The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่ม โรงซ่อมบำรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chayapornfakkhiaw, 2022-03-24 08:52:20

รูปเล่ม โรงซ่อมบำรุง

รูปเล่ม โรงซ่อมบำรุง



รายงาน

การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบำรงุ รกั ษาระบบราง

เรือ่ ง โรงซ่อมบำรงุ (Depot Workshop Equipment)

เสนอ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุณฑล ทองศรี

จดั ทำโดย

นายพงศพล กุณา รหสั นกั ศึกษา 116430403014-4

ณฐั ภัทร แย้มภู่ รหสั นักศึกษา 116430403032-6

นาย ศรัณย์ เสชู รหสั นกั ศกึ ษา 116430403034-2

นายปัฐวิชญ์ วารสี น้อยเจริญ รหัสนักศกึ ษา 116430403045-8

นางสาวชยาพร ฟกั เขียว รหัสนกั ศกึ ษา 116430403047-4

นายณภัทร จอมพล รหสั นกั ศึกษา 116430403043-3

นางสาวจฑุ ามาศ อญั ชลี รหสั นกั ศึกษา 116430403051-6

นายศิวกร บญุ ชว่ ย รหัสนักศึกษา 116430403057-3

รายงานฉบบั นเ้ี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของรายวชิ า 04320101 Railway Maintenance and Safety

กลุ่มเรียน 1 ภาควิชาวศิ วกรรมเครอื่ งกล

คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564



คำนำ

รายงานฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การซ่อมบำรุงและความปลอดภัยทางราง (Railway Maintenance
and Safety) รหัสวิชา 04320101การค้นคว้าและเขียนรายงานมีเนื้อหาเกี่ยวกับเพิ่มประสิทธิภาพการบำรุงรักษา
ระบบราง PM และ CM ในเรื่องโรงซ่อมบำรุงและยังมีเนื้อหาข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมา ความหมาย วัตถุประสงค์
ของการบำรงุ รกั ษาระบบราง ประเภท ชนิด งานวิจัย ฯลฯ ของการการบำรุงรักษาระบบรางโดยมีวัตถุประสงค์เพือ่
ศึกษาคน้ คว้านำความร้ไู ปใชใ้ นการเรยี นการสอนไดแ้ ละสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้

ผู้จัดทำไปศึกษาค้นคว้า รวบรวมและเรียบเรียงออกมาเป็นรายงานเล่มน้ี ซึ่งผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
รายงานเลม่ นีจ้ ะเป็นประโยชน์ต่อผู้ทสี่ นใจและผู้ที่นำไปใช้ให้เกิดผลสัมฤทธิต์ ามความคาดหวัง



สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทที่ 1 บทนำ 1
1
ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา 1
วตั ถปุ ระสงค์ 2
บทท่ี 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2
2.1 ภาพรวมของโรงซ่อมบำรุง 2
2.2 ปจั จัยหลักในการออกแบบโรงซอ่ มบำรงุ 2
2.3 องคป์ ระกอบหลกั ของโรงซ่อมบำรงุ 4
2.4 การคดั เลอื กที่ตั้งและขนาดพ้ืนท่ีของศูนย์ซ่อมบำรงุ และอาคารจอดแล้วจร
5
การคดั เลือกพน้ื ท่ตี ัง้ เป็นศนู ย์ซ่อมบำรงุ มีหลกั เกณฑใ์ นการพิจารณาดังต่อไปน้ี 11
2.5 กำหนดการตรวจเชค็ และการซอ่ มบำรุง 15
2.6 กจิ กรรมทที่ ำในโรงซอ่ มบำรุง 24
2.7 เครื่องมอื และอุปกรณ์ในโรงซอ่ มบำรุง 24
2.8 ประเภทของการบํารงุ รกั ษา 25
2.9 งานซอ่ มบำรุงระบบไฟฟ้าเครอื่ งกล 28
2.10 การบรหิ ารการซอ่ มบำรุง 29
2.11 เคร่ืองมือท่ใี ช้ในโรงซ่อมบำรุง
2.12 งานวิจยั ทีเ่ กยี่ วข้อง

2.13 ขอ้ จํากัดของวิวัฒนาการการซ่อมบาํ รงุ รักษา ค
2.14 ประเภทของการบำรุงรักษาระบบราง
2.15 ชนิดของการบำรุงรกั ษาระบบราง 31
2.16 สรปุ ทฤษฎีและผลงานวจิ ยั ที่เก่ยี วขอ้ ง 34
2.17 ตัวอยา่ งโรงศนู ยซ์ อ่ มบำรุงรถไฟฟ้าสายสีเหลอื ง 37
บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนินงาน 40
3.1 การเพ่มิ ประสิทธภิ าพของรางดว้ ยระบบเชิงปอ้ งกนั 41
(Preventive Maintenance System) 108
3.2 คำแนะนำการแก้ไขรถจกั ร HID 108
3.3 การบำรุงรกั ษารางดว้ ยระบบ CM
บทท่ี 4 ผลการเพม่ิ ประสิทธิภาพ 113
บทที่ 5 สรปุ และข้อเสนอแนะ 114
5.1 สรปุ 115
5.2 ข้อเสนอแนะ 116
บรรณานกุ รม 116
116
117

1

บทท่ี 1

บทนำ

1. ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา

ในปจั จุบนั ระบบการขนส่งมวลชนทางบก นับว่าเปน็ รูปแบบการขนส่งมวลชนทีไ่ ดร้ บั ความนยิ ม
คอ่ นขา้ งสูง เม่ือเปรียบเทียบกบั ระบบการขนส่งมวลชนประเภทอื่นๆและระบบการขนส่งมวลชนทางบกที่
สามารถขนสง่ ผูโ้ ดยสารได้เปน็ จำนวนมากในระยะเวลาอันส้ันมีหลายรปู แบบในทีน่ ี้จะกล่าวถงึ การเดนิ ทาง
ทาง รถไฟ ซ่งึ ไมเ่ พยี งแตโ่ ครงสร้างทางรถไฟเทา่ นัน้ ทีต่ ้องการการซอ่ มบำรงุ ในสว่ นของขบวนรถไฟระบบตา่ งๆ
ภายในขบวนรถไฟท้งั หมดกระท่ังล้อเพลาเป็นต้น

แนวคิดในการออกแบบกล่มุ อาคารศนู ย์ซ่อมบาํ รงุ และอาคารจอดรถ คอื การใชแ้ สงธรรมชาตแิ ละ การ
ระบายลม เนื่องจากเป็นอาคารทม่ี ชี ่วงกวา้ งและความสูงคอ่ นขา้ งมาก การระบายลมและแสงธรรมชาติจงึ มา
จากบริเวณหลงั คา สว่ นศนู ยค์ วบคุมการเดนิ รถ (Operation Control Centre, OCC) ใช้ในการควบคุมการ
เดินรถท้งั หมดจึงตอ้ งคํานึงถึงความปลอดภยั ตอ้ งมีการควบคุม จํากดั การเขา้ ออก ในขณะเดียวกนั ห้องควบคมุ
หลกั เปน็ หอ้ งทีม่ ผี ู้สนใจในการเยยี่ มชมสงู จงึ ตอ้ งจดั ห้องเยย่ี มชมท่สี ามารถทําได้โดยไม่รบกวนการทํางานของ
เจ้าหน้าท่ี

โดยท่วั ไปแล้ว โรงซ่อมบำรงุ ของระบบรถไฟฟา้ ขนส่งมวลจะทำหน้าที่หลกั 2 อย่างคือ เป็นสถานที่
สำหรบั จอดรถ (stabling yard) และเปน็ สถานท่สี ำหรับซอ่ มบำรงุ ระบบรถไฟฟ้า (maintenance facility)
ทง้ั หมด นอกจากนใี้ นบริเวณโรงซอ่ มบำรงุ ยงั อาจเป็นที่ตั้งของศูนย์ควบคมุ การเดินรถจากศูนยก์ ลาง
(Centralized Traffic Control) โดยปกติแลว้ ชว่ งเวลาในการซ่อมบำรงุ รถไฟฟ้าจะมีจำกดั เนือ่ งจากรูปแบบ
การให้บริการ สำหรบั ชว่ งเวลาในการซอ่ มบำรงุ (maintenance window) นัน้ จะมปี ระมาณ 4-5 ชม. ขึน้ อยู่
กับชว่ งเวลาการเปดิ และการปิดการให้บรกิ าร

2. วัตถุประสงค์
2.1 เพ่อื ใชเ้ ป็นส่ือการเรียนการสอนให้แกน่ กั ศกึ ษา
2.2 เพอื่ ศึกษาหาความรูเ้ กยี่ วกับโรงซอ่ มบำรุง (Depot Workshop Equipment)
2.3 เพอ่ื ประเมิณความรคู้ วามเข้าใจ โรงซ่อมบำรุง (Depot Workshop Equipment) ของนักศึกษา

2

บทที่ 2

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2.1 ภาพรวมของโรงซอ่ มบำรุง
โดยท่ัวไปแลว้ โรงซ่อมบำรุงของระบบรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลจะทำหน้าท่หี ลกั 2 อย่างคอื เป็นสถานท่ี

สำหรบั จอดรถ (stabling yard) และเป็นสถานทส่ี ำหรบั ซ่อมบำรงุ ระบบรถไฟฟา้ (maintenance facility)
ทั้งหมด นอกจากนใี้ นบรเิ วณโรงซ่อมบำรุงยังอาจเป็นทต่ี งั้ ของศูนยค์ วบคุมการเดินรถจากศนู ยก์ ลาง
(Centralized Traffic Control) โดยปกติแลว้ ชว่ งเวลาในการซอ่ มบำรงุ รถไฟฟ้าจะมจี ำกดั เนื่องจากรปู แบบ
การใหบ้ ริการ สำหรบั ช่วงเวลาในการซ่อมบำรุง (maintenance window) นนั้ จะมปี ระมาณ 4-5 ชม. ข้ึนอยู่
กบั ชว่ งเวลาการเปดิ และการปดิ การให้บรกิ าร

2.2 ปัจจัยหลักในการออกแบบโรงซอ่ มบำรงุ
การออกแบบโรงซอ่ มบำรุงมีปจั จยั หลกั ทตี่ อ้ งคำนงึ 2 สว่ นคือ
1. ตำแหนง่ ท่ีต้ังโรงซอ่ มบำรงุ (depot location) การเลอื กตำแหน่งทตี่ ั้งของโรงซอ่ มบำรุงถอื เป็นสงิ่ ท่ี

ต้องให้ความสำคญั เป็นอันดับแรกเนื่องจากมีผลตอ่ การสง่ และรับตวั รถไฟฟ้าเข้าสู่การใหบ้ ริการแกป่ ระชาชน
ในสว่ นของระบบรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลนั้นเส้นทางรถไฟฟา้ จะมีความยาวไม่มาก ดังน้นั การเลือกตำแหนง่ ว่าจะอยู่
ตรงกลางหรือปลายของเส้นทางจึงมีความสำคัญนอ้ ยกว่าพน้ื ทท่ี ี่สามารถจดั หาได้ (available land) แต่ท้งั นี้
ตำแหนง่ ของโรงซ่อมบำรงุ จะมีผลต่อเป็นอย่างมากต่อรปู แบบการเดนิ รถในเสน้ ทาง (line operation pattern)
ดงั กลา่ ว โรงซอ่ มบำรุงจะมีกี่แห่งนน้ั ขึน้ อยกู่ ับขนาดของจำนวนรถไฟฟ้าซึ่งด้วยทั่วไปแลว้ ในเส้นทางรถไฟฟา้
ขนสง่ มวลชน 1 สายควรมีโรงซอ่ มบำรุง 1 แหง่ เพอ่ื ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ย

2. ตำแหน่งทต่ี ้งั สถานทีส่ ำหรบั จอดรถ (stabling yard) ตวั รถไฟฟา้ ส่วนใหญ่จะจอดพกั ไวท้ ีโ่ รงซอ่ ม
บำรงุ ในช่วงหยุดใหบ้ ริการเดินรถ ในบางครั้งอาจมคี วามจำเป็นทีจ่ ะต้องมสี ถานท่ีสำหรบั จอดรถไฟฟา้ ทีอ่ ยนู่ อก
โรงซอ่ มบำรงุ (out-stabling yard) โดยมเี ครื่องมอื สำหรับการซ่อมบำรงุ เบา (light maintenance facility)
อยู่ดว้ ย ทจ่ี อดรถนอกโรงซ่อมบำรงุ น้ีจะชว่ ยลดเวลาในการส่งและรบั รถไฟฟ้าจากเส้นทางให้บริการเป็นผลทำ
ให้ช่วงเวลาในการซอ่ มบำรงุ มมี ากขน้ึ

2.3 องค์ประกอบหลักของโรงซ่อมบำรงุ
พนื้ ทใี่ นโรงซ่อมบำรงุ จะประกอบไปดว้ ย 3 ส่วนใหญ่ๆ คอื พืน้ ทีส่ ำหรับการซ่อมบำรุงหนกั (heavy

maintenance shad) พนื้ ทสี่ ำหรับการซอ่ มบำรุงเบา(light maintenance shad) และพนื้ ที่สำหรบั การจอด
พกั รถไฟฟา้ หลังจากการให้บรกิ าร (stabling area) โดยพนื้ ทส่ี ำหรบั การซอ่ มบำรุงหนกั จะใชส้ ำหรบั
ซอ่ มแซมหรือเปลีย่ นอปุ กรณ์ (repair and replacement) หรือยกเครอ่ื งใหมร่ ะบบตา่ งๆใหม่ (overhaul) ใน
พืน้ ท่ีดงั กลา่ วจะประกอบดว้ ย สำหรับการซอ่ มบำรงุ ตวั รถไฟฟา้ (Car Train) กจ็ ะประกอบด้วย 3 สว่ นใหญ่

3

เช่นกัน คอื สว่ นท่ีอยบู่ นหลงั คาตัวรถ (rooftop) ส่วนท่อี ยภู่ ายในตัวรถ (inside car train) และส่วนทอี่ ย่ใู ต้ตวั
รถ (underframe) นอกจากน้ียังมีส่วนประกอบอ่นื ดังแสดงในตารางท่ี 1-1

ตารางที่ 1-1 ตวั อยา่ งพื้นที่ส่วนต่างๆ ของโรงซอ่ มบำรุง

พืน้ ที่ วตั ถปุ ระสงค์การใชง้ าน

พ้ืนท่ีจอดรถไฟ ทจี่ อดรถไฟหลังชั่วโมงเดนิ รถเวลากลางคืน เพ่อื ให้พนักงานทำความ
(Stabling Area) สะอาดภายในของรถไฟ

พ้นื ทลี่ า้ งรถไฟ โรงล้างรถและทำความสะอาดรถทำความสะอาดภายนอกรถไฟเม่อื
(Wash Area) รถไฟกอ่ นจะกลับไปทโ่ี รงซอ่ มบำรงุ

พนื้ ทซี่ อ่ มบำรงุ ท่ัวไป จดุ ยกรถไฟขึน้ เพอื่ ตรวจสอบด้านลา่ งของรถไฟ และใชเ้ ปลีย่ นอปุ กรณ์

(Running Maintenance Area) ท่ีอยดู่ ้านล่าง

พืน้ ทซี่ อ่ มบำรงุ รักษาหนัก จุดท่ีใช้ในการยกตวั รถไฟขนึ้ เพ่ือให้สามารถทำการซ่อมแซมและ
(Heavy Maintenance Area) เปลยี่ นอุปกรณบ์ รเิ วณชว่ งล่าง เช่น เปลีย่ นแครร่ ถไฟ (Bogies)
นอกจากนัน้ ยังสามารถใช้เครนในการเปลยี่ นอปุ กรณท์ ต่ี ิดต้งั อย่บู น
หลงั คารถไฟ เช่น เครื่องปรบั อากาศ

พน้ื ที่วางส่ิงอำนวยความสะดวกใน แทน่ กลึงลอ้ แบบอยูใ่ ต้พืน้ ใชส้ ำหรบั การกลึงล้อรถไฟ
การซ่อมบำรงุ แบบเฉพาะ อุปกรณ์อำนวยการซ่อมบำรงุ ต่างๆ

