The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Brands Summer Camp ครั้งที่ 27 วิชาภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-01 07:00:58

Brands Summer Camp ครั้งที่ 27 วิชาภาษาไทย

Brands Summer Camp ครั้งที่ 27 วิชาภาษาไทย

Keywords: ภาษาไทย

๔๗. ขอ ใดมีความหมายกวาง ๒) เครอ่ื งเปา
๑) เครอื่ งบิน ๔) เครือ่ งเรอื น
๓) เครอื่ งซกั ผา

๔๘. “โอด วงใจฉันมาทํากันถึงอยา งนี้ ๒) แมศ รีเรือน
หลอกไดเ จา หลอกพ่ี ๔) แมท พั
ทกุ ววี่ นั ใหฉ ันคอย
คอยแลว คอยหา
ทกุ เวลาเจาอยไู หน
จอมใจฉันอยู หนใด
เธอรูไหมวา ฉันคอย”

ขอ ความนีจ้ ดั เขา ขายสาํ นวนใด
๑) แมแปรก
๓) แมส ายบวั

๔๙. จากขอ ความขอ ๔๘ จดั ไดวา ลลี าคําประพนั ธใดเดน ทส่ี ดุ

๑) เสาวรจนี ๒) นารีปราโมทย

๓) พิโรธวาทัง ๔) สัลลาปงคพิสยั

๕๐. “เน้อื ออ นออนแตช ื่อ เน้ือนองฤาออ นทัง้ กาย”
ขอ ใดอนมุ านไมถูกตองจากคําประพนั ธข า งตน
๑) กวีกบั นางอนั เปน ท่ีรักมคี วามสมั พันธอันลึกซึง้
๒) มกี ารเลน คํา
๓) มีการซาํ้ คํา
๔) เขาขา ยลักษณะทํานองนิราศ

————————————————————

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (49)

ระบบเสยี งภาษาไทย

1. หน่วยเสยี ง = หน่วยทเ่ี ล็กสดุ ในภาษา เป็นสว่ นประกอบของพยางค์ แยกออกอีกไม่ได้

- แมว ประกอบดว้ ยหน่วยเสยี ง ดงั นี้

เสียงพยัญชนะต้น (ม)

เสียงสระ (แอ)

เสยี งพยัญชนะทา้ ย (ว)

และเสยี งวรรณยุกต์ (สามญั )

2. หน่วยเสียงในภาษาไทยมี 3 ชนิด = หน่วยเสียงสระ หนว่ ยเสียงพยัญชนะ และหนว่ ยเสียง
วรรณยุกต์

2.1 หนว่ ยเสียงสระ (เสยี งแท)้ คือ เสียงท่อี อกมาจากลาํ คอโดยตรงไมถ่ ูกปดิ กั้น แบ่งเปน็
2 ประเภท คอื

สระเดยี่ ว (เปล่งออกมาเสยี งเดียว) .............................................................................
สระประสม (สระเดี่ยวสองเสียง) .................................................................................

อี สระประสมมีเพยี ง 3 เสยี ง เพราะ ..............................
ออื อา ...........................................................................
อู ...........................................................................
...........................................................................

ภาษาไทย (50)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

**รูป อาํ ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ เป็นอกั ษรแทนพยางค์ ไมไ่ ดแ้ ทนเสียงสระเท่านัน้ .....................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................

2.2 หนว่ ยเสยี งพยัญชนะ (เสียงแปร) คือ เสียงทอี่ อกจากลําคอแลว้ ถกู ปดิ กั้นทางเดนิ ลม มหี นว่ ย
เสยี งน้อยกว่ารปู เขียน

หนว่ ยเสียงพยญั ชนะตน้ ปรากฏท่ตี น้ พยางค์ มี 2 ประเภท คอื
- เสียงพยัญชนะต้นเด่ยี ว คือ เสียงพยัญชนะที่ปรากฏที่ตน้ พยางคม์ เี สยี งเดยี ว แต่อาจเป็น
พยัญชนะ 2 รปู ซ้อนกันได้ ซึง่ ไดแ้ ก่ อักษรควบไมแ่ ท้และอกั ษรนาํ บางชนดิ ซ่ึงจะออกเสยี งเปน็ เสียงเดียว
- เสยี งพยญั ชนะต้นประสม อกั ษรควบกลํ้าแท้ ออกเสียงพยัญชนะตน้ เด่ยี ว 2 เสยี งตดิ กัน
ไม่มีเสียงสระคนั่ ของไทยแต่เดิมมี 11 เสียง ได้แก่ ก ค ป พ ต (.................................................) + ร ล ว
= (กร-) (กล-) (กว-) (คร-) (คล-) (คว-) (ปร-) (ปล-) (พร-) (พล-) (ตร-) จะมเี สียงควบกล้ําท่ขี าดไป
4 เสียง ไดแ้ ก่ ................................................................................................................................
หนว่ ยเสียงพยญั ชนะทา้ ย หรอื พยญั ชนะสะกด
หน่วยเสยี งพยญั ชนะท้ายเป็นเรือ่ งของ “หนว่ ยเสียง” สว่ นตัวสะกดเปน็ เรอ่ื งของการสะกดคํา
แต่สามารถเทยี บเคยี งกนั ได้ (เสยี งและรูปเปน็ อย่างละสว่ นกนั อย่าจําสบั สน เช่น กร รปู สะกดดว้ ย ร แต่เสียง
เป็นเสยี ง น หรอื ใคร ไม่มีรูปสะกด แต่มเี สียง ย เปน็ ต้น) ในภาษาไทยมีเสยี งพยญั ชนะท้ายอยูท่ ้ังสิ้น 9 เสยี ง
ดังนี้ /ก/ /ด/* /บ/* /ง/ /น/ /ม/ /ย/ /ว/ /อ/*

วิธีจําพยัญชนะทา้ ยวา่ รปู ใดแทนเสยี งใดใหใ้ ชก้ ารเทยี บเสียงจากมาตราตวั สะกด ถ้ามาตราเดยี วกัน
เท่ากบั เสียงเดยี วกัน เช่น มด อาวุธ บท ยศ ประพาส ครฑุ วุฒิ ทั้งหมดนีแ้ ทนด้วยเสยี งพยัญชนะท้าย (-ด)
มาตรา แม่กด

***บางคาํ ดเู หมือนมีตัวสะกด แตจ่ ริงๆ คือ รูปสระ ไมใ่ ช่ตัวสะกด เช่น เมีย เบือ่ ผัว คาํ พวกน้ีไมม่ ี
เสียงตวั สะกด

##เสยี ง อ /?/ สามารถเป็นตัวสะกดได้ ต่อเมอื่ เป็นพยางค์ในแม่ ก กา ทม่ี สี ระเสยี งส้นั ทุกตวั และเปน็
คําหนัก เชน่ ติ ดุ นะ เพยี ะ เลอะ จะจะ ชิชะ สมาธิ ฯลฯ

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (51)

2.3 หน่วยเสียงวรรณยุกต์ (เสยี งดนตร)ี คอื ระดับเสียงสูง-ต่ํา ท่ปี รากฏอยใู่ นคําแล้วทาํ ให้
ความหมายเปล่ียน (สาํ คญั มากสําหรับภาษาไทย) ; ปา ปา่ ปา้ ปา๊ ป๋า, เสือ เสื่อ เสือ้ เป็นตน้

อปุ กรณใ์ นการผนั เสียงวรรณยุกต์ ประกอบด้วย

- ไตรยางศ์ (อักษรสามหมู่ สูง กลาง ต่ํา (ต่าํ เดยี่ ว ตา่ํ คู่))

- คําเปน็ (พยางค์เปน็ ) คําตาย (พยางคต์ าย)
- หลักการผันเสยี งวรรณยุกต์ (แนะนาํ ใหน้ บั นิ้วงา่ ยกว่า)

ตัวอย่าง คาํ คใู่ ดตา่ งกันเฉพาะเสยี งสระเทา่ นั้น
ตอบ 3) 1) ทรัพย์ - ทราบ
2) เนิบ - นับ
3) หมน้ั - มา่ น
4) โชค - ชกั

ภาษาไทย (52)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

ตวั อยางขอ สอบ

1. คาํ ทใ่ี ช้รูปวรรณยกุ ตใ์ นขอ้ ใดมีเสียงวรรณยกุ ตต์ รงกนั ทุกคํา

1) ถา้ จะจอดเรือใหด้ ทู า่ ตดี า่ ข้าให้ดโู ทษ

2) ขึ้นโตนดให้ดไู คล ข้ึนบันไดใหด้ ูขน้ั

3) ฟ่ันเชือกใหด้ ูเกลยี ว คนมักเทยี่ วใหด้ ตู ีน

4) มสี ินให้เปน็ พ่อค้า มกั เมืองฟ้าให้ทําบญุ

5) รกั บญุ ให้สงวนบุญ สงวนสกลุ ของตวั ไว้

2. คําข้อใดใชพ้ ยญั ชนะสะกดตรงตามมาตราตวั สะกดทกุ คํา
1) มฆั วานทะยานเหาะข้ึนเมฆา ไมร่ ู้ว่าเหตุผลกลใด
2) จงึ จิว๋ หลวิ นวิ่ พกั ตรพ์ ศิ เพ่ง แลเล็งลงมาขา้ งใต้ตาํ่

3) กแ็ จง้ วา่ โอรสยศไกร สัง่ ให้ต้ังการสยมุ พร
4) จาํ กจู ะตอ้ งไปชว่ ยงาน ให้เลา่ ลอื ทุกสถานไหวกระฉอ่ น
5) จะดลใจเจ้าเมืองทุกนคร ใหม้ าโอนอ่อนแก่ลกู รกั

3. คาํ ประพนั ธต์ อ่ ไปนี้มอี ักษรนํากคี่ าํ

จะน่งุ หม่ ดูพอสมศักดสิ์ งวน ให้สมควรรบั พักตร์ตามศกั ด์ิศรี

จะผดั หน้าทาแป้งแตง่ อนิ ทรยี ์ ดฉู วผี ิวเนอื้ อย่าเหลอื เกิน

1) 2 คํา 2) 3 คํา 3) 4 คํา 4) 5 คาํ

5) 6 คาํ

4. คําประพันธ์ตอ่ ไปนี้มีพยางค์ท่มี ีเสียงพยัญชนะท้ายกี่พยางค์

ถงึ สาํ เพง็ เกง๋ ตง้ั รมิ ฝั่งนาํ้ แพประจาํ จอดเรยี งเคียงขนาน

1) 10 พยางค์ 2) 11 พยางค์ 3) 12 พยางค์ 4) 13 พยางค์

5) 14 พยางค์

5. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสยี ง

1) สดดุ พี ระภูมีทที่ รงศกั ด์ิ 2) เหลา่ ชาวไทยร่วมใจถวายพระพร
3) ประชาราษฎร์รว่ มอวยชยั แด่ภูวดล 4) นอ้ มกมลขอพระองคท์ รงพระเจรญิ
5) น้อมใจภักดิ์ถวายพระพรจากทุกหน

6. ข้อใดมคี ําที่ใช้ทงั้ อักษรควบและอักษรนาํ

1) เวทนาวานรอ่อนนอ้ ยนอ้ ย กระจ้อยรอ่ ยกระจริ ิดจิดจดี จวิ๋
2) บ้างเกาะแม่แลโลดกระโดดปลิว ดูหอบหิว้ มิใหถ้ ูกตัวลกู เลย
3) โอพ้ อ่ แมแ่ ต่ชั้นลงิ ไม่ทิ้งบตุ ร เพราะแสนสุดเสนห่ านิจจาเอ๋ย
4) ท่ลี ูกอ่อนปอ้ นนมนา่ ชมเชย กระไรเลยแลเหน็ น่าเอ็นดู
5) แตล่ ิงใหญ่ไอ้ทะโมนมนั โลนเหลอื จนชาวเรือเมินหมดดว้ ยอดสู

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (53)

7. ข้อใดมเี สยี งพยัญชนะตน้ เดย่ี วมากทส่ี ุด (ไมน่ ับเสียงซํา้ )

1) ยนิ คดมี เี รื่องนอ้ ย ใหญ่ไฉน ก็ดี

2) ยงั บ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน

3) ฟงั ตอบสอบคาํ ไข คิดใคร่ ครวญนา

4) หอ่ นตัดสนิ ห้วนห้วน เหตุดว้ ยเบาความ

8. ข้อใดไม่มสี ระประสม 2) หอมควนั ธูปเทยี นตรลบอยอู่ บอาย
1) พิเคราะห์นาํ้ สมคาํ บุราณกล่าว 4) บ้างกอบปรายเบ้ยี โปรยอยู่โกรยกราว
3) ตาข่ายแกว้ ปักกรองเป็นกรวยหอ้ ย

9. ขอ้ ใดมเี สียงวรรณยุกต์ครบหา้ เสยี ง 2) โอ่เทิดองค์ธาตทุ พิ ยไ์ อศูรย์
1) ยอ่ เหลี่ยมเยยี่ มลอยบลั ลงั กเ์ ลศิ 4) จํารญู จํารสั ยอดฉัตรชยั
3) สีเทยี นศรทั ธาสง่าทูน

10. ข้อใดมีเสยี งวรรณยุกตต์ รงกับเสียงวรรณยกุ ต์ในขอ้ ความ “สบิ ปากวา่ ไม่เท่าตาเห็น”

1) หากใจมงุ่ มนั่ ไรแ้ ปรผัน 2) เดก็ เกง่ มักขวนขวายสร้างสรรค์

3) รบี เกี่ยวข้าวใหท้ ันวันเสาร์ 4) บุกบ่นั มุ่งสร้างบา้ นชวนฝนั

เฉลย

1. 2) 2. 4) 3. 4) 4. 4) 5. 2) 6. 3) 7. 1) 8. 1) 9. 2) 10. 4)

ภาษาไทย (54)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

คําไทยกบั คาํ ยืม

ประเทศไทยถือว่าเป็นประเทศทีร่ วยภาษา เพราะนอกจากคําซึ่งเป็นของไทยเองแลว้ ยงั มกี ารยมื คาํ จาก
ชาตติ า่ งๆ เขา้ มาใชอ้ ยา่ งหลากหลาย ซ่งึ การรบั มาใช้นัน้ ก็จะปรับให้เข้ากบั ลกั ษณะทางภาษาไทย ถึงกระนน้ั
คําทร่ี ับมาใช้โดยตรงเลยกม็ ใี ห้เหน็ อยู่มากเชน่ กนั

โดยคาํ ต่างประเทศทีไ่ ทยรับมานั้นส่วนใหญ่มาจากภาษาบาลี สนั สกฤต เขมร จีน องั กฤษ ทง้ั นี้
การจะแยกคําในภาษาต่างๆ ออกจากกันนั้นมหี ลักสังเกต ดงั ตอ่ ไปนี้

หลักสังเกตคําไทย

มักเป็นคําพยางคเ์ ดยี วโดดๆ ; ไมน่ ยิ มควบกลํา้ มีปรากฏบา้ ง สะกดตรงตามมาตรา
พ่อ นั่ง ชม ดาว ลม พัด แรง เช่น คราด พรา้ แตพ่ ึงระวังคํายืมท่ีบงั เอิญตรงกนั

เช่น วัน (ป่า) วังเวง (ข.)

คําไทยแทไ้ ม่มตี ัวการันต์ โดดเดี่ยวไม่ควบกลาํ้ คาํ ไทยจะไมเ่ ปล่ียนแปลงรปู คํา
เพราะตอ้ งการลดการออกเสียง สะกดตรง เช่น วัน (วันที่) ≠ วัน วนา พนา
ยกเว้น ผี้ว์ (ผิว แมน้ ว่า ถา้ ว่า)
ไมน่ ยิ มลงฆาต และเปลี่ยนรปู (ป.) (ป่า)

คําไทยแท้ทําหน้าที่หลายอยา่ งเปลีย่ นตามบริบท เช่น คํายมื บางคาํ เม่ือเขียนแลว้ อาจสะกดตามมาตราเหมือน
เขาฟนั (ก.) ต้นไม้ ≠ ฟนั (น.) ฉนั หัก, คาํ ไทยแท้ จาํ ไว้ว่า "เราคนไทยต้องเข้าใจภาษาเรา"
ขนั (น้ํา) ≠ (ไก่) ขนั ≠ (ขํา) ขัน
(ถ้าไม่รคู้ วามหมายให้สงสยั ว่าไมใ่ ช)่

หลกั สงั เกตคาํ บาลี สนั สกฤต

1. มักเป็นคําหลายพยางค์ เชน่ ขัตตยิ ะ พละ สมณะ วิศวะ .........................................................
...................................................................................................................................................

2. หากเปน็ พยางคเ์ ดียวก็จะอา่ นแยกพยางค์ไดใ้ นบางครั้ง เชน่ โลก โลกะ โลกา โลกีย์, วัน วน (วะนะ)
วนา พนา ฯลฯ

3. สว่ นใหญส่ ะกดไม่ตรงตามมาตรา เชน่ รถ บท กาล วาร (วาระ) นาถ ฯลฯ
4. มักมกี ารันต์ เนือ่ งดว้ ยคําบาลสี นั สกฤตสว่ นใหญ่จะมหี ลายพยางค์ เม่อื เรารบั มาใชก้ ็ตอ้ งการท่ีจะลด
จาํ นวนพยางคล์ ง จึงจาํ เปน็ ตอ้ งใชท้ ณั ฑฆาตให้สอดคล้องกับคําไทยท่ีสว่ นใหญ่เปน็ คําโดด

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (55)

5. แผลงสระหรอื พยัญชนะได้ เชน่

- สระเสียงส้นั เป็นยาว ...................................................................................................
...............................................................................................................................

- แผลง อิ เปน็ เอ ........................................................................................................
...............................................................................................................................

- แผลง ว เปน็ พ .........................................................................................................
...............................................................................................................................

- แผลง ต เป็น ด .........................................................................................................
...............................................................................................................................

- แผลง ป เปน็ บ .........................................................................................................
...............................................................................................................................

