The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระอาจารย์สุชาติ อภิชาโต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wonchai890, 2022-08-01 00:51:24

หนังสือ วิสัชนาธรรม เล่ม 2

พระอาจารย์สุชาติ อภิชาโต

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒
150

ปกิณกธรรม

ปกณิ กธรรม

รายการสนทนาธรรมกบั ทา่ นพระอาจารยส์ ชุ าติ อภิชาโต
โดย Dr.V (นายแพทยว์ ีระพันธ ์ สุวรรณนามัย)

151

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ศาสนานกี้ ็เป็นเหมอื นรถยนต์
ทจี่ ะพาจติ ใจของพวกเรานี้
ไปสจู่ ดุ หมายปลายทาง ซ่งึ แตล่ ะศาสนานี้
มีจุดหมายปลายทางไมเ่ ทา่ กนั
บางศาสนาก็สง่ ไปถงึ แคส่ วรรค์
บางศาสนากส็ ง่ ไปถงึ พระนพิ พาน

152

ปกิณกธรรม

ถาม: จะแก้การกลวั ผไี ดอ้ ยา่ งไร
ตอบ: ก็พิจารณาว่าผีคืออะไร ผีก็คือร่างกายท่ีไม่หายใจ
น่นั แหละ รา่ งกายไม่หายใจนีเ่ ราเรียกวา่ ผีหรอื เปลา่ เราก็
อย่กู บั ผมี าตง้ั แตเ่ กดิ แลว้ เรากอ็ ยกู่ ับร่างกายมา เพยี งแต่
ว่ายังหายใจอย่ ู เทา่ นน้ั เอง พอไมห่ ายใจมนั ก็กลายเป็นผี
ไปแลว้ แลว้ เราไปกลวั ท�าไม เราอยกู่ ับมนั มาได้ตัง้ แต่เกิด
แล้วเราจะไปกลัวผีได้ยังไง นอกจากผีเราจินตนาการ
วาดภาพขนึ้ ไปเอง ซ่งึ มนั ไมม่ ี มแี ตเ่ ราวาดภาพ แล้วก็ไป
กลวั กบั ภาพทเ่ี ราวาดขนึ้ มา ดว้ ยภาพทเี่ ขาวาดมาหลอกเรา
เช่น เวลาเราดูภาพยนตร์น่ากลวั ตา่ งๆ คนท่ีเขาวาดภาพ
เหล่านี้เขาก็ไม่เคยเห็นผ ี เขาไมม่ ีหรอก
ผจี รงิ ๆ ทเี่ ปน็ ดวงวญิ ญาณนไี้ มม่ ี แลว้ กไ็ มไ่ ดเ้ ปน็ ภาพ
เหลา่ นข้ี นึ้ มา ผที เ่ี ราเหน็ ไดด้ ว้ ยกบั ตาเรากค็ อื รา่ งกายของ
พวกเราน่แี หละ เวลาทีร่ ่างกายของพวกเราตายไป เขาก็
เรียกว่าผี เราอยู่กับผีมาตลอดเวลา ท�าไมเราไม่เห็นกลัว

153

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

แตพ่ อเวลาเรามานงั่ คดิ ถงึ สงิ่ ทเ่ี ราวาดภาพขน้ึ มา เรากลบั
ไปกลวั มนั มนั กเ็ ปน็ เพยี งแตก่ ารวาดภาพของจติ ใจของเรา
ไมม่ อี ะไรน่ากลวั
ถาม: การตกนรกลงกระทะทองแดง ข้ึนสวรรค์ มเี ฉพาะ
ศาสนาพทุ ธ ส่วนศาสนาอนื่ เขามีนรกสวรรค์ของเขา หรอื
มารวมท่เี ดียวกัน
ตอบ: รวมท่ีเดียวกนั เพราะมันเปน็ ความฝัน เวลาเราฝัน
ถึงเรื่องไม่ดีต่างๆ ตอนน้ันก็เป็นเหมือนตกนรกกระทะ
ทองแดง เวลาเราฝันถึงเรื่องดีต่างๆ ก็เหมือนเราได้ข้ึน
สวรรค์ นี่คือจิตใจของทุกคน ไม่ว่าจะนับถือศาสนาใด
ก็ตาม บุญและบาปท่ีเขาท�ำน่ีเป็นตัวผลิตความฝันต่างๆ
ใหเ้ ขาไดร้ ับผล เวลาทเ่ี ขาไมม่ รี า่ งกายแลว้ เวลาที่เขาไม่มี
ร่างกาย กเ็ ปน็ เหมอื นเวลาที่เขานอนหลับดีดนี ่ีเอง
ถาม: ถ้าเราอยู่กับคนท่ีคิดลบอยู่ตลอด เราจะอยู่กับ
คนประเภทน้ี ตอ้ งท�ำตวั อย่างไร
ตอบ: ก็ท�ำตัวเฉยๆ อย่าไปสนใจ เขาจะคิดลบก็เร่ือง
ของเขา ถ้าเราหลีกเลี่ยงได้ ไม่ต้องอยู่กับเขาได้ก็ดี

154

ปกิณกธรรม

มีสุภาษิตท่านสอนไว้ว่า ถ้าเราคบคนที่ฉลาดกว่าเรา
ดีกว่าเรา หรือเทา่ เราไมไ่ ด้ กอ็ ย่คู นเดียว
ถาม: การเปลย่ี นศาสนาผดิ ไหม จากศาสนาอน่ื มาเปน็ พทุ ธ
ตอบ: กเ็ หมอื นกบั การเปลีย่ นรถยนต์แหละ เราจะเปลยี่ น
รถยนต์ จากรถท่ีดีกว่าไปสู่รถท่ีไม่ดีกว่า มันก็ไม่เปล่ียน
ดีกว่า แต่ถ้าเราเปลี่ยนจากรถที่เก่ากว่า รถท่ีไม่ดี ไปสู่
รถที่ดีกว่ามันก็เป็นการเปล่ียนที่ดีกว่า ศาสนานี้ก็เป็น
เหมือนรถยนต์ที่จะพาจิตใจของพวกเราน้ีไปสู่จุดหมาย
ปลายทาง ซง่ึ แตล่ ะศาสนานี้ มจี ดุ หมายปลายทางไมเ่ ทา่ กนั
บางศาสนาก็ส่งไปถึงแค่สวรรค์ บางศาสนาก็ส่งไปถึง
พระนิพพาน
ถา้ เรานบั ถอื ศาสนาทส่ี ง่ เราไปแคส่ วรรค์ เราอยากจะ
ไปนิพพาน เราก็ตอ้ งเปล่ยี นศาสนา เปลย่ี นรถ เอารถที่จะ
พาเราใหไ้ ปถงึ พระนพิ พานได้ แตถ่ า้ เรามศี าสนาทพ่ี าใหเ้ รา
ไปถงึ พระนพิ พานแลว้ แตเ่ รากลบั ไปเปลยี่ น ไปเอาศาสนา
ทพี่ าเราใหไ้ ปถงึ แคส่ วรรค์ อนั นกี้ เ็ ปน็ การเปลยี่ นทข่ี าดทนุ
นนั่ เอง เปลย่ี นได้ อยากจะเปลย่ี นเปลย่ี นได้ แตต่ อ้ งดูวา่
เปลี่ยนแลว้ ดีกวา่ เก่าหรอื ไม่ ถา้ ไม่ดีกว่าเกา่ อย่าเปลี่ยน

