียกวา่ อาบัติ โดยต้นเค้าแบ่งเป็น ๒
๑. อเตกจิ ฉาบัติ เปน็ อาบตั ิท่ีแก้ไขไมไ่ ด้ เรียกโดยชื่อวา่ ปาราชกิ ตอ้ งเข้าแล้ว เปน็ ขาด
จากภกิ ษุภาพไมม่ สี งั วาสกบั สงฆ์อีก
๒. สเตกจิ ฉาบัติ เป็นอาบตั ทิ ยี่ งั แกไ้ ขได้ แจกออกไปเปน็ ๒ ประการ คือ
๒.๑ ครกุ าบัติ เป็นอาบตั หิ นัก โดยชอื่ วา่ สงั ฆาทเิ สส มวี ธิ ีปลดเปลื้องส�ำเร็จด้วยสงฆ์
๒.๒ ลหกุ าบตั ิ เป็นอาบัตเิ บา ต่างโดยชื่อว่า ถลุ ลัจจัย ปาจติ ตยี ์ ปาฏิเทสะนยี ะ ทกุ กฏ
ทพุ ภาสิต เบากวา่ กนั ลงมาโดยลำ� ดับมวี ธิ ปี ลดเปลอ้ื งดว้ ยการแสดง คอื เปดิ เผยแก่ภกิ ษุอ่นื แม้เพียง
รปู เดียวได้

116

วัดปา่ ดานวิเวก

วิธแี สดงอาบตั ิ ๓ อย่าง คือ

๑. แสดงอาบตั ติ ัวเดียว วตั ถอุ ย่างเดียว

๒. แสดงอาบัตหิ ลายตวั วตั ถุเดยี วกัน

๓. แสดงอาบตั หิ ลายตวั ต่างวตั ถกุ ัน

๑. แสดงอาบัติตวั เดียว วตั ถอุ ยา่ งเดยี ว

ผูแ้ สดงแกก่ ว่า วา่ “อหํ อาวโุ ส เอกํ.......อาปตตฺ ึ อาปนฺโน ตํ ปฏเิ ทเสมิ.”

ผ้แู สดงออ่ นกว่า วา่ “อหํ ภนฺเต เอกํ .......อาปตฺตึ อาปนโฺ น ตํ ปฏิเทเสม.ิ ”

ทลี่ งจดุ ไว้นน้ั สำ� หรับออกชือ่ อาบตั ดิ งั ตอ่ ไปนี้ :-

ถุลลฺ จจฺ ยํ สำ� หรับอาบัติ ถลุ ลจั จัย

นิสฺสคฺคิยํ ปาจิตตฺ ิยํ ” ” ปาจติ ตยี ์ทใ่ี หส้ ละของ

ปาจิตฺตยิ ํ ” ” ปาจิตตยี ล์ ้วน

ทกุ กฺ ฏํ ” ” ทกุ กฏ

ทพุ ฺภาสิตํ ” ” ทุพภาสิต

๒. แสดงอาบัตหิ ลายตวั วัตถุเดยี วกัน

ผู้แสดงแก่กวา่ ว่า “อหํ อาวโุ ส สมฺพหุลา.......อาปตฺตโิ ย อาปนโฺ น ตา ปฏเิ ทเสม”ิ

ผ้แู สดงอ่อนกวา่ วา่ “อหํ ภนฺเต สมพฺ หลุ า.......อาปตตฺ โิ ย อาปนโฺ น ตา ปฏเิ ทเสมิ”

ท่ลี งจดุ ไว้นั้นออกชื่ออาบตั ิดงั ตอ่ ไปนี้ :-

ถลุ ลฺ จฺจยาโย ส�ำหรบั อาบตั ิ ถุลลจั จยั

นสิ สฺ คคฺ ยิ าโย ปาจติ ตฺ ยิ าโย ” ” ปาจิตตยี ์ทใี่ หส้ ละของ

ปาจิตตฺ ิยาโย ” ” ปาจิตตีย์ล้วน

ทกุ ฺกฏาโย ” ” ทกุ กฏ

ทุพภฺ าสิตาโย ” ” ทุพภาสิต

117

วดั ป่าดานวเิ วก

๓. แสดงอาบัติหลายตัว ต่างวัตถุกัน
ผู้แสดงแก่กวา่ วา่ “อหํ อาวุโส สมฺพหุลา นานาวตฺถุกาโย......อาปตฺติโย อาปนฺโน
ตา ปฏเิ ทเสม”ิ
ผ้แู สดงอ่อนกว่า วา่ “อหํ ภนฺเต สมฺพหุลา นานาวตฺถุกาโย......อาปตฺติโย อาปนฺโน
ตา ปฏเิ ทเสมิ”

ที่ลงจุดไว้นัน้ ส�ำหรบั ออกชอื่ อาบตั ิ ใชช้ ื่ออย่างเดยี วกับที่ใชใ้ นวิธีแสดงที่ ๒ ยกเว้นอาบตั ิ
ทพุ ภาสติ ซง่ึ ตอ้ งเพราะพดู ลอ้ กนั อยา่ งเดยี ว ไมม่ ตี า่ งวตั ถใุ ชแ้ สดงแบบอาบตั หิ ลายตวั วตั ถเุ ดยี วกนั
วธิ แี สดงอาบตั ทิ งั้ ๓ วธิ ี จะตา่ งกนั เฉพาะตอนผแู้ สดงวา่ ออกชอื่ อาบตั ใิ นประโยคแรกเทา่ นนั้
ประโยคตอ่ ไปวา่ เหมือนกนั ดงั นี้ :-
ผู้รบั แกก่ ว่า พึงว่า “ปสสฺ สิ้ อาวโุ ส”
ผรู้ บั อ่อนกว่า พึงวา่ “ปสสฺ ถ ภนเฺ ต”
ผแู้ สดง แก่กว่า พงึ ว่า “อาม อาวุโส ปสฺสาม”ิ
ผ้แู สดง อ่อนกวา่ พงึ ว่า “อาม ภนเฺ ต ปสสฺ าม”ิ
ผูร้ ับ แก่กว่า พึงวา่ “อายตึ อาวโุ ส สวํ เรยฺยาสิ”
ผรู้ บั อ่อนกว่า พึงว่า “อายตึ ภนเฺ ต สวํ เรยฺยาถ”
ผ้แู สดง แกก่ วา่ พึงวา่ “สาธุ สฏุ ฐฺ ุ อาวโุ ส สวํ รสิ ฺสาม”ิ
ผู้แสดง ออ่ นกวา่ พึงวา่ “สาธุ สฏุ ฐฺ ุ ภนฺเต สวํ รสิ ฺสาม”ิ
อาบัติวัตถุเดียวกัน ภิกษุต้องเหมือนกัน เช่น มีอติเรกจีวรล่วง ๑๐ วันด้วยกัน เรียกว่า
สภาคาบัติ แปลว่า อาบัติมีส่วนเสมอกัน ห้ามไม่ให้แสดง ห้ามไม่ให้รับต่อกัน ถ้าขืนท�ำท่าน
ปรับทกุ กฏท้งั ผู้แสดงและผู้รับ แตท่ ่านยอมรับวา่ อาบัตนิ ัน้ เป็นอันแสดงแล้ว
อนึ่ง การแสดงอาบัติ ทา่ นใหแ้ สดงโดยควรแกช่ อ่ื แกว่ ัตถุแก่จำ� นวน แสดงผิดชอ่ื ใช้ไมไ่ ด้
แสดงผิดวัตถุและผิดจ�ำนวนข้างมากแสดงเป็นน้อยใช้ไม่ได้ ข้างน้อยพล้ังเป็นมาก เช่น อาบัติ
ตวั เดียว แสดงวา่ “สมพฺ หลุ า” หรอื วัตถเุ ดยี ว แสดง “นานาวตฺถุกาโย” เช่นน้ีใชไ้ ด้