(Other Maintenance Facility)

พนื้ ทจี่ ดั เกบ็ (Storage Area) บริเวณทใี่ ช้เก็บของทมี่ ีน้ำหนกั มากหรอื วตั ถุท่ีมีอันตราย
พ้นื ทอ่ี ื่นๆ (Ancillary Area)
พน้ื ทอ่ี ่ืนๆ จะเป็นพน้ื ที่ไม่เก่ยี วกับการซอ่ มบำรงุ แต่มีความจำเปน็ ตอ้ ง
มเี พอื่ ให้สามารถใชด้ ำเนิงงานซอ่ มบำรงุ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
- ศูนยค์ วบคุมไฟไหม้ (Fire Control Center)
- ศูนย์ควบคมุ โรงซ่อมบำรงุ (Depot Control Center)

4

พ้ืนทีจ่ อดรถบรกิ าร - ห้องทำงานของโรงซอ่ มบำรุง (Main Depot Building offices)
(Service vehicles Park Area) - ห้องเคร่อื งในโรงซ่อมบำรุง (Plant Rooms)
- ห้องเคร่ืองหรอื หอ้ งอุปกรณใ์ นโรงซ่อม
- โรงอาหาร (Canteen) และ ทจี่ อดรถ (Car Park)
- หอ้ งฟิตเนต, กีฬาและหอพกั (Fitness, Sport hall and
Dormitory)
บรเิ วณใหบ้ รกิ ารจอดรถซอ่ มบำรุง

2.4 การคดั เลอื กท่ีต้งั และขนาดพ้ืนทข่ี องศนู ย์ซอ่ มบำรงุ และอาคารจอดแลว้ จร การคดั เลอื กพนื้ ทีต่ งั้ เปน็
ศนู ยซ์ ่อมบำรงุ มหี ลักเกณฑใ์ นการพจิ ารณาดงั ต่อไปนี้

(1) ต้องมพี นื้ ทเี่ พียงพอสำหรบั รางจอดขบวนรถไฟฟา้ ทง้ั หมดและสิง่ อำนวยความสะดวกต่างๆ ท่ี
จำเป็นตอ่ การซอ่ มบำรงุ ตวั รถไฟฟ้าและเป็นพนื้ ทีท่ ส่ี ามารถให้ความปลอดภยั ในการบริหารการเดินรถระบบ
รถไฟฟา้ รางเดย่ี วโดยเฉพาะ

(2) ตอ้ งมีการจดั สว่ นประกอบของสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ทจ่ี ำเปน็ ตอ่ การซอ่ มบำรุงตวั รถไฟฟา้
อย่างลงตวั และเหมาะสม เช่น จัดให้มรี างจอดขบวนรถไฟฟ้า อาคารโรงซอ่ มบำรุงหลัก ซง่ึ ต้องมีพ้ืนท่แี ยกเปน็
งานซอ่ มบำรงุ เบาและงานซอ่ มบำรุงหลัก ระบบโครงสรา้ งอนื่ ๆ อาคารจอดรถไฟฟ้า อาคารล้างรถไฟฟ้า โรง
ซ่อมบำรงุ สำนักงานของเจา้ หน้าที่ซ่อมบำรงุ และพนักงานควบคุมการเดินรถ เป็นต้น

(3) ต้องเป็นพื้นที่ราบ ไมล่ าดเอียง เนอื่ งจากรางสำหรบั จอดขบวนรถไฟฟา้ ต้องก่อสรา้ งให้อยู่ในแนว
ระดับมากทีส่ ดุ

(4) ต้องต้ังอยู่ใกลแ้ นวเส้นทางหลกั ในการเดนิ รถใหม้ ากที่สดุ เพ่อื ความสะดวกและย่นระยะทาง ในการ
นำขบวนรถไฟฟ้าเข้ามารบั บริการ รวมท้ังยงั เป็นการลดค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ รถ

(5) ตอ้ งเชื่อมต่อเส้นทางเข้าออก (Approach Track) กับเสน้ ทางหลกั ในการเดนิ รถไฟฟ้ารางเดยี ว ได้
เป็นอย่างดี

5

(6) ตอ้ งอยูต่ ิดกับถนนท่ีสามารถเดนิ ทางเข้าถงึ กันได้ทัง้ ภายในและภายนอก ทั้งนี้เพื่อความสะดวก ใน
การขนส่งตวั รถไฟฟา้ และอะไหล่

2.5 กำหนดการตรวจเชค็ และการซอ่ มบำรุง

โดยปกตแิ ลว้ การตรวจเชค็ และการซอ่ มบำรุงสามารถกระทำไดห้ ลายแบบเช่น ตามชว่ งเวลา (Time
base) ตามระยะทางการวิง่ (distance base) หรอื ตามสภาพการใชง้ านจริง (condition base) ในสว่ นการ
ตรวจเช็คและซ่อมบำรุงตามชว่ งเวลานัน้ อาจเรม่ิ ต้นจาก การตรวจเช็คประจำวัน (Daily inspection) ซงึ่ จะ
กระทำทุกครั้งก่อนท่ีจะปลอ่ ยใหร้ ถไฟฟ้าออกไปให้บรกิ าร ตารางท่ี 1-2 แสดงตวั อย่างรายการอปุ กรณ์ทจี่ ะตอ้ ง
ทำการซอ่ มบำรุงทกุ สัปดาห์ และทกุ เดอื น ตารางที่ 1-3 และ 1-4 แสดงรายการอปุ กรณ์ทีจ่ ะต้องทำการซ่อม
บำรุงทุก 3 เดอื น และตารางท่ี 6-5 และ 1-6 แสดงรายการอปุ กรณ์ที่จะต้องทำการซอ่ มบำรุงทุก 6 เดือน

นอกจากน้ียงั สามารถแบ่งได้จากลักษณะของงานซอ่ มบำรุงไดอ้ ีกเปน็ 3 ระดับคอื
ระดับทห่ี นงึ่ (first line level) หมายถงึ การซอ่ มหรือเปลยี่ นอปุ กรณ์ทีห่ นา้ งานทนั ทีทันใดเพอ่ื ระบบ
รถไฟฟ้าสามารถกลับมาทำงานไดต้ ามปกติ ตวั อย่างเชน่ การเปล่ียนอุปกรณ์ประเภท LRU (Line
Replacement Unit)
ระดบั ทสี่ อง (second line level) หมายถงึ การซอ่ มส่วนประกอบหรือชิ้นส่วน (individual
components and parts) ทีก่ ระทำทีโ่ รงซ่อมบำรงุ เพื่อใหก้ ลบั มาใช้งานได้ตามปกติ ตัวอย่างเชน่ แผงวงจร
อิเลคทรอนกิ ส์ (printed circuit board) หรือ ชุดอุปกรณข์ องระบบต่างๆ เชน่ ชุดแหล่งจ่ายกระแสไฟฟา้
(power supply units)
ระดบั ที่สาม (third line level) หมายถงึ การเปลีย่ นอปุ กรณใ์ หม่ หรอื การยกเคร่อื ง (overhaul) ทัง้ ระบบ
รถไฟฟา้

6

ตารางที่ 2-1 ตวั อยา่ งการตรวจสอบอุปกรณต์ า่ งๆในระบบรถไฟฟา้ ทกุ สัปดาห์และทกุ เดือน

กำหนดการ รายการ
การตรวจสอบ
ทุกสปั ดาห์ 1. Brake pad measurement (120 min)
(Weekly 2. TBU Temperature (60 min)
Inspection) 3. Brake disc measurement (10 min/Wheel)
4. Wheel Profile Measure (60 min)
การตรวจสอบ 5. Visual Inspection Cabinets for Electrical Equipment (45 Min)
ทุกเดือน 6. Bogie Inspection (120 min)
(Monthly 7. Interior , Visual Inspection External Steps, Roof (60 min)
Inspection 8. Check Traction Unit (30 Min)
9. Visual Inspection Underframe and Wheelset ( 90 min)
10. Inspection Vehicle Body including Obstacle Deflector and Exterior Labels (60

min)
11. Inspection and Functional Test Windscreen Washer and Wiper System (30 min)
1. Brake System _MVB Test (90min)
2. PAU (60min)
3. Air Conditioning System Driver's Cab & Saloon (180min)
- Clean Weather Protection Grid
- Replace Air filter
4. Functional Check Air Dryer Unit (30 min)
5. Air System (5min)
- Warning Horns Inspect, Test
6. Auxiliary Compressor Check Oil Level (20 min)
7. Inspect and Drain Pantograph Control Panel Filter, Inspect (30min)
8. Inspect Quick-Coupling Connection (30min)
Vacuum Circuit Breaker - Examine and Lubricate (20 min)

7

ตารางที่ 2-2 ตวั อย่างการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆในระบบรถไฟฟ้าทกุ 3 เดือน (กลุ่มที่ 1)

กำหนดการ รายการ

การตรวจสอบ 1. Electrical Components (30min)
ทกุ 3 เดือน - Visual Inspection
(3 Monthly
Inspection) 2. Filter Water Separator (30min)
- Examine

3. Pantograph (30min)
- Examine, Lubricate

4. Vacuum Circuit Breaker (30min)
- Drain Water Separator Check

5. Cab Back Wall Door (90 min)
- Function and Clean

6. Driver's Desk / Operating Panels (20 min)
- Inspection and Test

7. Master Controller (10 min)
- Functional Check Emergency Brake Activation by Master Key

8. Cab Body Side Door (60 min)
- Minor Door Test Run, Inspection and Measurement

9. Cab Body Side Door (30 min)
- Emergency Egress and Access Mechanism Test

10. Cab Body Side Door (20 min)
- Auditory Inspection of the Pneumatics

11. Cab Body Side Door (120 min)
- Lubrication

12. Interior equipment driver's cab (20 min)
- Seat Visual Inspect, Function Check

13. Windscreen Washer and Wiper System (30 min)
- Grease

14. Windscreen Washer and Wiper System (30 min)
- Check Torque Settings

15. Body End Door (150 min)
- Function Check and Clean

16. Passenger Body Side Door
- Minor Door Test Run (60 min) & - Emergency Egress and Access Mechanism Test (90 min)

17. Passenger Body Side Door (60 min)
- Auditory Inspection of the Pneumatics

18. Passenger Body Side Door
- Greasing (180 min) & Emergency Brake Check (60 min) & Train Doors Function Check (60 min)

8

ตารางที่ 2-3 ตวั อยา่ งการตรวจสอบอปุ กรณ์ตา่ งๆในระบบรถไฟฟา้ ทกุ 3 เดือน (กลุม่ ที่ 2)

กำหนดการ รายการ
การ
ตรวจสอบทกุ 1. Safety System (30 min)
3 เดอื น - OTMR Inspect
(3 Monthly
Inspection) 2. Bogies (90 min)
- Axle Earth End Contact Disc and Brushes Inspect

3. Automatic Coupler (30 min)
- Inspection and Testing

4. Semi-permanent Coupler (30 min)
- Inspect

5. Automatic Coupler (30 min)
- Wear Measurement

6. Automatic Coupler (30 min)
- Pneumatic Components Leak Check

7. Automatic Coupler (30 min)
- Cleaning and Lubrication

8. Semi-permanent Coupler (60 min)
- Lubricate

9. Underframe ( 360 min)
- Heavy Cleaning

10. Bogies (150 min)

- Secondary Suspension Levelling Valve Function Check ฿ Life Guard gauge ( 20 min)

11. Underframe Equipment ( 60 min)
- Bearing Blocks and Mounting Bolts

12. PA Equipment Saloons ( 30 min)
-inspect

13. PA Equipment (30 min)
- Inspect and test

14. PAU and CFA units (20 min)
- Communication test

15. Central Control Unit (CCU) (30 min)
- Check Emergency Brake Reactions

16. Emergency Equipment (20 min)
- Check

17. AFFF Fire Extinguisher (30 min)
-Visual Inspection, Cleaning

18. Wheelset (60 min)
– Measurements ( Back to Back only)

19. Inter-vehicle Gangway (60 min)
- Visual Inspection and functional Check

20. Main Transformer Cooler (60 min)
- Clean and Inspect

9

ตารางท่ี 2-4 ตัวอยา่ งการตรวจสอบอุปกรณต์ ่างๆในระบบรถไฟฟา้ ทุก 6 เดอื น (กลมุ่ ท่ี 1)

กำหนดการ รายการ
การ
ตรวจสอบทุก 1. Auxiliary Compressor Safety Valve (P3.2) ( 30 min)
6 เดือน - Functional Check
(6 Monthly
Inspection) 2. Auxiliary Compressor Governor (P3.1) (30 min)
- Check Operation

3. Air Dryer Safety Valve (A1.10) (30 min)
- Check Operation

4. Air Compressor Delivery Hose (A1.8) (10 min)
- Visual Inspection

5. Main Reservoir 150l (A5) (10 min)
- Drain and Inspect

6. Brake System (20 min)
- Filter/Water Separator and Auto Drain Valve Clean and Check

7. Compressor governor (A1.5) (30 min)
Functional Check

8. Air System (30 min)
- MR Safety Valve (A1.3) Function Check

9. Brake Resistor (60 min)
- Clean and check

10. Brake Caliper Unit (incl. Spring loaded) - Functional check (60 min)
11. Brake System (10 min)

- Supply Reservoir 150 l - Drain & Inspect
12. Brake System (60 min)

- Low Main reservoir governor (B2) Test
13. Brake System (60 min)

- Functional Test
14. Brake System (60 min)

- Low BSR Pressure Governor Function Check
15. Saloon Brake Supply Isolation Cock and Saloon Brake Release Valve Test
16. Brake System (240 min)

– Check load compensated brake function
17. Brake System (60 min)

- Parking Brake Emergency Release Test
18. Brake System (60 min)

- MR charging Times - Check
19. Air System ( 60 min)

- Dew Point Check
20. Axle (prepare by DWS)

- Ultrasonic Testing

10

ตารางท่ี 2-5 ตวั อย่างการตรวจสอบอุปกรณต์ ่างๆในระบบรถไฟฟา้ ทุก 6 เดอื น (กลุม่ ที่ 2)

กำหนดการ รายการ
การ
ตรวจสอบทุก 1. Batteries
6 เดือน - Inspect (60 min) and Charging voltage check (20 min)
(6 Monthly
Inspection) 2. Batteries (90 min)
- Electrolyte level check

3. Cabinets for Electrical Equipment (60 min)
- Visual Inspection and Functional Check

4. Pantograph (60 min)
- Check contact force

5. Air Conditioning System Driver's Cab (60 min)
- Clean Condenser

6. Air Conditioning System Driver's Cab (60 min)
- Check Terminal Box, Thermostats and Over temperature Cut-Out

7. Fresh Air Intake and Exhaust (60 min)
– Roof Ventilation Hatches Inspect (60 min) & Cab, Saloon (120 min)

8. Air Conditioning System Saloon ( 240 min)
- Clean Condenser

9. Air Conditioning System Saloon ( 90 min)
- Check Terminal Box, Thermostats and Over temperature Cut-Out

10. Interior (60 min)
- Saloon Lighting Inspect and Function Check

11. Vehicle installation Driver's cab (60 min)
- Visual Inspect. and Function Check, Lubrication

12. Cab Back Wall Door Inspect (60 min)
13. Auxiliary Converter Unit (ACU) (90 min)

- Container Screwed Connections, Seals and Safety Labels
14. Auxiliary Converter Unit (ACU) (120 min)

- System Air Intake - Clean
15. Traction Converter (60 min)

- Inspection (60 min) & Check Line Contactor (60 min)
16. Traction Converter (60 Min)

- Check Pre-Charging Contactor (60 min) & Fault Memory Download (30 min)
17. Bogies

- Anti Roll Bar Connection Rod Inspection (90 min)&Anti Roll Bar Grease(60 min)
18. Fresh and Waste Water System (30 min)

- Level Indicators Check
19. Fresh and Waste Water System (30 min)

- Visual Inspection
20. CCU (30 min)

- Visual Inspection and Functional Check
21. Wheelset Gearbox

- Oil Change & Inspection (240 min) & Oil Test (60 min)

11

2.6 กิจกรรมที่ทำในโรงซ่อมบำรงุ

รปู ท่ี 2.1 การตรวจสอบ [1]

