The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระอาจารย์สุชาติ อภิชาโต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wonchai890, 2022-08-01 00:51:24

หนังสือ วิสัชนาธรรม เล่ม 2

พระอาจารย์สุชาติ อภิชาโต

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ตายไป เด๋ียวก็กลับไปสร้างกรุงใหม่ต่อ ไม่มีวันสิ้นสุด
เพราะลมื ความตายไป
ถาม: แสดงว่าตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไปนี่ ทุกองค์นี่ได้
สมาธิ ได้อุเบกขาหมดทุกองค์ ใช่ไหมครับ
ตอบ: ใช่ กอ่ นทจ่ี ะไดบ้ รรลธุ รรมนี้ ตอ้ งมสี มาธกิ อ่ น ตอ้ งมี
อเุ บกขากอ่ น เครอ่ื งสนบั สนนุ ในการเจรญิ ปญั ญา สามารถ
เจริญปัญญาไดอ้ ย่างต่อเน่ือง
ถาม: รบกวนพระอาจารย์ช่วยอธิบายเร่ืองปัญญาอบรม
สมาธิ ว่ามรี ายละเอียดอย่างไร และควรทำ� ตอนไหน
ตอบ: ใช่ ก็น่ีเพ่ิงสอนคนเม่ือก้ีไป ใช้ปัญญาท�ำใจให้หาย
เครียดหายทุกข์ ด้วยการคิดถึงความเป็นจริงว่า อะไรจะ
เกดิ ก็เกดิ ถา้ เรามีอย่ใู นฐานะทีเ่ ราจะไปเปล่ียนแปลงหรอื
ไปหา้ มมนั ได้ เขาเรยี กวา่ เปน็ การใชป้ ญั ญา พจิ ารณาวา่ สงิ่ ท่ี
จะเกิดขึ้นมันเป็นอนัตตา มันเป็นเหมือนธรรมชาติ เช่น
ฝนตก แดดออก พายมุ า นำ�้ ทว่ มอยา่ งน้ี มนั ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นวสิ ยั
ทเ่ี ราจะไปหา้ มมนั ได้ เรากต็ อ้ งยอมปลอ่ ยมนั ไป มนั จะทว่ ม
กต็ อ้ งใหม้ นั ทว่ ม แผน่ ดนิ จะถลม่ กต็ อ้ งปลอ่ ยใหม้ นั ถลม่ ไป

100

ปัญญา

เวลาที่เรากังวลกับเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ก็พิจารณาว่า
อะไรมันจะเกิดกับเร่ืองน้ัน เราก็ไปท�ำอะไรไม่ได้ตอนน้ี
เราอยตู่ รงนี้ เมอ่ื เราพจิ ารณาแลว้ กป็ ลอ่ ยวาง พอปลอ่ ยวาง
เรอ่ื งนนั้ ได้ จติ เรากก็ ลบั มาสงบเปน็ ปกติ ยงั ไมถ่ งึ ขน้ั สมาธิ
แบบเต็มที่ แต่สมาธิคือสงบได้ในระดับปกติ ให้จิตเรา
กลับมาไม่ทุกข์ ไม่เครียด ไม่วุ่นวายไปกับเรื่องน้ันเร่ืองน้ี
เพื่อท่ีเราจะได้มาน่ังสมาธิได้อย่างต่อเน่ือง เมื่อนั่งสมาธิ
มาดลู ม หรอื มาพุทโธต่อไปได้
ถาม: การเจริญปัญญาอย่างไร ออกจากสมาธิแล้วจึง
พิจารณาไตรลักษณ์ ความตาย พิจารณาอย่างไร นึกคิด
เฉยๆ หรือ
ตอบ: ก็คิดถึงเรื่องที่เรามีความผูกพัน มีความรัก
มีความหวง ถ้าเรารักทรัพย์สมบัติข้าวของเงินทอง
ก็พิจารณาว่ามันไม่เที่ยงนะ สักวันหน่ึงมันก็จะต้องมีการ
พลัดพรากจากกันไป หรือพิจารณาร่างกายอย่างเดียว
ก็ได้ว่า สักวันหน่ึงร่างกายน้ีจะต้องตายไป พอร่างกาย
ตายไปแลว้ ของตา่ งๆ ท่เี รารกั เราหวง เราก็เอาติดตัวเรา
ไปไม่ได้ พิจารณาเพ่ือให้เราปล่อยวาง ไม่ยึดไม่ติดกับส่ิง

101

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ตา่ งๆ เพราะการยึดติดนีจ้ ะท�ำใหเ้ ราทุกข์ เวลาที่เราตอ้ ง
สญู เสยี มันไป
ถาม: การพิจารณาเวทนาในขนั ธ์ ๕ ควรวางการพิจารณา
อยา่ งไร
ตอบ: กพ็ จิ ารณาสงิ่ ทเี่ ราจำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งพจิ ารณามากทสี่ ดุ
กค็ อื ทกุ ขเวทนา เพราะเปน็ ตวั ทส่ี รา้ งความทกุ ขท์ างใจขน้ึ
มาอกี ชนั้ หนง่ึ สว่ นเวทนาอกี ๒ ตวั คอื สขุ เวทนา กบั ไมส่ ขุ
ไมท่ กุ ขเวทนานไ้ี มค่ อ่ ยเปน็ ปญั หา เทา่ ไหร่ เราอยกู่ บั มนั ได้
เราอยู่กับสุขเวทนาได้ เราอยู่กับความไม่สุขไม่ทุกข์ได้
แต่เรามักจะอยู่กับความทุกขเวทนาทางร่างกายไม่ได้
เรากต็ อ้ งพจิ ารณาสอนใจวา่ ตอ้ งอยกู่ บั มนั ใหไ้ ด้ เพราะมนั
เปน็ สง่ิ ทเ่ี ราไปหา้ มมนั ไมไ่ ด้ ไปบงั คบั ใหม้ นั ไมม่ าปรากฏให้
เรารับรู้ไมไ่ ด้
เราในท่ีนี้ก็คือจิต จิตจะต้องรับรู้ทุกขเวทนาด้วย
เหมือนกับรับรู้สุขเวทนา รับรู้ไม่สุขไม่ทุกขเวทนา
ก็พิจารณาว่ามันเป็นไตรลักษณ์ เวทนาเปลี่ยนไป
เปล่ียนมา เดี๋ยวมันก็หายไป เด๋ียวทุกขเวทนาเกิดข้ึน
แล้วเด๋ียวมันก็หายไป เด๋ียวก็ไปเป็นสุขเวทนา แล้วเดี๋ยว

102

ปัญญา

ก็ไปเป็นไม่สุขไม่ทุกขเวทนา เป็นเหมือนดินฟ้าอากาศ
ให้เราพิจารณาอย่างน้ัน เราก็อยู่กับมันได้ ถ้าเราไม่มี
อคติ ปญั หาคอื เรามอี คตกิ บั ทกุ ขเวทนา เราไมต่ อ้ งการมนั
พอมันมา มันก็เลยทำ� ให้เราทุกข์กนั
เราก็ต้องก�ำจัดอคตินี้ด้วยการมองความจริง ว่าเรา
ไปก�ำจัดทุกขเวทนาไม่ได้ มันมาเท่าๆ กับสุขเวทนา
มันสลับกันมา สลับกันไป ก็เราอยู่กับสุขเวทนาได้ เราก็
หัดอยู่กับทุกขเวทนาได้ เพราะว่ามันก็เป็นเวทนาเหมือน
กัน เป็นความรู้สึกเหมือนกัน การท่ีเราจะอยู่กับมันได้
เราก็ตอ้ งมอี ุเบกขาด้วย มีปัญญาดว้ ย ๒ อยา่ งน้ี เราถงึ จะ
อยูก่ บั ทุกขเวทนาได้
ถาม: เมื่อเจอปัญหาที่รุมเร้ามากมาย ต้องใช้ปัญญา
แก้ปญั หาอยา่ งไร ถงึ ผา่ นพ้นทุกปญั หาไปได้
ตอบ: ก็พิจารณาว่าปัญหามันก็เป็นของไม่เที่ยง แล้วก็
เปน็ ส่งิ ทบ่ี างทีเรากแ็ กไ้ ด้ บางทเี รากแ็ ก้ไมไ่ ด้ ถา้ แกไ้ ม่ได้ก็
ไม่ตอ้ งแก้มัน ปลอ่ ยใหม้ ันแก้ของมันเอง แต่เราไมย่ อมรบั
กบั สภาพของปญั หา เปน็ เพราะวา่ เราอาจจะตอ้ งถกู ลงโทษ
จากการท่ีเราไม่สามารถแก้ปัญหาได้ แต่ถ้าเรายอมรับ

103

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

โทษจากการที่เราไม่สามารถแก้ปญั หาได้ เด๋ยี วปัญหามนั
ก็ผ่านไปเอง
เช่น สมมติว่าเรามีหน้ีสินรกรุงรัง แล้วเราแก้ไม่ได้
ถา้ เรายอมรับสภาพวา่ อย่างมากกถ็ ูกยึดทรพั ย์ อยา่ งมาก
ก็ถูกแจ้งเป็นคนหมดสภาพทางการเงินการทอง อันนี้
พอยอมรับกับสภาพได้ ปัญหามันก็หมดไปเอง ปัญหาที่
มันไม่หมดเพราะเราไม่ยอมรับกับสภาพ ไม่ยอมรับกับ
ความจริงนั่นเอง มันก็เลยเป็นปัญหาคาราคาซัง แต่ถ้า
เรายอมรับกับผลที่จะเกิดข้ึนกับเรา จากปัญหาต่างๆ ได้
ปัญหามนั กห็ มดไปเอง
ถาม: ข้ันตอนการบรรลุธรรม จ�ำเป็นต้องผ่านรูปฌาน
และอรปู ฌานไหม
ตอบ: คอื ต้องผ่านรูปฌาน ๔ ก่อน เข้าสู่รูปฌาน ๔ ใหไ้ ด้
เพื่อจะได้มีอุเบกขา ที่จะเอามาใช้ในการเจริญปัญญา
ต่อไป เพราะจิตท่ีไม่มีอุเบกขาน้ีจะไม่สามารถเจริญ
ปญั ญาได้ เพราะจะเกดิ มอี ารมณท์ มี่ าขดั ขวาง เชน่ อารมณ์
เศรา้ หมอง หรอื อารมณห์ วาดกลวั พอคดิ ถงึ ความตายแลว้
กจ็ ะหวาดกลวั ไม่กลา้ คิด กไ็ มส่ ามารถพจิ ารณาความจริง

104

ปัญญา

ให้มันฝังอยู่ในจิตได้ จึงจ�ำเป็นจะต้องฝึกสมาธิในขั้น
รูปฌาน ๔ แต่ไม่ต้องไปถึงข้ันอรูปฌาน รูปฌาน ๔ นี้ก็
พอเพยี งตอ่ การมาใช้กับการเจรญิ ปญั ญาตอ่ ไป
ถาม: การรักษาใจควรน้อมน�ำเช่นไร ถูกต้องตามหลัก
พุทธศาสนา
ตอบ: เบ้ืองต้นก็รักษาด้วยสติ มีสติคอยควบคุมใจ
ไม่ปล่อยให้ใจคิดเรื่อยเปื่อย ไม่ปล่อยให้ใจคิดไปในอดีต
ไปในอนาคต ไมใ่ ห้คดิ เรอื่ งท่ีไมจ่ ำ� เปน็ จะตอ้ งคดิ ถ้าจะคิด
ก็คิดแต่เฉพาะเร่ืองท่ีจ�ำเป็น เช่น เวลาท�ำงาน เร่ืองงาน
ถ้าต้องคิดก็คิดได้ แต่ถ้าเวลาไม่ต้องคิดเรื่องงาน ก็ไปคิด
เพ้อเจ้อเพ้อฝัน คิดปรามาสคนน้ันคนนี้ ก็หยุดทันด้วย
การบรกิ รรมพทุ โธๆ ไป การบรกิ รรมพทุ โธจะทำ� ให้เรามี
สติได้ มีก�ำลังท่จี ะหยุดความคดิ ได้ ดงั นนั้ เบอ้ื งตน้ เราตอ้ ง
ใช้สติหยดุ ความคิด
แล้วข้ันท่ีสองก็สอนให้คิดไปในทางปัญญา คิดไป
ในทางไตรลักษณ์ แล้วจะท�ำให้เราไม่ไปอยากได้อะไร
อยากมีอะไร เมื่อเราไม่มีความอยาก เราก็จะไม่มีปัญหา
กับใคร ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากการที่เรามีความอยาก