118

วัดป่าดานวิเวก

อาการทีภ่ ิกษุจะต้องอาบตั ิมี ๖ อยา่ ง คอื

๑. ตอ้ งดว้ ยไมล่ ะอาย
๒. ต้องด้วยไม่รวู้ ่าส่ิงน้ีจะเป็นอาบตั ิ
๓. ตอ้ งด้วยสงสัยแล้วขนื ทำ�
๔. ตอ้ งด้วยส�ำคญั วา่ ควรในของท่ไี มค่ วร
๕. ต้องด้วยส�ำคญั วา่ ไม่ควรในของทีค่ วร
๖. ตอ้ งด้วยลืมสติ

นิสัย

ภิกษุมีพรรษาหย่อน ๕ จัดเป็นนวกะผู้ใหม่ ต้องถือภิกษุรูปใดรูปหนึ่งเป็นอุปัชฌายะ
และอาศัยภิกษุรูปน้ันอยู่รับโอวาทอนุศาสน์ของภิกษุนั้น ในครั้งแรกท่ีทรงอนุญาตอุปัชฌายะ
ภิกษุผ้อู ปุ สมบทอยแู่ ล้ว แต่หย่อน ๕ พรรษา กจ็ �ำถอื อุปชั ฌายะ
ค�ำขอนสิ ยั อุปัชฌายะ ว่าดงั นี้ :-
“อุปชฺฌาโย เม ภนเฺ ต โหหิ” ๓ หน
เมือ่ ภกิ ษุผู้ท่ีนวกะนน้ั ขออาศยั รับว่า “สาหุ” , “ลห”ุ , “โอปายกิ ํ” , “ปฏริ ปู ํ” , “ปาสาทเิ กน
สมปฺ าเทห”ิ บทใดบทหนึง่ ๓ ครั้ง เว้นระยะใหภ้ ิกษุผขู้ อนสิ ัยตอบรับว่า “สาธุ ภนเฺ ต” ทกุ บทไป
เป็นอันถืออุปัชฌายะแล้ว ภิกษุผู้รับให้พึ่งพิงได้ชื่อว่า “อุปัชฌายะ” ภิกษุผู้พึ่งพิงได้ช่ือว่า
“สทั ธิวหิ าริก” กริ ยิ าทพ่ี ง่ึ พิงเรยี กว่า “นิสัย”
แต่นน้ั ผู้ขอนสิ ยั พงึ กลา่ วรับเปน็ ธรุ ะให้ท่านสืบไปวา่
“อชฺชตคฺเคทานิ เถโร, มยฺหํ ภาโร, อหมฺปิ เถรสสฺ ภาโร” ๓ หน
ภกิ ษุผ้ไู มไ่ ด้อย่ใู นปกครองของอปุ ชั ฌายะ ต้องถือภกิ ษุอืน่ เป็นอาจารย์ และอาศัยทา่ นแทน
อุปัชฌายะ

119

วดั ป่าดานวเิ วก

วธิ ถี อื อาจารย์กเ็ หมือนกบั วิธีถืออปุ ัชฌายะ ต่างแต่ค�ำขอวา่
“อาจริโย เม ภนเฺ ต โหหิ, อายสมฺ โต นสิ ฺสาย วจฉฺ าม”ิ ๓ หน
ภกิ ษผุ รู้ บั ใหพ้ งึ่ พงิ ไดช้ อื่ วา่ “อาจารย”์ ภกิ ษผุ อู้ งิ อาศยั ไดช้ อื่ วา่ “อนั เตวาสกิ ” ภกิ ษมุ พี รรษา
หย่อน ๕ เป็นนวกะอยู่แม้เป็นผู้มีความรู้ทรงธรรมทรงวินัย จะไม่ถือนิสัยอยู่ในปกครองของ
อุปัชฌายะหรือของอาจารย์ไม่ชอบ ทรงห้ามไว้ ภิกษุเดินทาง ภิกษุผู้ไข้ ภิกษุผู้เข้าป่าเพื่อเจริญ
สมณธรรมช่ัวคราว ในทใี่ ดหาท่านผู้ใหน้ ิสัยไม่ได้ และมีเหตขุ ัดขอ้ งที่จะไปอยู่ในทอ่ี ่ืนไม่ไดจ้ ะอยู่
ในท่ีนั้นด้วยผกู ใจวา่ เมื่อใดมที า่ นผใู้ หน้ สิ ัยไดม้ าอยู่ จกั ถือนิสัยในทา่ นนน้ั กใ็ ช้ได้
ภิกษุผู้มีพรรษาได้ ๕ แล้ว แต่ยังหย่อน ๑๐ มีองคสมบัติพอรักษาตนผู้อยู่ตามล�ำพังได้
ทรงพระอนุญาตให้พ้นจากนิสัยอยู่ตามล�ำพังได้เรียกว่า “นิสสัยมุตตะกะ” ฝ่ายภิกษุผู้มีความรู้
ไมพ่ อจะรักษาตนแมพ้ ้น ๕ พรรษาแล้ว ก็ต้องถอื นสิ ัย

จ�ำพรรษา

เป็นธรรมเนียมของภิกษุ เม่ือถึงฤดูฝน หยุดอยู่ที่เดียวไม่เท่ียวไปไหน ๓ เดือนต้นฤดู
เรียกว่า จ�ำพรรษา ถงึ วนั เข้าพรรษา พึงเขา้ ไปประชมุ อธิษฐานพรรษาพร้อมดว้ ยสงฆ์ในอโุ บสถ
หรือในวหิ าร
ค�ำอธษิ ฐานพรอ้ มกัน วา่ ดังนี้
“อมิ สมฺ ึ อาวาเส, อิมํ เตมาสํ, วสฺสํ อุเปม”
ค�ำอธษิ ฐานทีละรูป ว่าดังน้ี
“อิมสฺมึ อาวาเส, อิมํ เตมาสํ, วสฺสํ อุเปมิ”
เม่ืออธิษฐานพึงผูกใจว่าจักอยู่ค้างคืนในเขตอาวาสตลอด ๓ เดือน ถ้าภิกษุท�ำกุฏิอยู่
จ�ำพรรษาในป่าเฉพาะรปู ควรก�ำหนดเขตเฉพาะกฏุ กิ บั บรเิ วณแลว้ กล่าวคำ� อธษิ ฐานพรรษาวา่
“อิมสฺมึ วหิ าเร, อิมํ เตมาสํ, วสสฺ ํ อุเปมิ”

120

วดั ป่าดานวเิ วก

ถึงวันเข้าพรรษา ไม่เข้าพรรษา เที่ยวเร่ร่อนไปเสียไม่สมควร เข้าพรรษาแล้วต้องอยู่
แรมคนื ตลอด ๓ เดอื น ถา้ มเี หตจุ ำ� เป็นทรงอนุญาตให้ไปได้ แต่ใหก้ ลับมาภายใน ๗ วันเรียกว่า
ไปด้วยสัตตาหกรณียะ เช่นนี้พรรษาไม่ขาด ถ้าไปเสียด้วยไม่คิดกลับ หรือคิดจะกลับแต่เกิน
๗ วันไป พรรษาขาดไม่เข้าพรรษาหรือขาดพรรษาเพราะมีเหตุไม่จ�ำเป็น ถือเป็นการละเมิด
ธรรมเนยี ม ถูกปรับอาบัติทกุ กฏ