รปู ที่ 2.2 การเติมน้ำมันในกรณีรถไฟทางไกลท่ีมีต้นกำลงั เป็นเคร่อื งยนต์ดีเซล [2]

12
รูปท่ี 2.3 จุดเกบ็ อะไหล่ [3]

รูปท่ี 2.4 จุดยกเคร่ือง [4]

13
รปู ที่ 2.5 จดุ ซ่อมบำรุงหลักตัวโบกร้ี ถไฟ [5]
รูปที่ 2.6 พนื้ ท่ีบริเวณซอ่ มบำรงุ ตัวโบกร้ี ถไฟ [6]

14

รปู ท่ี 2.7 ทางในโรงซ่อมบำรงุ [3]

รปู ที่ 2.8 จุดใชท้ ดสอบประสิทธภิ าพจรงิ (Public Performance Measure, PPM) และจดุ ตรวจสอบและการ
ทดสอบการเบรก (Vehicle Inspection and Brake Testing, VIBT) [8]

15

รูปที่ 2.9 จุดทำความสะอาด [9]

2.7 เครือ่ งมอื และอุปกรณใ์ นโรงซ่อมบำรงุ

ตารางด้านล่างแสดงอปุ กรณ์ทจี่ ำเป็นในสถานรี ถไฟซึ่งมีทัง้ รายละเอียดของฟงั กช์ น่ั และข้อกำหนดทางเทคนิค
[3]

ชื่อ/ฟังกช์ ัน ข้อมูลทางเทคนคิ
เครือ่ งตดั (Band Saw) รปู แบบ (Type) : F 320/S1
-ใช้ตดั วสั ดุตา่ งๆ แหล่งจา่ ยไฟฟ้า (Supply voltage) : 400 V 50
Hz
กระแสใช้งาน (Nominal Current) : 35 A
Max Prefuse : 6 A

เครื่องเจาะรู (Bench Drill Machine) กำลงั มอเตอร์ (Motor power) : 0.37/0.55 kw
-ใชเ้ จาะรตู ่างๆท่ตี อ้ งการ แรงดนั ไฟฟา้ (Voltage) : 400

16

ปัจจุบัน (Current) : 1.6/1.4 A
คาวามถี่ (Frequency) : 50 Hz
Rpm : 680/1380/Min

ชือ่ /ฟังก์ชัน ข้อมลู ทางเทคนคิ
เคร่อื งล้างทำความสะอาด (Blow Down Cabin) รปู แบบ (Type) : REMA – K1 – 200/SG
- Zippel cleaning กำลงั มอเตอร์ (Motor power) : 3.3 kW
- ระบบทำความสะอาดหอ้ ง แรงดนั ไฟฟา้ (Voltage) : 400 V
- การล้างโดยใช้ความร้อนหรือแรงดนั ควบคมุ แรงดันไฟฟา้ (Control Voltage) :
230 V
คาวามถี่ (Frequency) : 50 Hz
Rpm : 3000 min-1

Bogie Frame Lifting Jacks รปู แบบ (Type) : HYWEMA FL/N1, 3
- ใชย้ กโบกแ้ี ละตวั แครข่ ้นึ และลง โหลด (Capacity) : 1300 kg
ความเร็วยกขน้ึ สูงสุด (Max Lifting Speed) :
560 mm/min
นำหนักสุทธิ (Net Weight) : 280 kg
ระดับการใชง้ าน (Operated Level) :
Maximum ความชันสูงสุด (Inclination) 1
degree
แรงดันไฟฟา้ ของมอเตอร์ (Motor Voltage) :

17

3 x 400V, 50 Hz, 24A

ชอ่ื /ฟงั กช์ นั ขอ้ มลู ทางเทคนคิ
Bogie Repair Host รูปแบบ (Type) : Windhoff
- ใชย้ กโบกี้เพ่ือซ่อมบำรุง ความจุแต่ละสะพานรถไฟ (Capacity for each
rail bridge) : 18.75 kN
ความจุรวม (Total Capacity) : 75 kN
ยกความเรว็ (Lifting Speed) : 490 mm/min
กำลงั มอเตอร์ (Motor power) : 4 kw
แรงดนั ไฟฟ้า (Voltage) : 400 V
ความถ่ี (Frequency) : 50 Hz

Cleaning Bearing Machine ( Heavy cleaning รปู แบบ (Type) : REMA-K-80-1LB
machine) แรงดนั ไฟฟา้ (Voltage) : 400 V 50 Hz
- ใชท้ ำความสะอาดตลบั ลูกปนื Power : 23 kw
ปจั จบุ ัน (Current) : 36A
ความจุความรอ้ น (Heating Capacity) : 18 kw
ภาระโหลด (Load Capacity) : 80 kg

เครื่องทดสอบป้ายสญั ญาณ แรงดันไฟฟ้าเข้า (IN Put) : 110 VDC
(Destination sign test stand) แรงดันไฟฟ้าออก (OUT Put) : 7.5VDC

18

ชือ่ /ฟังก์ชัน ขอ้ มูลทางเทคนคิ
เครื่องเจยี ร (Grinding Stand) แรงดนั ไฟฟ้า (Voltage) : 230/400 3 phase
-ใช้เจียรสิง่ ทไ่ี มต่ ้องการ ปัจจบุ ัน (Current) : 3.1/1.8 A
กำลงั มอเตอร์ (Motor power) : P1 900 w, P2
700 w, S2-30 min

เครือ่ งอัด (Hydraulic Frame Press) รปู แบบ (Type) : Cylinder
-ใชอ้ ัดสง่ิ ของต่างๆ Force : 100 Ton
Max Pressure : 10000 PSI
700 Dan / cm2

Mobile Lifting Line 36pc รปู แบบ (Type) : Windhoff
- ใช้ยกรถไฟขน้ึ ลงเพ่อื เปลีย่ นโบก้ี กำลงั การผลิตต่อแจ็ค (Lifting capacity per
jack) : 100 kN
กำลังมอเตอร์ (Motor power): 1,5 kN
แรงดนั ไฟฟ้า (Voltage) : 400 V
ควบคุมแรงดันไฟฟา้ (Control Voltage) : 24 V

19

Frequency : 50 Hz

ชื่อ/ฟังก์ชนั ข้อมลู ทางเทคนคิ
Mobile Roof (Electric Chain hoist) รูปแบบ (Type) : KUHNEZUG
- ใชย้ กเครอ่ื งปรับอากาศขึน้ บนเพดานรถไฟ โหลด (Capacity) : 1000 kg
ภาระโหลดใชง้ าน (Loading capacity) : 5
Motor Test Stand persons
- ใช้ทดสอบความเป็นฉนวนไฟฟ้า ความเร็วยกขนึ้ หลัก (Main Lifting Speed): 5
- ใชท้ ดสอบการส่นั สะเทือน m/min
ความเร็วยกขึ้นต่ำสดุ (Low Lifting Speed) :
1.25 m/min
แรงดนั ควบคมุ (Control Voltage) : 24V
แรงดันมอเตอร์ (Motor Voltage) : 380V Y to
220V Delta
DC Brake : 380-415V
รปู แบบ (Type) : MMS 2000
Supply Voltage : 3Ph 400V/ 50Hz AC
แรงดนั ควบคุม (Control Voltage) : 230V/ AC
and 24V DC
หมอ้ แปลงความถ่ี Frequency Transformer) :
575V/ 30kW
การควบคมุ ดว้ ยมือ (Manual Control) & การ
ควบคมุ อัตโนมัติ (Automatic Control)

20

ชือ่ /ฟงั กช์ นั ขอ้ มูลทางเทคนคิ
เครอ่ื งอบแหง้ (Drying Oven ) รูปแบบ (Type) : NTU 100/150
- ใชอ้ บแห้งมอเตอร์ หลงั ซอ่ มและพันสายและอาบ Nentemperatur : 205 องศา
นำ้ ยาฉนวน Netzspannung : 400V 3/N/PE
ความถ่ี (Frequency) : 50/60 Hz
Nenstrom : 42 A
Nennteistung : 27.3 kw

Pillar Drill 1 แรงดนั ไฟฟา้ (Voltage) : 400 V
- ใชเ้ จาะรู ความถี่ (Frequency): 50 Hz
ปจั จบุ ัน (Current) : 13 A

Overhead Crane รปู แบบ (Type) : KUNHNEZUG
- ใช้ยกเคร่ืองจกั รหรอื ชนิ้ ส่วนหนกั ข้นึ ลง โหลด (Capacity) : 3000 kg
ยกความเรว็ (Lifting Speed) : 4/1,25 m/min
Power output : 3,6/1,2 kW
แรงดันไฟฟา้ (Voltage) : 380 V
แรงดนั ควบคมุ (Control Voltage): 48 V

ชื่อ/ฟังก์ชนั 21
เครือ่ งทดสอบโบกี้ (Preload Stand)
- ใช้ทดสอบโบก้ี ข้อมูลทางเทคนิค
รปู แบบ (Type) : NENCKI
รถลากจูง (Shunting Truck) แรงดันลม (Pressure in air spring) : 8-10 bar
- ใช้ลากจูงและผลกั รถไฟ แรงดันไฟฟา้ (Voltage) : 3x400 V AC + PE
นำ้ หนัก (Weight) : 104 kg
Spider TS17 อุณหภูมิในการใชง้ าน (Operating
- ใช้สง่ั การทำงานบนทส่ี ูง Temperature) : -20 oC/ +60 oC
โหลดรวม (Total Load) : 2x70 kN

รปู แบบ (Type) : NITEQ RRM-1500
น้ำหนัก (Weight) : 7500 – 8000 KGS
แรงฉุดลาก (Tractive effort) : 1500 – 1750
KGF
แบตเตอร์ร่ี (Battery) : 600AH – 48 VCD
ความเรว็ (Speed) : 2.5 – 5 KM/H
MANUAL CONTROL & REMOTE CONTROL

รปู แบบ (Type) : TS 17 Spider Working
เพาเวอร์ซพั พลาย (Power Supply) : 230V AC
, 50 Hz , 10 Amp
แบตเตอรี่ (Batteries) : Dry fit Traction
block 6 – 160
Manual Control

ช่อื /ฟงั กช์ นั ขอ้ มลู ทางเทคนคิ
อุปกรณ์ทดสอบมอเตอร์ ( รูปแบบ (Type) : Motor Measurement
Traction Motor Test Stand) System MMS2000

- Check the wire insulation to protective earth (PE)

22

- Check the winding resistance absolutely and within แรงดันไฟฟา้ ตาม (Voltage followed) : 230V
a tolerance value AC , 400V AC , 570V AC , 24V DC
- Check the vibrations from the motor ความต้องการของระบบ (System
Requirements) : PC mit Pentium 166 MHz
32MB RAMVGA Grafic 800x600 Pixel 1GB
Hard Disk

เคร่ืองเช่ือม (Welding Machine) แรงดันไฟฟ้า (Voltage) : 400 V
-ใช้เชอื่ ม ปัจจุบนั (Current) : 10 A , 12 A , 15 A
คาวามถ่ี (Frequency) : 50/60 Hz

ชือ่ /ฟงั ก์ชัน ขอ้ มลู ทางเทคนิค
เครอื่ งกลงึ ลอ้ รถไฟ (Under floor- wheel Lathe) CNC – Controlled with Automatic
- ใชข้ ัดล้อรถไฟ (Polish Wheel) รูปแบบของการงัด (Measuring System Type)
- ใชข้ ัดจานเบรก (Polish Brake Dish) : DRU 1000 N
- ใชต้ รวจสอบเสยี งและการสนั่ สะเทือน (Checking กำลงั แรงดนั ไฟฟา้ ทต่ี อ้ งใช้ (Connected power
Noise & Vibration) voltage) : 3 AC 400V +/- 6%
กำลงั ไฟฟา้ ที่ตอ้ งใช้ (Connected power) :
105 kVA

23

เครื่องแม่แรงยกรถ (Under floor Lifting) รูปแบบ (Type) : Windhoff
แรงดันไฟฟ้าออก (Output) : 7,5 Kw
ความถี่ (Frequency) : 50 Hz
แรงดนั ไฟฟา้ (Voltage) : 400 V

ช่ือ/ฟงั ก์ชนั ขอ้ มูลทางเทคนิค
Wheel Press: เครอ่ื งถอดล้อเพลา รปู แบบ (Type) : DUNKES RP 200
Pressure Force : 2000 kN
Oil Pressure Max : 260 bar
Power of Motor : 18.5 kW
การควบคุมดว้ ยมือ (Manual Control) & การ
ควบคุมอัตโนมัติ (Automatic Control)

24

2.8 ประเภทของการบํารงุ รกั ษา
โดยท่วั ไปงานซ่อมแซมเครอ่ื งจกั รของหนว่ ยงานซอ่ มบํารงุ เม่อื ในอดตี จะเป็นการดูแล รกั ษาสภาพ
เครอื่ งจักร เกดิ การชํารุดเสียหายการบาํ รงุ รักษาไดม้ ีการพัฒนาขึ้นอยา่ งเป็นระบบ มกี ารใช้ หลักการทางดา้ น
วศิ วกรรมศาสตรว์ ัสดศุ าสตรแ์ ละสถติ ิเขา้ มาใช้ในงานบํารุงรักษาเพอื่ สาํ หรับทาํ การ จดั ประเภทของการ
บาํ รงุ รกั ษาที่เปน็ งานของหน่วยงานซอ่ มบํารงุ ที่มโี ครงสรา้ งดัง
การบาํ รุงรักษา Maintenance
การบํารงุ รกั ษาแบบ มีแผน การบาํ รุงรักษาแบบ ไม่มมี ีแผน
การบํารงุ รักษาแบบ ป้องกัน การบํารุงรกั ษาแบบ แกไ้ ข
การบาํ รุงรกั ษาขณะ เดินเครือ่ ง การบํารงุ รักษาขณะ หยดุ เคร่ือง การบาํ รุงรักษาขณะ เคร่อื งเสยี
การซอ่ มฉกุ เฉิน หยดุ กะทันหัน
การพัฒนาการซอ่ มบํารงุ รกั ษาเมื่อเกิดเหตุขัดข้อง (Breakdown Maintenance: BM) หรอื การซอ่ ม
บาํ รุงแบบรอให้เครือ่ งเสียก่อนแล้วค่อยซอ่ ม ซงึ่ วธิ ีดังกลา่ วอาจมคี า่ ใชจ้ ่ายในการดแู ลตำ่ แต่มอี ะไหลส่ ํารองเสมอ
ท้งั ระวังความสญู เสียท่ปี ญั หารนุ แรงเกดิ ขนึ้ ทาํ ใหโ้ รงงานอยู่ในภาวะเส่ียง เกนิ ไป จงึ ไดเ้ กดิ แนวทางในการปรบั
รูปแบบใหม้ ีการวางแผนการบาํ รงุ รกั ษาเชิงป้องกัน จงึ เป็นจุดเรม่ิ ของการวางแผนเชงิ ปอ้ งกันมากขึน้ มแี บบ
แผนและข้นั ตอนตรวจเช็คตามคาบเวลาทีก่ ําหนด (Preventive Maintenance: PM) ไมต่ อ้ งรอใหเ้ ครือ่ งจักร
เสยี ก่อนค่อยแก้ไขตรวจสอบ ต่อมาแนวคิด เชงิ ป้องกันได้พฒั นาไปสู่ การบํารุงรักษาเชิงแก้ไขปรบั ปรุง
(Corrective Maintenance: CM) ซึง่ มงุ่ ในการขจดั เหตุของปญั หาความขัดข้องตา่ งๆในเคร่อื งจกั ร เพราะมี
การตรวจสอบ และทาํ ความสะอาด เครอ่ื งจกั ร และ ระบบความปลอดภยั

2.9 งานซอ่ มบำรุงระบบไฟฟา้ เครอื่ งกล

รถไฟฟ้าบที เี อส เปดิ ใหบ้ รกิ ารแก่ผู้โดยสารทกุ วันระหวา่ งเวลา 06.00 - 24.00 น. การซ่อมบำรงุ รกั ษา
ระบบรถไฟฟ้าบที เี อสใหอ้ ยใู่ นสภาพสมบูรณพ์ รอ้ มสำหรบั ใหบ้ รกิ ารในแตล่ ะวนั คอื หนึง่ ในปัจจัยสำคญั ทที่ ำให้
รถไฟฟา้ บีทีเอส สามารถรกั ษามาตรฐานการให้บรกิ ารทป่ี ลอดภยั รวดเรว็ ตรงเวลา และมปี ระสทิ ธภิ าพ ท้ังนี้
ขอบเขตของงานซ่อมบำรุงระบบรถไฟฟ้าบที เี อส ประกอบดว้ ย

