The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tuahuay, 2022-12-03 19:44:41

รายงานพิจารณาศึกษา ข้อเสนอทิศทางประทศไทยหลังวิกฤตโควิด ๑๙ ในด้านการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม

สำนักกรรมาธิการ๑

รายงานพจิ ารณาศกึ ษา

ขอเสนอทศิ ทางประเทศไทยหลังวกิ ฤตโควิด ๑๙
ในดานการพาณิชยแ ละการอุตสาหกรรม

โดย
คณะกรรมาธกิ ารการพาณชิ ยแ ละการอตุ สาหกรรม

วุฒสิ ภา

กลมุ งานคณะกรรมาธกิ ารเศรษฐกจิ
การพาณชิ ย และอตุ สาหกรรม
สำนักกรรมาธกิ าร ๑
สำนกั งานเลขาธกิ ารวฒุ สิ ภา



2

บันทกึ ขอความ
สวนราชการ คณะกรรมาธกิ ารการพาณิชยและการอตุ สาหกรรม วุฒสิ ภา
ที่ สว (กมธ ๑) ๐๐๐๙/ (ร ๑๐ ) วนั ที่ กรกฎาคม ๒๕๖๓

เรื่อง รายงานการพิจารณาศกึ ษา เรอ่ื ง ขอเสนอทศิ ทางประเทศไทยหลงั วกิ ฤตโควดิ 19 ในดา นการพาณชิ ย
และการอตุ สาหกรรม

กราบเรียน ประธานวฒุ ิสภา
ตามที่ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญประจำปครั้งที่หนึ่ง) วันอังคารที่ ๑๐
กันยายน ๒๕๖๒ ที่ประชุมไดมีมติตั้งคณะกรรมาธิการสามัญประจำวุฒิสภาตามขอบังคับการประชุม
วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๗๘ วรรคสอง (๒๔) คณะกรรมาธิการการพาณิชยและการอุตสาหกรรม
วุฒิสภา เปนคณะกรรมาธิการสามัญประจำวุฒิสภา มีหนาที่และอำนาจในการพิจารณารางพระราชบัญญัติ
กระทำกิจการ พิจารณาสอบหาขอเท็จจริงหรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการสงเสริม สนับสนุน หรือ
พัฒนาการพาณิชยและอุตสาหกรรม การคุมครองทรัพยสินทางปญญา การพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่น
และภูมิปญญาไทย วิสาหกิจเพื่อสังคม วิสาหกิจเพื่อชุมชน เขตเศรษฐกิจพิเศษ ความสามารถ
ในการแขงขัน และการเจริญเติบโตทางอุตสาหกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พิจารณาศึกษา ติดตาม
เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศ และแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ที่อยูในหนาที่
และอำนาจ และอื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ ง ซึง่ คณะกรรมาธกิ ารคณะน้ี ประกอบดวย
๑. นางอภริ ดี ตนั ตราภรณ ประธานคณะกรรมาธกิ าร
๒. นายสมชาย หาญหริ ญั รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทห่ี นึ่ง
๓. นางสาววบิ ลู ยล ักษณ รว มรกั ษ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่สี อง
๔. นางสวุ รรณี สริ เิ วชชะพนั ธ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่สี าม
๕. นายชลติ แกว จนิ ดา รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี ่ี
๖. นายรณวรทิ ธิ์ ปริยฉตั รตระกูล เลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร
๗. นายเจน นำชัยศิริ โฆษกคณะกรรมาธิการ
๘. นายสมพล เกยี รตไิ พบูลย ประธานท่ีปรกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร
๙. ศาสตราจารยพ ิเศษสม จาตศุ รพี ิทกั ษ ทป่ี รึกษาคณะกรรมาธกิ าร
๑๐. พลเอก วีรณั ฉนั ทศาสตรโกศล ทป่ี รึกษาคณะกรรมาธกิ าร
๑๑. พลเอก วิชติ ยาทพิ ย ที่ปรึกษาคณะกรรมาธกิ าร
๑๒. นายบรรชา พงศอ ายุกลู ท่ีปรึกษาคณะกรรมาธกิ าร
๑๓. นางจนิ ตนา ชยั ยวรรณาการ กรรมาธกิ าร
๑๔. นายเฉลยี ว เกาะแกว กรรมาธกิ าร
๑๕. นางดวงพร รอดพยาธิ์ กรรมาธกิ าร
๑๖. นายบญุ มี สุระโครต กรรมาธกิ าร
๑๗. นายสาธติ เหลาสวุ รรณ กรรมาธกิ าร
๑๘. นายอดุ ม วรัญรู ฐั กรรมาธิการ
บดั นี้ ...

3

บัดนี้ คณะกรรมาธิการไดดำเนนิ การพิจารณาศกึ ษา เรื่อง ขอเสนอทิศทางประเทศไทย
หลังวิกฤตโควิด 19 ในดานการพาณิชยและการอุตสาหกรรมเสร็จเรียบรอยแลว จึงขอรายงาน
ผลการพจิ ารณาศึกษาเร่ืองดงั กลา วตอวฒุ สิ ภาตามขอ บงั คับการประชุมวฒุ ิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๙๘

จึงกราบเรียนมาเพื่อโปรดทราบและนำเสนอรายงานของคณะกรรมาธิการตอที่ประชุม
วฒุ ิสภา ตอ ไป

นางอภริ ดี ตนั ตราภรณ
(นางอภริ ดี ตันตราภรณ)
ประธานคณะกรรมาธิการการพาณชิ ยและการอตุ สาหกรรม

วุฒสิ ภา

สำเนาถกู ตอ ง

(นายภาสนั ต เงาศุภธน)
ผชู ว ยเลขานุการคณะกรรมาธิการการพาณิชยแ ละการอุตสาหกรรม คนทห่ี นงึ่

สำนักกรรมาธกิ าร ๑

สำนกั กรรมาธกิ าร ๑ จริ ิยาภา พมิ พ
ฝา ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารการพาณชิ ย และการอตุ สาหกรรม สหุ ชา ทาน ๑
โทรศัพท ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๐ ภาสนั ต ทาน ๒
โทรสาร ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๑



คำนำ
ผลกระทบจากวกิ ฤตโควดิ 19 ไดน ำมาซ่งึ การเปลยี่ นแปลง
ในหลากหลายมิติทั้งในดานเศรษฐกิจและสังคม และไดกลายเปน
ตัวเรงสำคัญที่ทำใหเกิดการเปลี่ยนผานดานเทคโนโลยี (Digital
Transformation) สงผลใหประเทศไทยกาวสูยุคเศรษฐกิจดิจิทัล
(Digital Economy) เร็วขึ้น ในขณะเดียวกัน ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตอระบบเศรษฐกจิ ในประเทศท่ชี ีใ้ หเหน็ ชัดเจนวา การท่ปี ระเทศไทย
พึ่งพงิ ภาคการสง ออกและการทองเทีย่ วอยางมาก เมอ่ื ประเทศตา ง ๆ
ท่วั โลกปด ประเทศ (Lock down) จากโควิด 19 ยอ มสงผลกระทบ
ตอประเทศไทยอยางมาก ดังนั้น เพื่อเปนการปรับสมดุลของระบบ
เศรษฐกิจไทย จำเปนจะตองมีการปรับขยายฐานเศรษฐกิจในประเทศ
ใหกวา งขน้ึ และสงเสริมภาคครวั เรือนในประเทศใหเขมแข็ง เพ่ือให
การบริโภคภายในประเทศกลายเปนกลไกสำคัญของระบบเศรษฐกิจ
ในประเทศ โดยที่ภาคการผลิตและอุตสาหกรรมในประเทศตอง
ปรับเปลี่ยนไปในสาขาที่มีความสำคัญ เนนตอบโจทยความมั่นคง
ดานสาธารณสุข และอาหาร โดยการใชป ระโยชนจากความอุดมสมบูรณ
ของทรัพยากรธรรมชาติในประเทศ (Natural Endowment) รวมถึง
พื้นฐานทางอุตสาหกรรมเดิมของไทยที่มีความเขมแข็งอยูแลว
ซึ่งเปนจุดแข็งของประเทศไทยในการเสริมสรางความมั่นคงใหกับ
ภาคการผลิตและภาคการคาของประเทศตอไปในระยะยาว ซึ่งการปรับ
สมดุลเศรษฐกิจของประเทศจะกลายเปนเกราะปองกันในยามท่ี
ประเทศไทยตองเผชิญกับภาวะฉุกเฉินและภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ
สอดคลองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ไดคำนึงถึง
ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการสรา งภูมิคมุ กันทด่ี ใี นตัว และ


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงก็จะเปนกรอบแนวคิดสำคัญ
ที่ตองนำมาใชและกระจายไปใหมากที่สุด เพื่อเปนหลักประกัน
ในการดำเนนิ ชวี ติ ของทุกคน

คณะกรรมาธิการการพาณิชยและการอุตสาหกรรม วุฒิสภา
จึงไดตั้งคณะทำงานทิศทางประเทศไทยภายหลังวิกฤตโควิด 19 ข้ึน
เพื่อติดตามและวิเคราะหผลกระทบของโควิด 19 ตอภาคอุตสาหกรรม
การคา และเศรษฐกิจฐานรากของประเทศ และศึกษาแนวทางการรับมือ
สถานการณทางเศรษฐกิจของประเทศไทยหลงั สถานการณการแพรระบาด
ของไวรสั โควดิ 19 และจดั ทำรายงานขอเสนอเสนอทศิ ทางประเทศไทย
หลังวิกฤตโควิด 19 ในดานการพาณิชยและการอุตสาหกรรม
ซึ่งจะมีขอเสนอท่ีเปนประโยชนสำหรับหนวยงานที่เกี่ยวของ และ
นำไปสกู ารปรับแผนปฏริ ปู และยุทธศาสตรป ระเทศ สงผลใหเ ศรษฐกิจ
ของประเทศไทยเติบโตไดตอไปอยางมั่นคงและยั่งยืน อันจะนำมาซึ่ง
ความอยูด มี สี ุขของประชาชนคนไทยในระยะยาวตอไป

คณะกรรมาธกิ ารการพาณิชยและการอตุ สาหกรรม
วฒุ ิสภา

สงิ หาคม 2563


สารบัญ

หนา

คำนำ ก
สารบญั ค
สารบัญภาพ จ
สารบัญตาราง ฉ
บทสรุปผูบรหิ าร (Executive Summary) 1

บทท่ี 1 สถานการณโควดิ 19 ๘
และการดำเนินมาตรการตาง ๆ ในประเทศไทย

บทที่ 2 ผลกระทบทางดานเศรษฐกจิ ท่ีเกดิ ข้ึน ๑๓
จากการแพรร ะบาดของโควิด 19 ในประเทศไทย

บทท่ี 3 แนวโนมชีวิตวิถีใหม (New Normal) ๓๒
ทีจ่ ะเกิดขึ้นหลังโควิด 19
๓๒
3.1 สถานการณทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทยกอนโควิด 19 ๓๖
3.2 ชวี ิตวถิ ใี หม (New Normal) หลังโควดิ 19 ๓๘
3.3 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงดา นการพาณิชย

และการอุตสาหกรรมหลงั โควิด 19


สารบญั (ตอ)