ค�ำสัตตาหะ

สตฺตาหกรณียํ กิจจฺ ํ เม อตฺถ,ิ ตสฺมา มยาคนตฺ พพฺ ,ํ อิมสฺมึ สตฺตาหพภฺ นตฺ เร นวิ ตตฺ สิ สฺ าม.ิ
แปลวา่ กิจที่ต้องทำ� สัตตาหะของผมมอี ยู่ เพราะฉะนนั้ ผมจำ� ต้องไป ผมจกั กลบั มาภายใน
๗ วนั น้ี

อานสิ งสจ์ �ำพรรษา

ภิกษุผู้อยู่จ�ำพรรษาตลอดกาลจนได้ปวารณาแล้ว ย่อมได้อานิสงส์แห่งการจ�ำพรรษา
นับแต่วนั ปาฏิบทไปเดอื นหน่งึ คอื
๑. เท่ยี วไปไม่ต้องบอกลา ตามสกิ ขาบทท่ี ๖ แหง่ อเจลกวรรคในปาจติ ติยกัณฑ์
๒. เทีย่ วจารกิ ไปไม่ตอ้ งถอื เอาไตรจวี รไปครบส�ำรับ
๓. ฉันคณโภชน์ และปรัมปรโภชน์ได้
๔. เกบ็ อติเรกจวี รไว้ได้ตามปรารถนา
๕. จีวรอันเกดิ ขึ้นในท่นี ัน้ เปน็ ของได้แก่พวกเธอทั้งหลาย
ทงั้ ไดโ้ อกาสเพอ่ื จะกรานกฐนิ และไดร้ บั อานสิ งส์ ๕ ขา้ งตน้ นน้ั เพมิ่ ออกไปอกี ๔ เดอื นตลอด
ฤดูเหมันต์

121

วัดปา่ ดานวิเวก

ระเบยี บ

ค�ำขอขมาโทษต่อท่านผ้คู วรเคารพ

ค�ำขอขมาพระรัตนตรัย

รตนตฺตเย ปมาเทน, ทฺวารตฺตเยน กต,ํ สพฺพํ อปราธํ ขมตุ โน ๑ ภนเฺ ต.

ค�ำขอขมาพระเถระ

เถเร ปมาเทน, ทวฺ ารตตฺ เยน กตํ, สพฺพํ อปราธํ ขมตุ โน ภนฺเต.

ค�ำขอขมาพระอปุ ชั ฌาย์

อปุ ชฌฺ าเย ปมาเทน, ทวฺ ารตฺตเยน กตํ, สพฺพํ อปราธํ ขมตุ โน ภนฺเต.

ค�ำขอขมาพระอาจารย์

อาจรเิ ย ปมาเทน, ทฺวารตฺตเยน กต,ํ สพฺพํ อปราธํ ขมตุ โน ภนเฺ ต.

ค�ำขอขมาพระสงฆ์

สงฺเฆ ปมาเทน, ทวฺ ารตตฺ เยน กตํ, สพพฺ ํ อปราธํ ขมตุ โน ภนฺเต.

ค�ำขอขมาบคุ คลทั่วไป

อายสฺมนเต ปมาเทน, ทวฺ ารตตฺ เยน กต,ํ สพพฺ ํ อปราธํ ขมตุ โน ภนเฺ ต.

ค�ำขอขมาโทษบิดามารดา

มาตาปิตเร ปมาเทน, ทฺวารตตฺ เยน กตํ, สพฺพํ อปราธํ ขมตุ โน ภนเฺ ต.

๑ ถา้ คนเดียววา่ ขมถ เม

122

วดั ป่าดานวิเวก

ค�ำขอขมารวม

รตนตฺตเย ปมาเทน, ทวฺ ารตตฺ เยน กต,ํ สพพฺ ํ อปราธํ ขมตุ โน ภนเฺ ต.
อาจริเย ปมาเทน, ทฺวารตตฺ เยน กต,ํ สพฺพํ อปราธํ ขมตุ โน ภนฺเต.
มาตาปติ เร ปมาเทน, ทวฺ ารตตฺ เยน กตํ, สพพฺ ํ อปราธํ ขมตุ โน ภนเฺ ต.
กรรมชว่ั อนั ใดทเี่ ปน็ บาปอกศุ ล อนั ขา้ พเจา้ ไดป้ ระมาทพลาดพลง้ั ลว่ งเกนิ ในคณุ พระพทุ ธเจา้
พระธรรม พระสงฆ์ ในครบู าอาจารย์ ตลอดทง้ั บดิ ามารดา ปู่ยา่ ตายาย สามภี รรยาของขา้ พเจ้า
ดว้ ยกาย วาจา ใจ ทั้งต่อหน้าและลบั หลงั จ�ำได้หรอื จำ� ไมไ่ ด้กด็ ี ทงั้ ทมี่ ีเจตนาหรือหาเจตนาไมไ่ ด้
ขอใหท้ า่ นผมู้ พี ระคณุ ทงั้ หลายเหลา่ นนั้ จงลแุ กโ่ ทษ โปรดอโหสกิ รรมใหข้ า้ พเจา้ เพอื่ ไมใ่ หเ้ ปน็ บาป
เป็นเวร เป็นกรรมตอ่ ไปอกี ขอความสุขความเจริญ ความปราศจากโรคภยั ไข้เจบ็ เสนยี ด จัญไร
อันตรายใดๆ อย่าไดม้ าพอ้ งพาน ความมโี ชค มชี ยั จงเกดิ จงมแี ก่ข้าพเจา้ ตั้งแตว่ นั นเ้ี ป็นต้นไป
ตลอดกาลนานเทอญฯ สาธุ
เม่อื จะขอขมาโทษจากผู้ใด ให้กราบ ๓ คร้งั ก่อน แลว้ ว่า นโมฯ ๓ จบ ตอ่ ไป กลา่ วคำ�
ขอขมา ๓ จบ แล้วหมอบลงว่า “ขมาม ภนฺเต” ตามระยะค�ำบาลีท่านอโหสิว่า “อหํ ขมามิ,
ตุเมหฺ หิปิ เม ขมติ พฺพํ”

ขอขมา

ในพระพุทธศาสนา มักนิยมว่า ผู้ใดท�ำล่วงเกินผู้อ่ืน ผู้นั้นไม่ควรท�ำเลยตามเลย
เมื่อรูส้ กึ ตัวแล้วพึงขอโทษ เรียกวา่ ขอขมา แปลวา่ ขอใหอ้ ดโทษ และผใู้ ดถูกลว่ งเกิน และได้รบั
ขอขมา ผู้น้ันไม่ควรถือโกรธไม่รู้หาย พึงรับขมายอมอดโทษให้ การขอขมาจึงเป็นธรรมเนียม
ท�ำกันสืบมา ในวันเข้าพรรษา และในวันต่อจากนั้นตามกาล อยู่ในวัดเดียวกันหรือในต่างวัด
เป็นกจิ อันผ้นู อ้ ยทำ� แกผ่ ใู้ หญ่ แม้ไมเ่ คยได้ลว่ งเกนิ กนั ก็ยงั ทำ� อยู่