ซ่งึ การดำเนนิ การซอ่ มบำรงุ บรษิ ทั ได้นำระบบบรหิ ารจัดการ และเทคโนโลยอี นั ทนั สมัย ได้
มาตรฐานสากลมาใช้ในระบบรถไฟฟ้าบที เี อส โดยไดม้ ีการปรับปรุง และพัฒนามาอย่างตอ่ เนือ่ ง และเพ่อื ให้งาน
ซอ่ มบำรุงสามารถดำเนนิ ไปไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ บรษิ ทั ยังไดน้ ำระบบคอมพวิ เตอรเ์ ข้ามาช่วยในการบริหาร
การซ่อมบำรงุ (Computerized Maintenance Management System - CMMS) ในระบบต่างๆ ดงั น้ี

• การวางแผนการซ่อมบำรุงตามเงื่อนไข (Scheduled or Preventive Maintenance)
• การซอ่ มบำรงุ เชงิ ปรับปรุงแกไ้ ข (Unscheduled or Corrective Maintenance)
• การตรวจสอบระดับคงคลงั ของวสั ดุ (Stock Level and Inventory)

25

• การแจง้ และติดตามกระบวนการซอ่ มบำรุง (Fault Notification and Tracking)
• การเกบ็ และวิเคราะหข์ อ้ มลู การซอ่ มบำรงุ (Fault Analyses)
นอกจากนี้ ยงั ได้จัดทำแผนการซ่อมบำรงุ อย่างละเอียดในทุกขนั้ ตอน และปฏบิ ตั ิตามอยา่ งเครง่ ครดั
อีกท้ังมีการตดิ ตามวดั ผลการดำเนินการดว้ ยตัวช้ีวดั ของระบบต่างๆ ท่มี ผี ลต่อประสิทธภิ าพของงานซอ่ มบำรุง
และนำผลท่ีไดม้ าวเิ คราะห์เพ่ือปรบั ปรงุ แผนงานและการดำเนนิ การตอ่ ไป อีกท้งั ได้จัดการอบรมแก่เจา้ หนา้ ท่ี
เพ่ือเพม่ิ พูนและพฒั นาทกั ษะการทำงานอยเู่ สมอ
2.10 การบรหิ ารการซอ่ มบำรุง
1. วัตถปุ ระสงคก์ ารซอ่ มบำรงุ
ในทางทฤษฎี วัตถปุ ระสงคข์ องการซอ่ มบำรุงอปุ กรณต์ า่ งๆในระบบขนสง่ ทางรางก็เพ่ือให้ได้จุด
เหมาะสมในการใชท้ รพั ยากรกบั ผลผลติ ท่ไี ดจ้ ากระบบแต่ในความเป็นจรงิ หนว่ ยงานซอ่ มบำรงุ จะต้องเกย่ี วขอ้ ง
กันหลายฝา่ ย เช่น หน่วยงานท่ีต้องใชเ้ ครื่องจกั ร หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้องกับความปลอดภยั
หน่วยงานด้านบริหารจดั การ
ดังน้กี ารหารือรว่ มกันกับทกุ หน่วยงานในการตงั้ วตั ถุประสงค์ของหน่วยงานซอ่ มบำรุงจึงตอ้ งมคี วาม
จำเป็นเพอื่ ให้ไดค้ า่ ใช้จา่ ยในการซ่อมบำรงุ ท่เี หมาะสมและมคี วามปลอดภยั ในการใช้งาน
โดยสรปุ แลว้ วัตถุประสงค์การซอ่ มบำรงุ ก็เพื่อใหร้ ะบบรถไฟฟา้ มีความพรอ้ มใชง้ านอยตู่ ลอดเวลาดว้ ย
ค่าใช้จา่ ยท่เี หมาะสมและมีความปลอดภัยและได้สมรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐานนอกจากนถ้ี ้าจะกำหนดให้
ชัดเจนขึน้ ไปอีกวตั ถปุ ระสงคก์ ารซอ่ มบำรุงจะประกอบด้วย
1.1 การปรับปรุงขั้นตอนการซอ่ มบำรุงการลดจำนวนงานความถี่และความซบั ซ้อนของการซอ่ ม บำรงุ
1.2 การประยกุ ตใ์ ช้เทคนิคหรือทักษะทไี่ ม่ยากในการซ่อมบำรงุ การลดจำนวนของวัสดุและอะไหล่ทใี่ ช้
1.3 การสร้างโปรแกรมการซอ่ มบำรุงท่ีมีประสิทธิภาพการปรับปรงุ ประสิทธิภาพขององคก์ ร
1.4 การปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพการใชง้ านเครอ่ื งมืออปุ กรณแ์ ละสถานท่ีในการซ่อมบำรงุ
2. คำนิยามและคำศพั ท์
2.1 การซ่อมบำรุงคอื กิจกรรมทุกกจิ กรรมทีเ่ กีย่ วข้องกบั การซอ่ มบำรุงเคร่อื งจกั รอุปกรณ์หรือชิน้ สว่ น
ตา่ งๆท้งั น้ยี งั รวมถงึ การซอ่ มแซมด้วยเพ่อื ใหม้ สี ภาพพรอ้ มใช้งานได้
2.2 วิศวกรรมการซอ่ มบำรงุ คือกิจกรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับงานซ่อมบำรงุ ทเ่ี กิดจากการวางแผนไวล้ ่วงหนา้
โดยอาศัยหลักการกฎเกณฑแ์ ละความต้องการด้านเทคนิคมาสร้างกจิ กรรมดงั กลา่ วทงั้ นท้ี ำให้การซอ่ มบำรงุ
ดำเนินไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
2.3 การซอ่ มบำรุงเชิงปอ้ งกันหรือ pm คอื การซ่อมบำรงุ ที่ดำเนินการเพอ่ื ป้องกนั เหตขุ ัดขอ้ งหรือการ
หยดุ ของเครื่องจักรโดยฉกุ เฉนิ
2.4 การซ่อมบำรุงเชงิ แกไ้ ขปรับปรงุ หรอื cm คอื การดำเนนิ การเพ่อื การดดั แปลงปรบั ปรงุ แก้ไข
อปุ กรณห์ รอื สว่ นของอปุ กรณเ์ พอ่ื ขจัดเหตขุ ัดขอ้ งร้ือลงั ให้หมดไปโดยสนิ้ เชิง

26

2.5 การซ่อมบำรงุ ทวีผลคอื กรรมวิธกี ารซ่อมบำรุงทน่ี ำเอาการซอ่ มบำรุงทก่ี ลา่ วข้างตน้ มาประกอบเขา้
ด้วยกัน

2.6 การป้องกนั การซอ่ มบำรุงคือการดำเนินการใดๆกต็ ามท่จี ะใหไ้ ด้มาซึ่งอุปกรณ์ที่ไมต่ อ้ งมกี ารซ่อม
บำรุงหรือมีน้อยทสี่ ุดสามารถดำเนินการได้โดยออกแบบอปุ กรณใ์ หถ้ ูกตอ้ งตามมาตรฐานติดต้งั ใหถ้ กู ตอ้ งตาม
มาตรฐานเลอื กใช้อปุ กรณ์ทมี่ คี ณุ ภาพ

2.7 การซ่อมบำรงุ ทวีผลรวมหรอื tpm คือการระดมคนทุกคนทท่ี ำงานอยู่ตามสายการผลติ ต่างๆและ
ผทู้ ำหนา้ ที่ซ่อมบำรงุ โดยตรง

3. โครงสรา้ งหนา้ ทีแ่ ละการจดั การองค์กร
3.1 หลักการวางโครงสร้างองคก์ รหลกั การสำคญั ที่ชว่ ยในการวางแผนโครงสรา้ งขององค์กร
ประกอบดว้ ย
-กำหนดหนา้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบใหช้ ัดเจนออกเป็นฝา่ ยโดยพยายามให้มีการเลือ่ มลำ้ น้อยสดุ
-กำหนดจำนวนพนกั งานท่ีหวั หนา้ งานต้องดูแลให้เหมาะสม
-ปรบั แต่งองค์กรให้เหมาะสมตอ่ การเปลยี่ นแปลงของตัวบุคคล
-ทำใหส้ ายงานหรือการส่ังการสน้ั ที่สดุ เทา่ ทจ่ี ะทำได้
นอกจากนใี้ นการออกแบบโครงสร้างองค์กรสิง่ ที่ต้องคำนึงถึงเปน็ อนั ดับแรกกค็ อื รปู แบบการบรหิ ารซ่งึ
ปกติจะมี 2 แบบคอื 1 การบรหิ ารแบบรวมศูนยอ์ ำนาจและ 2 การบริหารแบบกระจายอำนาจ โดยปกติแลว้
แบบแรกจะเหมาะกบั องคก์ รทมี่ ขี นาดเลก็ และปานกลางมีอาคารตั้งอยใู่ นบริเวณเดียวกันซ่ึงการบรหิ ารแบบรว่ ม
ศนู ย์มีข้อดขี อ้ เสียดังน้ี
ขอ้ ดีของการบริหารแบบรวมศูนย์
-แบบรวมศูนยอ์ ำนาจมีประสทิ ธิภาพกวา่ แบบกระจายอำนาจ
-จำนวนบุคลากรท่ีใชน้ ้อยกวา่ แบบกระจายอำนาจ
-การดูแลและการสง่ั การที่มีประสทิ ธภิ าพกวา่
-การใช้เครอ่ื งมือพิเศษและผเู้ ชีย่ วชาญพเิ ศษจากภายนอกเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ
-การฝึกพนักงานใหมท่ ี่หน้างานทำไดง้ ่ายกว่าและสะดวกกว่า
ข้อเสียของการบรหิ ารแบบรวมศนู ย์
-พนักงานขาดโอกาสทจี่ ะเรียนรู้การใช้เครือ่ งมือพเิ ศษและทกั ษะพเิ ศษ
-ผ้เู ชีย่ วชาญการควบคุมดแู ลสถานทปี่ ฏบิ ัตกิ ารทอ่ี ยู่ไกลจากศูนย์ปฏิบตั กิ ารทำไดย้ าก
-ค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปยังพนื้ ทป่ี ฏิบัติงานอยหู่ ่างไกลมีจำนวนสูง
-เวลาทใ่ี ช้ในการเขา้ ปฏบิ ัติงานในพนื้ ทหี่ ่างไกลใชเ้ วลานาน
3.2 หน้าท่ขี องหน่วยงานซ่อมบำรุง
3.2.1 วางแผนและซ่อมแซมอปุ กรณส์ ิง่ อำนวยความสะดวกให้ไดต้ ามมาตรฐานทีก่ ำหนด

27

3.2.2 ทำการซอ่ มบำรงุ เชิงป้องกันโดยพัฒนาโปรแกรมการทำงานไดต้ ามมาตรฐานทกี่ ำหนดและ
ป้องกนั ไมใ่ ห้เกิดปญั หาสำคัญตามมา

3.2.3 จัดทำงบประมาณที่มรี ายละเอียดเก่ียวกับค่าตอบแทนของบุคลากรค่าวัสดแุ ละคา่ ใชส้ อยต่างๆ
3.2.4 จัดการให้มีอะไหล่พร้อมใชเ้ ม่ือต้องการซ่อมบำรงุ
3.2.5 จัดเกบ็ ประวัตอิ ุปกรณ์และงานซอ่ มบำรุงท่ไี ดจ้ ัดทำไปแล้ว
3.2.6 พฒั นาวชิ าการตดิ ตามผลงานของพนกั งานพนักงานซ่อมบำรุงท่มี ีประสิทธภิ าพ
3.2.7 พฒั นาวธิ ีการส่อื สารท่มี ีประสิทธภิ าพกับบคุ ลากรฝา่ ยตา่ งๆตงั้ แตพ่ นกั งานหวั หน้างานและ
ผู้บรหิ ารทเ่ี กย่ี วข้องกบั งานซ่อมบำรุง
3.2.8 จดั ฝึกอบรมพนักงานซอ่ มบำรุงเพอ่ื เพิ่มทกั ษะและประสิทธภิ าพในการทำงาน
3.2.9 ตรวจสอบแผนการเพิ่มอุปกรณห์ รือเคร่ืองจกั รและสงิ่ อำนวยความสะดวกทจี่ ำเป็น
3.2.10 ปรบั ปรงุ กระบวนการทำงานให้มีความปลอดภยั เพิม่ ขึน้ ทงั้ นร้ี วมไปถึงการนำไปทำเป็น
โปรแกรมสำหรบั ฝึกอบรมพนักงานซอ่ มบำรงุ ดว้ ย
3.2.11 พฒั นาขอ้ กำหนดทางเทคนคิ สำหรับผ้รู บั เหมาและตรวจสอบงานทจี่ ดั จา้ งโดยผู้รับเหมาให้
เปน็ ไปตามขอ้ กำหนดในสัญญา
3.3 การจดั โครงสรา้ งขององคก์ ร
การออกแบบหนว่ ยงานการซอ่ มบำรุงต้องคำนึงถงึ ปัจจัยหลายอยา่ งเช่นการวางตำแหน่งกำลงั คนความ
ยืดหยนุ่ ในการทำงานกบั หนว่ ยงานอืน่ ผู้รับผิดชอบเกยี่ วกบั งานอะไหลก่ ารแบ่งความรับผิดชอบระหวา่ งฝา่ ย
ปฏบิ ัตกิ ารและฝา่ ยซอ่ มบำรุง
โครงสรา้ งทรัพยากรจะเก่ยี วข้องกับการจดั วางตำแหนง่ ของกำลังพลอะไหล่เครือ่ งมอื และฐานขอ้ มูล
และการกำหนดหน้าทีก่ ารทำงานองคป์ ระกอบและขนาดทเี่ หมาะสมทง้ั นรี้ วมถึงโลจสิ ติกส์อีกดว้ ย
4. การซอ่ มบำรุงทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ
4.1 นโยบายการซ่อมบำรุง
การซอ่ มบำรุงทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพจำเป็นทีจ่ ะต้องกำหนดนโยบายการซอ่ มบำรุงท้ังนเ้ี พ่ือความตอ่ เน่ือง
ของการดำเนนิ งานรวมไปถงึ ความชดั เจนในเรื่องของแผนการจดั การซ่อมบำรงุ ซ่งึ เปน็ ส่งิ สำคัญมากไมว่ า่ องค์กร
จะมขี นาดเท่าใดโดยปกติหน่วยงานซ่อมบำรงุ จะมีคมู่ ือทมี่ รี ายละเอยี ดเกยี่ วกบั นโยบายแผนงาน
วัตถปุ ระสงค์ความรับผิดชอบและโครงสร้างการสงั่ การของระดบั คมู่ อื นี้ยงั รวมถงึ ส่ิงท่ีตอ้ งรายงานวิธีการและ
เทคนคิ ที่เป็นประโยชนแ์ ละดัชนชี ้ีวัดสมรรถนะขององคก์ ร
4.2 การควบคมุ อะไหล่
โดยปกตแิ ลว้ ค่าใช้จ่ายของอะไหลใ่ นการซ่อมบำรงุ จะมีคา่ เฉลีย่ ประมาณ 30 ถึง 40 เปอร์เซ็นต์ของ
ค่าใช้จ่ายทงั้ หมดในการซ่อมบำรงุ
4.3 ระบบใบสั่งงาน

28

ใบสัง่ งานคอื เป็นเครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการกำหนดใหบ้ คุ คลหรอื กลมุ่ ไปทำงานใหบ้ รรลตุ ามเป้าหมายระบบ
ใบสั่งงานทด่ี จี ะต้องประกอบงานท่ีมอบหมายและงานทีท่ ำสำเรจ็ ไมว่ ่างานนัน้ จะเปน็ งานท่ตี อ้ งทำประจำหรือ
เป็นงานเฉพาะกจิ ระบบใบสงั่ งานสามารถใช้เปน็ สว่ นหนึง่ ในการควบคมุ คา่ ใชจ้ า่ ยและการประเมนิ สมรรถนะ
ของงานได้

