47
รปู ที่ 2.24 แผนผังศูนย์ซ่อมบำรงุ บรเิ วณทางแยกตา่ งระดับศรเี อยี่ ม
48
รปู ท่ี 2.25 รายละเอียดของอาคารภายในศนู ยซ์ ่อมบำรงุ (1/16)
49
รปู ท่ี 2.25 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรงุ (2/16)
50
รปู ท่ี 2.25 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรงุ (3/16)
51
รูปท่ี 2.25
รายละเอยี ดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรุง(4/16)
52
รปู ท่ี 2.25 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรงุ (5/16)
53
รปู ท่ี 2.25 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรงุ (6/16)
54
รปู ท่ี 2.25 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรงุ (7/16)
55
รปู ท่ี 2.25 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรงุ (8/16)
56
รปู ท่ี 2.25 รายละเอียดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรงุ (9/16)
57
รปู ท่ี 2.25 รายละเอยี ดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรุง(10/16)
58
รปู ท่ี 2.25 รายละเอยี ดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรุง(11/16)
59
รปู ท่ี 2.25 รายละเอยี ดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรุง(12/16)
60
รปู ท่ี 2.25 รายละเอยี ดของอาคารภายในศูนยซ์ ่อมบำรุง(13/16)
61
รปู ท่ี 2.25 รายละเอยี ดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรุง(14/16)
62
รปู ท่ี 2.25 รายละเอยี ดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรุง(15/16)
63
รปู ท่ี 2.25 รายละเอยี ดของอาคารภายในศูนย์ซ่อมบำรุง(16/16)
64
รปู ท่ี 2.26 ทศั นยี ภาพของโรงศูนย์ซอ่ มบำรงุ หลัก (Main Workshop)
รูปที่ 2.27 แผนผงั โรงซ่อมบำรงุ หลกั (Main Workshop)
65
รูปที่ 2.28 ลกั ษณะภายในโรงซ่อมบำรงุ หลัก (Main Workshop)
เคร่ืองมอื ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electric and Electro-Mechanic) (เช่น อุปกรณป์ ระตู (Door
Mechanism)เคร่ืองอดั อากาศ (Compressors) และอุปกรณ์อาณตั ิสญั ญาณ (Signaling) ฯลฯ) และอปุ กรณ์
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Equipment) เชน่ อุปกรณเ์ ก่ยี วกับการควบคมุ รถ (Vehicle Control) วิทยุ
(Radio) การแจ้งขา่ วสารผู้โดยสาร (Passenger Information) กระจกและการงานตกแต่งภายใน ฯลฯ
1.4) หอ้ งเก็บวสั ดุ (Material Storage) ใชเ้ ก็บอะไหล่สาํ หรบั ซอ่ มบาํ รุงรถไฟฟา้ ในการเกบ็ วัสดุ
ใช้ระบบการเกบ็ วสั ดแุ บบ Pallet Storage System และรถยกท่ใี ช้มี 2 ประเภท ได้แก่ Electric Powered
Forklift Truck และ Reach Truck ฯลฯ
1.5) โรงซ่อมแคร่ (Bogie Repair Facility) ใชส้ าํ หรบั ยกตัวแคร่ (Bogie) ออกจากตัวรถ(Car Body)โดยการ
แยกตวั แคร่ของระบบ Monorail ใชว้ ธิ หี ยอ่ นตัวแคร่ (Bogie Drop) ไปยดึ กับคานรางหลกั (Main Track
66
Beam)และคานสามารถหมุนยกขึ้นหรอื ยกลงได้ และรูปแบบรายละเอยี ดทางวิศวกรรม(Engineering
Specification) ของโรงซ่อมแคร่ของระบบ Monorail ดังแสดงในรปู ที่ 2.29
1.6) โรงวินจิ ฉยั ล้อและเปลย่ี นยางล้อ (Wheel Diagnostic and Tyre Replacement Facility)ภายหลังจาก
รถไฟฟ้าเปิดให้บริการไประยะเวลาหนึง่ สภาพยางลอ้ จะเรมิ่ สึกหรอเน่อื งจากการเสียดสรี ะหวา่ งลอ้ กับยาง จงึ
จาํ เปน็ ตอ้ งมีการกอ่ สรา้ งโรงวนิ ิจฉัยยางลอ้ ไว้เพอื่ ตรวจสอบสภาพของยางลอ้ เปน็ ระยะ ๆ ตามช่วงเวลาหรื
ระยะทางท่ีทางโรงงานผลิตยางลอ้ ไดก้ ําหนดตารางเวลาการบํารุงรกั ษาไว้ โดยเครื่องมอื ตรวจวนิ ิจฉัยล้อและ
เปลยี่ นยางล้อ ดังแสดงในรูปท่ี 2.30 และสภาพภายในของโรงวนิ จิ ฉยั ยางล้อ ดงั แสดงในรูปที่ 2.31
1.7) โรงทําสี (Paint Shop) ระบบรถไฟฟ้าจําเปน็ ตอ้ งทําสีเป็นคร้งั คราว เนอื่ งจากอบุ ัตเิ หตุและสภาพแวดล้อม
ดังสรุปได้ดงั นี้
ก) ห้องทาํ สีภายในศูนย์ซ่อมบํารงุ เปน็ หอ้ งท่ีจดั เตรยี มไว้สําหรบั การดแู ลและบาํ รุงรักษาสี
ของตัวรถไฟฟา้ ซง่ึ ได้ทาํ สีต้งั แตข่ ้นั ตอนการผลิตจากโรงงานผลิตรถไฟฟ้าในต่างประเทศ การใช้งานสว่ นใหญ่
เป็นการติดสต๊ิกเกอร์ป้ายขา้ งตวั รถไฟฟา้ โดยห้องทําสีไดอ้ อกแบบให้ปลอดจากฝนุ่ ละอองและสามารถทํางาน
ไดส้ ะดวกและมคี ณุ ภาพ การทาํ สีใหม่ใหก้ บั ตัวรถไฟฟ้าจะดาํ เนินการเมื่อรถไฟฟา้ เกดิ อบุ ัติเหตุและสขี องตวั
รถไฟฟา้ ซึง่ มโี อกาสเกิดขน้ึ น้อยมากหรอื ตามอายกุ ารใชง้ านของสที ่ีจะตอ้ งทาํ สีใหม่ทุก 10 - 15 ปี
ข) หอ้ งทาํ สมี ลี กั ษณะเปน็ ห้องท่ีมกี ารปดิ มิดชดิ มรี ะบบกําจัดมลพษิ จากสีท่ีจะนํามาใช้ โดยไมม่ ีผลกระทบ
กับบรเิ วณอ่นื ๆ สที ่ใี ชเ้ ปน็ ประเภท Water - Based Color ท่มี ีมลพษิ ตำ่ หรอื สีประเภทอื่น ๆ ที่มมี ลพิษตำ่ ตาม
เทคนิคของผู้ผลิตรถไฟฟ้า รวมทงั้ ขยะมูลฝอยท่ีเกดิ จากกระบวนการพน่ สีจะถูกแยกเก็บรวบรวมในภาชนะแยก
เฉพาะและส่งกาํ จัดรวมกบั ขยะอันตรายโดยหนว่ ยงานทรี่ บั กาํ จัดขยะมูลฝอยอนั ตรายโดยเฉพาะ
2) อาคารบริหารและศนู ยค์ วบคุมการเดนิ รถ (Administration Building and Operation Control Center)
ประกอบด้วย หอ้ งประชมุ ห้องพกั ผอ่ น ห้องควบคุมระบบไฟฟ้า ห้องมน่ั คง (Strong Room) ห้องหมอ้ แปลง
ไฟฟ้า (Transformer Room) หอ้ งเครื่องทําน้าํ เย็นและเคร่อื งสบู น้าํ (Chiller and Pump Room) หอ้ ง
แบตเตอร่ี (Battery Room) ห้องระบบไฟฟ้าสํารอง (UPS Room) หอ้ งไฟฟ้าแรงดันตา่ํ (Low Voltage
Room) ห้องควบคมุ การเดนิ รถ (Central Traffic Control) ระบบควบคุมและเกบ็ ข้อมูล (SCADA) หอ้ งเก็บ
สารดบั เพลิง(Gas Bottling Room) ฯลฯ โดยศูนยค์ วบคุมการเดนิ รถ (Operation Control Center หรือ
OCC) เปน็ ศูนย์กลางการควบคมุ และตดิ ตามการปฏิบตั งิ านของระบบรถไฟฟา้ ทั้งหมดระหวา่ งและภายหลังการ
ใหบ้ ริการแกป่ ระชาชนและเจา้ หน้าที่สามารถควบคุมระบบต่าง ๆ ได้ดังน้ี
2.1) ควบคุมการเดินรถไฟฟ้าใหเ้ ปน็ ไปตามตารางเวลาในช่วงปกตแิ ละสามารถตอบสนอง
ต่อสถานการณ์ทผ่ี ดิ ปกติ รวมทง้ั สถานการณ์ฉุกเฉิน ท้ังน้ีเพ่ือใหก้ ารเดินรถมปี ระสิทธิภาพสูงและเกดิ ความ
ปลอดภัยต่อผโู้ ดยสาร
2.2) ควบคุมการทํางานของระบบสนับสนนุ การเดินรถไฟฟา้ เชน่ ระบบจา่ ยพลงั งานไฟฟ้า และ
ระบบระบายอากาศ ฯลฯ
67