123

วัดปา่ ดานวิเวก

ค�ำขอขมา วา่ ดังน้ี :-
ผ้ขู อขมารปู เดียว “เถเร ปมาเทน, ทฺวารตฺตเยน กต,ํ สพพฺ ํ อปราธํ ขมถ เม ภนเฺ ต”
ผรู้ ับขมาว่า “อหํ ขมาม,ิ ตยาปิ เม ขมิตพฺพํ”
ผขู้ อขมารปู เดียวรบั วา่ “ขมามิ ภนเฺ ต”
ผ้ขู อขมาหลายรูปว่า “เถเร ปมาเทน, ทวฺ ารตตฺ เยน กตํ, สพพฺ ํ อปราธํ ขมตุ โน ภนเฺ ต”
ผู้รับขมาว่า “อหํ ขมาม,ิ ตเุ มฺหหิปิ เม ขมติ พฺพํ”
ผขู้ อขมาหลายรูปรับว่า “ขมาม ภนเฺ ต”
ถ้าผรู้ บั ขมา เปน็ พระมหาเถระผมู้ อี าวโุ สมาก พึงใช้ค�ำว่า “มหาเถเร” รองจากน้ันลงมา
วา่ “เถเร” รองลงมาอีกวา่ “อาจรเิ ย” ต�ำ่ กวา่ นนั้ วา่ “อายสมฺ นเฺ ต” พึงเลอื กใช้คำ� ให้เหมาะสมกบั
บุคคล ผรู้ บั ขมา
เป็นธรรมเนียมท่ีผู้รับขมาต้องกล่าวค�ำให้พร ฉะน้ันเมื่อขอขมาแล้ว ผู้ขอขมาพึงหมอบ
รอรับพรจากทา่ น เมอ่ื ทา่ นให้พรจบ รบั ว่า “สาธุ ภนเฺ ต”

ค�ำใหพ้ รเมือ่ มีผู้ขอขมา

เอวํ โหตุ เอวํ โหตุ, โย จ ปุพเฺ พ ปมชฺชิตวฺ า ปจฉฺ า โส นปฺปมุจจฺ ต,ิ โสมํ โลกํ ปภาเสติ
อาภา มุตโฺ ต ว จนฺทมิ า, ยสฺส ปาปํ กตํ กมฺมํ กุสเลน ปหิยฺยต,ิ โสมํ โลกํ ปภาเสติ อาภา มุตโฺ ต ว
จนทฺ มิ า, อภวิ าทนสีลิสสฺ นิจฺจํ วุฑฺฒาปจายโิ น, จตฺตาโร ธมมฺ า วฑฺฒนฺติ อายุ วณโฺ ณ สุขํ พลํ.

124

วดั ป่าดานวิเวก

อุโบสถ

อโุ บสถ วา่ โดยบคุ คลผ้ทู �ำมี ๓
๑. สังฆอโุ บสถ คือ ภกิ ษุประชุมกนั ต้ังแต่ ๔ รปู ขนึ้ ไปมพี ระพุทธานุญาตให้สวดปาฏโิ มกข์
ภิกษุผู้จะเข้าฟังปาฏิโมกข์ต้องช�ำระตนให้บริสุทธิ์จากอาบัติที่เป็นเทศนาคามินี คือแก้ได้ด้วย
การแสดง ส่วนอาบตั ิทเ่ี ปน็ วุฏฐานะคามนิ ี จะพ้นได้ด้วยอยู่กรรมคอื สังฆาทเิ สส ท่านให้บอกไวแ้ ก่
ภกิ ษุแมร้ ปู หนง่ึ วา่ ขา้ พเจ้าต้องอาบัติสังฆาทิเสส มีวัตถอุ ยา่ งนัน้ ๆ แล้วฟงั ปาฏิโมกขไ์ ด้
ก�ำลังสวดปาฏโิ มกข์คา้ งอยู่ มภี ิกษุพวกอ่นื มาถึงเขา้ ถา้ มากกวา่ ภกิ ษุผ้ชู มุ นุมอยู่ ทา่ นให้
สวดตัง้ ต้นใหม่ แต่ถ้าเท่ากนั หรอื นอ้ ยกว่า ให้เธอผู้มาใหม่ฟงั สว่ นท่ียงั เหลือตอ่ ไป ถา้ สวดจบแล้ว
จึงมีภิกษุอื่นมาแม้มากกว่า ไม่ต้องกลับสวดอีก ให้เธอผู้มาใหม่พึงบอกปาริสุทธิในส�ำนักผู้สวด
ผู้ฟังปาฏิโมกขแ์ ลว้
ค�ำแสดงปารสิ ุทธเิ ป็นการสงฆ์ วา่ ดังนี้ :-
ปริสทุ โฺ ธ อหํ ภนฺเต, ปริสทุ ฺโธติ มํ สงฺโฆ ธาเรตุ.
ถ้าผู้แสดงมพี รรษาแก่กว่าภิกษุทงั้ หมด ใชค้ �ำวา่ “อาวโุ ส” แทน “ภนฺเต”

ค�ำขอโอกาสสวดปาฏิโมกขแ์ ละต้ังญัตตปิ วารณา

ก่อนจะข้ึนอาสนะเพ่ือสวดปาฏิโมกข์หรือตั้งญัตติปวารณา ผู้สวดต้องนั่งกระโหย่ง
ประนมมือต่อหนา้ คณะสงฆ์ กล่าวว่า
โอกาสํ เม ภนเฺ ต เถโร เทตุ, ปาฏโิ มกฺขํ อุทฺเทสิตุํ. (ปาฏโิ มกข์)
หรือ โอกาสํ เม ภนเฺ ต เถโร เทต,ุ วินยกถํ กเถตุ.ํ (ปาฏโิ มกข์)
โอกาสํ เม ภนฺเต เถโร เทต,ุ ปวารณาตตฺ ึ เปตํุ. (ปวารณา)
ถ้าในคณะสงฆ์น้ันไม่มีภิกษุเกิน ๑๐ พรรษา อาจจะเปล่ียน “เถโร” เป็น “สงฺโฆ”
ก็ได้ และเมอ่ื สวดบพุ พกิจจบตอ้ งให้ผู้อาวโุ สในท่ีน้นั กล่าวค�ำอัชเฌสนาเสียกอ่ นจงึ จะเริ่มสวดได้
ถ้าสวดโดยไม่มีผู้กล่าวเชิญผสู้ วดจะต้องอาบตั ิทกุ กฏ