4.4 การทำประวัตเิ ครอ่ื งจกั ร
การทำประวัตเิ ครอ่ื งจกั รถอื เปน็ ส่งิ ทสี่ ำคญั ตอ่ ประสิทธิภาพและสมรรถนะของหน่วยงานซ่อมบำรุง
ประวัตเิ ครอ่ื งจักรสามารถแยกไดเ้ ปน็ 4 ส่วนคอื
4.4.1 ประวตั งิ านซ่อมบำรุงทผี่ า่ นมา
4.4.2 ประวัตคิ ่าใชจ้ า่ ยในการซอ่ มบำรุง
4.4.3 ประวตั ริ ายการส่ิงของ
4.4.4 ประวัตดิ า้ นเทคนิคของเคร่อื งจักร
4.5 การซ่อมบำรุงเชงิ ป้องกนั
จุดประสงค์หลกั ของการซ่อมบำรงุ เชิงป้องกันกเ็ พื่อรกั ษาใหเ้ คร่ืองจักรอยูใ่ นสภาพทใ่ี ชง้ านได้อย่างดี
หรือแก้ไขข้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน้ เล็กๆน้อยๆทอี่ าจนำไปส่ปู ญั หาใหญไ่ ดโ้ ดยทัว่ ไปปจั จยั สำคญั ทม่ี ผี ลต่อขอบเขต
และส่งิ ทต่ี อ้ งทำในงานซ่อมบำรงุ เชงิ ปอ้ งกันจะมี 3 อย่างคือ
1 ความน่าเชอื่ ถอื ของกระบวนการ
2 ความคมุ้ คา่ ทางเศรษฐศาสตร์
3 คุณคา่ ของงานตามมาตรฐาน

2.11 เคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นโรงซอ่ มบำรุง
เราได้ออกแบบ, จัดสง่ และตดิ ต้งั อุปกรณ์ซอ่ มบำรงุ สำหรบั รถไฟทางไกลมากกวา่ 50 อปุ กรณ์

ท่โี รงซอ่ มบำรุงกรุงเทพฯ โดยอปุ กรณห์ ลักๆท่เี ราไดท้ ำการดำเนินการติดต้ังไป ไดแ้ ก่ เคร่อื งลา้ งรถไฟ,เครือ่ งสูบ
ของเสยี จากหอ้ งนำ้ รถไฟ, เคร่อื งพ่นสี และหอ้ งพ่นสี, เครอื งกลงึ ล้อรถไฟ, เครื่องยกรถไฟแบบซงิ ค์โครไนซ์,
ระบบเปลี่ยนแคร่รถไฟ, เคร่ืองล้างแคร่รถไฟแบบอัตโนมัต,ิ เคร่ืองลา้ งแผงคอนเดนเซอรแ์ อร์รถไฟ และเคร่อื ง
ชาร์จแบตเตอรร่ี รวมไปถงึ ยงั มีอุปกรณอ์ ่นื ๆอีกมากมายทเ่ี ราไดท้ ำการติดต้งั เพอ่ื ช่วยให้การทำงานซ่อมบำรุง
รถไฟเป็นไปอยา่ งงา่ ยดาย และมปี ระสิทธภิ าพ และในโครงการงานติดตั้งอปุ กรณโ์ รงซ่อมบำรงุ เราได้
ประสานงานร่วมมอื กบั ลกู คา้ และผผู้ ลติ เพอ่ื ให้ได้ขอ้ มูลทางด้านเคร่ืองกลที่ครบถว้ น เพอื่ ให้การออกแบบ
โดยรวมของโรงซ่อมบำรุงนนั้ ถกู ตอ้ ง และมปี ระสทิ ธิผลมากทสี่ ดุ รวมท้ังเรายังไดป้ ระสานกบั ฝ่ายติดตัง้ งาน
ระบบราง เพอื่ ใหง้ านตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ของเราเป็นไปอย่างราบรื่น และถกู ตอ้ ง รวมไปถงึ เพ่ือใหม้ นั่ ใจไดว้ ่า
เคร่อื งจักร และอปุ กรณข์ องเราสามารถทำงานร่วมกบั งานติดตงั้ จากระบบอน่ื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และ
ปลอดภัย

29

2.12 งานวจิ ัยท่ีเกีย่ วข้อง

บุญสง่ วงศเ์ จรญิ ถาวร (บญุ ส่ง,2539) ไดท้ ําการวิจัยเรอ่ื ง“การลดต้นทนุ การผลติ โดยใช้กลยทุ ธ์ TPM
กรณศี กึ ษาอตุ สาหกรรมการผลติ เมด็ พลาสตกิ พวี ซี ”ี โดยศกึ ษาวา่ กจิ กรรม TPM หรอื Total Productive
Maintenance จะสง่ ผลใหค้ วามสามารถในการผลิตเพมิ่ สงู ขึ้น ตน้ ทนุ ในการ ผลิตลดลง จรงิ หรอื ไมโ่ ดยส่ง
แบบสอบถามขอ้ มูลดา้ นการผลิตทัง้ กอ่ นและหลงั การดาํ เนินการใช้ กจิ กรรม TPM ไปยงั บริษทั ดงั กลา่ ว 3
บริษัท ผลออกมาให้เหน็ ว่ากจิ กรรม TPM มีประสทิ ธิภาพใน การใชเ้ คร่อื งจกั รโดยรวมไดจ้ ริง และส่งผลให้
ความสามารถในการผลิตเพม่ิ สงู ข้นึ ดงั นน้ั การศกึ ษาจงึ มุ่งไปถงึ แนวทางการปรับปรงุ ต้นทนุ การผลิต แนว
ทางการดาํ เนนิ การกิจกรรม TPM พร้อมคาดการณ์ งบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายต่างๆ ประมาณ 900,000 บาท ในปี
แรกและอัตราผลตอบแทน ซงึ่ เป็นต้นทนุ คงทท่ี ี่สามารถลดลงได้ถึงประมาณ 5,000,000 บาท ซ่งึ เทียบ
อัตราส่วนผลตอบแทนได้ถึง 5:1

สรัณญา ศิลาอาสน์ (สรณั ญา,2551) ไดท้ ำการศกึ ษาเป้าหมายของการวิจัย การศกึ ษาและวิเคราะห์
อาการท่ีผดิ ปกตแิ ละผลกระทบของความเสยี หายของเคร่อื งจักรแต่ละเคร่ือง โดยมีคา่ เฉลี่ยระหวา่ งความ
เสียหายของเครือ่ งจกั รยาวนานขึน้ แผนซ่อมบาํ รุงรักษาชงิ ปอ้ งกันและเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลิตโดยการลด
เปอรเ์ ซน็ ต์การหยดุ เคร่ืองจักร โดยการนาํ โปรแกรมการบาํ รงุ รักษา เชงิ ป้องกันมาวิเคราะห์อาการท่ผี ิดปกติและ
ผลกระทบของความเสียหายเพอ่ื หาระดับความเส่ยี งของ เคร่ืองจักร เพอ่ื จดั ทําการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพในการ
ผลติ ของเครอ่ื งจักร และนาํ ขอ้ มูลทีไ่ ดม้ าทําการ วางแผนการบาํ รุงรักษาให้เป็นมาตรฐานในการบํารุงรกั ษาท่ี
เหมาะสมของแต่ละ่ เครอ่ื งจักรซง่ึ กอ่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สุด พบว่าอัตราการพรอ้ มใชง้ านของเคร่ืองจักร
เพมิ่ ขึ้นเฉล่ียเทา่ กบั รอ้ ยละ 7.74 ซึง่ ทําใหอ้ ัตราการพรอ้ มใชง้ านของเคร่ืองจักรมคี ่าเท่ากับรอ้ ยละ 78.61 และมี
คา่ เวลาเฉลย่ี ระหว่างความเสียหายของเครื่องจักรเพมิ่ ขน้ึ เฉลย่ี เท่ากบั รอ้ ยละ 13.88 นอกจากนี้ยังมีจาํ นวน
ความถี่ ในการเกิดความเสียหายลดลงเฉลย่ี เท่ากบั รอ้ ยละ 45.39 และจํานวนทเี่ กิดความเสยี หายลดลงเฉลยี่
เท่ากบั ร้อยละ 44.40

วรี ชัย มัฎฐารักษ์และ วิมล จนั นนิ วงศ์ (2553) ศกึ ษาการเพ่มิ ประสทิ ธผิ ลโดยรวม ของเครอื่ งจักร
อัดเม็ดในโรงงานผลติ อาหารสัตว์นำ้ วิธกี ารปรับปรุงคา่ ประสทิ ธิผลโดยรวมของเคร่ือง อัดเม็ดมคี า่ ตำ่ ดว้ ย วธิ ีการ
แกป้ ัญหาแบบควิ ซสี ตอรี่ ของ JUSE การวเิ คราะห์ผังกา้ งปลาพบวา่ 2 ตวั แปร ไดแ้ ก่ค่าความพร้อมของ
เคร่อื งจักรและค่าสมรรถนะของเครื่องจกั รดังนัน้ สามารถปรบั ปรงุ เพ่อื เพ่ิมประสิทธิผลโดยรวมของเครือ่ งจักให้
สูงขนึ้ ตามเปา้ หมายทต่ี ัง้ ไว้รอ้ ยละ 3 ภายหลงั การปรบั ปรงุ พบว่าค่าประสทิ ธิผลโดยรวมในสายการผลิตท่ี 2
เครอื่ งมีคา่ สงู ขน้ึ จากเดิมเฉลย่ี ที่ รอ้ ยละ 74 สงู ขึ้นเป็นรอ้ ยละ 84 สว่ นสายการผลิตที่ 3 มคี า่ เฉลี่ยร้อยละ 75
สูงขน้ึ เปน็ รอ้ ยละ 93

เกษม รุ่งเรือง (2552) ทำการวจิ ัย เรื่อง การวางแผนบำรงุ รักษาเชิงป้องกนั เครื่องจักรในอุตสาหกรรม
รีเลย์ พบว่า โรงงานตัวอย่างยังไม่มรี ะบบการจัดการการซ่อมบำรุงโดยจะทำการซ่อมบำรุงรักษากต็ ่อเมอ่ื

30

เคร่อื งจกั รหยุดทำงานในหน้างานเทา่ นน้ั งานวจิ ยั นี้จึงไดเ้ สนอระบบการบำรงุ รกั ษาเชงิ ปอ้ งกนั เพอื่ ใช้ในการ
ซอ่ มบำรุงเครือ่ งจักรและไดน้ ำระบบไปปฏบิ ัตแิ ละทำการเปรียบเทียบผลก่อนการดำเนนิ การและหลงั
ดำเนินการ ได้ผล คือ ค่า MTBF เพ่ิมขึ้นโดยเฉลยี่ เปน็ 215.42 เปอรเ์ ซ็นต์จากเดิม คา่ MTTR ลดลงโดยเฉลย่ี
เปน็ 73.91 เปอรเ์ ซน็ ตจ์ ากเดิม ค่าความพรอ้ มใช้ของเคร่ืองจกั รเพ่มิ ข้นึ โดยเฉลีย่ เปน็ 18.67 เปอร์เซ็นตแ์ ละ
อัตราการชำรดุ ลดลง 35.89 เปอรเ์ ซ็นต์

ธีระศักด์ิ พรหมเสน (2556) ศกึ ษาเรื่อง การบำรงุ รกั ษาตามสภาพเพื่อเพ่ิมประสทิ ธิภาพใน
การผลิตกรณีศกึ ษา โรงงานผลิตเครอ่ื งดื่ม มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ลดเวลาสูญเสียท่เี กิดจากปญั หาการขัดข้องและ
ความเสียหายของเครอ่ื งจกั รในระหว่างการผลิตและกำหนดงานบำรุงรักษาให้กับเครอื่ งจักรของโรงงาน
ตัวอยา่ งอาศยั หลักการบำรุงรักษาดว้ ยทฤษฎีการบำรงุ รกั ษาตามสภาพแนวทางการศกึ ษาเริม่ จากการคัดเลอื ก
และวิเคราะหเ์ ครอื่ งจักรตามความวิกฤติและวเิ คราะหห์ นา้ ทข่ี องกระบวนการผลติ โรงงานผลติ เครอื่ งด่ืมเพอ่ื
นำมาหาสาเหตุ ขอ้ ขดั ขอ้ งของชิน้ ส่วนดว้ ยวธิ กี ารวิเคราะห์ อาการขัดข้องและผลกระทบ (FMEA) เพอ่ื นำมา
ประยกุ ต์ใชด้ ว้ ยทฤษฎกี ารบำรุงรกั ษาตามสภาพ เพ่ิมค่าอัตราการเดนิ เครอื่ งจกั ร (Machine Availability) ของ
กระบวนการผลติ โรงงานผลิตเครอื่ งด่มื โดยภายหลังจากการปรบั ปรุงสามารถเพ่ิมคา่ ความพรอ้ มการใชง้ าน
เครือ่ งจกั ร จาก 84.57% ต่อเดอื น เป็น 96.45% ตอ่ เดือน ค่าเวลาเฉลี่ยการซอ่ มแซม (Mean Time to
Repair MTTR) ลดลง 20.06 ชว่ั โมงตอ่ เดอื น เป็น 4 ช่ัวโมงตอ่ เดอื น ค่าระยะเวลาเฉลย่ี ระหวา่ งเกิดเหตขุ ัดขอ้ ง
ของเคร่อื งจกั ร (Mean Time Between Failures: MTBF) คา่ เฉลยี่ เพมิ่ ขนึ้ จาก 101.12 ช่ัวโมงต่อเดือน เป็น
121.12 ชว่ั โมงต่อเดอื น และมลู ค่าการสญู เสยี รวมค่าเฉลย่ี ลดลงจาก 721,852 บาทตอ่ เดอื นเปน็ 418,254.77
บาทต่อเดือน

วศิ รุต และ นชุ สรา. (2557) ศกึ ษาเรือ่ งการพฒั นาระบบการซ่อมบำรงุ ของโรงงานผลติ บรรจุ
ภณั ฑ์ทางการแพทยใ์ นจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา มีวตั ถุประสงค์เพอื่ พัฒนาระบบการซ่อมบำรงุ ของโรงงานผลิตบรรจุ
ภณั ฑท์ างการแพทยใ์ นจงั หวดั ฉะเชิงเทรา จากการศึกษาพบว่า เวลาซ่อมเครอื่ งจกั รจากการชำรดุ กะทนั หันใน
หนว่ ยงานปา่ ของแผนกพลาสตกิ ใช้เวลานานส่งผลกระทบตอ่ การผลิต นอกจากนย้ี งั ไมม่ ีการจดั การควบคมุ
อะไหล่สำรองทำใหเ้ กิดการรอคอยอะไหลใ่ นการซอ่ มแซมเครื่องจกั รและยงั ไม่มแี ผนงานการซอ่ มบำรุงรกั ษา
เครอ่ื งจกั รเชงิ ปอ้ งกนั ดงั นั้น จงึ ทำการปรับปรุงและพฒั นาระบบการซ่อมบำรุงเครื่องจักรในหน่วยงานเปาของ
แผนกพลาสตกิ จำนวน 5 เคร่ือง ไดแ้ ก่ เครอื่ ง PB30000/2A, PB30000/1, PB1000/2A, PB1000/2B และ
PB1000/1 โดยการนำเอาหลักการบำรุงรักษาเชิงปอ้ งกัน (Preventive Maintenance) เพอื่ หาคา่ เวลาเฉล่ยี ใน
การเกดิ เหตขุ ดั ข้อง (Mean Time Between Failure: MTBF) และระยะเวลาเฉล่ยี ในการซ่อมแซม (Mean
Time To Repair: MTTR) ในการวางแผนการเปล่ยี นอะไหล่กอ่ นการเกดิ เหตุขัดขอ้ งเพื่อให้ค่าประสทิ ธิผล
โดยรวมของเคร่ืองจกั รได้ตามเป้าหมายที่กำหนด คือ ไม่ต่ำกวา่ รอ้ ยละ 80 ผลการวิจัยพบว่า คา่ เวลาเฉล่ยี ใน
การเกิดเหตุขดั ข้อง (MTBF) เพิ่มขึ้นจาก 1,483.92 ช่ัวโมง เปน็ 2,522.16 ชัว่ โมงและระยะเวลาเฉล่ียในการ