155

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ถาม: ท�ำไมสมัยกอ่ นถงึ มีการสรา้ งรอยพระพุทธบาท
ตอบ: คือ รอยพระพุทธบาทนี้ก็เป็นการระลึกถึงวิถีชีวิต
ของพระพุทธเจ้า การด�ำเนินชีวิตของพระพุทธเจ้า อันนี้
เป็นเหมือนคล้ายกับการสอนอนุชนรุ่นหลังไว้ ว่าถ้าเห็น
รอยพระบาทจะไดเ้ ป็นเหมอื นปรศิ นาธรรมว่า เอ๊ะ ทำ� ไม
ต้องเป็นรอยพระบาท ก็เป็นรอยเท้า พระพุทธเจ้าท่าน
ทรงเดนิ อยา่ งไร ดำ� เนนิ ชวี ติ ของทา่ นอยา่ งไร เรากเ็ ดนิ ตาม
เจริญรอยตามพระบาท ที่เราเรียก ที่เราใช้ค�ำพูด ก็คือ
พระพุทธเจ้าทรงด�ำเนินตามมรรค ๘ น่ีเอง ทรงด�ำเนิน
ทาน ศีล ภาวนา
มรรค ๘ ถา้ ย่อลงมาก็เปน็ ทาน ศีล ภาวนา นเ่ี อง
ถา้ เราอยากจะเจรญิ เหมอื นพระพทุ ธเจา้ เรากเ็ ดนิ ตามรอย
ที่พระพุทธเจ้าได้ทรงเดิน ก็คือปฏิบัติ ทาน ศีล ภาวนา
เหมือนกับท่ีพระพุทธเจ้าได้ทรงปฏิบัติมา มันก็จะพาเรา
ไปสพู่ ระนพิ พาน สกู่ ารหลดุ พน้ จากความทกุ ขท์ ง้ั ปวงตอ่ ไป
ถาม: ค�ำว่าโลกิยะกับโลกุตระ ความหมายคืออะไร

156

ปกิณกธรรม

ตอบ: โลกิยะก็หมายถึงจิตท่ียังติดอยู่ในวัฏสงสาร
ในการเวียนว่ายตายเกิดในไตรภพ ผู้ที่ยังเวียนว่ายตาย
เกิดน้ีถือว่ายังอยู่ในโลกิยะอยู่ ส่วนโลกุตระคือผู้ท่ีออก
จากการเวียนว่ายตายเกิด คือพระอริยสาวกทั้งหลาย
ของพระพุทธเจ้า ท่านอยู่ในระดับของโลกุตรธรรม
สว่ นพวกปถุ ชุ นอยา่ งพวกเรานอี้ ยใู่ นระดบั ของโลกยิ ธรรม
อยู่ในไตรภพ อยใู่ นการเวยี นวา่ ยตายเกดิ ในไตรภพ เราก็
เรยี กว่าโลกยิ ะ
ถาม: ฆราวาสสามารถเขา้ ถงึ นิพพานไดไ้ หม
ตอบ: ได้ ถ้าสามารถปฏิบัติธรรมท่ีดับกิเลสต่างๆ ได้
ถา้ ก�ำจดั ความโลภ ความโกรธ ความหลงต่างๆ ภายในใจ
ของเราให้หมดไปได้ ใจของเรากเ็ ขา้ นพิ พานไดเ้ หมือนกนั
ไมว่ า่ จะเปน็ พระหรอื ฆราวาส การเปน็ พระ เปน็ ฆราวาสนี้
เป็นเพียงแต่เป็นสถานะของผู้ปฏิบัติ ถ้าเป็นพระก็จะมี
เวลามากกวา่ ฆราวาส แตถ่ า้ เปน็ พระแลว้ ไมป่ ฏบิ ตั ิ กไ็ มต่ า่ ง
จากการเป็นฆราวาส หรือบางทีฆราวาสน้ีอาจจะปฏิบัติ
มากกวา่ พระก็ได้

157

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

เพราะบางทีพระมาบวชแล้วก็อาจถูกชักจูงไปให้
กระท�ำกิจอย่างอื่น เช่น ให้ไปสร้างโบสถ์ สร้างเจดีย์
สรา้ งกฏุ ิ สรา้ งอะไรตา่ งๆ จนไมม่ ีเวลามาปฏบิ ัติดับกเิ ลส
ตัณหา อันนี้ก็ไม่ต่างจากฆราวาส แต่ฆราวาสบางท่านที่
มีความสนใจกับการปฏิบัติ ถึงแม้จะเป็นฆราวาสก็หมั่น
ปฏิบัติธรรมเร่ือยๆ ก็จะถือว่าดีกว่าพระท่ีไม่ได้ปฏิบัติ
มนั อยทู่ กี่ ารปฏบิ ตั ิ ไมไ่ ดอ้ ยทู่ กี่ ารเปน็ พระหรอื เปน็ ฆราวาส
ถาม: แล้วการท่ีบอกว่า อัศจรรย์น่ีจะเกิดข้ึนตั้งแต่บรรลุ
พระโสดาบันเลยไหม
ตอบ: บรรลุช่วงที่เราก�ำลังกลัวตาย แล้วเราปล่อย
ความกลัวตายได้นี่มันโล่งเลย ใจมันเบา ใจมันสบายเลย
เหมือนในช่วงที่เรากลัวเจ็บ แล้วอยู่กับความเจ็บได้
จิตสงบนิ่งเฉย ไม่วุ่นวายอะไรไปกับความเจ็บ มันก็เป็น
ความอัศจรรย์ใจเอง ธรรมดาเวลาเราเจ็บน่ีเราจะรู้สึก
ทรมานใจบา้ ง แตเ่ ราพิจารณาความเจบ็ วา่ ไม่ใชเ่ รา ไมใ่ ช่
ตัวเรา เราไปเพียงแต่ผู้รู้ความเจ็บเท่านั้นเอง พอปล่อย
ไดป้ บั๊ ใจเรากจ็ ะโลง่ จะเบา จะไม่เครียดไปกับความเจ็บ
ที่ก�ำลังแสดงอยู่ในขณะนั้น มันจะเห็นได้อย่างชัดเจน