125

วดั ป่าดานวิเวก

วธิ สี วดปาฏโิ มกข์ยอ่

สวดนิทานุทเทสตงั้ แต่ สุณาตุ เม ภนเฺ ต สงฺโฆ, ไปจนถึง ผาสุ โหต.ิ แลว้ สวด
อทุ ทฺ ฏิ ฺ  โข อายสมฺ นโฺ ต นิทานํ,
ตตถฺ ายสมฺ นฺเต ปจุ ฉฺ ามิ : กจฺจติ ถฺ ปรสิ ุทธฺ า?
ทตุ ิยมฺปิ ปุจฉฺ ามิ : กจจฺ ติ ฺถ ปรสิ ทุ ธฺ า?
ตติยมฺปิ ปุจฉฺ ามิ : กจฺจติ ฺถ ปริสุทธฺ า?
ปริสุทฺเธตฺถายสฺมนฺโต : ตสมฺ า ตณุ ฺห,ี เอวเมตํ ธารยามิ.
จบนิทานทุ เทสดงั นี้แล้ว อทุ เทสนอกนัน้ ประกาศเอาดว้ ยสุตะ วา่
สตุ า โข อายสมฺ นฺเตหิ จตตฺ าโร ปาราชกิ า ธมฺมา,
สตุ า โข อายสมฺ นฺเตหิ เตรส สงฆฺ าทิเสสา ธมมฺ า,
สตุ า โข อายสมฺ นฺเตหิ เทวฺ อนิยตา ธมฺมา,
สตุ า โข อายสมฺ นฺเตหิ ตึส นสิ สฺ คฺคยิ า ปาจิตตฺ ิยา ธมฺมา,
สตุ า โข อายสมฺ นฺเตหิ เทฺวนวุติ ปาจิตฺตยิ า ธมฺมา,
สตุ า โข อายสมฺ นฺเตหิ จตตฺ าโร ปาฏิเทสนียา ธมฺมา,
สุตา โข อายสมฺ นฺเตหิ เสขยิ า ธมมฺ า,
สุตา โข อายสมฺ นฺเตหิ สตฺตาธกิ รณสมถา ธมฺมา,
เอตตฺ กํ ตสฺส ภควโต สุตตฺ าคตํ สตุ ตฺ ปริยาปนนฺ ํ อนฺวฑฺฒมาสํ อทุ เฺ ทสํ อาคจฺฉต,ิ ตตถฺ
สพฺเพเหว สมคฺเคหิ สมโฺ มทมาเนหิ อวิวทมาเนหิ สกิ ฺขิตพฺพ.ํ
อนึง่ ไม่มีอันตราย ถ้าสวดปาฏโิ มกข์โดยย่อ ทา่ นปรบั อาบัตทิ ุกกฏ อทุ เทสใดสวดค้างอยู่
อันตรายมมี า แม้อทุ เทสนัน้ พงึ ประกาศดว้ ยสุตะ แต่นิทานทุ เทสสวดยงั ไมจ่ บ อยา่ พึงประกาศด้วย
สุตะ พึงสวดให้จบเสียก่อน อุทเทสนอกน้ันพึงประกาศด้วยสุตะ เม่ือไม่มีอันตราย พึงสวด
โดยพสิ ดารจนจบ

126

วดั ปา่ ดานวเิ วก

๒. คณะอโุ บสถ คอื มีภิกษเุ พียง ๓ รปู ๒ รปู ทา่ นห้ามไม่ให้สวดปาฏโิ มกข์ ให้บอก
ความบรสิ ทุ ธข์ิ องตนแก่กนั และกัน ถา้ ภกิ ษอุ ยู่ด้วยกนั ๓ รูป ให้รปู หน่งึ สวดประกาศดว้ ยญตั ติว่า
สุณนฺตุ เม ภนฺเต อายสฺมนฺตา, อชฺชุโปสโถ ปณฺณรโส, ยทายสฺมนฺตานํ ปตฺตกลฺลํ,
มยํ อญฺมญฺ ปารสิ ุทฺธอิ ุโปสถํ กเรยฺยาม.
ถ้าท่านผสู้ วดแกก่ วา่ เพ่ือน พึงกล่าวว่า “อาวุโส” แทน “ภนเฺ ต” ถา้ เป็นวนั ๑๔ ค�่ำ พงึ กลา่ ว
ว่า “จาตุททฺ โส” แทน “ปณฺณรโส” ในล�ำดบั น้ัน ภิกษุผู้เถระพึงบอกความบรสิ ทุ ธ์ขิ องตนวา่
ปรสิ ทุ ฺโธ อหํ อาวโุ ส, ปรสิ ทุ โฺ ธติ มํ ธาเรถ. ๓ หน ภกิ ษนุ อกน้ี กพ็ ึงท�ำอย่างนน้ั ตามล�ำดับ
พรรษา พงึ บอกวา่
ปรสิ ุทฺโธ อหํ ภนเฺ ต, ปริสทุ ฺโธติ มํ ธาเรถ. ๓ หน
ถ้าภกิ ษอุ ย่ดู ว้ ยกัน ๒ รปู ไม่ตอ้ งตงั้ ญตั ติ เปน็ แตบ่ อกปาริสทุ ธิแก่กันและกนั ผ้แู ก่บอกวา่
ปรสิ ุทโฺ ธ อหํ อาวโุ ส, ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรหิ. ๓ หน ผู้อ่อนกวา่ บอกวา่ ปรสิ ุทโฺ ธ อหํ ภนเฺ ต,
ปรสิ ุทโฺ ธติ มํ ธาเรถ. ๓ หน
๓. ปคุ คลอุโบสถ คอื ภิกษุอย่รู ปู เดียว ถึงวนั อโุ บสถ ท่านให้รอภิกษอุ นื่ จนส้นิ เวลา เหน็ วา่
ไมม่ าแล้วให้อธษิ ฐานว่า
อชฺช เม อโุ ปสโถ.

ปวารณา

ในวนั เพ็ญแห่งเดอื นกตั ติกาต้น ท่ีเต็ม ๓ เดอื นนบั แตว่ ันจ�ำพรรษามีพระพุทธานุญาตให้
ภิกษผุ ู้อย่จู �ำพรรษาถว้ นไตรมาสท�ำปวารณาแทนอุโบสถ ปวารณาดว้ ยที่ ๓ สถาน คอื ดว้ ยได้
เหน็ ดว้ ยไดย้ ิน ดว้ ยรังเกียจ ปวารณานัน้ จกั เป็นความอนุโลมแก่กันและกัน และจกั เป็นความยงั
กนั และกนั ให้ออกจากอาบัติ และจักเป็นความทำ� วินัยในเบ้อื งหนา้ แก่กันและกนั แห่งทา่ นทัง้ หลาย
ปวารณา วา่ โดยบคุ คลผทู้ �ำมี ๓

127

วัดป่าดานวเิ วก

๑. สังฆปวารณา คือ ปวารณาเป็นการสงฆจ์ ำ� นวนภิกษุผปู้ ระชุมต้องมี ๕ รูปเปน็ อยา่ งน้อย
มจี �ำนวนมากกว่าอุโบสถ ๑ รูป เข้าใจว่า เมื่อเปน็ ผปู้ วารณา ๑ รปู อีก ๔ รปู จะไดค้ รบองค์เปน็
สงฆ์ ท�ำปวารณาเป็นการสงฆ์ โดยปกตใิ หป้ วารณารูปละ ๓ หน แตถ่ ้ามีเหตุขัดข้องจะปวารณา
รูปละ ๒ หน หรอื ๑ หนกไ็ ด้ หรือพรรษาเทา่ กนั ใหว้ ่าพร้อมๆ กันก็ได้ จะปวารณาอยา่ งไร พงึ
ประกาศแก่สงฆ์ให้รู้ดว้ ยญตั ติกอ่ น
วธิ ีตง้ั ญัตตนิ นั้ พึงร้อู ย่างนี้ :-
๑. ถา้ จะปวารณา ๓ หน พงึ ตัง้ ญตั ตวิ ่า
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อชฺช ปวารณา ปณฺณรสี, ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ, สงฺโฆ
เตวาจกิ ํ ปวาเรยฺย”
๒. ถ้าจะปวารณา ๒ หน พงึ ตงั้ ญตั ติว่า
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อชฺช ปวารณา ปณฺณรสี, ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ, สงฺโฆ
เทวฺ วาจิกํ ปวาเรยฺย”
๓. ถา้ จะปวารณาหนเดยี ว พึงต้ังญัตตวิ ่า
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อชฺช ปวารณา ปณฺณรสี, ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ, สงฺโฆ
เอกวาจกิ ํ ปวาเรยยฺ ”
๔. ถา้ จะจัดภิกษุมีพรรษาเท่ากนั ให้ปวารณาพร้อมกันพงึ ตงั้ ญตั ติวา่
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อชฺช ปวารณา ปณฺณรสี, ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ, สงฺโฆ
สมานวสฺสกิ ํ ปวาเรยฺย”
จะปวารณาพร้อมกนั ๓ หน ๒ หน หรอื หนเดยี วไดท้ ้ังนน้ั
๕. ถ้าจะไมร่ ะบปุ ระการ พึงต้งั ญัตติครอบทว่ั ไปวา่
“สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อชฺช ปวารณา ปณฺณรสี, ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ, สงฺโฆ
ปวาเรยฺย”
จะปวารณากหี่ นกไ็ ด้ แตท่ า่ นห้ามไมใ่ ห้ผมู้ พี รรษาเทา่ กัน ปวารณาพรอ้ มกัน