2.3) ควบคมุ การติดต่อส่ือสารทง้ั กับเจา้ หน้าที่ในระบบและสือ่ สารตอ่ ผโู้ ดยสาร
รูปท่ี 2.29 รูปแบบข้นั ตอนการหมุนและยกขน้ึ ยกลงของคานรางของระบบ Monora
รปู ท่ี 2.30 เครอื่ งมอื ตรวจวินจิ ฉัยลอ้ และเปลีย่ นยางล้อ
68
รูปที่ 2.31 สภาพภายในของโรงวนิ จิ ฉัยยางล้อ
3) อาคารอน่ื ๆ (Other Buildings)
3.1) โรงซอ่ มบํารงุ ทางรถไฟฟ้า (Permanent Way Workshop Building)อยู่ใกล้โรงซ่อมบํารุงหลัก
มีไว้เพือ่ เกบ็ ราง (Rails) และรางจ่ายไฟ (Third Rails) และยงั ใชเ้ ป็นท่บี าํ รงุ รักษา จอดรถและเตมิ เชอื้ เพลงิ
สาํ หรบั รถบรกิ าร (Service Vehicles) ทัศนยี ภาพและแปลนของโรงซอ่ มบาํ รุงทางรถไฟฟ้าดังแสดงในรูปที่
2.32ภายในโรงซ่อมบํารงุ ทางรถไฟฟ้ามีเคร่อื งมือและอุปกรณส์ ําหรับเปลยี่ นราง ประแจและทางตัดประแจและ
มพี นื้ ท่ีเพียงพอสําหรบั งานเชอ่ื ม นอกจากน้ียงั มีทีเ่ กบ็ วัสดุทไ่ี มม่ ีหลังคาคลมุ อยภู่ ายนอกโรงซ่อมและท่ีเก็บวสั ดทุ ่ี
มหี ลงั คาคลุมเพือ่ เก็บราง รางจา่ ยไฟ ทางตดั ประแจและตวั เปลี่ยนทศิ ทาง โดยอกี ด้านหนงึ่ ของโรงซ่อมบาํ รงุ จะ
มีโรงซ่อมงานราง ทเี่ กบ็ งานราง ท่ีเกบ็ อปุ กรณ์อาณตั ิสญั ญาณและสํานกั งานที่เกี่ยวข้องจากการทบทวน
โครงสรา้ งของโรงซ่อมบาํ รงุ ในชว่ งประแจโดยท่วั ไปแลว้ ภายในโรงซอ่ มบํารงุ ของระบบไฟฟา้ Monorail จะมี
Switching แบบที่ควบรวม 2, 3, 4 หรือ 5 เส้นทาง รวมเหลอื เส้นทางเดยี วได้ ตัวอย่างดังแสดงในรูปที่ 2.33
และรูปท่ี 2.34
3.2) โรงจอดรถไฟฟ้า (Stabling Yard Building) ใช้เปน็ ทีจ่ อดรถไฟฟ้าและเปน็ ท่สี าํ หรบั ทาํ ความสะอาด
ภายในตวั รถ จงึ มีหอ้ งเก็บของทําความสะอาด (Train Cleaner Room) ท่แี ต่ละปลายของอาคารจอดรถไฟฟ้า
เพ่อื ความสะดวกของพนักงานทําความสะอาด ทัศนยี ภาพของโรงจอดรถไฟฟ้า ดังแสดงในรูปที่ 2.35 แปลน
และรปู ตัดของโรงจอดรถไฟฟา้ ดังแสดงในรูปที่ 2.36 มคี วามจุเทา่ กับ 18 x รถไฟฟา้ ขนาด 6 คนั ต่อขบวน
(18x6 - Car Trains) หรือเทา่ กบั รถไฟฟา้ 108 ตู้
69
รูปที่ 2.32 ลักษณะอาคารโรงซอ่ มบำรุงทางรถไฟฟ้า
70
รปู ที่ 2.33 ตวั อยา่ งกรณี Switching ทคี่ วบรวม 3, 4 และ 5 เส้นทางเป็นเสน้ ทางเดียวของ Osaka Monorail
Depot
รปู ท่ี 2.34 ตัวอย่างกรณี Switching ท่คี วบรวม 4 เส้นทางเป็นเสน้ ทางเดยี วของ
KL Monorail Depot
71
รูปที่ 2.35 ลกั ษณะโรงจอดรถไฟฟ้า (Stabling Yard)
รปู ที่ 2.36 ลานจอดรถไฟฟา้
3.3) ศาลาทดสอบรถไฟฟ้า (Test Track Shelter) ตั้งอยบู่ รเิ วณปลายทง้ั สองข้างของราง
ทดสอบเพ่ือใหท้ มี ผทู้ ดสอบขึ้น - ลง และมหี ลังคาคลุมเพอ่ื ป้องกันทีมผทู้ ดสอบและอปุ กรณ์ทดสอบจากน้ําฝน
3.4) โรงลา้ งรถไฟฟ้า (Train Washing Plant) ดงั แสดงในรปู ที่ 2.37 มหี ลงั คาคลมุ ขบวน
รถไฟฟ้าจะถูกล้างภายนอกในโรงลา้ งรถไฟฟ้า ของรางหลงั เครอื่ งลา้ งรถมีความยาวประมาณ 150 เมตร ซึง่
72
เพียงพอกบั รถไฟฟ้าขนาด 6 คนั /ขบวน โรงลา้ งรถไฟฟา้ มีหลงั คาคลุมและรถไฟฟา้ จะค่อย ๆ เคล่อื นตัวเขา้ ไป
ในอาคารล้างรถไฟฟา้ ช้า ๆ และจะถูกลา้ งทาํ ความสะอาดทัง้ ด้านหนา้ ดา้ นขา้ ง ดา้ นบน หลงั คาและดา้ นหลงั
เคร่อื งล้างรถไฟฟา้ เปน็ ระบบอตั โนมัติโดยรถไฟฟ้าสามารถเขา้ - ออกอาคารไดด้ ้วยพลงั งานรถไฟฟ้าเอง ท้ังนี้
ปรมิ าณนำ้ จากการล้างจะถกู เกบ็ ไว้ในถงั เกบ็ น้ำทลี่ า้ งแลว้ และรีไซเคลิ นาํ มาใช้อกี โดยมีระบบแยกนำ้ มนั และ
โคลนออกจากกัน
3.5) สถานไี ฟฟา้ ย่อย (Substation Building) มีหนา้ ที่จา่ ยพลังงานไฟฟ้าให้แกร่ ะบบรถไฟฟา้
โดยรับกระแสไฟฟ้าจากการไฟฟา้ นครหลวง และมเี ครอ่ื งกําเนิดไฟฟา้ สํารอง (Standby Diesel Generator)
เพื่อจ่ายไฟฟา้ สํารองในกรณที ม่ี แี หลง่ จา่ ยไฟขัดขอ้ ง ดงั แสดงรูปที่ 2.38
3.6) โรงเก็บวัสดอุ นั ตราย (Dangerous Goods Building) มีไวเ้ พอ่ื เก็บน้ำมัน (Oil) จาระบี
(Grease) และสารเคมตี ่าง ๆ (Chemicals) ช่วั คราวเพือ่ นําไปกาํ จดั ท้งิ ภายหลัง ที่เกบ็ วสั ดุอาจออกแบบเป็น
ระบบ Pallet Racking System และมีหลงั คาคลมุ โดยอาคารได้ถูกออกแบบให้รถยกและรถบรรทกุ
ขับเขา้ - ออกไดอ้ ยา่ งสะดวกและปลอดภยั
3.7) โรงจดั เก็บขยะ (Garbage Storage Building) ปรมิ าณขยะมูลฝอยทเี่ กดิ จากการทาํ ความสะอาด
ภายในตรู้ ถไฟฟา้ จากโรงงานและสาํ นักงาน รวมถึงเศษฝนุ่ จากถนนและทางเดินเทา้ เศษข้กี ลึงจากเครือ่ งกลงึ
รถไฟฟา้ เศษวสั ดจุ ากโรงงานซอ่ มบํารุงและของเสียจากถงั บาํ บัดน้ำเสยี จะถูกนําไปเกบ็ ไว้ที่โรงจัดเกบ็ ขยะ
ชัว่ คราวเพอื่ เตรยี มให้รถเก็บขนขยะมลู ฝอยมาดาํ เนินการต่อไป โดยโรงจดั เก็บขยะมูลฝอยได้ถกู ออกแบบใหร้ ถ
เก็บขนขยะมลู ฝอยเข้าถงึ ไดง้ ่ายจากถนนบรกิ ารและมที ่ีล้างมอื อยดู่ า้ นข้างโรงจดั เก็บขยะมลู ฝอย
3.8) หอพักพนักงาน (Dormitory Building) มีไวเ้ พอื่ พนักงานขับรถ พนกั งานควบคุมการเดนิ รถ
พนกั งานซ่อมบํารุง ฯลฯ ได้ใช้พกั ผ่อนช่วั คราวก่อนจะถึงรอบทาํ งานของตนเอง แตล่ ะหอ้ งพกั มีห้องน้ำ จํานวน
ห้องพักและหอ้ งนำ้ ได้คํานวณมาจากจํานวนพนักงานทเ่ี ก่ียวข้องแต่ละรอบการทาํ งานและจํานวนพนักงานท่ี
นาํ มาใช้คาํ นวณจาํ นวนหอ้ งพกั ได้แก่ พนกั งานขับรถไฟฟา้ (Driver) เจา้ หน้าท่ใี นศูนยค์ วบคมุ การเดนิ รถ(OCC
Staffs) เจ้าหนา้ ทด่ี แู ลพนักงานรถไฟฟ้า (Train Staff Supervisors) เจ้าหน้าทดี่ ูแลพืน้ ท่ี (Yard Supervisors)
เจา้ หน้าที่หนว่ ยงานซอ่ มบาํ รุง (Vehicle Maintenance Staff) ฯลฯ ส่วนผูค้ วบคุมสถานผี ู้ตรวจตัว๋ พนกั งาน
ซ่อมอาคาร ฝา่ ยเอกสารการอบรม ฝ่ายธุรการ ฝ่ายการตลาด ฝา่ ยการเงิน หรอื ฝา่ ยการบริหารงานบุคคลไม่
จาํ เปน็ ต้องจดั ท่พี ักให้
3.9) สํานกั งานพนักงานขบั รถไฟฟ้า (Driver Office Building) ต้ังอยใู่ กล้กบั อาคารจอดรถไฟฟา้
เพ่อื หลังจากที่พนกั งานขับรถไฟฟ้าได้รบั มอบหมายใหไ้ ปขบั รถจะสามารถเดนิ ไปขึน้ รถไฟฟ้าได้อยา่ งสะดวก
ก)ส่วนของสาํ นกั งานพนกั งานขับรถไฟฟ้าประกอบไปดว้ ย ห้องลงชือ่ พรอ้ มรับใบสง่ั งานสํานกั
งานเจา้ หน้าท่ีจดั ตารางเวลาและผู้ช่วย สํานกั งานเจา้ หน้าทตี่ รวจสอบ ห้องล็อค - เกอร(์ Locker) และบอรด์
ขา่ วสารพนกั งานขับรถ ห้องสาํ หรบั เจ้าหน้าที่ดูแลพนกั งานขับรถไฟฟา้ หอ้ งประชุมและหอ้ งพนกั งานขับรถ
รวมพื้นทีท่ ต่ี ้องการประมาณ 182.50 ตร.ม.