105

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

พออยากแล้วมักจะต้องไปต่อสู้กับคนน้ันคนนี้ เพ่ือให้เรา
ไดส้ ง่ิ ทเ่ี ราอยากได้ พอไมไ่ ดก้ เ็ กดิ ความโกรธเกลยี ดอาฆาต
พยาบาท ฉะน้ันถ้าอยากจะรักษาใจให้สงบ ไม่ให้วุ่นวาย
ก็ต้องรักษาด้วยสติในเบ้ืองต้น แล้วข้ันต่อไปพอมีสติ
แล้วก็สอนใจให้มองทุกอย่างในโลกน้ีว่าเป็นไตรลักษณ์
เพอ่ื จะได้ตัดความอยากต่างๆ แลว้ ใจกจ็ ะอยู่คนเดียวสงบ
ไม่ตอ้ งไปวุ่นวายกบั ใคร
ถาม: การพิจารณาจิตในจิต ธรรมในธรรม พิจารณา
อยา่ งไร
ตอบ: การพจิ ารณาจิตกค็ ือพจิ ารณาดูความเปลย่ี นแปลง
ของจิต จิตเรานี้วันๆ หนึ่งมันเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จากจิต
เบกิ บาน เปน็ จติ เศรา้ หมอง จติ ฟงุ้ ซา่ นเปน็ จติ สงบ อยา่ งน้ี
เป็นต้น พจิ ารณาว่ามันไม่เทย่ี ง เป็นอนจิ จัง พิจารณาว่า
มนั เปน็ อนตั ตา เราไมส่ ามารถไปสงั่ ใหม้ นั เปน็ ไปตามความ
ต้องการ ส่ังให้จิตเบิกบานผ่องใสทุกวันทุกเวลา สั่งไม่ได้
เพราะมันมีเหตุมีปัจจัยที่ท�ำให้มันเปลี่ยน อย่างไปสัมผัส
กับเรื่องนั้นเรื่องนี้ อาการผ่องใสก็อาจจะหายไป อาการ
เครยี ดกจ็ ะเขา้ มาแทนทไ่ี ด้ ใหเ้ รารจู้ กั วธิ ปี ฏบิ ตั กิ บั จติ กค็ อื

106

ปัญญา

ดเู ฉยๆ ปล่อยให้มนั เปลีย่ นไป อย่าไปกงั วล อย่าไปวุ่นวาย
กับมัน ถ้าเราไม่ไปมคี วามอยากใหม้ ันเปล่ียนแปลง ใจเรา
จะไมท่ กุ ข์กบั มัน นคี่ ือการดจู ิต
ส่วนการดูธรรมก็ดูอริยสัจ ๔ ว่าตอนน้ีเราเห็น
อริยสัจ ๔ ไหม เห็นว่าความทุกข์ใจ ความไม่สบายใจ
ของเรานี่เกิดจากกิเลสตัณหาความอยากของเราหรือไม่
แล้วถา้ เหน็ แลว้ เราสามารถใชป้ ัญญาคอื มรรค สติปญั ญา
คือมรรค มาดับมาละความอยากได้หรือไม่ ถ้าเราละได้
เรากจ็ ะเหน็ นโิ รธ เหน็ การดบั ของความทกุ ขป์ รากฏขนึ้ มา
นค่ี ือการเหน็ ธรรมในธรรม
ถาม: การวางเฉยกบั ผู้รู้ ไมใ่ หจ้ ิตกระเพอ่ื ม ตอ้ งพจิ ารณา
หรอื วางเฉยไปเร่อื ยๆ
ตอบ: ก็อยู่ที่ว่าเราวางเฉยได้หรือเปล่า ถ้าวางเฉยได้ก็
วางเฉยไป ถ้าวางเฉยไม่ได้ ก็ต้องใช้สติหรือใช้ปัญญา
ถ้าใช้ปัญญาพิจารณาส่ิงที่ท�ำให้ใจเรากระเพ่ือมว่าเป็น
อะไร ทำ� ไมเราตอ้ งไปกระเพอื่ ม กเ็ กดิ จากความอยากของ
เราเอง ที่ไปท�ำให้เรากระเพื่อม ถ้าเราไม่อยากกระเพื่อม
เรากต็ ้องหยุดความอยากของเรา อย่าไปอยากให้เขาเป็น

107

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

อย่างนัน้ เป็นอย่างนี้ พอเราไม่ได้ไปอยากให้เขาเปน็ อย่าง
นัน้ เป็นอยา่ งน้ี เขาทำ� อะไรเรา เรากจ็ ะไมก่ ระเพอ่ื ม อนั น้ี
ใช้ปัญญา ถ้าใช้ปัญญาไม่เป็นก็ใช้สติ อย่าไปคิดถึงเขา
พอคิดถึงเขาแล้วใจกระเพื่อม ก็อย่าไปคิด อยู่กับพุทโธ
พทุ โธ ใจกจ็ ะวางเฉยได้ ถา้ อยดู่ ๆี ใจไมก่ ระเพอ่ื มใจวางเฉย
อย่แู ลว้ กไ็ ม่ต้องทำ�
ถาม: คนเราสามารถท�ำจิตให้ว่างได้ตลอดเวลาใช่ไหม
หากมีสติโดยตลอด ดังน้ันเขาจึงเป็นผู้ท่ีไม่หว่ันไหวใน
โลกธรรม
ตอบ: ก็ตอ้ งมีสติและปญั ญาด้วย ถึงจะไดม้ ีสติโดยตลอด
จะได้ไม่หว่ันไหวตลอดเวลาในโลกธรรม แต่ถ้ามีสติอย่าง
เดียวนี้ บางทีแล้วพอเผลอสติก็ยังจะเกิดความหว่ันไหว
ขนึ้ มาได้ ดงั น้นั ต้องฝึกทั้งสติท้งั ปัญญา
ถาม: ถ้าหากว่าหลีกเล่ียงทุกข์ไม่ได้ หรือทุกข์เพราะ
ไมย่ อมรบั ทกุ ข์ กย็ อมรบั เสยี ดว้ ยความเขา้ ใจวา่ ธรรมเปน็
อยา่ งนน้ั เอง อยา่ งนีไ้ ดไ้ หม

108

ปัญญา

ตอบ: คือทุกข์น่ีมันจะรับได้เราต้องระงับเหตุท่ีท�ำให้มัน
เกิดทุกข์ขึ้นมา เพียงแต่เราไปรับมันเฉยๆ มันก็ยังไม่ดับ
มนั กอ็ ยู่ แลว้ เราจะทนอยกู่ บั ความทกุ ขไ์ มไ่ ดโ้ ดยธรรมชาติ
ของเรานี้ เราพยายามดิ้นรนหนีความทุกข์กันตลอดเวลา
แต่คิดว่าถ้าเรายอมรับความทุกข์ได้แล้วอยู่กับความทุกข์
ได้ก็ดี ก็ถือว่า อาจจะเป็นเพราะว่าเรามีปัญญาแล้วมี
อุเบกขากไ็ ด้
ถาม: ในการเจริญสติปัฏฐานส่ี เราต้องเร่ิมพิจารณา
ทลี ะเรื่องจากกาย แล้วไล่ไปเรอื่ ยๆ ถึงเวทนา จิต ธรรม
ใชไ่ หม หรอื เลอื กพจิ ารณาอย่างเดียว
ตอบ: ต้องไล่ไปตามล�ำดับ กายก่อนแล้วไปเวทนา
แลว้ คอ่ ยไปจติ แตก่ อ่ นจะไปถงึ การพจิ ารณาไดต้ อ้ งฝกึ สติ
ฝกึ สมาธใิ หไ้ ดก้ ่อน
ถาม: ช่วงนี้ผมเจริญสติทุกวัน และในวันท่ีผมสงบมากๆ
ผมจะเจริญปัญญาเก่ียวกับเรื่องตัณหา ภวตัณหา
วภิ วตณั หา แตก่ ย็ งั ไมเ่ ขา้ ใจอยา่ งเตม็ ที่ ใครข่ อพระอาจารย์
ไดอ้ ธบิ ายเพ่อื ความเขา้ ใจที่มากขึน้

109

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ตอบ: กามตัณหาก็คือความอยากเสพกาม อยากเสพรูป
เสียง กลิ่น รส เช่นอยากไปเที่ยว อยากจะไปกินไปด่ืม
เรียกว่าเป็นการเสพกาม ภวตัณหาคือ ความอยากมี
อยากเป็น เช่นตอนนี้อยากจะเปน็ ผ้วู ่าฯ กนั อยากจะเปน็
นายก อบจ. นายกเทศบาล อะไรอย่างนี้ก็เรียกว่าเป็น
ภวตณั หาอยา่ งหนง่ึ สว่ นวภิ วตณั หากค็ อื ความอยากไมเ่ ปน็
อยากไมเ่ จบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย อยากไมต่ ดิ เชอ้ื โควดิ อยา่ งนกี้ เ็ รยี ก
วา่ เปน็ วภิ วตัณหา พอเกิดความอยากเหล่านี้แลว้ ใจเราจะ
วุ่นวาย ใจเราจะไม่น่ิง ไม่สงบ ใจเราจะทกุ ข์ ถา้ เราระงบั
หยดุ ความอยากเหล่านี้ได้ ใจเราก็จะน่ิงสงบ ไม่ว่นุ วายไป
กบั ส่งิ ตา่ งๆ ท่ีเกดิ ข้ึน

110

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

อนิจจงั ทกุ ขงั อนัตตำ

รายการสนทนาธรรมกับท่านพระอาจารย์สุชาติ อภิชาโต
โดย Dr.V (นายแพทย์วีระพันธ์ สุวรรณนามัย)

111

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ถ้าเราพจิ ารณาเป็น
จะเห็นวา่ สงิ่ ทใี่ ห้ความสุขกับเรา