6. ใช้ ศ ษ จะเป็นคาํ สนั สกฤต นอกจากนจี้ ะมีเพียงไม่กคี่ าํ ทีม่ าจากภาษาอน่ื เช่น

- คาํ ไทยแท้ → .......................................................................................................
- ตะวนั ตก → .......................................................................................................
- คาํ เขมร → ศก (ผม) ศรี (ผ้หู ญงิ )
*คําว่า ศรี ยงั พบในสนั สกฤต แปลว่า สิริ มิ่งขวญั และชวา แปลว่า หมากดว้ ย

การแยกคําบาลีและสนั สกฤต

บาลี สันสกฤต

1. มีสระ 8 ตัว = อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ 1. มีสระมากกวา่ บาลี 6 ตัว คอื ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
2. มอี ักษร 32 ตัว 2. มีอักษรมากกว่าบาลี 2 ตวั คอื ศ ษ
3. ใช้อกั ษร ฬ ; ครุฬ กฬี า เขฬ กกั ขฬะ (หยาบ 3. ใชอ้ กั ษร ฑ ฒ ท ฏ แทน ฬ ; ครฑุ กรฑี า เขฏะ

คายมาก) โกวิฬาร กกั ขฏะ
4. หากมีตวั สะกดต้องมีตัวตามเสมอ (มหี ลกั การ 4. ไมม่ ีตวั สะกดตวั ตามแน่นอนเหมอื นบาลี
5. คําไทยท่ใี ช้ รร มกั มาจาก ร เรผะ ในสนั สกฤต ;
แน่นอน)
5. ไมใ่ ช้ รร ธรรม อรรณพ วรรณ สรรพ ครรชิต ครรภ์
6. ไม่นิยมเสยี งควบกลา้ํ 6. มรี ะบบเสยี งควบกลาํ้ ; สตรี ปรารถนา สมัคร

มาตรา
7. สนั สกฤตมกั ใช้ ห์ ; เคราะห์ สนเท่ห์
8. ใชค้ ําว่า สถา- ; สถานท่ี สถาบนั

ภาษาไทย (56)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

วรรค 1 พยญั ชนะวรรค (บาลี) 5
234
กะ
(คอ)
จะ
(เพดาน)
ฏะ
(ปุ่มเหงือก)
ตะ
(ฟัน)
ปะ
(ริมฝปี าก)
เศษวรรค

กฎการใชต้ ัวสะกดตัวตาม
1. แถวท่ี 1 สะกด 1, 2 ตาม ; จกั ก (ล้อรถ) จักขุ (ตา)
2. แถวท่ี 3 สะกด 3, 4 ตาม ; อคั ค (เลศิ ) พยัคฆ (เสอื ) วัฑฒ (เจริญ)
3. แถวที่ 5 สะกด ทุกตวั ในวรรคตามได้ ยกเว้น ง สะกด ง ตาม-ไมไ่ ด้ ; สัญชาติ สัณฐาน วนั ทา สงั คม

กญั ญา
4. ถา้ ตวั สะกดอยใู่ นเศษวรรค เชน่ ย ล ส จะใช้เศษวรรคเปน็ ตวั สะกดตวั ตาม ; อยั ยิกา อสั สชุ ล ประภสั สร

มลั ลกิ า กลั ยา
5. หาก ฬ หรือ ว สะกดใช้ ห ตามได้ ; วริ ุฬห์ อาสาฬห์ ชวิ หา
6. ห ใชเ้ ป็นตวั ตามเมื่อ พยัญชนะนาสิก (ง ญ ณ น ม) ; คมิ หนั ต์ ปัญหา

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (57)

หลกั สังเกตคาํ เขมร

1. นิยมสะกดดว้ ย จ ญ ร ล ส และสะกดไดโ้ ดยไม่ตอ้ งมีตัวตาม เช่น เท็จ ตรวจ ลําเคญ็ บําเพญ็ จาร
ขจร ตาํ บล ตรัส จรสั

2. แผลงตามวิธเี ขมร โดย
- แทรก ํ า, ํ าน, ํ าร, ํ าง
เช่น เสรจ็ → สาํ เรจ็ , อวย → อาํ นวย, ชะ → ชาํ ระ, ชือ → ชํางือ (เจบ็ ไข)้ ยกเว้น จรรจา →

จํานรรจา เปน็ สันสกฤต
- แผลง ผ → ประ → บรร, ข → กระ
เชน่ ผทม → ประทม → บรรทม, ขม่อม → กระหม่อม, ชมุ → ประชุม, จุ → ประจุ → บรรจุ

ยกเว้น บรรหาร แผลงมาจาก บรหิ าร ในภาษาสนั สกฤต
- เตมิ บงั , บาํ , บัน
เชน่ ควร → บังควร, คม → บงั คม, เพ็ญ → บาํ เพญ็ , อาจ → บังอาจ
- แทรก -ะบ
เช่น รํา → ระบาํ , เรยี บ → ระเบยี บ
- เติม ป, ผ
เชน่ ราบ → ปราบ, ลาญ → ผลาญ

3. การควบกลํา้ คําเขมรมีคาํ ควบกล้าํ อยมู่ าก เม่อื ไทยยมื มากท็ าํ ให้อา่ นออกเสียงได้หลายรปู แบบ อาทิ
ควบแท้ ควบไม่แท้ อกั ษรนาํ และอา่ นเรียงพยางค์ เชน่ จมูก เสน่ง สนับเพลา ผกา ไผท ขจี เสวย เพลงิ ถนน
แถง สกาว

หมายเหต*ุ ** จะสังเกตได้วา่ กริยาราชาศัพท์ที่ไมต่ ้องใช้ประกอบกบั คาํ อนื่ ๆ ส่วนใหญ่แล้วไทยจะยมื
มาจากคาํ เขมร เชน่ เสด็จ บรรทม ประชวร ตรสั สรวล ทลู โปรด

ภาษาไทย (58)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

คํายมื ภาษาอังกฤษ

1. การลากเขา้ ความ

Coffee - กาแฟ
Commercial - กมั มาจล
Lemonade - น้าํ มะเนด็

Government - กัดฟนั มัน

Pattern - (ราช) ปะแตน

Telegraph - ตะแลบ๊ แก๊บ

2. การทับศพั ท์ภาษาอังกฤษดว้ ยภาษาไทย เชน่

Shirt - เชิ้ต

Taxi - แท็กซี่

Suit - สูท

Bonus - โบนสั

3. การบัญญตั ศิ พั ทข์ ึ้นใช้ในวงการตา่ งๆ เช่น

Revolution - ปฏวิ ตั ิ
Television - โทรทศั น์
Vision - วสิ ัยทศั น์

Engineer - วศิ วกร

Democracy - ประชาธิปไตย

4. การตัดคาํ ให้สน้ั ลงแต่ยังได้ความหมายเดมิ เชน่

Basketball - บาส

Microphone - ไมค์

Double - เบลิ้

Football - บอล

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (59)

ตวั อยา งขอ สอบ

1. คาํ ประพันธต์ ่อไปนม้ี คี าํ ยืมภาษาตา่ งประเทศกีค่ าํ (ไม่นบั คาํ ซ้าํ )

“พีม่ นษุ ย์สดุ สวาทเป็นชาตยิ ักษ์ จงคิดหักความสวาทใหข้ าดสญู

กลบั ไปอย่คู หู าอยา่ อาดูร จงเพิ่มพูนภวู นารักษาธรรม”์

1) 7 คาํ 2) 8 คาํ 3) 9 คาํ 4) 10 คํา

2. คําภาษาองั กฤษในข้อใดไม่สามารถใช้คาํ ไทยแทนได้
1) ภาพยนตรก์ ารต์ นู สมยั น้ดี ูแลว้ ไมส่ บายตาเหมือนสมยั ก่อน
2) เธอชว่ ยเชค็ ใหก้ ่อนได้ไหมว่าสนิ คา้ ท่เี ราจะส่งไปขายมจี ํานวนเท่าใด
3) สมาชกิ กาํ ลังดเี บตกนั ยกใหญ่วา่ ใครสมควรเปน็ นายกสมาคม
4) ครูทด่ี ตี อ้ งเปน็ โมเดลใหล้ ูกศิษยย์ ึดถอื ปฏบิ ตั ิตามได้

3. ข้อใดมีศัพท์บญั ญตั ิจากคําภาษาองั กฤษอยดู่ ว้ ย 2) นพเก้า นพเคราะห์ นพรตั น์
1) อุปการ อุปถัมภ์ อุปสงค์ 4) ไตรภูมิ ไตรรงค์ ไตรลักษณ์
3) จกั รพรรดิ จกั รวาล จกั รราศี

4. คาํ ภาษาอังกฤษในข้อใดใช้คําไทยแทนไม่ได้
1) จนิ ดาทาํ ขอ้ สอบหลายวิชาจนรสู้ กึ เบลอร์ไปหมด
2) จิตราเป็นดีไซเนอรป์ ระจาํ หอ้ งเส้อื ท่มี ีชอ่ื เสยี ง
3) จินตนาไปหาหมอเพอื่ ใช้แสงเลเซอร์รักษาผวิ หน้า
4) จิตรลดาเปน็ วสิ ัญญแี พทย์ระดบั อนิ เตอรข์ องโรงพยาบาลนี้

5. ข้อใดเป็นคาํ ศพั ท์บัญญตั ิจากคาํ ภาษาอังกฤษทกุ คํา

1) จลุ ทรรศน์ จุลินทรยี ์ จลุ กฐนิ 2) สังคม สังเคราะห์ สังโยค

3) สมมาตร สมมตุ ฐิ าน สมเพช 4) วกิ ฤตการณ์ วิจยั วสิ ยั ทศั น์

6. ขอ้ ใดไมม่ ีคาํ ยมื ภาษาบาลีสันสกฤต ข. พอจวนย่าํ รุง่ เร่งออกจากท่า
ก. วนั จะจรจากน้องสบิ สองค่ํา ง. พต่ี ้งั ตาแลแลตามแพราย
ค. ราํ ลกึ ถงึ ดวงจันทร์ครรไลลา 3) ข้อ ข. และ ง. 4) ข้อ ค. และ ง.

1) ข้อ ก. และ ข. 2) ขอ้ ก. และ ค.

7. ข้อใดมีคาํ ท่มี าจากภาษาตา่ งประเทศมากทสี่ ดุ

1) จงเจริญชเยศดว้ ย เดชะ

2) ปราชญ์แสดงดาํ รดิ ้วย ไตรยางศ์

3) อ้าจอมจักรพรรดผ์ิ ู้ เพ็ญยศ

4) บัณฑิตวินิจเลิศ แถลงสาร

ภาษาไทย (60)____________________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

8. คําประพันธ์ในข้อใดไมม่ ศี ัพทท์ ่มี าจากภาษาบาลีหรอื สนั สกฤต

1) เราจะตดั ศึกใหญใ่ หย้ ่อยน่ 2) ด้วยกําลังรพี้ ลเขม้ แขง็

3) แม้นไพรหี นมี ือกลางแปลง 4) เหน็ หักได้ไม่แคลงวญิ ญาณ์

9. ขอ้ ใดไมจ่ ําเปน็ ต้องใช้คําภาษาองั กฤษ

1) ร้านอาหารสง่ เมนูมาให้เขาเลอื กแล้ว 2) เมอ่ื ขน้ึ รถแลว้ ควรกดลอ็ กประตทู ันที

3) เรอ่ื งนกี้ ลา่ วถึงกันมากในโซเชียลเน็ตเวริ ์ก 4) เขากําลังจะเดินทางไปชกมวยป้องกนั แชมป์

5) บรษิ ัทโฆษณาวา่ สเปรย์นา้ํ แร่ชว่ ยลดขนาดรขู มุ ขน

10. ขอ้ ใดไมม่ คี ําที่มาจากภาษาบาลสี ันสกฤต 2) แต่ลมปากหวานหไู ม่รู้หาย
1) แมน้ จักรักรักไวใ้ นอารมณ์ 4) อนั ความคดิ วิทยาเหมือนอาวุธ
3) ย่งิ เน่นิ นานกย็ ิง่ เหน็ จะเปน็ คณุ
5) เอาเงินงา้ งอ่อนตามความประสงค์

เฉลย

1. 4) 2. 1) 3. 1) 4. 3) 5. 4) 6. 3) 7. 4) 8. 1) 9. 1) 10. 2)

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (61)

การสรา งคํา

ภาษาไทยเปน็ ภาษาทมี่ ีลักษณะคาํ โดด คาํ ศัพทพ์ นื้ ฐานส่วนใหญม่ ักมพี ยางคเ์ ดยี ว เช่น พ่อ แม่ แก่ เฒ่า
เขียว ขาว ดาํ ฯลฯ โดยคาํ เหลา่ นเ้ี องทม่ี ีลกั ษณะของคําที่เรยี กว่า “คํามลู ”

คํามลู = คาํ ท่ีมคี วามหมายสมบรู ณ์ในตัว อาจมพี ยางค์เดยี วหรือหลายพยางค์ก็ได้
คาํ มูลพยางค์เดยี ว ; หมู หมา กา ไก่
คาํ มูลหลายพยางค์ ไดแ้ ก่
- สองพยางค์ ; สะดวก สบาย ขนม กะทิ กระทะ
- สามพยางค์ ; จะละเมด็ มะละกอ จระเข้ จ้าละหวั่น จ๊กั จี้
- ส่ีพยางค์ ; โกโรโกโส ตะลีตะลาน คะยั้นคะยอ ลุกลล้ี กุ ลน
- หา้ พยางค์ ; สาํ มะเลเทเมา
เงอื่ นไขของคํามลู ถ้ามหี ลายพยางค์ คอื
- แยกคําแล้วแตล่ ะพยางค์ไม่มคี วามหมาย ; อะครา้ ว, จิงโจ้
- บางพยางคม์ ีความหมาย ;

ตนุ ตะ แปลวา่ ทา ฉาบ ส่วน นุ ไม่มีความหมาย (ตะหนฺ ุ = เต่า, ตะนุ = ตน ตวั )
นาฬิ กา นา คือ ท่นี า ฬิ ไมม่ คี วามหมาย กา คอื นกสดี ํา
- แตล่ ะพยางค์มีความหมายก็จรงิ แตค่ วามหมายรวมไม่ไดเ้ ก่ยี วข้องกับความหมายเดมิ เลย ;
มะละกอ → มะ = คาํ กร่อนมาจาก “หมาก”, ละ = แยก, กอ = กลุ่มตน้ ไม้
กระถาง → กระ = เต่ากระ ตกกระ, ถาง = ทําให้เตยี น
นารี → นา = ท่นี า, รี = เรยี ว ไมก่ ลม
จะสงั เกตได้ว่า คาํ ว่า มะละกอ กระถาง หรอื นารี เมือ่ แยกพยางคอ์ อกมาแลว้ ความหมายของ
แตล่ ะพยางค์ไม่ได้เกย่ี วกบั ความหมายที่เป็นอยูเ่ ลย ไมไ่ ด้เกดิ จากการนําคาํ วา่ มะ + ละ + กอ แตแ่ คบ่ งั เอญิ
มเี สียงเดียวกันเท่านั้น
คาํ ประสม = คําทีม่ ีความหมายต่างกนั 2 คาํ มารวมกนั แล้วเกิดความหมายใหม่ แต่ละคําตอ้ งมีเคา้
ความหมายเดมิ อย่ดู ว้ ย คาํ ประสมอาจเกดิ จากคําภาษาตา่ งประเทศกไ็ ด้ จะตา่ งกับคาํ มลู 2 พยางค์ข้ึนไป ดงั น้ี
คําประสม เมื่อ - แยกคาํ แล้ว แตล่ ะคํามีความหมายในตวั เอง ; รถไฟ ตเู้ ย็น ..................................
...................................................................................................................................................

- คาํ ทแ่ี ยกออกมามเี ค้าความหมายอยใู่ นความหมายใหม่อย่าง เตารีด ก็คอื เคร่ืองใช้
ที่ให้ความร้อนได้คล้ายเตา นาํ ไปใช้รดี ผ้าให้เรยี บ ซ่งึ ก็จะสงั เกตไดว้ า่ แตล่ ะคําในความหมายเดมิ เมอื่ ประกอบกัน
เป็นคําใหม่แล้วกย็ ังมีเคา้ ความหมายอย่ดู ้วย

ภาษาไทย (62)____________________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

โครงสร้างคําประสม = ใหพ้ จิ ารณาจากชนดิ ของคําท่นี ํามาสร้าง เช่น รถไฟ (คาํ นาม + คํานาม), ใจแตก
(คํานาม + คํากรยิ า), ปากแขง็ (คาํ นาม + คาํ วเิ ศษณ์), เครือ่ งซกั ผา้ (คํานาม + คาํ กริยา + คาํ นาม)

***ไม่วา่ คาํ ประสมจะเกิดจากคํากชี่ นดิ มาประกอบกนั ก็ตาม ให้จาํ ไว้วา่ เมือ่ มาประกอบกันแล้วจะเกิด
คําใหม่เพียงชนดิ เดียวเทา่ น้ัน เชน่

ใตเ้ ทา้ (บุพบท + นาม) → ประสมแล้วเปน็ คําสรรพนาม
หายใจ (กรยิ า + นาม) → ประสมแลว้ เป็นคาํ กริยา
***การทาํ โจทย์เรือ่ งคาํ ประสม ตอ้ งอา่ นโจทยใ์ ห้ดีวา่ ถามถงึ อะไร เชน่ ถ้าถามถงึ โครงสรา้ ง คําว่า
ใต้เทา้ ตอ้ งตอบวา่ เกดิ มาจาก คําบุพบทและคํานาม แต่ถ้าถามชนดิ ของคาํ ตอ้ งตอบวา่ เป็นคาํ สรรพนาม

คําซอ น = การนาํ คาํ ท่มี คี วามหมายใกล้เคยี งกนั ตรงขา้ มกัน มาวางซ้อนกัน ทาํ ให้เกดิ ความหมายใหม่
หรอื ใกล้เคยี งกบั ความหมายเดิม

จุดประสงคก์ ารสร้างคําซอ้ นเพื่อให้ไดค้ วามหมายทชี่ ดั เจน ดงั น้ี

- แยกคําที่มีเสียงพอ้ งกัน ข้าทาส ฆา่ ฟัน ราคาคา่ งวด

- เสรมิ ความหมายคาํ เลก็ นอ้ ย นมุ่ นิม่ ขดั ข้อง ขดั ขนื ออ่ นโยน อ่อนน้อม

- อธิบายคาํ ภาษาถิน่ /ต่างประเทศ พดั วี เสือ่ สาด ภตู ผี ทรัพยส์ นิ ทองคํา แสวงหา เกี่ยวขอ้ ง

โคลนตม มากหลาย เข็ดหลาบ ขนลกุ ขนพอง ดแู ล ดว้ ยกัน

จบั กมุ แตะต้อง

คาํ ซ้อนเพอื่ ความหมาย เกดิ จากการนําคาํ มูลทม่ี คี วามหมายเหมือนกัน คลา้ ยกนั หรือตรงกนั ข้ามกนั
มาซ้อนกัน มี 3 ลกั ษณะ

1. ความหมายเหมือนกนั ซ้อนกัน

รปู ร่าง ขา้ ทาส พัดวี วา่ งเปลา่ มากหลาย คอยท่า
พลัดพราก ทรพั ยส์ นิ โคลนตม รงุ่ แจ้ง
สรา้ งสรรค์ ภูตผี