73
ข)สว่ น Driver’s School ประกอบด้วย ห้องสําหรับผ้ฝู ึกสอบ ห้องฝึกอบรม หอ้ งแตง่ ตัว
และหอ้ งจาํ ลองการขับ เป็นต้น
รูปท่ี 2.37 ลกั ษณะโรงล้างรถไฟฟ้า (Train Washing Plant)
รปู ท่ี 2.38 ตวั อยา่ งสถานไี ฟฟ้ายอ่ ย (Substation Building)
ค) เพอื่ เปน็ การประหยัดพนื้ ที่จึงกอ่ สรา้ งโรงอาหารไว้ภายในอาคารเดียวกบั สาํ นกั งาน
พนกั งานขบั รถไฟฟา้ โดยโรงอาหารประกอบไปด้วย ห้องครวั (Kitchen) ห้องทําความสะอาด หอ้ งสว่ นตวั ห้อง
เย็นและหอ้ งรับประทานอาหาร
3.10) สํานักงานรกั ษาความปลอดภัย (Guardhouse Building) ตัง้ อยู่บริเวณทางเขา้ -ออกของศูนยซ์ อ่ ม
บํารุง เป็นจุดท่ีตรวจผ้เู ขา้ มาติดต่อ สามารถตรวจทางเข้า - ออกอื่น ๆ ไดจ้ ากกล้องทวี ีวงจรปดิ ภายในศูนยซ์ ่อม
บํารงุ (CCTV)
74
2.17.4 การจดั พ้ืนทส่ี ีเขียวและการพฒั นาภูมทิ ัศนภ์ ายในศนู ย์ซ่อมบำรุง
แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในศนู ยซ์ อ่ มบํารุง ไดพ้ จิ ารณาจดั เตรยี มพืน้ ท่ีสเี ขยี วและภมู ทิ ัศนใ์ หม้ ี
ความสอดคลอ้ งในการวางผงั พ้ืนท่ีกบั สภาพแวดล้อมโดยรอบพ้ืนที่โครงการ ได้แก่ การเวน้ ท่วี า่ งเพอ่ื การใชง้ าน
ภายนอกอาคารและบรรยากาศมมุ มองทัศนยี ภาพเปน็ การสร้างสภาพแวดลอ้ มทด่ี ี โดยพจิ ารณาประเด็นต่าง ๆ
มีดังน้ี
1) การบริหารจัดการพืน้ ทค่ี วามสะดวกในการบริหารจดั การดแู ลรักษาทําได้งา่ ย ลดการใชน้ ้ำเพอื่
รดนำ้ ต้นไมโ้ ดยเลือกพรรณไมท้ ีม่ คี วามคงทน ความสะดวกในการดแู ลรกั ษา ความสะอาดและซ่อมบาํ รงุ เชน่
การใชบ้ ล็อคปลกู หญ้า การทาํ ผืนผวิ แข็งมีชอ่ งปลูกต้นไม้ การดูแลรักษาความปลอดภัย ดแู ลได้อยา่ งท่วั ถงึ
2) การใช้ประโยชนพ์ นื้ ท่ีว่างในพน้ื ที่สาธารณะของศนู ยซ์ ่อมบาํ รงุ บรเิ วณดา้ นหน้าอาคารและพื้นที่
โดยรอบอาคาร ได้พจิ ารณาจัดพ้นื ที่ใหม้ ีภูมทิ ัศนท์ ม่ี ีความสะดวกในการดแู ลและเป็นที่เชอ่ื มโยงกบั พนื้ ทีว่ ่าง
โดยรอบ มีความสาํ คัญในการสร้างสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ตวั อย่างเช่น
2.1) เปน็ การสร้างพ้ืนทีภ่ ูมทิ ศั น์ทีร่ น่ื รมยส์ วยงาม
2.2) เป็นพืน้ ทเ่ี พ่ือความปลอดภยั ดูแลรักษา บรหิ ารจัดการอาคาร
2.3) ใช้เป็นแนวกนั ชนกับพนื้ ที่ภายนอกโครงการ
2.4) สร้างความเช่ือมโยงระหว่างกจิ กรรมในอาคารและนอกอาคาร
2.5) ใชป้ ระโยชน์จากพ้ืนทีใ่ นการสญั จร และจอดรถ และซ่อมบํารุงอาคาร
3) การพัฒนาภมู ทิ ศั น์ในพ้นื ที่ การสร้างทัศนยี ภาพและมมุ มองทดี่ จี ะสรา้ งความรม่ ร่นื ใหก้ ับพื้นที่
ดว้ ยพรรณไมย้ ืนตน้ ขนาดใหญ่ สรา้ งบรรยากาศท่ีมีความสนุ ทรยี ภาพและบดบงั ภมู ิทัศนท์ ีไ่ มส่ วยงาม
4) การพัฒนาสภาพแวดล้อม ชว่ ยลดความรอ้ นในพื้นท่ี ลดฝุ่นละออง สร้างสุนทรียภาพ และ
ภมู ิทศั นท์ ่ดี ี ลดการสะท้อนของแสง
5) การพัฒนาภูมิทัศนข์ องสํานักงานศนู ย์อาคารซอ่ มบํารงุ ได้พิจารณาวางพ้นื ทแี่ บบแนวแกน
ระบบฉากโดยมีอาคารซ่อมบาํ รงุ ในส่วนกลาง โดยอาคารสํานกั งานบรเิ วณตดิ กับด้านขา้ งการพัฒนาภูมทิ ัศนจ์ ะ
เนน้ การดูแลรกั ษางา่ ยและตกแตง่ ภมู ทิ ัศน์ทีส่ วยงามในพ้นื ท่สี าธารณะโดยรอบอาคารฯ
5.1) การพัฒนาภมู ทิ ัศน์กล่มุ อาคารซอ่ มบํารงุ ได้พจิ ารณาวางระยะเว้นวา่ งของพ้ืนทโี่ ดยรอบ
ใหเ้ ปน็ พื้นทีแ่ นวกันชนในด้านทตี่ ดิ ต่อกับชุมชนด้วยกลมุ่ ตน้ ไม้ใหญท่ ีบ่ ดบังมมุ มองจากภายนอกสร้างบรรยากาศ
ท่ี
รม่ รนื่ แกบ่ ริเวณและเปน็ แกนหลังใหก้ ับมุมมองในพน้ื ท่ี สว่ นการใชพ้ รรณไมท้ ่มี ีความคงทน มที รงพมุ่ ทีม่ ีความ
สูงบดบงั มุมมอง ไม่มีการผลดั ใบมากและดูแลรักษาง่าย โดยใช้พรรณไม้ขนาดต่าง ๆ ตามลักษณะของพนื้ ท่ี
เช่น พญาสตั บรรณ ลําดวน อโศกอนิ เดีย และตีนเปด็ นำ้ ฯลฯ
5.2) การพฒั นาภมู ิทัศน์บริเวณอาคารสํานักงาน ได้พจิ ารณากอ่ สร้างลานพื้นที่ทม่ี สี สี ันดา้ นหนา้
อาคาร มกี ารปลูกตน้ ไม้ยืนต้นท่ีมีลกั ษณะโปรง่ เพื่อลดทอนความใหญ่ของอาคารและสร้างบรรยากาศให้ร่มรนื่
75
ดว้ ยไม้ยืนต้นขนาดใหญใ่ นบรเิ วณรอบอาคารท่สี ามารถปลกู ในบริเวณรมิ ถนนและรมิ ร้ัวโครงการหรือที่วา่ ง
รอบอาคาร การใช้ไม้พุม่ คลมุ ดินทีต่ ดั แตง่ ง่ายและคงทน สรา้ งความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ยใหแ้ กพ่ นื้ ที่ และ
พน้ื ที่วา่ งที่ไมม่ กี ารใช้พน้ื ทีม่ ากทาํ เป็นพ้นื ผิวหินเกลด็ และปนู ล๊อก ปลูกหญา้ เพอื่ ใหม้ คี วามสะดวกในการดแู ล
พนื้ ท่ีโดยไม่รู้สึกแข็งกระด้างจนเกินไป
5.3) การใชพ้ รรณไมใ้ ห้เหมาะสม บริเวณด้านหนา้ ศนู ยซ์ อ่ มบาํ รงุ ได้พจิ ารณาใช้ไมย้ นื ตน้ ทรงสงู
เชน่ ปีบ หมากสงและหมากเขยี ว ฯลฯ ตน้ ไม้ที่จะปลกู โดยรอบอาคารและใกลเ้ คียงจะใชพ้ ญาสัตบรรณ
ตะแบกเหลือง ลาํ ดวนหรอื ตีนเปด็ นำ้ ซึง่ เปน็ พรรณไม้ทคี่ งทนและมที รงพุม่ ทเ่ี ป็นกลมุ่ กอ้ นรูปไข่ สามารถลด
ความรสู้ กึ ด้านความสงู ใหญข่ องอาคารไดเ้ ป็นอยา่ งดี
2.17.5 พนกั งานประจำศนู ย์ซอ่ มบำรงุ และพนกั งานขบั รถไฟฟ้า
พนักงานประจําศูนยซ์ อ่ มบาํ รงุ และพนกั งานขับรถไฟฟ้า สรุปไดด้ ังแสดงในตารางที่ 3.9.5 - 1
ตารางที่ 2.17.1 - 1 พนักงานประจ าศูนยซ์ ่อมบำรุงและพนักงานขบั รถไฟฟ้า จำนวน (คน)
43
รายละเอียด 80
1. จาํ นวนพนกั งานที่ปฏบิ ัตงิ านประจําในอาคารสาํ นักงาน
1.1 พนกั งานทป่ี ฏิบตั ิงานภายในศูนย์ควบคุมการเดนิ รถ ไดค้ าํ นวณจาก 187
ฝา่ ยManager Operations, Operations Planning/Timetables และ
ฝา่ ย
Operations Control
1.2 พนักงานทปี่ ฏิบตั ิงานภายในอาคารบรหิ าร ไดค้ าํ นวณจาก Training
and
Documentation, Business Administration, Personal Affairs,
Office
Cleaning
1.3 พนักงานทปี่ ฏิบัติงานประจําศนู ย์ซอ่ มบาํ รงุ บน Platform ไดแ้ ก่ โรง 100
ซอ่ ม 410
บาํ รุงหลกั (Main Workshop Building) โรงซอ่ มบํารงุ ทางรถไฟฟา้
Permanent Way Workshop Building) ได้คาํ นวณจาก Maintenance
Managers, Engineers, Quality and Safety Team, RST
Maintenance
Supervisors, Vehicle Light Maintenance Staff, Main Repair
Staff,
Civil Works Maintenance Staffs, Building Services Staffs,
Infrastructure Managers 76
1.4 พนักงานทปี่ ฏบิ ัติงานประจาํ อาคารส่วนอนื่ ๆ และพนกั งานขับ
รถไฟฟา้ ท่ี 160
เขา้ ใชพ้ นื้ ทข่ี องอาคารสาํ นกั งานพนักงานขับรถไฟฟา้ 160
รวมจํานวนพนักงานทป่ี ฏิบัตงิ านในข้อ 1.1-1.4 570
2. จํานวนพนกั งานทจี่ ะพํานักชั่วคราวภายในหอพนกั งาน (Dormitory)
2.1 พนกั งานขบั รถไฟฟ้า ปฏบิ ตั งิ าน 3 ผลัด/วัน เริม่ ทาํ งาน 4:00 น. เลกิ
งาน
24:00 น.