158

ปกิณกธรรม

เป็นความมหัศจรรย์ใจ เคยกลัวตาย พอปลงได้ปั๊บ
มนั หายกลวั แลว้ มนั เบา ความตายไมส่ ามารถทจี่ ะมาเขยา่
จติ ใจได้อกี ตอ่ ไป
ถาม: แล้วในความห่วงญาติคนอ่ืน จะหายไปเลยไหม
ตอบ: เหมอื นกนั หมดเลย รา่ งกายของทกุ คน อนั นไ้ี มก่ งั วล
ไม่ยึดไมต่ ดิ เลย ในความเป็นความตาย แตย่ งั ไปยดึ ติดใน
ความสวยงามของรา่ งกายแฟนอยู่ ยงั รกั แฟน ยงั ชอบแฟน
เพราะยังเห็นว่าเป็นร่างกายที่สวยงาม ยังมีกามารมณ์
อนั นีถ้ งึ เปน็ ข้นั ต่อไป ๒ ขนั้ ต่อไปน้ี ต้องมาพิจารณาความ
ไม่สวยงามของร่างกาย ถึงจะไม่กังวลต่อแฟนของเราได้
ถ้ายังเห็นวา่ แฟนยังสวยยงั งามอยู่ ยังรกั ยังหวงยงั ห่วงอยู่
แต่พอเห็นเป็นซากศพปั๊บก็จะหายรักหายห่วงหายกังวล
กบั ร่างกายของแฟนได้
ถาม: ทฏิ ฐมิ านะแปลวา่ อะไร
ตอบ: ทฏิ ฐแิ ปลวา่ ความเหน็ มานะแปลวา่ ความถอื ตวั คอื
การมีความเห็นในการถือตัว เขาเรียกว่า “ทิฏฐิมานะ”
บางทเี รากพ็ ดู สนั้ ๆ วา่ มานะ คอื มคี วามคดิ เหน็ ในตวั ตนวา่

159

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

มีตวั ตน คดิ ว่าเราใหญก่ วา่ เขา เลก็ กวา่ เขา อย่างนี้เรียกวา่
ทฏิ ฐิมานะ
ถาม: คุณแม่เพง่ิ เสียชวี ติ จากโควดิ ไป คิดถงึ คณุ แม่มากๆ
ไมท่ ราบวา่ ควรท�ำอยา่ งไรดี
ตอบ: ให้บริกรรมพุทโธพุทโธไป ทุกครั้งเวลาที่คิดถึงคุณ
แม่ อย่าปลอ่ ยใหใ้ จไปคดิ ถึงคุณแม่ เพราะคณุ แม่กไ็ ปแล้ว
จากกันไปแล้ว คิดไปก็ไม่ได้ท�ำให้เราเกิดประโยชน์อะไร
คิดไปแล้วจะท�ำให้เราเศร้าใจเสียใจ ตอนนี้ไม่ควรคิดถึง
คุณแม่ ควรหยุดคิดก่อน ไว้ให้แผลในใจหายก่อน
แลว้ ต่อไป พอแผลหายแล้ว ต่อไปเวลาคดิ ถึงคุณแม่ กจ็ ะ
ไมเ่ ศรา้ ใจ ชว่ งนเี้ วลาคดิ กต็ อ้ งใชย้ า ยาทจ่ี ะหยดุ ความทกุ ข์
น้ีก็คือการบริกรรมพุทโธพุทโธไป หรือการสวดมนต์ไป
ภายในใจ อยา่ ปลอ่ ยใหไ้ ปคดิ ถงึ คณุ แม่ พอไมค่ ดิ ถงึ คณุ แม่
ความทุกขก์ ็จะหายไป
ถาม: ได้กลน่ิ สักแต่วา่ ไดก้ ล่นิ คือรูว้ า่ มีกลิ่นแต่ไมร่ ู้ว่าหอม
หรอื เหม็น ลิ้มรสสักแตว่ ่าลม้ิ รส คือรบั รรู้ สของอาหารแต่
ไมร่ วู้ า่ อรอ่ ยหรอื ไม่ ไดย้ นิ สกั แตว่ า่ ไดย้ นิ คอื การไดย้ นิ เสยี ง
แต่ไมไ่ ด้รบั รคู้ วามหมายของเสยี งนัน้ ใชห่ รอื ไม่