2. ความหมายคล้ายกันซ้อนกนั

หนา้ ตา เงนิ ทอง เพชรพลอย แขนขา เรือแพ ลูกหลาน

เสยี ดสี กดขี่ ชอื่ แซ่ วงิ่ เตน้ เดือดร้อน ดดู ด่ืม

3. ความหมายตรงกันขา้ มกนั ซอ้ นกนั

เปน็ ตาย ร้ายดี ดีชวั่ ถห่ี ่าง ผิดชอบ เท็จจรงิ

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (63)

คําซ้อนเพอ่ื เสียง เกิดจากการประกอบคํามูลที่มีเสียงพยัญชนะตน้ เหมือนกันและมเี สียงสระสัมพนั ธ์กนั

มาซอ้ นกันเพื่อให้เกิดเสียงคล้องจอง ;

เปดิ เปิง โยเ้ ย้ ขยุกขยิก ขมุกขมัว อบุ อิบ ยยู่ ี่ งอแง

จจู๋ ี๋ จอแจ สูสี หยุมหยมิ ยับยัง้ งอ่ นแง่น โฉงเฉง

โขยกเขยก เปาะแปะ เรีย่ ราด ระริกระร้ี

การสลับตําแหน่งของคาํ ซ้อน

1. สลบั แลว้ ความหมายไมเ่ ปล่ียน โศกเศร้า สรา้ งสรรค์
คราํ่ ครวญ เก่ยี วข้อง แจกจ่าย ขมขื่น

2. สลบั แล้วความหมายเปลย่ี นไป เหยยี ดยาว มวั หมอง โต้ตอบ
แหลกเหลว แนน่ หนา อยกู่ นิ

3. ไมส่ ามารถสลบั ไดเ้ พราะเม่ือสลบั แลว้ ไมม่ ีความหมาย ไม่ได้ความ ไมน่ ิยม

ยกย่อง คํา้ จุน โต้แยง้ น่มุ นวล ครงั้ คราว ทอ้ ถอย

เลือกสรร ตดั สิน คอยทา่ ทอดท้งิ ปลอดโปรง่ เขยี วขจี

คําซา้ํ = การนําคาํ มลู ทมี่ รี ปู เสียง ความหมาย หน้าท่ีเหมือนกนั มาซาํ้ กัน โดยมีจดุ ประสงคเ์ พ่อื บอก
ลักษณะ บอกพหูพจน์ เพ่มิ จาํ นวน บอกความถ่ี (ความตอ่ เนอ่ื ง) ไมเ่ จาะจง ออ่ นลง เนน้ ยา้ํ เปล่ียนความหมาย
มีลักษณะ ดงั นี้

- คําซํา้ ที่ใช้ไม้ยมกแทน เร็วๆ สายๆ บา่ ยๆ
เดก็ ๆ เลก็ ๆ น้อยๆ เพื่อนๆ เกนิ ๆ ชา้ ๆ

- คาํ ซํ้าที่เปลีย่ นเสียงวรรณยกุ ต์
เร้วเรว็ เด๊กเด็ก เตยี๊ เต้ยี แด๊งแดง ขา๊ วขาว เก๊าเก่า

- คําซํา้ ทม่ี าจากคําซอ้ น
ช่วั ๆ ดีๆ หลบๆ ซ่อนๆ ผดิ ๆ ถกู ๆ

- ซํา้ อักษรหรอื เสียงหนา้ พยางคห์ น้า (อพั ภาสคํา)
ระเรอื่ ย ยะแย้ม ฉะฉาด วะวบั ระรกิ ระรน่ื

หมายเหตุ บางคํามีเสียงซา้ํ กันแต่มใิ ช่คําซา้ํ เพราะตอ้ งใชค้ ่กู นั เสมอ เช่น หลดั ๆ หยกๆ ฉอดๆ ยองๆ
ปาวๆ (แต่นกั วิชาการบางท่านกบ็ อกใช)่

นอกจากน้ี คําที่ออกเสียงซาํ้ กนั โดยไมใ่ ชไ้ ม้ยมก เช่น จะจะ (ชดั เจน กระจา่ ง) หรอื คาํ ตา่ งประเทศ
อ่ืนๆ ทีเ่ ขียนซา้ํ กันโดยไมใ่ ช้ไมย้ มก เช่น นานา (ตา่ งๆ) ปาปา มามา อ๋งิ องิ๋ เชาเชา ชงิ ชิง ชว่ งชว่ ง ก็ไมน่ ับว่า
เปน็ คาํ ซ้ํา

ภาษาไทย (64)____________________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

ตัวอยา งขอสอบ

1. ขอ้ ใดมคี าํ ประสมมากท่สี ดุ
1) ดาวเรอื งเปน็ ไม้ลม้ ลกุ เหมือนกบั ทานตะวันและบานชื่น
2) ชาวบา้ นมักเชื่อกนั วา่ ตน้ ตะเคยี นมนี างไมอ้ ยปู่ ระจาํ จงึ ไมต่ ดั โคน่
3) ชา้ งกระเป็นกลว้ ยไมท้ สี่ วยงามและมีกล่ินหอม ดอกมสี ีขาวประม่วง
4) ผู้สงู อายุบางคนกินสมอเปน็ ยาระบายเพราะไม่มีพิษและเป็นยาอายวุ ฒั นะ
5) ใบตองใช้ห่อข้าวเหน่ยี วใส่กล้วยไว้ข้างใน แลว้ นาํ ไปนงึ่ เรยี กวา่ ขา้ วต้มมดั

2. ขอ้ ใดเป็นคําซอ้ นทุกคํา 2) ถอ่ งแท้ ถถ่ี ้วน ถากถาง
1) ซํ้าซอ้ น ซอ่ นรปู ซักฟอก 4) แปรผัน เป่าหู โปรยปราย
3) บีบคน้ั เบียดเบยี น เบาความ

3. ข้อความต่อไปนสี้ ่วนใดมคี ําประสมท้ัง 2 ส่วน

(1) บริเวณสวนกว้างขวาง / (2) มีสนามท่ไี ดร้ บั การดูแลจากเทศบาลเมอื ง / (3) มีประติมากรรมเปน็

รูปเทพธิดาแสนงาม / (4) มมุ หนง่ึ มีนาฬกิ าแดดคอยบอกเวลา

1) สว่ นท่ี 1 และ 4 2) ส่วนท่ี 2 และ 3

3) สว่ นที่ 1 และ 3 4) สว่ นท่ี 2 และ 4

4. ข้อใดมีคาํ ประสมทกุ คํา 2) เดนิ แต้ม เดินรถ เดินสะพัด
1) คําขาด คําคม คําราม 4) ตดิ ลม ติดใจ ตดิ ขดั
3) นา้ํ ปา่ น้ําไหล นํา้ มือ

5. คําซา้ํ ในข้อใดต้องใชเ้ ป็นคาํ ซ้ําเสมอ
1) ผใู้ หญบ่ างคนอาจจะคิดวา่ วยั ร่นุ ชอบแต่งตวั บ้าๆ บอๆ
2) คนท่ีทําความผิดก็ต้องหลบๆ ซอ่ นๆ ไมใ่ ห้ตาํ รวจจบั ได้
3) เหตุการณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ สดๆ ร้อนๆ ทาํ ให้ฉนั ตกใจไมห่ าย
4) ผหู้ ญงิ สาวไมค่ วรกลับบา้ นดึกๆ ดน่ื ๆ จะไม่ปลอดภัย

6. ขอ้ ใดใชค้ าํ ซ้อนไดถ้ กู ตอ้ ง
1) แม่เร่งรัดใหล้ กู แต่งตวั เร็วๆ เพราะวนั น้ีลกู ต่ืนสาย
2) พรุ่งน้เี ช้าหัวหน้าทัวรจ์ ะนาํ พาลูกทัวรส์ ู่จังหวดั กาญจนบรุ ี
3) หน้าหนาวอากาศบนยอดดอยเยน็ เยือก จับขวั้ หวั ใจ
4) ฝีมือในการทาํ อาหารรา้ นน้ีตกตํา่ ลกู คา้ จงึ ลดลงอยา่ งมาก

7. ข้อใดมีคําที่ไม่ใช่คําประสมปนอยู่
1) ทางขา้ ม ทางด่วน ทางผา่ น ทางหลวง
2) ยาเขียว ยาชา ยาธาตุ ยาเรือ
3) ของเกา่ ของโจร ของรอ้ น ของไหว้
4) นา้ํ กรด นา้ํ เกลือ นาํ้ ข้าว นํ้าเหลือง

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (65)

8. คาํ ทีข่ ีดเสน้ ใต้ข้อใดต้องใชเ้ ปน็ คาํ ซํา้ เสมอ
1) มขี นมอะไรกก็ นิ ๆ แก้หวิ กอ่ นแล้วกนั
2) ละครเรอื่ งนท้ี ําไมถึงจบเอาด้ือๆ กไ็ มร่ ู้นะ
3) เร็วๆ หน่อยลกู เดีย๋ วจะไปไมท่ นั โรงเรียนเขา้
4) เหน็ ประกาศรบั สมัครงานทีไ่ หนก็สมคั รๆ ไปกอ่ น
5) ถงึ เขาจะอธบิ ายวธิ กี ารใชก้ ลอ้ งสองคร้ังแลว้ แต่ฉันกย็ ังงงๆ อยเู่ ลย

เฉลย

1. 1) 2. 2) 3. 4) 4. 2) 5. 3) 6. 3) 7. 2) 8. 2)

ภาษาไทย (66)____________________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

คําสมาส

คาํ สมาส เป็นการสรา้ งคาํ ใหมด่ ว้ ยการประสมคํา/นําคํามารวมกันต้งั แต่ 2 คาํ ข้นึ ไป ซ่งึ คาํ ท่ีใช้จะต้องเปน็
คําท่ีมาจากภาษาบาลหี รือสนั สกฤต แล้วเกดิ เปน็ คาํ ทีม่ คี วามหมายใหม่ โดยการแปลความหมายของคํานั้นตอ้ ง
เปน็ การแปลความจากหลงั ไปหน้า

คาํ แขก คาํ แขก

แปลจากหลงั ไปหนา้

เช่น .........................................................................................................................
...............................................................................................................................
...............................................................................................................................
...............................................................................................................................
...............................................................................................................................
...............................................................................................................................

คําสมาส เมื่อแบ่งตามลกั ษณะการสร้างคํา สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ประกอบด้วย
1. คาํ สมาสแบบสมาส คอื

- การนําคาํ ทมี่ าจากภาษาบาลี สนั สกฤต มาประสมกันโดยไมม่ ีการเปลีย่ นแปลงรปู คํา **ยกเว้น
รูป -ะ หากมีใหต้ ัดรปู ทิง้ แต่คงเสยี งไว้ เชน่ ศลิ ปะ + วิทยา → ศลิ ปวิทยา ................................................
...................................................................................................................................................

- การอา่ นคํา ต้องอ่านให้มเี สียงสระเช่อื มติดกันตามรูป เชน่ ภมู ิศาสตร์ (พู-มิ-สาด) ราชการ
(ราด-ชะ-กาน)

- ระหว่างคาํ สมาสจะไมใ่ ช้เครอ่ื งหมายทณั ฑฆาต เชน่ มนษุ ยศาสตร์ แพทยศาสตร์
- คาํ วา่ “วร” (วะระ, วอระ) เมื่อนาํ มาใช้สมาส สาํ หรับภาษาไทยจะแผลงเป็น “พระ” แล้วนํามา
ประกอบกบั คําบาลี สนั สกฤต อื่นๆ เชน่ วรพกั ตร์ วรเนตร → พระพกั ตร์ พระเนตร
**แต่ใหร้ ะวัง! การใช้ “พระ” ประกอบกับคาํ ท่ีไมใ่ ช่บาลี สันสกฤต จะกลายเปน็ คาํ ประสมทวั่ ไป เชน่
พระเกา้ อ้ี (เก้าอี้ คาํ จนี ) พระเมรุมาศ (เมรุ คาํ บาลี แต่ มาศ เป็นคาํ เขมร) นอกจากนี้ เช่น ราชดาํ ริ เคมภี ณั ฑ์
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
........................................................................................................................................ เป็นตน้

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (67)

2. คําสมาสแบบสนธหิ รือกลมกลืนเสยี ง คือ

- การนําคําทีม่ าจากภาษาบาลี สนั สกฤต มาเชื่อมกนั อย่างมรี ะบบ เกดิ การกลมกลนื เสยี งและมีการ

เปลี่ยนแปลงรูปคาํ เช่น สุขาภบิ าล (.................... + ....................)

ราโชบาย (.................... + ....................)

ภมู นิ ทร์ (.................... + ....................)

- มี 3 ลกั ษณะ คอื สระสนธิ พยญั ชนะสนธิ และนิคหติ สนธิ ท้งั นจ้ี ะขอกลา่ วเฉพาะสว่ นที่เนน้ มาก

ที่สุด

สระสนธิ

- การนาํ คําที่ลงทา้ ยด้วยสระมาประสมกับคําทขี่ น้ึ ต้นด้วยสระ (อะ อา อิ อี อุ อู โอ)

- เมื่อสนธกิ ันแล้วสระทีม่ าประสมกันจะเปลี่ยนรปู ไป มีหลกั ดงั น้ี

2.1 ตัดสระทา้ ยคําหน้า ใชส้ ระหนา้ คําหลัง เชน่

ชลาลยั วทิ ยาลยั วชริ าวุธ มหรรณพ มไหศวรรย์ วโรกาส

ชล + อาลัย วิทย + อาลยั วชริ + อาวธุ มหา + อรรณพ มหา + ไอศวรรย์ วร + โอกาส

พุทโธวาท ภุชงค์ อเนก เทวาลัย มหศั จรรย์ ศวิ าลยั

++ + + ++

2.2 ตัดสระท้ายคาํ หนา้ แลว้ ใชส้ ระหน้าคําหลงั เป็นตวั เปลี่ยนรปู ดังน้ี
ะ + ะ → า เช่น

- ราช (ะ) + อ (ะ) ธิราช = ราชาธิราช
- เทศ + อภิบาล = ............................... - ฐาน + อนกุ รม = ....................................
- ทตู + อนทุ ตู = ............................... - ประชา + อธปิ ไตย = ....................................
- ปรม + อณู = ............................... - ธรรม + อธิปไตย = ....................................

ะ + ิ → เ- เชน่

- ราม (ะ) + อศิ วร = ราเมศวร - นร (ะ) + อิศวร = นเรศวร

- คช + อนิ ทร์ = ............................... - *โกสี + อินทร์ = ....................................
- *ปรม + อินทร์ = ............................... - มหา + อิสี = ....................................

ภาษาไทย (68)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

ะ + ุ → ู, โ- เช่น

- ราช (ะ) + อปุ ถัมภ์ = ราชปู ถัมภ์ - ราช (ะ) + อบุ าย = ราโชบาย

- คุณ + อปุ การ = ............................. - ราชินี + อปุ ถัมภ์ = ...............................

- ราช + อทุ ิศ = ............................. - สาธารณ + อุปโภค = ...............................

- ศิร + อตุ ม = ............................. - นร + อุดม = ...............................

- นย + อุบาย = ............................. - *มคั ค + อุเทศก์ = ...............................

2.3 หากคาํ หนา้ ลงทา้ ยดว้ ยสระ อ,ิ อี ให้ตัดสระออกแล้วเปลี่ยนเป็น ย

อ,ุ อู ใหต้ ัดสระออกแลว้ เปลี่ยนเป็น ว

ย, ว → กฎข้อ 2.1 หรอื 2.2 เช่น

- รติ + อารมณ์ = รตย + อารมณ์ = รตยารมณ์
- ธนู + อาคม = ธนว + อาคม = ธันวาคม
- อธิ + อาศยั = ....................................... = ..............................................
- อัคคี + โอภาส = ....................................... = ..............................................
- จักขุ + อาพาธ = ....................................... = ..............................................

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (69)

แบบฝก หดั

1. ข้อใดมีคําสมาสท่มี ีการสรา้ งคาํ ตา่ งจากคาํ อน่ื อยู่ดว้ ย
1) อาศรมบท กลั ปพฤกษ์
2) อรรถศาสตร์ สัญประกาศ
3) ชาตวิ ุฒิ นิธินาถ
4) มนุ ินทร์ ครภุ ณั ฑ์

2. ขอ้ ใดไม่มคี าํ สมาส พดั โบกพชั นี
1) มยรุ ฉัตรชมุ สายพรายศรี ชาวบุรกี ป็ รดี า
2) ไพร่ฟ้าประชาชี พนู สวสั ดถ์ิ าวร
3) ผาสุกรกุ ขมลู เร่งรัดหัสดนิ
4) เรง่ พลโยธาพานรนิ ทร์

3. ข้อใดไม่มีคาํ สมาส
1) วสิ ทุ ธโยธามาตยเ์ จ้า กรมขวา
2) หน่งึ ชอื่ ราชโยธา เทพซา้ ย
3) ตําแหน่งศักด์ยิ ศถา เสถียรที่
4) คมุ พยุหยาตราย้าย ยา่ งเข้าตามสถาน

4. ขอ้ ใดมคี าํ สมาสท่ีมกี ารสรา้ งคําตา่ งกับขอ้ อืน่
1) ขับคเชนทรส์ าวก้าว ส่ายเสอ้ื งเทาทาง
2) สถานทีพ่ ทุ ธบาทสร้าง สบื ไว้แสวงบญุ
3) สุธารสรบั พระเตา้ เครื่องตน้ ไปตาม
4) โดยเสด็จดําเนินแคล้ว คลาดคลอ้ ยบทจร

5. การสร้างคาํ ในข้อใดมีลกั ษณะตา่ งจากข้ออืน่
1) อุทกภยั คณิตศาสตร์ มนุษยชาติ
2) กาลเทศะ ธุรกจิ แพทยศาสตร์
3) อณุ หภูมิ เทพบตุ ร ประวตั ศิ าสตร์
4) ภตั ตาคาร อรุโณทยั วชิราวุธ

6. คาํ ในขอ้ ใดมีการสนธทิ กุ คาํ
1) อธิบดี คุณปู การ ราชทนิ นาม
2) ราชปู โภค รัตกิ าล อคั โยภาส
3) โภไคศวรรย์ อภิบาล มหรรณพ
4) ธนั วาคม มหัศจรรย์ ปรมนิ ทร์

ภาษาไทย (70)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

7. ขอ้ ใดไม่เปน็ คําสมาสทุกคํา
1) วีรบรุ ษุ ทุนทรัพย์ นาฏศิลป์
2) เอกชน ปาฐกถา วาตภยั
3) ภาพยนตร์ บตุ รทาน วศิ วกรรม
4) โจรภยั ปยิ มหาราช มยุรฉตั ร