2.2 พนักงานภายในศนู ย์ควบคมุ การเดินรถ (Operation Control
Center
Staff) ปฏิบัตงิ าน 3 ผลดั ๆ ละ 5 คน/วัน
2.3 พนกั งานเดนิ รถไฟฟ้า (Operation Staff)/เจา้ หนา้ ทดี่ ูแลรถไฟฟา้
(Train
Staff Supervisors) ปฏบิ ตั ิงาน 3 ผลดั ๆ ละ 3 คน/วัน
2.4 หัวหน้าผูด้ แู ลพ้นื ที่ (Yard Supervisor) ปฏบิ ัตงิ าน 1 คน 3 ผลดั /วัน
2.5 ฝา่ ยวศิ วกรรมและฝา่ ยซ่อมบํารงุ (Engineering and Maintenance
Staff) รวมหอ้ งพนักงานทั้งหมด 12 ห้อง/แหง่ แตล่ ะหอ้ งมหี ้องนาํ้ และ
อาบนํ้าในตวั เพ่ือความสะดวกสบายของพนักงาน
รวมจํานวนพนักงานทีท่ จี่ ะพํานกั ชว่ั คราวภายในหอพนกั งานในข้อ 2.1-2.5
รวมท้งั หมด
2.17.6 การจดั การปริมาณน้ำดื่ม - น้ำใช้
แหล่งนำ้ ใชเ้ พื่อการอุปโภค - บรโิ ภคภายในศูนย์ซอ่ มบํารุงจะใชน้ ้ำประปาจากการประปานครหลวงโดยรับจาก
ท่อประปาหลกั รมิ ถนนศรีนครนิ ทร์ โดยตอ่ เชอื่ มท่อประปาส่งจ่ายไปยงั ถังเก็บน้ำสาํ รองใต้ดินขนาดความจุไม่
เกนิ 700 ลบ.ม. จํานวน 1 แห่ง จากน้ันจะสูบจา่ ยไปยังอาคารตา่ งๆ ภายในศนู ยซ์ อ่ มบาํ รงุ และการประเมิน
เบื้อง
ต้นปรมิ าณการใชน้ ำ้ เพื่อกจิ กรรมต่าง ๆ ภายในศูนย์ซอ่ มบาํ รุง สรปุ วา่ มคี วามตอ้ งการใช้น้ำไม่เกิน 110.25 ลบ.
ม.
/วัน ดงั แสดงในรูปที่ 2.39ดงั จาํ แนกตามประเภทกจิ กรรมไดด้ ังน้ี
- น้ำใชเ้ พื่อการอปุ โภค- บรโิ ภค
1) อาคารบริหารและศนู ยค์ วบคมุ การเดนิ รถ
77
1.1) พนกั งานที่ปฏิบัตงิ านภายในศนู ย์ควบคุมการเดนิ รถมีจํานวนสูงสดุ ไมเ่ กิน 43 คน อัตรา
การใช้นำ้ 70 ลิตร/คน/วนั (คมู่ ือการออกแบบระบบระบายนำ้ เสยี และนำ้ ฝน, วศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2549) คดิ เป็นปรมิ าณนำ้ ใช้43x70 = 3,010 ลติ ร/วัน หรอื เทา่ กบั 3.01 ลบ.ม./วนั
1.2) พนักงานที่ปฏิบัตงิ านภายในอาคารบรหิ ารมจี าํ นวนสงู สุดไม่เกนิ 80 คน อตั ราการใชน้ ้ำ 70ลติ ร/คน/
วนั (คมู่ อื การออกแบบระบบระบายนำ้ เสียและน้ำฝน,วศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2549)
คิดเป็นปริมาณนำ้ ใช้ 80x70 = 5,600 ลิตร/วนั หรือเท่ากับ 5.6 ลบ.ม./วัน
1.3) พนกั งานทป่ี ฏบิ ัตงิ านประจาํ ศนู ย์ซอ่ มบาํ รุงบน Platform มจี ํานวนสูงสดุ ไม่เกนิ 187คน อตั ราการใช้
นำ้ 70 ลิตร/คน/วัน (คมู่ อื การออกแบบระบบระบายน้ำเสียและน้ำฝน, วศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย พ.ศ.
2549) คิดเป็นปรมิ าณนำ้ ใช้ 187x70 = 13,090 ลติ ร/วนั หรอื เทา่ กบั 13.09 ลบ.ม./วนั
1.4) พนกั งานท่ปี ฏิบตั ิงานประจําอาคารสว่ นอ่ืนและพนกั งานขับรถไฟฟา้ ท่ีเข้าใชพ้ ้ืนทข่ี องอาคารสํานักงาน
พนกั งานขับรถมจี ํานวนสูงสุดไมเ่ กนิ 100 คน อัตราการใช้นำ้ 70 ลิตร/คน/วัน (คู่มือการออกแบบระบบระบาย
นำ้ เสียและน้ำฝน, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2549) คิดเป็นปรมิ าณนำ้ ใช้ 100x70 = 7,000 ลติ ร/
วัน หรอื เทา่ กับ 7.0 ลบ.ม./วัน
2) หอพนกั งาน (Dormitory) มีจํานวนพนกั งานทเี่ ข้าใชบ้ รกิ ารสูงสดุ ไมเ่ กนิ 160 คน อตั ราการใช้น้ำ 200 ลิตร/
คน/วนั (แนวทางการจัดทาํ รายงานการวเิ คราะห์ผลกระทบสง่ิ แวดล้อม โครงการทพี่ กั อาศัยบริการชมุ ชนและ
สถานท่ตี ากอากาศ ของสํานกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม พ.ศ.2542) คิดเป็ปริ
มาณนำ้ ใช้ 160x200 = 32,000 ลติ ร/วัน หรือเท่ากับ 32.0 ลบ.ม./วนั
3) ร้านอาหาร มีจาํ นวนพนกั งานที่เขา้ ใชบ้ รกิ ารร้านอาหารใตอ้ าคารสาํ นักงานพนักงานขับรถไฟฟา้ มีจํานวน
สงู สุดไมเ่ กนิ 510 คน อัตราการใช้นำ้ 50 ลิตร/คน/วนั (แนวทางการจัดทาํ รายงานการวเิ คราะห์ผลกระทบ
สง่ิ แวดลอ้ ม โครงการทพี่ ักอาศยั บริการชมุ ชนและสถานทตี่ ากอากาศ ของสาํ นกั งานนโยบายและแผน
ทรัพยากร
ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม พ.ศ. 2542) คดิ เป็นปรมิ าณน้ำใช้ 510x50 = 25,500ลติ ร/วัน = 25.50 ลบ.ม./วัน
4) อาคารโรงลา้ งรถไฟฟ้า (Train Washing Plant) มีจํานวนรถไฟฟ้าทีจ่ ัดหาสูงสดุ (พ.ศ. 2589)ไม่เกิน 23
ขบวน อัตราการใชน้ ำ้ 1.045 ลบ.ม./ขบวน/วนั (อา้ งองิ จากโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร สว่ น
ต่อขยาย พ.ศ. 2543) คิดเปน็ ปรมิ าณน้ำใช้ 23x1.045 = 24.05 ลบ.ม./วนั
- น้ำใช้เพอื่ การดับเพลิง โครงการได้มกี ารสาํ รองน้ำดบั เพลงิ ในถงั เกบ็ นำ้ ใตด้ ินปรมิ าณ 340 ลบ.ม.
ซึ่งสามารถใช้ดบั เพลิงได้นานประมาณ 1 ชั่วโมง และมรี ะบบสง่ นำ้ ทีม่ คี วามดันต่ำสดุ ทีห่ วั ต่อสายฉดี นำ้ ดับเพลงิ
ไม่นอ้ ยกว่า 0.45 เมกะปาสกาลมาตรดังนั้น เม่ือรวมปรมิ าณน้ำใชเ้ พอ่ื การอปุ โภค - บรโิ ภคและนำ้ ใช้เพอ่ื การ
ดบั เพลงิ ไดเ้ ทา่ กบั 670.75ลบ.ม. ถงั เกบ็ น้ำสาํ รองใต้ดนิ ไดม้ ีการออกแบบให้มขี นาดความจุ700 ลบ.ม. จงึ
เพียงพอแกก่ ารใชง้ าน
78
รปู ท่ี 2.39 สรปุ ปรมิ าณการใชน้ ำ้ เพือ่ กจิ กรรมต่าง ๆ ภายในศูนย์ซอ่ มบำรงุ บริเวณทางแยกตา่ งระดับศรีเอย่ี ม
2.17.7 ระบบรวบรวมและบำบดั น้ำเสยี
1) ศูนยซ์ ่อมบำรุง
ปริมาณนำ้ เสียจากศนู ยซ์ อ่ มบํารงุ ประกอบด้วย ปริมาณน้ำเสยี จากอาคารบรหิ ารและศนู ยค์ วบคมุ การเดนิ รถ
อาคารหอพกั พนักงาน และอาคารโรงล้างรถไฟฟ้า โดยกําหนดใหป้ ริมาณน้ำเสียท่เี กดิ ขนึ้ ทัง้ หมดคิดเปน็ ร้อยละ
80 ของปรมิ าณน้ำใช้ (แนวทางการจดั ทาํ รายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบส่งิ แวดล้อมโครงการที่พักอาศยั บรกิ าร
79
ชมุ ชนและสถานทต่ี ากอากาศ ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม พ.ศ. 2542)
โดยจาํ แนกประเภทนำ้ เสียได้ 2 ประเภท คอื ปริมาณน้ำเสียเกิดขึ้นจากกจิ กรรมของพนกั งานภายในอาคารและ
ปริมาณนำ้ เสยี จากกจิ กรรมการซอ่ มบํารุงและล้างรถไฟฟา้ ดังสรปุ ปริมาณนำ้ เสยี ทเ่ี กิดขึ้นจากกจิ กรรมตา่ ง ๆ
ภายในศนู ย์ซอ่ มบาํ รุงเทา่ กับ 110.25x0.80 = 88.2 ลบ.ม./วัน ดงั แสดงในรปู ที่ 2.40 โดยจาํ แนกตามประเภท
อาคารได้ดงั ตารางท่ี 2.17.7 – 1
ตารางที่ 2.17.7 - 1 ปริมาณน้ำเสยี จากกิจกรรมศนู ยซ์ อ่ มบำรุง
ประเภทอาคาร ปรมิ าณน้ำใช้ (ลบ.ม./ ปรมิ าณน้ าเสยี (ลบ.ม./วัน)
วัน)
1. อาคารบริหารและศนู ย์ควบคมุ การเดินรถ 28.70 23.03
2. หอพกั พนักงาน 32.00 25.60
3. ร้านอาหาร 25.50 20.40