หนา

บทที่ 4 ขอ คดิ เห็นและขอเสนอเชิงนโยบาย ๕๐
4.1 ขอคดิ เหน็ ดา นการปรับโครงสรางภาคการผลติ ๕๔
4.2 ขอ คดิ เห็นดานการปรบั โครงสรา งการคา ของไทย ๗๖
4.3 สรปุ ขอ เสนอเชงิ นโยบาย ๙๕
บรรณานุกรม ๑๐๓

ภาคผนวก ๑๐๗
ภาคผนวก 1 คำส่ังคณะทำงานทิศทางประเทศไทย
๑๑๐
ภายหลังวิกฤตโควดิ 19
ภาคผนวก 2 บทวิเคราะหเกี่ยวกบั ชีวติ วิถีใหม ๑๑๘

(New Normal) หลงั วิกฤตโควิด 19
ภาคผนวก 3 แนวโนมการดำเนนิ นโยบาย

ของประเทศตาง ๆ หลงั วกิ ฤตโควดิ 19



สารบญั ภาพ

ภาพที่ ๑ รายละเอยี ดวงเงินกู ๑.๙ ลานลา นบาท ๑๑

ภาพท่ี ๒ คาดการณแ นวโนมอตั ราการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ๑๘
ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกและแปซฟิ กหลงั วกิ ฤตโควิด ๑๙

ภาพท่ี ๓ แสดงอตั ราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย ๓๓

(Real GDP) ในระยะ ๒๐ ปท่ีผา นมา (๒๕๔๓-๒๕๖๒)

ภาพท่ี ๔ แสดงมูลคา และอัตราการขยายตัว ๓๔

ของการสงออกไทยในระยะ ๒๐ ปท่ผี า นมา (๒๕๔๓-๒๕๖๒)

ภาพท่ี ๕ แสดงระดับหนี้ครัวเรือนตอ GDP ๓๕
ไตรมาสท่ี ๔ ของป ๒๕๖๒

ภาพท่ี ๖ อตุ สาหกรรมที่จำเปนอยางยงิ่ ยวด ๕๖
(Critical Industry Supply Chain)



สารบญั ตาราง

หนา

ตารางที่ 1 แสดงอตั ราการเติบโตทางเศรษฐกจิ ของโลก ๑๕

และประเทศตาง ๆ ชวงกอนโควิดและหลงั โควิด ๑๙

ตารางท่ี 2 ประมาณการณเศรษฐกจิ ไทยป 2563 ๑๗

ตารางท่ี 3 คาดการณเศรษฐกจิ ไทยป 2563 ของ SCB EIC ๒๒

ตารางท่ี 4 เปรียบเทยี บผลกระทบของสถานการณโ ควิด ๑๙ ๒๔

และมาตรการล็อคดาวนใ นระยะ 1 และ 2 เดือน

ตารางท่ี 5 เปรียบเทียบผลกระทบของสถานการณโควดิ ๑๙ ๒๕

ในประเทศตา ง ๆ จากมาตรการลอ็ คดาวน 1 และ 2 เดือน

ตารางท่ี 6 สรปุ ประมาณการการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ ๒๙

ของไทยป 2563



บทสรุปผูบ ริหาร (Executive Summary)

การแพรระบาดของโควิด 19 ไดสงผลกระทบตอเศรษฐกิจ
โลกอยางรุนแรง และนับวารุนแรงที่สุดหากเปรียบเทียบกับวิกฤต
เศรษฐกิจโลกในทุกครั้งทผี่ านมา โดยเฉพาะการหยุดชะงักของหวงโซ
อุปทานการผลิตในประเทศจีน นอกจากนี้ ยงั สง ผลตออตุ สาหกรรม
การทองเที่ยว อุตสาหกรรมการบิน และภาคธุรกิจบริการตาง ๆ
ทั้งโรงแรม ภัตตาคาร รานอาหาร รวมถึงกิจกรรมสันทนาการ
และบันเทิงตาง ๆ ซึ่งเปนผลสืบเนื่องจากการดำเนินมาตรการ
ล็อคดาวนในแตละประเทศ ซึ่งรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวของกบั ภาคบริการ และการทองเทีย่ ว
และประเทศไทยกลายเปนประเทศในอันดับตน ๆ ของโลกที่ไดรับ
ผลกระทบอยางหนักจากการแพรระบาดของโควิด 19 สะทอน
ความเปราะบางของเศรษฐกิจไทยจากโครงสรางเศรษฐกิจ
ที่กระจุกตัวสูงในภาคการทองเที่ยว และความเชื่อมโยงทางการคา
กับจีน โดยหนวยงานวิชาการตาง ๆ ประเมินวา ป 2563
เศรษฐกิจไทยจะหดตัวอยางรุนแรง

วิกฤตเศรษฐกิจในชวงโควิด 19 ซึ่งเกิดขึ้นในชวงที่
เศรษฐกิจไทยเติบโตต่ำมาหลายปนี้ ประกอบกับภาคการสงออก
ของไทยที่เผชิญกับปญหาสงครามการคาระหวางจีนและสหรัฐอเมริกา
ทำใหไทยไดรับผลกระทบโดยตรงจากการเปนขอตอสวนหนึ่งของหวงโซ
อุปทานของจนี อกี ทงั้ เศรษฐกจิ ไทยยงั ตองพึง่ พิงการคาระหวางประเทศ
ในสดั สวนสงู ถงึ รอยละ 70 ตลอดจนการท่ีนานาประเทศพยายาม
ยกระดับและสรางความไดเปรียบในการแขงขันใหกับประเทศผาน
กรอบความตกลงการคาเสรีในกรอบเจรจาตาง ๆ จึงยิ่งกลายเปน
ตัวเรงสำคัญที่ทำใหประเทศไทยตองพิจารณาปรับโครงสราง



ทางเศรษฐกิจไทย ประกอบกับการปรับเขาสูยุคฐานชีวิตวิถีใหม
(New Normal) ที่ทำใหเทคโนโลยีและดิจิทัลเขามีบทบาทและ
เปล่ยี นแปลงวิถีการดำรงชีวิตและการดำเนินรูปแบบทางธุรกิจมากข้ึน
สงผลใหภาคการผลิตและการคาตองปรับตัวรับความเปลี่ยนแปลง
รปู แบบใหม เน่ืองจากโควิด 19 ทำใหเกิดแนวโนมการเคล่ือนยายฐาน
การผลิตของหวงโซการผลิตโลก โดยมีการยายฐานการผลิตกลับ
ประเทศตัวเอง (Reshoring supply chain) และเกิดกระแสยอนกลับ
ของโลกาภิวัตน (Deglobalization) อาทิ การปดประเทศ การปกปอง
ทางการคา ทำใหประเทศตาง ๆ ใหความสำคัญกับการสรางและรักษา
พันธมิตรตลอดหวงโซอุปทาน (supply chain) เพื่อเพิ่มแนวรวม
ในการแกไขปญหาอุปสรรคทางการคา ตลอดจนคำนึงถึงปจจัยอื่น ๆ
ที่จะมีผลตอพฤติกรรมของตลาดและผูบริโภคในอนาคตมากข้ึน
เชน ความปลอดภัย สขุ ภาพอนามยั และส่งิ แวดลอ ม เปน ตน

คณะกรรมาธิการการพาณิชยและการอุตสาหกรรม วุฒิสภา
เห็นวา ประเทศไทยจำเปนจะตองมีการทบทวนยุทธศาสตรชาติ
และทิศทางประเทศใหม โดยเฉพาะประเด็นดานการผลิตและการคา
ซึ่งเปนเครื่องยนตสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย โดยการนำ
ศักยภาพของประเทศไทยและจุดแข็งหลาย ๆ ดานมาพิจารณา
ทั้งศักยภาพในดานระบบสาธารณสุข และการมีจุดแข็งที่ชัดเจน
ในดา นการเปนประเทศท่ีมีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ
และมีความหลากหลายทางชีวภาพ เปนดินแดนแหงเกษตรกรรม
หรืออูขาวอูน้ำของโลก ซึ่งเปรียบไดกับการเปนครัวอาหารของโลก
(Kitchen of the World) ที่สามารถผลิตอาหารใหกับคนในประเทศ
และใหกับผูคนทั่วโลก เปนจุดหมายปลายทางของนักทองเที่ยวทั่วโลก
เน่ืองจากมีแหลงทอ งเที่ยวท้งั ทางธรรมชาติและทางวฒั นธรรมที่สวยงาม



และ 5) อยูในกลุมประเทศเกิดใหม (Emerging market) ท่ีมี
โครงสรางพื้นฐานตาง ๆ ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง เหมาะแก
การลงทุนอยางมาก รวมถึงการพิจารณาแนวโนมการเปลี่ยนแปลง
ของโลก (Mega Trends) ทย่ี ังคงเปนปจ จยั สำคญั ทำใหเกิดการขับเคลื่อน
และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ที่ตองนำมาประกอบการพิจารณา
กำหนดทิศทางในการสงเสริมภาคการผลิตและภาคการพาณิชย
ของประเทศตอไป

คณะกรรมาธิการการพาณิชยและการอุตสาหกรรม วุฒิสภา
ขอเสนอขอเสนอเชิงนโยบายตอทิศทางประเทศไทยหลังโควิด 19
ในดานการพาณิชยและการอุตสาหกรรม เพื่อเปนการวางทิศทาง
ประเทศไทยสำหรับการพฒั นาในระยะยาวตอ ไป โดยสรปุ ดังนี้

1. การปรับโครงสรางการผลิต โดยการสงเสริม
อุตสาหกรรมศักยภาพที่มีความจำเปนตอประเทศ (Critical
Industry Supply Chain) และมีหวงโซการผลิตภายในประเทศ
ที่เขมแข็ง เพื่อตอบโจทยแนวโนมของกระแสโลกที่เปลี่ยนไปที่เนน
ในเรื่องการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม หรือการใชทรัพยากร
อยางคุมคาเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตามแนวคิด BCG Economy
Model ของรัฐบาล โดยมีกลุมอุตสาหกรรมที่มีความจำเปน
ตอการสรา งหวงโซอุปทานในประเทศ 7 กลมุ ซง่ึ ไดแ สดงศักยภาพ
ในชวงวิกฤตโควิด 19 วา ไทยมีความพรอมและสามารถผลักดัน
ใหกลายเปน อุตสาหกรรมสำคญั ของประเทศไดต อไป ไดแ ก