มันเป็นของไมเ่ ทีย่ ง
ไดม้ าแลว้ เดยี๋ วมันกต็ อ้ งเปลีย่ นไปหมดไป

พอมนั เปลีย่ นไปหมดไป
มันกจ็ ะกลายเป็นความทุกขข์ ้นึ มา

112

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

ถาม: ปฏจิ จสมปุ บาททง้ั ๑๒ ตลอดสาย ควรพจิ ารณาเปน็
ไตรลกั ษณท์ ้งั สิน้ ใช่ไหม
ตอบ: ไม่ใช่หรอก ปฏิจจสมุปบาทน้ีเป็นเหมือนแผนผัง
ของการทา� งานของกเิ ลส เรม่ิ ตน้ ทอ่ี วชิ ชา อวชิ ชาคอื กเิ ลส
พอใจเรามกี เิ ลสปบ๊ั กเิ ลสมนั กจ็ ะคดิ วา่ ตอ้ งไปหาความสขุ
จากภายนอก เพราะกเิ ลสมนั ไมร่ วู้ า่ ความสขุ ทแี่ ทจ้ รงิ นอ้ี ยู่
ภายในใจนี้เอง กิเลสท่ีมีอยู่ในใจมันแทนท่ีจะหาความสุข
ภายในใจ จากการทา� สมาธ ิ มนั ไมท่ า� มนั ไปคดิ วา่ ความสขุ
อยทู่ ีล่ าภยศสรรเสริญ อย่ทู ร่ี ูปรสกลิ่นเสียงต่างๆ อวิชชา
เลยสงั่ ใหส้ งั ขาร ความคดิ ปรงุ แตง่ วา่ ไปหาทเ่ี ทยี่ วกนั ดกี วา่
ใชไ่ หม อยบู่ า้ นแลว้ มนั ไมม่ คี วามสขุ กอ็ อกไปขา้ งนอกบา้ น
ไปเทย่ี วกนั
นี่สังขารความคิดปรุงแต่ง คิดเพราะอวิชชาเป็น
ผู้บอกให้คิดวา่ อยบู่ ้านอยเู่ ฉยๆ มนั ไมม่ คี วามสุข แทนที่
จะบอกใหน้ ง่ั สมาธสิ ิ ไมต่ อ้ งไปเทยี่ วขา้ งนอกตอ้ งเสยี เวลา

113

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

มันไม่มีความรู้อันนี้ มันไม่มีธัมมปัจจยา สังขารา มันก็
เลยมีอวิชชาปัจจยา สังขารา อวิชชามันก็รู้ว่ามันจะรู้แต่
ความสุขท่ีได้จากรูปเสียงกลิ่นรสต่างๆ มันก็เลยสั่งให้
สงั ขารคดิ ไปหารปู เสยี งกลน่ิ รส ไปเทย่ี วกนั การจะไปเทย่ี ว
ไปรบั รปู เสยี งกลน่ิ รสไดก้ ต็ อ้ งมวี ญิ ญาณไปเกาะทตี่ าหจู มกู
ลิ้นกาย
พอสังขารคิดให้ไปหารูปเสียงกล่ินรส วิญญาณก็ท�ำ
หน้าที่ตาม วิญญาณก็ไปเกาะที่ตาหูจมกู ลิน้ กาย เพื่อทจี่ ะ
ได้รับรูปเสียงกล่ินรสที่ตาหูจมูกล้ินกายไปรับไปสัมผัสมา
ก็เกิดการสัมผัส รู้ก็เข้ามาทางตา แต่ทางตามันก็ส่งมา
ท่ใี จ พอสง่ มาท่ใี จ ใจกใ็ ชส้ ัญญาแปลความหมายของรูปที่
เหน็ วา่ เปน็ รปู ชนดิ ไหน ดหี รอื ไมด่ ี ถา้ เปน็ รปู ดกี ส็ ขุ ถา้ เปน็
รูปไม่ดีก็ทุกข์ ก็จะส่ังให้ไปหาแต่รูปดีๆ เพ่ือจะได้เกิด
สขุ เวทนาข้ึนมา
พอเกิดสุขเวทนาก็เกิดความอยากที่จะให้รูปน้ันอยู่
กบั เราตอ่ ไปนานๆ รูปทีเ่ ราชอบ รปู ทีเ่ ราเหน็ เสยี งท่เี รา
ได้ยิน มันก็จะเกิดตัณหาความอยากขึ้นมา อยากหาแต่
รูปดๆี เสยี งดีๆ เพราะมันผลติ ความสขุ ให้เรา แลว้ พอเรา

114

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

ได้มา เราก็เกิดอปุ ทาน ความยดึ ติดในรปู เสียงกลน่ิ รสท่ดี ี
แลว้ พอตดิ แลว้ มนั กท็ ำ� ใหพ้ าใหเ้ ราไปสรา้ งภวะ คอื ภพใหม่
ขึ้นมา เพราะร่างกายนี้ในที่สุดมันก็ต้องตาย พอตายไป
มันก็ต้องไปเกิดใหม่ ไปหาร่างกายอันใหม่ ไปภพใหม่
พอไปภพใหม่ไปเกิดใหม่ พอไปเกิดก็ได้ร่างกายอันใหม่
แล้วก็ไดค้ วามแกค่ วามเจ็บความตายตอ่ ไป
นี่คือปฏิจจสมุปบาท เพียงแสดงแผนผังของการ
ท�ำงานของกิเลส วิธีที่เราจะแก้ก็คือ เราต้องแก้ท่ีอวิชชา
คือความไม่รู้ธรรมะนี้เอง อวิชชาแปลว่าความไม่รู้ ไม่รู้
ธรรมะ ไม่รู้อริยสัจ ๔ ไม่รู้ไตรลักษณ์ ต้องมาสอนใจ
ให้เหน็ ไตรลักษณ์ ให้เห็นว่ารปู เสียงกลิน่ รสท่ีเราแสวงหา
กันน้ี มันน�ำไปสู่ความทุกข์ น�ำไปสู่การเวียนว่ายตายเกิด
ไมม่ วี นั สนิ้ สดุ พอเราเหน็ แลว้ วา่ การจะไปแสวงหารปู เสยี ง
กล่ินรสเปน็ การทีจ่ ะต้องท�ำให้เราเวียนว่ายตายเกดิ เราก็
ยตุ ิ แตจ่ ะยตุ ไิ ดเ้ รากต็ อ้ งมกี ำ� ลงั มเี ครอ่ื งมอื เครอ่ื งมอื ทเ่ี รา
จะใชย้ ุติก็คอื ศีล สมาธิ ปญั ญา
น่ีเอง เราก็ต้องไปปฏิบัติศีลสมาธิปัญญา พอเราได้
ปัญญา เราก็จะสามารถพจิ ารณาไตรลกั ษณไ์ ด้ตลอดเวลา

115

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

กบั ทกุ ขเ์ ยอะ กบั ทกุ อย่าง กบั รูปเสียงกลนิ่ รส กบั ร่างกาย
กับเวทนา กับจติ อารมณ์ต่างๆ ในจติ พิจารณาวา่ มันเป็น
อนิจจัง ทุกขงั อนตั ตา จะได้ถอนความอยากในสิ่งเหล่าน้ี
ให้หมดไปจากใจ พอถอนได้หมดแล้ว จิตก็ไม่มีอุปาทาน
ไม่มีการสร้างภวะขึ้นมาใหม่ ไม่มีความต้องการท่ีจะได้
รูปเสียงกลิ่นรสอีกต่อไป ก็ไม่ต้องไม่มีความจ�ำเป็นท่ีไป
เกดิ ใหม่ เพื่อไปหาร่างกายอันใหม่
อันนี้คือวิธีย้อนศร ต้องเริ่มต้นด้วยการตัดตัณหา
ความอยาก พอเกิดสขุ เวทนา ก็อยากใหม้ นั เป็นอย่างนนั้
นานๆ เห็นรูปทใี่ ห้ความสุข เราก็อยากได้รูปนนั้ อยู่กับเรา
ไปนานๆ แตไ่ ม่มอี ะไรจะอย่กู บั เราไปนานๆ ไมว่ า่ รปู เสียง
กลนิ่ รส มนั กไ็ มเ่ ทย่ี ง ถา้ ตาหจู มกู ลน้ิ กายทใี่ ชส้ มั ผสั รปู เสยี ง
กล่นิ รสก็ไมเ่ ที่ยง พจิ ารณา เราจะได้ตดั ความอยากในรูป
เสียงกล่ินรสตา่ งๆ ได้ พอตดั ความอยากได้ การจะไปเกดิ
กไ็ ม่มี มนั กย็ ตุ ลิ งตรงน้นั
ถาม: ท่ีบอกว่าขันธ์ ๕ ไม่ใช่ตัวเรา ส�ำหรับรูปขันธ์
พอจะเข้าใจแล้ว ส่วนเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
ไม่ใช่ตวั เราหมายถึงอย่างไร

116

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

ตอบ: วิญญาณก็คือการรับรู้รูปเสียงกล่ินรสต่างๆ มันก็
เป็นธรรมชาติอย่างหน่ึง ความสามารถอย่างหนึ่งของจิต
การคิดปรุงแต่งที่เราก�ำลงั คดิ อย่ใู นขณะน้ี กเ็ ปน็ ความคิด
ความสามารถของจติ อยา่ งหนง่ึ การจำ� ไดห้ มายรู้ การรสู้ กึ
สุข ทุกข์ ไม่สุขไม่ทุกข์ อันน้ีเป็นความสามารถของจิต
จติ กเ็ ปน็ ธรรมชาตผิ รู้ ู้ ไมม่ ตี วั ตนในสง่ิ เหลา่ นี้ เปน็ ธรรมชาติ
เหมือนกับเสียงลมพัดนี้ก็ไม่มีตัวตน ลมเวลาพัดก็ไม่มี
ตัวตนไปพดั ลม
มันเป็นธรรมชาติท่ีเกิดขึ้นจากเหตุจากปัจจัยต่างๆ
ให้เราเข้าใจว่า เวลาคิดน้ีไม่มีใครคิด มันเป็นความคิด
ท่ีเกิดข้ึนด้วยเหตุปัจจัยของมัน เวลาเกิดเวทนา สุขทุกข์
ไม่สุขไม่ทุกข์ ก็ไม่มีใครไปผลิตความสุขความทุกข์
เป็นเหตุเป็นปัจจัยที่ท�ำให้มันเกิดข้ึนมา แล้วก็ไปควบคุม
บังคับมันไม่ได้ บางอย่างก็ควบคุมบังคับไม่ได้ บางอย่าง
ก็ควบคุมบงั คับไดเ้ ป็นพกั ๆ เชน่ ความคิดเรา ถ้าเรามีสติ
เราก็หยุดมันได้เป็นพักๆ แต่จะหยุดมันไปตลอดไม่ได้
เวทนาบางทีเราก็หยุดมันได้ เช่นมันเกิดความทุกข์ขึ้นมา
เช่นถ้ามันเกิดความทุกข์จากความหิวน�้ำ เราก็หาน้�ำมา
ด่ืมได้ แต่ดื่มแล้วเดี๋ยวมันก็ทุกข์ ถ้าเราไปอยู่ในท่ีไม่มีน้�ำ

117

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ให้เราด่ืม เราก็จะไปด่มื มนั ไม่ได้ มนั เปน็ ธรรมชาตเิ หมอื น
กับดนิ ฟ้าอากาศ
ถาม: เวลาสงสยั คดิ พิจารณาด้วยตนเอง และจิตตอบเอง
และจะใชอ้ ะไรตัดสนิ ความถกู ต้อง
ตอบ: คือถ้าปัญหาในทางปฏิบัตินี้ มันจะเกิดตอนที่ใจ
เราทุกข์ เม่ือเราพิจารณาอย่างถูกต้องแล้ว ความทุกข์ก็
ดบั ไปอยา่ งนก้ี ถ็ อื วา่ ถกู ตอ้ งแตท่ างอนื่ เราไมร่ นู้ ะทางปฏบิ ตั ิ
เราดูความทุกข์เป็นตัวก�ำหนด ตัวทุกข์กับการดับทุกข์
ถ้าเกิดทุกข์ขึ้นมาเมื่อไหร่ ก็แสดงว่าใจเรามีปัญหาแล้ว
ไม่ว่าจะทุกข์กับเร่ืองอะไร ก็ต้องพิจารณาค้นหาสาเหตุ
ของความทุกข์ ก็จะเห็นว่าเกิดจากความอยากอย่างใด
อย่างหนึ่ง เช่น ตอนนี้ทุกข์กับอะไร โควิด ๑๙ เพราะ
ไม่อยากจะติด เกิดจากความอยากไม่อยากติดโควิด
เพราะรู้ว่าติดเชื้อแล้วจะต้องเป็นไข้ ไม่สบาย และอาจ
จะตายได้ ก็เลยทุกข์กัน แต่ถ้าอยากจะไม่ให้ทุกข์ก็ต้อง
พจิ ารณาความจริงว่า ร่างกายน้ีมนั เป็นยงั ไง มันไมเ่ จ็บไข้
ได้ปว่ ยไดห้ รือไม่ ไม่ตายไดห้ รอื ไม่