128

วดั ป่าดานวิเวก

อน่ึง ถ้าผู้ตั้งญัตติมีพรรษามากกว่าเพ่ือน พึงว่า “อาวุโส” แทน “ภนฺเต” และถ้าเป็น
วันปวารณาท่ี ๑๔ พงึ วา่ “จาตทุ ทฺ สี” แทน “ปณฺณรสี”
ครั้นต้งั ญตั ตแิ ลว้ ภิกษุผู้เถระ พงึ นัง่ คุกเข่าประนมมอื กล่าวปวารณาต่อสงฆ์ว่า
สงฺฆํ อาวุโส ปวาเรมิ, ทิฏฺเน วา สุเตน วา ปริสงกฺ าย วา, วทนตฺ ุ มํ อายสฺมนโฺ ต
อนกุ มฺปํ อปุ าทาย, ปสสฺ นโฺ ต ปฏิกฺกรสิ ฺสามิ,
ทุติยมฺปิ อาวุโส สงฺฆํ ปวาเรมิ...ฯลฯ...ปฏกิ ฺกริสฺสาม,ิ
ตติยมฺปิ อาวุโส สงฺฆํ ปวาเรมิ...ฯลฯ...ปฏกิ กฺ รสิ สฺ าม.ิ
ภิกษนุ อกนี้ พึงปวารณาตามล�ำดบั พรรษาทีละรปู เวน้ ไวแ้ ตต่ งั้ ญัตตใิ หผ้ ้มู พี รรษาเทา่ กัน
ปวารณาพรอ้ มกนั
สงฆฺ มภฺ นเฺ ต ปวาเรม,ิ ทฏิ ฺเน วา สุเตน วา ปรสิ งฺกาย วา, วทนตฺ ุ มํ อายสมฺ นฺโต อนุกมฺปํ
อปุ าทาย, ปสสฺ นโฺ ต ปฏิกกฺ รสิ สฺ าม,ิ
ทตุ ิยมฺปิ ภนเฺ ต สงฆฺ ํ ปวาเรม.ิ ..ฯลฯ...ปฏิกกฺ รสิ สฺ าม,ิ
ตติยมปฺ ิ ภนเฺ ต สงฺฆํ ปวาเรมิ...ฯลฯ...ปฏกิ กฺ ริสสฺ าม.ิ
๒. คณะปวารณา คอื ปวารณาเปน็ การคณะ จำ� นวนภิกษุ ผ้ปู ระชมุ มี ๔ รปู หรอื ๓ รูป
หรอื ๒ รปู อย่างใดอยา่ งหน่ึง
ถ้ามภี กิ ษุ ๔ รูป ใหร้ ปู หน่งึ ประกาศด้วยญตั ตวิ ่า
“สุณนฺตุ เม อายสฺมนฺโต, อชฺช ปวารณา ปณฺณรสี, ยทายสฺมนฺตานํ ปตฺตกลฺลํ,
มยํ อญฺมญฺ ปวาเรยยฺ าม”
ถา้ เปน็ วันปวารณาที่ ๑๔ พึงวา่ “จาตทุ ทฺ ส”ี แทน “ปณณฺ รส”ี
ถา้ มภี ิกษุ ๓ รูป ใหร้ ูปหน่งึ ประกาศด้วยญตั ตวิ ่า
“สุณนฺตุ เม อายสฺมนฺตา, อชฺช ปวารณา ปณฺณรสี, ยทายสฺมนฺตานํ ปตฺตกลฺลํ,
มยํ อญฺ มญฺ ปวาเรยยฺ าม”
คร้นั ตง้ั ญตั ติแล้ว พงึ กล่าวปวารณาต่อกันและกัน ตามลำ� ดบั พรรษา ดงั น้ี

129

วัดปา่ ดานวิเวก

อหํ อาวุโส อายสฺมนฺเต ปวารามิ, ทิฏฺเ€น วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา, วทนฺตุ มํ
อายสมฺ นโฺ ต อนกุ มปฺ ํ อุปาทาย, ปสสฺ นฺโต ปฏิกฺกริสสฺ ามิ,
ทตุ ยิ มฺปิ อาวุโส อายสมฺ นฺเต ปวาราม.ิ ..ฯลฯ...ปฏิกฺกรสิ สฺ าม,ิ
ตตยิ มฺปิ อาวุโส อายสฺมนเฺ ต ปวาราม.ิ ..ฯลฯ...ปฏิกฺกรสิ ฺสามิ.
ถ้ารูปออ่ นกว่า พึงว่า “ภนฺเต” แทน “อาวุโส”
ถา้ มภี กิ ษุ ๒ รูป ไม่ต้องตั้งญตั ติ ให้กลา่ วปวารณาตอ่ กันและกนั เลย ดังน้ี
อหํ อาวุโส อายสฺมนตฺ ํ ปวาเรม,ิ ทิฏฺเ€น วา สุเตน วา ปรสิ งฺกาย วา, วทนฺตุ มํ อายสฺมา
อนกุ มปฺ ํ อุปาทาย, ปสฺสนโฺ ต ปฏกิ กฺ รสิ ฺสาม,ิ
ทตุ ิยมฺปิ อาวโุ ส อายสมฺ นฺตํ ปวาเรมิ...ฯลฯ...ปฏกิ กฺ รสิ สฺ าม,ิ
ตติยมปฺ ิ อาวุโส อายสฺมนตฺ ํ ปวาเรม.ิ ..ฯลฯ...ปฏกิ ฺกริสฺสาม.ิ
ถ้ารปู อ่อนกวา่ พงึ ว่า “ภนฺเต” แทน “อาวโุ ส”
๓. ปุคคลปวารณา คือ อธิษฐานเป็นการบุคคล ภิกษุผู้อยู่จ�ำพรรษารูปเดียว ครั้นถึง
วนั ปวารณา ทา่ นให้รอภิกษุอนื่ จนสนิ้ เวลา เหน็ วา่ ไมม่ าแล้ว ใหอ้ ธิษฐานวา่
อชฺช เม ปวารณา.