4. อาคารโรงล้างรถไฟฟา้ 24.05 19.24
รวมท้งั หมด 110.25 88.27
การพิจารณาคดั เลอื กรูปแบบและวิธีการจัดการนำ้ เสียภายในศูนย์ซอ่ มบํารุงได้เลอื กใช้ระบบบาํ บดั น้ำเสยี ขนาด
เล็กชนดิ ติดต้งั กบั ท่ี (Onsite Treatment Plant) จะเปน็ ชนดิ บอ่ เกรอะ บอ่ กรองไร้อากาศและเตมิ อากาศผ่าน
ผวิ ตัวกลาง (Septic - Anaerobic Filter and Contact Aeration Process) และตามดว้ ยบอ่ พกั น้ำทิง้
(Retention) โดยปริมาณน้ำเสยี ท่ีเกดิ ข้นึ จากกิจกรรมตา่ ง ๆ ภายในอาคารจะถกู รวบรวมเข้าสูร่ ะบบบาํ บดั น้ำ
เสียโดยตรง ส่วนปรมิ าณนำ้ เสียจากร้านอาหารและการซอ่ มบํารุงรถไฟฟา้ และลา้ งรถไฟฟ้าจะไหลผา่ นเคร่อื งดกั
ไขมัน(Oil Interceptor) เพอ่ื แยกไขมนั ออกกอ่ นระบายไปสรู่ ะบบบาํ บดั น้ำเสยี แบบตดิ ต้ังกบั ท่ตี ่อไป ท้ังน้ี
ปริมาณนำ้ เสยี ท่ผี า่ นการบาํ บดั แล้วจะมีคณุ ภาพน้ำทงิ้ เปน็ ไปตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม “เร่ืองกําหนดมาตรฐานควบคุม การระบายน้ำท้ิงจากอาคารบางประเภทและบางขนาด” ลงวันท่ี 7
พฤศจิกายน 2548 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเล่มท่ี 122 ตอนท่ี 125ง วันที่ 29ธนั วาคม 2548 สําหรบั บอ่
พกั นำ้ ทงิ้ นนั้ ได้มีการออกแบบใหม้ ีขนาดไมน่ อ้ ยกวา่ 1 วนั กอ่ นระบายทงิ้ ลงแหลง่ น้ำสาธารณะ ซ่งึ ภายในศนู ย์
ซอ่ มบํารุงได้ออกแบบไว้ในส่วนโรงซอ่ มบาํ รงุ หลักและโรงจอดรถไฟฟ้าภายในชัน้ ที่1และสว่ นศนู ยค์ วบคมุ การ
เดินรถและอาคารบริหารภายในชั้นที่1 เชน่ เดยี วกนั ดังแสดงรปู ท่ี 2.41 ถงึ รูปที่ 2.42
2) อาคารจอดแลว้ จร
อาคารจอดแลว้ จรของโครงการซ่ึงอยบู่ ริเวณฝั่งทศิ ตะวนั ออกของทางแยกตา่ งระดับศรีนครินทรต์ ดั กบั ถนนบาง
นา - ตราด เปน็ อาคาร 7 ช้นั มีที่จอดรถประมาณ 2,800 คัน ซึง่ ทางโครงการจะพิจารณาการใช้น้ำจากจํานวน
ผมู้ าใชบ้ ริการรถไฟฟ้าแลว้ มาจอดทีอ่ าคารจอดแลว้ จร ทงั้ นเี้ นื่องจากโครงการยงั ไม่ไดจ้ ดั สร้างจงึ ได้ทํากา
เทยี บเคยี งกับอาคารจอดแล้วจร 9 ชนั้ ของสถานีลาดพรา้ วของการรถไฟฟา้ ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟ
80
ม.) สําหรัรองรบั ผูม้ าใช้บรกิ ารรถไฟฟ้าใต้ดิน (BMCL) ซง่ึ พบวา่ ในปี พ.ศ. 2556 มผี มู้ าใชบ้ รกิ ารรถไฟฟ้าใตด้ ิน
และมาใชอ้ าคารจอดแล้วจรสูงสดุ จํานวน 41,655 คนั /เดอื น หรือคิดเป็น 1,388 คนั /วนั
รปู ที่ 2.40 สรุปปริมาณน้ำเสยี จากกิจกรรมต่างๆ ภายในศนู ย์ซ่อมบำรุง
81
รปู ที่ 2.41 บอ่ พกั นำ้ ทงิ้ บรเิ วณโรงซ่อมบำรุงหลกั และโรงจอดรถไฟฟา้ ภายในชน้ั ท่ี 1
82
รปู ท่ี 2.42บอ่ พกั นำ้ ท้ิงบรเิ วณศนู ย์ควบคมุ การเดนิ รถและอาคารบรหิ ารภายในชน้ั ท่ี 1
83
เมื่อเปรยี บเทยี บความสามารถในการรองรับของอาคารจอดแล้วจรของโครงการ 2,800 คัน คดิ เปน็ สดั สว่ น
เพียงรอ้ ยละ 49.57 ของความสามารถรองรบั รถของอาคารดังกลา่ ว
ทั้งนีท้ างโครงการไดเ้ ผือ่ ส่วนความปลอดภยั ทรี่ ้อยละ 60.0 ของความสามารถรองรบั รถของอาคารจอด
แลว้ จร ซง่ึ เทา่ กับ 1,680 คัน/วนั สําหรับมาใชค้ ํานวณหาปริมาณน้ำใชแ้ ละปรมิ าณน้ำเสยี ท่เี กิดขึ้นในอาคาร
จอดแลว้ จร โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี
- จาํ นวนรถที่มาใชบ้ รกิ ารในแต่ละวัน = 1,680 คัน
- ผู้โดยสารเฉลยี่ = 2 คน
- ปรมิ าณนำ้ ใชต้ อ่ คน = 30 ลิตร
ดงั น้นั จะมผี ูม้ าใช้บริการท้ังหมด 3,360 คน/วัน คดิ เปน็ ปรมิ าณนำ้ ใช้ทีเ่ กดิ ข้ึนเทา่ กับ 100.8
ลกู บาศก์เมตรต่อวัน ดังน้ันจะมปี รมิ าณนำ้ เสียเกดิ ขึน้ 80.64 ลูกบาศก์เมตรตอ่ วนั (คดิ เปน็ ร้อยละ 80 ของ
ปรมิ าณความต้องการใช้นำ้ ท้ังหมด
สําหรบั การระบายนำ้ ถา้ เป็นนำ้ ฝนจะมีการทํารางระบายนำ้ รอบพื้นทอี่ าคารจอดแล้วจร และ
รวบรวมปลอ่ ยลงสู่ท่อระบายนำ้ สาธารณะ ไม่ได้มีการทาํ บ่อหน่วงนำ้ บริเวณอาคารดังกลา่ ว สําหรับการจัดการ
นำ้ เสียทีใ่ ชแ้ ลว้ นั้น จะมีถงั บาํ บัดนำ้ เสียสําเรจ็ รูปจํานวน 4 แห่ง (มีความจรุ วมไม่นอ้ ยกว่า 100.8 ลกู บาศก์
เมตร/วัน) เพ่ือรองรับนำ้ เสยี จากอาคาร พร้อมท้ังบ่อพกั น้ำทงิ้ จาํ นวน 4 แหง่ ซ่ึงจะมีความจเุ ทา่ กบั ถังบาํ บัด
นำ้ เสียสําเร็จรูปของโครงการ จากนน้ั จะทําการรวบรวมน้ำและปล่อยลงส่ทู อ่ ระบายน้ำสาธารณะต่อไป
2.17.8 การจดั การมลู ฝอยและของเสยี อนั ตราย
การประเมนิ ปรมิ าณขยะมูลฝอยท่ีเกดิ ขนึ้ ภายในศูนยซ์ อ่ มบํารุง จาํ แนกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่
ขยะมูลฝอยท่วั ไปและของเสียอนั ตราย ปรมิ าณขยะมลู ฝอยทเี่ กดิ ขึ้นภายในศนู ย์ซ่อมบํารงุ มีประมาณ
3.24 ลบ.ม./วนั ดังแสดงในรูปท่ี 2.43 จําแนกตามประเภทกจิ กรรมในแตอ่ าคารไดด้ ังนี้
1) อาคารบรหิ ารและศูนย์ควบคุมการเดินรถ
1.1) พนกั งานทปี่ ฏิบัตงิ านในศูนยค์ วบคมุ การเดนิ รถ มีจํานวนสงู สุดไม่เกนิ 43 คน อัตราการเกิดขยะมลู
ฝอย 3 ลิตร/คน/วัน (แนวทางการจดั ทํารายงานการวเิ คราะห์ผลกระทบสงิ่ แวดล้อม โครงการที่พักอาศยั บรกิ าร
ชมุ ชนและสถานทีต่ ากอากาศ ของสาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม พ.ศ. 2542)
คดิ เป็นปริมาณขยะมูลฝอยเท่ากบั 43x3 = 129 ลติ ร/วัน หรือเท่ากบั 0.129 ลบ.ม./วนั
1.2) พนกั งานทีป่ ฏบิ ัติงานภายในอาคารบริหาร มจี ํานวนสูงสุดไมเ่ กิน 80 คน อตั ราการเกดิ ขยะมลู ฝอย 3
ลิตร/คน/วัน (แนวทางการจัดทํารายงานการวเิ คราะห์ผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มโครงการทพ่ี ักอาศัยบริการชุมชน
และสถานท่ตี ากอากาศของสาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม พ.ศ.2542) คิดเปน็
ปริมาณขยะมลู ฝอยเท่ากบั 80x3 = 240 ลิตร/วัน หรือเท่ากบั 0.24 ลบ.ม./วัน
1.3) พนกั งานท่ปี ฏบิ ตั งิ านประจําศนู ย์ซอ่ มบาํ รงุ บน Platform มีจํานวนสูงสุดไมเ่ กิน 187 คนอัตราการ
เกิดขยะมลู ฝอย 3 ลิตร/คน/วัน (แนวทางการจัดทาํ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่งิ แวดล้อมโครงการที่พกั
84
อาศยั บรกิ ารชมุ ชนและสถานทีต่ ากอากาศของสาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
พ.ศ. 2542) คดิ เปน็ ปรมิ าณขยะมูลฝอยเท่ากบั 187x3 = 561 ลิตร/วัน หรือเทา่ กบั 0.561 ลบ.ม./วนั
85
รูปที่ 2.43 สรปุ ปรมิ าณขยะมลู ฝอยจากกิจกรรมต่างๆ ภายในศูนย์ซอ่ มบำรงุ