118

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

เมอ่ื พจิ ารณาดว้ ยเหตดุ ว้ ยผล กจ็ ะเหน็ วา่ มนั ตอ้ งเจบ็
ไข้ได้ป่วยวันใดวันหนึ่ง แลว้ ก็ต้องตายวนั ใดวนั หนึง่ ไมว่ ่า
จะจากเหตใุ ดเหตหุ นงึ่ มนั กต็ อ้ งเปน็ แลว้ ถา้ เราไมอ่ ยากจะ
ใหเ้ ราทกุ ขก์ บั ความเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย เกดิ จากความตาย เราก็
ต้องละความไมอ่ ยากเจบ็ ความไมอ่ ยากตายนี้ เทา่ นนั้ เอง
ด้วยการยอมรับความจริงว่า เอ้อ มันต้องเจ็บแน่ๆ เจ็บ
แบบใดแบบหนงึ่ แลว้ มนั ตอ้ งตายแนๆ่ วนั ใดวนั หนงึ่ ถา้ เรา
ยอมรับได้ ความทุกข์ความกังวลใจเก่ียวกับความเจ็บ
ความตายของรา่ งกายกจ็ ะหมดไป อนั นแี้ หละคอื วธิ ตี ดั สนิ
ความถูกต้องของการพิจารณาของเรา ว่าเราสามารถ
ดับความทุกข์ของจิตได้ด้วยปัญญา ด้วยความจริงคือ
ไตรลักษณ์
ถาม: มอี บุ ายให้ไม่ตดิ ความสุขในความคดิ ไหม
ตอบ: การตดิ ในความสุขในความคิดนีไ้ มเ่ สยี หาย ถ้าเปน็
ความคิดที่ไม่ได้พาให้เราไปสู่การหาลาภยศสรรเสริญ
หารูปเสียงกล่ินรส ถ้าเป็นความคิดที่จะให้เราไป
ปฏบิ ตั ธิ รรมใหเ้ ราปลอ่ ยวางใหเ้ ราเหน็ ไตรลกั ษณน์ ้ี แลว้ เกดิ
ความสุขขึ้นมา ไม่ยึดไม่ติด อย่างน้ีเป็นความคิดที่ดี

119

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ความคิดน้ีมี ๒ รปู แบบ คือความคิดทท่ี �ำใหเ้ ราปล่อยวาง
แล้วก็เกิดความสุขใจข้ึนมา หรือความคิดที่หลอกให้เรา
ไปหาความสุขจากลาภยศสรรเสริญ แล้วทำ� ใหเ้ ราทุกขใ์ จ
ตามมา เพราะความสขุ จากลาภยศสรรเสริญสขุ นี้ มันเปน็
ของชว่ั คราว เวลามนั เสอ่ื ม เวลามนั หมดไป มันกจ็ ะทำ� ให้
เราทกุ ขข์ น้ึ มาได้ ฉะนนั้ ความคดิ นเ้ี ปน็ ตวั ทจ่ี ะทำ� ใหเ้ ราคดิ
ไปในทางความสขุ ก็ได้ คิดไปในทางความทุกข์กไ็ ด้
ถาม: ขันธ์ ๕ เปน็ ของหนกั อยา่ งไร จะสลัดท้ิงอย่างไร
ตอบ: อ๋อ นี่ท่านหมายถึงร่างกาย ร่างกายน้ีเป็นภาระ
ค�ำว่าหนักก็คือเป็นภาระหนัก หนักเพราะหนึ่งเราต้อง
คอยหายใจ ถา้ ขเี้ กยี จหายใจเม่อื ไหรก่ ต็ ายทนั ทเี ลย นคี่ อื
ธาตลุ มทีเ่ ราตอ้ งไปเอาเขา้ เตมิ ร่างกายอยเู่ รื่อย นอกจาก
ธาตุลมแล้วก็ตามด้วยธาตุน�้ำ ต้องคอยดื่มน้�ำอยู่เร่ือยๆ
ถ้าเกิดไปอยู่ท่ีไม่มีน�้ำดื่มน่ีเป็นยังไง ทรมานไหม ถ้าเกิด
ไปหลงทางอยู่ในปา่ หรืออยู่ทที่ ะเลทราย แลว้ หิวนำ้� ไมม่ ี
น�้ำดื่มนี่เป็นยังไง มันทุกข์ทรมานไหม เราเลยเป็นภาระ
ทจี่ ะตอ้ งคอยหาน้ำ� ถา้ เราไปอย่ทู ไ่ี หนน่ี เราจะต้องเตรียม
นำ้� ไว้กอ่ นแล้ว ใชไ่ หม

120

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

ถ้าเราเดินทางไปท่ีไหน ที่เราไม่รู้ว่าข้างหน้าจะมีน�้ำ
หรอื เปลา่ นี่ เราตอ้ งแบกนำ้� ไปแล้ว เตรียมนำ�้ ไป ต้องคอย
ดมื่ น�ำ้ แล้วก็ต้องคอยหาอาหารมาเตมิ นก่ี ็จะเปน็ ธาตุดิน
ซะเปน็ สว่ นใหญ่ อาหารกค็ อื ธาตดุ นิ นพ่ี อมรี า่ งกาย กต็ อ้ ง
มีภาระทจ่ี ะต้องเล้ยี งดรู า่ งกายน่ี แลว้ เวลาเจบ็ ไข้ไดป้ ่วยก็
ตอ้ งหาหมอหายามารกั ษา แลว้ ยงั มคี วามเจบ็ ปวดรวดรา้ ว
ทงั้ สรรพางคก์ าย อนั นก้ี เ็ ปน็ เหมอื นภาระทม่ี ากดดนั เราอกี
ทหี นง่ึ คอื การไมม่ รี า่ งกายนมี่ นั ดกี วา่ อนั นเี้ ปน็ ความรทู้ แี่ ท้
จรงิ ของพระอรหนั ต์ พวกเราท่ีเป็นปุถุชน เราจะไม่เห็นว่า
รา่ งกายนเี้ ปน็ ภาระ เราจะรกั จะหวงรา่ งกาย อยากจะเกบ็
รา่ งกายนีไ้ ว้ใช้นานๆ ถึงแม้วา่ เราตอ้ งรบั ใช้รา่ งกาย เราก็
ยินดี เพราะอย่างน้อยเราก็จะได้ใช้ร่างกายพาเราไปไหน
มาไหน ทำ� อะไรใหก้ ับเราได้
แตส่ �ำหรับพระอรหนั ตน์ ้ี ทา่ นไม่ตอ้ งใชร้ า่ งกายแล้ว
ท่านก็เลยเห็นว่ามีร่างกายน้ีมันหนัก เป็นภาระเปล่าๆ
แต่เม่ือมันยังไม่ตายก็ต้องแบกไป เพราะว่าส่วนหน่ึง
ท่านก็ยังใช้ร่างกายนี้มาท�ำประโยชน์ให้แก่ผู้อื่นได้ เช่น
พระพุทธเจ้าของเรา นี่ท่านอยู่ต่ออีก ๔๕ ปี ท่านไม่อยู่
ต่อท่านกไ็ ม่เดือดรอ้ น แตเ่ ม่อื รา่ งกายมนั ยังไม่ตาย ท่านก็

121

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ดแู ลรา่ งกายไป ตอ้ งบณิ ฑบาต ตอ้ งขบตอ้ งฉนั ตอ้ งอะไรไป
เพอ่ื ประโยชนข์ องผอู้ นื่ เพอื่ ประโยชนข์ องพวกเราทงั้ หลาย
ตลอดระยะเวลา ๔๕ ปีนี้ พระพุทธเจ้าแสดงธรรมอยู่
ทุกวัน วนั ละ ๔ รอบ
ถาม: การท่ีเรารู้ทันอารมณ์ รักชังกลัวหลง ไม่ให้อยู่ใน
อารมณน์ น้ั นานในแตล่ ะวนั ตลอดเวลา คอื การเจรญิ ปญั ญา
ใชไ่ หม
ตอบ: จะเรยี กวา่ ใชก่ ไ็ ด้ คอื เราตอ้ งมปี ญั ญา เพอ่ื ทจี่ ะละชงั
กลวั หลง การทจี่ ะมปี ญั ญากต็ อ้ งเหน็ ไตรลกั ษณใ์ นสงิ่ ทเี่ รา
ไปรกั ไปชงั ไปกลัวไปหลงดว้ ย แล้วเราถงึ จะละความรกั ชัง
กลวั หลงได้ ความหลงมนั ทำ� ใหเ้ ราไปเหน็ สงิ่ นน้ั สง่ิ นว้ี า่ เปน็
เราข้ึนมา แล้วเรากไ็ ปรกั มนั แลว้ ก็ไปชังสงิ่ ที่มาท�ำลายสง่ิ
ทีเ่ รารกั แต่ถ้าเรามองว่าสิ่งทเี่ รารัก สิ่งท่ีเราชงั นี้ มันเป็น
เพยี งดนิ นำ�้ ลม ไฟ ไม่มตี ัวตน
อย่างนี้เราก็จะสามารถละความรักชังกลัวหลงได้
อยา่ งแทจ้ รงิ ไมใ่ ชม่ าคอยดทู ตี่ วั รกั ชงั แลว้ พอมนั เกดิ ขนึ้ ก็
หยดุ มนั มนั กจ็ ะหยดุ ไดจ้ รงิ หรอื ไม่ อาจจะหยดุ ไดช้ วั่ คราว
พอรู้ว่ามันรัก พอมันชัง พอเราเกิดมีสติเราก็หยุดมัน

122

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

พอเราเผลอสตมิ นั กก็ ลบั ไปรกั ใหมช่ งั ใหมไ่ ด้ แตถ่ า้ เราเหน็
ด้วยปัญญาว่ามันเป็นเพียงดิน น้�ำ ลม ไฟ สิ่งท่ีเราไปรัก
ไปชัง เราก็อาจจะเลิกรักเลิกชังได้อย่างถาวร ถ้าเห็นว่า
มันไม่ใช่ตัวตน ไม่ได้เห็นว่าเป็นนาย ก นาย ข เป็นนั่น
เป็นนขี่ ้นึ มา เห็นวา่ เปน็ เพยี งดิน น�้ำ ลม ไฟ
ถาม: คนเรามีทุกข์เพราะความอยากใช่ไหม เพราะเรา
ห้ามใจตวั เองไม่ได้ ใชไ่ หม
ตอบ: ใช่ ใจเราไม่มีกำ� ลัง ไมม่ ีสมาธิ ไมม่ ีปญั ญา ยังหลง
กับส่ิงท่ีเราอยากว่าเป็นสิ่งท่ีจะให้ความสุขกับเรา ถ้าเรา
พจิ ารณาเปน็ จะเหน็ วา่ สงิ่ ทใี่ หค้ วามสขุ กบั เรามนั เปน็ ของ
ไมเ่ ทีย่ ง ได้มาแลว้ เดี๋ยวมันกต็ ้องเปลีย่ นไปหมดไป พอมนั
เปลี่ยนไปหมดไป มันก็จะกลายเป็นความทุกข์ข้ึนมา
ถา้ เราเหน็ อยา่ งนเี้ รากจ็ ะไมอ่ ยากไดอ้ ะไร เพราะเทา่ กบั ไป
เอาความทุกขม์ าใสใ่ จน่นั เอง
ถาม: ถ้าทางโลกเป็นสมมตุ ิทัง้ หมด แสดงว่าทกุ สงิ่ เกิดขึ้น
จากการปรุงแต่งข้ึนมาท้ังสิ้น ไม่มีส่ิงใดไม่ถูกปรุงแต่งเลย
ใช่ไหม

