The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระอาจารย์สุชาติ อภิชาโต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wonchai890, 2022-08-01 00:51:24

หนังสือ วิสัชนาธรรม เล่ม 2

พระอาจารย์สุชาติ อภิชาโต

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

มันพิจารณาเพ่ือให้เราปล่อยวางส่ิงต่างๆ ท่ีเราไปรับรู้
ไปอยาก ไปมคี วามสมั พนั ธก์ บั สง่ิ ตา่ งๆ อนั นตี้ า่ งหากทเี่ รา
ต้องการพิจารณาเพ่ือให้เราปล่อยวางความอยากต่างๆ
ในส่ิงต่างๆ น่ันแหละจิตถึงจะเป็นผู้รู้ที่บริสุทธ์ิ คือรู้ว่า
ทุกอย่างท่ีเราพิจารณานี้ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
พอเรารู้ว่าเป็นทุกข์ เราก็ไม่อยากจะได้ ไม่อยากจะไป
ยงุ่ เกยี่ วดว้ ย ไมอ่ ยากจะมคี วามสมั พนั ธด์ ว้ ย พจิ ารณาเพอื่
ตัดเพื่อปล่อยวาง ความสัมพันธ์ต่างๆ กับทุกส่ิงทุกอย่าง
ถงึ จะทำ� ใหจ้ ิตเปน็ ผรู้ ูท้ ่บี รสิ ทุ ธไิ์ ด้ข้ึนมา
ถาม: ฐานที่ตั้งของจิตอยู่ตรงไหน และวิธีการก�ำหนด
ตวั รู้ทำ� อย่างไร
ตอบ: ฐานท่ีตั้งของจิตก็อยู่ท่ีอุเบกขาน่ีเอง คือเราต้อง
ฝึกสติ เพ่ือหยุดความคิดให้จิตรวมลงเข้าสู่สมาธิให้ได้
เราถงึ จะเขา้ ถงึ ฐานของจติ ได้ ถา้ เรายงั ไมร่ วมจติ ยงั ไมเ่ ขา้
สูอ่ ัปปนาสมาธิ หรอื เขา้ สฌู่ าน ๔ จิตก็ยงั จะเขา้ ไม่ถงึ ฐาน
ของตนเอง
ถาม: ขอวธิ นี ่งั สมาธิแบบใหจ้ ติ นิ่งและร่างกายเบา

50

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ตอบ: ก็ต้องนั่งแบบท่ีมีสติ ไม่ใช่น่ังเฉยๆ ต้องมีสติ เช่น
นงั่ แลว้ ตอ้ งพุทโธพทุ โธไปอย่เู ร่ือยๆ อยา่ ไปคิดอะไร หรอื
จะใชก้ ารดลู มหายใจเขา้ ออกกไ็ ด้ ดทู ปี่ ลายจมกู ลมเขา้ กร็ ู้
ลมออกก็รู้ ไม่ต้องไปบังคับลม ให้ดูที่จุดเดียว แล้วเด๋ียว
จิตก็จะน่ิง ร่างกายก็จะเบา แต่ถ้านั่งเฉยๆ เดี๋ยวจิตก็จะ
ปรุงแต่ง สร้างอะไรต่างๆ อาการต่างๆ ขึ้นมาหลอกได้
จิตเรากจ็ ะไม่สงบ จติ เราก็จะไมน่ ิง่
ถาม: วิธีฝึกใจให้เป็นอุเบกขา ไม่ให้เสียใจ ทุกข์ใจ หรือ
แม้กระทั่งดีใจในส่ิงตา่ งๆ
ตอบ: กห็ มน่ั ฝึกสติทัง้ วนั ตั้งแต่ลืมตาขนึ้ มา ช่วงทย่ี งั ไมไ่ ป
ทำ� งาน ไปเกยี่ วขอ้ งกบั ใคร ชว่ งทเี่ ราทำ� กจิ สว่ นตวั อาบนำ้�
ลา้ งหนา้ แปรงฟัน ก็ให้ดงึ จติ ไวใ้ หอ้ ยกู่ บั งานทเี่ ราทำ� กไ็ ด้
หรือให้บริกรรมพุทโธพุทโธก�ำกับการท�ำงานของเราไป
กไ็ ด้ อาบนำ�้ ก็พทุ โธ ล้างหน้าแปรงฟันกพ็ ุทโธ อยา่ ปล่อย
ให้ไปคิดเรื่องต่างๆ แล้วเราก็หาเวลามาน่ังสมาธิ เพราะ
ถ้าน่ังสมาธิท�ำใจให้เฉยได้ ก็จะได้อุเบกขาข้ึนมา ต้องนั่ง
สมาธิ แตถ่ า้ นง่ั โดยไมม่ สี ตกิ น็ ง่ั แลว้ ใจกจ็ ะไมส่ งบ เบอ้ื งตน้
ต้องหม่ันฝึกสติให้มากๆ ก่อน แล้วพอมีเวลาว่างก็มา

51

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

นั่งสมาธิ ถ้ามีสติและน่ังสมาธิได้ ก็จะสงบ ได้อุเบกขา
ขึ้นมาได้ แล้วต่อไปเราก็จะท�ำใจให้เฉยๆ กับเรื่องราว
เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ได้
ถาม: เคยได้ยินว่า การเร่ิมฝึกปฏิบัติภาวนา ต้องปฏิบัติ
ในรูปแบบก่อน โดยการสวดมนต์แผ่เมตตา แต่ถ้าเรา
ก�ำหนดรู้ลมหายใจก่อนนอน โดยไม่สวดมนต์ปฏิบัติใน
รปู แบบ ได้หรือไม่
ตอบ: ได้ การปฏิบัติภาวนานี้ไม่ต้องแผ่เมตตา ไม่ต้อง
สวดมนต์ก็ได้ ถ้าเราสามารถน่ังสมาธิ ดูลมหายใจได้เลย
แต่อย่าท�ำด้วยการนอน ในท่านอนก่อนนอน เพราะ
มันจะหลับ มันจะไม่ได้ผลจากการน่ัง จากการฝึกสมาธิ
ถา้ ตอ้ งการไดผ้ ลนี้ ควรอยใู่ นทา่ นงั่ แลว้ กใ็ หม้ สี ตอิ ยกู่ บั การ
บรกิ รรมพทุ โธ หรอื อยกู่ บั การดลู มหายใจกอ่ น ไมส่ วดมนต์
ก็ได้ แต่ถ้าจิตฟุ้งซ่านก็อาศัยสวดมนต์เพื่อท�ำให้จิต
หายฟุง้ ซ่านกอ่ นก็ได้ แล้วค่อยดูลมตอ่ กไ็ ด้
ถาม: ขอพระอาจารย์เมตตาให้ค�ำแนะน�ำว่า การนั่ง
กมั มัฏฐานสามารถไปถึงพระนพิ พานได้ไหม

52

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ตอบ: คอื กมั มฏั ฐานนม่ี นั มี ๒ ระดบั ระดบั สมาธแิ ละระดบั
ปญั ญา ซ่ึงถา้ ปฏิบัติครบท้ัง ๒ ส่วนก็ไปถึงนพิ พานได้
ถาม: สามารถเจริญสติด้วยการดูการเคล่ือนไหวของ
รา่ งกาย พรอ้ มกับท่องพทุ โธไดไ้ หม ถ้าท�ำแล้วน่งิ มีสติ
ตอบ: ได้ แสดงว่าเราใชส้ ติ ใช้เชอื ก ๒ เส้นเลย ถ้าบางที
เราดูร่างกายเรา แต่ว่าใจยังไปแวบคิดเร่ืองนั้นเรื่องนี้อยู่
ก็ใช้พุทโธก�ำกับด้วย แต่ก็ต้องดูการกระท�ำของเรา
เปน็ หลกั เดยี๋ วถา้ เรามวั แตพ่ ทุ โธแลว้ เราไมด่ งู านทเ่ี รากำ� ลงั
ท�ำอยู่ ก็อาจจะท�ำผิดพลาดได้ เช่น ขณะขับรถยนต์นี้ก็
ต้องดูการขับรถยนต์เป็นหลัก เพราะถ้าใจยังลอยไปคิด
เรื่องนั้นเร่ืองน้ีอยู่ ก็ใช้พุทโธท่องไปภายในใจด้วยก็ได้
แตต่ อ้ งดถู นนดูทางดรู ถ
ไม่ใชม่ ัวแตพ่ ทุ โธ แตว่ ่าไม่ไปดูถนนหนทาง เดี๋ยวเกิด
มีอะไรกะทันหันข้ึนมา อาจจะแก้ปัญหาไม่ทันได้ ท�ำได้
ทง้ั ๒ อย่าง แตต่ อ้ งร้วู า่ อยา่ งไหนเป็นสงิ่ ที่ส�ำคญั กวา่ กัน
กจ็ ะตอ้ งดกู ารกระทำ� ของรา่ งกายเปน็ หลกั แลว้ อาศยั การ
เจริญพุทโธพุทโธมาสนับสนุน ยกเว้นว่าถ้าเราไปอยู่วัด
ไปเดนิ จงกรมน้ี ไมม่ กี ารงานตอ้ งทำ� เราก็ยังดกู ารก้าวเท้า

53

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ของการเดินของร่างกาย ถ้าเราไม่ดูเราอาจจะเดินไปชน
สง่ิ น้นั สิ่งน้ีได้ กต็ ้องดูทั้ง ๒ อยา่ ง งา่ ยๆ สรปุ
ถาม: การปลีกวิเวก ช่วยท�ำให้พบค�ำตอบชีวิตจากความ
สงบอย่างไร
ตอบ: ก็จะพบว่าความสุขท่ีแท้จริงอยู่ที่ความสงบนี่เอง
เพราะไม่มีอะไรดีเท่ากับความสงบ เพราะความสุขจาก
ความสงบนี้มันไม่ต้องเสียตังค์ ไม่ต้องซื้อกัน ทุกวันน้ีเรา
หาความสุขแบบต้องเสียตังค์กัน เราถึงต้องด้ินรนหาเงิน
หาทองกันแทบเป็นแทบตาย เพื่อที่จะไปซ้ือความสุขใน
รูปแบบต่างๆ แต่ก็เป็นความสุขเด๋ียวเดียว พอเงินหมด
ความสุขก็หายไป แต่ความสุขที่ได้จากความสงบนี้
ไมต่ ้องใช้เงิน ถา้ เราทำ� ได้แลว้ ตอ่ ไปเรา โอย๊ สมู้ าน่งั สมาธิ
ท�ำความสงบดีกว่า ไม่ต้องไปหาเงินหาทองให้เสียเวลา
แล้วเป็นความสุขที่ยั่งยืนกว่า เพราะเราสามารถท�ำได้
ตลอดเวลา มีไดต้ ลอดเวลา
ถาม: เวลาผมน่ังสมาธิแล้วน่ิงสักพัก พอมันจะคิดก็เลย
คิดทางปัญญา แล้วพอคิดทางปัญญาไปๆ มาๆ ก็รูส้ ึกสงบ

54

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ผมก็เลยกลับมาจดจ่อกับความสงบอีกครั้ง แบบน้ี
ผมปฏิบตั ิถูกต้องไหม
ตอบ: ก็ได้ถ้าใช้ปัญญาพิจารณา เพื่อให้จิตกลับมาสู่
ความสงบ หรือจะใช้สติก็ได้อย่างใดอย่างหน่ึงก็ได้ ๒
อยา่ งนสี้ ามารถใชใ้ นการควบคมุ จติ ใหส้ งบได้ ถา้ ใชป้ ญั ญา
เราก็เรียกวา่ “ปัญญาอบรมสมาธ”ิ ถ้าใช้สตเิ รากเ็ รยี กว่า
“สตอิ บรมสมาธ”ิ มี ๒ วิธีด้วยกนั
ถาม: เวลาฟงั เทศนฟ์ งั ธรรม หฟู งั หลบั ตา ใจภาวนาพทุ โธ
ในขณะฟงั ได้ไหม เหมือนฟังไปด้วย ท�ำสมาธิไปด้วย
ตอบ: ออ๋ การฟังนี้กเ็ ปน็ การทำ� สมาธไิ ปแล้ว ไมต่ ้องพุทโธ
ใช้เสียงธรรมะแทนพุทโธได้ เพราะถ้าใช้ ๒ อย่างแล้ว
มันจะชนกัน ต้องเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าจะใช้พุทโธ
ก็หยุดใช้เสียงธรรม ถ้าอยากจะใช้เสียงธรรมก็ไม่ต้องใช้
พทุ โธใหเ้ หนอื่ ย เพราะการใชพ้ ทุ โธนเ้ี ราตอ้ งทอ่ งอยเู่ รอื่ ยๆ
ถา้ เราใชเ้ สยี งธรรม มนั จะงา่ ยกวา่ สบายกวา่ ใชเ้ สยี งธรรม
มากล่อมใจ ทำ� สมาธิไปได้ โดยทไ่ี มต่ อ้ งใชพ้ ุทโธ