อธิกมาส อธิกวาร และปักขคณนาวิธี

๑. ปฏิทินทางจันทรคติ ก�ำหนดเวลาท่ีดวงจันทร์หมุนรอบโลกเป็น ๑ เดือน ใช้เวลา
๒๙.๕๓๐๕๙๓ วนั รวม ๑๒ เดอื น เป็น ๑ ปี (๒๙.๕๓๐๕๙๓ x ๑๒ = ๓๕๔.๓๖๗๑๒๒ วนั )
๒. ปฏิทินทางสุริยคติ ก�ำหนดเวลาท่ีโลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เป็น ๑ ปี ใช้เวลา
๓๖๕.๒๕๘๖๘๐ วนั
๓. ถา้ ใชเ้ ฉพาะทางจนั ทรคติ ฤดูตา่ งๆ อาจจะเลอ่ื นไป เช่นฤดูจำ� พรรษาซงึ่ เปน็ หน้าฝน
อาจจะตกในหน้าหนาว หรือหนา้ รอ้ น เพราะฤดตู า่ งๆ ขนึ้ กับตำ� แหน่งของโลกรอบดวงอาทติ ย์
๔. ถ้าใช้เฉพาะทางสุริยคติ จะท�ำให้การก�ำหนดวันในแต่ละเดือนท�ำได้ล�ำบาก เพราะ

130

วดั ป่าดานวเิ วก

ไม่สามารถเห็นข้อแตกต่างของดวงอาทิตย์ในแต่ละวันได้ แต่สามารถเห็นข้อแตกต่างของ
ดวงจนั ทรใ์ นแต่ละวนั ได้โดยง่าย
๕. ปีสรุ ิยคตยิ าวกว่าปจี ันทรคติ ๓๖๕.๒๕๘๖๘๐ - ๓๕๔.๓๖๗๑๒๒ = ๑๐.๘๙๑๕๕๘ วนั
๓ ปี จะคลาดกัน ๓๒ วนั เศษจึงเกิดการทดอธิกมาส คือ เพิ่มเดอื นทางจนั ทรคติขึ้นอกี ๑ เดือน
ท�ำให้ปนี ้นั เดือนทางจนั ทรคติมี ๑๓ เดือน สว่ นเศษอีก ๒ วันกวา่ ก็น�ำไปผนวกในปตี ่อๆ ไป
๖. ปฏิทินราชการไทยโดยปกติให้ปีทางจันทรคติมี ๑๒ เดือน เดือนคู่จะมี ๓๐ วัน
(ขา้ งขนึ้ ๑๕ วนั กบั ขา้ งแรม ๑๕ วัน) เดอื นค่ีมี ๒๙ วนั (ขา้ งขึ้น ๑๕ วนั กับข้างแรม ๑๔ วนั )
เรียกวา่ ‘ปกติวาร’ เฉลยี่ แลว้ ๑ เดอื นมี ๒๙.๕ วนั ดังนั้นใน ๑ เดอื นกาลแห่งดวงจนั ทรจ์ ะมากกวา่
ในปฏิทนิ อยู่ ๒๙.๕๓๐๕๙๓๕ - ๒๙.๕ =๐.๐๓๐๕๙๓๕ วนั เวลานีส้ ะสมไปเร่อื ยๆ จนครบ ๑ วัน
จงึ เกิดทดอธิกวารคือในเดอื น ๗ ซ่ึงเปน็ เดอื นค่จี ะมี ๓๐ วัน (มีแรม ๑๕ ค�่ำ)แต่จะมกี ารทดอธิกวาร
ในปีใดยังไม่มีหลักเกณฑ์แน่นอน เม่ือเห็นว่าจันทร์ดับ จันทร์เพ็ญบนท้องฟ้าต่างจากปฏิทินจึง
ค่อยคิดทดก็มี
๗. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงคิดปักขคณนาวิธีข้ึนเพื่อให้การนับวันขึ้นแรมใน
ปฏิทินปักขคณนาตรงกับกาลจันทร์ดับจันทร์เพ็ญบนท้องฟ้า โดยไม่ต้องมีการเพ่ิมอธิกวารอีก
และใหต้ รงกบั วนั ท่ีพระพุทธองคท์ รงก�ำหนดใหท้ �ำวินัยกรรมอยา่ งแท้จริง
๘. ครัง้ พทุ ธกาลใชจ้ นั ทรคตอิ งิ สรุ ยิ คติ เชน่ การกำ� หนดวันเขา้ พรรษาในวันแรม ๑ คำ�่
เดอื น ๘ แต่ถา้ ปใี ดมีอธิกมาส ใหเ้ ลอื่ นเปน็ วันแรม ๑ ค�่ำเดอื น ๘ หลงั
๙. ปกั ข์ แปลว่า ปกี หรอื ฝักฝา่ ย เดอื นหนง่ึ มี ๓๐ วนั ปกั ข์ของเดอื นกค็ ือปกี หน่งึ ของเดือน
เทา่ กบั ๑๕ วัน
ปกั ข์ถว้ น คือ ปกั ข์น้ีห่างจาก ปกั ขท์ ี่แล้วถว้ น ๑๕ วันพอดี
ปักข์ขาด คือ ปักข์นี้หา่ งจากปักข์แล้ว ๑๔ วัน ขาดปักขอ์ ยูห่ น่ึงวนั
๑๐. ปกติสุรทนิ คือ ตามปฏทิ ินสรุ ทิน ปีนั้นเดือนกุมภาพนั ธ์มี ๒๘ วนั ตามปกติ
อธิกสุรทิน คอื ตามปฏิทินสุรยิ คติ ปีน้ันเดอื นกุมภาพนั ธ์มี ๒๙ วนั

131

วัดป่าดานวเิ วก

วัฏจกั รแหง่ อธกิ มาส

õ ò
81 63
80 62 82 64

ñò ñð

75 76 77 78 79 65 66

67

68

ó 69

74 73 70 71 ÷

ø 72

อธิบายแผนภาพ

๑. ตวั เลขฝรงั่ วงในสดุ บอก พ.ศ. 25.. (2563-2581 เท่ากบั ครบ ๑ รอบทุก ๑๙ ป)ี
๒. ตวั เลขไทยวงถดั ออกมาบอกเดอื นไทย เดือนทางจันทรคต)ิ ทอี่ ธิกมาสจะมาในปีนน้ั ๆ
(มีเดือน ๒, ๑๐, ๗, ๓, ๘, ๑๒, ๕ )
๓. ค�ำวา่ “รอ้ น, ฝน, หนาว” ในวงถัดออกมาอกี คือ ฤดูทอี่ ธิกมาสตกในปนี น้ั ๆ
๔. วงนอกสุดบอกระยะเวลาที่จะลงอุโบสถสวดปาฏิโมกข์ในฤดูน้ันๆ ต้ังแต่อุโบสถแรก
ถงึ อุโบสถสดุ ท้ายรวม ๑๐ อโุ บสถเช่น ๔ ดับ ๘/๘ เพ็ญ หมายถึง ลงอุโบสถแรกวันแรม ๑๕ คำ�่
(วันดับ) เดือน ๔ และลงอโุ บสถสดุ ท้ายวันขนึ้ ๑๕ คำ่� (วนั เพ็ญ) เดือน ๘ หลงั
วิธีใช้
๑. ถา้ ตอ้ งการตรวจดอู ธิกมาสในอนาคต ก็ใหน้ ับ พ.ศ. เพิ่มขนึ้ ตามทิศตามเขม็ นาฬกิ า
ถ้าต้องการตรวจดอู ธกิ มาสในอดตี ก็ให้นับ พ.ศ. ลดลงตามทิศทวนเข็มนาฬิกา
๒. ถ้าปีใดอธกิ มาสในฤดหู นาว ๒, ๓, หรอื ๑๒ จะไปมเี ดอื น ๘ สองหนในปีถัดไปเช่น