31

ซ่อมแซม (MTTR) ลดลงจาก 26.63 ชั่วโมงเป็น 0 ชว่ั โมงและเวลาในการซ่อมเครอื่ งเป่าขวดพลาสตกิ ลดลงจาก
411.67 ชว่ั โมง เป็น 61.33 ชวั่ โมง นอกจากนย้ี ังสามารถเพ่ิมคา่ ประสิทธผิ ลโดยรวมของเคร่ืองจกั รจากเดมิ รอ้ ย
ละ 66.52 เป็น 82.46

2.13 ขอ้ จาํ กดั ของวิวฒั นาการการซ่อมบาํ รุงรักษา
วิวัฒนาการแนวความคิดของการซ่อมบาํ รงุ รกั ษามีรปู แบบไม่มชี ดั เจน การซอ่ มบํารงุ จะ ดําเนินงานก็
ตอ่ เมือ่ พบว่าเคร่ืองจักรหรอื อุปกรณ์ได้มีการชํารดุ เสยี หายขึน้ มาจนเร่มิ เขา้ สยู่ คุ การพฒั นา ดา้ นอุตสาหกรรมจึง
ไดเ้ ร่ิมตน้ รูปแบบการบาํ รุงรักษาทม่ี กี ารใชแ้ ผนงานเปน็ เคร่อื งมือชว่ ยกําหนดการ ดแู ลเครอ่ื งจักรโดยจะทําการ
วางแผนงานเอาไวล้ ว่ งหน้าก่อนท่เี ครื่องจะชํารุด
การพฒั นาระบบการซอ่ มบาํ รงุ รักษาอยา่ งต่อเนื่องมกั จะควบคไู่ ปพรอ้ มกับเทคโนโลยที ี่ พฒั นารุดหน้า
อย่างรวดเร็วแบบก้าวกระโดด ส่งผลทําให้การผลิตปรบั ตัวในการรบั เทคโนโลยีเข้ามา ชว่ ยในการผลิตพรอ้ มกบั
การปรบั เปลย่ี นรปู แบบระบบการบาํ รุงรักษา ให้สอดคล้องกบั การผลิต สรปุ โดยสงั เขป ได้ดงั นี้
1.การบํารุงรกั ษาแบบซ่อมเมอ่ื เสีย (Breakdown Maintenance)
เป็นทก่ี ารบํารุงรกั ษาเกา่ แก่ทสี่ ดุ หลกั การคือซ่อมก็ต่อเมอ่ื เคร่ืองจกั รหรอื อุปกรณ์ ทีใ่ ชง้ านไมไ่ ด้โดยมี
ขอ้ จํากดั ของการซ่อมบํารงุ รักษาลกั ษณะนไ้ี ด้แก่ - เครอ่ื งจกั ร ไมม่ สี ญั ญาณเตือน - ความเชอื่ มัน่ ไม่ค่อยเป็นท่ี
ยอมรับ - ค่าใชจ้ ่ายสงู จากการเก็บอะไหลเ่ ปน็ จาํ นวนมาก – ไมส่ ามารถปฏิบตั ิงานได้ตามแผน
2.การบาํ รงุ รกั ษาเชงิ ป้องกัน (Preventive Maintenance)
เปน็ การบาํ รุงรักษาตามวาระหรือระยะเวลาการใช้งานทก่ี ําหนดเพ่ือรกั ษาสภาพ เครอ่ื งจกั ร ขอ้ จาํ กดั
ของการซ่อมบํารุงรกั ษาลกั ษณะนไี้ ด้แก่ - ใช้วศิ วกรหรือช่างท่มี ีประสบการณ์สงู – ยากในการกําหนดแผน
เพราะปัญหาเกดิ แบบไม่สม่ำเสมอ
3.การบํารุงรกั ษาเชิงพยากรณ์ (Predictive Maintenance)
เป็นวธิ ีการใช้เครือ่ งมอื เทคนคิ อปุ กรณ์เทคโนโลยีสมัยใหมเ่ ข้ามาช่วยคาดการณ์ เช่น เคร่อื งมอื วัดความ
สัน่ สะเทือน ใช้กลอ้ งอินฟาเรด ในการตรวจคล่นื ความรอ้ น เปน็ ต้น ในการ กาํ หนดแผนระยะบาํ รุง รกั ษาเชงิ
พยากรณล์ กั ษณะอาการเรม่ิ ตน้ ก่อนการชํารดุ แบง่ ตามไปลกั ษณะ อาการที่พบหลักๆ เช่น - การวางแผนการ
บํารงุ รกั ษาเคร่ืองจกั รทีม่ กี ารสน่ั สะเทือน พยากรณ์โดยวิเคราะห์ จากระดับความสัน่ สะเทือน (Vibration
Analysis) ท่เี ปล่ยี นไปจากเดิม - การวางแผนการบาํ รงุ รกั ษาเคร่อื งจกั รทีม่ ีการเสียดสพี ยากรณ์โดยวิเคราะห์
สภาพของสารหลอ่ ลนื่ ท่ีใช้ไปแลว้ (Oil and Wear Practical Analysis) - การวางแผนการบํารงุ รกั ษา
เครอื่ งจักรท่ีมีความร้อนหรือก่อเกิดความร้อน พยากรณ์โดยวิเคราะหภ์ าพถ่ายความรอ้ น (Thermograph
Monitoring) ท่ีเปลย่ี นไปจากเดิม เป็นตน้

32

ฉะนน้ั หากเปรียบเครื่องจกั รกบั รา่ งกายมนษุ ยจ์ ะเหมือนการตรวจสภาพร่างกาย เพื่อหาความผดิ ปกติ
และปอ้ งกันกอ่ นรา่ งกายเกดิ ความเจ็บปว่ ย

3.1 ประโยชนท์ จ่ี ะได้รบั จากการบาํ รุงรกั ษาลักษณะนี้คือ
- ลดค่าใช้จ่ายในการบาํ รงุ รกั ษา
- ลดปรมิ าณอะไหล่คงคลงั ในการบํารงุ รักษา
- การหยุดชะงกั ของเครื่องจกั รนอ้ ยลง
- ลดสถิตกิ ารชาํ รดุ และเวลาใชซ้ อ่ มเคร่ืองจักรลดลง
- ประสทิ ธิภาพการวางแผนสูงขน้ึ
- เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ
3.2 ขอ้ เสียของการซ่อมบํารงุ รกั ษาลักษณะนคี้ ือ
- ใช้เงินลงทนุ สูงเพราะเครื่องมอื ใชไ้ ดเ้ ฉพาะงานและราคาแพง
4.การบํารงุ รักษาเชิงปฏิบัติการ (Proactive Maintenance)
บํารงุ รักษาแบบค้นหาแก่นของปญั หาในเชิงลกึ เพอื่ แก้ไข จาํ แนกได้ 8 ประการ 1. ความไม่เสถยี รทาง
เคมี 2. ความไม่เสถียรทางกายภาพ 3. ความไมเ่ สถียรทางอณุ หภูมิ 4. ความไม่เสถยี รทางการสกึ หรอ 5. ความ
ไม่เสถียรทางการรั่วไหล 6. การเกดิ โพรงอากาศในระบบไฮโดรลิค 7. ความไมเ่ สถยี รในระดับของส่ิงของสกปรก
8. ความไม่เสถยี รจากการบิดตวั เย้ืองศนู ย์
5.การบํารุงรักษาเชงิ วศิ วกรรม (Maintenance Engineering)
การบํารงุ รักษาท่ใี ชค้ วามรู้ทางดา้ นวิศวกรรมมาช่วยในการปรบั ปรงุ เคร่ืองจักร (Improvement
Maintenance) รวมไปถงึ การออกแบบเครอื่ งจกั ร เชน่ อปุ กรณ์บํารงุ รกั ษาแบบ อัตโนมตั ิอุปกรณท์ ไี่ ม่
บาํ รุงรักษาเปลี่ยนเม่ือถงึ ครบอายุใช้งาน เปลี่ยนเมือ่ ถึงระยะท่เี ชน่ ปลอกห้มุ แกนสไลน์ทีต่ อ้ งรบั แรงเสยี ดสีแทน
พบว่าข้อเสียของการซ่อมบาํ รงุ รักษาลกั ษณะนี้ไดแ้ ก่ – ต้องใช้ความรู้พน้ื ฐานทางด้านววิ กรรมเป็นหลกั ในการ
ตัดสินใจ
- ใชว้ ศิ วกรรมผู้เชีย่ วชาญเฉพาะด้านมารบั หนา้ วเิ คราะห์ปัญหาตามประเด็นท่ีเกดิ ข้ึนโดย กลุม่ ทตี่ ้อง
รับผิดชอบในงานด้านการซอ่ มบาํ รงุ วา่ Maintenance Engineering โดยมหี นา้ ทีบ่ ทบาทท่ี แตกตา่ งกันตาม
ความสามารถในเชิงชา่ งเฉพาะงานท่ีครอบคลมุ สายงานซ่อมบํารุง
6.ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบํารุงเคร่ืองจกั ร (Maintenance Cost)
6.1 คา่ ใช้จา่ ยในการหยุดเครอ่ื ง (Closing–Down Cost) เปน็ คา่ ใช้จ่ายที่เกีย่ วพันกับการหยุดเคร่ืองแต่
ละคร้งั ซ่ึงทาํ ให้เครอื่ งต้องเสียเวลา อาจสูญเสยี วัตถุดิบหรอื วตั ถสุ าํ เรจ็ รปู ที่ตกคา้ งอย่ใู นเคร่ืองจักรค่าใชจ้ า่ ยนี้
ถอื ว่าเป็นค่าใช้จ่ายคงที่ใน การหยดุ เคร่ืองแต่ละคร้ัง
6.2 คา่ ใชจ้ ่ายสําหรบั เวลาทสี่ ูญเสีย (Down-Time Cost) เป็นค่าใชจ้ ่ายต่อความสญู เสยี โอกาสในการ
ผลติ สนิ ค้าเนื่องจากเครื่องจกั รตอ้ งหยุดทาํ งาน ถอื วา่ เปน็ ค่าใชจ้ ่ายท่ขี น้ึ กับระยะเวลาการหยุดเครื่อง

33

6.3 ค่าใชจ้ ่ายในการเดินเคร่อื งใหม่ (Start-up Cost) เป็นคา่ ใช้จ่ายคงทต่ี ่อการเดินเคร่ืองใหม่

เชน่ เดียวกบั คา่ ใช้จ่ายของการหยุดเครื่อง สรปุ เบ้อื งตน้ ปัจจัยท่ีทําให้เครอ่ื งจักรชํารดุ เสยี หายการบาํ รงุ รักษา

เครอื่ งจักรใหเ้ ป็นไปตามแผนที่ กาํ หนดเอาไวน้ นั้ ไม่สามารถทาํ ให้การชํารุดเสียหายหมดไป เป็นแค่เพยี งลด

โอกาสความเสยี หายให้ น้อยลงไป ดังนนั้ วธิ ีการแกไ้ ขปญั หาที่ดจี ะต้องประกอบไปด้วย คน้ หาสาเหตแุ ก้ไข

ปรับปรุงและ ป้องกัน เกิดจากสาเหตุ

1. การออกแบบเครอ่ื งจักรไมถ่ ูกตอ้ งเหมาะสมสภาพของการผลติ นนั้ ๆ

2. วัสดุทีใ่ นการสร้างเครอื่ งจักรไม่มีคุณภาพหรือไมเ่ หมาะกบั สภาพการผลติ

3. การเสรมิ เทคโนโลยที ่ีไมส่ อดรบั กับระบบของเครอ่ื งจักร เชน่ การเพ่ิมความเร็ว รอบ

4. ข้ันตอนการประกอบที่ไม่เหมาะสม เช่น พืน้ ทีไ่ ม่ได้ระดับ

5. การบาํ รุงรักษา หรอื การใชง้ านไมถ่ กู วธิ ีตามข้ันตอนที่คูม่ อื กาํ หนดไว้

7.หลกั การและทฤษฎกี ารบาํ รงุ รักษาแบบทวผี ลทท่ี ุกคนมสี ว่ นรว่ ม

การบาํ รุงรกั ษาทวผี ล หรือ TPM (Total Productive Maintenance) เปน็ แนว วิถที างปรัชญา

(Philosophy) ตอ่ การบรหิ ารการผลติ โดยจะข้นึ อยกู่ ับลักษณะและขอบเขตของการ ใช้งานโดยมเี ป้าหมายเพอ่ื

ปรบั ปรุงผลสมั ฤทธ์ิในองคก์ รให้สาํ เรจ็ สงู สุด อยู่ในรปู ของมลู ค่าที่สามารถ วดั ผลไดเ้ ชน่ ต้นทุนท่ลี ดลงและ

วธิ ีการควบคุมตน้ ทนุ (Reduction Cost Functional) สนิ คา้ ท่มี ี คณุ ภาพ (Product Quality) การส่งมอบ

สนิ ค้าที่ตรงเวลา (On Time Delivery) รวมไปถงึ ความ ปลอดภยั และส่งิ แวดล้อมในการทํางาน (Safety and

Environment) เร่มิ ต้นจากการดแู ลรกั ษา เคร่ืองจกั รอย่างสม่ำเสมอเพ่ือใหท้ าํ งานไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ใน

การดแู ลรกั ษาเคร่ืองจักร โดยไม่ เป็นหนา้ ทข่ี องช่างซอ่ มบํารงุ เพยี งฝา่ ยเดียว แตล่ ดความสญู เสยี ต่างๆ ท่จี ะ

นาํ ไปสู่ปัญหาอื่นๆ เปา้ หมายสงู สุดของ TPM คือ ปญั หาของการผลติ ตอ้ งเปน็ ศูนยไ์ ด้แก่

Zero Breakdown คอื การลดปญั หาของเครอื่ งจักรเสียให้เปน็ ศูนย์

Zero Defect คอื การลดปญั หาการผลิตของเสยี ใหเ้ ปน็ ศนู ย์

Zero Accident คือ การลดปัญหาการเกดอิ อุบัตเิ หตใุ หเ้ ปน็ ศนู ย์ ซึง่ มขี นั้ ตอนท่ใี ชส้ ําหรบั ช่วยในการ

แกไ้ ขปญั หา เพื่อลดความสญู เสยี ตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ ศูนย์จากความ ร่วมมือของทุกฝา่ ยในองค์กร ผา่ นกิจกรรมของ 8

เสาหลกั TPM หรือเรียกว่า TPM 8 Pillar ประกอบดว้ ย

1. Pillar 1 การปรับปรงุ อย่างต่อเน่ือง (Focused Improvement)

2. Pillar 2 การบาํ รุงรักษาดว้ ยตนเอง (Autonomous Maintenance)

3. Pillar 3 การบาํ รุงรกั ษาตามแผน (Planned Maintenance)

4. Pillar 4 การอบรมทกั ษะการบาํ รุงรกั ษา (Operations Skills Training)

5. Pillar 5 การจัดการเครอ่ื งจักรใหม่ (Early Management)

6. Pillar 6 การบาํ รุงรกั ษาเชิงคุณภาพ (Quality Maintenance)

7. Pillar 7 การบํารงุ รกั ษาสว่ นงานบรหิ าร (TPM in Administrative)

34

8. Pillar 8 ความปลอดภยั และสง่ิ แวดลอ้ ม (Safety and Environment)

2.14 ประเภทของการบำรุงรักษาระบบราง
2.14.1 การบำรุงรักษาระบบราง L NOISE AND VIBRATION
องคป์ ระกอบของทาง (Track Components) และหนา้ ท่ี (Function)

รปู ท่ี 2.10 องคป์ ระกอบของทางแบบชนิดหินโรยทางและความยดื หยุ่นของทางขึน้ กับความหนาหินโรยทาง
การออกแบบความสามารถการรับน้ำหนักของทางขน้ึ อย่กู ับการกำหนดความเร็วและน้ำหนักกดเพลา