1.4) พนกั งานทปี่ ฏิบตั ิงานประจาํ อาคารสว่ นอื่นและพนกั งานขับรถไฟฟ้าทีเ่ ขา้ ใช้พน้ื ทข่ี องอาคาร
สาํ นกั งานพนักงานขบั รถ มจี ํานวนสูงสุดไมเ่ กิน 100 คน อตั ราการเกิดขยะมลู ฝอย 3 ลิตร/คน/วัน(แนวทางการ
จัดทาํ รายงานการวเิ คราะหผ์ ลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการที่พกั อาศัย บริการชุมชนและสถานทีต่ ากอากาศของ
86
สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม พ.ศ. 2542) คดิ เปน็ ปริมาณขยะ มลู ฝอย
เท่ากบั 100x3 = 300 ลติ ร/วนั หรือเท่ากบั 0.30 ลบ.ม./วัน
2) หอพนกั งาน (Dormitory) มจี ํานวนพนกั งานทใ่ี ชบ้ ริการสูงสุดไมเ่ กิน 160 คน อัตราการเกิดขยะมลู ฝอย 3
ลติ ร/คน/วนั (แนวทางการจดั ทาํ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม โครงการทพี่ ักอาศยั บริการชุมชน
และสถานที่ตากอากาศ ของสาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม พ.ศ. 2542) คิด
เป็นปริมาณขยะมลู ฝอยเทา่ กบั 160x3 = 480 ลติ ร/วนั หรือเท่ากบั 0.48 ลบ.ม./วนั
3) รา้ นอาหาร มจี ํานวนพนกั งานทีเ่ ขา้ ใชบ้ ริการร้านอาหารใต้อาคารสํานกั งานพนักงานขับรถไฟฟ้ามีจาํ นวน
สงู สุดไมเ่ กนิ 510 คน อัตราการเกดิ ขยะมูลฝอย 3 ลิตร/คน/วนั (แนวทางการจดั ทาํ รายงานการวเิ คราะห์
ผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม โครงการทพี่ ักอาศัย บริการชมุ ชนและสถานที่ตากอากาศ ของสํานักงานนโยบายและ
แผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม พ.ศ. 2542) คิดเป็นปรมิ าณขยะมูลฝอยเท่ากบั 510x3 = 1,530 ลติ ร/
วนั หรอื เท่ากับ 1.53 ลบ.ม./วนั
ในการเก็บรวบรวมปริมาณขยะมลู ฝอยทีเ่ กิดขึ้นในแตล่ ะอาคารของศูนยซ์ ่อมบาํ รงุ ไดพ้ ิจารณาจดั เตรยี มถัง
รองรับขยะมูลฝอยขนาด 240 ลิตร มฝี าปดิ มดิ ชิด (เปน็ ถังขยะแหง้ ถังขยะเปียก ถังขยะอันตราย)ตงั้ กระจายไว้
ตามอาคารต่าง ๆ ภายในศูนยบ์ าํ รงุ เป็นกลุ่มๆ ละ 7 ถงั รวมจาํ นวน 22 กลมุ่ โดยพจิ ารณาจัดวางถังรองรับขยะ
มลู ฝอยให้มีความสะดวกในการใช้งานและการเกบ็ ขน/เคล่อื นย้าย รวมทงั้ กาํ หนดให้มเี จา้ หน้าทีร่ วบรวมไปเกบ็
พักท่โี รงจดั เก็บขยะมูลฝอย (Garbage Storage Building) เพือ่ รอการเก็บขนจากหน่วยงานท่รี ับผดิ ชอบ(เชน่
สํานักงานเขตบางนา กรุงเทพมหานคร) ให้นําปรมิ าณขยะมูลฝอยไปกําจดั ยังแหล่งกําจัดขยะมูลฝอยภายนอก
พ้ืนท่ศี ูนยซ์ ่อมบาํ รุงตอ่ ไป ทั้งนไ้ี ดก้ าํ หนดใหโ้ รงจัดเกบ็ ขยะมลู ฝอยมีพ้นื ทเ่ี พียงพอเพื่อรองรบั ขยะมลู ฝอยท่ี
เกิดขึ้นในศนู ยซ์ อ่ มบาํ รุงได้อย่างนอ้ ย 3 วัน (ขนาดความจุ 151.59 ลบ.ม.) ส่วนขยะอนั ตรายต่างๆ จะรวบรวม
มาเกบ็ ไว้ท่ีอาคารเกบ็ วัสดุอนั ตราย (Dangerous Goods Building) เพือ่ รอให้หนว่ ยงานทร่ี ับกาํ จดั ของเสยี
อนั ตรายนาํ ไปกาํ จัดต่อไป (เช่น ศนู ยบ์ รกิ ารกําจดั กากอุตสาหกรรมแสมดาํ บางขนุ เทียน กรงุ เทพฯ) สาํ หรบั ที่
พกั ขยะมูลฝอยในแต่ละอาคารของศนู ยซ์ อ่ มบาํ รุง และอาคารจอดแลว้ จร
2.17.9 การจดั การของเสียอันตรายท่เี กบ็ ไวท้ ่ีโรงเก็บวสั ดอุ นั ตรายของศูนย์ซ่อมบำรงุ
การจัดการของเสียอันตรายในศูนยซ์ อ่ มบํารงุ มรี ายละเอยี ด
1) ประเภทของเสยี อันตรายในศนู ยซ์ ่อมบาํ รุง
ของเสยี ในศูนยซ์ ่อมบํารุง ประกอบดว้ ย
- ล้อยางรถไฟฟา้ ไดแ้ ก่ ล้อยางรับน้ำหนัก และล้อยางด้านขา้ งรกั ษาสมดลุ
- สารไวไฟ หรือสารติดไฟง่าย
โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี
1.1 ล้อยางรถไฟฟ้า
จาํ นวนล้อยางทีเ่ กบ็ รกั ษาไว้ในโรงซอ่ มบํารงุ
87
- ยางรับนำ้ หนกั 100 เสน้
- ยางรกั ษาสมดุล 150 เสน้
มาตรการปอ้ งกันในการเกบ็ รกั ษาลอ้ ยางรถไฟฟ้า Monorail
- มหี ้องเกบ็ ล้อยางเฉพาะทอ่ี ยแู่ ยกออกไปจากพ้นื ท่ีเก็บวัตถไุ วไฟ
- มีอุปกรณ์ดบั เพลิงอยู่ภายในหอ้ งเกบ็ ลอ้ ยาง
- ลอ้ ยางท่ีใชง้ านแลว้ เส่ือมสภาพ ต้องทยอยนาํ ออกมาจากโรงซอ่ มบาํ รุง
1.2 สารไวไฟ หรือสารตดิ ไฟง่ายทอี่ าจทําใหเ้ กิดไฟไหม้จนมผี ไู้ ดร้ ับบาดเจบ็ โดยในการเกดิ สันดาป์ พบวา่ สาร
ไวไฟจะระเหยอยู่ในรปู ของก๊าซเขา้ ผสมกับออกซเิ จนและพรอ้ มทจี่ ะติดไฟ หากมปี ระกายสารติดไฟงา่ ยเหล่านี้
ไดแ้ ก่ ตัวทําละลายทใี่ ชท้ าํ ความสะอาดคราบน้ำมัน สารหลอ่ ล่นื สารทาํ ความเย็น น้ำมันไฮโดรลกิ ผลติ ภัณฑ์
ยางฯลฯ
ก) ปริมาณสารไวไฟทเี่ ก็บไวใ้ ชง้ านภายในโรงซ่อมบํารงุ จะจดั เก็บไว้ในปริมาณทีเ่ พยี งพอ
ตอ่ การใช้งานในแตล่ ะสัปดาหเ์ ทา่ นัน้ (เน่ืองจากเป็นสิง่ ทจ่ี ดั ซ้อื งา่ ยในท้องตลาด เพ่ือใหม้ ีสารไวไฟในปรมิ าณ
จาํ กดั และเกิดความปลอดภยั สงู ในการใช้งาน โดยปรมิ าณสารไวไฟดงั กล่าวทีม่ ีการจดั เกบ็ ได้แก่
- ตวั ทาํ ละลายสําหรบั ขจัดคราบนำ้ มนั จาํ นวน 2 ถงั (400 ลิตร)
- น้ำมันหลอ่ ลื่น จาํ นวน 2 ถงั (400 ลติ ร)
88
- จารบี จาํ นวน 1 ถัง (200 ลิตร)
- นำ้ มนั ไฮดรอลกิ จาํ นวน 3 ถัง (600 ลติ ร)
- สารทําความเยน็ จํานวน 500 ลติ ร
ข) การเข้าสรู่ ่างกาย วสั ดทุ ่ีเปน็ พษิ หากเข้ารา่ งกายในปริมาณนอ้ ยอาจทาํ ให้เกดิ ผลเสยี หาย
เช่น ทาํ ลายเน้อื เย่ือการกลายพันธุ์มะเรง็ การพิจารณาเสน้ ทางของวสั ดทุ ่ีเป็นพษิ เข้าสูร่ า่ งกายจึงเป็นสิง่ สําคญั
ซงึ่ มี 4 เส้นทาง คือ
- การสดู หายใจเขา้ เป็นเสน้ ทางที่พบมากท่สี ดุ และอันตราย
- การนําเข้าไปในร่างกายดว้ ยการกิน-ด่ืมผา่ นทางเดนิ อาหาร
- การดูดซึมผ่านผิวหนงั เขา้ สกู่ ระแสเลอื ด
- การฉดี เข้าสรู่ ่างกาย ซง่ึ พบได้น้อยมาก
2) การจดั เกบ็ ของเสียอนั ตรายและการตรวจสอบ
2.1 การจดั เกบ็ ของเสียอันตราย
ในการจดั เกบ็ ของเสียอนั ตรายจะทาํ การจดั เกบ็ ไว้ทีอ่ าคารจดั เกบ็ ของเสียอันตราย ซึ่งกอ่ สร้างแยกไวต้ า่ งหาก
เพ่ือความปลอดภัย ตาํ แหน่งอาคารเก็บของเสยี อันตรายบรเิ วณศูนยซ์ อ่ มบาํ รงุ ดังแสดงในรูปที่ 2.44
รปู ท่ี 2.44 ตำแหนง่ อาคารเก็บของเสยี อนั ตรายบริเวณศูนยซ์ อ่ มบำรุง
2.2 การสาํ รวจสภาพความปลอดภยั และตรวจสอบ
89
การสํารวจสภาพความปลอดภัยปกตแิ ละการตรวจสอบมคี วามสาํ คัญอยา่ งยิ่งต่อการสร้างความม่ันใจในความ
ปลอดภยั ของสถานที่ทํางานไมใ่ ห้เกดิ การเสยี่ งอนั ตรายทอี่ าจทาํ ให้เกิดการบาดเจ็บหรือเจบ็ ป่วย