132

วัดป่าดานวิเวก

ใน พ.ศ. ๒๕๖๓ ถ้าดูตามแผนภาพอธิกมาสจะมาในเดือน ๒ ดังนั้นจะไปมีเดือน ๘ สองหน
ในปถี ดั ไป คอื พ.ศ. ๒๕๖๔ คอื จะเรมิ่ สวด “อธกิ มาสวเสน....” ในอโุ บสถแรกของฤดหู นาว (วนั ดบั
เดือน ๑๒ ปลายปี ๒๕๖๓) จนถึงอุโบสถ สดุ ทา้ ยของฤดูหนาว (วันเพญ็ เดอื น ๕ ตน้ ปี ๒๕๖๔)
รวมเปน็ ๑๐ อโุ บสถ
หมายเหตุ บางปีอาจไมต่ รงตามน้ีใหถ้ อื ตามท่ที า่ นประกาศในปีนัน้ ๆ เปน็ เกณฑ์

การแบง่ ฤดูและการบอกฤดู

ในรอบ ๑ ปี พระพุทธศาสนาแบ่งเปน็ ๓ ฤดู แตล่ ะฤดโู ดยปกตจิ ะนาน ๔ เดอื น
ปปี กติ คอื ปที ี่ไมม่ อี ธิกมาส
ฤดฝู น จะเรม่ิ ต้งั แต่เขา้ พรรษาแรม ๑ ค่�ำเดือน ๘ ถงึ ขน้ึ ๑๕ ค�่ำ เดอื น ๑๒ หมดหน้ากฐิน
(สวดขอ้ ข.)
ฤดูหนาวจะเริม่ ตง้ั แตแ่ รม ๑ คำ่� เดอื น ๑๒ ถึงข้ึน ๑๕ คำ�่ เดือน ๔ (สวดข้อ ก.)
ฤดูร้อน จะเรม่ิ ต้งั แตแ่ รม ๑ ค่�ำเดอื น ๔ ถึงข้ึน ๑๕ ค่ำ� เดอื น ๘ (สวดขอ้ ก.)
ปที ี่อธกิ มาสมาในฤดูฝน คือ อธกิ มาสตกเดอื น ๘ หรอื เดอื น ๑๐
ฤดูฝน จะเร่ิมตงั้ แต่แรม ๑ ค่ำ� เดอื น ๘ แรก ถึงขนึ้ ๑๕ ค่ำ� เดอื น ๑๒ (รวม ๕ เดอื น)
(สวดข้อ ง.)
ฤดหู นาวจะเร่ิมต้งั แต่ ๑ ค�่ำเดือน ๑๒ ถึงข้ึน ๑๕ ค่�ำ เดือน ๔ (เหมอื นปปี กติ)
(สวดข้อ ก.)
ฤดรู ้อน จะเร่มิ ต้งั แตแ่ รม ๑ ค่ำ� เดอื น ๔ ถึงขน้ึ ๑๕ ค่�ำ เดือน ๘ (เหมอื นปปี กติ)
(สวดขอ้ ก.)
ปีท่อี ธกิ มาสมาในฤดูหนาว คือ อธกิ มาสตกเดอื น ๒ เดือน ๓ หรือ เดือน ๑๒
ฤดหู นาว จะเร่มิ ต้ังแต่แรม ๑ คำ่� เดอื น ๑๒ ถงึ ขึน้ ๑๕ ค่ำ� เดือน ๕ (รวม ๕ เดอื น)
(สวดข้อ ค.)

133

วดั ปา่ ดานวเิ วก

ฤดูรอ้ น จะเริม่ ตั้งแตแ่ รม ๑ ค�ำ่ เดอื น ๕ ถงึ ขึ้น ๑๕ ค่�ำ เดือน ๘ หลัง (สวดขอ้ ก.)
ฤดูฝน จะเริม่ ต้งั แตแ่ รม ๑ ค่�ำเดอื น ๘ หลัง ถึงข้ึน ๑๕ คำ่� เดอื น ๑๒ (สวดขอ้ ข.)
ปีที่อธิกมาสมาในฤดูรอ้ น คอื อธกิ มาสตกเดือน ๕ หรือ เดอื น ๗
ฤดรู ้อน จะเรมิ่ ตง้ั แตแ่ รม ๑ คำ�่ เดือน ๔ ถึงขึน้ ๑๕ ค�่ำ เดอื น ๘ หลงั (รวม ๕ เดอื น)
(สวดข้อ ค.)
ฤดูฝน จะเริม่ ต้ังแต่แรม ๑ ค่�ำเดอื น ๘ หลัง ถงึ ขึน้ ๑๕ ค�ำ่ เดือน ๑๒ (สวดขอ้ ข.)
ฤดูหนาวจะเรมิ่ ต้ังแต่แรม ๑ คำ่� เดือน ๑๒ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๔ (เหมอื นปปี กติ)
(สวดขอ้ ก.)

วิธีเปลี่ยนบพุ พกิจพระปาฏโิ มกข์
ก.ฤดูปกติ

๑. อฏฺ อุโปสถา อมิ ินา ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, สตฺต อุโปสถา อวสิฏฺา.
๒. อฏฺ อุโปสถา อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตโฺ ต, เอโก อโุ ปสโถ อติกกฺ นโฺ ต,
ฉ อุโปสถา อวสิฏฺ า.
๓. อฏฺ อุโปสถา อิมนิ า ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, เทวฺ อุโปสถา อติกกฺ นตฺ า,
ปญฺจ อโุ ปสถา อวสฏิ ฺา.
๔. อฏฺ อุโปสถา อมิ ินา ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตโฺ ต, ตโย อุโปสถา อติกกฺ นฺตา,
จตตฺ าโร อุโปสถา อวสิฏฺา.
๕. อฏฺ อุโปสถา อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, จตฺตาโร อุโปสถา
อติกฺกนตฺ า, ตโย อโุ ปสถา อวสฏิ ฺ า.
๖. อฏฺ อโุ ปสถา อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตโฺ ต, ปญฺจ อโุ ปสถา อติกกฺ นตฺ า,
เทฺว อุโปสถา อวสฏิ ฺา.

134

วดั ปา่ ดานวิเวก

๗. อฏฺ อโุ ปสถา อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตโฺ ต, ฉ อโุ ปสถา อตกิ ฺกนฺตา,
เอโก อโุ ปสโถ อวสฏิ โฺ .
๘. อฏฺ อุโปสถา อมิ ินา ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, สตฺต อโุ ปสถา อติกกฺ นตฺ า,
อฏฺ อโุ ปสถา ปรปิ ุณณฺ า.

ข.ฤดูปวารณา ไม่มอี ธกิ มาส

(หมายถึงกลางพรรษา)
๑. สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ ินา ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, ฉ จ
อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺ า.
๒. สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต,
เอโก อุโปสโถ อตกิ กฺ นโฺ ต, ปญจฺ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺ า.
๓. สตตฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกฺเขน เอโก อโุ ปสโถ สมฺปตฺโต, เทฺว
อุโปสถา อตกิ ฺกนฺตา, จตฺตาโร จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺ า.
๔. สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ ินา ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, ตโย
อโุ ปสถา อติกฺกนตฺ า, ตโย จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺ า.
๕. สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต,
จตตฺ าโร อโุ ปสถา อตกิ กฺ นตฺ า, เทวฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺา.
๖. (วนั ปวารณา) สตตฺ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมนิ า ปกฺเขน เอกา ปวารณา
สมฺปตฺตา, ปญฺจ อโุ ปสถา อติกฺกนตฺ า เทวฺ อโุ ปสถา อวสิฏฺ า.
๗. สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต,
ปญจฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อติกกฺ นตฺ า, เอโก อโุ ปสโถ อวสิฏโฺ .
๘. สตตฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ นิ า ปกฺเขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, ฉ จ
อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อติกกฺ นฺตา, สตฺต จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา ปรปิ ุณฺณา.

135


Click to View FlipBook Version