สูงสดุ ของชบวนรถ

รปู ท่ี 2.11 การออกแบบความสามารถการรบั นำ้ หนกั ของทาง
ทางประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบหลายส่วนรวมเขา้ ดว้ ยกันเพือ่ รองรับนำ้ หนกั ของลอ้ เลอ่ื น แบ่งออกเป็น
1. การถา่ ยน้ำหนักของล้อเลอื่ นลงส่ทู างโดยเร่มิ จากราง แผน่ รองราง หมอนหินโรยทางจนถึงพืน้ ทาง

ตามลำดับ ดงั นนั้ ทุกองคป์ ระกอบตอ้ งมีความสามารถเพยี งพอในการถ่ายน้ำหนกั ลงสู่พนื้ ทางการถ่ายนำ้ หนัก
(Load Transfer)

รูปที่ 2.12 การถา่ ยน้ำหนกั
การควบคุมสภาพทาง (Track control) แบง่ ออกเป็น

35
1. มิตทิ างเรขาคณิต (Track geometry)

1.1 การวัดคา่ ความคลาดเคล่ือนระดับตามยาวและแนวรางโดยใชไ้ ม้งา่ มและไม้โปร
แทรกเตอร์

1.2 การวดั ดว้ ย Track Geometry Measurement Troiley
1.3 การวดั ด้วยรถตรวจสภาพทาง ตท.2 (EM120 N)
2. มิตเิ รขาคณิตราง (Rail Geometry)
3. รางร้าว (Internal Rail Flaws)
4. ตรวจพ้นื ทางและความสกปรกของหนิ โรยทาง (Rail road Ballast Fouling Detection
หรือ Multi-Tasking Car)
การวัดค่าความคลาดเคลอ่ื นระดบั ตามยาวและแนวรางโดยใชไ้ ม้งา่ มและไม้โปรแทรกเตอร์

รปู ท่ี 2.13 การวดั ค่าความคลาดเคลื่อนระดบั ตามยาวและแนวราง
การวัดด้วย Track Geometry Measurement Trolley

รูปที่ 2.14 การวดั ด้วย Track Geometry Measurement Trolley
การวดั ดว้ ยรถตรวจสภาพทาง ตท.2 (EM120 N)

36

รูปที่ 2.15 การวดั ดว้ ยรถตรวจสภาพทาง ตท.2 (EM120 N)
กราฟแสดงการวดั ดว้ ยรถตรวจสภาพทาง ตท.2 (EM 120 N)

ภาพท่ี 7: กราฟแสดงการวดั ดว้ ยรถตรวจสภาพทาง ตท.2 (EM120 N)
รางสึกและแผลสันราง (Rail Wear, Head Checks, Small, Fissures)

รปู ท่ี 2.16 รางลกึ และแผลสันราง
ตรวจพน้ื ทางและความสกปรกของหินโรยทาง (Railroad Ballast Fouling Detection หรือ Multi-Tasking
Car)

รูปที่ 2.17 ตรวจพื้นทางและความสกปรกของหินโรยทาง (Railroad Ballast Fouling Detection หรอื
Multi-Tasking Car)

5. มติ ทิ างเรขาคณติ (Track geometry) ประกอบด้วย 4 รายการดงั นที้ ่เี กดิ จากการส่นั สะเทือน
(VIBRATION)

37

5.1 ขนาดทาง (Gauge)

รปู ท่ี 2.18 ขนาดทาง (Gauge)
5.2 ระดับตามยาว (Longitudinal level หรอื Surface)

รูปท่ี 2.19 ระดบั ตามยาว (Longitudinal level หรอื Surface)
5.3 แนวราง (Alignment)

รปู ที่ 2.20 แนวราง (Alignment)
2.15 ชนิดของการบำรงุ รักษาระบบราง

2.15.1 การบำรุงรักษาระบบเคร่อื งจกั รกลตามระยะเวลา (Preventive Maintenance)

ประเภทของการบำรงุ รกั ษา

รปู ที่ 2.21 ภาพประกอบจากโรงรถจักรดเี ซลบางซอ่ื ศนู ยซ์ อ่ มบำรงุ ฝ่ายการช่างกล การ
รถไฟแหง่ ประเทศไทย

ระบบทใี่ ช้ในการบำรงุ รกั ษารถไฟ

38

โดยท่วั ไปเราสามารถจำแนกการซ่อมบำรงุ รักษาออกเป็น 2 ประเภท คอื การบำรงุ รกั ษาแบบป้องกนั
ภาษาองั กฤษเรยี กวา่ “Preventives Maintenance: PM” หรือบางทีเรยี กว่า “Planned Preventive
Maintenance: PPM” และการบำรงุ รกั ษาแบตามแก้ ภาษาองั กฤษเรียกว่า “Corrective Maintenance:
CM” กลา่ วด้วยภาษาง่ายๆ คือ PPM เปน็ ระบบซอ่ มเพ่อื บำรุงรกั ษาใหค้ งประสิทธิภาพในการทำงาน เรยี กได้ว่า
เปน็ การดำเนนิ การก่อนทีจ่ ะเกิดการชำรุดซึง่ โดยปกติแล้วหากการดำซ่อมแบบ PM ทำได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
และเหมาะสมแล้วโอกาสทีจ่ ะเกิดการชำรดุ แทบจะไมม่ สี ่วนท่ีเป็นการซ่อมแบบ CM ซ่งึ ปเนระบบซอ่ มเพอื่ ทำ
ของทช่ี ำรดุ แลว้ ให้กลบั มาใช้ไดต้ อ่ ไป

อยา่ งไรกด็ ไี มม่ ีระบบซอ่ มใดทสี่ ามารถขจัดการซอ่ มแบบ CM ใหห้ มดไปโดยส้นิ เชงิ ปกตแิ ล้วการซอ่ ม
จริงในหน้างานจะมีท้งั PPM ผสมกับ CM สิง่ ทตี่ า่ งกนั คอื ถา้ สามารถจดั การระบบ PPM ได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพแล้ว การซอ่ มแบบ CM ซงึ่ กอ่ ปัญหาแกก่ ารเดินรถไฟกจ็ ะมสี ัดส่วนลดลง

ขอ้ ดีของ Planned Preventive Maintenance: PPM/PM

1. สามารถวางแผนการซ่อมและแผนการจัดหาชิน้ สว่ นในการซ่อมบำรงุ ได้
2. คา่ ใชจ้ า่ ยในการซ่อมจะกระจายในระยะเวลาการใชง้ าน/ร้อู ายุการใช้งาน
3. เปน็ ระบบการซอ่ มท่ีมีรวามร้สู กึ ว่า ฟุม่ เฟอื ย มคี า่ ใช้จา่ ยสงู คนทอี่ ยูใ่ นหนา้ งานจำนวนมากทค่ี ดิ วา่

เป็นการ “โยนท้ิง”

ข้อดีข้อเสียของ Corrective Maintenance: CM จะตรงกนั ข้ามกับ PPM คอื วางแผนการซอ่ มยาก
คา่ ใชจ้ า่ ยของกจิ การอาจมากระจกุ ตัวอยูใ่ นปีท่ชี ิน้ สว่ นหมดอายกุ ารใช้งานซง่ึ อาจกระทบสถานะการเงินของ
กจิ การ สง่ิ หนึ่งทค่ี วรคำนงึ ถึง คอื ความเสียหายในทางตรงและทางอ้อมทเ่ี กดิ ขนึ้ หากระบบท่ใี ชว้ ธิ ีการซอ่ ม
แบบ CM เกดิ การชำรุดในระหว่างทำงาน เช่น คา่ เสียหายในการกู้ระบบคนื ชอื่ เสียงของกิจการ เปน็ ตน้ ซง่ึ อาจ
เสยี หายมากกว่าก็เป็นได้

ทำไมจึงต้องมกี ารปรบั แก้อายุการใช้งานของช้นิ สว่ นในการวางระบบซ่อมบำรุง

1. การมีผลประโยชนท์ ่ขี ดั กัน (conflict of interest) ของผ้ผู ลิต (ผ้ขู าย) กบั ผใู้ ช้ดงั กลา่ วแล้วขา้ งตน้
2. อาจมีการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชน้ิ ส่วนทีจ่ ัดหามาใช้ในการซ่อมบำรงุ
3. เม่ือผา่ นประสบการณ์ใชง้ านไประยะหนึง่ แลว้ ผใู้ ช้ประสงคจ์ ะทำการปรับเปล่ียน เน่ืองจากพบว่า

คำแนะนำของผู้ผลิตไม่เหมาะสม

วงจรชีวิตเคร่ืองจักร (Machinery life cycle) หมายถึง ระยะเวลาในชว่ งต่างๆ ดังทไ่ี ดก้ ลา่ วผา่ นมา
ข้างตน้ คอื การเกิดข้ึนของเคร่ืองจักร การเส่อื มสภาพของเครอ่ื งจักร การชำรุดของเคร่ืองจักร และ การสนิ้ อายุ
ไขของเครอ่ื งจกั ร โดยทวั่ ไปที่ยอมรับกนั ในวงการวศิ วกรรมบำรุงรักษาวา่ กราฟ เส้นโคง้ รูปอ่างน้ำ (Bathtub

39

Curve) เปน็ กราฟท่ีใช้อธิบายลกั ษณะเฉพาะท่ีมักจะเกิดข้นึ กบั เครื่องจกั รกลโดยทัว่ ไปโดยที่สามารถแบ่งช่วง
ชีวติ เครอื่ งจกั รเป็น 3 ช่วงใหญๆ่ คอื ชว่ งระยะเรมิ่ ต้นใชง้ าน (Burn-in) ชว่ งใชง้ านปกติ (Useful life) และชว่ ง
ระยะเวลาสึกหรอ (Wear out)

รูปท่ี 2.22 แสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างระยะเวลาใชง้ านกบั อตั ราการขดั ข้อง

1. การซอ่ มบำรุงทางกลลำฟฟา้ ของยานพาหนะของระบบราง (mechanical and Electrical
Maintenance of Railway Vehicles)

1.1การบำรุงรกั ษาระบบเครอ่ื งจักรกล เมอ่ื ตรวจพบ (Preventive & Corrective Maintenance)
แบง่ ออกเปน็

รถจักร HID

ขอ้ มลู เคร่ืองยนต์

ชนดิ รถจักร Diesel Electric Locomotives

แรงม้า 2 * 1,450 HP @ 1,800 rpm

เครื่องยนต์ 2 เครอื่ ง

ความจถุ ังเชือ้ เพลงิ 5,000 ลิตร

ความเร็วสูงสุด 100 กโิ ลเมตร ตอ่ ชว่ั โมง

ท่อไอเสยี ชนดิ มีนำ้ หลอ่ เยน็ wet type manifold

น้ำระบายความร้อนเครอื่ งยนต์ 265 ลติ ร ต่อเครื่อง

น้ำมนั หล่อลื่นเครอื่ งยนต์ 375 ลติ ร ตอ่ เครอ่ื ง

Configuration Management เปน็ เทคนคิ ท่ชี ่วยในการบริหารจดั การและควบคมุ การเปล่ียนแปลง
ทุกอยา่ งทเี่ กิดขน้ึ ในระบบ ไม่ว่าเปน็ ขน้ั ตอนการกำหนดความต้องการ การออกแบบ การเขียนคำสัง่ การ

40

ทดสอบและเอกสารเพือ่ ใชส้ ำหรับอา้ งองิ ในการแกไ้ ขในโมดลู ต่างๆหรอื อ้างองิ กับเอกสารอนื่ ๆท่มี ผี ลกระทบใน
การปฏบิ ตั งิ านตา่ งๆ โดยทมี งานในการบำรุงรักษาระบบจะใช้เอกสารอ้างอิงน้ีเพอ่ื ประเมินผลกระทบต่างๆ จาก
การเปลีย่ นแปลงโมดูลตา่ งๆในระบบ โดย Configuration Management Team จะประกอบไปดว้ ย

1. นกั วเิ คราะห์ระบบท่ที ำงานกับผู้ใช้เพื่อกำหนดถงึ ปัญหา
2. โปรแกรมเมอรท์ ี่ทำงานกับนักวเิ คราะห์ระบบเพอ่ื หาตำแหนง่ ท่ีเกิดปัญหาในระบบ
3. Program Librarians จะทำงานกบั นักวเิ คราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์เพือ่ เก็บบันทกึ ในสว่ น
ของการออกแบบทแี่ ก้ไข, คำสั่งที่แกไ้ ขและบันทกึ ถึงการปรบั ปรงุ เอกสารต่างๆท่มี ีการแก้ไขเกิดข้ึนในระบบ
โดยทีมงานนี้จะทำงานติดต่อกับตวั แทนของลูกค้าเพ่อื รับคำสงั่ ต่างๆในการปรับเปลย่ี น Configuration
Control Board หรอื Change Control Board ประกอบดว้ ยตัวแทนของลูกคา้ และสมาชกิ ของ
Configuration Management Teams จะชว่ ยในการแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆ ดงั นี้
1. Naming: สว่ นประกอบอะไรบ้างของระบบทีต่ ้องมกี ารเปลีย่ นแปลง?
2. Authentication: การรบั รองวา่ เปน็ ของแท้ คือ การเปลย่ี นแปลงทำอยา่ งถกู ตอ้ ง?
3. Authorization: ใครไดส้ ทิ ธหิ รือกระทำการเปล่ยี นแปลง?
4. Routing: ใครเป็นผู้ตดิ ต่อเพ่อื ขอทำการใหเ้ ปล่ยี นแปลง?
5. Cancellation: ใครสามารถยกเลิกหรือต้องการให้เปลย่ี นแปลง?
6. Delegation: ใครรบั ผิดชอบสำหรับการเปลย่ี นแปลง?
7. Valuation: มรี ะดบั ความสำคญั อะไรในการเปลี่ยนแปลง?