ก) การสาํ รวจสภาพความปลอดภยั นัน้ ม่งุ ตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทาํ งานเพอื่ ระบุ
อันตราย นีค่ อื สง่ิ ทค่ี ณะกรรมการความปลอดภัยภายในศูนย์ซ่อมบํารุงจะดําเนินการเปน็ ประจาํ แต่ละสปั ดาห์
ข) ตรวจสอบประเมนิ คณุ ภาพของแผนงานความปลอดภัย โดยวางแผนให้มปี ระสิทธภิ าพ
ทีด่ ีกวา่ ในการควบคมุ อันตรายคือสิ่งทีค่ ณะกรรมการความปลอดภยั จาํ เป็นต้องดาํ เนินการเพือ่ ปรับปรงุ อยา่ ง
ตอ่ เน่ือง
2.3 การจดั ทํารายการตรวจสอบวสั ดไุ วไฟและตดิ ไฟงา่ ย ประกอบดว้ ย
ก) มเี ศษวัสดทุ ส่ี ามารถติดไฟไดง้ า่ ย ยังคงถกู เก็บไวใ้ นความคุ้มครองหรือไม่ ถา้ มีอย่ไู ดน้ าํ ออก
จากสภาพแวดลอ้ มการทํางานหรือไม่
ข) วธิ กี ารเก็บรักษาวสั ดุไวไฟหรอื ติดไฟงา่ ย เป็นภาชนะท่ีถูกตอ้ งใชเ้ พื่อลดความเส่ยี งของการ
ตดิ ไฟ
ค) ภาชนะทใี่ ชบ้ รรจุสารไวไฟหรือตดิ ไฟง่าย ไดร้ ับการอนมุ ัติให้ใชบ้ รรจุสาํ หรบั การจดั เกบ็
สารไวไฟดงั กล่าว หรือไม่
ง) ฝาปิดหรอื ทอ่ ปิดเปิดของภาชนะหรือถงั บรรจุสารไวไฟท่ีใช้งานมีการปดิ สนทิ
จ) ถังบรรจุสารไวไฟทั้งหมดท่ียงั ไมไ่ ด้นํามาใชง้ านอยใู่ นสภาพปิดสนิทตลอดเวลาหรอื ไม่
ฉ) การกองรวมกนั ของถงั บรรจสุ ารไวไฟที่ไม่ใช้ มีการต่อสายดนิ เพือ่ ขจดั ประจไุ ฟฟา้ สถติ
หรือไม่
ช) การใหแ้ สงสวา่ งภายในห้องเก็บของเหลวไวไฟนน้ั ไดต้ ดิ ตง้ั หลอดไฟฟ้าสอ่ งสวา่ งชนดิ
ปอ้ งกันการระเบดิ ของหลอดไฟฟา้ หรือไม่
ซ) ภายในหอ้ งเก็บของสารไวไฟ มรี ะบบระบายอากาศไม่ว่าจะเป็นการระบายอากาศด้วย
เครอ่ื งกล หรือการระบายอากาศด้วยลมธรรมชาติ หรือไม่
ฌ) มกี ารปฏบิ ตั ติ ามหลักความปลอดภยั ในการเกบ็ รักษาสารปิโตรเลยี มเหลว สําหรับการ
จัดเก็บ จดั การและใช้งาน หรือไม่
ญ) สารตัวทําละลายและของเหลวติดไฟง่ายทใ่ี ช้งานแล้ว และเหลือเป็นของเสียน้นั ท้งั หมด
ได้ถกู จัดเกบ็ ไว้ในภาชนะทนไฟ ทใ่ี ช้สําหรบั บรรจสุ ารไวไฟนัน้ อยา่ งถกู ต้อง ตลอดเวลาจนกวา่ จะมีการนาํ ออกไป
จากศูนย์ซอ่ มบํารงุ หรอื ไม่
ฎ) มีเครื่องดบั เพลงิ ท่อี ยู่ในสภาพพร้อมใชง้ านไดท้ ันที ติดตั้งอยใู่ สถานทท่ี ี่กําหนดหรอื ไม่
ฏ) เคร่ืองดบั เพลิงทุกแหง่ ปราศจากส่งิ กีดขวางหรอื อุปสรรคในการนํามาใช้งานหรอื ไม่
ฐ) มีการติดตง้ั ปา้ ยห้ามสูบบุหรอี่ ยา่ งชดั เจนในบริเวณพนื้ ทรี่ ักษาและใชง้ านสารไวไฟหรือไม่
ฑ) เมอื่ เกิดการร่ัวไหลของสารไวไฟได้มีการขจัดสารไวไฟท่รี ั่วไหลอยา่ งทนั ทว่ งทหี รือไม่
90
2.17.10 การจดั การน้ำเสยี ทม่ี ีการปนเปอ้ื นของสารเคมที ่ใี ชใ้ นการลา้ งทำความสะอาดรถไฟฟ้า
การจัดการนำ้ เสียจากการลา้ งขบวนรถไฟฟ้า มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี
1) การล้างรถไฟฟา้
การใช้นำ้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพในการล้างรถไฟฟา้ เป็นกิจกรรมท่ีตอ้ งดําเนนิ การเป็นประจําทกุ วัน
และและมีการใชน้ ้ําในปรมิ าณมาก การอนรุ ักษแ์ ละนาํ กลบั มาหมนุ เวยี นใชช้ ำ้ จงึ เปน็ ขบวนการทล่ี ดปริมาณ
นำ้ เสยี ลดผลกระทบสิง่ แวดลอ้ ม ซึ่งเปน็ มาตรการการอนรุ ักษท์ รพั ยากรน้ำ ที่มีศักยภาพเปน็ มาตรการสากลที่
สามารถดาํ เนินการ
1.1 ขนั้ ตอนในการลา้ งรถไฟฟ้า ประกอบดว้ ยขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ดังน้ี
- ข้นั ตอนฉดี นำ้ ใหเ้ ปียกก่อนการลา้ ง ด้วยเคร่ืองฉดี น้ำอตั โนมตั ิ
- ข้ันตอนการลา้ งรถ โดยฉีดนำ้ ผสมแชมพซู ักฟอก
- ฉีดทําความสะอาดชว่ งด้านล่างของตัวถงั รถไฟฟ้าดว้ ยหัวฉดี แรงดันสูง แปรงหรอื
สเปรยแ์ รงดันสงู อยู่ดา้ นข้างและด้านล่างของรถไฟฟ้า
- ล้างครัง้ แรก ใช้นำ้ ล้างแรงดนั สงู
- ฉีดสารละลาย Wax หรอื สารเคลือบผิวตวั ถังรถไฟฟ้าให้สะอาดเงางาม
- ฉีดล้างครั้งสดุ ท้าย โดยใช้นำ้ แรงดันต่ำ
- การเปา่ ด้วยลมใหแ้ ห้ง
- การเช็ดใหแ้ ห้งดว้ ยมอื
1.2 มาตรการ/เทคนิคการอนุรกั ษ์นำ้ ในการล้างรถไฟฟา้
- ติดต้งั ระบบหวั ฉดี ทีม่ ขี นาดเล็กแทนหวั ฉดี ขนาดใหญ่ซ่งึ จะทําให้สามารถใช้แรงดันน้ำท่ตี ำ่ ลง
โดยยังคงรกั ษาความสามารถในการทําความสะอาดไดด้ ี
- การตรวจสอบตาํ แหน่งหัวฉดี นำ้ ใหเ้ หมาะสมอย่างสม่ำเสมอ หากหวั ฉดี เอยี งผดิ ตําแหน่งจะ
ทําให้การล้างรถไฟฟ้าไมส่ ะอาดได้
- ตรวจสอบและซ่อมแซมการร่ัวซมึ น้ำท้ังหมดท่เี กดิ ข้นึ
- เปลี่ยนหัวฉดี ทองเหลอื งหรอื หัวฉีดพลาสตกิ ซง่ึ จะถกู กดั กรอ่ นได้อยา่ งรวดเร็วด้วยสแตนเลส
หรอื เซรามิกแทน ซง่ึ เป็นหัวฉดี น้ำทีม่ คี วามทนทานสงู ตอ่ การใชง้ านอยา่ งหนัก
- มที างระบายนำ้ เวยี นกลบั มาใช้ หรอื ถังเกบ็ นำ้ สําหรบั นํามาใชร้ ดนำ้ ต้นไม้ (โดยตอ้ งแนใ่ จวา่
พชื สามารถทนกับสภาพนำ้ ดงั กล่าวได)้
- มีการปลูกพชื ทีส่ ามารถทนกับนำ้ ลา้ งรถได้ มาใชป้ ลกู ในพ้ืนท่ีสวนตกแต่งดา้ นภมู ิสถาปัตย์
- บํารงุ รกั ษาอปุ กรณ์หัวฉดี ตามขอ้ กําหนดการบาํ รงุ รักษาอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง
หัวฉีดทใี่ ชล้ า้ งรถอยา่ งสม่ำเสมอ เพือ่ ให้ม่ันใจในประสทิ ธิภาพสงู สดุ ของน้ำทใี่ ช้
2) มาตรการในการจดั การนำ้ เสยี ในการล้างขบวนรถไฟฟ้า
91
การใชน้ ำ้ อ่อนและอุปกรณ์ Reverse Osmosis (RO) ความกระด้างของนำ้ เปน็ เหตุให้ต้องใช้ปริมาณแชมพหู รอื
ผงซักฟอกในปริมาณมากอนั เปน็ ผลเสียต่อสง่ิ แวดล้อม การใช้นำ้ ออ่ นในการล้างรถไฟฟา้ ช่วยลดปัญหา
ส่งิ แวดล้อมจากนำ้ เสียท่ีเกดิ จากการลา้ งรถได้เปน็ อยา่ งดี ทงั้ เป็นการง่ายในการฉีดล้างทาํ ความสะอาดตวั ถงั
รถไฟฟา้ ในข้ันตอนสุดท้ายของการล้าง โดยปรมิ าณน้ำทง้ิ จากการลา้ งรถไฟฟ้าซ่งึ มีสภาพเปน็ นำ้ ออ่ นทผี่ สมกบั
แชมพลู ้างรถไฟฟา้ จะระบายลงสู่อปุ กรณ์ Reverse Osmosis (RO) จะทาํ ให้น้ำท่ีไหลผ่านสามารถนาํ กลับมาใช้
ใหมไ่ ด้ เช่น ใชใ้ นการรดนำ้ ต้นไม้ ใชใ้ นการดับเพลิง ใช้ในการฉีดลา้ งทาํ ความสะอาดท่วั ไป(หา้ มนาํ กลับมาใช้ดื่ม)
มาตรการเลือกใช้สารทาํ ความสะอาดท่เี ป็นมติ รสิ่งแวดล้อม (Environment Friendly)
- ปราศจากสารฟอสเฟต (Free Phosphate)
- ปราศจากสารปโิ ตรเคมี (Free Petrochemical ingredients)
- ปราศจากสารใหค้ วามหอมสงั เคราะห์ (Free Artificial Fragrance)
- ปราศจากเอนไซม์ทผี่ ่านการดัดแปลงพนั ธุกรรม (Non - GMO - Enzyme)
2.17.11 ระบบระบายนำ้ และป้องกนั น้ำท่วม