55

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ถาม: วิธีการท่ีจะเอาชนะเวทนาที่เกิดจากการนั่งสมาธิ
ทดี่ ีทสี่ ดุ คอื ต้องพจิ ารณาอย่างไร
ตอบ: ก็มี ๒ วิธี เบื้องต้นก็คือให้ใช้สติบริกรรมพุทโธ
ให้มันถ่ีเข้าในใจ เพ่ือดึงใจไว้ไม่ให้ไปคิดถึงความเจ็บปวด
ทางรา่ งกาย หรอื ใชก้ ารสวดมนตไ์ ปภายในใจกไ็ ด้ เพอื่ ทจ่ี ะ
ไมใ่ หใ้ จคดิ ถงึ ความเจบ็ ปวดทางรา่ งกาย ใจกจ็ ะไมท่ กุ ขก์ บั
ความเจบ็ ปวด ใจก็จะนง่ิ อยกู่ บั ความเจ็บปวดได้
วิธีที่ ๒ หลังจากเราได้สติแล้ว ก็คือใช้ปัญญา
สอนใจดูว่า ความเจ็บปวดของร่างกายน้ีเป็นเหมือน
ธรรมชาติ เหมือนดินฟ้าอากาศ ที่เขาเกิดขึ้นแล้วดับไป
ตามเหตุตามปัจจัยของเขา เหมือนฝนตกแดดออกที่เรา
ไมส่ ามารถไปควบคมุ บงั คบั ได้ แตเ่ ราสามารถอยกู่ บั เขาได้
ถ้าเราตัดความอยากท่ีเราอยากจะให้เขาไม่มี ซึ่งไม่เกิด
ขน้ึ มาได้ เพราะเราห้ามเขาไม่ได้ เขาเปน็ อนัตตา เขาเปน็
เหมอื นดนิ ฟา้ อากาศ กป็ ลอ่ ยใหเ้ ขาเกดิ ปลอ่ ยใหเ้ ขาดบั ไป
ตามเรื่องของเขา เราก็หัดท�ำใจอยู่กับเขาไป เท่านั้นเอง
เรากจ็ ะไมท่ กุ ข์ จะไมเ่ ดอื ดรอ้ นกบั ความเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยทาง
รา่ งกาย

56

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ถาม: ฝึกกัมมัฏฐานแล้วไปติดสภาวะว่าง จะมีอาการ
แสงสว่างจ้า ขาวโพลนค้างอยู่แบบนั้นเป็นเวลานาน
อยากถามพระอาจารย์ว่า จากตรงนี้จะแก้ไขยังไงต่อไป
แลว้ การเจริญอริยสจั ๔ เวลาทำ� กัมมฏั ฐาน มีแนวทางวิธี
การฝึกอยา่ งไร
ตอบ: ถ้าสภาวะว่างน้ีเป็นสภาวะที่สงบน่ิงของจิตใจ
แล้วก็มอี เุ บกขา กเ็ รียกวา่ เปน็ อัปปนาสมาธิ ถา้ ได้สภาวะ
วา่ งแบบนี้กค็ วรที่จะเข้าไปพกั จติ อยู่เร่อื ยๆ เพอ่ื สร้างพลัง
ใหแ้ กจ่ ติ คอื อเุ บกขา เพราะการทจี่ ะมาตอ่ สกู้ บั กเิ ลสตณั หา
มาก�ำจัดกิเลสตัณหาได้น่ี จิตจะต้องมีพลังของอุเบกขา
เป็นผู้สนับสนุน ถ้าจิตไม่มีอุเบกขานี้ จะไม่สามารถหยุด
ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความอยากต่างๆ ได้
เม่ือพิจารณาด้วยปัญญาแล้วเห็นว่า ส่ิงท่ีกิเลสตัณหา
ต้องการนั้นเป็นไตรลักษณ์ เป็นทุกข์เพราะว่ามันไม่เท่ียง
เพราะว่ามันเปน็ สิง่ ท่เี ราไมส่ ามารถควบคมุ บังคับได้
ถา้ เหน็ อยา่ งน้ี แลว้ มอี เุ บกขา กจ็ ะสามารถหยดุ ความ
อยากได้ ถ้าหยุดความอยากได้ หยุดความทุกข์ท่ีเกิดข้ึน
ในใจได้ แตถ่ ้าไมม่ ีอเุ บกขา ถึงแมร้ ูว้ า่ มันเป็นทุกข์แตก่ ย็ ัง
อดที่จะอยากไม่ได้ เช่น รู้ว่าบางคนติดยาเสพติดอย่างนี้

57

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

รวู้ า่ เปน็ ทกุ ข์ แตก่ ไ็ มม่ กี ำ� ลงั ทจี่ ะหยดุ มนั แตถ่ า้ มาฝกึ สมาธิ
จนมีอุเบกขาแล้ว พอเห็นโทษของการเสพยาเสพติดว่า
จะท�ำให้เป็นทุกข์มาก ก็สามารถเลิกได้ เพราะฉะน้ัน
เบอื้ งตน้ นถี้ า้ ไดค้ วามสงบ ไดส้ ภาวะวา่ งนกี้ ค็ วรทจี่ ะใหม้ นั
ว่างนานๆ จนใหจ้ ติ มพี ลงั ตอ้ งสงั เกตดูว่าจิตเราเปน็ กลาง
หรอื ไม่ มีอเุ บกขาหรือไม่ คอื ขณะที่มันวา่ งนน้ั มันจะไมม่ ี
ความรสู้ กึ ความโลภ ความรกั ความชงั ความกลวั ความหลง
อยู่ในใจ เวลาได้สัมผัสรับรู้อะไรมันจะเฉยได้ อุเบกขา
ใครด่ากเ็ ฉยได้ ใครชมกไ็ มไ่ ด้ดอี กดใี จ
อนั นแี้ หละถงึ จะเรยี กวา่ มอี เุ บกขา ถา้ มอี เุ บกขาแลว้ ก็
ขั้นต่อไปก็เอามาพิจารณาส่ิงต่างๆ ที่เราเก่ียวข้องด้วย
ที่เรารักที่เราหวง ที่เราห่วง ที่เรากังวล พิจารณาให้เห็น
เขาวา่ เขาเปน็ ไตรลกั ษณ์ เขาไมเ่ ทย่ี ง จงึ ทำ� ใหเ้ รากงั วลกนั
เพราะเราอยากใหเ้ ขาเที่ยง แตเ่ ราก็ไม่สามารถไปควบคุม
ให้เขาเท่ียงได้ เพราะเขาเป็นอนัตตา เขาเป็นธรรมชาติ
ไม่ใช่เป็นส่ิงท่ีเป็นตัวเป็นตนที่เราส่ังได้ พิจารณาด้วย
ปญั ญาในสิง่ ตา่ งๆ ทเี่ รายงั มคี วามผกู พัน ยงั มีความยดึ ตดิ
ให้เห็นว่าเป็นทุกข์ เพราะเราไปยึดไปอยากให้เขาเป็น
ของเรา อยูก่ ับเราไปนานๆ แตค่ วามเปน็ จริงนี้ เขาไมอ่ ยู่

58

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

กับเราไปตลอด เขาเป็นของท่ีไม่เที่ยงแท้แน่นอน ต้องมี
วันใดวนั หนงึ่ ท่จี ะต้องมวี นั สนิ้ สุดลง
ส่ิงใดมีการเกิดข้ึนเป็นธรรมดา สิ่งน้ันต้องมีการดับ
ไปเป็นธรรมดา นี่คือการเห็นด้วยปัญญา เม่ือเห็นแล้ว
ก็ ถ้ามีอุเบกขาก็จะปล่อยวางได้ ไม่ว่าจะเป็นร่างกาย
ของเรา รา่ งกายของคนอนื่ ไมว่ ่าจะเปน็ ลาภยศสรรเสริญ
สุข ที่เราก�ำลังหากันอยู่ ท่ีเราก�ำลังเสพกันอยู่ทุกวันนี้
มันกเ็ ปน็ อนจิ จงั ทกุ ขัง อนัตตาทัง้ นน้ั ถา้ เห็นด้วยปญั ญา
ก็จะเลกิ เสพสิ่งเหลา่ น้ี พอเลิกแลว้ ก็จะไมท่ ุกข์กบั สิง่ ท่ีเรา
เลกิ เสพ ไมท่ ุกข์กบั ลาภยศสรรเสริญ ไม่ทุกขก์ บั ความสขุ
ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่ทุกข์กับร่างกายของเรา ไม่ทุกข์
กับร่างกายของผูอ้ ื่น เปน็ ต้น อนั น้ีคือขัน้ ตอ่ ไป หลงั จากท่ี
เราได้อุเบกขา แล้วเราก็มาพิจารณาส่ิงต่างๆ ท่ีเราไปยึด
ไปตดิ ไปรกั ไปหวงไปหว่ ง แลว้ เรากต็ อ้ งปลอ่ ยวาง ตอ้ งเลกิ
ยึดเลกิ ตดิ นเ่ี ขาเรียกวา่ ขนั้ วิปัสสนา
ถาม: ทำ� สมาธแิ ลว้ เห็นการเกิดดบั ของจติ เกิดขนึ้ ตง้ั อยู่
ดับไป เห็นการเกิดดับของจิต ทุกส่ิงไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เปน็ อนิจจังทั้งภายนอกและภายใน

59

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ตอบ: เห็นเรื่องของจิตไม่เท่าไหร่ ไปเห็นของที่เรารัก
ดีกวา่ เหน็ เงนิ ทองเกิดแลว้ ดับน้ดี กี ว่า จะได้ไม่ไปยึดไมไ่ ป
พ่ึงอาศัยเงินทองอีกต่อไป เพราะว่าเวลาเงินมันหมดน้ี
จะรู้สึกยังไง ทุกข์หรือไม่ทุกข์ แต่เวลาหาเงินใหม่น้ี
ทุกข์หรือไม่ทุกข์ ถ้าเราไม่ต้องใช้เงินทองได้ มันสบาย
กวา่ ไหม กไ็ ปบวชดกี วา่ ไหม ไปบวชแลว้ กไ็ มต่ อ้ งใชเ้ งนิ ทอง
เพราะมีของฟรี ใช้ของฟรี เคร่ืองใช้ไม้สอยฟรี ปัจจัย ๔
ฟรหี มด เราก็จะได้ไม่ต้องทกุ ขก์ บั เงนิ ทอง
แตเ่ รอื่ งการเหน็ จติ เกดิ ดบั เกดิ ดบั น้ี มนั เหน็ เปน็ แบบ
สง่ิ ท่ไี ม่มผี ลกระทบกบั เราหรอก ต้องเหน็ ทกุ ขใ์ นจิตกอ่ น
แล้วเห็นทุกข์มันดับไปนี้ อันน้ีจึงจะดีกว่า เห็นกิเลสเกิด
แล้วเราท�ำลายมันได้ เห็นตัณหาเกิดข้ึนแล้วเราท�ำลาย
มนั ได้ อยา่ งนถี้ งึ จะดกี วา่ แตถ่ า้ เหน็ จติ เปลยี่ นไปเปลย่ี นมา
เด๋ียวมันดีใจ เดี๋ยวมันเสียใจน้ี ไอ้น่ีก็เป็นเร่ืองธรรมดา
ซึง่ มันไม่คอ่ ยมีผลกระทบอะไรกับเราเทา่ ไหร่
ถาม: อยากไดก้ ารปฏบิ ัติวิปสั สนากมั มฏั ฐาน ตอ้ งปฏบิ ตั ิ
อย่างไร

60

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ตอบ: ก็นี่ละ มาฟังธรรมขณะน้ี ฟังเพื่อให้เรียนรู้วิธี
การปฏิบัติไว้ว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไร คือการจะปฏิบัติ
วิปัสสนากัมมัฏฐานได้น้ี มันต้องผ่านขั้นสมถกัมมัฏฐาน
ก่อน สมถภาวนากอ่ น คือสมาธิกอ่ น และการท่ีจะปฏบิ ัติ
สมาธไิ ดก้ ต็ อ้ งรกั ษาศลี ๘ ขนึ้ ไปใหไ้ ดก้ อ่ น เพอื่ ทเี่ ราจะไดม้ ี
เวลาไปปฏบิ ตั สิ มาธแิ ละวปิ สั สนาตอ่ ไปได้ นค่ี อื สง่ิ ทเ่ี ราจะ
ตอ้ งมี คอื มีเวลา การถือศลี ๘ น้ีเป็นการบอกวา่ ตอ่ ไปนี้
เราไม่ไปเที่ยวแล้ว ไม่ไปเท่ียวกับเพื่อนฝูง ไม่ไปดูหนัง
ฟังเพลง ไม่ไปท�ำกิจกรรมทางรูปเสียงกล่ินรสต่างๆ
เราจะไปปลีกวิเวก เราจะไปเรียน ฟังเทศน์ฟังธรรม
แล้วก็ไปเจรญิ สติ นั่งสมาธิ
ถาม: ก�ำลังพยายามละรกั โลภ โกรธ หลงอยู่ แต่ต้องใช้
เวลาเพราะท�ำไมไ่ ดง้ า่ ยๆ
ตอบ: ต้องนง่ั สมาธไิ ง ต้องฝกึ สมาธิ ถ้านง่ั สมาธิจิตสงบได้
ความน้อยใจก็จะหายไป ความโกรธ ความเกลียดก็จะ
หายไป แตจ่ ะหายชว่ั คราวในขณะทอี่ ยใู่ นสมาธิ พอออกมา
สกั พกั หนงึ่ แลว้ เดย๋ี วอาการเหลา่ นกี้ จ็ ะหายไปหมด จงึ ตอ้ ง
น่งั สมาธิบอ่ ยๆ เขา้ ไปในสมาธิบ่อยๆ แลว้ เวลาออกมามัน