8. ข้อใดเป็นคําสมาสทกุ คาํ
1) เคหสถาน เพรงกรรม อากาศธาตุ
2) วิบากกรรม นวโลหะ ชยั มงคล
3) วรี กรรม ปฏบิ ตั ิการ อญั ชุลี
4) ทัศนวิสยั ผลบุญ เพลงิ กาล

9. ขอ้ ใดมีคําที่ไมใ่ ช่คําสมาส
1) ขา้ ราชการ พลเรอื น
2) มาตรฐาน อญั มณี
3) อดตี กาล สารประโยชน์
4) ปรปกั ษ์ สภุ าษติ

10. ข้อใดมลี กั ษณะเหมอื นคําว่า “ราโชวาท”
1) วัฒนธรรม พลศกึ ษา ภารกจิ
2) ธุรการ พุทธคุณ อกั ษรศาสตร์
3) ธนาลยั มโหฬาร สุโขทยั
4) ครภุ ณั ฑ์ สนุ ทรทาน สัณหจฑุ า

เฉลย

1. 4) 2. 2) 3. 3) 4. 1) 5. 4) 6. 4) 7. 1) 8. 3) 9. 1) 10. 3)

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (71)

ประโยคและการรอ ยเรียงประโยค

สว่ นประกอบของประโยค

ประโยค
ประโยคเกดิ จากคาํ หลายๆ คาํ หรือวลีทีน่ าํ มาเรยี งต่อกันอย่างเปน็ ระเบียบให้แต่ละคํามคี วามสัมพนั ธก์ นั
มีใจความสมบูรณ์ ประโยคมสี ่วนประกอบสาํ คัญ 2 ส่วน คอื ภาคประธานและภาคแสดง แต่อาจมคี ําขยายส่วน
ตา่ งๆ ด้วยกไ็ ด้
1. ภาคประธาน

ภาคประธานในประโยค คอื คาํ หรือกล่มุ คําที่ทําหน้าท่ีเปน็ ผกู้ ระทํา ผู้แสดง ซึ่งเป็นสว่ นสําคญั ของ
ประโยค ภาคประธานนี้ อาจมีบทขยายซง่ึ เป็นคาํ หรอื กลมุ่ คาํ มาประกอบ เพื่อทาํ ให้มีใจความชดั เจนยง่ิ ขึ้น

2. ภาคแสดง
ภาคแสดงในประโยค คือ คําหรอื กล่มุ คาํ ทป่ี ระกอบไปดว้ ยบทกริยา บทกรรม และสว่ นเตมิ เตม็

บทกรยิ าทําหนา้ ทเี่ ป็นตัวกระทําหรือตวั แสดงของประธาน สว่ นบทกรรมทาํ หน้าทเี่ ป็นผู้ถูกกระทาํ และส่วนเติม
เต็มทาํ หนา้ ท่เี สรมิ ใจความของประโยคใหส้ มบรู ณ์ คือ ทาํ หน้าทีค่ ล้ายบทกรรม แตไ่ มใ่ ช้กรรม เพราะมไิ ดถ้ ูก
กระทํา

ประโยค

ภาคประธาน ภาคแสดง

ประธาน ขยายประธาน กรยิ า กรรม กรรม ขยายกรรม

ภาษาไทย (72)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

ชนดิ ของประโยค

ประโยคความเดยี ว มีประธานตวั เดยี ว กรยิ าตวั เดยี ว

ประโยคความรวม ประโยคความเดียวต้ังแต่ 2 ประโยคข้ึนไปมารวมกันโดยมีคําสันธานเป็นตัวเชื่อม
แบ่งตามความสัมพันธข์ องประโยคใน 4 ลกั ษณะ คือ

- เชอื่ มประโยคความรวมแสดงความเป็นเหตผุ ล
คําเชือ่ มบอกเหตซุ ่งึ บังเกดิ ผลคล้อยตาม ได้แก่ เพราะ เพราะวา่ ท้งั น้ีเพราะ ด้วยเหตทุ ่ี โดยเหตุท่ี

เน่อื งด้วย เน่ืองจาก
ตัวอยา่ ง เขามาเพราะเขารักเธอ
.......................................................................................
.......................................................................................

- เช่อื มประโยคความรวมแสดงความคล้อยตามกัน
ใชน้ ําหน้าประโยคท่ีบอกความหมายทํานองเดียวกัน ไม่ขดั กนั กล่าวรวมกันได้ ไดแ้ ก่ ก็ และ ทงั้

ตลอดท้ัง
ตวั อย่าง เร่ืองนีส้ ะทอ้ นภูมปิ ญั ญาไทยตลอดท้ังแสดงสภาพสงั คมในยคุ สมัยน้ัน
.......................................................................................
.......................................................................................

- เช่อื มประโยคความรวมบอกความขัดแย้ง
ไดแ้ ก่ แม้ ถงึ แม้ว่า ท้งั ๆ ที่ ถงึ แมว้ า่ ถงึ หาก
ตวั อย่าง ถึงแม้ว่าเขาจะมอี ายุมากแล้ว แต่กม็ ีสขุ ภาพแขง็ แรงดี
ฉันชอบลําไย แต่เขาชอบมงั คุด
กางเกงสสี ด แตเ่ สอ้ื สีซีด
.......................................................................................
.......................................................................................

- หนว่ ยเชื่อมประโยคความรวมบอกเหตซุ ง่ึ เป็นเงอื่ นไข
ไดแ้ ก่ ถา้ หาก ถ้าหาก ตอ่ เมือ่ ในเมือ่ เว้นแต่ นอกจาก เวน้ เสียแต่วา่
ตวั อย่าง ฉนั จะไปแวะบ้านเธอถา้ ฝนไม่ตก
ในเม่อื เขาเขา้ เรียนสมา่ํ เสมอ เขาก็ยอ่ มสอบไดค้ ะแนนดี

โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (73)

ประโยคความซ้อน คือ ประโยคท่ีมีบทขยายเป็นประโยคยอ่ ยซอ้ นเข้ามา ดงั น้ี
- ประโยคหลกั หรอื มุขยประโยค คือ ประโยคทม่ี ีอีกประโยคเป็นส่วนหนงึ่ ของประโยค
- ประโยคย่อย หรอื อนปุ ระโยค คือ ประโยคทข่ี ้นึ ต้นดว้ ยคาํ เช่อื ม ที่ ซง่ึ อนั ผู้ วา่ ให้ โดยอนปุ ระโยค
ทาํ หนา้ ทไ่ี ดอ้ ยา่ งนามวลี เปน็ ประธาน เป็นกรรม เป็นหนว่ ยเตมิ เตม็ ขยายส่วนใดสว่ นหนง่ึ ของประโยค หรอื
ขยายกรยิ าวิเศษณ์
ประโยคความซ้อนแบ่งเปน็ 3 ชนดิ
1. ประโยคความซ้อนที่มีนามานุประโยค

นามานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทําหนา้ ที่เหมอื นนามวลี กล่าวคือ อาจทาํ หน้าท่เี ป็นประธาน กรรม
หนว่ ยเติมเตม็ โดยจะมคี าํ เชอ่ื มนามานุประโยค ได้แก่คาํ ว่า ที่ วา่ ทวี่ า่ ให้ นําหนา้ เชน่

ทเ่ี ขาเลา่ มาน้นั ถูกตอ้ งแนน่ อน
ท่ีเขาเล่ามานน้ั = ประธานของกรยิ าวลี (ถูกต้องแนน่ อน)
ถกู ตอ้ งแนน่ อน = กรยิ าวลี

สรุ บถไมช่ อบใหใ้ ครมาว่าครูของเขา

สุรบถไมช่ อบ = ประโยคหลัก (มขุ ยประโยค)

ให้ใครมาวา่ ครูของเขา = นามานปุ ระโยค ทาํ หน้าที่กรรมของกรยิ าวลี (ไมช่ อบ)

2. ประโยคความซอ้ นท่ีมคี ณุ านุประโยค
คุณานปุ ระโยค คือ อนุประโยคทีท่ ําหน้าที่ขยายนามทนี่ าํ มาขา้ งหน้า มีคาํ เชื่อมคุณานุประโยค ท่ี ซงึ่ อัน

โดยคาํ เชอ่ื มนก้ี ค็ ือประธานของอนปุ ระโยคเอง เช่น มาลีซงึ่ เป็นผจู้ ดั การบริษทั ไดเ้ ล่ือนข้นั สงู ขน้ึ
ซ่งึ เป็นผูจ้ ดั การบริษัท = คุณานปุ ระโยค ขยายคาํ นามคําวา่ มาลี
มาลีไดเ้ ลือ่ นขนั้ สูงข้ึน = ประโยคหลกั

เสื้อท่ีรุ่งรวีสวมอยู่สวยมาก
ทรี่ งุ่ รวสี วมอยู่ = คณุ านุประโยค ขยายคํานามคาํ วา่ เส้อื
เสื้อสวยมาก = ประโยคหลัก

3. ประโยคความซอ้ นท่ีมวี เิ ศษณานุประโยค
วิเศษณานุประโยค คอื อนปุ ระโยคที่ทาํ หนา้ ที่เหมอื นวเิ ศษณว์ ลี คอื มีหนา้ ที่ ขยายกริยาวลี เชน่
เขาทํางานหามรงุ่ หามคาํ ซง่ึ ไมด่ ีกับสุขภาพเลย
ซ่ึงไม่ดีกับสขุ ภาพเลย = วิเศษณานุประโยคขยายกริยาวลี (ทาํ งานหามรงุ่ หามคาํ่ )
เขาทํางานหามรงุ่ หามค่าํ = ประโยคหลกั

แม่บอกเร่ืองทั้งหมดกับพ่อว่าทําไมลกู ไม่ยอมพูดด้วย
ว่าทําไมลูกไมย่ อมพดู ด้วย = วเิ ศษณานุประโยคขยายกริยาวลี (บอกเรื่องทั้งหมด)
แม่บอกเร่อื งทงั้ หมดกบั พอ่ = ประโยคหลัก

เทคนคิ การพิจารณาประโยคความซ้อน
.........................................................................................................................................

ภาษาไทย (74)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

ลาํ ดบั คําในประโยค

เนื่องจากภาษาไทยเป็นภาษาคําโดด ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคําเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างคํา
การเรียงคําเข้าประโยคจึงสําคัญมาก เพราะตําแหน่งของคําจะแสดงหน้าที่ของคําน้ันในประโยค และแสดง
ความสมั พนั ธ์ของคาํ นัน้ กบั คาํ อ่นื ๆ ในประโยคด้วย

ตัวอยา่ ง น้ํามาปลากินมด (ปลาเปน็ ผกู้ ระทํา มดเปน็ ผู้ถูกกระทาํ )
นาํ้ ลดมดกินปลา (มดเปน็ ผู้กระทํา ปลาเป็นผถู้ กู กระทาํ )

ข้อสงั เกต
1. มบี ้างบางกรณที ่กี ารเรียงคาํ ต่างกนั แต่ความหมายของประโยคยังคงเดมิ

เช่น แกม้ เธอเป้อื นโคลน - โคลนเปือ้ นแกม้ เธอ
2. มบี ้างบางกรณีท่กี ารเรยี งคาํ ต่างกนั แตค่ วามสัมพนั ธ์ระหว่างคาํ ยงั คงเหมือนเดิม

เชน่ วนั น้ีฉนั ไปพัทยา - ฉนั ไปพทั ยาวนั นี้
3. คําท่ีผสู้ ่งสารต้องการเน้น มกั เป็นคําทีอ่ ยู่ตน้ ประโยค หรือทา้ ยประโยค

เช่น ผู้ถาม : เขาไปเชยี งใหม่เม่ือไหร่
ผ้ตู อบ : เขาไปเชียงใหมเ่ มื่อวานนี้
ผู้ถาม : เมื่อวานนี้เขาไปไหน
ผู้ตอบ : เม่ือวานน้ีเขาไปเชยี งใหม่

ในเร่ืองทั่วๆ ไป ภาษาไทยนิยมใช้ประโยคสามญั ซงึ่ เรียงลําดบั คําในประโยค ประธาน กรยิ า กรรม แตเ่ รา
ยงั เรียงลาํ ดบั คําเป็นประโยคกรรม และประโยคกรยิ าดว้ ย ดังนี้

ประโยคกรรม มี 2 ลกั ษณะ คือ
1. มปี ระธานเปน็ ผู้ถูกกระทํา

- ถูก + กรยิ า ใชใ้ นเรอ่ื งไม่ดี ไม่เป็นท่ีพอใจ เช่น เขาถกู ลงโทษ ถ้านําไปใชใ้ นเร่ืองทว่ั ๆ ไป เช่น
ข้อสอบเหล่านถี้ ูกรวบรวมโดยครูภาษาไทยจะถอื ว่าบกพรอ่ งเพราะใช้สาํ นวนภาษาต่างประเทศ เพราะเรือ่ งท่วั ๆ ไป
ในภาษาไทยนิยมใช้ประธานเปน็ ผู้แสดงอาการ ควรแก้เปน็ ครภู าษาไทยรวบรวมข้อสอบเหล่านี้

- ไดร้ ับ + กรยิ า + จาก ใช้ในเรือ่ งดีเปน็ ทีพ่ อใจ เชน่ เขาไดร้ บั เชิญจากสมาคมผูป้ กครองให้เปน็
วิทยากร

2. มีกรรมอยูข่ า้ งหน้าประธาน เราจะใชป้ ระโยคลกั ษณะนเี้ มื่อต้องการเนน้ กรรม ไม่เน้นประธาน เช่น
ขนมถ้วยนนี้ ้องตกั ไวเ้ อง

ประโยคกรรมลกั ษณะนอ้ี าจละประธานไวใ้ นฐานท่ีเขา้ ใจก็ได้ เช่น ตึก หลงั โน้นสร้างเสรจ็ อยา่ งรวดเรว็
ดว้ ยเงินบรจิ าค

ประโยคกริยา คอื ประโยคทม่ี ีกรยิ า เกดิ มี ปรากฏ บังเกดิ อยู่ข้างหนา้ ประธาน
เชน่ ปรากฏเงาประหลาดทบ่ี รเิ วณชายปา่ ดา้ นนั้นเสมอ

มีข่าวหลายกระแสว่าบคุ คลสําคญั ของประเทศทง้ั สองเจรจากันเพอื่ ยุติสงคราม

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีที่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (75)

การร้อยเรียงประโยค

ในการส่ือสาร บางทีเราใช้เพียงประโยคเดียวก็สื่อความคิดได้แจ่มแจ้งชัดเจน แต่ในบางโอกาสเรา
จําเป็นต้องใช้หลายประโยคร้อยเรียงกันให้เหมาะสมตามระเบียบของภาษา ในการน้ีเราควรมีความรู้เกี่ยวกับ
ประโยคและการร้อยเรียงประโยคต่อไปนี้

การรอ้ ยเรียงประโยคสามญั ในภาษาไทยในกรณีทม่ี ีครบทกุ บทจะเป็นดังนี้

ภาคประธาน ภาคแสดง ขยายกรยิ า
บทประธาน ขยายประธาน บทกริยา บทกรรม ขยายกรรม

หญงิ สาว ชอบ กุหลาบ แดง มาก

เราอาจใชก้ ลมุ่ คาํ เป็นบทขยายเพือ่ ใหร้ ายละเอยี ดมากข้ึน ดงั น้ี

ภาคประธาน ภาคแสดง
บทประธาน ขยายประธาน
บทกรยิ า บทกรรม ขยายกรรม ขยายกริยา
หญงิ สาวคนสวย ชอบ มากทสี่ ุด
กุหลาบ แดงเขม้

หลักทว่ั ไปในการรอ้ ยเรยี งประโยค
เนอื้ ความและลักษณะถ้อยคําในประโยคท่รี อ้ ยเรยี งกนั อยจู่ ะต้องมีสว่ นเกี่ยวขอ้ งตอ่ เนอื่ งกนั เน้ือความใน
ประโยคจงึ จะมเี อกภาพ

เอกภาพ คือ มคี วามเปน็ อันหนง่ึ อันเดียวกนั สว่ นถ้อยคาํ ท่ีจะทําใหป้ ระโยคตอ่ เนอื่ งเก่ยี วขอ้ งกนั

การรอ้ ยเรยี งประโยคเกิดจากวธิ ตี า่ งๆ อันได้แก่ การเชอื่ ม การซาํ้ การละ และการแทน ดังนี้
การเชือ่ ม
ประโยคให้ต่อเน่ืองกนั อาจใช้หน่วยเชื่อมซึง่ เปน็ สนั ธาน หรือสันธานวลี เพื่อสมั พนั ธเ์ น้อื ความของ

ประโยคทมี่ าร้อยเรยี งเข้าดว้ ยกนั ดังได้กล่าวไวแ้ ลว้ ในเร่อื งประโยคความรวม

การซาํ้
เปน็ การแสดงความเกยี่ วข้องของประโยค ใช้คาํ หรือกลมุ่ คําทกี่ ลา่ วถึงบคุ คล สงิ่ ของ เหตุการณ์
การกระทํา หรอื สภาพเดียวกันน้นั ซ้ําๆ
เช่น ฉนั ซอ้ื ผลไม้และขนมหวานจากสวนจตุจกั ร ตงั้ ใจจะเอาผลไม้มาฝากพ่ี ส่วนขนมหวานจะฝากน้อง

การละ
คอื การไมก่ ล่าวถึงบคุ คล สิง่ ของ เหตุการณ์ การกระทาํ หรอื สภาพที่ไดก้ ล่าวไปแลว้ เพราะไม่จําเปน็
ตอ้ งกลา่ วซาํ้ เพ่อื ให้การรอ้ ยเรียงประโยคสละสลวยมากขน้ึ ดงั ตวั อยา่ ง
เช่น นอ้ งรบั ประทานอาหารเชา้ แล้วก็ขึ้นรถไปโรงเรียน

ประโยคทย่ี กมานล้ี ะคําว่า น้อง ในประโยคหลังไว้ในฐานท่เี ข้าใจ

ภาษาไทย (76)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

การแทน
คือ การนาํ คําหรอื วลอี ื่นมาแทนการซา้ํ หรอื การละ ดงั ตัวอยา่ ง
เช่น - คุณพอ่ คุณแมไ่ มอ่ ยบู่ า้ น ท่านทั้งสองไปภเู กต็

ประโยคนใี้ ช้ “ทา่ นทัง้ สอง” แทน “คณุ พ่อคณุ แม”่
- เวสสันดรชาดกประกอบดว้ ยคาถาถึงพันคาถา ชาดกเร่อื งนีจ้ งึ ยาวทีส่ ุด

ประโยคนใี้ ช้ “ชาดกเร่ืองนี้” แทน “เวสสันดรชาดก”