160

ปกิณกธรรม

ตอบ: ไมใ่ ช่หรอก รับรู้ รู้วา่ หอมหรอื ไม่หอม เพียงแตว่ า่
ไมใ่ หไ้ ปมอี ารมณก์ บั สง่ิ ทเี่ รารบั รู้ คอื อยา่ ไปยนิ ดยี นิ รา้ ยกบั
มันตา่ งหาก ใหร้ เู้ ฉยๆ รู้ว่ามันหอมก็รู้วา่ มันหอม รวู้ ่ามัน
เหมน็ กร็ ้วู า่ มนั เหม็น แตไ่ ม่ตอ้ งไปมีปฏกิ ิรยิ าอะไรกบั มนั
ถาม: ถ้าเราตายไป เราจะไปไหน แล้วระบบของนรก
สวรรค์เกดิ ขน้ึ ได้อย่างไร
ตอบ: นรกสวรรค์มันเป็นสภาพของจิตใจ ถ้าเวลาใดใจ
เราทุกข์นี่ เราก็เรียกว่านรก เวลาใจมีความสุขเราก็เรียก
ว่าสวรรค์ แล้วความสุขความทุกข์ของใจก็เกิดจากการ
ทำ� บญุ หรอื ทำ� บาปนเี่ อง เวลาเราทำ� บญุ ใจเราจะมคี วามสขุ
เวลาท�ำบาปใจของเราจะมีความทุกข์ ง้ันนรกสวรรค์น้ี
ไมไ่ ดเ้ ปน็ สถานที่ แลว้ กท็ อี่ ยขู่ องใจกไ็ มเ่ ปน็ สถานท่ี ใจเปน็
ของวา่ งเหมือนกบั อากาศอยา่ งน้ี มนั ไมม่ สี ถานที่
เวลาเราตาย เราก็อยู่ท่ีเดิม เพียงแต่ว่าสภาพจิตใจ
ของเราก็จะเป็นไปตามอ�ำนาจของบุญของบาปท่ีเรา
ท�ำไว้ ถ้าเราท�ำบุญมากกว่าบาป บุญก็จะท�ำให้ใจเรามี
ความสุขก็เรียกว่าสวรรค์ ถ้าบาปมีก�ำลังมากกว่าบุญ
ใจของเรากจ็ ะมคี วามทกุ ข์ เรากเ็ รยี กวา่ อบาย ไมไ่ ดไ้ ปไหน

161

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

อยทู่ เี่ ดมิ ใจของเราไมม่ กี ารเคลอื่ นไหว ไมม่ กี ารเคลอื่ นไหว
เหมอื นรา่ งกาย ไมไ่ ดเ้ ปลยี่ นสถานท่ี จติ กอ็ ยทู่ เ่ี ดมิ ทเ่ี ดมิ น้ี
เรากเ็ รียกวา่ โลกทิพย์
ถาม: ความอยากมีทั้งฝ่ายกิเลสและฝ่ายมรรคหรือไม่
ความอยากเดินจงกรม นั่งสมาธิ หรือความอยากบรรลุ
ธรรม ถือเปน็ มรรคหรือกิเลส
ตอบ: มีท้ัง ๒ ฝา่ ย ความอยากไดค้ วามสขุ ทางตาหจู มกู
ลน้ิ กาย อยากมีอยากเป็น เปน็ ใหญเ่ ปน็ โต อยากร�่ำอยาก
รวยน่ี ถอื วา่ เปน็ ฝา่ ยกิเลส สว่ นการอยากท�ำบญุ นง่ั สมาธิ
รกั ษาศีล ความอยากบรรลธุ รรมน้ถี ือว่าเปน็ มรรค ไม่เป็น
กิเลส จ�ำเป็นจะต้องมีความอยากอันนี้ แล้วถึงจะน�ำ
ไปสู่การปฏิบัติได้ ถ้าเราไม่มีความอยากท�ำบุญเราก็จะ
ไม่ท�ำบุญ ถ้าเราไม่มีความอยากท่ีจะรักษาศีล เราก็จะ
ไม่รักษาศีล ถ้าเราไม่มีความอยากจะนั่งสมาธิ เราก็จะ
ไม่ได้นั่งสมาธิ ดังน้ันความอยากเหล่าน้ีต้องมี ถือว่าเป็น
ทางสู่การหลุดพ้น แต่ความอยากในทางรูปเสียงกล่ินรส
ในลาภยศสรรเสริญสุขนี้ เป็นความอยากที่น�ำไปสู่การ
เวียนว่ายตายเกดิ เปน็ กิเลส

162

ปกิณกธรรม

ถาม: เปา้ หมายสูงสดุ ของการบวชคืออะไร
ตอบ: ก็คือบรรลุพระนิพพาน การบวชนี้ ผู้ท่ีจะมาบวช
นี้ เปา้ หมายกค็ อื การปฏิบตั ธิ รรมเพ่อื ให้บรรลถุ งึ ข้นั สูงสุด
ของธรรม กค็ อื พระนพิ พาน เพอ่ื จะไดส้ นิ้ สดุ การเวยี นวา่ ย
ตายเกดิ เสียที
ถาม: ผมยงั ตดิ ความคาดหวงั อยู่ จะแก้อย่างไร
ตอบ: กใ็ หม้ องวา่ อนาคตเปน็ สงิ่ ทไี่ มแ่ นน่ อน คาดไดห้ วงั ได้
แต่อาจจะไม่ได้ดังใจหวัง ก็ต้องสอนใจไว้ ต่อไปมันก็จะ
ไม่คาดหวังอีก หวังว่าจะถูกหวยงวดนี้ ก็ต้องมองว่า
มันไม่ใช่เป็นสิ่งท่ีจะเกิดข้ึนได้เสมอ มันอาจจะเกิดก็ได้
อาจจะไมเ่ กดิ กไ็ ด้ แลว้ สว่ นใหญม่ นั มกั จะไมเ่ กดิ ซะมากกวา่
พอเราเห็นความไม่แน่นอนของอนาคต เราก็จะได้ไม่ไป
หวังไปคาด เราก็อยู่กับปจั จุบนั ก็แลว้ กนั เราท�ำเองดกี ว่า
อยากจะได้อะไร ท�ำได้ก็ท�ำไปด้วยก�ำลังของเราเอง
แล้วเราจะได้อย่างแน่นอน อย่าไปหวังอะไรจากใคร
แล้วจะไมผ่ ิดหวงั
ถาม: จติ ใจมคี วามหมายอย่างไร แตกต่างกนั หรือไม่