61

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ก็จะไม่หายไปได้ มันจะไม่หายไปเร็ว อยู่ได้นานกว่า
แต่มันก็ต้องหายอยู่ ถ้ายังอยู่ในระดับสมาธิ ฉะน้ันถ้าได้
ระดับสมาธิแล้ว เขามกั จะตอ้ งไปเจริญปญั ญา เพ่อื รักษา
ความไม่โกรธ ไม่เกลียดนี้ ให้มันหายไปอย่างถาวรด้วย
ปญั ญาต่อไป
ถาม: เราจะวัดความก้าวหน้าในการปฏิบัติสมาธิ หรือ
ปฏบิ ัติธรรมอยา่ งไร
ตอบ: ถา้ เราเขา้ สมาธไิ ดง้ ่ายได้เรว็ กเ็ รยี กว่าเราก้าวหน้า
ถ้านั่ง ๕ นาที จิตก็สงบได้ แล้วสงบได้นาน ๒๐, ๓๐
หรือชั่วโมงหนึ่ง ก็ถือว่าเราก้าวหน้า แต่ถ้าเรายังเข้ายาก
นง่ั อยนู่ ่ันแล้ว ๔๐ นาทกี ็ยังไม่สงบ ยงั สูก้ ันไปสู้กันมาอยู่
ก็แสดงว่ายังไม่ก้าวหน้า วัดผลท่ีความสงบ ข้ันสมาธิ
สว่ นขน้ั ปญั ญากด็ วู า่ เราละความโลภ ความโกรธ ความหลง
ได้มากน้อยเพียงไร นี่ก็เปน็ ข้นั ปญั ญา
ถาม: การมีสตใิ นชวี ติ ประจำ� วนั กับจติ วา่ งต่างกนั อยา่ งไร
ถา้ จติ วา่ งคอื จติ โปรง่ วา่ งแบบไมร่ สู้ กึ ตวั พอรสู้ กึ ตวั รสู้ กึ จติ
ไมว่ า่ งทนั ทคี อื จติ ครนุ่ คดิ ไปเรอ่ื ย นอ้ มกราบขอคำ� แนะนำ�
ครับ

62

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ตอบ: คำ� วา่ จติ วา่ ง จรงิ ๆ คอื จติ ทสี่ งบนงิ่ นนั่ เอง ปราศจาก
ความคิดปรุงแต่ง คือจิตท่ีอยู่ในฌาน อยู่ในสมาธิ อันนี้
เป็นจิตว่าง ถ้าเรายังคิดนั่นคิดน่ีอยู่เราไม่เรียกว่าเป็น
จิตว่าง จะจิตว่างจริงๆ น้ีต้องไม่มีความคิดปรุงแต่ง
เหลอื แต่สกั แต่ว่าร้เู พยี งอยา่ งเดยี ว แลว้ ในสักแตว่ ่ารนู้ น้ั ก็
มคี วามสงบ มคี วามสุข มีอุเบกขา ถึงเรียกว่าจิตว่าง ทีนี้
จิตว่างนี้ก็มีสองระดับ จิตว่างแบบชั่วคราวเราก็เรียกว่า
สมาธิ จิตว่างแบบถาวรเราก็เรียกว่านิพพาน นิพพานน้ี
ก็คือจิตท่ีได้ช�ำระความโลภ โกรธ หลง ก�ำจัดหมดสิ้นไป
จากใจ จึงไม่มีอะไรมาท�ำให้จิตไม่ว่าง เหตุท่ีท�ำให้จิตไม่
วา่ งกค็ อื ความโลภ ความโกรธ ความหลงทีค่ อยไปกระตนุ้
ความคิด ให้คิดถึงเรือ่ งนู้น คิดอยากได้นัน้ คดิ อยากไดน้ ้ี
ขึ้นมา จิตมันก็จะไม่ว่างเพราะมันต้องคอยคิดหานู่นหาน่ี
มาตอบสนองความตอ้ งการของกเิ ลส แตถ่ า้ ไมม่ กี เิ ลสแลว้
กไ็ มม่ อี ะไรไปผลกั ดนั ใหจ้ ติ ไปคดิ อยากไดส้ งิ่ นน้ั สงิ่ นี้ ถงึ แม้
จติ จะมคี วามคดิ กเ็ ปน็ ความคดิ ทไ่ี มส่ รา้ งอารมณข์ นึ้ มา คอื
ความคิดนี้ยังมีอยู่ แต่เป็นความคิดที่ปราศจากความโลภ
โกรธ หลง เป็นผ้ผู ลักดนั ไม่คิดไปในทางโลภ โกรธ หลง
คิดไปในทางธรรม คิดไปในทางไตรลักษณ์ หรือคิดไปใน

63

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ทางกลางๆ คอื คดิ วา่ ไอน้ เ่ี ปน็ ไอน้ น่ั ไอน้ นั่ เปน็ ไอน้ ่ี กค็ ดิ ไป
แต่จะไม่มีความรักความชังตามมาจากการท่ีไปคิดว่า
ไอน้ น่ั เปน็ ไอน้ ี่ ไอน้ เี่ ปน็ ไอน้ นั่ ดงั นน้ั จติ วา่ งมนั กม็ สี องแบบ
เวลาสงบกิเลสมันก็หยุดท�ำงานช่ัวคราว มันก็เป็นเหมือน
นิพพานชั่วคราว แต่มันยังไม่ตาย พอออกจากสมาธิมา
กเิ ลสก็ออกมาทำ� งานตอ่ แตส่ ำ� หรบั นิพพานนก่ี �ำจัดกเิ ลส
หมดแลว้ ไมว่ า่ จะอย่ใู นสมาธหิ รอื อยนู่ อกสมาธิ จิตก็ว่าง
ตลอดเวลา แต่คิดได้ แตค่ วามคดิ กเ็ ปน็ เพียงกิรยิ า ไมม่ า
สรา้ งอารมณ์ ไมม่ าสร้างความทกุ ข์ ความวนุ่ วายใจใหก้ ับ
จติ อกี ตอ่ ไป
ถาม: ท�ำอย่างไรจะให้จิตว่าง โปร่งจากความครุ่นคิด
ปรงุ แตง่
ตอบ: กฝ็ กึ สตอิ ยเู่ รอ่ื ยๆ ฝกึ สตทิ ง้ั วนั ฝกึ สมั มาสติ ใหร้ เู้ ฉยๆ
ไม่วา่ เราก�ำลังท�ำอะไร
ถาม: คนท่สี ตแิ ตก หมายความวา่ บุคคลนน้ั ไม่ไดเ้ จริญสติ
ใช่ไหม

64

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ตอบ: อันน้ันไม่มีสติควบคุมอารมณ์ของจิต จิตนึกอยาก
จะพูดอะไรก็พูดข้ึนมา นึกอยากจะท�ำอะไรก็ท�ำขึ้นมา
โดยไม่รู้สึกตัวว่าส่ิงที่ตนเองพูดและกระท�ำนั้นดีไม่ดี
หรือเสียหายหรือไม่ แต่ถ้ามีสตินี้เราจะกลั่นกรอง
ไตรต่ รองกอ่ น มสี ตกิ อ่ นทเี่ ราจะพดู อะไรน้ี เราจะไตรต่ รอง
ลองสงั เกตดคู นทเี่ มากบั คนทไี่ มเ่ มา คนเดยี วกนั นลี้ ะ่ เวลา
ไมเ่ มานเ้ี รยี บรอ้ ยสภุ าพ พดู จาดี แตเ่ วลาเมาแลว้ กลายเปน็
อกี คนหน่ึงเลย เพราะไม่มีสตคิ อยควบคมุ ความคิด ค�ำพดู
การกระทำ� ตา่ งๆ
ถาม: พอเริ่มนั่งตอนแรกก็จะมีรู้สึกสงบ พอน่ังได้สัก
ครงึ่ ชัว่ โมงจะเริม่ ไมร่ เู้ รอื่ งเลย จะท�ำอยา่ งไรดี
ตอบ: ก็นั่งไม่มีอะไรก�ำกับใจนั้นเอง ถ้ามีก�ำกับใจก็จะรู้
ตลอดเวลา เชน่ เรารู้ลมนีเ้ ราจะต้องรไู้ ปตลอด จนกระทัง่
ลมหายไปเราก็รู้ว่าลมหาย เม่ือลมหายแล้วเราก็จะรู้ว่า
จิตนิง่ สงบ จติ เขา้ สมาธแิ ลว้ แต่ถา้ น่ังเฉยๆ ไป โดยทไ่ี ม่มี
อะไรก�ำกบั ใจน้ี อะไรก็เกดิ ขึน้ ได้
ถาม: ปจั จัยใดบา้ งที่ช่วยบม่ เพาะสติ

65

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ตอบ: ส่วนหน่ึงก็ให้อยู่ตามล�ำพังให้มากที่สุดเท่าที่จะ
มากได้ สองตอ้ งขยนั เบอ้ื งตน้ กอ็ าจจะบรกิ รรมพทุ โธ เพราะ
การบริกรรมมันจะบอกให้เรารู้ว่าเรามีสติหรือไม่มีสติ
ถ้าเราหยุดบริกรรมเม่ือไหร่แสดงว่าเราเผลอ อย่างน้อย
มีค�ำบริกรรมน้ีมันจะเป็นเหมือนสัญญาณบ่งบอกว่าเรา
ก�ำลังเจริญสติ เพราะว่าถ้าเราดูร่างกายนี้ บางทีเราอาจ
จะเผลอไดง้ ่ายโดยไมร่ ู้สึกตวั วา่ เราก�ำลงั ไปคดิ ถึงเรอ่ื งน้นั
เรอื่ งน้ี ไมไ่ ดอ้ ยู่กบั เรื่องที่เราท�ำอยเู่ พยี งอย่างเดียว แต่ถ้า
เราบริกรรมพุทโธพุทโธน่ี พอเราไม่บริกรรมพุทโธ หรือ
เราไปคิดเร่ืองน้ันเร่ืองนี้พร้อมๆ กับการบริกรรมพุทโธ
กแ็ สดงวา่ เราก�ำลงั ไมม่ สี ติ ถงึ แมม้ ีพุทโธแต่ใจกแ็ ว่บไปคิด
เร่ืองราวต่างๆ ได้ ก็ต้องมีความเพียรพยายามเป็นปัจจัย
ท่ีดีที่สุด เพียรพยายามเตือนตนเองอยู่เร่ือยๆ ว่ามีสตินะ
ต้องมีสติ เด๋ยี วน้กี ็มีนิยมทำ� เสื้อคอกลมแจกกันแล้วกม็ ตี วั
เขียนใหญ่ๆ “สติ” ติดที่หน้าอก แต่ความจริงคนใส่มอง
ไม่เห็นน่ะสิ อาจจะต้องสักค�ำว่า “สติ” ไว้ที่ฝ่ามือ หรือ
ที่ไหนสักแห่งที่เราดูอยู่เร่ือยๆ เช่นมือเราน้ี ที่ฝ่ามืออาจ
จะสัก “สต”ิ ไว้ พอเราจับข้าวจบั ของอะไรเรากจ็ ะไดเ้ หน็
คำ� วา่ “สต”ิ

66

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ถาม: อย่างนี้กพ็ อชว่ ยได้ใชไ่ หม
ตอบ: กอ็ ยู่ท่ีจะดอู กี หรือเปลา่
ถาม: เพราะวา่ เดี๋ยวนมี้ นี าฬกิ ารุ่นใหม่ๆ ครับ สักพกั หน่งึ
มันจะเตอื นให้หายใจ
ตอบ: อยา่ ไปหวงั พงึ่ สงิ่ ภายนอกดกี วา่ เดยี๋ วสง่ิ ภายนอกมนั
หายไป หรอื มนั เสยี ไปมนั กม็ ปี ญั หาตามมา ใหพ้ ง่ึ ในตวั เรา
ปจั จยั สง่ิ ทเี่ ราตอ้ งการทสี่ รา้ งขนึ้ มาคอื อธษิ ฐาน คอื เราตอ้ ง
ตง้ั เปา้ หมายวา่ ตอ่ ไปนเี้ ราจะมสี ตอิ ยเู่ รอ่ื ยๆ และเรากต็ าม
ด้วยสัจจะคือความจริงใจ เม่ือต้ังใจแล้วว่าจะมีสติ เราก็
ต้องพยายามมสี ติ ไมเ่ ปล่ยี นใจ แล้วก็ต้องมวี ริ ิยะ มคี วาม
เพียรพยายามที่จะฝึกสติอยู่เรื่อยๆ มีความอดทนเพราะ
วา่ เวลาเจริญสติ สักพกั เด๋ยี วมันกแ็ วบ่ ไป เรากต็ อ้ งอดทน
ดงึ มนั กลบั มาใหม่ มนั กเ็ ปน็ การชกั คะเยอ่ กนั ระหวา่ งเผลอ
สติกับการมีสติ ช่วงต้นๆ แต่ถ้าเพียรพยายามไปเร่ือยๆ
ต่อไปสติก็จะมีกำ� ลงั มากขนึ้ ๆ แลว้ มนั ก็จะไมเ่ ผลอ เผลอ
น้อยลงๆ
ถาม: เราก็อาศัยการดงึ ไปเรื่อยๆ แคน่ ้ันใชไ่ หม