ประโยคบกพร่อง

การรอ้ ยเรยี งประโยคทด่ี คี วรหลกี เลยี่ งประโยคบกพรอ่ งในลกั ษณะตา่ งๆ ต่อไปนี้
☺ ประโยคกาํ กวม คือ ประโยคทีต่ คี วามหมายได้หลายแง่ ผู้รับสารอาจเขา้ ใจแตกต่างกันไปได้ ประโยค
กํากวมอาจจะเกดิ จากสาเหตตุ ่อไปนี้

- ประโยคกํากวมเพราะเป็นคาํ ประสมหรือไมใ่ ช่
เชน่ คนขบั รถออกจากบ้านแตเ่ ช้า
“คนขบั รถ” อาจเปน็ คาํ ประสม ซ่ึงหมายถึงอาชีพหนง่ึ หรอื เป็นประโยค คนแสดงกรยิ า

ขบั รถกไ็ ด้
- ประโยคกํากวมเพราะคําขยายขยายไดห้ ลายท่ี
เช่น ฉนั ไมช่ อบคนที่พดู มาก
“มาก” อาจขยายคาํ กริยา “พูด” หรือขยายคาํ กรยิ า “ชอบ” จะแก้ไขความกํากวมไดโ้ ดยหยดุ

จงั หวะเสียงให้ถูก ถา้ หยุดหลงั คํากริยา “พดู ”มาก จะขยายกรยิ า “ชอบ” แตถ่ ้าหยดุ หลงั คํากริยา “ชอบ” มาก
จะขยายกริยา “พดู ”

- ประโยคกํากวมเพราะคาํ กริยา “ตาย”
เนอื่ งจากคํากรยิ า “ตาย” เป็นคาํ กรยิ าทใี่ ช้กบั คน สัตว์ ต้นไม้ หรอื รถ ก็ได้ ดังน้นั ถ้าขา้ งหนา้

กรยิ าคํานม้ี ีท้งั คน สัตว์ และรถ อาจจะทําใหผ้ ู้รับสารเขา้ ใจต่างกนั ได้
เช่น เขาขับรถชนตน้ ไม้ตาย
บางคนเข้าใจว่า เขาตาย บางคนเข้าใจวา่ รถตาย และบางคนอาจจะเข้าใจวา่ ต้นไม้ตาย

- ประโยคกํากวมเพราะใช้โครงสร้างประโยค “ไม่ + กรยิ า + เหมือน + คํานาม”
เชน่ เขาไม่หลอ่ เหมือนพ่อ
ความกาํ กวมเกิดจากคํากริยาทีล่ ะไว้หลังคํานามนัน้ ปฏิเสธหรือไม่ เช่น ประโยคที่ยกมาน้ี

บางคนเข้าใจวา่ พ่อหล่อ แต่บางคนเข้าใจวา่ พ่อไม่หลอ่
- ประโยคกาํ กวมเพราะคําท่ีใช้อาจเป็นได้หลายชนดิ หรือหลายความหมาย
เชน่ คนจบั เชือกควรจะสาว
คําว่า “สาว” อาจเป็นคํากรยิ า หรือเปน็ คําวิเศษณก์ ็ได้

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (77)

☺ ประโยคไม่กระชบั หรือไมก่ ะทดั รดั หรอื เย่ินเยอ้ คือ ประโยคทีใ่ ช้คําฟมุ่ เฟือย ดงั น้ี
- การใช้คําเกินความจําเปน็ เชน่ การใช้ มีความ ทาํ การ กระทาํ การ เป็นการ นาํ หน้าคาํ กรยิ าซ่งึ

เราสามารถตดั คาํ เหลา่ น้อี อกโดยคงความหมายเดมิ ไวไ้ ดค้ รบถ้วน
เชน่ มคี วามยนิ ดี ทาํ การสัมภาษณ์ กระทําการซอ่ มแซม

ควรใชว้ ่า

ยินดี สมั ภาษณ์ ซ่อมแซม จะกระชบั กะทัดรดั กวา่

การใช้คําเกินความจําเปน็ อาจจะเกิดจากการใช้คาํ เชอ่ื มหรือคาํ แทนโดยไม่จาํ เปน็ หรอื ผกู ประโยค
อยา่ งสาํ นวนภาษาตา่ งประเทศ

เช่น - อยา่ ฆ่าซึ่งสัตว์ อย่าตดั ซงึ่ ชีวติ มนษุ ย์
- นกั เรียนควรสนใจในการเรยี น
- เขาได้รับความพอใจในการท่ไี ด้รับเลือกเป็นประธาน

จะเหน็ ได้ว่าคําท่ีเปน็ ตวั หนาใช้เกนิ มา ตัดออกไดโ้ ดยไม่เสียความ

- การใชค้ าํ หรือข้อความซาํ้ ความ สามารถตัดคําหรือขอ้ ความทซี่ ํา้ ความออกไดโ้ ดยทค่ี วามหมาย
เหมอื นเดิม

เช่น - อนุชนรนุ่ หลัง
- ผลสบื เนือ่ งทต่ี ามมา
- ของเกา่ แกโ่ บราณ

☺ ประโยคไมส่ อดคล้องหรือประโยคที่มคี วามหมายไม่สัมพนั ธ์

ประโยคไมส่ อดคล้อง คอื ประโยคท่ีสมั พนั ธ์เน้อื ความผิด หรือขาดสัมพันธภาพ ได้แก่ ประโยคที่ใช้
สนั ธานหรอื คาํ เชอ่ื มประโยคทีแ่ สดงความสมั พนั ธ์ของเน้อื ความผดิ พลาด

เช่น - ผลติ ภัณฑ์หัตถกรรมทาํ รายไดส้ งู ใหแ้ ก่อาํ เภอนี้ และเป็นแหลง่ ผลิตปลาเคม็ ท่มี ีชื่อเสียง
ประโยคน้ีใช้คําเชอื่ ม “และ” ผิดพลาด ควรเปลยี่ นเปน็ “ซง่ึ ”

- เขาไมเ่ พยี งแตเ่ ปน็ วศิ วกรทม่ี ีชื่อเสียงเทา่ นัน้ บา้ นของเขายงั ปล่อยใหท้ รดุ โทรม
คําเช่ือม “ไม่เพียงแต่...ยงั ...ด้วย” ใช้เชอ่ื มประโยคทม่ี เี น้อื ความสัมพนั ธ์ในทางเสริมความไป

ทางเดยี วกนั ไมข่ ัดแยง้ กัน ควรแก้ไขเป็น เขาไม่เพียงแต่เป็นวศิ วกรทีม่ ีชือ่ เสยี งเท่าน้นั เขายงั เป็นอาจารย์ที่มี
ลูกศิษย์ลกู หามากมายอีกดว้ ย

ภาษาไทย (78)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอร์แคมป์ ปีที่ 27

☺ ประโยคไมจ่ บความ
ประโยคไมจ่ บความ คอื ประโยคทีเ่ น้ือความยงั ไมค่ รบ ซ่งึ เกดิ จากสาเหตตุ ่อไปนี้
1. ประโยคไม่สมบรู ณ์ ในลกั ษณะตอ่ ไปน้ี
ประโยคทีใ่ ช้คาํ เชอ่ื มของความซ้อน “ที่ ซึ่ง อนั ผู”้ แต่ขาดภาคแสดงของประโยคหลกั ในลกั ษณะนี้

ถือวา่ มีโครงสรา้ งเปน็ กลุ่มคํา ไมใ่ ชป่ ระโยคความซ้อนสมบูรณ์ และเปน็ ประโยคไมจ่ บความ
เชน่ - คนทีเ่ ชอื่ มัน่ ในตนเองและไมเ่ คยหวังพึง่ ผอู้ ืน่ เลย
ประโยคทใี่ ชค้ าํ เชอ่ื มของความซ้อน “วา่ ” แต่ไม่มภี าคแสดงของประโยคเลก็
เช่น - การขาดแคลนนาํ้ เพราะความแห้งแลง้ ทาํ ใหพ้ บว่า ผู้ป่วยด้วยโรคท้องเสียจาํ นวนมาก

ในเขตกรุงเทพฯ และเขตใกล้เคยี ง
2. ประโยคท่เี นอ้ื ความไมค่ รบ
ประโยคไม่จบความอาจจะอยู่ในลกั ษณะทเ่ี นอ้ื ความไม่ครบ ใช้คํากรยิ าบางคําที่ตอ้ งมีคาํ กริยาอื่น

มาใช้รว่ มด้วยจงึ จะครบความ
เช่น - นักวิทยาศาสตรน์ ําส่วนต่างๆ ของพืชซง่ึ สามารถใชท้ าํ สมนุ ไพรได้
กริยา “นาํ ” จะต้องมคี ํากริยาอ่นื มาใช้รว่ มด้วยจึงจะครบความ
เชน่ - นกั วิทยาศาสตรน์ ําส่วนตา่ งๆ ของพชื ซึง่ สามารถใช้ทําสมนุ ไพรไดไ้ ปทาํ ยา

โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (79)

ตวั อยา งขอ สอบ

1. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยคความเดียว
1) ผลไม้เมืองหนาวหลายชนิดจะมนี ้ําตาลฟรักโทสมากกวา่ ผลไม้เมืองร้อน
2) ภาวะไขมันไตรกลเี ซอไรด์ในเลือดสูงเกดิ จากการรบั ประทานน้ําตาลฟรักโทสมากเกนิ ไป
3) การควบคุมอาหารมีความสําคญั มากเพราะทาํ ให้น้ําหนักตัวลดลงได้อยา่ งรวดเรว็
4) การลดไขมันไตรกลเี ซอไรด์ในขนั้ แรกควรจะควบคุมอาหารโดยเฉพาะอาหารกลุ่มแป้ง

2. ขอ้ ใดเปน็ ประโยคความซ้อน
1) ปจั จุบันระบบอนิ เทอรเ์ น็ตมบี ทบาทอย่างมากทัง้ ในหมวู่ ยั ร่นุ และวัยผใู้ หญ่
2) โลกของอนิ เทอรเ์ น็ตมสี ารประโยชน์ ความบันเทิง ความรู้ และการสื่อสารมากมาย
3) ทกุ วันนี้เราจะสงั เกตเหน็ วา่ มอี ินเทอรเ์ นต็ คาเฟแ่ ฝงอยู่ในธุรกจิ หลายประเภท
4) ในรา้ นอาหาร โรงแรม สปา และหา้ งสรรพสินคา้ มมี มุ ของอนิ เทอร์เน็ตคาเฟท่ ้งั น้ัน

3. ข้อใดเป็นประโยคสมบูรณ์
1) หัวข้อการสนทนาเรือ่ งความเปน็ เลศิ ในกฬี ายมิ นาสติกของประเทศจนี
2) การศึกษาวจิ ัยด้านวิทยาศาสตรก์ ารกีฬาเพ่อื การพฒั นากฬี ายมิ นาสติก
3) การแขง่ ขนั ยมิ นาสตกิ อย่างต่อเนือ่ งและการสนบั สนุนสง่ เสรมิ จากรัฐ
4) ประเทศจีนให้ความสาํ คญั กบั กีฬายิมนาสติกมายาวนานตอ่ เนือ่ ง

4. ข้อใดเปน็ ประโยคความเดียว
1) เครือ่ งป้ันดนิ เผากอ่ นประวัตศิ าสตร์ทม่ี ีชอ่ื เสยี งไปท่ัวโลกคอื เคร่อื งปั้นดนิ เผาทีบ่ ้านเชียง
2) เคร่ืองปนั้ ดินเผาทบี่ า้ นเชียงส่วนใหญเ่ ปน็ หม้อลายเขียนสีรูปวงกลมม้วนคล้ายลายกน้ หอย
3) หลกั ฐานทางโบราณคดีแสดงวา่ บ้านเชยี งเป็นแหล่งอารยธรรมสําคัญในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
4) คณะกรรมการมรดกโลกประกาศใหแ้ หลง่ โบราณคดบี ้านเชยี งเปน็ มรดกโลกเมอ่ื พ.ศ. 2535

5. ข้อใดไม่ใช่ประโยคความซ้อน
1) คนไทยนิยมทําอาหารตามฤดูกาลซ่ึงสอดคล้องกบั ธรรมชาติ
2) ปลายฤดฝู นตน้ ฤดูหนาว อากาศทเ่ี ปล่ยี นแปลงทาํ ให้คนเป็นไขห้ วดั
3) เย็นน้แี มบ่ า้ นจะทาํ แกงส้มดอกแคและผัดผกั รวม
4) เชอ่ื กันวา่ การรับประทานแกงรอ้ นๆ จะชว่ ยแกไ้ ข้หวดั ในระยะเปลี่ยนฤดูได้

6. ขอ้ ใดไม่ใชป่ ระโยค
1) การดําเนินงานธรุ กิจหรอื การประกอบอาชีพต้องมีความพอเพียง
2) เศรษฐกจิ พอเพียงมิไดจ้ ํากดั เฉพาะเกษตรกรหรือชาวไร่ชาวนาเทา่ น้ัน
3) เกษตรทฤษฎใี หม่เป็นระบบเศรษฐกิจท่เี นน้ ใหเ้ กษตรกรสามารถดแู ลตัวเองได้
4) การบริหารจัดการเศรษฐกิจท่ที าํ ใหค้ นสามารถดูแลตวั เองให้อยู่ไดโ้ ดยไม่เดอื ดร้อน

ภาษาไทย (80)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

7. ประโยคในข้อใดใช้คาํ ฟมุ่ เฟอื ย
1) เขาคงจะหูแวว่ ไดย้ นิ ไปเองวา่ ฉันเรยี กเขา
2) สาววัยร่นุ บางคนชอบสวมสร้อยเล็กๆ ท่ีข้อเท้า
3) ครมี นีม้ ีสรรพคุณในการทีจ่ ะทําการลบเลอื นรอยแผลเป็น
4) นักขา่ วรมุ ลอ้ มนายกรฐั มนตรี เพอ่ื สัมภาษณเ์ รอ่ื งเครือ่ งบินตก

8. ขอ้ ใดใชภ้ าษากาํ กวม
1) ทอ้ งฟา้ ในหน้าแล้งแถบภาคเหนือปกคลุมไปด้วยหมอกควันจากไฟปา่
2) พื้นท่ดี อยตงุ ทเี่ คยแห้งแล้งกลายมาเปน็ ผืนป่าต้นนํา้ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณแ์ หง่ หนึ่ง
3) รถจะมารบั นักทอ่ งเท่ยี วไปร่วมพิธเี ปดิ นิทรรศการภาพถา่ ยเวลาบ่าย 3 โมง
4) เม่อื เดินทางถงึ จดุ ชมววิ ผู้นาํ ชมุ ชนตอ้ นรบั คณะนักท่องเท่ยี วด้วยชาใบหม่อนรสชาติดี
5) การเดินทางข้ึนสยู่ อดเขาค่อนข้างลาํ บาก ตอ้ งใช้รถยนต์ขบั เคล่ือน 4 ลอ้ เป็นพาหนะ

9. ข้อใดใชค้ าํ ฟมุ่ เฟอื ย
1) ทหารในขบวนสวนสนามเดินอกผายไหล่ผงึ่
2) คุณยายขอใหฉ้ ันกับญาตทิ บี่ ุกรกุ ท่ดี นิ เลิกแล้วต่อกัน
3) ฉันต้องทนฟังเขาชี้แจงเหตุผลแม้จะไมม่ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี
4) พ่อแม่ช่ืนชมปีตยิ นิ ดที ่ลี กู สาวสาํ เร็จการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก

10. ขอ้ ใดใช้ภาษากํากวม
1) ถา้ เขาตกลงไปคุณจะตอ้ งเสยี ใจ
2) การตัดสินใจของเขาถกู ต้องแล้ว
3) ทางรถไฟขาดเพราะนา้ํ ท่วมหนัก
4) ใครบอกให้คุณมาพบผอู้ ํานวยการวนั นี้
5) เพอ่ื นของฉันเหน็ เหตกุ ารณ์ที่เกิดขน้ึ น้ี

เฉลย

1. 3) 2. 3) 3. 4) 4. 2) 5. 3) 6. 4) 7. 3) 8. 3) 9. 4) 10. 1)

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (81)

ภาษากับเหตุผล

ภาษาเป็นเครื่องมือท่ีชว่ ยให้มนษุ ยใ์ ชแ้ สดงเหตุผลและพัฒนาสมรรถภาพในการใช้เหตผุ ลของตน เพราะ
ในกระบวนการใช้เหตุผลจะมีข้ันตอนทต่ี ่อเนือ่ งกัน มนุษยจ์ งึ ควรต้องมีความเขา้ ใจในวิทยาการสําคญั ทเ่ี รยี กว่า
“ตรรกวิทยา”

ความหมายของ “เหตผุ ล”

เหตุ คอื สิ่งทเี่ ปน็ ตน้ กําเนดิ หรือทาํ ให้เกิดสิ่งอืน่ ตามมา โดยจะเกดิ จากปรากฏการณ์ หรอื การกระทาํ ซ่ึง
อาจเรยี กวา่ “สาเหต”ุ หรอื “มลู เหตุ” กไ็ ด้

ผล คือ สง่ิ ท่เี กดิ ตามมาจากเหตุ โดยผลของเหตอุ ยา่ งหนงึ่ อาจกลายเปน็ เหตุของผลอกี อยา่ งหนึ่ง
ต่อเนอ่ื งไป ซ่ึงอาจเรยี ก “ผล” วา่ “ผลลพั ธ”์ กไ็ ด้

เหตผุ ล คอื ความคดิ หลัก (กฎเกณฑ์ ขอ้ เท็จจริง ขอ้ มลู ) ใชส้ นับสนนุ ข้อสรุป (ขอ้ สังเกต ข้อคิด
ข้อตดั สนิ ใจ ข้อวนิ จิ ฉยั ขอ้ ยตุ ิ)

เนอ่ื งจากเราใช้เหตผุ ลสนับสนุนข้อสรุป เราอาจเรียกเหตผุ ลวา่ “ขอ้ สนับสนุน” กไ็ ด้ บางกรณสี ่วนท่ีเป็น
เหตผุ ล อาจเป็น “สมมติฐาน” หรอื หลักความจริงทไ่ี ม่ใช่หลักท่วั ไปตามธรรมชาติ แตเ่ ปน็ สง่ิ ทสี่ มมติขึน้ มาเองว่า
เปน็ จริง เชน่ ทฤษฎบี ทตา่ งๆ ในเรขาคณิต ทีถ่ กู สมมตขิ ึน้ มาวา่ เปน็ จรงิ ตามหลักคณิตศาสตร์ เป็นตน้

การแสดงเหตุผลตอ้ งประกอบดว้ ย ............................................................................................

ภาษาท่ใี ชแสดงเหตุผล

ภาษาทีใ่ ช้แสดงเหตุผลมี 4 ลกั ษณะ ดงั น้ี
1. ใชส้ นั ธานแสดงเหตผุ ล แบ่งเปน็ 5 กลุ่ม

1.1 เรียงเหตุกอ่ นผล ; เพราะ-จงึ - -จงึ - -ดงั น้ัน-จึง- โดยเหตทุ ี-่ จึง- -เป็นผลให้- -จน-
-ในทส่ี ดุ - -ถึงกับ-

เพราะเธอมาฉนั จงึ ไป
การทาํ ศัลยกรรมเป็นผลใหเ้ ธอจมกู โดง่ ฯลฯ
1.2 เรยี งผลกอ่ นเหตุ ; -เพราะ- -เน่ืองด้วย- -โดยเหตทุ ่-ี -เป็นผลมาจาก-
เธอสวยเพราะมดี หมอ
ฉันมแี ฟนเป็นตาํ รวจโดยเหตุที่คาดไมถ่ งึ ฯลฯ
1.3 บอกสาเหตุซ่ึงเป็นเง่ือนไข ; ถา้ , หาก, ตอ่ เม่อื , ในเม่ือ, เวน้ แต,่ นอกจาก, เว้นเสยี แตว่ า่ ,
ถ้าเผอ่ื วา่
ถ้าเธอมาฉันจะไป
ฉันจะไปต่อเม่อื เธอมา
ในเมื่อรกั ยงั คา้ งคา รีบบอกมาใหท้ าํ ไง ฯลฯ

ภาษาไทย (82)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27

1.4 บอกสาเหตุซง่ึ เกิดผลขดั แย้ง ; แม,้ ถงึ + ประธาน, แม้ว่า, ท้ังๆ ท่,ี ถงึ แมน้ วา่
ถงึ เขาหลอกแต่เต็มใจใหห้ ลอก
แมว้ า่ จะย้ิมแตก่ ็ชํา้ ในใจ
ทัง้ ๆ ท่ีรู้อยู่กย็ ังรกั ฯลฯ

1.5 บอกผลลพั ธท์ เ่ี ป็นจุดประสงค์ ; เพอื่ , เผื่อ, สาํ หรับ
เพื่อเธอฉันจึงทํา
เผ่ือเธอจะเหลียวมอง ฉันจงึ ได้ยืนอย่ตู รงนี้ ฯลฯ

2. ไม่ใช้สันธานแสดงเหตผุ ล สําหรับข้อความที่แสดงเหตผุ ล บางครั้งเมอ่ื ไมต่ อ้ งการแสดงความเป็น
เหตผุ ลทช่ี ดั เจนเกินไป อาจไมม่ ีคาํ สันธานปรากฏก็ได้ แต่โดยเนอื้ ความกบ็ ง่ บอกได้วา่ สว่ นใดคอื อะไร วิธกี าร
พจิ ารณาใหเ้ ราลองเตมิ คําสนั ธานเขา้ ไปในข้อความเหล่านนั้ เอง เชน่

ฝนตก รถติด = เพราะฝนตก รถจึงตดิ (เหตกุ ่อนผล)
ดมื่ อย่าขบั = หากด่มื อย่าขับ (เงือ่ นไข) หากดม่ื จะเป็นเหตใุ หเ้ มา ผลกค็ ือ การห้ามขบั รถ
วนิ ัยเร่ิมทบี่ า้ น สอนลกู หลานให้มีระเบียบ = เพราะวา่ วนิ ัยเริม่ ท่ีบ้าน จึงควรสอนลกู หลานให้มีระเบยี บ

3. สังเกตกลมุ่ คาํ บง่ ชโ้ี ดยตรง เช่น เหตุผลก็คือ ข้อสรปุ กค็ อื

4. ใชเ้ หตุผลหลายประการประกอบกนั กรณีนท้ี าํ เพือ่ เพิ่มนํา้ หนกั ใหก้ ับข้อสรปุ เช่น
เพราะฝนตก รถตดิ ไฟดบั นา้ํ ท่วมซอย ไฟไหม้บา้ น ฉนั จึงมาพบเธอสาย
= ฝนตก รถติด ไฟดบั น้ําทว่ มซอย ไฟไหม้บา้ น เป็น ..........................................................
ส่วน ฉันมาพบเธอสาย เป็น ..............................................................................................

กระบวนการแสดงเหตผุ ลและการอนุมาน

การอนุมาน คอื กระบวนการหาขอ้ สรปุ จากเหตุผล (เดาอยา่ งมีเหตุผล) ซึ่งการจะอนุมานเร่ืองใดๆ ได้

หรอื ไมไ่ ดน้ ัน้ จะต้องขน้ึ อยูก่ บั ขอ้ มูลทก่ี ําหนดให้ มอี ยู่ 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี

- การอนุมานด้วยวิธนี ิรนัย (Deduction) แสดงเหตผุ ลจากสว่ นรวม ยอ่ ย

สมเหตสุ มผล/เป็นจรงิ แน่

อ้างหลักการ ยกกรณีเฉพาะมาเทียบ

มนุษยท์ ุกคนตอ้ งการปจั จยั ส่ี ฉันเปน็ มนษุ ย์ ฉันก็ยอ่ มต้องการปจั จยั ส่ี (เปน็ จรงิ แน่นอน 100%) นิรนยั
AB

มนุษยท์ กุ คน ฉันเป็นมนษุ ย์ = อนมุ านได้วา่ ฉัน (ก)็ ตอ้ งการปจั จัยส่ี
ตอ้ งการปัจจัยสี่

**A = อ้างหลกั การ (รวม = ท่ัวๆ ไป)

B = กรณีเฉพาะทีน่ ํามาเทยี บ (ยอ่ ย = กรณยี อ่ ยๆ)

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (83)

- การอนมุ านด้วยวธิ อี ปุ นยั (Induction) แสดงเหตุผลจากสว่ นยอ่ ย รวม

ยงั สรุปไมไ่ ด้ 100%

มองจากจุดยอ่ ย รวมเรื่องยอ่ ยเปน็ ความคิดตน

ปลาทเู ปน็ อาหารทะเลทมี่ คี ุณค่าทางอาหารสงู สัตวท์ ะเลอน่ื ๆ กน็ ่าจะมีคุณคา่ ทางอาหารสงู ด้วย
(คิดไปเอง) อปุ นยั

AB

ปลาทเู ปน็ คิดไปเอง สตั วท์ ะเลก็น่าจะ = อนุมานได้ว่า สัตว์ทะเลอื่นๆ นา่ จะเหมอื นปลาทู

อาหารทะเล เหมือนปลาทู
**A = มองจากจดุ ย่อย (ยอ่ ย = กรณยี อ่ ยๆ)

B = คดิ ไปเอง (รวม = ท่ัวๆ ไป)

การแสดงทรรศนะ

การคิด คือ การทาํ งานของจิตใจหรอื สมองในขณะทีพ่ ยายามหาคําตอบใหบ้ างส่ิง
ความคิด คอื ผลของการคดิ
โดยทงั้ 2 กระบวนการข้างตน้ สรปุ ไดว้ า่ ภาษาเปน็ เครอ่ื งมือของการคิด และเป็นเครื่องแสดงความคิด
ซ่ึงการแสดงความคิดนี้ คอื การแสดงทรรศนะ ดว้ ยเหตทุ ่ี การคดิ และความคิด มีความสัมพนั ธก์ ันอยา่ งต่อเนื่อง
เราควรมองภาพใหอ้ อกว่า ถ้าใครมคี วามสามารถทางภาษาสงู คนนน้ั กจ็ ะมีความสามารถทางการคดิ สูงดว้ ย
เพราะอยา่ ลืมวา่ ภาษาเปน็ เครอ่ื งมือในการคิด และเป็นเครื่องถ่ายทอดความคดิ ถ้าเรยี บเรยี งไมด่ ีก็ถา่ ยทอด
ไม่รูเ้ รื่อง
ทรรศนะ คอื ความคิดเหน็ ≠ ขอ้ เท็จจรงิ การแสดงทรรศนะก็คอื การแสดงความคิดเห็นออกมา จะมี
คําบ่งช้ี เชน่ นา่ จะ คงจะ อาจจะ ควรจะ (ไม่ 100%)

ใชค้ ํากริยาหรือกลุ่มคาํ กริยา ภาษากบั การแสดงทรรศนะ ใช้กลมุ่ คาํ ขยาย

ผมคิดวา่ ใชค้ าํ หรอื กลุ่มคํา อยา่ งไมต่ อ้ งสงสยั
ดฉิ นั เหน็ วา่ เป็นไปไดย้ าก
เราเขา้ ใจวา่ คง (จะ)
ทีป่ ระชุมมมี ติวา่ อาจ (จะ) อย่างเตม็ ความสามารถ
ผมขอเสนอวา่ ควร (จะ) แนน่ อน
ขา้ พเจา้ ขอสรปุ วา่ น่า (จะ)
สมควร (จะ)
พึง (จะ)
มกั (จะ)

ภาษาไทย (84)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปที ่ี 27

การโตแ ยง

การโต้แย้ง คอื การแสดงทรรศนะท่ตี ่างกัน (ดงั นั้นสามารถเช่ือมโยงข้อมูลจากเรื่องการแสดงทรรศนะได้)
โดยต่างฝ่ายต่างหาเหตุผลมาสนับสนุนทรรศนะตนและคัดค้านทรรศนะของอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งโครงสร้างของการ
โต้แย้งจะประกอบด้วยทรรศนะที่มีข้อสรุปไม่ตรงกัน 2 ทรรศนะ และเหตุผลที่ผู้แสดงทรรศนะจะหามาหักล้าง
ทรรศนะของอกี ฝ่าย

โต้แย้งจะมีเหตุผล ≠ โต้เถยี งจะมุ่งเอาชนะและถืออารมณเ์ ปน็ หลัก
การโต้แย้งกันน้ันหากไม่คํานึงถึงมารยาทก็จะทําให้บานปลายเป็นการโต้เถียงได้ ดังน้ันคู่โต้แย้งควรมี
มารยาทในการโตแ้ ยง้ แกก่ นั

มารยาทในการโต้แย้ง ตอ้ งคาํ นงึ ถงึ วจั นภาษา (ภาษาพดู , เขียน) และอวัจนภาษา (กิริยาท่าทาง,
สญั ลักษณ)์

- มารยาทการใช้อวจั นภาษา ให้คํานึงถึงมารยาทอย่างไทยไว้มากๆ คอื ไมก่ า้ วร้าว เคารพผู้อาวุโส
ตาํ แหนง่ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคล

- มารยาทการใชว้ ัจนภาษา
1. ใช้ภาษานุ่มนวล สุภาพ เชน่ ในความคิดผม ผมเห็นวา่ ...
2. ไม่ควรแสดงออก คอื ไมแ่ สดงออกด้วยภาษาหรือสหี น้าตรงๆ ว่าตนเองมที รรศนะที่ตรงกันขา้ ม

เชน่ ผมไมเ่ ห็นดว้ ย, คุณกล่าวอย่างนีไ้ ม่ถูกต้อง, ความเหน็ ของคุณใชไ้ ม่ได้
3. ไม่บอกว่าตนดกี วา่ เชน่ ความคิดเห็นของผมดกี วา่ ของคณุ
4. จงพดู คาํ ว่า “ขอ” ให้ชิน เช่น ขอให้ผมไดเ้ สนอความคดิ สักเลก็ นอ้ ย, ผมขอชแ้ี จงเพิม่ เติมจากคุณ

การโนม นาวใจ

การโน้มน้าวใจเปน็ กลวิธีท่จี ะทาํ ให้ผู้รับสารยอมเปล่ยี นความเชือ่ ทรรศนะคติหรือค่านิยมของตน เปน็
การใชศ้ ลิ ปะการส่อื สาร ไมใ่ ช่บอกตรงๆ ซึ่งการโนม้ น้าวใจน้จี ะต้องไม่ใช่การบงั คับหรอื ขู่เข็ญ

กลวธิ ี มีดงั น้ี
1. แสดงความนา่ เช่อื ถอื ของบุคคลผโู้ นม้ นา้ วใจ
2. แสดงความหนกั แน่นของเหตุผล
3. แสดงใหป้ ระจกั ษ์ถงึ ความร้สู กึ หรอื อารมณ์ร่วมกนั
4. แสดงทางเลือกด้านดีและด้านเสีย
5. สรา้ งความหรรษาแกผ่ ูร้ บั สาร
6. เร้าใหเ้ กิดอารมณอ์ ย่างแรงกลา้
ประเภทการโนม้ นา้ วใจ
1. คําเชิญชวน ใช้กบั เรือ่ งทดี่ ี เชน่ เชิญชวนทําบุญปลอ่ ยโค-กระบอื รว่ มกันประหยัดพลังงาน
2. โฆษณา เอาไว้เสนอขายสนิ คา้ หรือบรกิ าร ซง่ึ เปน็ ไดท้ ้ังดา้ นบวกและลบ ต้องศกึ ษาขอ้ มูลกอ่ น
ตดั สินใจ อาจจะกลา่ วเกนิ จริงบา้ งแตก่ ็ยงั อย่ใู นกรอบทีเ่ หมาะสม เชน่ โฆษณานมผง สายการบิน ฯลฯ
3. โฆษณาชวนเชอ่ื คอื โฆษณาทีก่ ลา่ วเกนิ จริงไม่คํานึงถงึ ความถกู ต้องตามเหตุผลและขอ้ เท็จจรงิ เช่น
โฆษณาครีมหนา้ เด้งใน 3 วนั , ลดความอ้วนภายใน 24 ช่วั โมง

โครงการแบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (85)

ตัวอยา งขอ สอบ

1. ข้อใดเปน็ โครงสรา้ งของการแสดงเหตผุ ลในข้อความตอ่ ไปน้ี
เชื้อไข้หวัดใหญส่ ายพันธ์ใุ หมแ่ พรร่ ะบาดอยา่ งรวดเรว็ จากคนสู่คน / ด้วยเปน็ เช้ือไวรัสทท่ี ําใหเ้ กิดโรคใน

ระบบทางเดนิ หายใจ / และติดตอ่ กันได้ง่าย
1) ขอ้ สนบั สนนุ ข้อสนบั สนนุ ข้อสรุป
2) ข้อสนบั สนนุ ข้อสรปุ ขอ้ สนบั สนุน
3) ขอ้ สรุป ขอ้ สรุป ข้อสนับสนนุ
4) ขอ้ สรปุ ขอ้ สนบั สนุน ขอ้ สนบั สนนุ
2. ขอ้ ใดมกี ารใช้เหตุผล
1) การแพทยแ์ ผนไทยมีรากฐานมาจากความพอดี หรอื ความสมดุลของชีวติ ทัง้ ด้านการกนิ อาหาร และการ

ขบั ถา่ ย
2) ชวี ติ คนไทยยงั คงผูกพนั กบั สมุนไพรและใช้กันอยู่ในชีวิตประจําวนั ตรงตามตําราการแพทยแ์ ผนไทย
3) ถงึ แมย้ าสมนุ ไพรหลายขนานจะให้ประโยชน์ในการรักษาโรค แตถ่ า้ ไมจ่ าํ เปน็ ควรหลกี เลี่ยง ไม่ควรกิน

พร่ําเพรื่อ
4) คนไทยเรยี นรูแ้ ละสืบทอดการใช้พชื สมนุ ไพรเป็นยาและอาหารจากบรรพบรุ ษุ คนเฒา่ คนแกจ่ าํ นวนมาก

มีสุขภาพดแี ละอายุยนื
3. ขอ้ ใดมีวิธีแสดงเหตุผลต่างกบั ขอ้ อ่นื

1) บุญยนื ไม่อยากไปโรงเรยี น เขาไม่สบายและไม่มกี ารบ้านไปส่งครู
2) บญุ เพญ็ ร้องเพลงลูกทงุ่ ไพเราะมาก คณุ ครูสง่ เธอเขา้ แขง่ ขันกับโรงเรยี นอ่ืน
3) บญุ มาอา่ นหนงั สือเรยี นทกุ วนั เขาอยากเขา้ เรยี นในมหาวิทยาลัยให้ได้
4) บญุ รกั ษาตัดสนิ ใจไปเรยี นต่อต่างประเทศ คณุ พ่อคุณแมท่ ํากิจการร้านอาหารอยทู่ ่ีนน่ั
4. ข้อใดเป็นประเด็นโตแ้ ย้งของขอ้ ความต่อไปน้ี

มีข้อเสนอให้รัฐสภาพจิ ารณาแยกพ้ืนที่ 3 อําเภอของจงั หวดั เชียงใหม่ คอื ฝาง แมอ่ าย ไชยปราการ
ต้ังเปน็ “จังหวัดฝาง” การตง้ั จังหวัดใหมม่ ีเกณฑ์ที่ต้องพิจารณาหลายอยา่ ง อาทิ ควรมพี น้ื ทไ่ี ม่น้อยกว่า
5,000 ตารางกิโลเมตร ประชากรไม่นอ้ ยกวา่ 600,000 คน อาํ เภอทง้ั 3 ข้างต้นมีพ้ืนทรี่ วมทัง้ สิ้น 2,135
ตารางกิโลเมตร และมปี ระชากรรวม 249,096 คน
1) จงั หวดั ใหม่ควรช่ือ “จังหวัดฝาง” หรือไม่
2) เกณฑก์ ารต้ังจงั หวัดใหม่เหมาะสมหรือไม่
3) พ้ืนท่ี 3 อําเภอควรแยกมาตั้งเปน็ จงั หวดั ใหม่หรือไม่
4) รฐั สภามอี าํ นาจในการตงั้ จังหวดั ใหมห่ รือไม่

ภาษาไทย (86)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

5. ข้อใดไมม่ ีการโน้มนา้ วใจ
1) สถาบนั อบรมการวางแผนการขายแบบเหนอื ชน้ั ทกุ ขั้นตอน
2) ศูนยห์ วั ใจให้บริการตรวจวินิจฉัย รักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด
3) ตลาดน้ํากลางเมอื งหลวงทยี่ งั คงอนรุ ักษ์ภาพชีวติ แบบโบราณ
4) กระจกส่องหนา้ ท่เี พิ่มลูกเล่นเอาใจสภุ าพสตรีผูร้ กั สวยรักงาม

6. ขอ้ ความตอ่ ไปนี้ไม่ใชก้ ลวิธโี น้มน้าวใจตามข้อใด
หมู่บ้านท่ามกลางธรรมชาติร่มร่ืน อากาศบริสุทธิ์ เหมาะแก่การสร้างเสริมสุขภาพ สภาพแวดล้อม

ดเี ดน่ จนมีรางวลั 4 ปซี ้อนเป็นประกนั
1) แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความนา่ เชื่อถือของขอ้ มลู
2) ชใ้ี ห้เหน็ ประโยชนข์ องผรู้ ับสาร
3) นําเสนอจุดเดน่ ของสินค้า
4) ใช้คําเรา้ อารมณ์

7. ข้อใดมีการใชเ้ หตุผล
1) ในบรเิ วณชายทะเลมีอาหารอุดมสมบรู ณ์ บริเวณน้ีมักมปี ลาวัยอ่อนชุกชมุ มาก
2) ปลาวัยอ่อนสามารถหลบหลีกจากผู้ล่าซงึ่ มกั เปน็ ปลาทะเลขนาดใหญ่ได้
3) ปลาเหลา่ น้หี ลบเขา้ ไปอยใู่ นป่าชายเลนบริเวณน้าํ กรอ่ ยท่ีขนุ่ และมคี วามเคม็ ตํ่า
4) มนั สามารถวา่ ยหลบศัตรูไปตามโพรงไมแ้ ละรากไมร้ กๆ
5) ปลากลมุ่ ใหญ่ในปา่ ชายเลนเปน็ พวกท่กี ินซากใบไม้กง่ิ ไม้ที่เนา่ เปือ่ ย

8. ข้อใดเปน็ โครงสรา้ งของการแสดงเหตุผลในข้อความต่อไปนี้

ศนู ย์ศิลปาชพี บางไทร มีอาณาบริเวณกวา้ งขวาง มีภูมทิ ศั น์สวยงาม รวมท้ังมีกิจกรรมต่างๆ ท่นี า่ สนใจ

มีผู้เขา้ ชมกนั มากทงั้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ

1) สนบั สนุน สรุป สนบั สนนุ 2) สนับสนุน สนับสนนุ สรุป

3) สนบั สนุน สรปุ สรุป 4) สรุป สนับสนนุ สรุป

5) สรุป สรุป สนับสนุน

9. ข้อใดไมอ่ าจอนมุ านได้วา่ เป็นคุณสมบตั ขิ องน้าํ ทบั ทิมตามบทโฆษณาตอ่ ไปน้ี

สาวน้อยห่นุ ดี ยมิ้ แย้มแจม่ ใส
คิดดี ทาํ ดี คนนี้

ดืม่ น้ําทบั ทมิ พลอยแสงเป็นประจาํ

1) มีรสชาตดิ ี
2) เหมาะแก่คนรุน่ ใหม่
3) มปี ระโยชนต์ อ่ สขุ ภาพ
4) เหมาะแก่สตรี

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (87)

10. บุคคลตามข้อใดทําตามคาํ แนะนาํ วิธีป้องกนั โรคระบาดทว่ี ่า “กนิ ของร้อน ใชช้ ้อนกลาง ล้างมอื ให้สะอาด”
- สภุ าใช้ชอ้ นกลางตักแกงจดื เขา้ ปากตวั เอง
- สภุ าพชอบด่ืมแต่กาแฟร้อนใสน่ ม
- สุพศิ ใช้สบู่ฟอกมอื ทุกคร้งั เมือ่ กลับถงึ บ้าน
- สพุ งศก์ ินตม้ ยาํ ทีเ่ พ่งิ ทาํ เสร็จแทนอาหารประเภทยาํ

1) สุภาและสภุ าพ
2) สภุ าพและสุพศิ
3) สพุ ศิ และสุพงศ์
4) สพุ งศแ์ ละสภุ า
11. จากข้อความตอ่ ไปนี้ ก. คืออะไร

- ผบู้ ริโภคนิยมเลือกซ้ือ ก. จากจีนมากกวา่ เพราะเมล็ดโตกว่า
- ก. สายพันธ์ุไทยมสี ารต้านอนมุ ูลอสิ ระสูงกว่าสายพนั ธุ์จนี
- ผูว้ จิ ยั พบว่า ก. สายพนั ธไ์ุ ทยทาํ เป็นแปง้ ท่มี คี ุณภาพมากกว่า
- ก. เป็นส่วนประกอบที่ใช้ทาํ ขนมไทยหลายชนดิ
- เจ้าของบงึ มักตัดดอกขายมากกว่าจะรอจนกว่าจะได้ ก.
1) เมล็ดถัว่ เหลือง
2) เมลด็ ข้าวสาลี
3) เมล็ดทานตะวัน
4) เมลด็ บัว
12. ข้อใดไม่อาจอนมุ านได้จากคาํ พูดตอ่ ไปนี้
“จากการทดสอบทักษะภาษาไทยของนักศึกษา 400 คน มีผู้อยู่ในเกณฑ์ดีเพียง 30 คน ไม่มีผู้ที่
ไดค้ ะแนนในเกณฑด์ ีมากเลย อยา่ งนไี้ ม่เรยี กว่าวกิ ฤตไดอ้ ยา่ งไร”
1) ผพู้ ูดเหน็ ว่าผลการทดสอบทักษะการใชภ้ าษาไทยไม่นา่ พอใจ
2) ผพู้ ูดวติ กวา่ การเรยี นการสอนภาษาไทยในมหาวทิ ยาลัยถงึ ขน้ั ตอ้ งปรบั ปรุง
3) ผพู้ ดู เห็นความสาํ คัญของการเรียนการสอนภาษาไทยในมหาวทิ ยาลัย
4) ผู้พูดเห็นว่าไมม่ ีประโยชน์ทจ่ี ะจัดการทดสอบทกั ษะภาษาไทยในมหาวทิ ยาลยั
13. ข้อใดไม่น่าจะเป็นสาเหตทุ ที่ ําให้มกี ารพดู ประโยคตอ่ ไปน้ี “น่าจะดีนะ เราจะไดช้ ว่ ยกนั รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มด้วย”
1) การประกาศให้นิคมอุตสาหกรรมเป็นเขตปลอดมลพิษ
2) การรณรงคใ์ ห้ใช้เตาเผาขยะแบบไร้ควันพษิ ในโรงงาน
3) การอนุญาตใหค้ ้าขายบนทางเทา้ ได้โดยไมม่ ีวันหยดุ
4) การเปล่ียนสถานีขนสง่ เป็นสวนสาธารณะกลางเมอื ง

ภาษาไทย (88)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ ัมเมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

14. ข้อใดไม่ไดก้ ลา่ วถงึ ในขอ้ ความตอ่ ไปนี้
การทําพู่กันจนี จากขนสัตว์เร่ิมดว้ ยการเลือกวัสดุ ทําความสะอาด สาง แล้วประกอบเข้ากบั ด้าม โดย

ตอ้ งระวังให้ขนของปลายพ่กู นั เรียงเทา่ กันอย่างเป็นระเบยี บ เพ่อื ให้น้ําหมึกเดนิ สมํา่ เสมอ
1) คุณคา่
2) วธิ ที ํา
3) ชนิดของวัสดุ
4) ความประณีตในการทาํ

ใช้ขอ้ ความตอ่ ไปนตี้ อบคาํ ถามขอ้ 15-16

เรารู้สึกได้ถึงความแตกต่างเม่ือเราปลูกส้มแบบเกษตรอินทรีย์ เราไม่ได้ลงทุนมาก ตั้งแต่ต้นปีมาใช้ไป
ไม่กี่พันบาท ชาวบ้านไม่เหม็นยาเคมี ไม่มีมลภาวะ สภาพร่างกายเราดีข้ึนทันตาเห็น ตอนแรกคิดว่าทํายาก
เดีย๋ วนี้ร้แู ล้ว อยากใหค้ นปลกู สม้ แบบใช้สารเคมหี นั มาทาํ แบบเรากันมากขึน้

15. ข้อใดไมส่ อดคล้องกบั ขอ้ ความขา้ งตน้
1) ผพู้ ดู เพ่งิ เริม่ อาชีพเกษตรกรรมเปน็ คร้งั แรก
2) ไร่ส้มอินทรยี ์ทําได้งา่ ยและได้ผลดหี ลายด้าน
3) การปลูกสม้ แบบใช้สารเคมีมตี น้ ทนุ สงู กวา่ แบบอินทรียม์ าก
4) ผู้พูดพอใจที่แขง็ แรงขน้ึ เพราะไมต่ ้องสดู ดมสารเคมี

16. ข้อใดเปน็ เจตนาของผ้พู ูด
1) บอกกลา่ วให้คนรจู้ ักผลงานเกษตรอินทรยี ท์ ี่ตนทาํ อยู่
2) ตักเตือนใหค้ นระวังในการกินสม้ ทีป่ ลกู แบบใชส้ ารเคมี
3) ชักชวนเพ่อื นเกษตรกรให้เปลย่ี นมาทําไรแ่ บบเกษตรอนิ ทรยี ์
4) แนะนําคุณค่าของสม้ ที่ไดจ้ ากไร่แบบเกษตรอินทรีย์

ใช้ขอ้ ความตอ่ ไปนต้ี อบคําถามข้อ 17-18

ในวันที่ว่างจากงานอาชีพนอกบ้านเป็นโอกาสดีท่ีจะค้นพบความสามารถอย่างอ่ืนท่ีซ่อนอยู่ในตัว
ความสามารถมีอยู่แลว้ แตไ่ ม่มโี อกาสได้นาํ มาใช้ ไม่มใี ครแก่เกนิ ท่ีจะคดิ เริม่ ต้นทําอะไรสักอย่าง คนจะรู้สึกตัวว่าแก่
แค่ไหนตนเองเปน็ ผบู้ งการ

17. ขอ้ ใดไมอ่ าจอนมุ านไดว้ ่าเปน็ บคุ ลกิ ภาพของผ้เู ขียน

1) มองโลกในแงด่ ี 2) มีความตง้ั ใจจริง

3) ใชเ้ วลาให้เปน็ ประโยชน์ 4) คิดวา่ อายเุ ป็นเพียงตวั เลขเทา่ นั้น

5) เชอ่ื วา่ ศกั ยภาพลดลงเมื่อวัยสงู ข้ึน

18. ผ้เู ขยี นใชว้ ิธกี ารนาํ เสนอตามขอ้ ใด 2) เปรยี บเทยี บไดก้ ินใจ
1) ยกตัวอย่างประกอบให้เหน็ จริง 4) บรรยายให้ชัดเจน
3) พรรณนาใหเ้ หน็ ภาพ

โครงการแบรนด์ซมั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (89)

19. ข้อใดไมอ่ าจอนุมานไดจ้ ากขอ้ ความต่อไปน้ี
การไม่กินอาหารเช้าจะทําให้ร่างกายขาดพลังงานและจะมีผลต่อการเรียนรู้และความจํา เพราะ

สารอาหารหลักท่ีให้พลังงานคือกลูโคสจากอาหาร ดังนั้นการกินอาหารเช้าจึงทําให้สมองทํางานได้ดี
โดยเฉพาะเดก็ นกั เรียนจะชว่ ยให้มีสมาธใิ นการเรยี น
1) นกั เรียนควรกนิ อาหารเชา้ เพราะจะช่วยให้เรียนหนังสือได้ดขี ้ึน
2) ผใู้ หญ่อาจงดอาหารเชา้ ไดเ้ พราะไม่ได้อยใู่ นวยั เรียน
3) ทกุ คนควรกนิ อาหารเชา้ เพราะจะช่วยการทาํ งานของสมอง
4) อาหารเชา้ มปี ระโยชนเ์ พราะทาํ ให้รา่ งกายไดร้ บั พลังงาน

20. ข้อใดไม่ได้กล่าวถงึ ในข้อความต่อไปน้ี
ตําราอาหารจีนยกใหส้ าลเี่ ป็น “สดุ ยอดแห่งผลไม”้ เนอ่ื งจากมีรสชาติหวานเยน็ และมคี ณุ ค่าทางอาหาร

สงู เพราะมธี าตอุ าหาร เช่น เบตาแคโรทนี และวติ ามนิ ซี สาลี่มีหลายพันธุ์ แตท่ ีแ่ พร่หลายกค็ อื สาล่ีหอมและ
สาลีห่ มิ ะ
1) ขอ้ มูลพนั ธส์ุ าลี่
2) ประโยชน์ของสาลี่
3) วธิ กี ารเลือกซ้ือสาล่ี
4) ความนิยมในการรับประทานสาล่ี
21. ข้อใดไม่สอดคล้องกับขอ้ ความตอ่ ไปน้ี

เนอ่ื งจากนกั ดําน้าํ ตอ้ งทํางานอยูภ่ ายใตค้ วามกดดนั ต่อส้กู ับกระแสน้ํา คลนื่ ลม ความหนาวเย็น ความ
โดดเดี่ยว อันตรายจากสัตว์ทะเล และโรคทีเ่ กิดขน้ึ จากการดํานา้ํ ดังนนั้ ผทู้ จ่ี ะทาํ งานใตน้ ํ้าจะต้องเป็นผูท้ ี่
แขง็ แรงทง้ั รา่ งกายและจติ ใจ มีสติมกี ารตัดสนิ ใจในการแก้ปัญหาไดด้ ี
1) ผูท้ ํางานใต้น้ําทุกคนต้องมรี ่างกายสมบรู ณ์
2) ความโดดเด่ยี วทําให้นกั ดาํ นํ้าเปน็ โรคทีเ่ กิดจากการดํานํา้
3) กระแสนาํ้ คล่ืนลม และอุณหภมู เิ ปน็ ปญั หาในการทํางานใตน้ ํา้
4) อปุ สรรคในการทํางานใต้นํา้ อาจผ่านพน้ ไปได้เพราะความมสี ติ

22. ขอ้ ใดไม่ไดก้ ลา่ วถึงในขอ้ ความต่อไปน้ี
ถนนพหลโยธินเป็นชื่อทางหลวงที่เชื่อมกรุงเทพฯ กับจังหวัดทางเหนือของไทย ตั้งช่ือเป็นอนุสรณ์แก่

พันเอก พระยาพหลพลหยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) หัวหน้าคณะราษฎร ผู้นําการเปล่ียนแปลงการ
ปกครอง พ.ศ. 2475 และอดีตนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย รัฐบาลให้ตั้งชื่อว่าถนนพหลโยธิน
เมอ่ื วนั ท่ี 10 ธนั วาคม พ.ศ. 2493
1) ที่มาของช่ือถนน
2) ผู้ต้งั ชื่อถนน
3) ปที ่ีสร้างถนน
4) ประโยชนใ์ ชส้ อยของถนน

ภาษาไทย (90)____________________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27

23. ขอ้ ใดเปน็ แนวคดิ ของข้อความต่อไปน้ี
ไม่สาํ คัญหรอกวา่ ชีวิตน้ีเคยลม้ หรือไมเ่ คยลม้ แตอ่ ยทู่ ีว่ า่ สามารถลุกข้ึนได้ทกุ ครั้งท่ีลม้ หรอื ไม่ บางคน

เพราะลม้ จงึ ได้รขู้ ้อผิดพลาด แลว้ นําจุดทเี่ คยพลาดพล้งั นัน้ มาทาํ กําไรให้ชีวติ ในอนาคตจนลุกขึ้นยนื ไดอ้ กี ครง้ั
1) ทุกคนล้วนแต่เคยสมหวงั และผิดหวังในชีวติ มาแลว้
2) การยอมแพ้อปุ สรรคยอ่ มไม่กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์อะไร
3) การนาํ ขอ้ ผดิ พลาดมาเป็นบทเรยี นทําใหช้ ีวิตประสบความสาํ เรจ็ ได้
4) การฟนื้ ฟกู ิจการทีล่ ้มเหลวใหไ้ ด้กําไรไม่ใชเ่ รื่องเหลอื วิสัยที่จะกระทํา
24. ขอ้ ใดมวี ธิ แี สดงเหตผุ ลต่างกบั ขอ้ อ่นื
1) วิเชียรชอบอากาศบรสิ ุทธใิ์ นตอนเช้า เขาเลอื กการเดินไปทาํ งาน
2) วเิ ทศติดเกมคอมพิวเตอร์ การเรียนของเขาตกลงมาก
3) วิวธิ แข็งแรงและรปู ร่างดีข้นึ เขาเล่นแบดมนิ ตนั ทุกวัน
4) วิธูมีมนษุ ยสัมพนั ธด์ ี เขาเป็นทร่ี ้จู กั ของเพ่อื นๆ และอาจารย์ในโรงเรียน
25. ขอ้ ใดเปน็ ประเดน็ โต้แยง้ ของข้อความต่อไปน้ี

เดก็ เก่งเรยี นดมี ีความประพฤติเรยี บรอ้ ยก็มีโอกาสเสี่ยงต่อพฤติกรรมการเลียนแบบเกมคอมพิวเตอร์ได้
เช่นกัน เพราะมีไอควิ สูงแตอ่ าจมีอีคิวตํ่าควบคุมตนเองไม่ได้ รับรู้อารมณ์ตนเองและอารมณ์ผู้อื่นได้ไม่ดีนัก
จึงปรับตวั อยู่ในโลกความเปน็ จริงได้ยาก
1) เด็กฉลาดจะไมม่ ีปญั หาจากความรุนแรงในเกมคอมพิวเตอร์
2) พฤติกรรมการเลียนแบบเกมคอมพิวเตอรเ์ ปน็ ปญั หาสําคัญของสังคม
3) ปญั หาจากเกมคอมพิวเตอรเ์ กิดกบั เดก็ ที่ควบคมุ ตนเองไมไ่ ด้
4) เด็กทปี่ รับตัวอย่ใู นโลกความเปน็ จรงิ ได้จะไม่มปี ญั หาเรอ่ื งพฤติกรรมการเลียนแบบ

เฉลย

1. 1) 2. 4) 3. 2) 4. 3) 5. 2) 6. 4) 7. 1) 8. 2) 9. 1) 10. 3)
11. 4) 12. 4) 13. 3) 14. 1) 15. 1) 16. 3) 17. 4) 18. 4) 19. 2) 20. 3)
21. 2) 22. 4) 23. 3) 24. 3) 25. 1)

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (91)

ความรเู บือ้ งตน เกี่ยวกับวรรณคดี

แนวขอสอบวรรณคดใี นแตล ะปมกั จะมเี รือ่ งตอไปน้ี

1. การเล่นเสยี งสมั ผสั
2. การเล่นคาํ (เล่นคาํ พอ้ ง, การซ้ําคําหรือเลน่ คําซาํ้ )
3. จินตภาพ
4. โวหารภาพพจน์
5. ฉนั ทลกั ษณ์
6. วเิ คราะห์คาํ ประพนั ธ์
7. วรรณคดี ม.4 ม.5 ม.6