163

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ตอบ: คือเป็นตัวเดียวกันนนั่ แหละ แตจ่ ติ ใจมหี ลายหน้าท่ี
ผู้รู้นี้คือจิตใจ แต่มันเป็นผู้คิดด้วย เราก็เลยแบ่งเป็นชื่อ
เวลาคิดเราก็เรียกว่า “จิต” เวลารู้เราก็เรียกว่า “ใจ”
แต่เป็นตัวเดียวกัน เหมือนเรามีร่างกายน่ี ร่างกายมันก็
มีด้านหน้าด้านหลัง มีแขนมีขา เราก็ตั้งชื่อไป แต่ก็เป็น
เร่ืองของร่างกาย เร่ืองของผู้รู้ ธาตุรู้ เราก็เรียกแบ่งเป็น
๒ สว่ น เพราะธาตรุ มู้ ที งั้ คดิ แลว้ กม็ ที ง้ั รู้ ถา้ รเู้ ฉยๆ กเ็ รยี กวา่
ใจ ถา้ คดิ ก็เรียกวา่ จิต
ถาม: เราจะทราบได้อย่างไรว่า เราปฏิบัติธรรมอยู่ข้ัน
ไหนแลว้
ตอบ: ถ้าเราไม่อ่านหนังสือธรรมะ เราจะไม่รู้ว่าเราอยู่
ข้ันไหนบ้าง แต่เราจะรู้ว่าเราสุขมากน้อย ก็ถ้าจิตสงบ
มากนอ้ ยนเ้ี ราจะรไู้ ด้ สงบกเี่ วลา กช่ี ว่ ง กน่ี าทอี ะไรอยา่ งนี้
เราวัดจากความสงบได้
ถาม: อนุสยั กบั สงั โยชน์ เหมอื นกนั หรือตา่ งกันอย่างไร
ตอบ: อนุสัยก็คิดว่าเป็นสิ่งที่ลึกกว่านิสัยท่ีเราเรียกว่า
สันดาน ใช่ไหม นิสัยอาจจะไม่ลึกเท่าสันดาน นิสัยนี้แก้

164

ปกิณกธรรม

ง่ายกว่าสันดาน อนุสัยน่ีก็คิดว่าไปจากค�ำว่าสันดานน่ี
ส่วนสังโยชน์น่ีก็คือ จะเรียกว่ากิเลสหรือกิเลสท่ีร้อยรัด
จิตใจให้ติดอยู่กับการเวียนว่ายตายเกิด มีอยู่ ๑๐ ชนิด
ด้วยกัน เรียกว่าสังโยชน์ เช่น วิจิกิจฉา ความลังเล
สงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ สีลัพพตปรามาส
การลบู คลำ� ศลี แลว้ กส็ กั กายทฏิ ฐิ ความเหน็ ผดิ ความเหน็
วา่ รา่ งกายเปน็ เราเปน็ ของเรา หรอื ความเหน็ วา่ ความรสู้ กึ
นกึ คดิ นีเ้ ปน็ ตัวเรา แต่ส่งิ เหล่านีเ้ ขาไมไ่ ด้เป็นเรา เขาเป็น
ธรรมชาติเหมอื นดนิ ฟา้ อากาศ
แต่เราไปครอบครอง เข้าไปถือไปยึดว่าเป็นตัวเรา
ของเราขึ้นมา แล้วก็ท�ำใหเ้ ราเกิดความทกุ ข์ข้นึ มา เพราะ
สง่ิ เหลา่ นเี้ ราไปควบคมุ บงั คบั เขาไมไ่ ด้ เชน่ รา่ งกาย เราไป
หา้ มเขาไมใ่ ห้แก่ ไมใ่ ห้เจ็บ ไมใ่ ห้ตายไมไ่ ด้ แตถ่ ้าเรามอง
ว่าเขาเป็นเหมือนธรรมชาติ เป็นเหมือนดินฟ้าอากาศ
เราก็จะไม่ไปครอบครอง ไม่ไปควบคุมบังคับ เพราะเรา
รู้เราควบคุมบังคับดินฟ้าอากาศไม่ได้ เราก็จะไม่ทุกข์
กับเขา อันนี้คือสังโยชน์ท่ีเราต้องใช้ปัญญาเป็นเคร่ืองตัด
หรอื ละให้ได้

165

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ถาม: ใครเป็นคนบริหารจัดการกรรมดีกรรมช่ัวของเรา
ว่าจะไดร้ บั ผลอย่างไร
ตอบ: กก็ ฎแหง่ กรรมนแ่ี หละเปน็ ผทู้ บ่ี รหิ ารจดั การกฎของ
ธรรมชาติ กฎแห่งกรรมน้ีเป็นกฎธรรมชาติ ท่ีเกี่ยวข้อง
กับตัวธาตุรู้โดยตรง ตัวจิตใจโดยตรง ท�ำปุ๊บผลมันส่งข้ึน
มาทันที พอเราคิดไม่ดีปั๊บ ใจเราทุกข์ข้ึนมาทันที ใจเรา
ร้อนขน้ึ มาทันที พอเราคดิ ดปี บั๊ มีความสงบทันที มนั เปน็
ธรรมชาติของใจที่คิดไปทางหน่ึงก็จะร้อน คิดไปอีก
ทางหนึ่งก็จะเย็น
ถาม: ธาตรุ คู้ ือมสี ภาพแค่รู้เทา่ น้นั ใชไ่ หม
ตอบ: ใช่ แค่รูเ้ ทา่ นั้น แตก่ ็มคี วามรสู้ กึ นึกคดิ อยูใ่ นธาตุรนู้ ้ี
ด้วย คือมนี ามขนั ธ์ ๔ มีเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
แต่เวลาเราเข้าสมาธิ เราหยุดนามขันธ์ทั้ง ๔ ก็เลยเหลือ
แต่ธาตุรู้ตามล�ำพัง แต่พอออกจากสมาธิมา มันก็จะใช้
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ มาเกาะติดกับร่างกาย
อีกทีหน่ึง แล้วก็ปรุงแต่งให้เกิดอารมณ์ต่างๆ ขึ้นมา
เกิดความสุข ความทุกข์ เกิดความวุ่นวายใจ เกิดความ
กงั วลใจอะไรตา่ งๆ ข้ึนมา

166

ปกิณกธรรม

ถาม: วญิ ญาณธาตุหรือธาตุรนู้ ี้ คือการรู้เห็นสี การได้ยิน
การได้กลิ่น การล้ิมรส การสัมผัสทางกาย การรู้ทางใจ
หรือไม่
ตอบ: คอื ตวั รกู้ บั การรบั รรู้ ปู เสยี งกลนิ่ รสนม่ี นั คนละตวั กนั
ตวั ท่รี บั รูร้ ปู เสียงกลน่ิ รสกค็ ือวญิ ญาณ วิญญาณในขันธ์ ๔
ในนามขันธ์ ตัววิญญาณนี้แหละเป็นตัวท่ีเชื่อมต่อกับ
ตัวจิตอีกทีหน่ึง ตัววิญญาณนี้เป็นเหมือนสายปลั๊กที่เรา
เสียบเข้าหูฟังตอนนี้ เราก็เสียบต่อท่ีเครื่อง แล้วเราก็รับ
เอาเสียงจากเครื่องมาเข้าหู วิญญาณก็ไปรับเสียงจาก
หูส่งมาให้ธาตุรู้คือจิตให้รู้อีกทีหน่ึง ที่รู้ก็คือตัวธาตุรู้
ตัววิญญาณก็เป็นผู้ท่ีไปรับรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะ
เข้ามาท่ีธาตรุ ้อู กี ทีหน่ึง
ถาม: จุดประสงค์ของพระเครื่องมีเพื่ออะไร เพราะ
พระพทุ ธศาสนาสอนใหไ้ ม่ยดึ ติดกบั วตั ถุ
ตอบ: กไ็ ม่มีน่ะสิ พระพทุ ธเจา้ ไม่สอนกไ็ ม่มี แต่คนก็อยาก
จะมี กไ็ ปห้ามเขาไมไ่ ด้