123

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ตอบ: ส่วนใหญ่ก็จะเป็นการผสมปรุงแต่งของธาตุส่ี คือ
ธาตุดิน ธาตุน�้ำ ธาตุลม ธาตุไฟ ยกเว้นพวกท่ีเป็นธาตุ
ล้วนๆ น้ี เขาไม่มีการปรุงแต่ง เช่นธาตุน้�ำน้ีก็ไม่มีการ
ปรุงแต่ง ลมก็ไม่มีการปรุงแต่ง ความร้อนก็ไม่มีการ
ปรุงแต่ง มันเป็นของมันล้วนๆ อยู่ตามแบบของมัน
ดนิ กไ็ มม่ กี ารปรงุ แตง่ แตบ่ างทเี ราเอาทงั้ สอี่ ยา่ งมาผสมกนั
เชน่ เราเอาน้ำ� มาใส่ดิน แล้วก็มีความรอ้ น มลี ม มอี ากาศ
ต้นไม้มันก็เจริญขึ้นมาได้ เป็นต้นไม้ท่ีเกิดจากการรวมตัว
ของดิน น้�ำ ลม ไฟ แต่ถ้าส่ิงใดท่ีพอมันเกิดขึ้นมาแล้ว
เราก็ไปสมมุติ ไปตั้งชื่อให้มันว่าเป็นต้นไม้ เป็นกล้วย
เป็นมะละกอ เป็นสับปะรด อะไรร้อยแปด ขยายความ
ไปไกลเลย ถา้ เปน็ รา่ งของมนษุ ยเ์ รากว็ า่ เปน็ คนไทย คนจนี
เป็นหญิงเป็นชาย ก็เป็นสมมุติท้ังนั้น ความจริงมัน
ก็เป็นการผสมปรุงแต่งของธาตุส่ี ถ้าเป็นมนุษย์กับ
สัตว์เดรัจฉานก็ยังมีธาตุอีกธาตุหน่ึงท่ีเรามองไม่เห็น คือ
ธาตุรู้มาร่วมด้วย ธาตุส่ีคือดิน น้�ำ ลม ไฟที่ท�ำร่างกาย
แลว้ ยงั มธี าตทุ ห่ี า้ คอื ธาตรุ ู้ เปน็ ผวู้ างสง่ั ใหร้ า่ งกายทำ� อะไร
ตา่ งๆ ใหร้ า่ งกายเดนิ ใหร้ า่ งกายคดิ ใหร้ า่ งกายเคลอื่ นไหว
ใหร้ า่ งกายพดู อนั นเ้ี ป็นหนา้ ทข่ี องธาตรุ อู้ กี ทีหนึง่ แต่เมอื่

124

อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

ถึงเวลาธาตุท้ังห้ามันก็จะแยกทางกันไป เม่ือก�ำลังที่จะ
ดึงให้ธาตุทั้งห้าให้อยู่ร่วมกัน สู้ก�ำลังที่จะคอยแยกธาตุ
ให้ออกจากกันไม่ได้ ธาตุมันก็จะแยกออกจากกันในที่สุด
กค็ ือตอนท่ีร่างกายตายนเี้ อง พอรา่ งกายไป ธาตนุ ้ำ� กอ็ อก
จากร่างกายไป ธาตุไฟก็ออกจากร่างกายไป ธาตุลมก็
ออกไป ในท่ีสุดก็จะเหลือแต่ธาตุดิน ธาตุรู้ก็แยกไป
ก่อนเพ่ือน พอไม่มีลมหายใจ ธาตุรู้ก็ไม่อยู่กับร่างกาย
แล้วเด๋ียวมันก็กลับมารวมกันใหม่ เดี๋ยวก็มีร่างกายใหม่
มาเกิดใหม่ก็มีการรวมตัวของธาตุท้ังห้าน้ีใหม่ แล้วก็แยก
กันใหม่เวลาตาย ทุกส่ิงทุกอย่างก็ แล้วเราก็มาสมมุติ
ธาตุเหล่านี้ว่าเป็นสัตว์ เป็นบุคคล เป็นหญิง เป็นชาย
เป็นชาวนู้นชาวนี่ข้ึนมา เป็นคนดี เป็นคนช่ัวอะไร ว่าไป
รอ้ ยแปดพนั ประการ เปน็ สมมุตทิ งั้ นน้ั
ถาม: ค�ำกล่าวสังขารขนั ธ์ไมเ่ ท่ียง ต้องพจิ ารณาอยา่ งไร
ตอบ: สังขารก็คือส่ิงท่ีปรุงแต่งนั้นเอง ความจริงค�ำว่า
สังขารในทางธรรมนี้ มันมีสองอันด้วยกัน ร่างกายก็เป็น
อันหนึ่ง ร่างกายนี้เป็นสังขารคือเป็นส่ิงท่ีปรุงแต่งข้ึน
ดว้ ยดิน นำ้� ลม ไฟ มันไมเ่ ท่ียงเพราะวา่ เดยี๋ วมนั จะตอ้ ง

125

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

แยกตัวออกจากกัน ร่างกายเด๋ียวอยู่ได้สักพักก็ตาย
พอตาย ดิน น�้ำ ลม ไฟ ก็แยกไปคนละทิศคนละทาง
อันนี้ก็เรียกสังขารไม่เที่ยง อีกอันหน่ึงคือสังขารคือความ
คดิ ปรงุ แตง่ กไ็ มเ่ ทย่ี งเหมอื นกนั คอื มนั ไมห่ ยดุ นงิ่ มนั ไมค่ ดิ
แต่เร่ืองเดียว มันคิดหลายเรื่องหลายประการด้วยกัน
คิดเรื่องน้ันแล้วก็คิดเรื่องน้ี คิดเร่ืองน้ีแล้วก็คิดเร่ืองนั้น
เราก็เรียกว่ามันไม่เท่ียง ค�ำว่าไม่เท่ียงก็คือมันเปล่ียนไป
เปลี่ยนมา
ถาม: พี่สาวป่วยอยู่ในโรงพยาบาล เข้าใจว่าร่างกายเป็น
ธรรมชาติ ย่อมมีความเจ็บเป็นธรรมดา แต่บางครั้งก็ยัง
กังวล เราควรต้องตั้งสติอย่างไร
ตอบ: กแ็ ยกใจออกจากรา่ งกาย ตวั พสี่ าวอยทู่ ใี่ จไมไ่ ดอ้ ยทู่ ี่
ร่างกาย พอร่างกายตายไป พี่สาวก็ยงั อยู่ต่อ อยู่ในสภาพ
ของดวงวิญญาณ เราก็สามารถท่ีจะส่งบุญไปให้พ่ีสาวได้
ด้วยการท�ำบญุ แล้วอุทศิ บญุ นีใ้ ห้พส่ี าวไป

126

การแกนิสัยละกิเลส ธรรมผูครองเรือน

กำรแกŒนสิ ยั ละกเิ ลส ธรรมผคูŒ รองเรือน

รายการสนทนาธรรมกบั ทา่ นพระอาจารยส์ ุชาติ อภชิ าโต
โดย Dr.V (นายแพทย์วรี ะพันธ์ สวุ รรณนามยั )

127

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

อยา่ ไปคดิ ถึงคน
ทที่ ำ� ให้เราหงุดหงิด
ให้อยูก่ ับพุทโธพทุ โธไป
เรากจ็ ะเกิดอุเบกขาข้นึ มา
ปลอ่ ยวางคนนนั้ ได้
เขาจะทำ� อะไรกเ็ ป็นเร่อื งของเขาไป
ใจเราก็จะหายหงุดหงิดได้

128

การแกนิสัยละกิเลส ธรรมผูครองเรือน

ถาม: การใช้ชีวิตประจ�าวันท�าอย่างไรจึงหลีกเลี่ยงโมหะ
จรติ ได้
ตอบ: หลีกเลี่ยงไม่ได้หรอก โมหะน้ีมันครอบง�าจิตใจเรา
ค�าวา่ เรานีก่ เ็ ปน็ โมหะแล้ว ถ้าเราคดิ ว่ามเี ราอยู่ในรา่ งกาย
มีเราอยู่ในใจน้ีก็ถือว่าเป็นโมหะแล้ว ดังน้ันอย่าไป
หลีกเล่ียงตัวน้ีเลย เพราะว่ามันเป็นรากเหง้าของกิเลส
มาหลีกเล่ียงตัวความโลภดีกว่า ความโลภนี้มันยังเห็น
ง่ายกว่า แก้ได้ง่ายกว่า ด้วยการใช้ความมักน้อยสันโดษ
คือเรามักจะโลภมากอยากจะได้ของมากๆ อยากจะมี
ของมากๆ เราต้องใช้มักน้อยคือให้มีเท่าท่ีจ�าเป็น เช่น
สิ่งท่ีจ�าเป็นต่อการด�ารงชีพคืออะไร ก็ปัจจัยส่ี อาหาร
เครื่องนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย ยารักษาโรค เราก็หามันมา
ให้มันเพียงพอกับการดูแลร่างกาย แบบประหยัดก็ได้
แบบไมต่ อ้ งมาก เพราะถา้ อยากจะไดบ้ า้ นใหญโ่ ต อยากกนิ
อาหารแพงๆ มันก็ต้องดิ้นรนกับการท�ามาหากิน

129

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

เหน็ดเหน่ือยกบั การท�ำมาหากนิ หาทอง แตถ่ า้ เราอยแู่ บบ
เรียบงา่ ย กินอาหารก็แบบขา้ งถนนอะไร ซ้ืออาหารท่เี ขา
ขายตามตลาด ใส่ถุงกลับมาหุงข้าวกิน หรือซ้ือข้าวกลับ
มากนิ ทบี่ า้ น กพ็ อใหม้ นั อมิ่ เพอื่ ใหร้ กั ษารา่ งกายใหม้ นั อยไู่ ด้
กพ็ อ มันกจ็ ะใช้เงินนอ้ ย เมือ่ ใชเ้ งินน้อยมันก็ไม่ตอ้ งดิ้นรน
หาเงิน ก็จะมีเวลาที่จะมาปฏิบัติธรรมได้มากขึ้นนั่นเอง
จงึ ตอ้ งใชค้ วามมกั นอ้ ยหรอื สนั โดษ คอื ยนิ ดตี ามมตี ามเกดิ
ยินดีตามฐานะของเรา แล้วถ้าเราเป็นอย่างน้ีเราก็ใช้ตาม
ฐานะของเราไป ถา้ ฐานะของเรามากกว่านเี้ ราก็ใชไ้ ปก็ได้
ตามฐานะของเราก็แล้วกัน โดยที่ไม่ไปกดดันให้ชีวิตของ
เราตอ้ งดิน้ รนหาเงนิ หาทองมากจนเกนิ ไป
ถาม: โยมเป็นคนร�ำคาญคนง่าย หงุดหงิดคนอ่ืนได้ง่าย
เพราะโยมรักความสงบ โยมต้องใช้ธรรมะใดในการแก้
ความร�ำคาญ แก้ความหงุดหงิดใจอันเกิดจากผัสสะที่มา
กระทบใจ
ตอบ: ก็ต้องใช้อุเบกขา อุเบกขาก็คือวางเฉย เขาจะท�ำ
อะไรกเ็ ปน็ เรอื่ งของเขา เขาจะดจี ะชว่ั กเ็ รอ่ื งของเขา ถา้ เรา