67

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ตอบ: ใช่ และถา้ เป็นไปได้ ถา้ ไปปลีกวิเวกคนเดยี วดที สี่ ุด
เพราะมันจะได้ไม่มีรูป เสียง กล่ิน รส ไม่มีอะไรต่างๆ
มาดงึ ไป
ถาม: เวลาภาวนา เราใชค้ ำ� ว่าพุทโธ พทุ โธ ดึงสติแตก่ ย็ งั
มีวอกแวกอยู่ เราตอ้ งทำ� อยา่ งไรให้สติอยู่กับตัวมากขน้ึ
ตอบ: ก็ต้องท�ำไปเรื่อยๆ อย่าหยุด ยอมรับว่าก�ำลังสติ
ยังนอ้ ยอยู่ มนั จงึ วอกแวก ความคดิ มนั ยงั มีก�ำลงั มากกว่า
มันก็เลยดึงจิตไปคิดได้มาก เราก็ต้องพยายามฝึกสติไป
เร่ือยๆ แล้วต่อไปสติก็จะมีเพ่ิมมากขึ้นๆ ไป ต้องใช้ขันติ
ความอดทน ใช้ความเพยี รพยายาม
ถาม: เดนิ จงกรมกบั น่งั หรือยืน ตอ้ งภาวนาแบบเดียวกัน
หรือ หมายถงึ เช่นพุทโธ ตอ้ งพทุ โธทง้ั หมดหรือ
ตอบ: กแ็ ลว้ แตเ่ รานะ ถา้ ใชพ้ ทุ โธไดต้ ลอดกใ็ ชไ้ ด้ ถา้ อยใู่ น
อริ ยิ าบถเดนิ ถา้ ไมต่ อ้ งการใชพ้ ทุ โธกด็ กู ารเคลอ่ื นไหวของ
ร่างกาย เชน่ ดูท่ีเทา้ ทก่ี ้าวไป ก้าวเท้าซา้ ยแล้วกก็ า้ วเทา้
ขวาไป ก็ดกู ารกา้ วเทา้ ก็ได้ ซา้ ยขวา ซา้ ยขวาไป วธิ ไี หน
กไ็ ดท้ จี่ ะทำ� ใหใ้ จเราไมไ่ ปคดิ เรอ่ื งราวตา่ งๆ ถา้ ยนื อาจจะดู

68

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

อาการ ๓๒ ของรา่ งกายกไ็ ด้ ถา้ จะคดิ กใ็ หค้ ดิ อยกู่ บั อาการ
๓๒ ของร่างกาย หรือยืนดูลมหายใจเข้าออกก็ได้ ใหม่ๆ
อย่าเพ่ิงไปคิดดีกว่า ดูลมหายใจดีกว่า หรือคิดค�ำเดียวก็
คือพุทโธ พทุ โธ ดกี วา่
ถาม: การท่ีเราอยากให้จิตรวมเป็นอุเบกขา ถือว่าเป็น
กิเลสไหม
ตอบ: คือเป้าหมายของการภาวนาเพ่ือให้เป็นอุเบกขา
แต่ความอยากน้มี นั อาจจะเป็นอปุ สรรคขวางกั้นการทีเ่ รา
จะไดอ้ เุ บกขากไ็ ด้ เราตอ้ งเขา้ ใจความหมายวา่ ความอยาก
เปน็ อุเบกขานี้อยากตอนไหน สมมติวา่ อยากตอนที่เรายัง
ไม่มีอุเบกขา ตอนท่ีเรายังไม่ได้น่ังสมาธิ อันนั้นเราอยาก
มีอเุ บกขาได้ ถ้าเราอยากมีอุเบกขาแลว้ เรากต็ ้องท�ำในสงิ่
ท่ที ำ� ใหเ้ กิดอุเบกขาขึน้ มา ก็คอื การเจริญสติ การนง่ั สมาธิ
นั้นเอง แต่เวลาที่เราเจริญสติ เวลาท่ีเรานั่งสมาธินี้
เราต้องอย่าไปคิดถึงความอยากให้มันเป็นอุเบกขา
ลืมมันไป เพราะว่าเราก�ำลังเจริญเหตุท่ีจะพาให้จิตไป
สู่อุเบกขา ให้จิตเราต้ังอยู่กับเหตุ อย่าไปตั้งอยู่ที่ผลคือ
อุเบกขา เพราะผลมันไม่เกิด ถ้าเราไปคิดว่าเมื่อไหร่

69

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

จะเป็นอุเบกขาสักที อยากจะให้เป็นอุเบกขาเหลือเกิน
ถ้าคิดอย่างนี้ไปเรื่อยๆ มันจะไม่ท�ำให้จิตเป็นอุเบกขาได้
จิตจะเป็นอุเบกขาได้ก็ต้องอยู่ท่ีเหตุคือสติ คือไม่คิดอะไร
ใหร้ อู้ ยกู่ บั สง่ิ ทเ่ี รากำ� ลงั ทำ� อยู่ ดลู มไปหรอื พทุ โธไปอยา่ งนี้
แล้วเด๋ียวมันก็จะไดอ้ เุ บกขาข้นึ มาเอง
ถาม: การท่ีเราต้องท�ำงาน ท�ำให้ต้องภาวนาน้อยลง
แสดงวา่ จิตของเรากจ็ ะรวมไดย้ ากใช่ไหม
ตอบ: ถ้าท�ำนอ้ ยมันก็รวมไดย้ ากขนึ้
ถาม: เวลาไดย้ นิ เสยี งอะไรแลว้ ตกใจ เปน็ เพราะเราขาดสติ
หรือเปน็ เพราะอะไร
ตอบ: มันอาจจะเป็นสัญชาตญาณของเราก็ได้ เวลาเกิด
อะไรมากระทบใจกต็ กใจ แตถ่ า้ ตกใจแปบ๊ หนงึ่ แลว้ หายไป
เรามสี ตริ อู้ ยวู่ า่ ตกใจแลว้ กร็ วู้ า่ ความตกใจหายไป แลว้ กลบั
มาเป็นปกติ ก็ถือว่าเราไม่ขาดสติ แต่ถ้าตกใจแล้วจิตเรา
วุ่นวายไป หลังจากนั้นก็ถือว่าเราขาดสติ ต้องตกใจแล้ว
ก็ไม่วุ่นวาย น่ิงเฉย รู้ว่าจิตเราตกใจ เพราะบางทีเสียง
บางอย่าง บางทีมันมากระทบโดยท่ีเราไม่ได้ต้ังตัว เช่น

70

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

บางทีเสียงฟ้าผ่าเปร้ียงข้ึนมาอย่างนี้ มันก็อาจจะเกิด
ตกใจขึ้นมา แต่ตกใจปั๊บแล้วก็รู้ว่ามันตกใจแล้วก็ผ่านไป
แลว้ กก็ ลบั มาเปน็ ปกติ อยา่ งนก้ี แ็ สดงวา่ เรามสี ตอิ ยู่ แตจ่ ะ
เป็นการตกใจที่เป็นเรื่องของเหตุสุดวิสัยนี้บางทีมันกัน
ไม่ไดน้ ะ
ถาม: การน่ังสมาธดิ ูลมหายใจ ท่องพุทโธเวลาลมเข้าออก
แล้วจิตส่งส�ำรวจร่างกายจากศีรษะไปถึงเท้าเพื่อปลง
สงั ขาร จะผิดหรอื เปล่า
ตอบ: ผดิ แลว้ ควรจะอยกู่ บั ลมอยา่ งเดยี ว หรอื อยกู่ บั พทุ โธ
อย่างเดยี ว
ถาม: มีวิธีอย่างไรให้เจริญสติได้นานๆ และสามารถ
เข้าสมาธิได้ทกุ ขณะทตี่ อ้ งการ
ตอบ: ตอ้ งไปอยคู่ นเดยี ว ปลกี วเิ วกจะไดเ้ จรญิ สตไิ ดน้ านๆ
และเขา้ สมาธไิ ดท้ กุ ขณะทตี่ อ้ งการ คนทต่ี อ้ งการสมาธเิ ขา
ถึงนิยมไปปลีกวเิ วกกัน ไปอยูส่ ถานท่ีปฏบิ ัตธิ รรมทเ่ี ขาให้
อยู่ตามล�ำพัง ไม่ให้เกี่ยวข้องกัน จะได้เจริญสติได้นานๆ
และนั่งสมาธไิ ดท้ ุกขณะทีต่ อ้ งการ

71

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ถาม: ยังไม่เคยรับกรรมฐานจากพระอาจารย์ที่ไหนเลย
ไมท่ ราบว่าต้องเริม่ ภาวนาอย่างไร
ตอบ: กรรมฐานนี้เรารับจากพระพุทธเจ้า คือเรา
ศึกษาว่าการที่เราจะภาวนาน้ีเราใช้กรรมฐานชนิดไหน
ซึ่งโดยหลักพระพุทธเจ้าก็สอนให้เราใช้อานาปานสติ
เป็นกรรมฐาน ส�ำหรับควบคุมจิตใจเวลาท่ีเรานั่งสมาธิ
แลว้ เวลาทเ่ี ราไมน่ งั่ เวลาทเ่ี รามกี ารเคลอ่ื นไหวเดนิ จงกรม
หรอื ทำ� อะไรนก้ี ใ็ หใ้ ชก้ ายคตาสติ ไปอา่ นในสตปิ ฏั ฐานสตู ร
มีสองอันน้ีอยู่ในการปฏิบัติท่ีทรงสอนอยู่ ดังนั้นเรา
ไม่ต้องไปขอกรรมฐานจากใคร ค�ำว่าขอน่ีก็คือขอความรู้
ว่าวิธีจะปฏิบัติให้ถูกต้อง ให้ปฏิบัติอย่างไร อย่างเช่น
ตอนนี้ญาติโยมก�ำลังฟังอยู่น้ี ก็ถือว่าได้ขอกรรมฐาน
ไปแล้ว ให้กรรมฐานไปสองอย่าง คือกายคตาสติ กับ
อานาปานสติ ถ้านั่งก็อานาปานสติ ถ้าท�ำอะไรต่างๆ
เคลอ่ื นไหวกใ็ ชก้ ายคตาสติ หรอื อกี ขอ้ หนงึ่ กค็ อื พทุ ธานสุ ติ
คือการบริกรรมพุทโธ พุทโธนี้ใช้ได้ทุกกรณี เวลามีการ
เคล่ือนไหวก็ใช้พุทโธได้ เวลานั่งสมาธกิ ็ใช้พทุ โธได้ อนั นก้ี ็
กรรมฐานทเี่ ราควรจะรบั ไปปฏบิ ตั ิกัน

72

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ถาม: เมอ่ื ภาวนาพทุ โธ ไมว่ า่ อริ ยิ าบถใดกต็ าม เมอ่ื จติ สงบ
แลว้ ควรทำ� อะไรหรอื พจิ ารณาอยา่ งไรต่อไป
ตอบ: เบอ้ื งตน้ นก่ี พ็ ยายามรกั ษาความสงบใหม้ นั อยนู่ านๆ
อย่าเพิ่งไปท�ำอะไร ให้มันสงบไปอย่างน้ัน พอมันจะเริ่ม
คิดมันไม่สงบ กใ็ ช้พุทโธหยดุ มนั ตอ่ ไป อยูก่ ับบทนไี้ ปก่อน
ให้เรามีความช�ำนาญในการควบคุมจิตให้อยู่ในความสงบ
แลว้ หลงั จากนน้ั เราถงึ คอ่ ยไปฝกึ จติ ใหค้ ดิ ไปในทางปญั ญา
ตอ่ ไป
ถาม: การกำ� หนดร้กู ับสตเิ ป็นสง่ิ คกู่ ันใชห่ รอื ไม่
ตอบ: ก็เปน็ อันเดยี วกัน ถา้ มกี ารก�ำหนดรูก้ ็แสดงว่ามสี ติ
ก�ำหนดรู้อยู่กับลมหายใจ ก�ำหนดรู้อยู่กับการเคล่ือนไหว
ของร่างกาย ก็เรยี กวา่ สตนิ ้ีเอง
ถาม: ถา้ น่ังสมาธิ สามารถน่งั ทบ่ี า้ นได้กนี่ าที
ตอบ: น่ังให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะนั่งได้ จะนั่งนานไม่นาน
น้ีอยู่ที่ก�ำลังของสติของเรา ถ้าสติดีก็นั่งได้นาน สติไม่ดีก็
น่ังไดแ้ ป๊บเดยี ว ถา้ อยากจะนั่งนานกต็ ้องฝกี สตใิ ห้มากขึน้