1. การเลน่ เสียงสมั ผสั แบง่ เปน็

สมั ผัสสระ : เสียงสระและเสยี งตวั สะกดเสยี งเดียวกัน

1. อยา่ ใหข้ าดสิ่งของตอ้ งประสงค์ 2. คือรูปรสกลิน่ เสยี งเคียงสมั ผัส

3. แตน่ ํ้าผักตม้ ขมชมว่าหวาน 4. ถึงเมาเหลา้ เช้าสายกห็ ายไป

5. ถึงโรงเหลา้ เตากล่ันควันโขมง 6. หนวดถึงเขา่ เคราถึงนมผมถึงตีน

7. มีคันโพงผูกสายไว้ปลายเสา 8. เจา้ ของตาลรักหวานขนึ้ ปนี ต้น

9. ดปู ระเทืองเรืองรองทองสาดสอ่ ง 10.ไมส่ มมาดเหมอื นพ่ีคาดคะเนดู

ภาษาไทย (92)____________________________________________โครงการแบรนดซ์ มั เมอร์แคมป์ ปีท่ี 27

สมั ผัสอักษรหรอื สมั ผัสพยัญชนะ : เสยี งพยญั ชนะต้นเสียงเดียวกัน

1. พระโหยหวนครวญเพลงวังเวงจิต 2. นํา้ ค้างพราวปรายโปรยโรยละออง

3. กลบั กระฉอกฉาดฉัดฉวดั เฉวยี น 4 ถนอมเชยชมโฉมประโลมลาญ

5. ลกุ ลี้ลกุ ลนนักชกั ระอา 6. อยา่ รอราเรง่ เร้าเขา้ หอ้ งเรยี น

7. ท่โี ศกสุดเศร้าแสนเสนห่ า 8. พจ่ี าํ ใจจําจากเจ้าพรากมา

9. ดนู ้ําวิง่ กล้ิงเช่ยี วเป็นเกลยี วกลอก 10.แลลงิ ลมลอ้ ลกู เลา้ โลมเล้ียง

สมั ผัสวรรณยุกต์ :

“จะจับจองจ่องจอ้ งส่งิ ใดนั้น ดสู ําคญั คั่นคั้นอย่างนั ฉงน

อย่าลามลวงล่วงลว้ งดเู ลศกล ค่อยแคะคนคน่ คน้ ให้ควรกาล”

“บงึ บัวตุมตมุ่ ตุม้ กลางตม
สูงสง่ ทงทานลม ลม่ ล้ม
แมลงเมา้ เม่าเมาฉม ซมซราบ
รรู ูร่ รู้ ิมกม้ พาดไมไ้ ทรรอง”

ประลองฝมอื เรอ่ื งการเลนเสียงสัมผัส

1. “ฉบั ฉวยชกฉกชา้ํ ฉุบฉบั

โถมทบุ ท่มุ ถองทบั ถบี ทา้ ว

เตะตีต่อยตุบตบั ตกตัก

หมดหม่เู มงมอญม้าว มา่ นเมอื้ หมางเมนิ ฯ”

คาํ ประพันธ์ขา้ งตน้ มีลกั ษณะเดน่ ทางวรรณศิลปท์ ้งั คตู่ ามข้อใด

1) สมั ผัสพยญั ชนะ เลียนเสยี งธรรมชาติ 2) เลียนเสียงธรรมชาติ เลน่ คํา

3) สัมผสั พยัญชนะ สมั ผัสสระในวรรค 4) สมั ผัสสระในวรรค เลน่ คํา

2. “ตะวนั รอนอ่อนแสงแฝงเหลยี่ มเขา พยบั เงาระยบั แดดแสดสีสาย
กระทบหนิ หักเห็นเปน็ เลือ่ มพราย แสนเสยี ดายตะวนั ดับลบั เหล่ยี มลง”
คําประพนั ธบ์ ทน้ีเดน่ ท่สี ุดในด้านใด
1) การใหภ้ าพ 2) การเล่นคํา
3) การเลน่ สัมผสั 4) การใหอ้ ารมณส์ ะเทอื นใจ

3. คําประพนั ธ์ข้อใดทม่ี ีสัมผสั อกั ษรมากทสี่ ุด

1) คณาเน้อื นวลก็ครวญคลอขบั ระริกแคนรบั สลับเสียงใส

2) บรุ ษุ ระรกิ ขยกิ ต้อน นรรี าํ รอ่ นระเริงร่า

3) ณ ยามสายณั หต์ ะวันยง่ิ ย้อย แน่ะเรง่ เท้าหนอ่ ยทยอยเหยยี บหนา

4) กลา้ แดดจา้ กล้าพายุกลา้ ต้น กลา้ ต้านทนร้อนลมระดมกล้า

เฉลย เรื่องการเล่นเสยี งสมั ผัส
1. 1) 2. 1) 3. 2)

โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีท่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (93)

2. การเล่นคํา : การใช้คาํ ๆ เดยี ว วางไปทัว่ คําประพันธห์ ลายจุดอย่างไม่เปน็ ระเบยี บและความหมาย

ไม่เหมือนกัน

“ถึงบางพลดั ย่งิ อนัตอนาถจิต นงิ่ พินจิ นกึ นา่ นํ้าตาไหล

ทพ่ี ลดั นางร้างรกั มาแรมไกล ประเดยี๋ วใจพบบางริมทางจร”

“เขา้ ลําคลองหวั รอตอระดะ ดูเกะกะรอร้างทางพมา่
เห็นรอหกั เหมอื นหนง่ึ รักพรี่ อรา แตร่ อทา่ รัง้ ทุกข์มาตามทาง”

“ถึงเกาะเกดิ เกิดเกาะขึน้ กลางนํา้ เหมอื นเกดิ กรรมเกิดราชกาลหลวง

จงึ เกิดโศกขัดขวางข้ึนกลางทรวง จะตกั ตวงไวก้ ็เตบิ กว่าเกาะดิน”

การเล่นคําอพั ภาส มลี กั ษณะดังนี้
คาํ อัพภาส คือ คาํ ซํ้าประเภทหนง่ึ ทกี่ รอ่ นเสียงพยางคห์ นา้ เป็น “อะ” ลองดคู ําชุดนดี้ ู คือ “ยะแย้ง
ยะยุ่ง คะควา้ ง คะไขว”่ ในบทประพันธต์ ่อไปน้ี
สาดปืนไฟยะแย้งแผลงปนื พิษยะยุ่งพงุ่ หอกใหญ่คะควา้ งขว้างหอกซดั คะไขว่

3. การซ้าํ คาํ : การใช้คาํ ๆ เดยี ว วางซํ้าไปทั่วคําประพันธ์ จะอยตู่ ิดกนั หรือไม่ตดิ กันกไ็ ด้ แตก่ ารซาํ้ คาํ นั้น

จะวางคาํ อยา่ งเปน็ ระเบียบและมีความหมายเหมอื นกัน

ตวั อย่าง “รอนรอนสุริยะโอ้ อัสดง

เร่ือยเรอื่ ยลบั เมรุลง ค่ําแลว้

รอนรอนจิตจํานง นุชพ่ี เพยี งแม่

เรื่อยเรื่อยเรยี มคอยแกว้ คลับคลา้ ยเรยี มเหลยี ว” (กาพยเ์ ห่เรือ)

“การเวกหรอื วเิ วกร้อง ระงมสวรรค์ (เสนาะฉนั ท)์
เสนาะมิเหมือนเสนาะฉันท์ เสนาะซงึ้ ”

“เรือ่ ยเรือ่ ยมารอนรอน ทพิ ากรจะตกตํา่
สนธยาจะใกลค้ ํ่า คาํ นึงหนา้ เจา้ ตาตรู
เร่อื ยเรือ่ ยมาเรียงเรียง นกบนิ เฉียงไปทัง้ หมู่
ตัวเดยี วมาพลัดคู่ เหมอื นพ่ีอย่ผู ู้เดยี วดาย”

“หา้ มเพลิงไวอ้ ยา่ ให้ มีควัน (โคลงโลกนติ ิ)
ห้ามสรุ ยิ แสงจันทร์ สอ่ งไซร้
ห้ามอายุให้หนั คนื เลา่
หา้ มด่ังนีไ้ วไ้ ด้ จึ่งหา้ มนินทา”

ภาษาไทย (94)____________________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27

ประลองฝม อื เรือ่ งการเลนคาํ -การซาํ้ คํา

1. ขอ้ ความตอ่ ไปน้ี ใชก้ ลวิธีใดในการแตง่

“เห็นเขาตกเขาแตกมาตกลกึ อนาถนกึ แล้วนา่ น้ําตาไหล
พ่ตี กยากจากนางมากลางไพร วติ กใจตกมาถึงครี ี”
1) เลน่ คาํ
2) อุปมาโวหาร
3) สร้างภาพอยา่ งละเอยี ด
4) สัมผัสมากเป็นพิเศษ

2. ข้อความทยี่ กมาน้ใี ช้ศิลปะการประพันธอ์ ะไร
“กลา้ แดดจา้ กล้าพายกุ ลา้ ตน้ กลา้ ต้านทนรอ้ นลมระดมกล้า

ครั้นกล้าแขง็ แปลงยดั ยิ่งอัตรา ชาวนามาถอนทํากลา้ กาํ ไป”
1) อุปมา
2) เลน่ คาํ

3) สรา้ งภาพละเอียด
4) เล่นอกั ษร

3. ก. งามทรงวงดงั วาด งามมารยาทนาดนวยกราย

งามพริ้มยม้ิ แย้มพราย งามคาํ หวานลานใจถวิล

ข. นกขมิน้ จับเถาขม้ินเครือ คาบเหยื่อเผอื่ ลกู แลว้ โผบิน

ค. เหตุไรรอ้ งไห้อยู่ฮกั ฮกั หรอื แคลงรักแหนงใจไม่สนทิ
ง. ไก่ป่าขันแจ้งอย่แู นวไพร เขีย่ คุ้ยขุยไผ่เปน็ ถน่ิ ถน่ิ
ข้อใดใช้ศิลปะการเล่นคําเดน่ ทีส่ ดุ
1) ข้อ ก.
2) ข้อ ข.
3) ขอ้ ค.
4) ข้อ ง.

เฉลย เรอื่ งการเล่นคํา-การซํ้าคํา
1. 1) 2. 2) 3. 2)

โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ่ี 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (95)

4. จินตภาพ : ภาพที่เกดิ ในจนิ ตนาการ โดยสังเกตจากคําที่ผปู้ ระพนั ธ์นาํ มาใชใ้ นบทประพนั ธ์ สังเกต

จากคาํ กริยา และคาํ วเิ ศษณ์ มี 3 ลักษณะ ไดแ้ ก่

1. ภาพ (แสง ส)ี

2. เสยี ง

3. การเคล่ือนไหว (นาฏการ)

จินตภาพดา้ นภาพ

“ไฟตะเกยี งเรยี งรอบพระมณฑป กระจา่ งจบจนั ทร์แจม่ แอรม่ ผา

ดอกไมพ้ ุ่มจดุ งามอร่ามตา จับศลิ าแลเลื่อมเป็นลายลาย

พระจันทร์สอ่ งตอ้ งยอดมณฑปสุก ใบหน้ามุขเงางามอรา่ มฉาย

นกบนิ กรวดพรวดพราดประกายพราย พลุกระจายชอ่ ชว่ งดังดวงเดอื น”

“สรวงสวรรคช์ ้ันกวีรุจีรตั น์ ผ่องประภัศร์พลอยหาวพราวเวหา”

“ข้ึนทรงรถทองผ่องพรรณ งามงอนออ่ นฉนั เฉกนาคราชกําแหง”

จนิ ตภาพด้านเสยี ง เสียงโฉง่ ฉ่างชามแตกกระแทกขัน”
“บา้ งข้นึ บนขนสง่ คนข้างลา่ ง
ไมไ่ ดศ้ พั ทเ์ ซง็ แซ่ด้วยแตรสังข์
“ประจวบจนสรุ ยิ นเย็นพยบั ระฆังหงงั่ หงง่ั หง่างลงครางครึม”
ปี่ระนาดฆอ้ งกลองประโคมดัง
ใบโพธริ์ ้อยระเรงอยเู่ หง่งหง่ัง
“นาคสะดุง้ รุงรังกระดึงห้อย วเิ วกวงั เวงในหัวใจครนั ”
เสียงประสานกังสดาลกระดึงดัง

จนิ ตภาพดา้ นการเคลือ่ นไหว (นาฏการ)
“นกยางเลยี บเหยียบปลานขาหยิก เอาปากจกิ บนิ ฮือขึ้นเวหา

“จับคนบนสปั คบั รับไมท่ ัน หมอ้ ขา้ วขนั ตกแตกกระจายราย”

“ตเี ข่าปบั รับโปกสองมอื ปดิ ประจบตดิ เตะผางหมัดขว้างหวอื
กระหวัดหววิ ผวาเสียงฮาฮือ คนดอู ือ้ เออเอาสนนั่ อึง”

ภาษาไทย (96)____________________________________________โครงการแบรนด์ซมั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27

ประลองฝมอื เรอื่ งจินตภาพ

1. ข้อใดให้จนิ ตภาพแตกต่างกับขอ้ อนื่
1) ดผู กผันเพยี งจะเล้ือยออกโลดแล่น

2) เห็นคล้ายคล้ายปลาว่ายเฉวยี นฉวัด
3) กระทงุ ทองลอ่ งเล่ือนคอ่ ยเคล่อื นคลา

4) รอ้ งกรดี เกรยี ดเกรียวแซ่ดงั แตรสงั ข์

2. ข้อใดใชจ้ นิ ตภาพต่างจากขอ้ อ่นื
1) ปะ๊ โท่นปะ๊ โทน่ ปะ๊ โทน่ โท่น
2) กระจ้อยร่อยกระจหิ รดิ จดิ จ๊ดิ จวิ๋

3) แอ้อีออยสรอ้ ยฟา้ สมุ าลัย
4) ผะผวั ะผะผุบผบั ปุบปับแปะ

3. ขอ้ ใดให้จนิ ตภาพต่างจากข้ออ่ืน
1) พืน้ นภางค์เผอื ดดาว แสงเงินขาวจับฟา้ แสงทองจ้าจับเมฆ

2) พอสุริยงเธอเยอื้ งรถบทจร เย็นยอแสงสั่งทวีป

3) ดาวเดอื นจะเล่ือนลับ แสงทองพยบั โพยมหน

4) แสงทองระรองรุ่ง รวปิ รงุ ชโลมสรรพ์

4. ขอ้ ใดไม่ใชภ่ าพเคล่อื นไหว คนดูออื้ เออเอาสนน่ั องึ
1) กระหวัดหวดิ หววิ ผวาเสียงฮาฮือ บ้างจอแจจัดการประสานเสียง
2) บรรดาเพ่ือนเตอื นต่ืนขึน้ เซง็ แซ่

3) เห็นโศกใหญ่ใกล้นา้ํ ระกําแฝง ทง้ั รกั แซงแซมสวาทประหลาดเหลอื

4) ยา่ มกระสอบกรอบแกรบกระไกรกริก กลกั พริกพลกิ ตะแคงหงาย

เฉลย เรอ่ื งจนิ ตภาพ
1. 4) 2. 2) 3. 2) 4. 3)

โครงการแบรนดซ์ มั เมอรแ์ คมป์ ปที ี่ 27 ___________________________________________ ภาษาไทย (97)

ประลองฝม อื เรื่องความงามเชงิ วรรณศิลป

1. คาํ ประพันธท์ ุกประเภทบังคบั เสยี งสมั ผสั ประเภทใด
1) สัมผัสนอกซ่ึงเป็นสัมผสั สระ
2) สมั ผัสนอกซง่ึ เป็นสัมผัสอกั ษร
3) สมั ผสั ในซง่ึ เปน็ สมั ผสั สระ

4) สัมผัสในซึ่งเปน็ สัมผัสอักษร

2. คําประพันธใ์ นขอ้ ใดไม่มีสมั ผสั นอก รู้รักษาตวั รอดเป็นยอดดี
1) รู้อะไรก็ไม่สู้รวู้ ิชา ศิขรินชโลธร
2) โตรกธารละหานหิน

3) กจิ ใดจะขวายขวน บมพิ ร้อมมิเพรียงกัน

4) อยากจะบอกคําว่ารักสักเทา่ ฟ้า หมดภาษาจะพิสูจนพ์ ดู รักได้

3. คาํ ประพนั ธ์ตอ่ ไปนใี้ ช้ศลิ ปะการประพนั ธเ์ ดน่ ท่สี ุดตามข้อใด
“แลถนัดในเบือ้ งหนา้ โน่น กเ็ ขาใหญ่ ยอดเยยี่ มโพยมอยา่ งพยับเมฆ มพี รรณเขียวขาวดาํ แดงดูดเิ รก ดงั่ ราย
รตั นนพมณแี นมน่าใคร่ชม ครน้ั แสงพระสรุ ิยะส่องระดมก็ดเู ดน่ ดั่งดวงดาว วาวแวววะวาบๆ ทเ่ี วิ้งว้งุ วจิ ิตร
จาํ รสั จาํ รูญรงุ่ เปน็ สรี ุง้ พงุ่ พ้นเพียงคคั นมั พรพน้ื นภากาศ”
1) สมั ผัสสระ
2) สมั ผสั พยญั ชนะ
3) การใช้คาํ อัพภาส
4) การหลากคํา

4. ขอ้ ใดมกี ารเล่นสัมผัสพยัญชนะมากท่สี ดุ
1) พีเ่ ล็งแลดูกระแสสายสมทุ ร
2) ละลว่ิ สุดสายตาเหน็ ฟ้าขวาง
3) เป็นฟองฟุ้งรงุ่ เรอื งอยู่รางราง
4) กระเด็นพร่างพรายพราวราวกับพลอย

5. คาํ ประพนั ธ์ในขอ้ ใดสมั ผสั อักษรมากท่สี ุด

1) คณาเนือ้ นวลกค็ รวญคลอขบั ระรกิ แคนรับสลบั เสียงใส

2) บรุ ษุ ระริกขยกิ ต้อน นรรี าํ รอ่ นระเรงิ ร่า

3) ณ ยามสายณั หต์ ะวนั ย่ิงยอ้ ย แนะ่ เร่งเท้าหนอ่ ยทยอยเหยียบหนา

4) กลา้ แดดจ้ากล้าพายกุ ลา้ ตน้ กลา้ ต้านทนรอ้ นลมระดมกลา้

6. ข้อใดมกี ารเล่นสัมผสั มากทีส่ ดุ อันจะได้นางไปอยา่ สงกา
1) จะมาช่วงชงิ กันดังผลไม้ ให้กะหรดั ตะปาตีเป็นทพั ขนั ธ์
2) พระปน่ิ ภพกุเรปันธานี ไมม่ ีใครไดแ้ คน้ เหมือนอกขา้
3) สตรีใดในพิภพจบแดน กม้ พักตรร์ บศึกไปดกี ว่า
4) เราอยา่ คอยเขาเลยนะหลานรัก

ภาษาไทย (98)____________________________________________โครงการแบรนด์ซัมเมอรแ์ คมป์ ปีที่ 27


Click to View FlipBook Version