กระบวนการจดั การทด่ี จี ะช่วยในการควบคมุ ลำดบั ขัน้ ตอนหรอื กระบวนการต่างๆในการบำรงุ รักษา
ระบบใหม้ ปี ระสิทธภิ าพดียิ่งขน้ึ

2.16 สรปุ ทฤษฎีและผลงานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง
รปู แบบของงานบํารงุ รักษาในแต่ละ่ กลุ่มอตุ สาหกรรมนน้ั จะมลี กั ษณะการดาํ เนนิ ด้าน การดแู ล
บํารงุ รกั ษาเครื่องจกั รทแี่ ตกตา่ งกันออกไปตามรูปแบบของการผลติ ทีม่ คี วามแตกต่างของ ขั้นตอนการทํางานที่
แตกต่างกันออกไป ถงึ แมว้ ่าจะได้วางแผนและกําหนดการควบคมุ ต่างๆ ไวเ้ พ่อื ให้ กิจการดําเนนิ ไปไดห้ าก
เครอ่ื งจกั รอุปกรณ์เกิดการเสอื่ มสภาพ ขัดข้อง หรอื ชาํ รดุ เสียหาย อาจทาํ ให้ผลิตภณั ฑท์ ผ่ี ลติ มคี ณุ ภาพไมไ่ ด้
ตามข้อกําหนด หรอื ทําให้การผลิตต้องหยุดชะงักไดซ้ ง่ึ จะมีผลให้ ต้นทุนการตรวจสอบและตน้ ทนุ การผลิต
โดยรวมสงู ขน้ึ ดังนัน้ ในการบริหารการจดั การทด่ี ีจึงตอ้ ง รกั ษาความสามารถในการผลิตไวใ้ นขณะเดียวกันจะ
รักษาตน้ ทุนการซ่อมบํารงุ และต้นทุนการเสียของ เครอ่ื งจกั รให้อยูภ่ ายใต้การควบคุม โดยจะต้องมีความรู้ความ
เขา้ ใจในงานผลติ และการบรหิ ารงาน บาํ รุงรกั ษาเป็นอยา่ งดีเพ่อื รักษาสภาพ หรือยกสภาพของเครอ่ื งจักรและ
อุปกรณต์ า่ งๆ ให้ไดม้ าตรฐาน ท่ีกําหนดหรอื อีกนัยหน่งึ

41

เป้าหมายทส่ี าํ คัญของการบํารุงรักษา คือ การดูแลรกั ษาเครือ่ งจักรสามารถทาํ งาน อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพอยา่ งเปน็ ระบบแบบแผนเพอื่ ควบคุมมาตรฐานในงานบาํ รงุ รกั ษา ดังน้นั วธิ บี รหิ าร จัดการดา้ น
การบํารุงรักษาเครอื่ งจกั รท่ดี จี ะตอ้ งรูแ้ ละเขา้ ใจวา่ ในการจดั การบํารุงรกั ษา ขอ้ มลู การ บํารุงรกั ษาที่นํา
วเิ คราะห์ตดั สินใจ จะต้องผ่านขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานพรอ้ มท้ังอาการหรอื ปรากฏการณต์ ่างๆ ผู้ท่ี
พบเหน็ และเก่ียวขอ้ งเปน็ อนั ดับแรก คือ พนักงานผใู้ ช้เคร่ืองจักรมีสว่ นร่วม สําคัญควรจะสรา้ งความร้พู ้นื ฐาน
เกยี่ วกบั บํารุงรกั ษาเคร่ืองจักรของตนเอง เชน่ การทําความสะอาด การ หลอ่ ล่นื และการตรวจสอบด้วย
ประสาทสัมผสั เปน็ ต้น แนวคดิ ของการบาํ รุงรกั ษาทวผี ลจึงเปน็ แนวคิดทสี่ รา้ งความเจรญิ กา้ วหนา้ อย่างมนั่ คง
ใหก้ บั สายการผลิต ทีม่ ุง่ กําจดั ความสญู เสยี 6 ประการ เพอ่ื ส่งผลใหป้ ระสิทธภิ าพการผลติ สูงขน้ึ ลดการสญู เสีย
ของผลติ ภณั ฑ์นอ้ ยลงและลดลงตน้ ทนุ
2.17 ตัวอยา่ งโรงศูนย์ซ่อมบำรงุ รถไฟฟ้าสายสเี หลอื ง

2.17.1 แนวคิดในการออกแบบศนู ยซ์ อ่ มบำรงุ

แนวคดิ ในการออกแบบกลุ่มอาคารศูนย์ซ่อมบาํ รงุ และอาคารจอดรถ คอื การใช้แสงธรรมชาติและ การระบาย
ลม เนือ่ งจากเป็นอาคารทมี่ ชี ว่ งกว้างและความสงู ค่อนขา้ งมาก การระบายลมและแสงธรรมชาตจิ งึ มาจาก
บรเิ วณหลงั คา สว่ นศูนยค์ วบคมุ การเดนิ รถ (Operation Control Centre, OCC) ใชใ้ นการควบคมุ การ เดินรถ
ทง้ั หมดจงึ ต้องคาํ นงึ ถงึ ความปลอดภัย ต้องมีการควบคมุ จาํ กดั การเข้าออก ในขณะเดยี วกนั หอ้ งควบคมุ หลัก
เป็นห้องท่ีมผี ู้สนใจในการเยี่ยมชมสูง จึงต้องจัดห้องเยยี่ มชมทีส่ ามารถทาํ ไดโ้ ดยไม่รบกวนการทํางานของ
เจ้าหน้าท่ี

2.17.2 การจดั การจราจรภายในพ้ืนทศี่ นู ยซ์ อ่ มบำรุง

1) สภาพการจราจรท่วั ไปโดยรอบพื้นทีศ่ ูนย์ซ่อมบาํ รงุ
ศนู ย์ซอ่ มบาํ รุง ต้ังอยู่บรเิ วณทางแยกตา่ งระดับศรเี อีย่ ม รมิ ถนนศรนี ครนิ ทร์ ขนาด 6 ช่องจราจร ในปี พ.ศ.
2551 ปรมิ าณจราจรบนถนนศรีนครนิ ทรใ์ นช่วงเวลาเร่งด่วนเชา้ (7.00 - 8.00 น.) มีปรมิ าณ 7,277 คนั และ
ช่วงเวลาเรง่ ด่วนเย็น (17.00 - 18.00 น.) มปี รมิ าณ 6,587 คนั จํานวนรถท่ีคาดว่าจะเข้ามาใชพ้ ื้นท่ศี ูนยซ์ อ่ ม
บํารุงมีประมาณ 250 คัน/วนั โดยจะมผี ลกระทบตอ่ ถนนศรีนครนิ ทรเ์ ฉพาะชว่ งเวลาเร่งด่วนเช้าและเรง่ ดว่ น
เยน็ และไม่มผี ลกระทบต่อสภาพการจราจรเมือ่ เทยี บกับความจขุ องจํานวนชอ่ งจราจรบนถนนศรีนครินทร์ที่รับ
ได้ และภายในพน้ื ทศี่ นู ยซ์ อ่ มบาํ รุงมถี นนคอนกรตี เสริมเหลก็ มที ิศทางการเดนิ รถ 2 ทศิ ทาง ขนาดความกว้าง
ของ ทางเข้า - ออกเชอื่ มตอ่ กบั ถนนกว้างรวม 18 เมตร ชอ่ งจราจรเขา้ - ออกกว้าง 14 เมตร ทั้งสองทศิ ทาง
และ มีทางเทา้ ขนาด 2 เมตรทัง้ สองฝั่ง
2) แนวทางการจัดการจราจรภายในพ้ืนทีศ่ นู ยซ์ อ่ มบาํ รงุ โดยถนนและทางเขา้ - ออกภายในพ้ืนท่ี ศูนยซ์ อ่ ม
บํารุงจดั ให้มีระบบทิศทางการเดนิ รถเป็นแบบ 2 ทศิ ทาง (รปู ท่ี 2.23 )โดยถนนภายในโครงการ แบ่งเปน็ 3 สว่ น

42

คือ ถนนภายในอาคารสํานักงานและศูนยค์ วบคุมการเดินรถ ถนนภายในพื้นที่โรงซ่อมบาํ รงุ และพน้ื ทจ่ี อด
รถไฟฟ้าและถนนบรกิ ารรอบศนู ย์ซอ่ มบาํ รุง

2.1) การเดนิ รถภายในอาคารสาํ นักงานและศูนยค์ วบคุมการเดินรถ พบว่า อาคารสํานกั งาน และศนู ย์
ควบคุมการเดนิ รถตัง้ อยู่ลกึ เขา้ มาในพนื้ ทีศ่ ูนย์ซ่อมบํารงุ โดยได้มกี ารจัดเตรียมลานจอดรถสาํ หรับ พนกั งานไว้
โดยเฉพาะ โดยอย่ตู ดิ กบั อาคารสาํ นกั งานและศนู ย์ควบคมุ การเดินรถ

2.2) การเดนิ รถภายในพื้นทโี่ รงซ่อมบํารงุ และพ้นื ทจี่ อดรถไฟฟา้ ในการเขา้ ถึงพื้นที่จะตอ้ งว่ิง ขึน้ ทางลาด
ผา่ นจุดตรวจด้านหน้า ถนนบรเิ วณบน Platform จะเช่อื มอาคารตา่ ง ๆ เขา้ ด้วยกัน อาคารทต่ี ้องมี ถนนบรกิ าร
เพอื่ ให้รถยกของ (Forklift) และรถบรรทกุ เข้าถงึ ไดแ้ ก่ โรงกลึงลอ้ ใตพ้ ื้นรถไฟฟา้ โรงวินิจฉยั ล้อ โรงเก็บวสั ดุ
อันตราย โรงเก็บขยะ โรงลา้ งรถไฟฟา้ โรงซ่อมบาํ รุงหนักและเบา โรงเกบ็ วัสดตุ ่าง ๆ โรงซ่อมบาํ รงุ ทางรถไฟฟา้
และสถานีไฟฟา้ ย่อย ท้ังน้ีถนนภายในพื้นที่มคี วามกวา้ งตัง้ แต่ 6 - 15 เมตร ถนนสว่ นใหญใ่ ช้เป็น เสน้ ทางขนส่ง
อุปกรณ์และเครื่องจกั รต่าง ๆ เชน่ ขบวนรถไฟฟา้ ระบบไฟฟ้าและอื่น ๆ โดยการใชถ้ นนภายใน พนื้ ที่ใน
ชว่ งแรกกอ่ นเปดิ โครงการและบางครง้ั ที่มีการสั่งอุปกรณแ์ ละเครื่องจักรเพ่มิ

2.3) ถนนบริการรอบศูนยซ์ อ่ มบํารุง (Service Roads) มไี ว้เพอ่ื ตรวจดูแลความปลอดภัย บรเิ วณรอบศูนย์
ซอ่ มบํารุงและเปน็ ถนนเช่อื มอาคารบริหารและศนู ยค์ วบคุมการเดนิ รถ หอพักและสาํ นักงาน พนักงานขบั
รถไฟฟา้ เข้าด้วยกัน และอยู่ระดบั เดียวหรอื ใกล้เคยี งกับถนนนอกศนู ยซ์ ่อมบาํ รงุ ถนนบริการ ทง้ั สองแบบถกู
ออกแบบใหร้ ถดบั เพลิงเข้าถึงทกุ อาคารได้

43

44
รปู ที่ 2.23 แผนผงั ถนนทใี่ ชใ้ นการสญั จรภายในพน้ื ท่ีศูนยซ์ อ่ มบำรุง

45

2.17.3 แผนผงั และองค์ประกอบของศนู ยซ์ ่อมบำรุง
แผนผงั ของศนู ย์ซ่อมบํารุงบริเวณทางแยกตา่ งระดบั ศรเี อ่ยี ม ดังแสดงในรปู ท่ี 2.24 และผังรายละเอยี ดของ
องคป์ ระกอบในศูนยซ์ อ่ มบาํ รงุ ดังแสดงรปู ที่ 2.25 โดยองคป์ ระกอบอาคารทีจ่ ําเป็นสําหรับศูนย์ซ่อมบํารุงมี
ท้งั สิ้น 14 อาคาร ไดแ้ ก่
1) โรงซ่อมบาํ รุงหลัก (Main Workshop Building) ไดแ้ ก่ โรงซ่อมบํารงุ เบาและซอ่ มบํารุงหนกั และสํานักงาน
กับโรงซอ่ มต่าง ๆ และมหี ้องเกบ็ วสั ดุและสว่ นซอ่ มแคร่อยใู่ นโรงซอ่ มบํารงุ หลกั ส่วนการเปลย่ี นล้รถไฟฟ้าและ
โรงทําสีอย่ใู นโรงซอ่ มบํารงุ หลักทาํ ใหม้ ีพ้นื ที่สํารองท่จี ะขยายเป็นส่วนซ่อมรถไฟไดเ้ พิม่ เติมในอนาคต โดย
ทศั นียภาพของโรงซ่อมบาํ รุงหลกั ดงั แสดงในรปู 2.26 สว่ นแผนผังโรงซอ่ มหลกั ดังแสดงในรูปที่ 2.27 และ
ลักษณะภายในโรงซอ่ มบาํ รงุ หลัก ดังแสดงในรูปที่ 2.28 ส่วนประกอบหลักของโรงซอ่ มบํารงุ หลกั มีดังนี้

1.1) โรงซอ่ มบํารุงเบา (Light Maintenance Workshop) มีกจิ กรรมงานบํารุงรกั ษาเบา
ประกอบดว้ ย การเตรียมความพร้อมของรถไฟฟ้าเพื่อการให้บริการเทย่ี วตอ่ ไป เช่น การตรวจสอบนาํ้ ทล่ี า้ ง
กระจกหนา้ การตรวจสอบสารหล่อล่นื ฯลฯ และงานประจาํ ในการรกั ษาใหค้ งความพร้อมในการทาํ งานของ
รถไฟฟ้า (Routine Function Control) เชน่ การตรวจสอบ (Inspection) การทาํ ความสะอาดภายในและ
ภายนอกต้รู ถไฟฟา้ การซ่อมเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ (Minor Repairs) การถอดและเปลีย่ นอุปกรณท์ ่ีติดตง้ั หลังคา
รถไฟฟ้า (เช่น เครื่องปรบั อากาศ ฯลฯ) และมีพ้นื ที่ยกระดับเพ่อื ทํางานบนหลงั คา (Roof Working Platform)

1.2) โรงซอ่ มบาํ รงุ หนกั (Heavy Maintenance Workshop) งานทั่วไปสําหรับโรงซอ่ มบาํ รงุ หนกั
ไดแ้ ก่ การซอ่ มบาํ รุงหลกั (Major Overhaul) การเปล่ยี นหรอื ซ่อมแคร่ (Bogie Exchange or Repair) การ
ซอ่ มแซมหนัก (เปล่ยี นชน้ิ สว่ นหนกั จากใต้พ้นื ) การบํารุงรกั ษาทั่วไป (Regular Maintenance) การเปลย่ี น
อะไหล่ (แบตเตอร่ี Compressor เครอ่ื งมอื อเิ ลคทรอนกิ ส)์ การซ่อมแซมตวั รถไฟฟา้ (Body Repair)การ
เปลีย่ นยางล้อ และการทําสี (Painting)

1.3) สาํ นกั งานและห้องซ่อมต่าง ๆ (Office and Workshops) เช่น หอ้ งฝกึ อบรม หอ้ งประชุมหอ้ งซ่อม
เบรก และหอ้ งซ่อมประต-ู หน้าต่าง ฯลฯ

ก) ห้องซ่อมตา่ ง ๆ ได้ออกแบบให้อยูบ่ รเิ วณชน้ั ลา่ งระหว่างโรงซ่อมบาํ รงุ เบาและหนกั เพราะเปน็ สว่ นที่
คอ่ นขา้ งไม่สะอาดหากเปรยี บเทียบกบั สว่ นสํานกั งานท่ีบรเิ วณชนั้ บน

ข) สาํ นกั งานบรหิ ารด้านวศิ วกรรมและการซอ่ มบํารงุ จะมสี ํานักงานแยกจากกันและอยู่ระหวา่ งโรง
ซ่อมบาํ รุงเบาและหนกั เพ่อื ดแู ลโรงซอ่ มทง้ั สองได้อยา่ งใกลช้ ดิ

ค) หนว่ ยงานท่มี หี น้าท่ีเก่ียวกับการซ่อมรถไฟฟ้า (Rolling Stock) อยู่บนบริเวณชั้นลา่ งและช้ันสอง
ของโรงซอ่ มบาํ รุงหลกั สํานกั งานของหัวหนา้ คนงาน (Foremen) มหี น้าตา่ งท่มี องเหน็ กจิ กรรมต่าง ๆ
ภายในโรงซ่อมบํารงุ เบาและหนักได้ชัดเจน รวมทงั้ บริเวณชัน้ ล่างยงั มหี อ้ ง Locker และหอ้ งนํ้าสําหรบั พนักงาน
ซอ่ มบํารุงและหอ้ งพักผ่อนขนาดเลก็

ง) โรงซอ่ มบํารุงเบาและหนกั ไดไ้ ด้ออกแบบให้อยูร่ วมกนั เพ่อื ใชพ้ นื้ ท่ีได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

46

ประกอบด้วยโต๊ะทํางานซ่อมบาํ รงุ (Work Benches) กลอ่ งเคร่อื งมือ (Tool Boxes) ชนั้ สาํ หรับจัดวางชิ้นสว่ น
อะไหล่ท่ใี ชเ้ ปลยี่ นและวสั ดตุ า่ ง ๆ (Shelves for Replacement Parts and Material) อปุ กรณส์ าํ หรบั
ทดสอบและเครือ่ งวดั (Test and Measuring Devices) โดยอุปกรณท์ ี่จะนาํ มาใช้งานจะต้องสามารถใชง้ านได้
สอดคลอ้ งกับรถไฟฟา้ ทีจ่ ัดหาดว้ ย รวมท้งั บริเวณใกลเ้ คยี งสว่ นซ่อมแคร่ (Bogie Repair) มีสว่ นทด่ี าํ เนินการ
เกี่ยวกบั ระบบหา้ มล้อ (Brakes) มอเตอร์ไฟฟ้าและอปุ กรณ์ถา่ ยทอดกาํ ลงั (Electric Motors and Gears)
อุปกรณ์รับกระแสไฟฟ้า (Current Collectors) แบตเตอรี่ (Auxiliary Batteries) สวิทชห์ ลัก (Main
Switches)


Click to View FlipBook Version