73

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

แล้วก็จะน่ังได้นานขึ้น เพราะการน่ังสมาธิได้นานนี้มันดี
มปี ระโยชน์ อยา่ งนอ้ ยมนั กท็ ำ� ใหเ้ วลาผา่ นไปอยา่ งรวดเรว็
เช่นบางทีเราอยู่เฉยๆ น้ีจะท�ำอะไรแล้วรู้สึกเหงา เบื่อ
มาน่งั สมาธิมนั ก็จะหายเหงา หายเบอื่ ได้
ถาม: ระหว่างเดินจงกรมถ้าเราเห็นอะไรท่ีไม่เหมาะสม
หรือปลอดภัย หรือรบกวนสมาธิ เราสามารถหยุดเดิน
แลว้ ไปจดั การสงิ่ เหลา่ นัน้ ได้หรือไม่ หรือปลอ่ ยไปกอ่ น
ตอบ: แล้วแต่เหตุผลว่าเราควรจะท�ำอย่างไร ถ้าจ�ำเป็น
จะตอ้ งจดั การกจ็ ดั การไป ถ้าไม่จำ� เป็นก็ปล่อยมนั ไป หรอื
ถ้าเราตอ้ งการฝกึ อเุ บกขา ฝึกปลอ่ ยวาง กไ็ ม่ตอ้ งท�ำอะไร
เรากอ็ ยเู่ ฉยๆ ไป จนกวา่ สง่ิ นน้ั ผา่ นไป แลว้ เรากค็ อ่ ยทำ� มนั
ตอ่ ไปก็ได้ อันนก้ี ็แล้วแต่ ต้องใช้ปญั ญาวิเคราะห์ แล้วแต่
กรณี
ถาม: ตอนปลีกวิเวกครั้งก่อน ตรงทางจงกรมมันมีฝน
ตกแล้วก็มีพวกหอยทากมาเดินเต็มเลย ผมก็คิดว่าผมจะ
หยุดแลว้ ไปเอาออกดี หรอื วา่ จะเดินดว้ ยความระมัดระวงั
มนั ก็จะยิ่งสรา้ งสตมิ ากข้ึน อะไรดีกว่ากนั

74

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ตอบ: กต็ อ้ งดสู วิ า่ มนั ทำ� จรงิ ๆ แลว้ อยา่ งไหนดกี วา่ สตเิ ผลอ
แลว้ ไปเหยยี บมนั ตายนก้ี เ็ ปน็ บาป ไมอ่ ยา่ งนนั้ กย็ า้ ยทดี่ กี วา่
ย้ายมันไปก็ได้ หรือเราย้ายท่ีไปก็ได้ เช่นว่าเราสามารถ
จับตัวมันแล้วก็เอาไปปล่อยไกลๆ หน่อยจากทางเดิน
ของเรา เคลียรท์ างเดนิ ได้
ถาม: วันนั้นก็กลัวเหยียบเขาก็เลยเคลียร์ทางเดิน
แตส่ งั เกตวา่ ตอนทเ่ี ดนิ ตอนมพี วกเขาอยู่ มนั กร็ ะวงั ตวั มาก
ตอบ: ใช่ แต่โอกาสเผลอก็มากเหมือนกันเพราะบางที
เราจะไม่มีสติอย่างต่อเน่ือง คราวหน้าเดินกลับมาตรงน้ี
อ้าว กร๊อบ ไปเสียแล้ว เสียงกร๊อบ ก้าวเร็วไป คือเขา
เคลื่อนไหวด้วย เขาเคลื่อนมา แต่ถ้าเราคิดว่าเป็นการ
ฝกึ สติ ฝกึ ความระมดั ระวงั กท็ ำ� ได้ แตต่ อ้ งใหม้ นั ระมดั ระวงั
จริงๆ เทา่ น้นั เอง อย่าไปทำ� ใหเ้ ขาตาย
ถาม: การดูกาย ดูว่ากายมีการเคลื่อนไหวอย่างไร
แต่ขณะเดียวกันจิตก็ยังคิดเรื่องอื่นไปด้วยถือว่าเป็นการ
ดกู ายที่ไม่ถูกต้องใช่ไหม และสตติ ่างกับสมาธิอย่างไร

75

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ตอบ: ยังไม่ถูกต้อง เพราะว่าจิตยังแว่บไปคิดเร่ืองน้ัน
เร่ืองน้ีอยู่ ต้องพยายามบังคับให้มันอยู่กับร่างกายเพียง
อย่างเดียว ถ้าไม่ได้ก็อาศัยการบริกรรมพุทโธขึ้นมาอีก
อันหน่ึง เพ่ือบังคับให้มันไม่ไปคิดเรื่องราวต่างๆ ดูการ
เคล่ือนไหวของร่างกายแล้วก็บริกรรมพุทโธควบคู่ไปด้วย
กไ็ ด้ ก็อาจจะทำ� ใหห้ ยุดความคิดเรอ่ื งอน่ื ๆ ได้ สว่ นความ
ต่างๆ ระหว่างสติกับสมาธิก็คือสติเป็นเหตุ สมาธิเป็นผล
สติจะเป็นผู้ที่จะคอยควบคุมบังคับให้ใจหยุดคิด พอใจ
หยุดคดิ ได้เต็มท่ี จติ นงิ่ เขาเรียกว่าสมาธิ
ถาม: ขณะสวดมนต์หรือบริกรรมในใจ จิตยังหนีไปคิด
อย่างอนื่ จะบงั คับกลับมาไดห้ รือไม่
ตอบ: เวลาเรารู้สึกตวั เรากด็ งึ กลับมา ใหม่ๆ มันก็จะเป็น
แบบนี้ เพราะสติเราแบบล้มลุกคลุกคลาน เดี๋ยวก็เผลอ
เดี๋ยวก็ลืม พอเราเผลอเราลืมปั๊บมันก็แว๊บไปคิดเร่ืองน้ัน
เรอ่ื งน้ี พอเราไดส้ ตกิ ด็ งึ มนั กลบั มาใหม่ ใหมๆ่ กต็ อ้ งอดทน
ทำ� อยา่ งนไ้ี ปกอ่ น ดงึ กนั ไปดงึ กนั มา เรยี กวา่ การชกั เยอ่ กนั
จนกว่าสติเรามีก�ำลังมากขึ้นๆ แล้วการเผลอก็จะน้อย
ลงไปๆ ตามล�ำดับ

76

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ถาม: ระหวา่ งเดนิ จงกรมโดยบรกิ รรมพทุ โธแบบออกเสยี ง
เบาๆ แทน ความรู้สึกที่การก้าวเดิน ต้องวางจิตท่ีไหน
เพราะใจไม่สงบและมักมีเรื่องให้คิดแทรกขึ้นมาเลยต้อง
บรกิ รรมแบบออกเสยี งโดยรสู้ กึ ถงึ รมิ ฝปี ากทอ่ี อกเสยี งแทน
ตอบ: กต็ าดเู ทา้ ไปแลว้ ใจกอ็ ยกู่ บั พทุ โธไป มนั กต็ อ้ งอยกู่ บั
ทั้งสองส่วน เพราะเดนิ ไปข้างหน้าเรากต็ อ้ งรู้วา่ มอี ะไรอยู่
ข้างหน้า เช่นเมื่อก้ีท่ีบอกถ้าเกิดมีหอยทาก มีอะไรน้ีเรา
ก็ต้องเห็นด้วย แต่ในขณะเดียวกันใจเราก็ต้องไม่ไปคิด
เรอ่ื งอ่ืน ใหค้ ดิ อยูก่ บั พทุ โธ พุทโธไป
ถาม: การทเี่ ราฝกึ เจรญิ สตไิ ปเรอื่ ยๆ เมอื่ เราอายมุ ากขน้ึ จะ
สามารถช่วยเรือ่ งโรคอัลไซเมอร์ได้หรอื ไม่ และตอนนเี้ หน็
คุณยายอายุ ๙๖ ปี เริม่ หลงๆ ลืมๆ เพอ้ ๆ บา้ ง เราพอจะ
ช่วยไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง
ตอบ: ถ้าฝึกสติจนเป็นสัมปชัญญะแล้ว ความอัลไซเมอร์
จะเขา้ มาไมไ่ ด้ เพราะจะไมเ่ ผลอ จะไมล่ มื ดคู รบู าอาจารย์
ท่ีท่านอายุกันเก้าสิบกว่าถึงร้อยนี้จิตใจของท่าน สติสตัง
ของท่านนี้ยังสมบูรณ์อยู่ ความจงความจ�ำสิ่งต่างๆ ก็ยัง
จ�ำไม่หลงลืม แต่ท่านอาจจะลืมเร่ืองเหตุการณ์ต่างๆ ได้

77

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

เช่น เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นเม่ือปีที่แล้วหรือลืมคนน้ันคนนี้
ถา้ ไมไ่ ดเ้ จอหนา้ กนั บอ่ ยๆ อนั นห้ี ลงลมื ได้ แตจ่ ะไมล่ มื ชวี ติ
ของท่าน ว่าตอนนี้ท่านก�ำลังท�ำอะไรอยู่ ถึงเวลาจะต้อง
ท�ำอะไร อยา่ งนีท้ ่านจะไมล่ มื ส่วนคณุ ยายถ้าตอนนีท้ ่าน
๙๖ แลว้ มันก็สายเกินไปท่ีจะช่วย เพราะว่าไมแ้ ก่ดัดยาก
ถ้าอยากจะดดั ไม้ตอ้ งดัดไมอ้ อ่ น มาฝกึ เด็กดกี วา่ สอนเด็ก
ใหม้ สี ติ ฝกึ สตไิ ปตง้ั แตย่ งั เปน็ หนมุ่ เปน็ สาว ตอ่ ไปเวลาทแ่ี ก่
แลว้ มนั กจ็ ะติดเปน็ นิสยั ไป
ถาม: เคยได้ยินเรื่องจิตเดิมแท้คืออะไร เป็นไปได้ไหมว่า
มีสองจติ ระหว่างดีกบั ชวั่
ตอบ: จิตเดิมแท้ก็จิตท่ีสงบนิ่ง จิตท่ีปราศจากความคิด
ปรุงแต่ง หรือว่าจิตที่อยู่ในสมาธิน้ันเรียกว่าจิตเดิมแท้
อันนั้นเหลือแต่ผู้รู้ สักแต่ว่ารู้อย่างเดียว แต่พอถอยออก
มาแล้วกลายเป็นจิตปรุงแต่งไป คิดเร่ืองนู้น คิดเรื่องนี้
จิตสมมุติไป สมมุติว่าเป็นนู่นเป็นนี่ขึ้นมา แต่พอเวลา
จิตสงบน้ีมันเหลือแต่ตัวรู้ตัวเดียว สักแต่ว่ารู้ เป็นจิต
ตวั เดยี วกนั เหมอื นคนคนเดยี ว คนนอนกบั คนตน่ื คนตนื่ ก็
ทำ� นนู่ ท�ำน่ี คนนอนกน็ ่ิงเฉยๆ นอนเฉยๆ เป็นคนเดยี วกนั

78

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ถาม: เวลาน่งั ภาวนาเรารับรทู้ กุ สง่ิ ท่ีมากระทบ เช่น จมูก
รู้กลิ่นอะไร กายรู้สึกร้อนเย็น เสียงท่ีเข้ามาเป็นการมี
สัมมาสตไิ หม
ตอบ: ไมใ่ ชห่ รอก เวลาเรานง่ั ภาวนาตอ้ งใหม้ สี ตอิ ยกู่ บั เรอื่ ง
ท่ีเราก�ำหนดให้อยู่ด้วย เช่น ถ้านับอยู่กับลมหายใจเพียง
อยา่ งเดยี ว หรอื อยกู่ บั พทุ โธเพยี งอยา่ งเดยี ว สว่ นสง่ิ อน่ื มา
กระทบนอ้ี ยา่ ไปสนใจ เพราะจะทำ� ใหเ้ ราเสยี สติ เสยี สมาธไิ ด้
ถาม: เวลานั่งสมาธิทีไร เวทนาเจ็บปวดที่ขายังพอทนได้
ในล�ำคอมีน�ำ้ ลายเต็มเลย เคยปลอ่ ยให้มนั ไหลออกมามัน
กไ็ หลออกมาจรงิ ๆ ควบคมุ มนั ไมไ่ ด้ ทำ� อย่างไรดี
ตอบ: ควบคมุ ไมไ่ ดก้ ป็ ลอ่ ยมนั ไป ใหเ้ รามสี ตอิ ยกู่ บั อารมณ์
ท่ีเราก�ำหนดไว้เพียงอย่างเดียว อยู่กับลมก็อยู่กับลมไป
อยู่กับพุทโธก็อยู่กับพุทโธไป ส่วนน้�ำลายมันจะไหลออก
มาก็ไม่เป็นไร เด๋ียวภาวนาแล้วไปล้างหน้าแล้วอาบน้�ำได้
แต่รับประกันได้ว่าถ้าเราไม่ไปยุ่งกับมันเดี๋ยวมันก็
หยุดไหลเอง ย่ิงเราไปรับรู้มันไปคิดถึงมันมันย่ิงไหลใหญ่
ดังนัน้ พยายามอย่าไปคิดถึงมัน พอมนั จะไปคิดถึงนำ�้ ลาย

79

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

กใ็ หก้ ลบั มาคิดอยูท่ พ่ี ทุ โธ พทุ โธ พทุ โธไป หรืออยู่กบั ลม
หายใจไป
ถาม: ขณะภาวนาเกิดกายแผ่ซาบซ่าน (ไม่ใช่ฌาน..
คลา้ ยฌาน) ลมื ตามองรู้ กระดกิ นว้ิ รู้ มแี ตร่ ูๆ้ อยอู่ ย่างน้ัน
รู้แบบกายซาบซา่ น ปติ ิ อยากทราบวา่ เปน็ สภาวะใด
ตอบ: ก็อาจจะเป็นความสงบในระดับหนึ่ง แต่ยัง
ไมส่ งบอยา่ งเตม็ ท่ี ถา้ สงบเตม็ ทแี่ ลว้ มนั จะไมร่ บั รอู้ ะไรเลย
ร่างกายนอี้ าจจะหายไปจากความรูส้ กึ เลย
ถาม: อปุ จารสมาธิเพยี งพอสำ� หรบั การทำ� วิปสั สนาไหม
ตอบ: ไม่พอหรอก อปุ จารสมาธินี่เปน็ สมาธิทไี่ ม่สนบั สนนุ
การทำ� วปิ สั สนา ตอ้ งเปน็ อปั ปนาสมาธิ ขณกิ กไ็ มส่ นบั สนนุ
เพราะขณกิ น้ีมนั สน้ั ตอ้ งเป็นอัปปนา ต้องเป็นสมาธทิ ี่นง่ิ
สงบยาวนาน ถงึ จะสามารถสนบั สนนุ การเจรญิ วปิ สั สนาได้
ถาม: เวลาเปิดเพลงบรรเลงผอ่ นคลายเบาๆ แลว้ น่ังสมาธิ
ไปด้วย รู้สึกว่าจิตไม่ไปจับขันธ์อื่น จะนิ่งกว่านั่งเงียบๆ
ไดย้ ินเพยี งเสียง แบบน้ีควรท�ำไหม

80

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ตอบ: มันไม่ได้เป็นวิธีที่ถูกต้อง เพราะว่ามันเป็นการ
เสพกามคือเสียง ซ่ึงเสยี งนีก้ ็เป็นอนิจจังไม่เที่ยง เสยี งมนั
เปลี่ยนได้ จากเสียงดี กลายเป็นเสียงไม่ดีก็ได้ หรือเสียง
ดแี ลว้ มนั หายไป มนั หยดุ ไป มนั กจ็ ะทำ� ใหเ้ ราเควง้ ได้ ดงั นนั้
พระพทุ ธเจา้ จงึ ไมแ่ นะนำ� ใหใ้ ชเ้ สยี งตา่ งๆ มาเปน็ เครอ่ื งมอื
ในการทำ� จติ ใจใหส้ งบ แลว้ จติ ใจสงบไมไ่ ดเ้ พราะมนั ยดึ ตดิ
มนั จะติดอยูก่ บั เสียงน้ันเอง มนั ก็จะเข้าสู่ความสงบไมไ่ ด้
ถาม: เจริญเมตตาภาวนา แผ่ไปให้รอบระหว่างท�ำสมาธิ
บางทีก็เหมือนวูบหล่นไป บางทีเจอคนป่วยเราก็แผ่ให้
จนเห็นเขาหายดีข้ึน อย่างน้ีเราจะเจ็บป่วยไหม แผ่ไป
เรอ่ื ยๆ บางทจี ติ ยงั ไมอ่ อกจากสมาธเิ รากอ็ อกไมไ่ ด้ ปฏบิ ตั ิ
ถูกไหม
ตอบ: ไมร่ เู้ หมอื นกนั ถูกหรือผดิ เรากไ็ ม่รเู้ หมอื นกนั อันนี้
คอื การนงั่ สมาธนิ ี้ เราไมต่ อ้ งการแผอ่ ะไรทงั้ นนั้ เราตอ้ งการ
ใหจ้ ติ สงบนง่ิ เพยี งอยา่ งเดยี ว ใหม้ สี ตริ ะลกึ รอู้ ยตู่ ลอดเวลา
แล้วเม่ือถึงเวลาจิตมันจะออกมันก็ออกของมันเอง เราไม่
บังคับให้มันออก ถ้ามันยังไม่อยากออกก็ปล่อยมันนั่ง
ตอ่ ไป ให้มนั สงบต่อไป

81

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ถาม: ส�ำหรับฆราวาสท่ีสวดมนต์อยู่ที่บ้าน ต้องใช้
บทสวดไหน
ตอบ: บทไหนก็ได้ แต่ง่ายๆ กส็ วดบทอิตปิ ิโส หรือบทสวด
พระพทุ ธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคณุ แลว้ ถา้ อยากจะ
สวดบทไหนเพิ่มก็ได้ มงคลสูตรก็ได้ สติปัฏฐานสูตรก็ได้
แลว้ แตเ่ ราตอ้ งการจะสวด ไมม่ คี วามแตกตา่ งกนั การสวด
บทไหนก็เป็นการเจริญสติเหมอื นกัน
ถาม: ปกติพิจารณารูปนาม พอมีอะไรกระทบก็ใช้รูป
กบั นาม แตช่ ว่ งหลงั ใชช้ วี ติ ประจำ� วนั มกั มอี ารมณห์ งดุ หงดิ
ไมส่ บายใจ รำ� คาญใจ ก็ดูมัน รู้เท่าทัน แตป่ ัญหาเกิดตอน
มาถือศีลที่วัดค่ะ อยู่คนเดียว ความหงุดหงิดมันขึ้นมา
ในใจโดยไม่มีรูปมากระทบกับนาม มันเกิดมาเอง จะเอา
อะไรไปตัด แม้แต่ตอนนอน มันเกิดแม้แต่ตอนนอนหลับ
ก็มีอารมณ์หงุดหงิดเกิดขึ้นในตอนหลับ หนักสุดตอนเช้า
ตีสต่ี ืน่ มาท�ำวัตรเช้า นงั่ สมาธใิ นโบสถ์ เหน็ ไฟไหมใ้ นโบสถ์
ไหมท้ ั้งหลัง
ตอบ: คือต้องใช้สตนิ ี้เอง ใจเราคดิ ปรงุ แต่งไปในทางความ
อยากต่างๆ มันก็เลยท�ำให้เกิดความหงุดหงิดข้ึนมาในใจ

82

สติ-สมาธิ, การปลีกวิเวก

ถ้าเราหยุดความอยาก หยุดความคิดได้ ความหงุดหงิด
มนั ก็จะหายไป ดงั น้นั เวลาเราไปอยคู่ นเดียว อยทู่ ี่วัดน้ีเรา
ต้องพยายามท�ำสติให้มาก คอยควบคุมความคิดอย่าให้
คิดไปตามความอยากต่างๆ เพราะมันจะท�ำให้เรารู้สึก
เหงาบา้ ง หงดุ หงดิ บ้าง ดงั นัน้ ตอ้ งฝึกสตใิ หม้ ากเวลาท่ีเรา
ไปถือศีลที่วัด เพราะเวลาเราไม่ถือศีลแล้วยังมีเรื่อง
อยา่ งอน่ื ทำ� ได้ อยทู่ ่บี า้ น เดยี๋ วเรากด็ หู นงั ได้ เด๋ยี วเราก็กิน
ขนมได้ ท�ำอะไรได้ เราก็เลยไม่หงุดหงิด แต่ถ้าเราไปอยู่
ทวี่ ดั ทำ� ไมไ่ ดเ้ ลยของพวกนี้ เรากต็ อ้ งใชส้ ตเิ พยี งอยา่ งเดยี ว
ระงับความอยากที่จะท�ำส่ิงต่างๆ ให้ได้ ถ้าระงับมันได้
ความหงุดหงดิ กจ็ ะหายไป
ถาม: การมีสติรู้ระลึกที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ปัจจุบัน
สามารถรบั มือให้อยู่รอดปลอดภัยไดอ้ ย่างไร
ตอบ: ถ้าเรามีสติอยู่น้ี พอเราเดินไปเจอสัตว์ท่ีอันตราย
เราจะไปเหยยี บงนู ี่ พอมีสตเิ รากเ็ ลย่ี งได้ แตถ่ ้าเราไม่มสี ติ
เรากไ็ ปเหยยี บ หรอื เดนิ เขา้ ใกลง้ แู ลว้ กถ็ กู งกู ดั ได้ การมสี ติ
กค็ อื การมไี ฟฉายในทม่ี ดื นน้ั เอง เพราะเราจะเหน็ สง่ิ ตา่ งๆ
ท่ีเราไม่สามารถมองเห็นได้ถ้าไม่มีไฟฉายในท่ีมืด ฉันใด

83

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ถา้ เราไมม่ สี ตนิ บ้ี างทเี ราไมร่ วู้ า่ เรากำ� ลงั เดนิ ไปเหยยี บอะไร
อยหู่ รอื ไม่ หรอื ก�ำลังไปเดนิ ชนอะไรหรือไม่ แต่ถ้าเรามีสติ
เราจะรตู้ ลอดเวลาว่าข้างหน้านี้มีอะไรรอเราอย ู่
ถาม: บ่อยคร้ังที่คิดเยอะ จนท�ำให้ปวดท้ายทอย ปวด
ตน้ คอ ยิ่งรู้วา่ ก�ำลงั คดิ ยิง่ คิดเขา้ ไปใหญ่ ยง่ิ จะใหห้ ยดุ คดิ
กย็ งิ่ จะคิด อย่างน้โี ยมต้องทำ� อย่างไร
ตอบ: ก็คิดพุทโธแทนสิ คิดพุทโธ พุทโธ พุทโธ หรือคิด
อิติปิ โส แทน คิดไปสักร้อยจบ อิติปิ โส ภควา อรหัง
สมั มาสมั พุทโธ วิชชาจรณสมั ปันโน คิดไปรอ้ ยจบ

84

ปญญา

ปญ˜ ญำ

รายการสนทนาธรรมกับท่านพระอาจารยส์ ุชาติ อภชิ าโต
โดย Dr.V (นายแพทยว์ ีระพนั ธ์ สุวรรณนามัย)

85

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

พอมีสติแลว้ ก็สอนใจ
ให้มองทุกอยา่ งในโลกนี้

วา่ เป็นไตรลักษณ์
เพ่อื จะไดต้ ัดความอยากตา่ งๆ
แลว้ ใจกจ็ ะอยคู่ นเดยี วสงบ

ไมต่ อ้ งไปวนุ่ วายกับใคร

86

ปญญา

ถาม: กราบเรียนถามพระอาจารย์ในเรื่องของปัญญา
นะครับ ขอความเมตตาครับ
ตอบ: ปัญญากค็ อื ความรู้ ความรนู้ ี้เกดิ ข้นึ ได้ ๓ วิธีดว้ ยกนั
ตามหลกั ของพระพทุ ธศาสนา ๑. คอื ความรทู้ เ่ี กดิ จากการ
ได้ยินได้ฟัง ได้ศึกษาพระธรรมค�าสอนของพระพุทธเจ้า
เช่น พวกเราตอนนี้ก�าลังมาได้ยินได้ฟังพระธรรมค�าสอน
ของพระพุทธเจ้าน่ี อันน้ีก็เรียกว่าเราจะได้เกิดความรู้
รู้เรื่องไตรสิกขา รู้เรื่องศีล เร่ืองสมาธิ เรื่องปัญญา ท่ีจะ
เป็นเครื่องมือท่ีจะใช้ในการดับความทุกข์ต่างๆ เม่ือเรา
รู้แลว้ เรากน็ �าเอาไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน ์
เบื้องต้นก็เราต้องหมั่นเตือนตัวเราเอง พิจารณาอยู่
เนืองๆ ตามค�าสอนของพระพุทธเจ้า ที่พระพุทธเจ้าทรง
สอนให้เราพิจารณา เช่น ให้พิจารณาร่างกายของเรา
ว่าไม่เท่ียง เม่ือเกิดแล้วก็ต้องมีแก่ มีเจ็บ มีตาย ไม่สวย
ไมง่ าม มอี าการ ๓๒ แล้วต่อไปกจ็ ะกลายเป็นซากศพไป