167

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ถาม: ท�ำไมคนเราเวลานอนหลับในฝันบางครั้งมีส่ิง
บางอย่างมาขอบุญกับเรา มีวิญญาณจากประเทศลาว
และวญิ ญาณเดก็ ๆ มาขอ ตนื่ เชา้ มากต็ กั บาตรทำ� บญุ ไปให้
เปน็ เพราะเหตุใด
ตอบ: คอื มนั อาจจะเปน็ เพยี งความคดิ ปรงุ แตง่ ของเราเอง
กไ็ ด้ เราไมร่ วู้ า่ ความฝนั นเ้ี ปน็ สงิ่ ทเ่ี กดิ จากความคดิ ของเรา
หรอื เปน็ ความจรงิ มดี วงวญิ ญาณจากประเทศนนู้ ประเทศ
นี้เขา้ มาหาเรา อันน้เี ราบางทีไม่รู้
ถาม: ท�ำไมพระโพธิสัตว์ท่านนิพพานไม่ได้ เช่นหลวงปู่
องค์หน่ึง ท่านเป็นนิยตโพธิสัตว์แล้วไม่สามารถถอนได้
ต้องเป็นพระพทุ ธเจา้ แน่นอนใช่ไหม
ตอบ: อนั นมี้ นั เปน็ เรอ่ื งทม่ี นั แลว้ แตก่ ารกระทำ� ของบคุ คล
แต่ละบุคคล ถ้าเขาปักใจว่าเขาต้องเป็นพระโพธิสัตว์
เขากจ็ ะไมป่ ฏบิ ตั ธิ รรมในตอนนี้ เขากจ็ ะไมเ่ จรญิ วปิ สั สนา
ไมพ่ จิ ารณาไตรลกั ษณ์ พจิ ารณาอะไรตา่ งๆ จะเอาแตส่ รา้ ง
บารมี เช่น ทานบารมี ศลี บารมีไปกอ่ น ถ้าทำ� อย่างนี้มนั
กไ็ ปถงึ นพิ พานไมไ่ ดใ้ นชาตนิ ี้ แตถ่ า้ เขาเปลย่ี นใจบอก เอะ๊
นิพพานน้ีมันไปได้สองวิธีนะ ไปด้วยตนเอง แล้วก็อาศัย

168

ปกิณกธรรม

คนอื่นพาไป ตอนนี้เรามีคนพาไปมันง่ายกว่าไปด้วย
ตนเองนะ ไปดว้ ยตนเองตอ้ งคล�ำหาทางเอง ดงั นัน้ เรามา
เปล่ียนใจไม่ดีหรือ ตอนต้นเราคิดว่าเราจะไปเอง เราคิด
วา่ เราเกง่ แต่เรายงั ไปไมถ่ งึ เสยี ที แต่ตอนนีเ้ ราเจอคนทรี่ ู้
ทางแล้ว เขารบั ประกันวา่ ถ้าทำ� ตามเขาน่ไี มเ่ กนิ ๗ ปีก็ไป
ถงึ นพิ พาน อยา่ งนเ้ี ราจะเอาอยา่ งไร เรายงั หวั ปกั วา่ ตอ้ งหา
ทางไปด้วยตนเองอยู่ หรือว่าเราจะไปตามทางท่ีมีคน
เขาพาไป อันน้ีก็คือลักษณะของโพธิสัตว์ โพธิสัตว์บอก
ไม่ฟังใครแม้แต่ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าองค์นี้ก็ไม่ฟัง
แตข่ อหาสจั ธรรมความจรงิ ดว้ ยตนเอง กไ็ มร่ ลู้ ะ่ อนั นก้ี ไ็ มร่ ู้
ว่าจะพดู อย่างไร
ถาม: หากเราเคยประมาทพลาดพลงั้ ทำ� ไมด่ กี บั ใครไวแ้ ลว้
ต่อมารู้สึกส�ำนึกได้ ต้องการขอขมา แต่เขาไม่ให้ขอขมา
เราควรท�ำอยา่ งไร
ตอบ: เราไม่ต้องไปขอขมาเขาหรอกถ้าเขาไม่ให้ขอขมา
เรากเ็ พยี งแตท่ ำ� ความเขา้ ใจกบั ตวั เราเองวา่ เปน็ การกระทำ�
ทไี่ มด่ ที เ่ี ราควรทจ่ี ะเลกิ เทา่ นน้ั เอง ขอขมาตวั เราเอง ตอ่ ไป
นอ้ี ยา่ ไปทำ� ในสง่ิ นนั้ อกี กแ็ ลว้ กนั สว่ นเขาจะรบั ขอขมาหรอื
ไมน่ ี้ก็เปน็ เร่อื งของเขา การที่เราไปแสดงน้กี เ็ ป็นมารยาท