130

การแก้นิสัยละกิเลส ธรรมผู้ครองเรือน

หงุดหงิดตอนนั้นก็แสดงว่าอุเบกขาเรามีน้อย เราก็ใช้
บรกิ รรมพทุ โธพทุ โธไป อยา่ ไปคดิ ถงึ คนทท่ี ำ� ใหเ้ ราหงดุ หงดิ
ให้อยู่กับพุทโธพุทโธไป เราก็จะเกิดอุเบกขาขึ้นมา
ปล่อยวางคนนั้นได้ เขาจะท�ำอะไรก็เป็นเร่ืองของเขาไป
ใจเรากจ็ ะหายหงดุ หงดิ ได้ ถา้ เรารจู้ กั ใชค้ ำ� บรกิ รรมพทุ โธๆ
ถาม: เห็นจิตเป็นทุกข์ เป็นพยับแดด เป็นยาพิษ เป็น
ของรอ้ นแล้วทำ� อยา่ งไรตอ่
ตอบ: กท็ ำ� ให้มนั เยน็ นะสิ ถ้ามนั ร้อนกท็ ำ� ให้มันเย็น ถ้ามัน
ทุกข์ก็ต้องมาหาเหตุที่มันทุกข์เพราะเกิดจากอะไร เหตุที่
ท�ำให้ใจทุกข์ก็เกิดจากกิเลสตัณหา เกิดจากความอยาก
เราก็ต้องระงับความอยากให้ได้ พอระงับความอยากได้
จิตก็จะเย็น จิตก็จะสงบ วิธีที่จะระงับก็ต้องใช้สติหรือใช้
ปญั ญา ถา้ ยังใช้ปัญญาไมเ่ ป็น กใ็ ช้สติ พอจติ ร้อนก็พทุ โธๆ
พุทโธไป สักพกั หนึ่งความรอ้ นกจ็ ะหายไป ถา้ อยากจะใช้
ปัญญาก็ต้องวิเคราะห์ดูว่าจิตเราร้อนเพราะเร่ืองอะไร
เพราะอยากใหไ้ ดส้ งิ่ นน้ั อยากไดส้ งิ่ นหี้ รอื เปลา่ เชน่ ตอนน้ี
คนหาเสยี งจติ คงจะรอ้ นนอนไมค่ อ่ ยหลบั กนั คนทจ่ี ะหาเสยี ง

131

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

เลือกตง้ั กัน จติ จะไม่เยน็ จติ จะร้อน เพราะตอ้ งคอยกงั วล
ว่าจะได้รับเลือกต้ังหรือไม่ ดังน้ันถ้าอยากท�ำให้จิตเย็น
เป็นปกติ ไม่รุ่มร้อนเหมือนคนท่ีก�ำลังสมัครเลือกต้ังอยู่ก็
ถอนเสยี ถอนใบสมคั รเสยี อยา่ ไปสมคั รอยา่ อยากเปน็ ผวู้ า่ ฯ
อย่าอยากเป็น อยากได้ต�ำแหน่งนั้น ต�ำแหน่งน้ี พอตัด
ความอยากได้ต�ำแหน่งนั้นต�ำแหน่งน้ีได้แล้ว ใจก็หาย
รอ้ นได้ อนั น้ใี ช้ปญั ญาวเิ คราะห์เอา
ถาม: อยากเลิกนิสัยเวลาคนมาติเตียนเรา นินทาแล้ว
ชอบเอาไปคดิ ถงึ แมเ้ ร่ืองท่เี ขาตเิ ตียนเราเพราะเขาหวังดี
แต่ใจมนั ไม่ยอมรับ อยากเลิกนสิ ัยแบบนต้ี อ้ งทำ� อย่างไร
ตอบ: ทำ� หทู วนลมไดไ้ หม เขาจะพดู อะไรกป็ ลอ่ ยเขาพดู ไป
เขาจะทำ� อะไรกเ็ ปน็ เรอ่ื งของเขา ถา้ มองเขาวา่ เปน็ อนตั ตา
ได้เราก็จะท�ำใจได้ อนัตตาก็แปลว่าไม่มีตัวตน เป็นการ
ท�ำงานของธาตุสี่ ดิน น้�ำ ลม ไฟ เวลาเขาพูดมันก็เป็น
เรอ่ื งของลม ธาตลุ มก�ำลังทำ� งาน เหมือนกับลมพัดใบไมน้ ้ี
เราไปบังคับให้ลมหยุดพัดได้หรือไม่ เราก็หยุดมันไม่ได้
ลมมนั จะพดั ใบไมท้ ำ� ใหม้ เี สยี งหรอื ไมม่ เี สยี ง เรากไ็ ปบงั คบั
เขาไมไ่ ด้ กป็ ลอ่ ยเขาทำ� ไปเทา่ นน้ั เอง ปญั หาของเรามนั อยู่

132

การแก้นิสัยละกิเลส ธรรมผู้ครองเรือน

ตรงทว่ี า่ ความอยากของเรานเี้ อง อยากใหเ้ ขาไมน่ นิ ทาเรา
อยากให้เขาพูดแต่สิ่งท่ีดีเกี่ยวกับเรา พอเขาไม่พูดมันก็
เลยทำ� ใหเ้ ราไมส่ บายใจ ดงั นน้ั เราตอ้ งมาปรบั ใจตวั เราเอง
ตอ้ งยอมรบั ว่าเขาจะพูดดีกไ็ ด้ ไมพ่ ูดดีก็ได้ เขาจะชมกไ็ ด้
เขาจะต�ำหนิติเตียนเราก็ได้ มันเป็นเร่ืองของเขา เหมือน
กบั เรอื่ งของลมพดั ทเ่ี ราไมส่ ามารถไปหา้ มมนั ได้ ฉนั ใดเรอ่ื ง
ของคน ท่ีเขาจะพูดหรือเขาจะท�ำอะไรนี้เราก็ไปห้ามเขา
ไมไ่ ด้ แตเ่ ราหา้ มใจเราได้ ในใจเราอยา่ ไปหวงั อะไรจากเขา
แลว้ ใจเราก็จะไม่ร้สู กึ หงดุ หงิดร�ำคาญใจ
ถาม: ลูกศิษย์ท�ำงานผิด เราเป็นครูอบรมสั่งสอน ไม่ได้
โกรธ สอนด้วยเมตตา แต่เด็กและแม่เด็กโกรธมากทั้งท่ี
ท�ำผิด เขียนผิด โยมวางเฉยไม่ตอบโต้ คุณพ่อเด็กเข้าใจ
ตอบโตแ้ ทนกโ็ ดนรุม โยมย่งิ มองเหน็ ว่าความรักแบบผดิ ๆ
ของแม่ และยง่ิ ทำ� ใหโ้ ยมนงิ่ ไมใ่ สใ่ จ โยมทำ� ผดิ ไหมทไี่ มใ่ สใ่ จ
กับลกู ศิษย์คนนัน้ อีกตอ่ ไป
ตอบ: ไม่ผิดหรอก เพราะว่าเราท�ำดีท่ีสุดแล้วแต่เขา
ไม่ต้องการรับส่ิงท่ีดีจากเรา เราก็ไม่ต้องให้เขา เหมือน
เราเทน�้ำให้เขาแล้วเขาไม่หงายแก้วขึ้นมา เขาคว่�ำแก้ว

133

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

เราเทน้�ำใส่แก้วเขา มันก็ไม่เข้าไปในแก้วของเขา เสียน้�ำ
เปล่าๆ เราก็ไม่ต้องเทให้เขาเท่านั้นเอง แต่ถ้าวันไหน
เขาเปล่ียนใจแล้วเขาพลิกแก้วข้ึนมา บอกขอน้�ำหน่อย
เราค่อยเทให้เขา อันนี้เขาไม่ยอมรับค�ำสอนเรา เราก็
ไมต่ อ้ งไปบังคับให้เขารบั เราก็หยุดสอนไปเทา่ นัน้ เอง
ถาม: แม่ดิฉันป่วยติดเตียงช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ มีพี่สาว
ดิฉันเป็นคนดูแล ท�ำไปด่าไป บ่นไป แบบน้ีจะเป็นบาป
หรอื บญุ กันแน่
ตอบ: เราไมค่ วรดา่ แม่ ไมค่ วรบน่ เลย ควรจะดีใจว่าเราได้
ท�ำหน้าที่รับใช้พ่อแม่ ตอบแทนบุญคุณพ่อแม่ เพราะพ่อ
แม่น้ีเปรียบเหมือนพระอรหันต์ของลูกๆ ท่านมีพระคุณ
กับลกู มาก เราเกิดมาได้ อยมู่ าได้จนบัดนกี้ เ็ พราะพระคุณ
ของพ่อแมท่ มี่ ีต่อเรา ตอนนี้ทา่ นเดอื ดร้อน ทา่ นตอ้ งอาศยั
เราให้ดูแล เราก็ควรจะดีใจว่าเราได้มีโอกาสท�ำบุญ และ
เราก็ต้องอย่าลืมว่าเรารับใช้ท่านในฐานะคนรับใช้ ไม่ใช่
เป็นฐานะของเจ้านาย คอยสั่งให้ท่านท�ำนู่นท�ำน่ี ดังนั้น
ต้องคอยรับใช้ ถามท่านว่าท่านต้องการให้ท�ำอะไร
ทา่ นต้องการอะไร ไม่ใช่ไปส่งั ว่า ใหท้ �ำอย่างนัน้ ทำ� อยา่ งน้ี

134

การแก้นิสัยละกิเลส ธรรมผู้ครองเรือน

อนั น้ีไม่ถกู ในฐานะของลูก ไม่ควรจะสงั่ พ่อสง่ั แม่ ควรจะ
รับใช้ รอรบั คำ� สั่งจากพอ่ จากแม่
ถาม: ท�ำให้แม่ร้องไห้บ่อยๆ แล้วลูกมาขอขมาจะบาป
ตดิ ตวั ลกู ไหม เม่ือแมอ่ โหสิ
ตอบ: อโหสินี้จะไม่มีเวร คือแม่จะไม่มาจองเวรกับเรา
แต่บาปคือนิสัยไม่ดีมันจะติดไปกับเรา ดังนั้นเราต้องแก้
เลกิ ทำ� ใหแ้ มร่ ้องไห้เสีย
ถาม: เรามเี จตนาดกี ับเขาตลอด คอื รัก เคารพ และเปน็
หว่ งเขามาก มาวันหน่งึ เขามาบอกวา่ เราไม่เคารพเขาเลย
ทั้งท่เี ราไมร่ ู้ตวั เลย อนั นี้บาปไหม เราไม่ร้แู ต่อาจจะพลาด
ไปดว้ ยความรกั และเปน็ หว่ งเขามาก อนั นค้ี วรหาทางออก
อย่างไร ควรวางเฉยหรือตอบโต้ หรือไปปรับความ
เขา้ ใจกัน เพราะดๆู แลว้ เขายังมคี วามกังวลอยู่
ตอบ: ก็ลองถามเขาดูว่าที่ไม่เคารพเขานี้เป็นอย่างไร
เรากส็ งั เกตดวู า่ เราเปน็ อยา่ งทเี่ ขาพดู หรอื ไม่ ถา้ เปน็ อยา่ งท่ี
เขาพดู เรากป็ รบั แกไ้ ขใหม้ นั เปน็ ไปในลกั ษณะทเี่ ปน็ ความ

135

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

เคารพเท่าน้ันเอง บางทีเราอาจจะมองตัวเราไม่ออกก็ได้
ใจเราอาจจะคิดว่าเราเคารพเขา แต่กิริยาอาการของเรา
มนั ไมเ่ คารพเขากไ็ ด้ บางทตี อ้ งอาศยั ใหค้ นอน่ื เขาบอกเรา
อีกที เราต้องเป็นคนที่ยอมรับการวิพากษ์วิจารณ์ ต�ำหนิ
ติเตียนของผู้อ่ืนให้ได้ แล้วน�ำเอามาแก้ไขในสิ่งท่ีเรา
บกพร่องต่อไป