87

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

นี่คือปัญญาข้ันท่ี ๒ หลังจากท่เี ราไดย้ ินไดฟ้ ังแล้ว ถา้ เรา
ไมน่ ำ� เอาไปตอ่ ยอด เรากจ็ ะลมื ฟงั หนเดยี วก็ เดย๋ี วเราตอ้ ง
ไปท�ำเร่ืองอย่างอื่น คิดเร่ืองน้ันเร่ืองน้ี ส่ิงท่ีเราได้ยินได้
ฟังก็จะถูกเรอื่ งใหมๆ่ เขา้ มากลบในใจ ทำ� ใหธ้ รรมะท่เี รา
ได้ยินได้ฟังก็จะหายไป เหมือนอาทิตย์ท่ีแล้วเราพูดเร่ือง
อะไรบา้ ง ตอนนี้จำ� ได้บ้างหรอื เปล่า อันนี้ถา้ ไมเ่ อามาคดิ
ก็ลืมแล้วว่า สมาธิมีกี่ชนิด และการที่จะเข้าสมาธิได้นั้น
ตอ้ งท�ำอยา่ งไร
อันน้ีถ้าเราไม่เอามาพิจารณาอยู่เนืองๆ เราก็จะลืม
เมือ่ ลมื แล้วเราก็จะไม่ไดป้ ฏิบตั ิ ทำ� สมาธิ หลงั จากท่เี ราได้
ศกึ ษา ได้ยนิ ได้ฟงั แลว้ เราก็น�ำมาพจิ ารณาอยเู่ ร่ือยๆ เพ่อื
ใหม้ ันฝงั อยู่ในใจเรา ขั้นท่ี ๒ นเี้ ราเรยี กว่าจนิ ตมยปัญญา
ข้ันแรกเราเรียกว่าสุตตมยปัญญา สุตตก็คือพระสูตรท่ี
พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมไว้ เราเรียกว่าพระสูตร
การศึกษาพระสูตรต่างๆ ของพระพุทธเจ้าก็เรียกว่า
“สุตตมยปญั ญา”
แล้วพอเราได้ศึกษาพระสูตรแล้ว แล้วเราก็เอามา
พจิ ารณาอยเู่ นอื งๆ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงสอนใหเ้ ราพจิ ารณา

88

ปัญญา

ว่า “ร่างกายนเ้ี ม่ือเกิดมาแลว้ ย่อมแก่ ยอ่ มเจบ็ ย่อมตาย
เป็นธรรมดา ล่วงพ้นความแก่ ความเจ็บ ความตายไป
ไม่ได้” เราต้องหมั่นน�ำมาพิจารณาอยู่เนืองๆ เพื่อให้มัน
ฝังอยู่ในใจเรา ไม่ให้เราลืมกัน ส่วนใหญ่เรามักจะลืมกัน
เพราะว่าเรามักจะไปคิดเรื่องอื่นแทน เร่ืองอยากจะให้
ร่างกายน้ีแข็งแรง อยากจะให้ร่างกายน้ีปราศจากโรคภัย
ไขเ้ จ็บ อยากจะใหร้ ่างกายนอ้ี ยูไ่ ปนานๆ ไม่ตาย
อันน้ีเป็นความคิดของกิเลส ของอวิชชา โมหะ
ที่พยายามให้เราไปคิดในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ แล้วท�ำให้เรา
ทกุ ขเ์ วลาทม่ี นั ไมเ่ ปน็ ไปตามทเ่ี ราปรารถนา เวลาเราเจบ็ ไข้
ได้ป่วยเราก็ทุกข์ เพราะความปรารถนาของพวกเรานี้
ตอ้ งการใหร้ า่ งกายไมเ่ จบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย แตถ่ า้ เราหมน่ั พจิ ารณา
อยู่เรื่อยๆ เราก็จะไม่ลืม แล้วเราก็จะตัดความปรารถนา
ที่อยากจะให้ร่างกายไม่เจ็บไข้ได้ป่วยไป เพราะเรารู้ว่า
มันเปน็ ไปไม่ได้ตามหลักความเปน็ จริง ไม่ช้าก็เรว็ ร่างกาย
นก้ี ต็ ้องเจ็บไข้ได้ปว่ ย เราก็ต้องนำ� มาพิจารณาอย่เู นอื งๆ
แตก่ ารจะพจิ ารณาไดอ้ ยเู่ นอื งๆ นี่ เราตอ้ งอาศยั จติ ใจ
ทมี่ คี วามตง้ั ม่นั อย่ใู นความสงบ ในอุเบกขา ไมเ่ ชน่ นั้นแลว้

89

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

เรากจ็ ะพจิ ารณาไดเ้ ดย๋ี วเดยี ว สกั พกั เดย๋ี วเรากถ็ กู กเิ ลสดงึ
ใหไ้ ปคิดเรื่องอ่นื แทน คดิ ตรงขา้ มกับความเป็นจรงิ ฉะนน้ั
เราจงึ ตอ้ งมาปฏบิ ตั สิ มาธกิ นั เพอื่ ใหจ้ ติ เขา้ สอู่ เุ บกขาใหไ้ ด้
เขา้ สคู่ วามสงบนง่ิ เปน็ อเุ บกขา เพราะเมอื่ จติ เปน็ อเุ บกขานี้
จติ จะมกี ำ� ลงั เหนอื กำ� ลงั ของกเิ ลสตณั หา ทจี่ ะคอยฉดุ ลาก
ใหจ้ ิตไปนอกลนู่ อกทางของความเป็นจริง
ถ้าเรามีอุเบกขาแล้ว จินตามยปัญญาของเรานี้
ก็จะกลายเป็นภาวนามยปัญญา คือปัญญาขั้นท่ี ๓ คือ
เราจะพิจารณาอยู่เรื่อยๆ แทบทุกลมหายใจเข้าออก
ดังที่พระพุทธเจ้าทรงสอนพระอานนท์ไว้ ทรงถาม
พระอานนท์ว่า “อานนท์ วันหน่ึงๆ เธอนึกถึงความตาย
สักก่รี อบ กีค่ ร้ัง” พระอานนทก์ บ็ อกว่า “ส่ีหา้ ครง้ั ด้วยกัน
เชา้ กลางวนั เย็น ก่อนนอน เป็นต้น” พระพุทธเจา้ ทรง
บอกว่าการพิจารณาแบบน้ียังไม่พอเพียง ยังไม่ทันกับ
กิเลสที่มาคอยสร้างความทุกข์ให้กับใจ ด้วยความอยาก
ไม่ตายน้ี เธอต้องหม่ันพิจารณาทุกลมหายใจเข้าออก
หายใจเข้าก็รู้ว่า ถ้าไม่หายใจออกก็ตาย หายใจออก
ถ้าไมห่ ายใจเขา้ ก็ตาย”

90

ปัญญา

คือให้มีความตายน้ีอยู่ในจิตอยู่ทุกขณะเลย ว่าหนี
ความตายไปไมพ่ น้ ลว่ งพน้ ความตายไปไมไ่ ด้ เกดิ มาแลว้
ย่อมมีความตายเป็นธรรมดา ล่วงพ้นความตายไปไม่ได้
การที่จะพิจารณาอย่างต่อเน่ืองอย่างน้ีได้ ต้องมีสมาธิ
ในระดับอุเบกขา ถ้าเป็นฌานก็ในระดับฌานข้ันท่ี ๔
ฌาน ๔ นจี้ ติ จะรวมเขา้ สอู่ เุ บกขา แลว้ พอออกจากสมาธมิ า
ก็จะเป็นอุเบกขา คอยสนับสนุนการพิจารณาให้มีปัญญา
อยใู่ นใจอยา่ งตอ่ เน่อื งอยา่ งสมำ�่ เสมอ
อันน้ีก็น�ำไปสู่ข้ันที่ ๓ ถ้าเรามีความรู้อยู่ตลอดเวลา
ว่าร่างกายน้ีจะต้องตาย ล่วงพ้นไปไม่ได้ตลอดเวลา
แล้วเราจะไปฝืนความจริงได้ยังไง เราจะไปอยากไม่ตาย
ไดย้ งั ไง เราก็จะตอ้ งยอมรบั ความจรงิ แล้วพอเรายอมรับ
ความจรงิ ความอยากไมต่ ายมนั กจ็ ะหมดกำ� ลงั ไป เรากจ็ ะ
ไมท่ กุ ขก์ บั ความตายอกี ตอ่ ไป เพราะวา่ เรายอมรบั ความตาย
เพราะเราไมม่ คี วามอยากไมต่ าย เพราะความอยากไมต่ าย
น้ีถูกปัญญาระดับข้ันที่ ๓ คือ ภาวนามยปัญญานี้เป็น
ผู้ท่ีจะคอยสกัดก้ันไม่ให้เกิดข้ึนมาน่ันเอง พอเราสกัดกั้น
ความอยากไม่ตาย ซึ่งเป็นต้นเหตุของความทุกข์ไปได้
ความทุกข์ใจเกีย่ วกบั ความตายกจ็ ะไมเ่ กดิ ขน้ึ อีกตอ่ ไป

91

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

นี่คอื ขัน้ ที่ ๓ ขั้นท่ี ๑ ข้นั ที่ ๒ นีย้ ังไมม่ ีกำ� ลงั พอทจ่ี ะ
สกดั กนั้ ความอยาก ใหจ้ ติ ยอมรบั ความจรงิ ได้ เพราะวา่ จติ
ยงั ไมส่ ามารถคดิ ถงึ ความตายไดอ้ ยา่ งทกุ ลมหายใจเขา้ ออก
แตพ่ อมาฝกึ สมาธิ มาทำ� ใจใหส้ งบเปน็ อเุ บกขาได้ อเุ บกขา
นี่ก็จะเป็นตัวท่ีจะผลักดันให้จิตนี้สามารถพิจารณา
ความตายไดต้ ลอดเวลา ถา้ ใครพจิ ารณาความตายไดต้ ลอด
เวลา รู้อยู่ตลอดเวลาว่าร่างกายนี้ต้องตายแน่นอน ไม่ช้า
ก็เร็ววันใดวันหนึง่
ถา้ รตู้ ลอดเวลา การจะไปปฏเิ สธความจรงิ การจะไป
อยากให้มันไมต่ ายน้ี รวู้ ่าเปน็ ไปไม่ได้ มนั กจ็ ะระงับความ
อยากไมต่ ายได้ พอระงบั ความอยากไม่ตายได้ ความทกุ ข์
เกยี่ วกบั ความตายกจ็ ะไมเ่ กดิ ขน้ึ อกี ตอ่ ไป นเ่ี รยี กวา่ ปญั ญา
ขั้นท่ี ๓ เรียกว่า “ภาวนามยปัญญา” ต้องพิจารณา
ไตรลกั ษณอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ไตรลกั ษณเ์ ราตอ้ งพจิ ารณาหลาย
อยา่ งดว้ ยกนั กบั รา่ งกาย กบั เวทนา กบั จติ ทพี่ ระพทุ ธเจา้
ทรงสอนในสตปิ ัฏฐาน ๔
การจะเข้าถึงการภาวนาระดับภาวนามยปัญญาได้
กต็ อ้ งผา่ นขนั้ สมาธกิ อ่ น สามารถเขา้ สมาธเิ พอื่ เตมิ อเุ บกขา
ไดต้ ลอดเวลา พอหลงั จากทเ่ี ราฝกึ สมาธมิ า กจ็ ะมอี เุ บกขา

92

ปัญญา

ตามออกมาอยู่ชั่วระยะหน่ึง หลังจากน�ำเอาไปพิจารณา
ธรรมอยู่สักพักแล้ว อุเบกขาก็จะอ่อนก�ำลังลง แล้วก็
จะไม่สามารถพิจารณาต่อไปได้ เพราะเมื่ออุเบกขาอ่อน
ก�ำลังลง ความอยากของกิเลสก็จะโผล่ข้ึนมา กิเลสก็จะ
ดึงให้ไปคิดทางตรงกันข้ามกับความเป็นจริง เม่ือมันไป
คิดถึงความอยากอยู่ แล้วไม่อยากตายขึ้นมา ก็รู้ว่าก�ำลัง
ของอุเบกขาหมด ก็ตอ้ งพักการพจิ ารณา แล้วกลับเขา้ ไป
สสู่ มาธใิ หม่ เพอ่ื ไปเตมิ อเุ บกขาใหม่ เพอื่ จะไดเ้ วลาออกมา
จะได้ระลกึ ถงึ ความตายได้ตอ่ เนอื่ งต่อไป
น่ีคือพอถึงข้ันปัญญาจริงๆ แล้วนี่ จะต้องท�ำสลับ
กับสมาธิ ออกมาพิจารณาอยู่เร่ือยๆ คือท�ำใจอยู่เรื่อยๆ
ว่าต้องตาย ต้องตาย พอมันหยุดไม่ยอมคิดถึงความตาย
อยากจะคิดถึงเรอ่ื งอยู่ เร่อื งทำ� นูน่ ท�ำน่ี ก็จะต้องหยุดการ
พิจารณา แล้วก็กลับไปพักในสมาธิ ไปเติมอุเบกขาใหม่
เพื่อท่ีเวลาออกมาจากสมาธิแล้ว ก็จะได้พิจารณาความ
ตายตอ่ ไปได้ จนกวา่ มันจะมฝี งั อยู่ในใจตลอดเวลา แลว้ ก็
ปล่อยวางความอยากไม่ตายได้ พอปล่อยวางได้แล้ว ทีน้ี
ก็ไม่ต้องพิจารณาก็ได้ เพราะใจไม่มีความอยากจะอยู่อีก
ตอ่ ไป ไมท่ ุกข์กับความตายอกี ตอ่ ไป