169

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

เท่าน้ันเอง แต่ถ้าเขาไม่ยินดี เพราะเขาก็ยังติดใจอยู่
ยังโกรธเราอยู่ก็ไม่เป็นไร ก็ไม่ต้องไปยุ่งกับเขาแล้วกัน
เพยี งแตเ่ ราตอ้ งมจี ติ สำ� นกึ วา่ สงิ่ ทเ่ี ราทำ� นน้ั มนั ผดิ แลว้ เรา
ไม่ควรจะท�ำอีก ก็พยายามแก้ไขดัดแปลงตอ่ ไป
ถาม: พระชาวต่างชาตอิ ยู่เมืองนอก ใสห่ มวกปอ้ งกนั แดด
ลมเหมอื นฆราวาสไดไ้ หม
ตอบ: กแ็ ลว้ แตก่ าลเทศะ คอื ถา้ จำ� เปน็ จรงิ ๆ ตอ้ งใสก่ ใ็ สไ่ ด้
ถ้าไม่จ�ำเป็นก็อย่าใส่ โดยเฉพาะเวลาท่ีเราอยู่ในชุมชน
อย่างตอนสมัยที่อยู่ทางภาคอีสาน ในช่วงฤดูหนาวน้ี
พระออกบิณฑบาตน้ี บางทีท่านก็ใส่หมวกท่ีท�ำด้วยไหม
พรมช่วยกันหนาว แต่พอท่านเข้าละแวกบ้านท่านก็
ถอดออก แตเ่ วลาทเี่ รายงั ไมไ่ ด้เข้าไปในละแวกบ้าน ไม่ได้
เข้าไปเก่ียวข้องกับประชาชน เราก็อาจจะสวมหมวก
สวมอะไรได้ แต่พอเราไปอย่ทู ่ีมชี ุมชนมคี นอย่างน้ี ถ้าเรา
ถอดออกได้ก็ถอดดีกว่า แต่ถ้าถอดไม่ได้จริงๆ เพราะมัน
หนาวจริงๆ เขาก็จะเข้าใจ ไม่ได้ท�ำด้วยความสวยงาม
หรือด้วยความหล่อเหลา สวมหมวก แต่ท�ำด้วยความ
จำ� เปน็ เพอื่ ทจ่ี ะรกั ษาปอ้ งกนั โรคภยั ไขเ้ จบ็ ทอ่ี าจจะเกดิ กบั
ร่างกายได้ อนั น้กี ็ท�ำได้

170

ปกิณกธรรม

ถาม: การที่เราสามารถทนกับค�ำด่า การถูกเอาเปรียบ
จากคนรักได้ เพราะใช้ธรรมะ แต่พอคิดไปแล้วเหมือน
เราโง่หรือเปล่าท่ียังอยู่ให้เขาด่า ให้เขาเอาเปรียบ จริงๆ
ควรออกมาจากจดุ นัน้ หรอื เปล่า
ตอบ: ไม่โง่หรอก คนฉลาด คนที่น่ิงคือคนฉลาด เพราะ
คนนิ่งนี้รู้ว่ามันเป็นธรรมดาของโลก เราอยู่ในโลกน้ี
ต้องมีท้ังสรรเสริญและมีทั้งนินทาเป็นธรรมดา แม้แต่
พระพุทธเจ้า พระอรหันต์ท่านก็ต้องเจอทั้งสรรเสริญ
ทงั้ นินทา ทา่ นก็เลยเฉยๆ ไป ถือวา่ เป็นเร่อื งปกติ เหมอื น
กบั เราเจอดนิ ฟา้ อากาศ เรากร็ วู้ า่ เดยี๋ วกต็ อ้ งเจอฝนตกบา้ ง
เด๋ียวก็ต้องเจอลมพายุบ้าง เป็นส่ิงที่เราหลีกเลี่ยงไม่ได้
ถ้าเราอยู่ในโลกน้ี โลกธรรมทั้งแปดนี้เป็นสิ่งท่ีเราทุกคน
หลกี เล่ยี งไม่ได้
ถาม: พระทบี่ วชภกิ ษุณี โดยพระภกิ ษอุ ย่างเดียว โดยไมม่ ี
ภกิ ษณุ ีสงฆ์ ถือว่าถูกตอ้ งไหม
ตอบ: ไม่ถูกต้องหรอก แม้แต่มีภิกษุณีสงฆ์ ก็เป็นไป
ไม่ได้เพราะในยุคนี้ เราไม่มีภิกษุณีสงฆ์แล้ว ในสายของ
เถรวาทนะ แต่สายของมหายานน้ีเขายังมีอยู่ ดังน้ัน

171

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

สว่ นมากบางทา่ นทต่ี อ้ งการจะบวชภกิ ษณุ เี ขากจ็ ะไปบวช
กับพวกมหายาน แต่พอเขาอยู่กับพวกมหายาน เขาก็
ไม่สามารถที่จะมาอยู่กับพวกเถรวาทได้ เพราะเราถือว่า
เรามีมาตรฐานการปฏิบัติไม่เหมือนกัน บวชแล้วอาจจะ
ท�ำให้มันกลายเพศกลายพันธุ์ไป ก็เลยต้องรักษาความ
บริสุทธ์ิของพันธุ์ไว้ เหมือนสัตว์น่ีมันมีสัตว์หลายชนิด
บางแห่งเขาจะไม่ให้สัตว์แปลกปลอมเข้ามาร่วมอยู่ด้วย
เชน่ ลงิ บนเขานจี้ ะเปน็ ลงิ หางสน้ั เพราะฉะนนั้ เขาจะไมใ่ ห้
มีลิงหางยาวเข้ามาอยู่ด้วย เขากลัวเดี๋ยวมันจะกลายเป็น
ลิงท่ีหางสั้นก็ไม่สั้น ยาวก็ไม่ยาวข้ึนมาอีกพันธุ์หน่ึงก็ได้
กลายพันธุ์ได้ อันน้ีก็เหมือนกัน การบวชภิกษุณีทางสาย
เถรวาทนี้ถอื วา่ ส้ินสุดลงแล้ว เพราะไมม่ ีภิกษณุ สี งฆ์ มีแต่
ภิกษุสงฆ์ ภิกษุสงฆ์อันเดียวน้ีไม่สามารถบวชภิกษุณีเป็น
ภิกษุณีข้ึนมาได้ ตามพระราชบัญญัติของพระวินัยของ
พระพุทธเจา้
ถาม: คาถาอาคมเป็นอวชิ ชาหรอื ไม่
ตอบ: เป็นไสยศาสตร์อย่างหนึ่งซึ่งเราก็อาจจะปฏิเสธ
ไม่ไดว้ ่าเปน็ จรงิ หรอื ไมเ่ ป็นจริง เพราะเราไม่รู้ แต่บางคน