136

พระอริยบุคคล

พระอริยบคุ คล

รายการสนทนาธรรมกับท่านพระอาจารยส์ ุชาติ อภิชาโต
โดย Dr.V (นายแพทย์วรี ะพนั ธ ์ สวุ รรณนามัย)

137

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

การบรรลธุ รรมมอี ยู่ ๔ ขนั้
ขัน้ โสดาบัน ขนั้ สกิทาคามี
ขัน้ อนาคามี และขนั้ พระอรหนั ต์
ถ้ายังไมไ่ ดบ้ รรลุขนั้ ใดขนั้ หน่ึง
กต็ อ้ งเรมิ่ ทีข่ นั้ โสดาบนั ไป
ถ้าไดบ้ รรลแุ ลว้ กส็ ามารถท�ำตอ่ ได้

138

พระอริยบุคคล

ถาม: เราจะรูไ้ ดอ้ ย่างไรวา่ การปฏิบตั ธิ รรมของเราไปถึง
ขนั้ พระโสดาบันแล้ว
ตอบ: ถ้าเป็นพระโสดาบัน ท่านจะปล่อยวางร่างกายได ้
คืออะไรเกิดขึ้นกับร่างกายน้ี ใจของท่านจะไม่หว่ันไหว
ร่างกายแก่ท่านก็ไม่หว่ันไหว ร่างกายเจ็บไข้ได้ป่วย
ยงิ่ ตอนนตี้ ดิ โควดิ ทา่ นกไ็ มห่ วน่ั ไหว รา่ งกายตายจากโควดิ
ท่านก็จะเฉยๆ
ถาม: เราควรปฏิบัติอย่างไร เพ่ือให้มีศรัทธาท่ีเรียกว่า
“อจลศรัทธา”
ตอบ: กต็ อ้ งปฏบิ ตั จิ นบรรลเุ ปน็ พระโสดาบนั พระโสดาบนั
น้ีจะไม่สงสัยในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ต่อไป
จะมีศรัทธา ความเช่ือในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
เต็ม ๑๐๐ เป็นอจลศรัทธาข้ึนมา ถ้ายงั ไม่บรรลถุ งึ ขนั้ นน้ั
ศรัทธายงั มีโอกาสทจ่ี ะเส่ือมได้

139

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ถาม: อยากให้พระอาจารย์อธิบายค�ำว่าเจโตวิมุตติ และ
ปัญญาวิมุตติ และเวลาจะจบต้องเป็นปัญญาวิมุตติ
เสมอไหม คงต้องไม่อยใู่ นฌานใชไ่ หม
ตอบ: คือเท่าที่ได้ยินได้ฟังมานะ คือการจะบรรลุธรรม
ไดน้ ้ี ต้องมีทงั้ เจโตวิมตุ ติและปัญญาวิมุตติ คือเจโตวมิ ตุ ติ
นี่หมายถึงสมาธิ วิมุตติแบบช่ัวคราวด้วยสมาธิก่อน
แล้วก็ไปเจริญปัญญาเพื่อให้ได้ปัญญาวิมุตติต่อไป ทีนี้
ท่านว่าบางคนถนัดเจโต ก็หมายถึงว่าบางคนน้ีเก่งทาง
สมาธิ บางคนนถ้ี นดั ทางปญั ญา กเ็ รยี กวา่ เปน็ ปญั ญาวมิ ตุ ติ
แตค่ วามจรงิ แลว้ ตอ้ งมที ง้ั สมาธิ มที ง้ั ปญั ญา ถงึ จะวมิ ตุ ตไิ ด้
เพียงแต่ว่าผู้ที่มีเจโตวิมุตติอาจจะมีความรู้พิเศษ เช่น
มตี าทพิ ย์ หทู ิพย์ อยา่ งนเ้ี ปน็ ต้น เรียกว่าพวกเจโตวมิ ุตติ
ส่วนพวกปัญญาวิมุตติคือพวกท่ีแสดงธรรมได้อย่าง
กว้างขวาง แสดงธรรมได้อยา่ งแยบคาย เราก็เรียกพวกนี้
วา่ เปน็ พวกปญั ญาวมิ ตุ ติ แตท่ ง้ั นที้ ง้ั นน้ั การจะวมิ ตุ ติ หรอื
การจะหลดุ พ้นไดน้ ี่ ตอ้ งหลุดพน้ ด้วยทั้งสมาธแิ ละปัญญา
สมาธิก็หลุดพ้นได้ช่ัวคราว ถ้าจะท�ำให้การหลุดพ้นเป็น
การหลุดพน้ อยา่ งถาวร กต็ อ้ งใชป้ ญั ญา

140

พระอริยบุคคล

ถาม: พระพุทธเจา้ กับพระปจั เจกพทุ ธเจ้า ต่างกนั อย่างไร
ตอบ: คือพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ กับพระปัจเจกพุทธเจา้ น้ี
คือพระท่ีบรรลุแล้วสอน กับพระที่บรรลุแล้วไม่ได้สอน
พระพุทธเจ้าของเรานี้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่าน
บรรลเุ ปน็ พระพทุ ธเจา้ แลว้ ทา่ นกเ็ อาธรรมะทที่ า่ นไดบ้ รรลุ
มาเผยแผ่ส่ังสอนให้แก่สัตว์โลก ส่วนพระปัจเจกพุทธเจ้า
ท่านบรรลุแล้วท่านไม่ได้สอนใคร ก็เลยเป็นพระปัจเจก-
พุทธเจ้า
ถาม: พระอรหันต์นี่ ทา่ นกไ็ ม่จ�ำเป็นจะเข้าสมาธแิ ลว้
ตอบ: ไม่ต้องเข้า แต่ท่านเข้าเพ่ือพักผ่อน ตามอัธยาศัย
ของท่าน บางทจี ติ ทา่ นเหนื่อย ท่านก็พกั ผ่อน ทา่ นบางที
ใช้จิตมาก บางทีแสดงธรรมเทศนาอะไร ก็ต้องใช้จิต
ใชแ้ ลว้ กอ็ าจจะเหนอื่ ย กพ็ กั เหมอื นกบั พกั รา่ งกาย แตไ่ มไ่ ด้
เขา้ ไปหาความสงบ เพราะมนั สงบของมนั อยู่แล้ว แต่มนั
เหนื่อยได้
ถาม: พระโปฐิละ สุดท้ายเป็นพระอรหันต์ ด้วยเหตุใด
ท�ำใจอยา่ งไร

141

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ตอบ: เพราะชั้นแรกท่านละทิฏฐิ ความเห็นผิดของท่าน
ทา่ นคดิ วา่ ทา่ นรมู้ ากแลว้ ทา่ นศกึ ษาพระไตรปฎิ ก ทา่ นคดิ
ว่าท่านบรรลุธรรมแล้ว จากการได้ศึกษาพระไตรปิฎก
แต่พอพระพุทธเจ้ามาเตือนว่า ยังเป็นใบลานเปล่า ก็คือ
เหมือนใบประกาศนียบัตรเปล่า ยังไม่มีมรรคผลนิพพาน
เกดิ ขน้ึ ในใจของทา่ น เมอ่ื ทา่ นไดท้ ราบอยา่ งนน้ั ทา่ นกเ็ ลย
ไปแสวงหาพระอรหันต์มาเป็นอาจารย์ เพราะท่านรู้ว่า
พระอรหนั ต์น้จี ะรู้วธิ ปี ฏิบัติทถ่ี กู ตอ้ ง
แต่ท่านก็ต้องผ่านกระบวนการคัดกรอง ว่าท่าน
มีความต้ังใจท่ีจะศึกษาจริงๆ หรือไม่ ยินดีท่ีจะฟัง เช่ือ
ครบู าอาจารยห์ รอื ไม่ ไมว่ า่ ครบู าอาจารยเ์ หลา่ นนั้ จะมอี ายุ
มากกวา่ ทา่ นหรอื อายนุ อ้ ยกวา่ ทา่ น เขากเ็ ลยโยนสามเณร
ให้มาเป็นอาจารย์ ดูสิว่าจะยอมรับสามเณรเป็นอาจารย์
หรือไม่ ถึงแม้สามเณรจะมีอายุน้อยกว่าท่านหลายสิบปี
แตส่ ามเณรน้ีมีความร้มู ากกว่าท่าน เพราะสามเณรก็เปน็
พระอรหนั ต์ ทา่ นก็ยอม ยอมรับเง่อื นไข ยอมรบั สามเณร
ทีเ่ ปน็ เด็กนมี้ าสอนทา่ น
สามเณรก่อนจะสอนธรรมะก็ต้องให้พิสูจน์ก่อน
หลอกใช้ให้ไปท�ำอะไรต่างๆ ให้ล้างบาตร ให้กวาดถูกุฏิ

142

พระอริยบุคคล

ให้ท�ำอะไรต่างๆ จนเห็นว่าท่านเชื่อฟังจริงๆ สามเณร
ก็สอนธรรมะง่ายๆ แล้วพอท่านได้ฟังปั๊บ ท่านก็เข้าใจ
แล้วก็สามารถบรรลุธรรมได้อย่างรวดเร็ว เพราะท่าน
ได้ศึกษาพระไตรปิฎกมาอย่างโชกโชน ท่านรู้หมดแล้ว
แต่ท่านไม่รู้จักวิธีเอาความรู้เหล่านั้นมาปฏิบัติกับใจ
ของท่านนั่นเอง พอสามเณรบอกว่าเอามาไว้เพื่อก�ำจัด
ความโลภ ความโกรธ ความหลง ท่านก็เข้าใจ
ถาม: พระอาจารยย์ งั สามารถเดนิ ไดต้ ลอดทาง ไม่มีชาขา
ไมม่ ีออ่ นแรง ไมม่ ีอะไรใชไ่ หม
ตอบ: ไม่มี เดินได้ แต่เมื่อยหลัง ต้องดัดหน่อย ดัดเส้น
เส้นมันแข็ง มันขดมันแข็ง มันไม่อ่อนเหมือนตอนท่ีอายุ
น้อยๆ สังขารไมเ่ ท่ียง เกิดแกเ่ จ็บตาย นี่แหละคอื รา่ งกาย
อันนี้ มันเป็นตุ๊กตาตัวหนึ่งท่ีเราใช้ท่องเท่ียวในโลกนี้
เด๋ยี วก็ต้องปลดระวาง แล้วก็ไปเที่ยวโลกทิพยต์ อ่
ถาม: แตว่ า่ ตอนที่อย่กู ับมัน ก็ต้องดูแลมนั อย่างดี ใช่ไหม
ตอบ: มันก็ยังใช้ประโยชน์ได้ เอามานั่งคุยธรรมะกันได้
ถา้ ไมม่ เี รอ่ื งธรรมะกไ็ มร่ จู้ ะอยไู่ ปทำ� ไม พดู ตามความจรงิ นะ