• อตุ สาหกรรมอาหาร
• อตุ สาหกรรมเครอื่ งมอื แพทย
• อตุ สาหกรรมยาและเครื่องสำอาง



• อุตสาหกรรมสง่ิ ทอทางการแพทยแ ละเครอ่ื งนุงหม
• อุตสาหกรรมสื่อสารสนเทศ
• อตุ สาหกรรมพลงั งาน
• อตุ สาหกรรมบรรจภุ ณั ฑแ ละการพมิ พ
โดยเนนการใชประโยชนจากการเปนตลาดฐาน
เดียวกันของอาเซียนในการเปนหวงโซอุปทานในระดับภูมิภาค
(Regional Supply Chain) และการเขารวมเปนสวนหนึ่งของ
พันธมิตรการคาในระดับภูมิภาค เพื่อเชื่อมโยงการคาที่เปลี่ยนไป
ซึ่งสนับสนุนในเรื่องการผลิตและอุตสาหกรรมใหม ๆ ในอนาคต
และเพื่อสรางความไดเปรียบในการแขงขันใหกับประเทศไทย
ตลอดจนการใชศกั ยภาพดา นการสาธารณสุขของไทยและศักยภาพ
ดานแหลงทองเที่ยวของไทย เพื่อชูจุดแข็งเรื่องการทองเที่ยวแบบ
ปลอดภัย รวมถงึ การนำเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาชวยพัฒนาและยกระดับ
ทักษะความสามารถของแรงงานไทย (Re-skill & Up-skill) เพื่อตอบรับ
กับกระแสเศรษฐกิจดิจิทัลที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วมากขึ้น
และตอบโจทยความตองการแรงงานมีฝมือในภาคอุตสาหกรรม
ในอนาคตที่จะเปนแนวทางสำคัญที่นำไปสูการปฏิรูปประเทศ
อยางตอเนื่องและจะทำใหเกิดผลสัมฤทธิ์อยางชัดเจนและ
เปนรูปธรรมไดใ นระยะยาว
ซึ่งหากไทยตองการผลักดันอุตสาหกรรม CISC
เพื่อชวยสรางขีดความสามารถในการแขงขันใหกับประเทศ จะตอง
เรงสรางมาตรฐานใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล โดยการสรางศูนย
ทดสอบและตรวจวิเคราะหท างหองปฏบิ ตั ิการการทดสอบเคร่ืองมือ
และอุปกรณทางการแพทย (Laboratory Testing) ที่ไดมาตรฐานสากล
รวมทั้งมาตรฐานของไทย ซึ่งการมีหองตรวจรับรองในประเทศไทย



จะชวยเพิ่มขีดความสามารถใหกับอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย
และสิ่งทอทางการแพทยอยางครบวงจร ทำใหอุปกรณเครื่องมือ
ทางการแพทยตาง ๆ ทถ่ี กู คิดคนขึ้น โดยนวตั กรรมใหม ๆ โดยคนไทย
มีความนาเชื่อถือและไดรับการยอมรับทั้งในระดับประเทศและ
ตา งประเทศ และจะเปน โอกาสสำคัญในการสรางงานใหกบั แรงงาน
ในประเทศ และทำใหไทยสามารถสรางรายไดจากการสงออก
อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทยไดตอไปในอนาคต โดยตองมุงสูการผลิต
แบบ BCG Economy Model เพื่อสรา งความยัง่ ยนื ใหกับประเทศ

นอกจากนี้ ตองมีการสนับสนุนใหมีแพลตฟอรมการคา
ดิจิทัลแหงชาติ (National Digital Trade Platform-NDTP) เพื่อเปน
ศูนยกลางธุรกิจของภาคเอกชนในลักษณะธุรกิจกับธุรกิจ (Business
to Business: B2B) โดยการเชือ่ ม (Plug-in) แพลตฟอรมการคา ดจิ ิทัลอื่น
ที่มีการพัฒนาไปแลวหลายประเทศ เพื่ออำนวยความสะดวกใหเกิด
ความรวดเร็ว ลดขั้นตอน และลดตนทุนในดานการสงออก – นำเขา
ชวยเพ่มิ ขีดความสามารถใหภาคอุตสาหกรรมและการสง ออกของไทย

2. การปรับโครงสรางการคาของไทย จะเปนการตอยอด
จากการเสริมสรางความเขมแข็งในดานการผลิตในประเทศ จะตอง
เนนการเขาสูตลาดใหมๆ ลดการพึ่งพาตลาดเดิม โดยการเรงเจรจา
FTA ในแตละฉบับท่ีคงคางอยู รวมถึงเรงพิจารณาศึกษาการเขารวม
การเจรจาเปนพันธมิตรทางการคาในกรอบความตกลงในระดับ
ภูมิภาคที่จะชวยยกระดับมาตรฐานการผลิตสินคาไทยตลอดจน
การประกอบธุรกิจ การทำการคา และการปรับปรุงกฎระเบียบ เพื่อให
สอดคลองกับมาตรฐานทางการคา และประเด็นดานสิ่งแวดลอม
ที่จะชวยเติมเต็มหวงโซอุปทานของไทย ที่จะชวยสนับสนุนในเรื่อง
การขจัดปญหาและอุปสรรคทางการคา และชวยเพิ่มขีดความสามารถ



ใหกับไทย รวมถึงการผลักดันใหภาคบริการใหม ๆ ทั้งดานเทคโนโลยี
ดิจิทัล และดานสุขภาพที่ไทยมีศักยภาพใหมีบทบาทสำคัญ
ในการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจของประเทศมากขึ้น ไดแ ก

• พาณิชยอ เิ ลก็ ทรอนิกส (E-Commerce)
• การสงเสรมิ ธุรกิจบริการสขุ ภาพ (Health Care)
• การสงเสริมการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical

Tourism)
• การสงเสริมธุรกิจดิจิทัลคอนเทนต (Digital

Content)
ทั้งน้ี การผลักดันใหภาคการผลิตและภาคการคาไทย
ยังคงขับเคลื่อนตอไปได ตองสรางความเขมแข็งใหกับเศรษฐกิจ
ระดับฐานรากดวย หากโครงสรางเศรษฐกิจในประเทศไมสามารถ
พ่ึงพาตนเองได ก็ยอมทำใหเกิดปญ หาในยามประเทศตองเผชิญวิกฤต
ดังน้ัน การกำหนดแนวนโยบายในระยะยาวจะตองใหความสำคัญ
กบั การสรา งความแข็งแกรงใหกบั เศรษฐกจิ ภายในประเทศใหส ามารถ
พ่งึ พาตวั เองได และจะเปนรากฐานสำคัญท่ีจะทำใหเศรษฐกิจระดับ
ฐานรากมีความเขมแข็งอยางยั่งยืน โดยเนนการปรับสมดุล
ทางเศรษฐกิจ โดยปรับขยายฐานเศรษฐกิจในประเทศใหกวางข้ึน
และตองเรงพัฒนาทักษะฝมือมีแรงงานในประเทศใหกาวทัน
ตอกระแสการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เปนไปอยางรวดเร็ว รวมถึง
การสรางความเขมแข็งใหภาคครัวเรือน ซึ่งถือเปนแรงขับเคลื่อน
เศรษฐกิจในประเทศอยางแทจริง ซึ่งที่ผานมาพบวา ภาคครัวเรอื นไทย
ยังประสบปญ หาในเร่ืองความรูทางดานการเงนิ (Financial Literacy)
ทำใหเกิดภาวะหนี้ครัวเรือนสูง ดังนั้น ในยามทีเ่ กิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ
ภาคครวั เรอื นของประเทศก็ไมอ าจทำหนา ทข่ี ับเคลื่อนเศรษฐกจิ ประเทศ



ไดเชนกัน ดังนั้น จึงตองเรงเสริมองคความรูดังกลาวใหกับภาค
ครัวเรือนของไทยดวย รวมถึงการสรางความเขมแข็งในระดับ
พื้นที่โดยการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural
Tourism) ซ่ึงจากสถานการณโ ควิด 19 คาดวาตลาดการทองเท่ียว
ในตางประเทศจะฟนตัวไดย ากและไมอาจคาดการณระยะเวลาการฟนตัว
ที่แนนอนได ดังนั้น จึงควรมุงเนนไปที่การบริโภคภายในประเทศ
เปนหลัก (Domestic Presumption) โดยเชื่อมโยงกับการสงเสริม
การทอ งเทย่ี วเชิงวฒั นธรรมแบบคูขนานกันไป

บทสรุปชว งทา ยของรายงานขอเสนอทิศทางประเทศไทย
หลังวิกฤตโควิด 19 ในดานการพาณิชยและการอุตสาหกรรม ฉบับน้ี
จะมีขอเสนอสำคัญตอการปรับโครงสรางการผลิตและการปรับโครงสราง
ภาคการคาไทย ซึ่งสอดคลองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บนหลักการของความพอประมาณมีเหตุผล และมีภูมิคุมกันที่จะเปน
แนวทางสำคัญที่ชวยใหเศรษฐกิจของประเทศไทยมีการพึ่งพิง
เศรษฐกิจในประเทศมากขึ้น เปนทิศทางที่สำคัญของประเทศไทย
หลังวิกฤตโควิด 19 ที่จะสามารถเกิดการพัฒนาและเติบโตตอไปได
อยางมั่นคงและยั่งยืน และมีภูมิคุมกันที่ดีในยามที่หากประเทศ
ตองเผชญิ ภาวะวกิ ฤตในอนาคต



บทที่ 1
สถานการณโควิด 19
และการดำเนนิ มาตรการตาง ๆ ในประเทศไทย

สถานการณการระบาดของโควิด 19 ในประเทศไทยเร่ิม
ชัดเจนในชวงตนเดือนมีนาคม 2563 จนนำมาสูการดำเนินการ
มาตรการทางสาธารณสขุ ท่ีเขมขนของรัฐบาล โดยพลเอก ประยุทธ
จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
ประกาศใชอำนาจตามพระราชกำหนดการบริหารราชการ
ในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศสถานการณฉุกเฉิน
ทั่วราชอาณาจักรเปนเวลา 1 เดือน ตั้งแตวันที่ 26 มีนาคม -
30 เมษายน 2563 เพื่อใหการบริหารจัดการ การบูรณาการ
สั่งการทุกสวนราชการไดอยางมีเอกภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยมี
การจัดตั้งศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (โควิด 19) หรือ ศบค. เพื่อรวมศูนยในการบังคับใช
กฎหมาย และมาตรการตาง ๆ ในขั้นสูงสุด ทำใหสามารถควบคุม
และบริหารสถานการณไดอยางมีประสิทธิภาพ และตอมาไดประกาศ
ขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณฉุกเฉินในทุกเขตทองที่
ทั่วราชอาณาจักรออกไปอีกตั้งแตวันที่ 1 - 31 พฤษภาคม 2563
และเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2563 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ
ขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณฉุกเฉินในทุกเขตทองที่
ทั่วราชอาณาจักรออกไปอีก 1 เดือน ตั้งแตวันที่ 1 - 30 มิถุนายน
2563 เพอ่ื แกไขปญหาการแพรระบาดของเช้ือโควิด 19 ที่เกิดข้ึน
ในประเทศ



ผลจากการดำเนินมาตรการท่ีเขมขนของรัฐบาลเพื่อปองกัน
และหยุดยั้งการแพรระบาดของโควิด 19 ไดแก การหามประชาชน
ออกนอกบานในชวงเวลาที่กำหนด (Curfew), การปดใหบริการ
สถานท่ีบรกิ ารและสถานทีท่ ำการตาง ๆ, การประกาศหยุดขบวนรถไฟ
22 ขบวน ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2563 เปนตนไป, การดำเนิน
มาตรการเวนระยะทางสังคม (Social Distancing) ของรถโดยสาร
สถานีขนสง และจำกัดการเดินทางของผูโดยสาร, การหยุดการเดิน
รถเสนทางระหวางประเทศชั่วคราว ตั้งแตวันที่ 25 มีนาคม 2563
จนกวาสถานการณจะดีขึ้น, การหามอากาศยานทำการบินเขาสู
ประเทศไทยตั้งแตวันที่ 4 - 6 เมษายน 2563 และขยายเวลา
ตอเนื่องจนถึง 30 มิถุนายน 2563, และการประกาศงดการบิน
ภายในประเทศของหลาย ๆ สายการบินในประเทศเปนเวลา 1 เดือน
คอื ระหวา งวนั ที่ 1 - 30 เมษายน 2563 ตลอดจนการใหความรว มมอื
จากภาคธุรกิจและประชาชนทุกภาคสวนในการดำเนินการตาม
มาตรการตาง ๆ ของรัฐบาลทำใหสถานการณโควิด 19 ในไทยดีขึ้น
ตามลำดับ จนไดรับการยอมรับจากทั่วโลกในดานการเตรียมความ
พรอมดานสาธารณสุข เพื่อรบั มือกับโควิด 19