172

ปกิณกธรรม

เขาเชอื่ แลว้ อาจจะเปน็ จรงิ สำ� หรบั เขากไ็ ด้ แตถ่ า้ เราไมเ่ ชอื่
เรากไ็ มต่ อ้ งไปลบหลู่เขาก็แลว้ กัน
ถาม: ถ้าเราเป็นโรคร้ายแต่ไม่อยากรับการรักษาถือว่า
เราฆ่าตวั ตายไหม
ตอบ: ไมห่ รอก ไม่ถอื ว่าเป็นการฆ่าตวั ตาย การฆา่ ตัวตาย
เราตอ้ งมาอุดจมูกเราหรือแขวนคอเราอยา่ งน้ี ถึงจะเรยี ก
ว่าเปน็ การฆา่ ตัวตาย
ถาม: ทีส่ ถานปฏิบัตธิ รรมของท่านโกเอ็นกา้ นี้ถอื วา่ เป็นท่ี
ปลกี วเิ วกได้ไหม
ตอบ: ไม่เคยไปเลยไม่กล้าตอบ ก็ลองไปดู มันปลีกวิเวก
แบบเป็นกลุ่ม กับแบบเด่ียวมันต่างกันนะ การปลีก
วิเวกท่ีแท้จริงต้องไปอยู่คนเดียวถึงจะเรียกว่าปลีกวิเวก
การไปอยู่ทส่ี ถานปฏิบตั ิ แล้วปฏบิ ตั ิกันเปน็ กลมุ่ เป็นกอ้ น
นีย้ งั ไม่ถอื วา่ เป็นการปลีกวเิ วก
ถาม: ถา้ คนทเี่ ปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐิเขาดกี บั เรา เราควรทำ� ตวั กับ
เขาอย่างไรดี

173

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ตอบ: ก็ดีกับเขาไปเถอะ ความคิดเห็นที่ไม่ถูกต้องมัน
เร่ืองของเขา เรื่องการท�ำความดีมันก็เป็นเรื่องของเขา
แตย่ ากหรอกคนทเี่ ปน็ มจิ ฉาทฏิ ฐจิ ะทำ� ความดี แตเ่ ขาอาจ
จะทำ� ความดเี พอ่ื ทจ่ี ะหลอกเรากไ็ ด้ เรากต็ อ้ งระมดั ระวงั ก็
แลว้ กนั
ถาม: ในยุคภาวะโควิดระบาดลากยาว ท�ำให้ญาติพี่น้อง
เพื่อนฝูงเกิดความคิดต่าง แตกแยก สติลด ก้าวล่วงกัน
โดยคำ� พดู แมแ้ ตค่ วามเหน็ ตา่ งในการฉีดวคั ซีน ขอธรรมะ
เตือนสตดิ ้วย
ตอบ: ก็เขามีค�ำพูดว่านานาจิตตังไง นานาจิตตังก็มี
ความคิดท่ีต่างกันไปเป็นปกติของจิตใจของแต่ละคน
ท่ีสามารถท่ีจะมีความคิดต่อเรื่องใดเร่ืองหน่ึงท่ีไม่เหมือน
กันได้ คือเราต้องเคารพในสิทธ์ิของเขา เขาอยากจะคิด
อย่างไรก็ปล่อยให้เป็นเรื่องของเขาไป ถ้าความคิดของ
เขากับความคิดของเราไม่ตรงกัน เราก็อย่าเอามาชนกัน
คืออย่าเอามาคุยกัน อย่างท่ีเคยพูดอยู่เรื่อยว่าเราต้อง
รู้จักประสานส่วนเหมือน และสงวนส่วนต่าง ถ้าเรื่อง
โควดิ เรอ่ื งวคั ซนี นมี้ คี วามคดิ ทต่ี า่ งกนั เรากอ็ ยา่ มาพดู คยุ กนั
เพราะว่าพูดคุยกันแล้วเดี๋ยวทะเลาะกันอย่างนี้ แต่ถ้ามี

174

ปกิณกธรรม

ความคิดเห็นเหมือนกัน เห็นว่าฉีดวัคซีนดีก็มาพูดกันได้
คุยกันได้ ถ้ามีความคิดตรงกัน ถ้าไม่ตรงกันก็อย่าเอา
มาพูด พยายามสงวนส่วนต่าง ประสานส่วนเหมือนแล้ว
จะไมม่ ีปัญหาตอ่ กัน
ถาม: พ่อแมเ่ ราท�ำกรรมไม่ดี ผลกรรมนัน้ ลูกจะไดร้ บั ดว้ ย
ใชห่ รอื ไม่
ตอบ: ไม่หรอก เป็นกรรมเฉพาะตน เรามีกรรมเป็นของ
ของเรา เราทำ� กรรมอนั ใดไว้ ดหี รอื ชวั่ เราจะตอ้ งเปน็ ผรู้ บั
ผลของกรรมนน้ั
ถาม: ท�ำอย่างไรจะปล่อยวางความกลัวเจ็บไข้ได้ป่วย
ท่ีท�ำให้ไม่กล้าเดินทางไปไหนไกลๆ เพราะส่วนหนึ่งของ
ความเจ็บป่วยมีสาเหตุจากความวิตกกังวลเรื่องความ
สะอาดมากไป
ตอบ: ก็ต้องหม่ันระลึกอยู่เร่ือยๆ ว่าเมื่อเราเกิดมาแล้ว
เราต้องเจ็บไข้ได้ป่วยเป็นธรรมดา ล่วงพ้นไปไม่ได้ ต่อให้
เราระมัดระวังขนาดไหนก็ตาม เด๋ียวไม่ช้าก็เร็วเราก็ต้อง
เจ็บไข้ไดป้ ่วย หนีไมพ่ น้ ถ้าเราคดิ อย่างนแ้ี ลว้ เราก็อาจจะ

175

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

วา่ เม่ือถงึ คราวทมี่ นั จะเปน็ ไมว่ ่าจะอยบู่ า้ น หรืออยทู่ ไี่ หน
มันก็เป็นได้ท้ังนั้น แต่ให้เรามีความระมัดระวังก็แล้วกัน
ถ้าเราไปทอ่ี ืน่ ท่ีไหนท่มี นั ไมส่ ะอาด เราก็ท�ำความสะอาด
กอ่ นสิ เข้าไปหอ้ งนำ้� เหน็ มนั สกปรก เรากท็ �ำความสะอาด
เสยี ก่อนแล้วค่อยใชม้ นั กไ็ ด้

176


Click to View FlipBook Version