93

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

พอเรารวู้ า่ เราไมท่ กุ ขก์ บั ความตายแลว้ การพจิ ารณา
กม็ าถงึ ทส่ี น้ิ สดุ ลง คอื การทจ่ี ะตอ้ งพจิ ารณามนั กไ็ มจ่ ำ� เปน็
ที่จะต้องพิจารณาแล้ว เพราะได้ท�ำข้อสอบได้เสร็จแล้ว
การดูหนังสือก็ดูเพื่อเตรียมตัวสอบ พอสอบเสร็จแล้วก็
เลิกดูหนังสือได้ ฉันใด การพิจารณาไตรลักษณ์ก็หยุดลง
เม่ือจิตปล่อยวางได้ จิตไม่ทุกข์กับส่ิงท่ีตนเองพิจารณา
รา่ งกายเวทนาและจติ ตามลำ� ดบั ตอ่ ไปดงั นน้ั ตอ้ งมอี เุ บกขา
กับการพิจารณามาสนับสนุนกัน ถ้าพิจารณาอย่างเดียว
โดยไมม่ ีอเุ บกขาน้ี พิจารณาไดไ้ มน่ าน เดย๋ี วกถ็ ูกดงึ ไปคดิ
เร่ืองอนื่ แทน อันนีพ้ อจะเขา้ ใจไหม
ถาม: กราบเรียนถามพระอาจารย์ต่อนะครับ ถ้าบรรลุ
ธรรมถึงขน้ั พระอรหันต์สูงสุดแล้ว ท่านกไ็ ม่ตอ้ งใช้ปญั ญา
ในการมาขบคิดอกี แลว้ ใชไ่ หม
ตอบ: ใช่ ก็เหมือนหมอเรียนจบแล้ว หมอก็ไม่เปิดต�ำรา
ดูอกี เวลาสอบผา่ นไปแล้วแตล่ ะวชิ า ก็ถือวา่ รู้วชิ าน้ันแลว้
ไมต่ อ้ งไปเปดิ ดอู กี แลว้ ตำ� รา อนั นก้ี เ็ หมอื นกนั พอปลอ่ ยวาง
ทกุ อย่างได้หมด ปลอ่ ยวางกาย เวทนา จิตได้ จติ หลดุ พ้น
จากความทุกข์ ความทุกข์ต่างๆ ที่เคยมีในจิตน้ีหายไป

94

ปัญญา

หมดแล้ว เพราะความอยากต่างๆ นี้ถูกปัญญายุติลง
หยดุ ความอยากตา่ งๆ หมด คอื กามตณั หา ภวตณั หา และ
วภิ วตณั หาหมดไปจากจติ จากใจแลว้ กไ็ มร่ จู้ ะไปพจิ ารณา
อะไรอกี
ถ้าเปรียบเทียบการพิจารณา เป็นเหมือนกับการ
รับประทานยาเพอื่ รกั ษารา่ งกาย พอโรคทยี่ าเขา้ ไปรกั ษา
น้ีหายหมดแล้ว ก็ไม่รู้จะกินยาต่อไปท�ำไม กินมันก็ไม่ได้
ท�ำให้ร่างกายมันดีข้ึนหรือเลวลงแต่อย่างใด จิตของผู้ท่ี
หลุดพ้นจากความทุกข์แล้ว จะพิจารณายังไง มันก็ไม่มี
ประโยชนอ์ กี ตอ่ ไป ทา่ นถงึ มคี ำ� พดู วา่ “วสุ ติ งั พรหั มจรยิ งั ”
ภารกิจของพรหมจรรย์ได้สิ้นสุดลงแล้ว นับตั้งแต่ความ
ทุกขท์ ง้ั หมดได้ถูกทำ� ลายใหห้ มดไปจากใจแล้ว กจิ ท่ยี ิง่ ไป
กวา่ นไ้ี มม่ อี กี แลว้ หนา้ ทที่ จี่ ะตอ้ งทำ� มากไปกวา่ นไ้ี มม่ แี ลว้
ยกเว้นงานอดิเรก คืองานดูแลธาตุขันธ์ หรืองานแสดง
ธรรม อันน้ีถือว่าเป็นงานอดิเรก ถ้าข้ีเกียจดูแลร่างกายก็
ปลอ่ ยใหม้ นั ตายไปก็ได้ ไมก่ นิ ไม่อะไร เดยี๋ วมันก็หมดแรง
มันก็ตายของมันไปเอง แต่ถ้ากินดูแลมันก็ยังอยู่ต่อไป
แลว้ อาจจะทำ� ประโยชนใ์ หแ้ กผ่ อู้ น่ื ได้ เอาธรรมะมาสงั่ สอน
ใหผ้ อู้ น่ื ต่อไป

95

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

พระพุทธเจ้า พระอรหนั ตท์ ้งั หลาย จากทที่ า่ นเสรจ็
กจิ ของทา่ นแลว้ ทา่ นกท็ ำ� กจิ ใหแ้ กผ่ อู้ น่ื ตอ่ ไป พระพทุ ธเจา้
จึงทรงสอนในวาระสุดท้ายก่อนท่ีจะจากไปว่า “สังขาร
ทง้ั หลายเป็นของไม่เทย่ี ง มีเกดิ ขึน้ ต้ังอยู่ แลว้ ดบั ไป จงยงั
ประโยชน์ของตนและของผู้อ่ืน ให้ถึงพร้อมด้วยความ
ไม่ประมาทเถิด” ก็คือให้เราปฏิบัติ ให้เราหลุดพ้นก่อน
ประโยชน์ตนก่อน เม่ือประโยชน์ตนได้แล้ว ทีนี้ก็ไป
ท�ำประโยชนใ์ หแ้ ก่ผ้อู น่ื ต่อไป สอนใหผ้ อู้ ื่นได้หลุดพ้นจาก
ความทุกข์ เหมอื นกับตนที่ได้หลุดพ้นมา
น่ีก็คือกิจของพระพุทธเจ้าและของพระอรหันต์
ทกุ พระองค์ แตก่ ารสง่ั สอนของแตล่ ะองคน์ ก่ี อ็ าจจะมสี อน
มากสอนนอ้ ย ข้ึนอยู่กับความสามารถในการส่งั สอน ซ่งึ มี
ไม่เท่ากันไม่เหมือนกัน การส่ังสอนผู้อื่นนี้ยากกว่าการ
สง่ั สอนตวั เอง สง่ั สอนตวั เองใหบ้ รรลไุ ด้ แตเ่ วลาไปสง่ั สอน
คนอ่ืนนี้ บางทีพูดแบบส้นั ๆ เขาฟังไมเ่ ข้าใจ ต้องมอี บุ าย
หาเคร่ืองเปรียบเทียบมาแสดงเพ่ือให้ผู้ฟังเข้าอกเข้าใจ
ข้ึนมา ผู้ใดที่มีความสามารถท่ีจะยกตัวอย่างขึ้นมา
เปรียบเทียบ เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจได้ ก็จะเป็นคนท่ีสอนคน
ไดม้ าก คนทไี่ มส่ ามารถยกตวั อยา่ งตา่ งๆ มาสอน กจ็ ะสอน
ไดน้ อ้ ย เพราะคนฟงั แล้วไมเ่ ขา้ ใจ

96

ปัญญา

ครูบาอาจารย์ทเ่ี รารจู้ กั กันจงึ ถึงแมว้ า่ ทา่ นจะบรรลุ
กนั หมดแลว้ แตค่ วามสามารถในการเผยแผส่ งั่ สอนธรรมะ
ของแต่ละองค์นี้มีไม่เท่ากัน อันน้ีข้ึนอยู่กับความสามารถ
ของแตล่ ะองค์ อยา่ งพระสาวกของพระพทุ ธเจา้ น่ี บางองค์
ก็เก่งทางด้านส่ังสอน บางองค์ก็เก่งทางด้านอิทธิฤทธ์ิ
ปาฏิหาริย์ เช่น พระโมคคัลลานะก็เก่งทางด้านอิทธิฤทธ์ิ
ปาฏหิ ารยิ ์ มากกวา่ การสง่ั สอน พระสารบี ตุ รนเี่ กง่ ทางดา้ น
สงั่ สอนมากกวา่ ทางอิทธิฤทธ์ิปาฏิหารยิ ์
อันนี้เป็นเร่ืองนิสัยของแต่ละคน บางคนสอนเก่ง
บางคนสอนไม่เก่ง คุณหมอคงจะรู้เวลาเรียนหนังสือ
กับครูบาอาจารย์ต่างๆ บางท่านสอนฟังแล้วน่าสนใจ
อยากจะไปฟงั บางท่านฟังแล้วไม่อยากจะฟงั ฟงั แลว้ มี
รู้เรอื่ ง เพราะท่านสอนตรงตามต�ำรา ไมม่ กี ารยกตวั อย่าง
ด้วยการแสดงอะไรให้เห็นแจ้งชัดข้ึนมา ฟังแล้วก็ต้องไป
คดิ ไปค้นเอาเอง
ถาม: พระอาจารย์ครบั อย่างนั้นผมขอถามตอ่ อีกนดิ ครบั
ผมมีความสงสัยอยู่ครับ ปัญญาขั้นที่ ๑ ปัญญาขั้นที่ ๒
ข้ันท่ี ๓ นีล่ ะครบั ในการท่ีจะบรรลุธรรมน่ี สตุ ตมยปัญญา

97

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

กับจินตามยปัญญานี้ไม่มีสิทธิที่จะบรรลุธรรมเลย
ใช่ไหมครบั
ตอบ: มันไม่ต่อเนื่องหนึ่ง แล้วสองมันไม่มีก�ำลัง ฟังขั้น
ที่ ๑ ปุ๊บเดียว เดี๋ยวก็ลืมแล้ว น่ีความตายนี่เรารู้กันแต่
มันไมไ่ ด้อยใู่ กลช้ ิดในใจเรา ไม่รมู้ นั หายไปไหน พอเราคิด
จะสร้างนู่นสร้างนี่ ท�ำนู่นท�ำน่ีเราก็ลืมความตายกันแล้ว
พอคดิ จะสร้างครอบครวั อยากจะมีทรพั ย์สมบัตขิ า้ วของ
เงนิ ทอง นีก่ แ็ สดงวา่ เราลืมความตายกันแลว้ ถา้ เราไมล่ มื
ความตาย เราจะสรา้ งไปทำ� ไม ไปหาทรพั ยส์ มบตั ขิ า้ วของ
ให้มันเหนื่อยยากทำ� ไม เด๋ยี วก็ตายแล้ว ถงึ แมจ้ ะไดย้ ินได้
ฟังแล้วมาพิจารณาก็ จินตาก็ไม่ต่อเนื่อง คิดได้เป็นพักๆ
แลว้ บางทีลืม ลมื ไปเลย
จนกว่าจะไปได้ข่าวคราวของเพ่ือนตายอย่างนี้
ถงึ จะมานึกถึงความตายข้นึ มาคร้ังหน่งึ แต่ถา้ ไปฝึกสมาธิ
มีอุเบกขาแล้ว ทีน้ีสามารถสั่งให้มันคิดถึงความตายได้
อย่างต่อเนื่อง ตามก�ำลังของอุเบกขาท่ีเรามีอยู่ อันนี้คือ
ข้ันท่ี ๓ ต้องมีสมาธิถึงจะสามารถพิจารณาความจริงได้
อย่างต่อเนื่อง แบบท่ีพระพุทธเจ้าสอนพระอานนท์ให้

98

ปัญญา

พิจารณาความตาย ถ้าไม่เช่นนั้นก็จะพิจารณาแบบ
วันละสามส่คี รั้ง สามส่ีรอบ เชา้ กลางวนั เยน็ กอ่ นนอน
เป็นต้นน้ี เหมือนกับกินยาตามหมอส่ัง กินยาแค่น้ีไม่พอ
ตอ้ งกนิ ทกุ ลมหายใจเข้าออก โรคนถ้ี ึงจะหายได้ โรคของ
ความกลัวตายน้ีถงึ จะหายได้
อนั นี้จะทำ� ได้กต็ อ้ งมีอุเบกขา ตอ้ งมสี มาธิ จติ ตัง้ ม่ัน
เมื่อจิตต้ังม่นั แล้ว กเิ ลสกไ็ มส่ ามารถลากให้ไปคิดเรื่องการ
สะสม เรอื่ งการสร้างทรพั ย์สมบัติ ลาภยศสรรเสรญิ อะไร
ต่างๆ ได้ เพราะไม่รู้จะสร้างไปท�ำไม เด๋ียวก็ตายกันแล้ว
ท่ีเราท�ำกันทั้งหมดน่ีท�ำกันไปท�ำไม ไม่ดูตัวอย่างกรุง
สุโขทัย กรุงศรีอยุธยา โอ๊ย สร้างกันใหญ่โตมโหฬาร
แลว้ ในทสี่ ดุ เปน็ ยงั ไง ตายหมดใชไ่ หม ทงั้ กรงุ ทง้ั คนสรา้ งน้ี
อุตส่าหส์ ร้าง หายไปไหนหมดแลว้
แล้วได้ประโยชน์อะไรจากการก่อสร้างเหล่าน้ี
ดวงวญิ ญาณกย็ งั เวยี นวา่ ยตายเกดิ อยู่ กลบั มาเกดิ กลบั มา
สรา้ งใหม่ กลบั มาสรา้ งกรงุ เทพฯ กนั ใหม่ หลังจากสรา้ ง
กรุงสุโขทัย ก็กลับมาเกิด สร้างกรุงศรีอยุธยา สร้างกรุง
ศรีอยุธยาเสร็จ ตาย ก็กลับมาสร้างกรุงเทพฯ เด๋ียวก็

99


Click to View FlipBook Version