นอกจากนี้ รัฐบาลยังไดกำหนดมาตรการดูแลและ
เยียวยาผูไดรับผลกระทบจากโควิด 19 ทั้งทางตรงและทางออม
โดยการใชมาตรการดานการเงินและการคลัง เนนการเสริมสภาพคลอง
และลดภาระใหแกภาคธุรกิจ และประชาชน ซึ่งรัฐบาลไดกำหนด
กรอบวงเงินในการเยียวยาและฟนฟูประเทศ โดยการออกพระราชกำหนด
เงนิ กทู งั้ สนิ้ 1.9 ลา นลา นบาท ดังภาพที่ 1 ประกอบดว ย

๑๐

1. การออกพระราชกำหนดใหอำนาจกระทรวงการคลัง
กูเงินเพื่อแกไขปญหา เยียวยา และฟนฟูเศรษฐกิจและสังคม
ที่ไดรับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 พ.ศ. 2563 (วงเงิน 1,000,000 ลา นบาท)

1.1 แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงค
ทางการแพทยและสาธารณสุข เพื่อแกไขปญหาการระบาดของโรค
ตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (วงเงิน 45,000 ลานบาท)

1.2 แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงคเพื่อ
ชวยเหลือ เยียวยา และชดเชยใหกับภาคประชาชน เกษตรกร
และผูประกอบการ ซึ่งไดรับผลกระทบจากสถานการณการระบาด
ของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (วงเงนิ 555,000 ลา นบาท)

1.3 แผนงานหรือโครงการที่มีวัตถุประสงคเพื่อ
ฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ไดรับผลกระทบจากการระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (วงเงิน 400,000 ลา นบาท)

2. การออกพระราชกำหนดเพื่อใหธนาคารแหงประเทศไทย
นำเงินไปใชแกปญหาในภาคธุรกิจและการเงิน (วงเงิน 900,000
ลานบาท) โดยแบง ออกเปน 2 รูปแบบ คอื

2.1 วงเงนิ 500,000ลานบาท ใหธนาคารแหง ประเทศไทย
ปลอยเงนิ กูดอกเบ้ียต่ำ เพ่อื ชวยเหลือภาคธุรกิจ โดยเฉพาะผูประกอบการ
ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) - พระราชกำหนดการให
ความชวยเหลือทางการเงินแกผูประกอบวิสาหกิจที่ไดรับผลกระทบ
จากการระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563

2.2 วงเงิน 400,000 ลานบาท เพื่อใหซื้อตราสารหนี้
เอกชน อนั เปนการสนับสนุนสภาพคลอง เพ่ือดูแลเสถยี รภาพตลาด
ตราสารหนี้ เพ่ือปองกันไมใหเกิดการขาดสภาพคลองทางธุรกิจ

๑๑

- พระราชกำหนดการรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินและความมั่นคง
ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ พ.ศ. 2563

ภาพที่ 1 รายละเอียดวงเงินกู 1.9 ลานลานบาท

วงเงินเยยี วยา พรก.เงนิ กู 1 ลานลานบาท 6 แสนลานบาท สาธารณสขุ
และฟน ฟู พรก. ธนาคาร 9 แสนลา นบาท
ประเทศ แหง ประเทศไทย 4 แสนลา นบาท เยยี วยาโควิด-19
5 แสนลานบาท
1.9 ลา นลาน 4 แสนลา นบาท เกษตรกร
บาท
ประชาชนทวั่ ไป

ผปู ระกอบการ

สรางงานใหม
กระตุนการ

บริโภค
สง เสริมการลงทนุ

SMEs

ตลาดตราสารหน้ี

ท่ีมา : ประมวลโดยคณะทำงาน

๑๒

นอกจากน้ี เมอ่ื วนั ท่ี 12 พฤษภาคม 2563 คณะรัฐมนตรี
มีมติเห็นชอบขอเสนอรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจาย
พ.ศ. …. โดยเปนการใหความเห็นชอบการปรับปรุงขอเสนอการโอน
งบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่นำมา
จัดทำรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจาย พ.ศ. ....
จำนวน 11,942.4021 ลานบาท จากวงเงินเดิม จำนวน 100,395
ลา นบาท สงผลใหการโอนเงนิ งบประมาณจริง คงเหลอื 88,452.5979
ลานบาท เพื่อนำมาแกไขปญหาเศรษฐกิจจากโควิด 19 ปญหาภัยแลง
และปญ หาภัยพิบตั ิอื่น ๆ

สำหรับ วงเงนิ 4 แสนลา นบาท ทจี่ ะเนน ในเร่ืองการสราง
งานใหม การกระตุนการบริโภค และการสงเสริมการลงทุน จะตองใช
ในโครงการที่สรางกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศระดับทองถิ่น
และชุมชน ทั้งการเกษตรดั้งเดิม เกษตรอินทรีย การจัดทำแหลงนำ้
การพัฒนาแหลงทองเที่ยวชุมชน รวมไปถึงการพัฒนาและอบรม
บุคลากร และวงเงินทั้งหมด 1.9 ลานลานบาท เปนมาตรการ
ทางดา นการเงินและการคลังท่ีมุงเนนการเยียวยาและฟนฟูประเทศ
ซึ่งเปนแผนในระยะสั้น (Short run) โดยจะตองพิจารณาตอไปวา
ทิศทางการพัฒนาของประเทศในระยะยาว (Long run) ตองดำเนิน
นโยบายอยางไร

๑๓

บทที่ 2
ผลกระทบทางดานเศรษฐกจิ ทีเ่ กดิ ข้ึน
จากการแพรร ะบาดของโควิด 19 ในประเทศไทย

ประเทศไทยถือเปนประเทศที่ไดรับผลกระทบอยางมาก
จากสถานการณการแพรระบาดของโควิด 19 เนื่องจากประเทศไทย
เปนประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจขนาดเล็กที่พึ่งพิงการคาระหวางประเทศ
และการทองเที่ยวสูง ดังนั้น เมื่อการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ทั่วโลกหยุดชะงัก โดยเฉพาะประเทศจีน จึงสงผลกระทบโดยตรง
ตอเศรษฐกิจไทยอยางหลีกเล่ียงไมได โดยลาสุด มีรายงานภาวะเศรษฐกิจ
ของจีนในไตรมาสแรก (ม.ค. - มี.ค. 63) วา ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ
(GDP) ของจีนในไตรมาสแรกป 2563 หดตัวถึงรอยละ 6.8 จากชวง
เดียวกันของปกอนหนา ซึ่งเปนระดับต่ำสุดและเปนการติดลบครั้งแรก
นับตั้งแตจีนเริ่มประกาศอัตราเติบโตของ GDP เมื่อป 2535 หรือ
ในรอบ 28 ป โดยเฉพาะอัตราการเติบโตของภาคอุตสาหกรรม
และภาคบริการหดตัวรอยละ 9.6 และรอยละ 5.2 จากชวงเดียวกัน
ของปก อ นหนา ตามลำดบั และทำใหจ ีนยกเลิกการตั้งเปา GDP ในป 2563 นี้

คณะทำงานฯ จึงไดประมวลขอมูลจากหนวยงานวิชาการตาง ๆ
ทั้งในประเทศและตางประเทศถึงคาดการณสถานการณเศรษฐกิจไทย
ในป 2563 หลังจากไดรบั ผลกระทบโควิด 19 ดังน้ี

๑๔

2.1 กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF)
IMF คาดการณวา เศรษฐกิจโลกในปนี้จะหดตัวลงรอยละ 4.9

จากการแพรร ะบาดของโควดิ 19 (เดิมคาดการณเ มอื่ เดอื นเมษายน 2563
หดตวั รอ ยละ 3) ซงึ่ จะทำใหเกิดวิกฤตเศรษฐกจิ ครงั้ เลวรายที่สุดนับแต
ยุคเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญท ี่เรียกวา Great Depression ในชวงป 1930
โดย IMF ประเมินวา ป 2020 เศรษฐกิจประเทศไทยจะหดตัวมากที่สุด
ท่ีรอยละ 7.7 (ปรับประมาณการเมื่อเดือนมิถุนายน 2563 จากเดิม
หดตัวรอยละ 6.7) หากเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคอาเซียน
ตามตารางที่ 1 เนื่องจาก โครงสรางประเทศไทยมีการพึ่งพิงการสงออก
และการทองเทย่ี วในสดั สว นรวมกันเกนิ รอยละ 70ของ GDP รวมทั้งปนี้
ประเทศไทยตองเผชิญปญหากบั ภัยแลง หนกั ทีส่ ดุ ในรอบ 40 ป กระทบ
กบั การบริโภคในภาคครวั เรือนซึ่งคิดเปนสดั สว นประมาณรอยละ 50 ของ GDP

๑๕

ตารางที่ 1 แสดงอตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจของโลกและประเทศตาง ๆ
ชวงกอนโควดิ และหลงั โควดิ

คาดการณ ณ เมษายน คาดการณ ณ มิถนุ ายน

2563 2563

ประเทศ 2562 2563 2564 2563 2564

(Pre – (Post – (f) (Post – (f)

COVID19) COVID19) COVID19)

โลก 2.9 -3.0 5.8 -4.9 5.4

สหรัฐอเมริกา 2.3 -5.9 4.7 -8.0 4.5

เยอรมนี 0.6 -7.0 5.2 -7.8 5.4

ฝรั่งเศส 1.3 -7.2 4.5 -12.5 7.3

ญ่ีปุน 0.7 -5.2 3.0 -5.8 2.4

จนี 6.1 1.2 9.2 1.0 8.2

อินเดยี 4.2 1.9 7.4 -4.5 6.0

สิงคโปร* 0.7 -3.5 3.0 -3.5 3.0

อนิ โดนีเซยี 5.0 0.5 8.2 -0.3 6.1

ฟล ิปปนส 5.9 0.6 7.6 -3.6 6.8

เวยี ดนาม* 7.0 2.7 7.0 2.7 7.0

มาเลเซีย 4.3 -1.7 9.0 -3.8 6.3

ไทย 2.4 -6.7 6.1 -7.7 5.5
ที่มา : World Economic Outlook, IMF (June, 2020)
f = คาดการณ * คาดการณคงเดมิ

๑๖

2.2 ธนาคารโลก (World Bank)
ธนาคารโลก มรี ายงาน East Asia and Pacific in the Time

of COVID 19 ซึ่งไดคาดการณและประเมินสถานการณการระบาดของ
โควิด 19 ที่มีผลกระทบตอเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก (East
Asian and Pacific: EAP) รวมทง้ั ประเทศไทย ซง่ึ เปน ผลจากการทีป่ ระชากร
ในภูมิภาคนี้ประสบปญหาจากภาวะเจ็บปวยโดยตรง และผลกระทบ
จากการสูญเสียรายได โดยประเมินวาภาพรวมของเศรษฐกิจภูมิภาค
เอเชียตะวันออกและแปซิฟกในกรณีที่ดีที่สุดจะเติบโตเฉล่ียรอยละ 2.1
สวนกรณีที่เลวรายจะหดตัวรอยละ 0.5 สำหรับประเทศไทยคาดวา
ในสถานการณที่ดีที่สุด เศรษฐกิจจะหดตัวรอยละ 3 สวนสถานการณ
ท่เี ลวรา ยทีส่ ุดจะหดตัวรอยละ 5 (Pre - COVID 19 จะขยายตัวรอยละ 2.4)
ซึ่งเปนผลมาจากผลกระทบของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวที่คิดเปนสดั สว น
รอยละ 13 - 16 ของ GDP และประเมินวาประเทศไทยในป 2564
และป 2565 ภาวะเศรษฐกจิ จะเขา สูภาวะฟนตัว โดยคาดวาเศรษฐกิจ
จะขยายตัวไดรอยละ 4 และรอยละ 3.5 ตามลำดับ ตามตารางที่ 2
และภาพที่ 2

๑๗

ตารางที่ 2 ประมาณการณเศรษฐกิจไทย ป 2020

2017 2018 2019e 20f 2021f 2022f
Real GDP growth, at 4.0 4.1 2.4 -3.0 4.0 3.5
constant market prices
Private consumption 3.0 4.6 4.4 -1.8 4.3 4.1
Government consumption 0.1 1.8 1.9 1.7 0.9 1.9
Gross fixed capital 1.8 3.8 8.1 -0.6 2.3 2.6
investment
Exports, goods, and 5.4 4.2 -4.5 -5.5 2.0 2.5
services
Imports, goods, and 6.2 8.6 -2.5 -3.0 2.4 2.2
services
Real GDP growth, 4.2 4.2 2.4 -2.9 4.0 3.5
at constant factor prices
Agriculture 3.7 5.0 2.0 1.0 1.5 2.0
Industry 1.8 2.7 2.6 1.5 2.5 3.0
Services 5.8 5.1 2.3 -6.0 5.3 4.0
Inflation 0.7 1.1 1.1 1.0 1.0 1.0
(consumer price index)
Current account 9.7 6.4 2.7 2.3 1.8 1.8
balance (% of GDP)
Net foreign direct –2.3 –0.2 0.1 0.2 0.5 0.5
investment (% of GDP)
Fiscal balance –0.9 0.3 –0.9 –1.6 –1.4 –1.0
(% of GDP)
Debt (% of GDP) 41.2 41.5 42.4 43.9 44.4 44.4
Primary balance 0.1 1.3 0.1 –0.4 –0.1 0.4
(% of GDP)
Upper-middle-income 7.8 8.6 8.4 8.7 8.4 8.1
poverty rate
(US$5.50 in 2011 PPP)
ทมี่ า : World Bank, Poverty & Equity and Macroeconomics, Trade &
Investment Global Practices. (April, 2020)

๑๘

ภาพท่ี 2 คาดการณแนวโนมอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคเอเชีย
ตะวันออกและแปซิฟกหลงั วิกฤตโควิด 19
ท่ีมา : World Bank (March 2020)

๑๙

2.3 ธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.)
ธนาคารแหงประเทศไทย ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจไทย

จากเดิมจะขยายตวั ทร่ี อยละ 2.8 (Pre - COVID) เปน หดตวั รอยละ 5.3
(Post - COVID) โดยอางอิงจาก 3 ปจจัยหลัก ไดแก 1. เศรษฐกิจโลก
เขา สูภาวะถดถอย (Regression) 2. สถานการณการระบาดของโควดิ 19
ในประเทศไทยจะคลี่คลายภายในไตรมาสที่ 2 ตามที่กระทรวงสาธารณสุข
ประเมินไว และ 3. การคาดการณเศรษฐกิจครั้งนี้ยังไมไดรวมมาตรการ
การเงิน - การคลังของรัฐบาลที่ประกาศออกมา โดยที่เศรษฐกิจไทย
ในป 2563 มีแนวโนมหดตัวแรง เนื่องจากการทองเที่ยวและการสงออก
สนิ คา ไดรับผลกระทบรุนแรงจากการระบาดของโควิด 19 การชะลอ
ตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาและการหยุดชะงักของหวงโซการผลิต
ในหลายประเทศ สงผลใหรายไดของธุรกิจและครัวเรือนไดรับผลกระทบ
เปนวงกวางขึ้น เปนผลใหอ ุปสงคภายในประเทศทั้งการลงทุนและการบริโภค
ภาคเอกชนมีแนวโนมหดตัว ในสถานการณเชนน้ี มาตรการดานการคลัง
จะตองเปนกลไกหลักในการบรรเทาผลกระทบตอเศรษฐกิจและดูแล
ผูไดรับผลกระทบจากการระบาดของโควิด 19 (ลาสุดปรับประมาณการณ
เม่ือเดือนมิถุนายน 2563 เศรษฐกิจ จะหดตวั รอยละ 8.1)
2.4 สำนกั งานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจโลก
จากเดิมที่คาดวาจะขยายตัวไดรอยละ 3.1 (มกราคม 2563) เปน หดตัว
รอ ยละ 2.8 (เมษายน 2563) ในขณะทเ่ี ศรษฐกิจไทยเดิมจะขยายตัว
ไดรอยละ 2.8 จะหดตัว ทั้งนี้ ในภาคการทองเที่ยว คาดการณวา
ป 2563 จำนวนนักทองเที่ยวตางชาติจะลดลงเหลือประมาณ 10.5
ลา นคน หดตวั ลงรอ ยละ 73.7 (ป 2562 จำนวนนักทองเที่ยวตางชาติ

๒๐

39.8 ลานคน) และจะทำใหรายไดจากการทองเที่ยวของนักทองเที่ยว
ตางประเทศลดลงเหลือประมาณ 0.51 ลานบาท ซึ่งแมสถานการณ
ในประเทศไทยจะดขี ึ้น แตสถานการณใ นตา งประเทศยังถือวา มีความรุนแรง
ของการระบาดอยู เชน สหรัฐฯ ยุโรป อินเดีย เปนตน และในบางประเทศ
มีการกลับมาแพรระบาดอีกครั้งหนึ่ง เชน ญี่ปุน สิงคโปร เปนตน
จึงยังทำใหภ าคการทอ งเท่ยี วยงั ไมฟน ตัว
2.5 สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ (สศช.)

สำนักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ (สศช.)
แถลงตัวเลขผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ในไตรมาสแรก
ของป 2563 และแนวโนมป 2563 เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรก
ของป 2563 หดตวั รอยละ 1.8 และคาดวา เศรษฐกจิ ไทยในป 2563
จะหดตัวรอยละ 5.0 ถึง 6.0 เนื่องจาก (1) การปรับตัวลดลงรุนแรง
ของเศรษฐกิจและปริมาณการคาโลก (2) การลดลงรุนแรงของจำนวน
และรายไดจากนักทองเที่ยวตางประเทศ (3) เงื่อนไขและขอจำกัด
ที่เกิดจากการระบาดของโรคโควิด 19 ในประเทศ และ (4) ปญหาภัยแลง
โดยคาดวามูลคาการสงออกสินคาจะหดตัวรอยละ 8.0 การบริโภค
ภาคเอกชน และการลงทุนรวมหดตัวรอยละ 1.7 และ 2.1 ตามลำดับ
อัตราเงินเฟอทั่วไปเฉลี่ยอยูในชวงรอยละ -1.5 ถึง -0.5 และบัญชี
เดนิ สะพัดเกินดุลรอยละ 4.9 ของ GDP

๒๑

2.6 อีไอซี หรือ Economic Intelligence Center (EIC) ธนาคาร
ไทยพาณชิ ย

EIC ประเมินเศรษฐกิจไทยจะเขาสูภาวะถดถอย (technical
recession)1 ในชวงครึ่งแรกของป หรือในชวงไตรมาสที่ 1 และไตรมาส
ที่ 2 และเศรษฐกิจไทยมีโอกาสหดตัวถึงรอยละ 5.6 (ปรับประมาณการณ
จากเดือนมนี าคม คาดการณหดตวั รอ ยละ 0.3) โดยคำนึงถงึ 4 ปจ จัยสำคญั
ไดแก 1) เศรษฐกิจโลกเขาสูภาวะถดถอย 2) จำนวนนักทองเที่ยว
ที่นาจะลดลงมากกวาคาด 3) ผลกระทบตอการบริโภคจากการประกาศ
ปดเมือง (lockdown) และ 4) ผลจากมาตรการการเงินและการคลังลาสุด
รวมถึงมาตรการอัดฉีดเพิ่มเติมของภาครฐั ผาน พรก. เงินกูฉุกเฉิน ที่คาดวา
จะมีเม็ดเงินเพ่ิมเติมอีกประมาณ 2 แสนลานบาท ทั้งนี้ หากสถานการณ
โควิด 19 จบเร็วกวาในกรณีฐาน GDP ไทยมีโอกาสหดตัวนอยลงอยูที่รอยละ
3.2 แตหากสถานการณโควิด 19 รุนแรงและยืดเยื้อมากกวาคาด
ก็อาจทำใหจำนวนนักทองเที่ยวและภาคสงออกของไทยปรับลดลง
มากกวา เดิม ซึง่ ก็จะสงผลกระทบตอเนื่องไปยังภาคเศรษฐกิจในประเทศ
ทั้งดานการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน จึงมีแนวโนมทำให
เศรษฐกจิ ไทยป 2563 หดตวั ไดม ากถงึ รอ ยละ 7.2 ตามตารางที่ 3

1 เศรษฐกิจถดถอย คือ ภาวะลดลงของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งวัดโดย
ผลิตภัณฑม วลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ณ ราคาท่ี
แทจริง หลังปรับผลของฤดูกาลออกแลว เมื่อเทียบกับไตรมาสกอนหนา
( Percentage change quarter on quarter of seasonally adjusted
series: % QoQ SA) ตดิ ลบตดิ ตอกนั อยางนอ ยสองไตรมาส

๒๒

ตารางที่ 3 คาดการณเ ศรษฐกิจไทยป 2563 ของ SCB EIC
คาดการณเศรษฐกจิ ไทย
2020 หนวย Previous Better Base Worse
-7.2
GDP %YOY -0.3 -3.2 -5.6 10.3
จำนวนนกั ทอ งเทยี่ ว ลา นคน 27.7 17.6 13.1 -74.2
%YOY -30.5 -55.7 -67.0 -17.5
มูลคา การสง ออก %YOY -5.8 -5.8 -12.9 -27.7
มลู คา การนำเขา %YOY -9.3 -13.3 -21.5 -3.9
การบรโิ ภคภาคเอกชน %YOY 1.3 -0.8 -2.3 -12.5
การลงทนุ ภาคเอกชน %YOY -1.3 -5.4 -9.7 2.1
การบริโภคภาครฐั %YOY 2.2 2.6 2.5 4.2
การลงทนุ ภาครัฐ %YOY 4.3 4.7 4.5 -2.0
อัตราเงนิ เฟอ ท่ัวไป %YOY -0.2 0.0 -0.9 33.7
ราคานำ้ มนั ดบิ Brent USD/Brl. 43.1 39.7 36.4 0.25
อตั ราดอกเบยี้ นโยบาย % 0.75 0.50 0.50 2.3
ดุลบัญชีเดนิ สะพัดตอ % 4.5 3.4 2.6
GDP

ที่มา : SCB Economic Intelligence Center (SCB EIC), (April, 2020)

๒๓

2.7 ศูนยวจิ ัยธนาคารกรงุ ศรอี ยธุ ยา (วจิ ัยกรุงศร)ี
ศูนยวิจัยกรุงศรี (Krungsri Research) ไดจัดทำบทวิเคราะห

ทางเศรษฐกิจประจำเดือนเมษายน 2563 “Industry Horizon”
ซึ่งมุงชี้ใหเห็นผลกระทบของการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 หรือ COVID 19 ที่จะสงผลตออุปสงคและอุปทานของโลก
อยางรุนแรง โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมทั่วโลก โดยมีสรุปประเด็น
สำคัญ รวมทั้งสถานการณเศรษฐกิจ และภาวะอุตสาหกรรมของไทย
ที่จะไดรบั ผลกระทบจาก COVID 19 ดงั น้ี

ภายใตมาตรการล็อคดาวน 1 เดือน และสมมติฐานวา
นักทองเที่ยวลดลงรอยละ 30 ประเมินวา GDP ไทยจะลดลงรอยละ
1.8 (เทียบกับกรณีไมมีโควิด) หรือคิดเปนมูลคาประมาณ 3.33
แสนลานบาท

ภายใตมาตรการล็อคดาวน 2 เดือน และสมมติฐานวา
นักทองเท่ียวลดลงรอยละ 60 - 65 ประเมินวา GDP ไทยจะลดลง
รอยละ 5.4 หรือคิดเปนมูลคาประมาณ 1 ลานลานบาท (เทียบกับ
กรณไี มม ีโควิด) โดยเปนผลจากการหดตัวของการทองเที่ยว (รอยละ -2.1)
ตัวทวีคูณของรายได 2 (รอยละ -1.9) หวงโซอุปทานในประเทศ (รอยละ -0.8)
และหว งโซอ ุปทานโลก (รอ ยละ -0.6)

2 ตัวทวีคูณของรายได (Multiplier effect) หมายถึง สัดสวนการเปลี่ยนแปลงของ
GDP ซงึ่ เปน ผลจากการเพมิ่ หรอื ลดการใชจายในระบบเศรษฐกจิ มักถกู ใชอ ธบิ ายผล
ของการใชน โยบายกระตุน เศรษฐกิจ เชน การเพ่ิมกำลงั การผลิตและการจางงาน ทำให
รายไดประชากรเพิ่มขึน้ ซงึ่ กระตนุ การใชจ ายและกิจกรรมทางเศรษฐกจิ อื่น ๆ ใหเ ติบโต
ตอเนื่อง ในกรณีนี้ ผลกระทบจากการแพรระบาดของไวรัสโควิด 19 สงผลใหกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจหยุดชะงกั สงผลกระทบตอ การจา งงาน รายไดของประชากร และ
การใชจา ยของประชากรตามลำดับ

๒๔

ตารางที่ 4 เปรยี บเทยี บผลกระทบของสถานการณโควดิ และมาตรการ
ล็อคดาวนในระยะ 1 และ 2 เดือน

สมมตฐิ าน มาตรการลอ็ คดาวน 1 เดอื น มาตรการลอ็ คดาวน 2 เดือน

นกั ทองเทยี่ วลดลงรอยละ -30 นักทองเทย่ี วลดลงรอ ยละ -60 ถึง -

65

GDP ท้งั ป ลดลงรอ ยละ -1.8 ทัง้ ป ลดลงรอยละ -5.4

เทียบกับไมมโี ควดิ เทยี บกบั ไมม ีโควดิ

ไตรมาส 1 ลดลงรอยละ -2.6 ไตรมาส 1 ลดลงรอ ยละ -2.9

ไตรมาส 2 ลดลงรอยละ -3.5 ไตรมาส 2 ลดลงรอยละ -10.5

ไตรมาส 3 ลดลงรอยละ -1.0 ไตรมาส 3 ลดลงรอ ยละ -6.2

ไตรมาส 4 ลดลงรอยละ -0.03 ไตรมาส 4 ลดลงรอยละ -1.9

ภาคการ ผลผลิตมีแนวโนม ลดลงรอ ยละ -5 ผลผลิตมแี นวโนม ลดลงตง้ั แต

ผลิตและ ถึง -10 โดยคิดเปน สัดสวนรอยละ 6 รอยละ

การบริการ ของ GDP -5 ถึงมากกวา -10 โดยคิดเปน

3 กลุมหลกั ท่ีไดรบั ผลกระทบ คือ สัดสว นมากกวารอ ยละ 55 ของ

1. การขนสง ทางอากาศ GDP

2. โรงแรมและท่พี ัก 3 กลมุ หลักทไ่ี ดร บั ผลกระทบ คอื

3. รา นอาหารและภัตตาคาร 1. การขนสงทางอากาศ

2. โรงแรมและท่ีพกั

3. รา นอาหารและภัตตาคาร

ท้ังนี้ ความตองการสินคาเกษตรจะเพมิ่ ข้ึนในสองกลุม

1. กลมุ ยางและมันสำปะหลังเนื่องจากความตอ งการในการผลิตสนิ คา ที่ใชใ นงาน

สาธารณสุขเชน ถุงมือยางและแอลกอฮอล

2. กลมุ ผกั ผลไมกระปอ ง และอาหารกระปอ ง จากพฤติกรรมบรโิ ภคอาหาร

พรอ มทานที่เพิ่มขน้ึ

ทม่ี า: วจิ ยั กรงุ ศรี (เมษายน, 2563)

๒๕

 เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศตาง ๆ วิจัยกรุงศรี ประเมินวา
เศรษฐกจิ ไทยจะไดรับผลกระทบมากทีส่ ุดจากการล็อคดาวนทั้งแบบ
1 เดอื น และ 2 เดอื น รองลงมาเปน สหภาพยุโรป มาเลเซยี เกาหลใี ต และ
ญ่ีปนุ ตามลำดับ

ตารางท่ี 5 เปรยี บเทยี บผลกระทบของสถานการณโควิดในประเทศตาง ๆ
จากมาตรการล็อคดาวน 1 และ 2 เดือน

ประเทศ มาตรการลอ็ คดาวน 1 เดือน มาตรการล็อคดาวน 2 เดือน
GDP จะลดลง GDP จะลดลง

(เทยี บกบั กรณีไมมโี ควดิ ) (เทยี บกบั กรณีไมม ีโควดิ )

โลก -1.1% -3.2%

ประเทศไทย -1.8% -5.4%

สหภาพยุโรป -1.3% -4.2%

มาเลเซยี -1.3% -3.8%

เกาหลใี ต -1.5% -3.8%

ญป่ี นุ -1.2% -3.7%

ฮอ งกง -1.4% -3.5%

สหรฐั ฯ -0.8% -3.3%

จีน -1.2% -3.3%

สิงคโปร -1.0% -3.2%

อนิ โดนีเซยี -0.9% -3.2%

ลาว -0.9% -3.0%

กัมพชู า -1.2% -2.8%

ฟลิปปนส -1.0% -2.7%

เวยี ดนาม -0.9% -2.1%

ท่มี า: วจิ ัยกรงุ ศรี (เมษายน, 2563)

๒๖

 วิจัยกรุงศรีฯ ชี้วา จะตองใชวงเงินกระตุนระบบเศรษฐกิจ
(Formal Sector) ประมาณ 1.7 ลานลานบาท (ประมาณรอยละ 10
ของ GDP ไทย) ทั้งนี้ ผลกระทบและการฟนตัวของระบบเศรษฐกิจ
ขึ้นกับประสิทธิภาพของนโยบายสาธารณสุข และนโยบายเศรษฐกิจ
โดยมีสถานการณท่ีเปนได (scenarios) ทส่ี ำคญั 3 กรณี ดงั น้ี

นโยบาย นโยบาย สถานการณท ีเ่ ปนไปได
สาธารณสุข เศรษฐกจิ

สามารถควบคุมโรค สามารถบรรเทาผลกระทบ เศรษฐกิจไทยจะฟนตัวแบบ U-Curve : สถานการณโควิดจะ

ไดภายใน 3 - 6 และความเสยี หายได จบลงในไตรมาส ที่ 2 ป 2563 โดยมีมาตรการล็อคดาวน

เดอื น ในระดบั ปานกลาง 2 เดือน และเศรษฐกิจจะคอยๆ ฟนตัวในชวงครึ่งหลัง

ของป 2563

ส า ม า ร ถ บ ร ร เ ท า เศรษฐกิจไทยจะฟนตัวแบบ L-Shape : สถานการณโควิด

ผลกระทบและความ จะจบลงในไตรมาสที่ 2 ป 2563 โดยมีมาตรการล็อคดาวน

เสยี หายไดในระดับตำ่ 2 เดือน แตผลกระทบของโควิดยังคงมีอยูจากความเสียหาย

ที่รุนแรงในภาคเศรษฐกิจจริงและภาคการเงิน และนโยบาย

การเงินไมเพียงพอตอการสนับสนุนเศรษฐกิจ จึงทำให

เศรษฐกิจฟนตัว อยางชา ๆ ในชวงครึ่งหลังของป 2563

ถงึ ครง่ึ ปแ รกของป 2564

หากเกิดระบาดคร้ัง ส า ม า ร ถ บ ร ร เ ท า เศรษฐกิจไทยจะฟนตัวแบบ UL-Shape : สามารถควบคุม

ที่ 2 หลังการผอน ผลกระทบและความ สถานการณได แตมีการระบาดครั้งท่ี 2 หลังการผอนปรน
ปรนการลอ็ คดาวน เสยี หายไดในระดับปาน การล็อคดาวน ซงึ่ จะสง ผลใหอุตสาหกรรมตาง ๆ หดตวั รุนแรง

กลางถึงต่ำ เพิ่มขึ้น 3 เทา (เมื่อเทียบกับผลจากมาตรการล็อคดาวน

1 เดอื น) โดยเฉพาะ โรงแรม ยานยนต (auto dealer) ท้งั น้ี

การฟนตัวของเศรษฐกิจจะใชเวลานานกวาในชวงครึ่งป

แรกของป 2564

๒๗

นอกจากน้ี วิจยั กรุงศรี คาดการณว า จะมกี ลุม อุตสาหกรรม
2 กลุมที่ไดรับผลกระทบอยางมากและอาจมีการหดตัวมากกวา
รอ ยละ 5 ซ่ึงอตุ สาหกรรม 2 กลมุ น้ี ไดร บั ผลกระทบจากจำนวนรายได
ที่หายไป (Demand shock) และมีแนวโนมที่จะใชเวลาในการฟนตัว
นานกวากลุมอุตสาหกรรมที่ไดรับผลกระทบจากการหยุดชะงัก
ในฝงอุปทาน (Supply shock) ในขณะที่อีก 2 กลุมอุตสาหกรรม
จะไดร ับผลกระทบปานกลาง และไมรุนแรง

(i) กลุมที่ 1 อุตสาหกรรมที่ไดรับผลกระทบหนักที่สุด
(Heaviest impact) - ธรุ กิจการบนิ , โรงแรม, รา นอาหาร, บนั เทิง
และสันทนาการ, บริการธุรกิจ (เชน พื้นท่ีคาปลีก), การขนสงทางทะเล,
โรงกลัน่ ปโ ตรเลยี ม, การคา ปลีก, การธนาคาร, รถยนต

(ii) กลุมที่ 2 อุตสาหกรรมที่ไดรับผลกระทบหนัก
แตส ามารถฟน ตวั ไดเร็ว (HEAVY impact with quicker recovery)
- นำ้ มนั และกา ซ, เคร่ืองดมื่ , อปุ กรณอเิ ล็กทรอนิกส, ผลิตภัณฑยาง,
แรอ โลหะ, แรโ ลหะ, แรโ ลหะพน้ื ฐาน

(iii) กลุมที่ 3 อุตสาหกรรมที่ไดรับผลกระทบปานกลาง
(Moderate impact) - การกอสราง, ยาสูบ, สิ่งทอและผลิตภัณฑ,
วทิ ยุและโทรทัศน

(iv) กลุมที่ 4 อุตสาหกรรมที่ไดรับผลกระทบไมรุนแรง
(Mild impact) - โรงพยาบาลเอกชน, ผลิตภัณฑหนัง, กระดาษ
และอุตสาหกรรมกระดาษ, อุตสาหกรรมอาหาร, สิ่งพิมพ, ประกันชีวิต,
คลังสินคา, ปาไม, ไปรษณียและการสื่อสาร, ภาคประมง, ธัญพืช,
การบริหารงานภาครฐั , บรกิ ารสวนตวั

๒๘

จากทั้ง 4 อุตสาหกรรม พบวา อุตสาหกรรมการบิน
ไดรับผลกระทบมากที่สุด โดยในเดือนมีนาคม 2563 จำนวน
เที่ยวบินลดลงถึงรอยละ 77.2 ในขณะที่จำนวนผูโดยสารลดลงถึง
รอยละ 91.7 ธุรกิจโรงแรม ไดรับผลกระทบโดยตรงจาก
ภาคการทองเที่ยว ซึ่งเปนผลจากจำนวนนักทองเที่ยวที่คาดวา
ทั้งปจะหายไปถึงรอยละ 65 นอกจากนี้ ผลกระทบสวนหนึ่งเกิดจาก
การหยุดใหบริการของโรงแรม ทำใหจำนวนผูเขาพักลดลง ธุรกิจ
รานอาหาร โดยเฉพาะรานอาหารที่ใหบริการเต็มรูปแบบไดรับ
ผลกระทบจากการตองหยุด/ปดใหบริการ ในขณะที่ธุรกิจ Food
Delivery มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ธุรกิจรานอาหารก็ไดรับ
ผลกระทบตอเนื่องจากการบริโภคที่ลดลง รวมถึงผลกระทบจาก
ภาคการทอ งเที่ยวที่จำนวนนักทองเท่ียวหายไป อยา งไรกต็ าม ธุรกิจ
รานอาหารจำนวนหนึ่งเริ่มปรับตัวเพื่อความอยูรอด โดยการหันมา
เปดบริการออนไลน เพื่อทดแทนรายไดที่หายไปจากการบริการในราน
ในขณะที่ธุรกิจรานอาหารขนาดเล็กอาจตองปดกิจการ เนื่องจาก
ไมสามารถแบกรับภาระดานคาใชจายได (ลาสุดมีการปรับ
ประมาณการเมื่อเดือนกรกฎาคม 2563 เศรษฐกิจไทยจะหดตัว
รอยละ 10.5 จากเดมิ หดตวั รอยละ 5.4)

ทั้งนี้ จากการประมาณการของหนวยงานวิชาการ
ทั้งในประเทศ และตางประเทศที่กลาวมาตางชี้ไปในทิศทาง
เดียวกันวา เศรษฐกิจไทยจะหดตัวอยางมาก ดังตารางที่ 6
โดยเฉพาะในภาคบริการจากอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของไทย
ที่มคี วามเก่ียวเน่อื งกบั ธรุ กิจบริการในหลาย sector ไดแ ก อุตสาหกรรม
การบิน ธุรกิจโรงแรมที่พัก ภัตตาคาร คาปลีก และรานอาหาร
รวมทงั้ อตุ สาหกรรมตน น้ำที่เปน supply chain ในภาคการทอ งเท่ียว

๒๙

ไดแก การไฟฟา สถาบันการเงิน การบริการดานธุรกิจการผลิต
อาหารสดและเครือ่ งดื่ม ธุรกิจกลัน่ น้ำมนั ปโตรเลียม และธุรกิจซอมแซม
ยานพาหนะ

ตารางที่ 6 สรุปประมาณการการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทย
ป 2563
สถาบัน ประมาณการ GDP (Post-
COVID 19)

IMF (ปรบั ประมาณการเดือน ม.ิ ย. 63) -7.7%

World Bank -5.0%
ธนาคารแหงประเทศไทย -8.1%
(ปรบั ประมาณการเดือน ม.ิ ย.63)
-2.8%
สำนกั งานเศรษฐกจิ การคลงั -5% - -6%
สำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ
และสังคมแหงชาติ -5.6%
-10.5%
SCB EIC (ธนาคารไทยพาณชิ ย)
ศนู ยวจิ ัยกรงุ ศรี
(ปรบั ประมาณการเดอื น ก.ค. 63)

ทีม่ า: รวบรวมโดยคณะทำงานฯ

๓๐

นอกจากนี้ สถานการณเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค พบวา
ภาคตะวันออก เปนภูมิภาคท่ีไดรับผลกระทบจากวิกฤตโควิด 19
คอนขางมาก เนื่องจากโครงสรางทางเศรษฐกิจของภาคตะวันออก
มีสัดสวนของภาคอุตสาหกรรมสูงถึงรอยละ 65.7 ของ GDP
โดยมีการชะลอตัวของเครื่องชี้วัดเศรษฐกิจทุกตัว ในขณะท่ีชุมชน
และทอ งถิ่นในพ้ืนที่ตางจังหวัดและชนบทก็ไดรับผลกระทบโดยตรง
จากความตองการบริโภคที่ลดลงในกลุมภาคบริการ และการทองเที่ยว
รวมถึงปจจัยสำคัญจากภัยแลง เนื่องจากสังคมในชนบทเปนสังคม
เกษตรกรรมที่ตองพึ่งพาฐานทรัพยากรและการเกษตรกับแรงงาน
ในภาคบริการทองเที่ยว ซึ่งทั้งสังคมเมืองและสังคมชนบทของไทย
ตางยดึ โยงอยูก ับภาคเกษตรและการทองเที่ยว

ในขณะที่ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ประเมินวา ผลกระทบโควิด 19 ทำใหไตรมาสแรกของ
ป 2563 แรงงานมีความเส่ียงถูกเลิกจางท้ังสิ้น 8.4 ลา นคน แบงเปน
แรงงาน 3 กลมุ ประกอบดวย

(1) แรงงานในภาคการทองเที่ยว ซึ่งมีประมาณ 3.9
ลานคน (ไมรวมสาขาการคาสง และการคาปลีก) จะไดรับผลกระทบ
จากการลดลงของนักทองเที่ยวตางชาติ และการทองเท่ียวในประเทศ
ประมาณ 2.5 ลานคน

(2) แรงงานในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งจะไดรับผลกระทบ
จากตั้งแตกอน COVID 19 จากสงครามการคา และตอเนื่องมาจนถึง
การแพรระบาดของ COVID 19 จากการลดลงของอุปสงคทั้งใน
และตางประเทศ อยางไรก็ตาม บางอุตสาหกรรมที่ผลิตสินคาขาย
ในประเทศยังขยายตัวได เชน อุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม
หรอื ของใชท่จี ำเปน รวมท้งั อตุ สาหกรรมการผลติ สินคาอเิ ล็กทรอนิกส

๓๑

ทำใหแรงงานในภาคอุตสาหกรรมจากทั้งหมด 5.9 ลานคน คาดวา
มผี ไู ดรับผลกระทบ 1.5 ลา นคน

(3) การจางงานในภาคบริการอื่นที่ไมใชการทองเที่ยว
ในกลุมนี้จะไดรับผลกระทบจากมาตรการควบคุมการแพรระบาด
ของภาครัฐจากการปดสถานที่ เชน สถานศึกษา หรือสถานที่มี
การรวมกลุมของคนจำนวนมาก เชน ตลาดสด สนามกฬี า หา งสรรพสินคา
ซึ่งกลุมนี้มีการจางงานจำนวน 10.3 ลานคน คาดวาจะไดรับ
ผลกระทบประมาณ 4.4 ลา นคน

สอดคลองกับรายงานของธนาคารแหงประเทศไทย
ที่รายงานวา เดือนเมษายนมีจำนวนผูขอรับสิทธิวางงานเพิ่มขึ้น
อยางกาวกระโดด เมื่อเทียบกับเดือนมีนาคม จาก 92,264 คน
เปน 465,218 คน โดยรอยละ 16 ถกู เลิกจาง ขณะท่สี ถานประกอบการ
ปดกิจการเพ่ิมขึ้นจากเดือนมีนาคม 445 ราย เปน 2,406 ราย
ในเดือนเมษายน

๓๒

บทท่ี 3
แนวโนม ชีวติ วิถใี หม (New Normal)

ทจี่ ะเกิดข้ึนหลงั โควดิ 19

3.1 สถานการณทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทยกอนโควดิ 19
New Normal หรอื ความปกตใิ นรปู แบบใหมในยุคโควดิ 19

ถกู นำมาใชในความหมายวา สิง่ ท่ีไมเคยเกิดขนึ้ มากอน ซ่งึ จะเกิดข้ึน
และกลายเปนความปกติในรูปแบบใหมหลังจากไวรัสโควิด 19
หมดไป ซึ่งเดิม New Normal ถูกนำมาใชอธิบายสถานการณ
ทางเศรษฐกิจของแตละประเทศที่มีการเติบโตไปจนถึงระยะหน่ึง
แตไมสามารถเติบโตตอไปไดดังเดิม ดังท่ีเคยมีการวิเคราะห
สถานการณเศรษฐกิจในประเทศไทยกอนหนานี้ ท่ีระบุวาเศรษฐกิจไทย
ไมสามารถกลับไปเติบโตไดเหมือนเดิม (Thailand’s New Normal)
หมายถึง ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ หรือ GDP จากที่เคยเติบโตได
เกินรอยละ 5 ก็จะเติบโตไดไมเกินรอยละ 3 โดยมีปจจัยสำคัญท่ีเปน
อุปสรรคตอการเติบโตของเศรษฐกิจไทย คือ การเขาสูสังคมสูงวัย
อตั ราคาจา งทีส่ ูงกวา อัตราผลิตภาพการผลิต การขยายตวั ของการสง ออก
ลดลง ภาวะหนี้ครัวเรือนที่สูง (หนี้ครัวเรือนตอ GDP ณ ไตรมาส 4
ของป 2562 อยูที่รอยละ 79.8 และเพิ่มขึ้นแตะระดับรอยละ
80.1 ในไตรมาส 1 ของป 2563) และมลภาวะเพิ่มมากขึ้น
(PM2.5) ตามภาพท่ี 3 - 5

๓๓

ภาพที่ 3 แสดงอัตราการขยายตวั ของเศรษฐกจิ ไทย (Real GDP)
ในระยะ 20 ปทผี่ า นมา (2543-2562)

4.5 3.4 6.1 7.2 6.3 4.2 5 7.5 7.2 3.1 3.4 4.1 4.2 2.4
5.4

1.7 0.8 2.7 1
-0.7

2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562

ท่มี า: IMF

๓๔

ภาพที่ 4 แสดงมูลคา และอัตราการขยายตัวของการสง ออกไทย
ในระยะ 20 ปท่ีผานมา (2543 - 2562)

300,000.00 17.4240.5164.9166.9138.6115.54 26.81 0.59.866.9 40
200,000.00 19.09 15.15 20
4.56 2.92
100,000.00 0
-0.2-60.4-55.78
0.00 -6.37 -14.26 -2.65
-20
2543 2545 2547 2549 2551 2553 2555 2557 2559 2561

อัตราการขยายตัว (%)

ท่มี า: ศนู ยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สำนักงาน
ปลดั กระทรวงพาณชิ ย

๓๕

ภาพที่ 5 แสดงระดับหน้ีครวั เรือนตอ GDP
ไตรมาสท่ี 4 ของป 2562

ทีม่ า: สำนักงานเศรษฐกจิ การคลงั

๓๖

ประเดน็ สำคญั ท่ีอาจตอ งมีพิจารณาเพิ่มเติม คือ การสงออก
ของไทยในระยะที่ผานมา สามารถกระจายรายได และความมั่งค่ัง
ใหกับคนในประเทศมากนอยเพียงไร เพราะเมอ่ื พิจารณากลุมสินคา
สง ออก พบวา มูลคา จะกระจกุ ตัวอยูในบาง sector เทานั้น

ดังนั้น วิกฤตเศรษฐกิจโควิด 19 ที่เกิดขึ้นในชวงท่ี
เศรษฐกิจไทยเติบโตต่ำมาหลายป ประกอบกับภาคการสงออก
ของไทยที่เผชิญกับปญหาสงครามการคาระหวางจีนและ
สหรัฐอเมริกา ซึ่งทำใหใหไทยไดรับผลกระทบโดยตรงจากการเปน
ขอตอสวนหนึ่งของหวงโซอุปทานของจีน อีกทั้งเศรษฐกิจไทย
ยังตองพึ่งพิงการคาระหวางประเทศในสัดสวนสูงถึงรอยละ 70
ตลอดจนการท่ีนานาประเทศ พยายามยกระดับและสรางความไดเปรียบ
ในการแขงขันใหกับประเทศผานกรอบความตกลงการคาเสรี
ในกรอบเจรจาตาง ๆ จึงยิ่งกลายเปนตัวเรงสำคัญที่ทำใหประเทศไทย
ตองพิจารณาปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจไทย โดยเฉพาะในดาน
การผลิตและดานการคา เพื่อเรงสรางขีดความสามารถในการแขงขัน
ใหไทยใหสามารถเติบโตตอไปไดในระยะยาว
3.2 ชวี ิตวิถีใหม (New Normal) หลงั โควิด 19

คำวา New Normal ในสถานการณหลังวิกฤตโควิด 19
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของวิถีการดำรงชีวิตและการดำเนิน
รูปแบบทางธุรกิจที่ผูประกอบการจะตองมีการปรับแนวทาง
การดำเนินธุรกิจใหม (New Business Norms) ทามกลางสภาพแวดลอม
ท่ีเปล่ียนไป และมีแนวโนม จะเกดิ ขนึ้ ท่ัวโลก และจะกลายเปนการดำเนนิ
ชีวิตวิถีใหม (New normal) ที่ผูคนในสังคมจะตองปรับตัวให
สามารถดำเนินชีวิตไดตอไปรวมกับโควิด 19 ที่คาดวาจะยังคงอยู

๓๗

ตอไปอีก 1 - 2 ป จนกวาจะมีการคนพบวัคซีนเพื่อหยุดยั้งโรคได
ซงึ่ เปน ผลมาจากการดำเนินมาตรการ Social Distancing และเปน
มาตรการที่จะยังมีการใชดำเนินการทั่วโลกตอไปอีกชวงระยะเวลาหน่ึง
เพอ่ื หยุดยง้ั การแพรระบาดของโควิด 19

อยางไรก็ตาม New Normal ในดานการพาณิชยและ
การอุตสาหกรรม ซึ่งเกี่ยวของกับภาคการผลิต (ตนน้ำ) และภาคการคา
(ปลายน้ำ) ซึ่งเกิดจากผลกระทบโควิด 19 จะปรากฏชัดขึ้นหลังจากน้ี
โดยคณะทำงานฯ ไดสรุปแนวโนมที่จะเกิดขึ้นหลังวิกฤตโควิด 19
หรอื New Normal สำคญั ท่ีจะเกดิ ข้ึน และจะสงผลโดยตรงตอภาค
การพาณิชยและการอตุ สาหกรรมของประเทศไทย จากบทวเิ คราะหของ
หนว ยงานวชิ าการตา ง ๆ (รายละเอียดในภาคผนวก) ดังนี้

1) การยายฐานการผลิต หรือการดึงการผลิตกลับ
ไปยังประเทศตนเอง เพื่อลดความเสี่ยงดาน Supply Chain และ
สรา งงานใหคนในชาติ

2) การดำเนินนโยบายปกปองการคา ขยายไปทั่วโลก
อาจนำไปสูการทวนกระแส/ตอตานโลกาภวิ ตั น (Deglobalization)

3) การหันมาพึ่งพิงตลาดภายในประเทศมากขึ้น เพื่อ
ลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงตลาดภายนอก และเหตุการณฉุกเฉิน
หรอื สถานการณวกิ ฤตท่ีจะกระทบตอ เศรษฐกิจของประเทศ

4) การพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน ทั้งการเสริมทักษะใหม
(Up-skill) และการเพมิ่ ทกั ษะทจ่ี ำเปน (Re-skill)

5) การดำเนินธุรกิจในรูปแบบใหม ซึ่งตองการความยืดหยุน
(Resilience) และมีประสิทธิภาพ โดยเนนการใชประโยชนจาก
เทคโนโลยีและดิจิทลั มากขน้ึ

๓๘

6) การเขาสูระบบเศรษฐกิจแบบไรการติดตอ การคา
แบบดิจิทัล (Digital Commerce), การแพทยทางไกล (Telemedicine)
และระบบอตั โนมตั ิ (Automation)

7) การติดตอสื่อสารระหวางผูคน ใชรูปแบบการสื่อสาร
ทางออนไลนมากขึ้น เชน Zoom, Skype, หรือ FaceTime และ
สงผลตอรูปแบบการจัดกิจกรรมตาง ๆ ในลักษณะการรวมตัวของ
คนจำนวนมากเปนรูปแบบ Virtual Online และ Virtual ซึ่งเปน
รูปแบบการเขารวมงานในลักษณะเสมือนจริงผา นการ Livestream
ในเว็บไซต
3.3 แนวโนมการเปลยี่ นแปลงดา นการพาณิชยแ ละการอตุ สาหกรรม

หลังโควิด 19
องคการการคา โลก หรือ WTO (World Trade Organization)

คาดวา ป 2563 ปริมาณการคาโลกจะลดลงจากป 2562
และจะกลับมาฟนตัวในป 2564 โดยมีสมมติฐานที่อาจเปนไปได
2 กรณี คือ

กรณีแรก ปริมาณการคาโลกจะลดลงรอยละ 13
และจะฟน ตวั รอ ยละ 21

กรณีที่สอง ปริมาณการคาโลกจะลดลงรอยละ 32
หรือมากกวา และจะกลับมาฟน ตัวรอ ยละ 24

โดยในชวงที่ผานมา ประเทศตาง ๆ ไดมีการใชมาตรการหา ม
หรือจำกดั การสงออก เพอื่ ปอ งกนั และบรรเทาผลกระทบจากโควดิ 19
โดยแบงเปนสมาชิก WTO 46 ประเทศ (72 ประเทศ หากนับ
สหภาพยุโรปแยกรายประเทศ) และประเทศที่ไมใชสมาชิก WTO
อีก 8 ประเทศ โดยมีสินคา ท่ีถูกหา มและจำกัดการสงออกมากท่ีสดุ

๓๙

ไดแก อุปกรณปองกันใบหนาและดวงตา เชน หนากากอนามัย
และกระจังปองกันใบหนา เปนตน รองลงมา ไดแก ชุดปองกัน
การติดเชื้อ ถุงมือ ผลิตภัณฑทำความสะอาดและสารฆาเชื้อ ยา
อาหาร เครื่องมือแพทย เวชภัณฑ อุปกรณตรวจเชื้อ สบู
และกระดาษชำระ ตามลำดบั

ทั้งนี้ โควิด 19 ชี้ใหเห็นถึงความเปราะบางของระบบ
เศรษฐกิจที่พึ่งพาซึ่งกันและกัน (Interdependence in Global
Value Chains (GVCs)) โดยแมว า ความเชอื่ มโยงของหวงโซอ ปุ ทาน
โลกและอุตสาหกรรมตามขัน้ ตอนการผลิต (Stage of Processing)
ชวยเพิ่มความสามารถทางการแขงขันและประสิทธิภาพดานตนทุน
และผลักดันใหเศรษฐกิจโลกขยายตัวอยา งรวดเรว็ ในชวงหลายทศวรรษ
ที่ผานมา แตการแพรระบาดครั้งนี้ชี้ใหเห็นวา การพึ่งพาหวงโซ
อปุ ทานจีนมากเกนิ ไป กำลังกลายเปน จุดออ นและสง ผานความเส่ียง
ตอระบบเศรษฐกิจโลก เนื่องจากมาตรการจำกัดการคมนาคม ปดเมือง
ปดประเทศของประเทศหนึ่งจะสงผลตอการผลิตของประเทศอื่น ๆ
ตอเนื่องเปนหวงโซ อาทิ มาตรการปดเมืองและหยุดการผลิตของจีน
ซึ่งเปนศูนยกลางการผลิตอุตสาหกรรมหลายประเภท เชน เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร การแพทย เครื่องใชไฟฟา ทำให
นานาประเทศไมสามารถนำเขาสินคาวัตถุดิบ หรือสินคาข้ันกลาง
ที่จำเปนในการผลิตขั้นตอไป อาทิ ชิ้นสวนโทรศัพท ยา และ
อุปกรณทางการแพทย โดยประเทศที่ไดรับผลกระทบมากที่สุด
ไดแก สหรัฐฯ และยุโรป โดยเฉพาะเยอรมนที ี่พ่ึงพาการผลิตจากจีน
เปนหลักและกำลังเผชิญปญหาขาดแคลนหนากากอนามัย
และอุปกรณชวยหายใจอยูในขณะนี้ (จีนเปนผูผลิตและผูสงออก
รายใหญของอตุ สาหกรรมอุปกรณทางการแพทยมสี ดั สว นการตลาด


Click to View FlipBook Version