143

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

มีเรื่องเดียวที่ท�ำให้พระพุทธเจ้า พระสาวกทั้งหลายท่าน
อยู่ต่อ ก็ต้องการเอาธรรมะมาแชร์ให้กับพวกท่ีไม่รู้เรื่อง
ถา้ ไมม่ ธี รรมะแชร์ กไ็ มร่ อู้ ยไู่ ปทำ� ไม ไมเ่ กดิ ประโยชนอ์ ะไร
พระพทุ ธเจา้ ถงึ ยอมสละเวลา ๔๕ ปี แสดงธรรมโปรดสตั ว์
วันละ ๕ รอบ วนั ละ ๔ รอบ
ตอนบ่ายแสดงธรรมให้ญาติโยม ตอนค�ำ่ แสดงธรรม
ให้ภิกษุ ภิกษุณี สามเณร ตอนดึกแสดงธรรมให้เทวดา
และตอนเชา้ กอ่ นจะเสดจ็ ออกบณิ ฑบาต ทรงเลง็ ญาณดวู า่
จะไปแสดงธรรมโปรดใครเป็นกรณีพิเศษในวันน้ัน น่ีคือ
พทุ ธกจิ ของพระพทุ ธเจา้ ๔ พทุ ธกจิ เปน็ การเผยแผธ่ รรม
พุทธกิจท่ี ๕ ก็คือการโปรดสัตว์ด้วยการบิณฑบาต
ทรงกระท�ำหลังจากตรัสรู้อยู่ ๔๕ ปีด้วยกัน ไม่ได้เพื่อ
พระองค์เลย กิจอันเดียวเพ่ือร่างกายก็คือบิณฑบาต
อีก ๔ อันนี้เป็นกิจเพ่ือให้ผู้อ่ืนได้เรียนรู้ธรรมะ เพื่อได้
หลดุ พ้นจากการเวียนวา่ ยตายเกิด
ถาม: จริงๆ แล้วพระพุทธเจ้า หรือพระอรหันต์นี้ คือ
กิจส่วนตัวของท่านก็หมดแล้ว ท่ีท่านอยู่ก็อยู่เพื่อคนอ่ืน
หมดเลยหรอื

144

พระอริยบุคคล

ตอบ: ใช่ ทา่ นไม่มีอะไรทีต่ ้องเตมิ ในใจของท่าน เหมือน
น้�ำท่ีมันเต็มแก้วแล้ว จะเติมเข้าไปยังไงมันก็ล้นแก้ว
ใจของพระพุทธเจ้าเต็มด้วย ปรมัง สุขัง บรมสุข ไม่มี
ความสุขอันใดในโลกนี้สามารถที่จะท�ำให้สุขในใจของ
พระพทุ ธเจา้ เพิ่มขน้ึ ได้เลย
ถาม: พระสาวกก็เหมือนกนั เลย ใช่ไหม
ตอบ: พระอรหันต์ทุกองค์ก็เหมือนกันหมด ถ้าเป็น
พระอรหันต์นะ แต่ถ้ายังเป็นพระโสดา พระสกิทาคา
พระอนาคาน่ี น�ำ้ ยังไม่เต็มแกว้ กำ� ลังเตมิ อยู่ พระโสดาบัน
กไ็ ด้ ๑ ใน ๔ พระสกทิ าคาก็ ๒ ใน ๔ พระอนาคาก็ ๓ ใน ๔
มพี ระอรหันตน์ ่ไี ดเ้ ตม็ ไดป้ รมงั สุขัง ได้ความสุขเต็มเปย่ี ม
แล้วก็ไม่มีวันเส่ือม ไม่มีวันหมด แล้วก็ไม่มีวันพร่อง
ไมเ่ หมอื นความสขุ ทางโลกทีเ่ ราเตมิ กนั อยูเ่ ร่อื ยๆ ไปเทีย่ ว
มา ๒ วัน หมดไปแล้ว เดี๋ยวอาทิตย์หน้าต้องไปเที่ยว
ใหม่แล้ว ใช่ไหม ไม่ไปเที่ยวก็รู้สึกหงุดหงิดแล้ว รู้สึกว่า
ขาดอะไรแล้ว

145

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

ถาม: คนทถี่ งึ พระนพิ พาน ตอ้ งผา่ นขน้ั โสดาบนั สกทิ าคามี
อนาคามี เปน็ ลำ� ดบั ไปไหม หรอื วา่ ไมต่ ้องตามล�ำดบั ข้ันก็
ถงึ พระนพิ พานได้
ตอบ: ออ๋ ตอ้ งผา่ น มันเปน็ ขนั้ บันได เป็นเหมอื นกบั การ
ศึกษา ต้องเป็นข้ันเป็นตอนไป นอกจากพวกที่ได้เป็น
โสดา ไดเ้ ปน็ อะไรมาจากชาตกิ อ่ นแลว้ พระโสดาบนั นี่ หาก
ท่านตายไปก่อน ท่านก็ต้องกลับมาท�ำต่อ ท่านก็ไม่ต้อง
มาท�ำข้ันโสดาบัน ท่านก็ท�ำข้ันสกิทาคา อนาคาข้ึนไป
พระสกิทาคาถ้าท่านกลับมาเกิด ท่านก็ไม่ต้องท�ำขั้น
สกทิ าคา ท่านกจ็ ะทำ� ข้นั อนาคา ขัน้ อรหนั ต์ไปตามลำ� ดบั
เหมือนกับเวลาที่เราย้ายบ้าน ย้ายท่ีอยู่อาศัย เราย้าย
โรงเรียน เราเคยเรยี นจบ อยู่ช้นั ไหน จบ ป.๖ เรากไ็ ปต่อ
ม.๑ เลย เราไมต่ ้องมาเริ่มตน้ ที่ ป.๑ ใหม่ หรอื ป.๖ ใหม่
ทา่ นไปเรียนต่อได้เลย
การบรรลธุ รรมกเ็ ชน่ เดยี วกนั มอี ยู่ ๔ ขน้ั ขน้ั โสดาบนั
ขนั้ สกทิ าคามี ขน้ั อนาคามี และขน้ั พระอรหนั ต์ ถา้ ยงั ไมไ่ ด้
บรรลขุ ้ันใดขัน้ หนงึ่ ก็ตอ้ งเรมิ่ ท่ขี น้ั โสดาบันไป ถา้ ได้บรรลุ
แลว้ กส็ ามารถทำ� ตอ่ ได้ ถา้ เราเกดิ ยา้ ยภพชาติ จากภพนไ้ี ป

146

พระอริยบุคคล

ชาตหิ นา้ ตอ่ ถา้ เราเปน็ โสดาบนั แลว้ เรากจ็ ะไมเ่ สอ่ื มลงไป
เปน็ ปถุ ชุ นอีก พอเราไปเกิดใหม่ เรากไ็ ปทำ� งานต่อได้เลย
ถาม: หากเราตั้งใจว่าชาติน้ีจะเป็นชาติสุดท้ายของเรา
หรือไม่อย่างน้อยขอให้ได้ขึ้นบันไดข้ันแรกของการ
หลุดพ้น การบรรลุธรรมขั้นแรกคือพระโสดาบัน ผู้บรรลุ
จะทราบไดอ้ ย่างไร
ตอบ: ก็ละสังโยชน์ได้ ๓ ข้อ คือ ๑. สักกายทิฏฐิ
๒. วจิ ิกจิ ฉา ๓. สีลัพพตปรามาส สักกายทิฏฐิคอื การเห็น
ว่าร่างกายนี้เป็นตัวเราของเรา ขันธ์ ๕ ร่างกาย เวทนา
ความรูส้ กึ นกึ คิดน้เี ป็นเรา เปน็ ตวั เรา อันน้ไี มใ่ ช่ ความจริง
รา่ งกายไมใ่ ชเ่ รา ความรสู้ กึ นกึ คดิ ไมใ่ ชเ่ รา เปน็ สภาวธรรม
เปน็ อาการที่เกิดข้ึน ตง้ั อยู่ แลว้ ดับไป เราเกิดความสงสยั
ในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ คือวิจิกิจฉา ก็ต้องละ
เพราะจะเห็นธรรม เม่ือเห็นธรรมก็จะเห็นพระพุทธเจ้า
ผทู้ จี่ ะเหน็ พระพทุ ธ เหน็ พระธรรม กค็ อื พระอรยิ สงฆน์ เ่ี อง
กจ็ ะไมส่ งสยั ในเรอื่ งพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆว์ า่ มจี รงิ
หรือไม่มจี รงิ

147

วิสัชนาธรรม เล่ม ๒

แล้วเรื่องของการไปท�ำพิธีกรรมต่างๆ เพ่ือมาดับ
ความทุกขก์ ็จะเลกิ ไป เพราะร้วู า่ เหตุของความทุกขน์ ้ีเกดิ
จากความอยากของตนเอง เกิดจากการกระท�ำบาปของ
ตนเองเท่าน้ัน ถ้ามีความทุกข์ใจก็หยุดความอยากเสีย
ความทุกข์ใจก็จะหายไป ละการกระท�ำบาปเสีย ก็จะ
ไมส่ รา้ งความทกุ ขใ์ จใหเ้ กดิ ขน้ึ ผทู้ บ่ี รรลเุ ปน็ พระโสดาบนั นี้
กจ็ ะไมต่ อ้ งไปทำ� พธิ กี รรมตา่ งๆ เพอ่ื มาแกค้ วามทกุ ขต์ า่ งๆ
มาแก้กรรมต่างๆ เพียงแต่ไม่ท�ำบาปเท่านั้นเอง รู้ว่าการ
ทำ� บาปแล้วจะทำ� ให้เกิดปัญหาตา่ งๆ ตามมา
แล้วก็การมีความอยากต่างๆ ก็จะท�ำให้เกิดความ
ทุกข์ใจขึ้นมา ดังนั้นพระโสดาบันน้ีก็จะละความอยาก
ในระดับเร่ืองของความแก่ ความเจ็บ ความตายได้
เพราะจะเหน็ ว่าความแก่ ความเจ็บ ความตาย เป็นเร่อื ง
ของร่างกาย ไม่ใช่เป็นเร่ืองของตน ตนไม่ได้เป็นร่างกาย
ตนเป็นใจ ผู้รู้ผู้คิด เท่านั้นเอง อันน้ีก็ต้องปฏิบัติให้ละ
สังโยชน์ท้งั ๓ ได้
ถาม: มีอะไรท่ีเราสามารถรู้ได้ว่าคนนั้นบรรลุธรรม
มีอุเบกขาและมีอะไรบอกเราว่าคนนั้นบรรลุเป็นโสดาบัน
และพระอนาคามี และพระสกิทาคามี

148

พระอริยบุคคล

ตอบ: การรู้รายละเอียดเหล่าน้ีต้องมีโอกาสได้สนทนา
ธรรมกบั ทา่ น และเรากต็ อ้ งมธี รรมเหลา่ นเี้ ปน็ เครอื่ งวดั ดว้ ย
ถ้าเราเป็นปุถุชนน่ีเราไปวัดความเป็นอริยบุคคลไม่ได้
ถ้าเราเป็นพระโสดาบันเราก็จะวัดระดับโสดาบันได้
แต่ระดับที่สูงกว่านั้นเราก็วัดไม่ได้ เหมือนกับนักเรียน
ถ้านักเรียนจบปริญญาตรีน้ีก็สามารถวัดคนท่ีจบระดับ
ปริญญาตรีได้ ถ้าได้คุยกันถามกัน แต่ไปวัดระดับ
ปริญญาโทไม่ได้ หรือเอกไม่ได้ เราต้องมีเคร่ืองวัดใน
ตวั เราด้วย ไม่ใช่จะไปวดั ผู้อ่นื แลว้ เราไมม่ ีตวั ทไี่ ปวัด เราก็
จะไมร่ วู้ า่ ทา่ นเปน็ อยา่ งไร เขาพดู โกหกเรากไ็ มร่ ู้ แตถ่ า้ เรา
รแู้ ลว้ เขาพดู โกหกเรากจ็ ะรวู้ า่ ไมใ่ ช่ แตถ่ า้ เขาพดู ความจรงิ
เราก็ เออใช่ เขาพดู ความจริง แต่ไมค่ วรจะสนใจเรือ่ งราว
เหล่านี้ ไม่เปน็ ประเด็นสำ� คัญต่อการปฏิบัตธิ รรม

149


Click to View FlipBook Version