พ้นื ท่ตี ัง้ ของศนู ย์ซอ่ มบาํ รงุ โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลอื ง บรเิ วณใกลท้ างแยกตา่ งระดับศรเี อี่ยม
โครงการจะมสี ภาพทางนำ้ ในพ้นื ที่กอ่ นการก่อสรา้ งและการพจิ ารณาการระบายน้ำหลังการกอ่ สร้างให้
สอดคลอ้ ง และไม่กระทบกระเทือนต่อระบบระบายน้ำเดิมของสาํ นกั ระบายนำ้ กรงุ เทพมหานคร โดยจะตอ้ ง
พอเพยี งและเหมาะสม และจากการทบทวนการออกแบบระบบป้องกนั น้ำท่วมของโครงการรถไฟฟ้าสายอนื่ ๆ
ในพื้นทก่ี รุงเทพมหานคร พบวา่ ระดับน้ำสงู สุดท่ีใช้ในการออกแบบศนู ยซ์ อ่ มบํารงุ ของโครงการรถไฟฟ้าสาย
อื่นๆ คือ +2.50 ม.รทก. ซง่ึ เป็นสถิตนิ ้ำทว่ มสูงสดุ ในรอบ 200 ปี ซึ่งโครงการได้ใชร้ ะดับน้ำสําหรบั ปอ้ งกนั
อุปกรณ์สําคัญต่างๆ ของระบบรางรถไฟฟา้ ของโครงการ
1) สภาพทางนำ้ ในพนื้ ที่ พ้ืนทต่ี ้งั ของศนู ย์ซอ่ มบํารงุ โครงการรถไฟฟ้าสายสเี หลือง ต้งั อยูท่ างทศิ ตะวนั ออกของ
ทางแยกต่างระดบั ศรเี อ่ยี มโดยมีพน้ื ทตี่ ดิ กนั และอยู่ด้านเหนอื แนวถนนสายบางนา - ตราดหลังหมู่บ้านสวน
ปาร์คแลนด์ ดงั แสดงในรปู ท่ี 2.45 ทางน้ำสายหลกั ในพน้ื ท่ีคือ คลองเคลด็ วางตวั ในแนวตะวันออก -ตะวนั ตก
ขนานทางด้านทศิ ใต้ของพ้นื ทโี่ ครงการ และคลองบางนาท่ีวางตัวในแนวเหนือ – ใตต้ ัดผา่ นกบั พ้ืนทโี่ ครงการ
บางสว่ นทางด้านตะวนั ออก
92
รปู ท่ี 2.45 ตำแหนง่ ท่ตี ัง้ ศูนยซ์ อ่ มบำรุงของโครงการรถไฟฟา้ สายสีเหลอื ง ช่วงลาดพร้าว - สำโรง
2) การพจิ ารณาการระบายน้ำของพื้นทีศ่ ูนยซ์ อ่ มบาํ รงุ
พ้นื ทโี่ ครงการก่อสรา้ งศูนย์ซอ่ มบาํ รุงสายสเี หลือง ท่ฝี ัง่ ตะวนั ออกของทางแยกต่างระดับศรีเอ่ียมวางตัวอยูเ่ ลียบ
คลองเคล็ดในเขตพน้ื ทขี่ องกทม. และมบี างส่วนเลยขา้ มคลองวดั (สาขาคลองบางนา) เขา้ ไปในเขตจงั หวัด
สมุทรปราการอกี เล็กน้อย ซ่งึ คลองวัดและคลองบางนาน้ีเป็นแนวเส้นแบง่ เขตกรงุ เทพมหานครกบั จงั หวดั
สมทุ รปราการ ทําใหต้ ้องทาํ การผันแนวทางนำ้ คลองวดั /คลองบางนาช่วงนใี้ หม่ ไปเลียบด้านข้างพืน้ ทศี่ นู ย์ซอ่ ม
บํารุงดังกล่าวแล้วกลับมาเชอ่ื มทางนำ้ เดมิ ตอ่ ไป
สําหรับคลองเคล็ดและคลองบางนา อยูใ่ นความดแู ลของสํานักการระบายนำ้ กทม. และเปน็ ทางระบายน้ำสาย
หลกั ของโครงการปอ้ งกันนำ้ ทว่ มและระบายนำ้ ของ กทม. ฝั่งตะวนั ออก ซงึ่ ในการดาํ เนินการใดๆ ท่ีเกีย่ วพันกับ
ทางนำ้ ของ กทม. จะมีขอ้ กําหนดว่ามใิ ห้กดี ขวางทางน้ำ หรอื ถ้าจะเปลี่ยนปรับปรงุ ทางน้ำขอใหข้ นาดพ้นื ทีท่ าง
น้ำเท่าเดิมหรือมากกวา่ เพื่อมใิ ห้เกดิ การบบี ทางน้ำ อนั จะทาํ ให้เกดิ back waterทางด้านเหนอื นำ้
สาํ หรบั ขนาดทางนำ้ เดมิ ของคลองวัด/คลองบางนามขี ้อมลู ได้จากการสํารวจ งานป้องกันน้ำทว่ มและระบายนำ้
ฝ่ังตะวนั ออกของกทม. โดยใชร้ ปู ตดั ทางนำ้ ของคลองบางนาที่ใกล้พน้ื ทีโ่ ครงการมากทส่ี ุดรปู แปลนแสดง
ตาํ แหนง่ สาํ รวจ และรปู ตดั ทางนำ้ ท่ใี ช้ดังแสดงในรปู ที่ 2.46
93
รูปท่ี 2.46 แปลนแสดงตำแหน่งสำรวจ และรูปตัดทางนำ้
จากรูปตัดคลองบางนาทเ่ี ลอื กนํามาพจิ ารณาจะแปลงให้อยู่ในรูปของทางนำ้ มาตรฐานเพ่ือตรวจสอบคา่ อตั รา
การไหลผ่านพนื้ ทหี่ น้าตัดที่พิจารณา ดังแสดงในรปู ที่ 2.47 โดยกาํ หนดค่าสัมประสทิ ธสิ์ าํ หรบั คลองดนิ และคา่
ลาดท้องนำ้ ราบที่สุด สาํ หรับคา่ ระดับกกั เกบ็ น้ำน้นั ประเมนิ ไว้ระดบั หนึง่
การคํานวณคุณสมบัตขิ องการไหลจะพิจารณาคุณสมบตั ขิ องการไหลเป็นลกั ษณะของทางน้ำเปิดไหลไปตามแรง
โน้มถว่ งของโลก โดยใช้สตู ร Manning คือ
โดยที่ Q รูปท่ี 2.47 รูปตดั คลองดินเดมิ
n= = อัตราการไหลผา่ น (ลบ.ม./วนิ าที)
คา่ สมั ประสิทธกิ์ ารไหลของ Manning
= 0.015 สําหรบั ผิวคอนกรีต
94
R= = 0.025 สาํ หรับดนิ ท่ัวไป
= A = พืน้ ท่หี น้าตัดของทางน้ำไหล (ตร.ม.)
Hydraulic radius (ม.)
A/P
P = ความยาวเส้นขอบเปยี ก (ม.)
S = ความลาดชนั ตามยาวของการไหล (ม./ม.)
95
สภาพคลองดินเดมิ และขอ้ กาํ หนดทีต่ ง้ั ขนึ้ พบว่า คลองเดิมสามารถระบายนำ้ ได้ ประมาณ 11 ลบ.ม./วนิ าที
สาํ หรบั ขอ้ กาํ หนดของคลองทจ่ี ะ divert นน้ั จะกาํ หนดให้ใชค้ ่ารปู ตดั เดิม แต่เปลยี่ นเปน็ คลองดาด (lining)
ดงั น้นั คา่ สมั ประสิทธ์ิของคลองจะเปล่ยี นไป นำ้ จะไหลได้ดียิ่งขึ้น พบวา่ คลองดาดใหมส่ ามารถรบั นำ้ ได้ประมาณ
20 ลบ.ม./วนิ าทีซง่ึ รบั ได้มากข้นึ ดงั แสดงในรูปท่ี 2.48
รปู ที่ 2.48 รปู ตัดคลองดาดใหม่
เมอ่ื ทางนำ้ เปลี่ยนแนวจากทางนำ้ เดมิ ไปทางดา้ นข้างพน้ื ที่อาคารจนสดุ แนว แลว้ จะกลับเขา้
96
บรรจบทางนำ้ เดมิ ท้งั นีจ้ ะพจิ ารณาช่วงต่อเช่อื มของทางน้ำทั้งดา้ นเหนอื น้ำ และดา้ นทา้ ยน้ำของ divert canal
ใหเ้ หมาะสมตอ่ ไป
3) โครงการได้ทําการออกแบบระบบระบายนำ้ ฝนของศนู ยซ์ อ่ มบํารงุ รถไฟฟา้ บริเวณใกลส้ ถานีวัด
ศรเี อยี่ ม (YL - 17) มพี ้ืนที่ขนาด 122 ไร่ โดยพจิ ารณาจากสภาพภูมปิ ระเทศ ลักษณะความลาดชันของพื้นที่
และ
แหล่งรองรับนำ้ ที่อยู่ใกล้เคียง โดยไมก่ ดี ขวางการไหลของน้ำท่มี ีอยเู่ ดิม และจะระบายน้ำฝนลงสบู่ ่อพกั นำ้ ขนาด
22,800 ลูกบาศกเ์ มตร ก่อนระบายออกสคู่ ลองสาธารณะ (คลองเคลด็ )
โดยอตั ราการระบายนำ้ ออกของโครงการและปริมาณนำ้ ฝนทต่ี อ้ งการกักเก็บของพ้นื ทโี่ ครงการ
สามารถประเมนิ ไดด้ ังน้ี
3.1) อัตราการระบายน้ำ กอ่ น - หลงั การพฒั นาโครงการ
สาํ หรับหลกั เกณฑ์การคํานวณและการออกแบบระบบระบายนำ้ ฝนท่โี ครงการ จะใช้
ข้อมลู จากตารางปริมาณฝนและความเข้มของฝนของกรงุ เทพมหานคร โดยอตั ราการไหลสาํ หรับทอ่ หรือราง
ระบายนำ้ และบ่อพักนำ้ ที่ใช้ออกแบบเปน็ อตั ราการไหลนองสงู สดุ ท่ีเกดิ จากปรมิ าณน้ำฝนคาบการย้อนกลับ
(Return Period) 5 ปี และ 10 ปีตามลําดบั ซง่ึ คํานวณจากวิธี Rational Method ดงั นี้
การคาํ นวณปริมาณนำ้ ฝนท่ไี หลนองในพน้ื ท่ี
Q = 0.278 CIA
เมื่อ Q = อตั ราการไหลของน้ำฝน , (ลบ.ม./วนิ าที)
C = สัมประสทิ ธก์ิ ารไหลนองของพ้ืนท่ี
I = ความเขม้ ของฝน , (มม./ชม.)
A = พ้นื ท่รี องรบั นำ้ ฝน , (ตร.กม.)
ความเขม้ ของฝนจะใชข้ อ้ มลู จากตารางปรมิ าณฝนและความเข้มของฝนของกรงุ เทพมหานคร
ดังแสดงในตารางที่ 2.17.11 – 1
ตารางที่ 2.17.11 - 1 แสดงปรมิ าณฝน (มม.) และความเข้มของฝน (มม./ชม.) สำหรับชว่ งเวลาและ
คาบอบุ ตั ิ (Return Period) ของฝนลักษณะต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร