The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tuahuay, 2022-12-03 19:44:41

รายงานพิจารณาศึกษา ข้อเสนอทิศทางประทศไทยหลังวิกฤตโควิด ๑๙ ในด้านการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม

สำนักกรรมาธิการ๑

๔๐

ถึงรอยละ 70 ในตลาดโลก) มาตรการปดเมืองและหยุดการผลิต
ของอิตาลี ซึ่งเปนผูผลิตชิ้นสวนไฟฟาขนาดเล็กที่ใชในรถยนต
สงผลกระทบตอเนื่องไปยังผูประกอบการและแรงงานในอุตสาหกรรม
ที่เก่ยี วขอ ง

ดังนั้น หลังวิกฤตโควิด 19 คาดวาจะเกิดการเปลี่ยนแปลง
ในดานการพาณิชยและการอุตสาหกรรม ดงั น้ี

3.3.1 การยายฐานการผลิตของหวงโซการผลิตของโลก
(Relocation of Global Supply Chain)

การระบาดของโควิด 19 สงผลตอภาคการผลิต
และหวงโซการผลิตของโลกเปนอยางมาก และหลังโควิด 19
หลายประเทศทว่ั โลกเรม่ิ มีแนวคิดทจ่ี ะลดการพึ่งพาจนี โดยจะยา ยฐาน
การผลิตในประเทศจีนกลับมายังประเทศของตน เนื่องจากในชวง
การล็อคดาวน ทำใหจีนไมสามารถสงสินคาชิ้นสวนและวัตถุดิบ
ไปยังประเทศคูคา ได

สำหรับประเทศไทย ก็ไดรับผลกระทบจากโลก
และเศรษฐกิจจากหลายประเทศคคู า สำคญั เชน จนี ญ่ีปนุ สหภาพยโุ รป
ที่ชะลอตัว เนื่องจากมาตรการควบคุมการแพรระบาดที่เขมงวด
เชน การจำกัดพื้นที่ การลดการเคลื่อนยายคนและสินคา การเพิ่ม
กระบวนการตรวจและฆาเชื้อในประเทศคูคา ที่สงผลใหกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจบางสวนหยุดชะงัก รวมทั้งสงผลใหการขนสง
และโลจิสติกสลาชา ประกอบกับราคาน้ำมันที่ลดลงตามอุปสงค
น้ำมันดิบในชวงการแพรระบาดของโควิด 19 ซึ่งเปนปจจัยกดดัน
มูลคาสงออกสินคาที่เกี่ยวเนื่องกับราคาน้ำมันลดลง ไดแก
เม็ดพลาสตกิ เคมีภัณฑ และน้ำมนั สำเรจ็ รปู (มีสดั สว นเกอื บรอยละ 10
ของการสง ออกไทย)

๔๑

นอกจากนี้ การหยุดชะงักหรือขาดชวงของหวงโซ
อุปทาน (Supply Chain Disruption) ในหลายประเทศ ทำให
การสงออกไทยซึ่งพึ่งพาวัตถุดิบและสินคาขั้นกลางจากประเทศอื่น ๆ
(Backward Linkage in GVCs) ไดรับผลกระทบ เนื่องจากขาดแคลน
วัตถุดิบจากตางประเทศ โดยสาขาการสงออกของไทยที่ใชวัตถุดิบ
จากตางประเทศสูง ไดแก คอมพิวเตอร อิเล็กทรอนิกส เครื่องใชไฟฟา
เครื่องจักรเครื่องมือการผลิตรถยนตและชิ้นสวน และเคมีภัณฑ
และมีแหลงนำเขาสินคาวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูปที่สำคัญของไทย
3 อนั ดบั แรก ไดแ ก จนี (รอ ยละ 18) ญีป่ นุ (รอยละ 15) และไตหวัน
(รอ ยละ 7)

โดยท่ีจีนมีบทบาทสำคัญในฐานะของผูผลิตสินคา
วัตถุดิบขั้นกลางในอุตสาหกรรมตาง ๆ ของหวงโซมูลคาโลก
(Global Value Chain: GVC) โดยไทยเชื่อมโยงกับจีนในหวงโซ
อุปทานทั้ง 3 ระดับ คือ การสงออกสินคาและบริการขั้นสุดทาย
สินคาวัตถุดิบขั้นกลางเพื่อใชในการผลิตสินคาอุปโภคบริโภค
และสินคาวัตถุดิบขั้นกลาง เพื่อใชผลิตสินคาเพื่อการสงออก
ทั้งนี้ ญี่ปุน เปนประเทศตัวกลางเชื่อมโยงระหวางไทยและจีน
ทั้งในหวงโซมูลคาการผลิตสินคาอุปโภคบริโภคในประเทศ
(Simple GVCs) และการผลิตสินคาเพื่อสงออก (Complex GVCs)
โดยหลังจากการระบาดยุติ จะเกิด New Normal ทางเศรษฐกิจ
โดยภาคการลงทุน การผลิตและหวงโซการผลิตโลกจะเปลี่ยนไป
ซึ่งการปรับเปลี่ยนนี้เริ่มมาตั้งแตสงครามการคาที่ฐานการผลิตโลก
กระจุกทจ่ี นี เกอื บทงั้ หมด เมอ่ื จนี ถกู กำแพงการคาจงึ กระทบผูซ้ือทั่วโลก
ทำใหเกิดการขยายฐานการผลิตไปประเทศอื่น ลดการพ่ึงพาสินคา
ที่ผลิตจากจีนแบบคอ ยเปนคอยไป แตชวงวกิ ฤตโควิด 19 ทำใหทั่วโลก

๔๒

ไดรับผลกระทบรุนแรง สินคาชิ้นสวนและวัตถุดิบจากจีนสงออก
ลดลงกระทบภาคการผลติ โลก

ดังนั้น ทั่วโลกเริม่ ตระหนักวา ไมสามารถใหการผลติ
ท้ังหมดกระจุกทีจ่ ีนได อีกท้งั การพึ่งพาฐานการผลิตนอกบา น ทำให
การผลิตในประเทศไมสามารถเดินตอได ทำใหเสยี โอกาสทางการคา
ตองปรับขยายฐานการผลิตไปประเทศอื่น ซงึ่ ไทยจะไดรับประโยชน
สว นน้เี พราะเปน แหลงลงทุนสำคญั ของภูมิภาค ซง่ึ แนวโนมดังกลาว
เปนการทวนกระแสโลกาภิวัตน (deglobalization) และจะมี
ความเขมขนมากขึ้น ทำใหหวงโซอ ุปทานโลกเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว
ประเทศตาง ๆ จะหันมาพึ่งพาหวงโซอุปทานในประเทศตนเอง
เพิ่มขึ้น และกระจายความเสี่ยงดานการผลิตและการขายสินคา
โดยไมพึ่งพาประเทศใดประเทศหนึ่งเทานั้น ดังนั้น ไทยควรปรับ
หวงโซอุปทานการผลิตใหยืดหยุนมากขึ้น (Resilient Supply
Chain)

3.3.2 การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบทางการคา
และการลงทุนระหวา งประเทศ
กระแสตอตา นโลกาภวิ ตั น อาทิ นโยบายปดประเทศ

การปกปองทางการคา แนวคิดชาตินิยมขวาจัด ชาตินิยมทางเศรษฐกจิ
เริ่มขึ้นตั้งแตกอนเกิดวิกฤตไวรัสโควิด 1923 ชี้จุดออนและความเสี่ยง
ในระบบเศรษฐกิจโลกภายใตกระแสโลกาภิวัตน และทำใหกลุม
ตอตานโลกาภิวัตนสรางความชอบธรรมดวยการเนนย้ำความเชื่อวา

3 นโยบายการปกปองทางการคาของสหรัฐฯ ที่ประกาศสงครามการคากับจีน ยุโรป และ
ประเทศคูคาอื่นๆ เพื่อใหประเทศเหลานี้นำเขาสินคาของตนมากขึ้น ในขณะที่สงเสริม
ใหธุรกิจสหรัฐกลับมาผลิตในประเทศมากขึ้น การออกจากสหภาพยุโรปของสหราช
อาณาจักร (Brexit) การพิพาททางการคาระหวางญี่ปุนและเกาหลีใตจากกรณีความ
ขัดแยง สมยั สงครามโลก

๔๓

พรมแดนยังเปนสิ่งจำเปน และเรียกรองการปกปองทางการคามากข้ึน
(The turn of protectionism and Deglobalization)

นอกจากนี้ ผูเชี่ยวชาญดานการคาแสดงความกังวลวา
ประเทศตาง ๆ อาจขยายการปกปองทางการคาเพื่อความมั่นคง
ทางอาหาร (Food Security) และจำกัดความเสียหายทางเศรษฐกิจ
จากสถานการณโควิด 19 อาทิ การปกปองอุตสาหกรรมสำคัญ
ของประเทศ (Favored Industries) โดยพบวา รัฐบาลตาง ๆ
ออกมาตรการจำกัดการสงออกสินคาอาหารรวม 85 มาตรการ
เนื่องจากราคาในตลาดโลกสูงขึ้นอยา งมาก รวมถึงมาตรการจำกดั
การเดินทาง การเพิ่มเงื่อนไขการขอวีซา ยังเปนอีกตัวอยางของกระแส
ปกปองทางการคาและชาตินิยม โดยประเทศตาง ๆ อาจทบทวน
นโยบายเศรษฐกิจของตนเอง โดยกระจายความเสี่ยง ไมพึ่งพารายได
ทางใดทางหนึ่งจนเกินไป อาทิ ลดพึ่งพาการสงออกหรือทองเที่ยว
เปน หลักและเพ่มิ การบรโิ ภคและการลงทุนในประเทศ

3.3.3 การเปลยี่ นแปลงรปู แบบทางการคา
ชวงโควิด 19 พฤติกรรมของผูบริโภคเริ่ม

เปลี่ยนแปลง มีการใช Digital Commerce และ Digital Platform
อยางแพรหลาย เกิดสังคมไรเงินสด โดยมีการหันมาใชระบบ
e-Payment เพิ่มขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงการสัมผัสเงินที่เปนแหลง
สะสมของเชื้อโรค รวมทั้งการใชระบบ AI เพื่อทดแทนจำนวน
แรงงานทข่ี าดไปและทดแทนแรงงานท่ีขาดทักษะ จงึ มี Disruptive
Technology ที่พัฒนาขึ้นอยางรวดเร็ว ดังนั้น อุตสาหกรรมที่อยูรอด
นาจะเปน Task devided ที่สามารถแยกสวนการผลิตกระจายกันไป
ตามที่ตาง ๆ ทั่วทุกมุมโลกโดยใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือ เชน
งานวิจัย งานออกแบบ สถาปตยกรรม หรือการผลิตภาพยนตร

๔๔

โดยจะขึ้นอยูกับความสามารถของทรัพยากรบุคคลนั้นๆ แตทั้งนี้
ธุรกิจแบบดั้งเดิมก็จะยังคงอยู ซึ่งเปนธุรกิจที่เชื่อมโยงกับแหลง
วัตถุดิบหลัก การแพทย การเกษตร และการทองเที่ยว เปนตน
ซึ่งแสดงใหเห็นวา ความตองการสินคาและบริการดิจิทัลจะมีมากข้ึน
ภายหลังวิกฤติโควิด 19 ดังนั้น ผูประกอบการไทยจะตองมุงสู
เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม เพื่อสรางมูลคาเพิ่มของสินคา
และบริการของไทย เพ่ือที่เศรษฐกิจไทยจะฟน ตวั กลับมาไดโ ดยเร็วท่สี ุด

ทั้งนี้ ไทยมีความพรอมทางดานกฎระเบียบ
ทางดา นดจิ ทิ ัลอยใู นเกณฑทดี่ ี ใกลเ คียงกับประเทศอืน่ ๆ ในภูมิภาค
ท้ังกฎหมายคุมครองขอมูลสว นบุคคลและความเปนสว นตัว ตลอดจน
ความปลอดภัยของระบบออนไลน แตยังมีความจำเปนตองติดตาม
แนวโนมการเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับปรุงกฎและระเบียบตาง ๆ
ใหทันตอบริบททางการคาและเทคโนโลยที ่ีเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว
โดยเฉพาะประเด็นทางดานกฎระเบียบที่ไทยตองเพิ่มความเขมแข็ง
ไดแก 1) นโยบายการแขงขันทางการคา 2) การถายโอนขอมูล
ระหวา งประเทศ และ 3) การจัดเกบ็ ภาษีตอ บรกิ ารดิจิทลั

นอกจากนี้ รูปแบบการคาระหวางประเทศ
ในอนาคตก็จะเปลี่ยนแปลงไปอยา งมาก ผลจากการเคลื่อนยา ยฐาน
การผลิตของหวงโซการผลิตโลก ทำใหประเทศตาง ๆ ตองให
ความสำคัญกับการสรางและรักษาพันธมิตรตลอดหวงโซอุปทาน
(supply chain) เพื่อเพิ่มแนวรวมในการแกไขปญหา ตลอดจน
คำนึงถึงปจจัยอื่น ๆ ที่จะมีผลตอพฤติกรรมของตลาดและผูบริโภค
ในอนาคต เชน ความปลอดภยั สุขภาพอนามยั และสงิ่ แวดลอม เปนตน

๔๕

3.3.4 การปรับเปลี่ยนบทบาทการเปนผูนำของจีน
และกำเนดิ ระเบยี บโลกใหม (New World Order)

โควิด 19 จะเปนตัวเรงใหเกิดการปรับเปลี่ยน
โครงสรางอำนาจโลก โดยมีจีนเปนศูนยกลางมากขึ้น (China-
Centric Globalization) โดยการแพรระบาดอยางรุนแรงในสหรัฐฯ
และยุโรป กำลังจะทำใหอำนาจของสหรัฐฯ และตะวันตก ตกต่ำลง
ขณะที่จีนสามารถหยุดยั้งการระบาดไดกอน ดวยความสำเร็จ
ในการจัดการวิกฤตภายในประเทศของจีน รวมถึงการใหความชวยเหลอื
ประเทศตาง ๆ โดยเปนประเทศแรกทีใ่ หค วามชวยเหลือทางการแพทย
แกอิตาลีและเซอรเบีย ขณะที่ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปอื่น ๆ
เพิกเฉย ทั้งนี้ จีนกำลังใชโอกาสนี้สรางความชอบธรรมและบทบาท
ความเปน ผูนำของรฐั บาลจนี ตอ ประชาคมโลก พรอมการประชาสัมพันธ
บทบาทในเวทีโลกของตนเองอยางแพรหลาย เพื่อโฆษณา
ความสำเร็จในการจัดการปญหาโควิด 19 ทำใหสหรัฐฯ สูญเสีย
บทบาทในการเปนผนู ำโลกในประเด็นน้ี อยา งไรก็ดี สหรัฐฯ และจีน
จะยังคงเปนผูเลนสำคัญในเวทีโลกและมีอิทธิพลตอภูมิภาคตาง ๆ
เชนเดียวกับ ญี่ปุน เกาหลีใต ออสเตรเลีย และอินเดีย ที่จะยังมี
บทบาทในฐานะประเทศอำนาจในระดับกลาง (Middle Power) ทั้งนี้
ประเทศพันธมิตรเดิมของสหรัฐฯ เชน ญี่ปุน เริ่มถอยหางและดำเนิน
นโยบายทเ่ี อ้อื ประโยชนของตนเองมากขึน้

นอกจากนี้ ธนาคารกลางจีน (People’s Bank of
China: PBOC) ไดเรม่ิ ทดลองใชเ งินหยวนดิจิทลั Digital Currency
Electronic Payment (DCEP) ที่พัฒนาขึ้นเองและนับเปนประเทศแรก
ที่ใชเงินสกุลดิจิทัลในระบบการเงินจริง ซึ่งจะมาแทนที่การใชเงิน
ในรูปแบบเงินสดหรือรูปแบบธนบัตร โดยจุดประสงคที่สรางเงินหยวน

๔๖

ดิจิทัลนั้น เพราะรัฐบาลจีนตองการแกปญหาความลาชาของระบบ
การใชจายเงินในปจจุบัน เพื่อใหมีความคลองแคลวรวดเร็วมากยิ่งข้ึน
โดยรูปแบบเงินดิจิทัลนี้จะไมเหมือนกับการใชบัตรเครดิตหรือ
การชำระเงินออนไลนที่แพรหลายในปจจุบัน โดยการคิดคน
และนำมาใชของหยวนดิจิทัลนั้นไดรับความรวมมือจากบริษัท
เทคโนโลยีรายใหญหลายราย เชน Tencent, Huawei และ China
Merchants Bank โดยเงนิ หยวนดจิ ิทัลนัน้ จะอยูภายใตความรับผิดชอบ
ของรัฐเหมือนกับเงินในรูปแบบธนบัตร และเงินหยวนดิจิทัลนี้
จะถูกเชื่อมโยงกับแพลตฟอรมบริการชำระเงินหลาย ๆ ราย เชน
AliPay, WeChat Pay และแพลตฟอรมอื่น ๆ อกี มากมายในอนาคต

โครงการนำรองเงินหยวนดิจิทัลไดเริ่มทดลอง
ครั้งแรกใน 4 เมือง คือ เสิ่นเจิ้น ซูโจว เฉิงตู รวมทั้งสงอันเขตเมืองใหม
และพื้นที่สำหรับการจัดแขงขันกีฬาโอลิมปกฤดูหนาวที่ปกกิ่ง
ป 2022 โดยสวนหนึ่งนำไปใชเปนเงินเดือนและคาจางของ
หนวยงานรัฐที่เริ่มตนเมษายนที่ผานมา ทั้งนี้ การพัฒนาเงินหยวน
ดิจิทัลเปน 1 ใน 3 ของผลกระทบของการคาและการลงทุน
โดยสกุลเงินหยวนดิจิทัลถอื เปนการดำเนินการของจีนที่มีเปาหมาย
เพื่อตอบโตการใชเงินดอลลารเปนอาวุธ และเพื่อใหนักลงทุน
และธุรกิจมีทางเลือก รวมทั้งเปนการพัฒนากาวตอไปของระบบ
การชำระเงินในการคาที่ใชเงินหยวนเปนทางเลือกในการชำระเงิน
แทนเงินดอลลาร โดยการดำเนินการที่สำคัญ คือ การพัฒนา
และปรับใชสกุลเงินดิจิทัลภายในจีนอยางรวดเร็ว และจากนั้น
ตามดวยการยอมรบั ในระดบั ภูมิภาค จึงนบั เปนการเรง ปรับบทบาท
การเปน ผนู ำของจีน

๔๗

3.3.5 การทบทวนโครงสรางเศรษฐกิจของประเทศ
และการปรับยุทธศาสตรป ระเทศไทย

จากผลการดำเนินการตามมาตรการทางสาธารณสุข
ของประเทศไทย ตางไดรับคำชื่นชมจากนานาประเทศถึงความสามารถ
ในการรับมือกับการแพรระบาดของโควิด 19 ซึ่งทำใหชือ่ เสยี งของ
ประเทศไทยในดานอุตสาหกรรมทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (Medical
Tourism) ปรากฏชัดเจนมากขึ้นในระดับสากล ซึ่งนับเปนโอกาส
ที่ดีของประเทศไทยที่ควรมีการสนับสนุนและพัฒนาภาคอุตสาหกรรม
ทองเที่ยวเชิงสุขภาพใหมีความเขมแข็งมากขึ้น ตลอดจนการพัฒนา
บุคลากรและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องอยางครบวงจร เชน เภสัชภัณฑ
สมัยใหม สมุนไพร เครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย รวมถึง
การผลิตหนากากอนามัยแบบผา หรอื เคร่ืองนุงหมทใี่ ชในทางการแพทย
อาทิ ชุดปองกันไวรัส PPE ซึ่งในอนาคตจะกลายเปนอุตสาหกรรมหลัก
ทช่ี ว ยสรางรายไดใ หก บั ประเทศ

ขณะเดียวกัน ประเทศไทยเปนประเทศที่มี
ความอุดมสมบูรณทางทรัพยากรธรรมชาติมีความหลากหลาย
ทางชีวภาพสงู และเปนแหลง ผลติ อาหารสำคัญของโลก โดยมกี ารสงออก
สินคาเกษตรสำคัญหลายชนิด ทั้งสินคากสิกรรม (ขาว มันสำปะหลัง
ขาวโพด ยางพารา ปาลมน้ำมัน ผลไม เครื่องเทศและสมุนไพร) สินคา
ประมง และสินคาปศุสัตว ซึ่งถือไดวา ไทยเปนครัวของโลก
(Kitchen of the World) ดังนั้น ไทยควรผลักดันนโยบายนี้ตอไป
ใหมีความโดดเดนในตลาดโลกมากขนึ้ โดยเฉพาะอยา งยิ่งในชว งวิกฤต
โควดิ 19 ที่ทวั่ โลกตา งใหป ระเด็นสำคญั เร่ืองความม่นั คงทางดา นอาหาร
(Food security)

๔๘

นอกจากนี้ การเขาสูเศรษฐกิจดิจิทัล จะดำเนินไป
อยางรวดเร็วมากขึ้น เปนผลมาจากการมีโควิด 19 เปนตัวเรงที่ทำให
ทุกคนตองปรับตัวเพื่อใหอยูรอดไดทามกลางวิกฤติ ทุกองคกร
ทุกหนวยงาน มีการเรียนรูการใชระบบออนไลนตาง ๆ และมีแนวโนม
จะนำมาปรับใชสำหรับการทำงานจริงในอนาคต รูปแบบการผลิต
และการคาจะมีการนำระบบอัตโนมัติและเทคโนโลยีมาใชมากข้ึน
ไมวาจะเปน Robot, AI, IoT, Cloud Computing, Big Data, Blockchain
ดังนั้น จะตองเรงพัฒนาและยกระดับบุคลากรในองคกรใหมี
พื้นฐานความรูดานดิจิทัล (Digital Literacy) โดยเฉพาะในภาคราชการ
เพื่อมุงไปสูการเปนระบบราชการที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ
สามารถกาวทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล ตอบโจทย
การมุงสูการปรับเปลี่ยนเปนรัฐบาลดิจิทัล โดยเฉพาะในดาน
การพาณิชยและการอุตสาหกรรมที่หนวยงาน ที่เกี่ยวของทั้ง
กระทรวงพาณชิ ยและกระทรวงอุตสาหกรรมจะตองปรับตัวใหทัน
การตอการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี เพ่ือเปนหนวยงานหลัก
ในการชวยพัฒนาภาคการผลิตและภาคการคาไทยในยุคดิจิทัล
ใหแขงขันไดในตลาดโลก และสามารถพึ่งพิงตนเองได ในยามประเทศ
เผชิญกับสถานการณวกิ ฤตทางเศรษฐกจิ

ดังนั้น ยุทธศาสตรชาติ 20 ปของประเทศไทย
อาจจำเปนตองมีการทบทวน โดยพิจารณาประเด็นสาขาการคา
และภาคบริการใหม ๆ รวมถึงภาคอุตสาหกรรมที่ไทยมีศักยภาพ
และสามารถตอบสนองตอความตองการของตลาดในอนาคตได
อยางดี โดยเฉพาะในเรื่องของสินคาเกษตร ที่นำไปสูการแปรรูป
เปนสินคาเกษตรอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มมูลคา รวมถึงการสงเสริม
อุตสาหกรรมศักยภาพที่มีความจำเปนตอ ประเทศ และมีหวงโซการผลติ

๔๙

ภายในประเทศที่เขมแข็ง ตอบโจทยแนวโนมของกระแสโลกที่เปล่ยี นไป
ที่เนนในเรื่องการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม หรือการใชทรัพยากร
อยางคุมคาเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตามแนวคิดของระบบเศรษฐกิจ
หมุนเวียน (Circular Economy) และการใชประโยชนจากการเปน
ตลาดฐานเดียวกันของอาเซียนในการเปนหวงโซอุปทานในระดับ
ภูมิภาค (Regional Supply Chain) และการเขารวมเปนสวนหน่ึง
ของพันธมิตรการคาในระดับภูมิภาค เพื่อเชื่อมโยงการคา
ที่เปลี่ยนไปซึ่งสนับสนุนในเรื่องการผลิตและอุตสาหกรรมใหม ๆ
ในอนาคต และเพ่ือสรางความไดเ ปรียบในการแขงขนั ใหกับประเทศไทย
ตลอดจนการใชศกั ยภาพดา นการสาธารณสุขของไทยและศักยภาพ
ดานแหลงทองเที่ยวของไทย เพื่อชูจุดแข็งเรื่องการทองเที่ยวแบบ
ปลอดภยั รวมถึงการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาชวยพัฒนาและยกระดับ
ทักษะความสามารถของแรงงานไทย (Re-skill & Up-skill)
เพ่ือตอบรับกบั กระแสเศรษฐกจิ ดิจิทัลท่เี กดิ ข้นึ อยา งรวดเร็วมากข้ึน
และตอบโจทยความตองการแรงงานมีฝมือในภาคอุตสาหกรรม
ในอนาคต ซึ่งการทบทวนยุทธศาสตรด ังกลาว จะถือเปนการปฏิรูป
ประเทศอยางตอเนื่องและจะทำใหเกิดผลสัมฤทธิ์อยางชัดเจน
และเปน รปู ธรรมไดใ นระยะยาว

๕๐

บทที่ 4
ขอคิดเหน็ และขอ เสนอเชิงนโยบาย

จากสถานการณการแพรร ะบาดของโควิด 19 ทำใหเห็น
ศักยภาพและจุดแข็งที่ชัดเจนของประเทศไทย คือ 1) ประเทศไทย
มีศักยภาพทางดานระบบสาธารณสุข 2) มีจุดแข็งที่ชัดเจนในดาน
การเปนประเทศที่มีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ
และมีความหลากหลายทางชีวภาพ 3) เปนดินแดนแหงเกษตรกรรม
หรืออูขาวอูน้ำของโลก ซึ่งเปรียบไดกับการเปนครัวอาหารของโลก
(Kitchen of the World) ที่สามารถผลิตอาหารใหกับคนในประเทศ
และใหกับผูคนทั่วโลก 4) เปนจุดหมายปลายทางของนักทองเที่ยว
ทัว่ โลก เนอื่ งจากมีแหลงทองเที่ยวท้ังทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรม
ที่สวยงาม และ 5) อยูในกลุมประเทศเกิดใหม (Emerging market)
ที่มีโครงสรางพื้นฐานตาง ๆ ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง
เหมาะแกก ารลงทนุ อยางมาก

อยางไรก็ตาม โควิด 19 ไดกลายเปนตัวเรง
(Accelerate) ท่ีทำใหแ นวโนม การเปล่ียนแปลงทีส่ ำคัญของโลก
(Mega Trends) หลาย ๆ อยางมาถึงเร็วขึ้น และยังคงมีผลตอ
การดำเนินนโยบายของแตละประเทศไมวา จะมีหรอื ไมม ีโควิด 19 ก็ตาม
ทั้งเรื่องสังคมผูสูงวัย (Aging Society) ที่ทำใหการเตรียมความพรอม
ดานสาธารณสุขดีขึ้น ประชาชนเกิดความตระหนัก (awareness)
เกี่ยวกับการดูแลสุขอนามัยมากขึ้น เทคโนโลยีและนวัตกรรม
(Digital Trend) โควิด 19 จะทำให เทคโนโลยีใหม ๆ เขามา
มีบทบาทกับธุรกจิ และวิถชี ีวิตของผูคนอยางรวดเรว็ อาทิ Internet
of Things, Robots, Artificial Intelligence(AI), Drones,
Blockchain, Virtual Reality, 3D Printing และ Electric Vehicle

๕๑

ซึ่งไทยจำเปนตองมีการพัฒนาบุคลากรในสาขาตาง ๆ เพื่อพรอม
รบั มอื ตอ การเปลยี่ นแปลงน้ี การเปล่ียนข้วั ทางเศรษฐกิจและการเมือง
ซึ่งในอนาคตจะมีประเด็นเรื่อง ความมั่นคงทางดานเกษตร
และอาหาร ความพรอมทางดานสาธารณสุขและการแพทย
และความมั่นคงทางดานพลังงาน จะกลายเปนประเด็น Geopolitics
ที่มีผลตอเศรษฐกิจและความมั่นคง การเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ (Climate Change) ที่สงผลตอภาวะภัยแลงและอุทกภัย
กระทบตอพืชผลทางการเกษตร และจะทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกป
และความเปนสังคมเมือง (Urbanization) ท่ีในปจจุบัน มีแนวโนม
เปลี่ยนแปลงไปเปนตามรูปแบบการรักษาระยะหางทางสังคม
(Social distancing) ทำใหแ พลตฟอรม ออนไลนจะเขามามีบทบาท
มากขึ้น และภัยคุกคามสุขภาพแบบใหมที่จะเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ
ทั้งโรคอุบัติใหม โรคอุบัติซ้ำ และโรคอ่ืน ๆ ทีจ่ ะสงผลตอ การคำนึงถึง
การดำเนนิ นโยบายดา นตาง ๆ ของแตละรฐั บาลมากขึ้น

ดังนั้น การจัดทำขอเสนอเชิงนโยบายภายหลัง
สถานการณการระบาด รัฐบาลควรกำหนดเปนระยะสั้น กลาง
และยาว เพื่อรองรับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป (New Normal)
และสอดคลองกับ Mega Trends ตาง ๆ ที่จะสงผลใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงและมีการพัฒนาดานตาง ๆ อยางรวดเร็วขึ้น
ซึ่งแนวนโยบายในระยะยาวจะตองใหความสำคัญกับการสราง
ความแข็งแกรงใหกับเศรษฐกิจภายในประเทศ ใหสามารถพึ่งพา
ตวั เองได และจะเปน รากฐานทสี่ ำคญั ทจ่ี ะทำใหเศรษฐกจิ ระดับฐานราก
มีความเขมแข็งอยางยั่งยืน โดยปรับลดการพึ่งพิงการสงออก
และเนนปรับขยายฐานเศรษฐกิจในประเทศใหกวางขึ้น โดยใช
ประโยชนจากหวงโซการผลิตในภูมิภาค (Regional Supply

๕๒

Chain) และการเปนตลาดฐานเดียวของอาเซียน โดยนอมนำ
แนวทางของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติใหเกิดผล
อยางเปนรูปธรรม คือ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน โดยมีกรอบ
แนวทางสำคัญ ดังน้ี

1. ทบทวนโครงสรางเศรษฐกิจของประเทศและยุทธศาสตร
การขับเคลื่อน โดยปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลระหวางอุปสงค
จากตางประเทศ (การสงออกและการทองเที่ยว) และอุปสงค
ภายในประเทศ มุงเนนการสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจ
ภายในประเทศและทองถิ่นมากขึ้น อาทิ สงเสริมการผลิตในประเทศ
เพื่อสราง Supply Chain ในประเทศ และกระจายรายไดใหทองถิ่น
ตลอดจนจะชวยกระจายความเสี่ยงในหวงโซการผลิตที่พึ่งพา
การนำเขาจากตางประเทศสูง รวมทั้งสงเสริมการผลิตและสงออก
สินคา ศักยภาพที่สามารถสรางสายการผลิต และมลู คาเพิ่มท้ังหมดหรือ
โดยสวนใหญใหเกิดขึ้นภายในประเทศ (อาทิ สินคาเกษตรแปรรูป
และอาหาร) หรือในกรณีตัวอยางของจีน ที่ลดการพึ่งพาการสงออก
และเพิ่มสัดสวนการบริโภคในประเทศผานการลงทุน การใชจาย
รวมไปถึงการเพิ่มสวัสดิการตาง ๆ เพื่อมุงหวังจะนำไปสูการเพิ่ม
อำนาจจับจายใชสอยของประชาชนมากขึ้น ทำใหเวลาเกิดวิกฤต
นอกประเทศ เศรษฐกิจจีนที่มีคนจีนบริโภคเองในประเทศ จึงยัง
ขบั เคลอื่ นไปได

2.พัฒนาดานเทคโนโลยีและการสาธารณ สุข
ใหความสำคัญกับสวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชน
สรา งความเช่ือมั่นตอรัฐบาลสำหรับวิกฤตในคร้ังหนา โดยแผนรองรับ
ที่ชัดเจนและโปรงใส จะสรางขวัญกำลังใจแกประชาชนในการดำเนิน
ชีวิตอยางปกติสุข อาทิ การพัฒนาและบูรณาการระบบสาธารณสุข

๕๓

กับระบบเทคโนโลยี เพื่อการประมวลขอมูล ประเมินผล
และการสื่อสารขอมูลที่นาเชื่อถือตอสาธารณชน นอกจากนี้ การใช
นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลนวัตกรรม เชน AI, Blockchain,
และโดรน ในการบริหารจัดการจะชวยใหการบริการสาธารณสุข
มีความยดื หยุนมากข้ึนในอนาคต

3.พัฒนาดานสังคม และแรงงาน สง เสริมการพัฒนาทุน
มนุษยโดยเฉพาะแรงงานที่อาจตกงานจากการเปลี่ยนแปลง
โครงสรางเศรษฐกิจ อาทิ สงเสริมใหนายจางเพิ่มผลิตภาพแรงงาน
สนับสนุนคาใชจายสำหรับพัฒนา Digital skills และ Highly-
skilled ตลอดจนใชมาตรการดานภาษีจูงใจใหธุรกิจลงทุนพัฒนา
ทกั ษะแรงงานของตนเองมากขึ้น

แนวทางการพลิกฟน เศรษฐกจิ ไทยภายใตส มการ
GDP = C + I + G + ( X – M )

C (Consumption) เพ่มิ สดั สวนการบรโิ ภคภายในประเทศ
I (Investment) การลงทุน

G (Government Spending) การใชจ ายของภาครัฐ

X (Export) การสง ออก (สินคาและบริการ)
M (Import) การนำเขา (สนิ คาและบรกิ าร)
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง:
พอประมาณ มเี หตุผล มีภูมคิ ุมกัน

๕๔

ดังนั้น คณะทำงานฯ ในคณะกรรมาธิการการพาณิชย
และการอุตสาหกรรม วุฒิสภา จึงมีขอคิดเห็นและขอเสนอ
เชิงนโยบายตอทิศทางประเทศไทยหลังโควิด 19 ในดาน
การพาณชิ ยและการอตุ สาหกรรม ดังนี้
4.1 ขอคดิ ดา นการปรบั โครงสรางภาคการผลติ

4.1.1 การสง เสริมอตุ สาหกรรมท่มี ีความจำเปนอยา งย่ิงยวด
(Critical Industry Supply Chain: CISC)

จากการเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสรางทางเศรษฐกิจ
ที่จะเกิดการยายฐานการผลิต ดังนั้น ประเทศไทยควรดำเนินนโยบาย
มุงเนนสงเสริมกลุมอุตสาหกรรมการผลิตที่เปน Supply Chain
สำคัญในประเทศมากขึ้น ทั้งนี้ เพื่อเปนการพึ่งพาตนเอง ลดการพึ่งพา
วัตถุดิบจากภายนอกประเทศ โดยไทยมีจุดแข็งที่สามารถเปน Hub
ในอุตสาหกรรมหลายประเภทที่ไทยยังสามารถทำไดดี โดยเฉพาะ
กลุมอุตสาหกรรมที่มีความจำเปนอยางยิ่งยวด (Critical
Industry Supply Chain) ที่มีบทบาทสำคัญมากในชวงที่ไทย
มีมาตรการล็อคดาวน ไดแก อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรม
เครื่องมือแพทย อุตสาหกรรมยาและเครื่องสำอาง อุตสาหกรรม
สิ่งทอทางการแพทยและเครื่องนุงหม อุตสาหกรรมสื่อสารสนเทศ
และอุตสาหกรรมพลังงาน ซ่งึ เปน อตุ สาหกรรมทเี่ กี่ยวของกบั การบริโภค
การรกั ษาโรค และการปอ งกันโรค นอกจากน้ี มีอตุ สาหกรรมบรรจุภัณฑ
และการพิมพ ที่ถือเปนอุตสาหกรรมสนับสนุน (Supporting
Industry) ดังภาพที่ 6 ซึ่งในทุกอุตสาหกรรมที่กลาวมา อุตสาหกรรม
CISC จะเปนกลุมอุตสาหกรรมที่ชวยฟนเศรษฐกิจไทยไดในอนาคต
และยังชวยกระตุนใหเกิดการจางแรงงานในประเทศหลังวิกฤติ
โควิด 19 นี้ดวย นอกจากนี้ ยังรวมถึงอุตสาหกรรมบางกลุม ทีอ่ าจ

๕๕

มีการถูก Disrupt เชน อุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต ซึ่งที่ผานมา
อุตสาหกรรมยานยนตทำรายไดจากการสงออกเปนอันดับหนึ่ง
มีหวงโซอุปทานยาวและกวางมาก หากมีการปรับเปลี่ยนไปสู
อุตสาหกรรมรถไฟฟา จะกระทบตอหวงโซอุปทานทั้งหมด และอนาคต
ของอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตอาจจะขยับขยายและยกระดับ
ไปสูอุตสาหกรรมชิ้นสวนอากาศยาน ซึ่งปจจุบันมีอยูบางแลว
นอกจากนี้ ยังมีโอกาสพัฒนาไปผลิตอุปกรณการแพทย เชน
เครื่องชวยหายใจ เปนตน จึงเปนอีกกลุมอุตสาหกรรมที่จะตองมี
การพัฒนาและยกระดบั เพ่ือใหอตุ สาหกรรมช้ินสวนรถยนตในประเทศไทย
ยงั คงเปนอตุ สาหกรรมหลักของประเทศตอไป

๕๖

ภาพที่ 6 อตุ สาหกรรมที่มีความจำเปนอยางย่งิ ยวด
(Critical Industry Supply Chain)

ทมี่ า คณะกรรมการรว มภาคเอกชน 3 สถาบนั

๕๗

ทั้งนี้ อุตสาหกรรมที่มีความจำเปนอยางยิ่งยวด (CISC)
สำหรับอนาคตเศรษฐกิจไทยสามารถแบงได ดังน้ี

1) อุตสาหกรรมทเี่ กี่ยวกับการบริโภค
(1) อุตสาหกรรมอาหาร
สถานการณโควิด 19 ทำใหอุตสาหกรรม

อาหารไดรับอานิสงสจากความตองการอาหารจากตางประเทศ
เพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะอาหารพรอมทาน ทั้งนี้ เพื่อเปนการสำรอง
อาหารทั้งในและตางประเทศ และเกี่ยวของกับประเดน็ ความมั่นคง
ทางอาหาร (Food security) โดยกลุมอุตสาหกรรมอาหาร
ที่มีการเติบโตมากจากการขยายตัวของการสงออก ไดแก
1) อาหารสำเร็จรูป อาทิ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ทูนากระปอง และ
2) อาหารสดแชเยน็ แชแ ข็ง อาทิ ปลาแชแ ข็ง และกงุ แชแข็ง รวมท้ัง
การผลิตอาหารสำเร็จรูปสำหรับปศุสัตว ดังนั้น อุตสาหกรรมอาหาร
เกือบทุกประเภทที่มีการผลิตเพิ่มขึ้น ยกเวนอุตสาหกรรมน้ำตาลทราย
ทไี่ ดรับผลกระทบจากภยั แลงจงึ มปี รมิ าณออยเขา โรงงานลดลง

ทั้งนี้ การดำเนินนโยบายและวางยุทธศาสตร
การเปนครัวของโลก (Kitchen of the World) อยางตอเนื่องของไทย
ทำใหผูประกอบการผูผลิตอาหารและเครื่องดืม่ มีการปรบั ตัวพัฒนา
เทคโนโลยีและกระบวนการผลิตจนผลิตภัณฑมีหลากหลาย
สามารถเก็บรักษาคุณภาพไดเปนอยางดีจนเปนที่ยอมรับจาก
ตลาดโลก ทำใหที่ผานมาอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มไทย
ยงั คงเตบิ โตไดเ ฉล่ยี อยางนอ ยปละรอยละ 1 จนกา วข้นึ เปนผสู งออก
อาหารอันดับที่ 11 ของโลก และเปนอันดับ 2 ของเอเชีย ทำใหแมเกิด
วิกฤตโควิด 19 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มของไทยก็ยังมี
ความเขมแขง็ ประการสำคัญโควิด 19 ไดส ง ผลใหแ นวโนมความตอ งการ

๕๘

สินคาเกษตร เกษตรแปรรูป และอาหารมีความเดนชัดมากข้ึน
ประเทศไทยในฐานะผูผลิตอาหารของโลก สามารถใชโอกาส
ดังกลาวในการขยายตลาดสินคาเกษตรและอาหารของไทย
ใหเปนท่ีรจู กั ของผบู รโิ ภคมากขึน้

2) อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการรักษาโรค
และปองกันโรค
(1) อตุ สาหกรรมเครอื่ งมอื แพทยและอื่น ๆ
อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย ครอบคลุม

ทั้งเครื่องมือแพทยและอุปกรณทางการแพทย เปนอุตสาหกรรม
ทม่ี มี ลู คา สูง และมีการเตบิ โตไดแมส ถานการณเศรษฐกิจจะไมเอ้ืออำนวย
เนื่องจากเปนสินคาที่จำเปน ตอ การดำรงชีวิต ซึ่งปจจุบันอตั ราผูปวย
และผูสูงอายุมีสัดสวนเพิ่มมากขึ้นทำใหมีความตองการเครื่องมือ
ทางการแพทยเ พ่ิมข้นึ ตามไปดว ย ในขณะเดียวกัน สถานการณโควดิ 19
ทำใหอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทยถูกจัดเปนกลุมอุตสาหกรรม
ท่ีมีศกั ยภาพ และรองรับความม่นั คงทางสาธารณสุขในแตล ะประเทศ

การผลิตเครื่องมือแพทยของไทยสวนใหญ
เนนผลิตเพื่อสงออกเปนหลัก โดยมูลคาการจำหนายเครื่องมือแพทย
ในประเทศและสงออกมีสัดสวนที่ 30:70 เครื่องมือแพทยที่ไทย
ผลิตสวนใหญเปนอุปกรณขั้นพื้นฐานเนนการผลิตที่ใชวัตถุดิบ
ในประเทศเปน หลกั ไดแ ก ยาง และพลาสตกิ จำแนกไดต ามประเภท
การใชงาน คือ 1) กลุมวัสดุสิ้นเปลืองทางการแพทย (ถุงมือยาง
ทางการแพทย หลอดสวนและหลอดฉีดยา) 2) กลุมครุภัณฑ
ทางการแพทย (ครุภัณฑในการเคลื่อนยายผูปวยและเตียงผูปวย
เตียงตรวจ รถเข็นผูปวย) 3) กลุมชุดน้ำยาและวินิจฉัยโรค (น้ำยา
ตรวจโรคเบาหวาน โรคไต โรคตบั อกั เสบ)

๕๙

ทั้งนี้ ในชวงโควิด 19 ทำใหไดเห็น
ศักยภาพของประเทศไทยในดานอุตสาหกรรมทางการแพทย
ในกลุมวัสดุสิ้นเปลืองทางการแพทย และกลุมครุภัณฑ
ทางการแพทยอยางมาก ถือเปนโอกาสที่ดีในการยกระดับ
และพัฒนาอุตสาหกรรมการแพทยของไทยตอไปในอนาคต ดงั นี้

ถุงมือยาง - จากสถานการณโควิด 19
ที่ทำใหมีความตระหนักกันเรื่องความมั่นคงทางสาธารณสุขมากขึ้น
โดยเฉพาะในกลุมประเทศที่มีโอกาสเติบโตสูง อาทิ ทวีปเอเชีย
ตะวันออก เอเชียใต แอฟริกา อเมรกิ าใต ฯลฯ ซง่ึ กำลงั พัฒนาระบบ
สาธารณสุขและสุขอนามัย ดังนั้น อัตราการใชถุงมือยาง
เฉลี่ยตอคนตอปจึงมีโอกาสเพิ่มขึ้นในอนาคต ซึ่งไทยมีศักยภาพ
ในการผลิตเคร่ืองมือแพทยในกลุมวสั ดสุ นิ คาส้ินเปลืองทางการแพทย
โดยเฉพาะถุงมือยาง เนื่องจากมีวัตถุดิบในประเทศ มีความไดเปรียบ
ในเรื่องตนทุนการผลิต และ supply chain (พื้นที่ภาคใตเปนแหลง
เพาะปลูกยางพารา และมีโรงงานบริษัทผลิตถุงมือยางตั้งอยูในจุด
ยุทธศาสตรก ารปลูกยางพารา) ในขณะทภี่ าพรวมอุตสาหกรรมถุงมือยาง
ทั่วโลกในชวงที่ผานมาเติบโตมาตลอด โดยสมาคมผูผลิตถุงมือยาง
แหงมาเลเซีย (MARGMA) ประเมินความตองการใชถุงมือยางทั่วโลก
ในป 2562 อยูที่ประมาณ 300,000 ลานชิ้น เติบโตเฉลี่ยรอยละ
12.2 ตอป นับจากป 2559 ที่มีความตองการใช 212,000 ลานชิ้น
ซ่ึงมาจากการขยายตัวของอุตสาหกรรมทางการแพทยและความตองการ
ใชผลิตภัณฑที่เกี่ยวของกับสุขอนามัยของคนทั่วโลก และจากการแพร
ระบาดโควดิ 19 ไดสงผลใหเ กิดความตองการใชถุงมือยางเพิ่มขน้ึ ทวั่ โลก
เนือ่ งจากเปนอุปกรณการแพทยท่สี ำคัญในการตรวจคัดกรอง วินิจฉัย
หอ งแล็บและตรวจรักษาโรค

๖๐

อปุ กรณทางการแพทยสมัยใหม - โควดิ 19
ยังทำใหไดเห็นศักยภาพของประเทศไทยในการคิดคนอุปกรณ
ทางการแพทยที่เปนนวัตกรรมใหมๆ อาทิ 1) หุนยนตรักษาโรค
(Telemedicine Robots) ซึ่งหุนยนตนี้สามารถประเมินสภาวะ
ของผูปว ย ชว ยใหแ พทยและพยาบาลสามารถติดตามอาการของผูปวย
ทางโทรเวชกรรม (Telemedicine) รวมถึงการเตือนใหรับประทานยา
หรือทำกิจกรรมตาง ๆ ได อีกทั้งมีวีดีทัศน เพื่อใหความรูและสอนวิธี
ทำกายภาพบำบัดใหแกผูปวยดวย ซึ่งเปนการคิดคนนวัตกรรมจาก
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2) ตูความดันลบ (Negative Pressure
Cabinet) ที่สามารถผลิตและประกอบไดในประเทศ โดยชวงโควิด
ที่ผานมา ไดเห็นศักยภาพของโรงพยาบาล มหาวิทยาลัย และองคกรตาง ๆ
ที่ไดรวมกันผลิตและประกอบตูความดันลบ เพื่อสงมอบใหกับ
โรงพยาบาลสำหรับใหบุคลากรทางการแพทยใชใ นการรับมือกับโควิด 19
อาทิ กลุมบริษัทฮอนดาประเทศไทยผลิตเตียงเคลื่อนยายผูปวยติดเช้ือ
แบบแรงดันลบ (Negative Pressure Mobile Bed) คณะแพทยศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผลิตตูความดันลบสำหรับเก็บสิ่งสงตรวจ
หรือ “Chula VID” และ 3) เครื่องชวยหายใจ (Respirator)
โดยมีสถาบันการศึกษาและหนวยงานตาง ๆ ของไทย สามารถผลิต
เครือ่ งชว ยหายใจ จากนวัตกรรมของประเทศไทยไดสำเร็จในราคาไมสูง
ซึ่งแตกตางจากเครื่องชวยหายใจของตางประเทศที่มีราคาสูง อาทิ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ผลิต
เครอ่ื งชวยหายใจสำหรับผูป วย COVID 19 ทีม่ ีอาการในระดับเบื้องตน
ไปจนถึงระดับรุนแรง

๖๑

(2) อุตสาหกรรมยาและเครอื่ งสำอาง34
สถานการณโควิด 19 ทำใหเห็นศักยภาพ

ของกลุมอุตสาหกรรมยาและเครื่องสำอางที่จะสามารถชวยสนับสนุน
ใหเกิดอุตสาหกรรมการแพทยอยางครบวงจรได ซึ่งอุตสาหกรรมยา
และเครื่องสำอางมีสินคาหลากหลาย ทั้งเวชภัณฑ อาหารเสริม รวมถึง
เครื่องสำอาง ซึ่งหากมีการสนับสนุนการวิจัยเพื่อตอยอดและพัฒนา
เพือ่ ใหสามารถผลติ ไดต ้ังแตตน - ปลายน้ำ ต้งั แตการผลติ ยา วัคซีน
และเวชภัณฑใหม ๆ ที่มีความจำเปนและมีราคาแพง เพ่ือลดการนำเขา
จากประเทศ และสงเสริมและพัฒนาการผลิตผลิตภัณฑเครื่องสำอาง
(Cosmetic Products) และผลิตภัณฑเ พื่อการดูแลสุขภาพ เชน อาหารเสริม
อาหารบำรุงสุขภาพ ใหเปนสินคาขึ้นชื่อของประเทศ เพื่อรองรับ
ทั้งตลาดผูบริโภคและนักทองเที่ยว ซึ่งจะเปนการสรางความเขมแข็ง
ใหประเทศในกรณีที่เกิดวิกฤตการแพรเชื้อโรครายแรงตาง ๆ ในอนาคต
รวมถึงยังสรางโอกาสในการสงออกและทำใหประเทศไทยกลายเปน
ศูนยกลางการแพทยครบวงจรได โดยจะตองมีการทำการตลาด

4เครื่องสำอาง ตามความหมายของมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม หมายถึง สิ่งปรุง
รวมทั้งเครื่องหอม และสารหอมตาง ๆ ที่ใชบนผิวหนัง หรือสวนใดสวนหนึ่งของรางกาย
มนุษยที่มุงหมายทำความสะอาด ปองกัน แตงเสริม เพื่อความงามหรือเปลี่ยนแปลง
รูปลักษณะโดย ถูทา พน หรือโรย เปนตน โดยสามารถแบงเครื่องสำอางออกเปน 3
ประเภทใหญตามวัตถุประสงคการใช คือ 1) เครื่องสำอางทำความสะอาด (Cleansing
cosmetic) ไดแก แชมพูยาสีฟน ครีมนวดผม แอลกอฮอลเจล เจลลางหนา สครับขัดผิว
ครมี โกนหนวด ครมี อาบนำ้ น้ำยาทำความสะอาดจดุ ซอ นเรน ผาเยน็ กระดาษเยน็ เปน ตน
2) เครื่องสำอางบำรุงผิว ไดแก โลชั่นบำรุงผิว ครีมบำรุงผิว ครีมบำรุงหนา ครีมกันแดด
ซีรั่มบำรุงผม ลิปบาลมที่ไมมีสี เปนตน และ 3) เครื่องสำอางสำหรับตกแตง (Make up)
ไดแ ก ครมี รองพน้ื ลิปกลอส อายแชโดวบลชั ออน ดินสอเขียนคว้ิ มาสคารา เปน ตน

๖๒

อยางสรางสรรค เพื่อทำใหธุรกิจในกลุมอุตสาหกรรมยาและ
เครื่องสำอางสรางรายไดใหกับประเทศอยา งจริงจงั

(3) อุตสาหกรรมสิ่งทอทางการแพทย
และเครือ่ งนุงหม (Medical Textile)
ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการผลิต

ชุดตรวจโควิด 19 ซึ่งเปนชุดตรวจหา สารพันธุกรรมไวรัสโควิด 19
ดวยวิธี RT-PCR ที่ประเทศไทยผลิตไดเอง และการผลิตชุด PPE
(Coverall/Surgical Gown) เกรดทางการแพทย ซึ่งเปนชุดปองกันไวรัส
ที่กระทรวงสาธารณสุขรวมกับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ
และบริษัทเอกชน 13 แหง ผลิตชุด PPE รุนเราสู แบบ Isolation
Gown ซึ่งที่ผานมาไทยตองนำเขาชุด PPE จากตางประเทศ
ดังนั้นการพึ่งพาตัวเองได ผลิตเองในประเทศ ทำใหประหยัด
งบประมาณ ชวยลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดจากการขาดแคลนของชุด
โดยมีผูประกอบการในอุตสาหกรรมเครื่องนุงหมที่สามารถพัฒนา
ชุด PPE ตามมาตรฐานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ใหกับ
องคการเภสัชกรรมไดแลวจำนวน 12 ราย โดยไดดำเนินการผลิต
ชุดกลุมแรก 40,000 ชุดสงมอบในเดือนเมษายนในมูลคาเฉลี่ยชุดละ
450 บาท รวมประมาณ 20 ลานบาท และชุด PPE ที่ผลิตน้ี
สามารถนำกลบั มาซักใชไดอ ีก 30 ครัง้ หรือเฉลย่ี คาชุดครัง้ ละ 15 บาท
ถอื วา คมุ คามาก หากเทียบกับชดุ PPE ท่ตี อ งนำเขา จากตางประเทศ

ทั้งนี้ ชุดปองกันไวรัส PPE รุนนี้ไดผาน
การตรวจสอบคุณภาพกอนผลิตซึ่งวัสดุที่ผลิตชุดนี้มาจากขวดน้ำ
พลาสติก โดยนำเขาเสนใยรีไซเคิลจากไตหวัน เนื่องจากไทยยังไมม ี
กระบวนการคัดแยกขยะพลาสติกที่ไดมาตรฐาน และนำมาทอในไทย
ดว ยผา โพลีเอสเตอรร อยละ 100 ถึง 3 ชน้ั เปน ไมโครไฟเบอรชนิด

๖๓

พิเศษ ทำใหโครงสรางของเนื้อผาแนนขึ้น แตยังมีคุณสมบัติ
ที่อากาศผานไดดีทำใหใสปฏิบัติงานไมรอน เคลือบสารกันน้ำที่ระดับ
ปลอดภัยทนตอแรงดันน้ำในระดับปกติ 200 มิลลิเมตร ซึ่งผูผลิต
เสื้อผาในกลุมอุตสาหกรรมเครื่องนุงหม ซึ่งไดรับผลกระทบจาก
โควิด 19 จากความตองการเสื้อผาและเครื่องนุงหมที่ลดลง จึงได
ปรับไลนการผลิตดวยการหันไปผลิตชุดปองกันไวรัส PPE
กบั หนา กากผา เพือ่ จำหนา ยในประเทศแทนการนำเขาซึ่งในอนาคต
หากชุด PPE ที่ไทยผลิต มีมาตรฐานเปนท่ียอมรับในระดับสากล
และเปนที่ตองการของตลาดโลก ก็จะทำใหไทยสามารถพัฒนา
ศกั ยภาพเปนผูสง ออกชดุ ปองกนั ไวรัส PPE ได

นอกจากนี้ การผลิตหนากากอนามัย
ทางการแพทย (Surgical Masks) ของไทยจำเปนจะตองไดรับ
การสงเสริมจากภาครัฐมากขึ้น เพื่อใหเกิด Supply Chain
ในประเทศอยางสมบูรณ ซึ่งในชวงกอนเกิดวิกฤตโควิด 19
ประเทศไทยมีโรงงานที่ผลิตหนา กากอนามัยทางการแพทยจำนวน 11
โรงงาน ผลิตหนากากอนามัยไดราว 40.5 ลานชิ้นตอเดือน ทั้งน้ี
ขอมูลจากกรมการคาภายในระบุวา ในภาวะปกติความตองการใช
หนากากอนามัยของไทยอยูที่ประมาณ 30 - 40 ลานชิ้นตอเดือน
แตจากสถานการณการระบาดของโควิด 19 ทำใหความตองการ
หนากากอนามัยเพิ่มขึ้น 5 เทาตัว มาอยูที่ความตองการราว 200 ลานช้ิน
ตอเดือน ในขณะที่การนำเขาทำไดยาก เนื่องจากหลายประเทศ
จำกดั การสงออก

๖๔

การผลิตหนากากอนามัยทางการแพทย
เปนการผลิตจากผาแบบไมถักไมทอ (non-woven) ท่ีขึ้นรูปโดยใช
เสนใยจากผลิตภัณฑปโตรเคมี ซึ่งการลงทุนผลิตหนากากอนามัย
ของไทยยังมีความทาทายสำคัญที่ตองคำนึงถึงทั้งในระยะสั้น
และระยะยาว ปญหาสำคัญในระยะสั้นที่ทำใหไทยไมสามารถเพ่ิม
กำลังการผลิตไดในทันที คือเครื่องจักรที่ใชในการผลิตผา และแผน
กรองหนากากอนามัย melt-blown ตองนำเขาจากจีนเปนหลัก
ซึ่งทำไดยากลำบากในชวงสถานการณโควิด 19 เพราะจีนควบคุม
การสงออก สำหรับผูผลิตไทยที่มีเครื่องจักรอยูแลวตองเผชิญกับ
ปญหาตนทุนที่สูงขึ้น เนื่องจากสวนประกอบที่เปนผา และแผนกรอง
melt-blown หายากและตองรอสินคาจากจีนเปนเวลานาน ตนทุน
ของผาดังกลาวยังสูงขึ้นมากจากเดิมที่มีราคาเฉลี่ย 80 - 100 บาท
ตอ กโิ ลกรมั เพม่ิ เปน 1,700 - 2,000 บาทตอกิโลกรัม นอกจากนี้
ยังมีความทาทายเรื่องเทคโนโลยีการผลิต โดยไทยยังไมสามารถผลิต
เครื่องจักรทำผา melt-blown ไดเอง ตองพึ่งพาการนำเขาเทคโนโลยี
จากตางประเทศ ไทยจึงตองมีอุตสาหกรรมตนน้ำเพื่อผลิตผา
polypropylene non-woven และแผนกรอง โดยภาครัฐจะตอง
สนับสนุนและใหความชวยเหลือผูประกอบการในประเทศใหสามารถ
แขงขันกับตางประเทศได และเพื่อให Supply Chain ของการผลิต
หนากากอนามัยครบถวนสมบูรณ สามารถผลิตหนากากอนามัย
ใหมีเพียงพอตอความตองการใชภายในประเทศ ลดการพึ่งพาการนำเขา
แมในยามวิกฤตที่อาจเกิดการแพรระบาดของโรคอื่น ๆ ไดอีก
ในอนาคต ซง่ึ ปจจุบัน มโี รงงานผลิตเพมิ่ มาอกี 6 โรง จากเดิมมี 11 โรง
ทผ่ี ลิตไดวันละ 2.2 ลานชิ้น (ขอ มูล ณ วันท่ี 19 มี.ค.63) รวมเปน

๖๕

17 โรง สงผลให ณ เวลานี้มีกำลังการผลิตรวม 3.5 ลานชิ้นตอวัน
และอยูระหวางเปดโรงงานใหมตามการสนับสนุนของสำนักงาน
คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) อีก 12 โรง จะมกี ำลังการผลิต
รวมเพิ่มอีก 7 แสนชิ้นตอวัน ทำใหไทยมีโรงงานผลิตหนากาก
อนามัยเปน 28 โรง คาดสิ้นเดือนกรกฎาคมจะมีกำลังผลิต
รวม 4.2 ลานช้นิ ตอ วัน เพียงพอตอความตองการของประชาชน

ทั้งนี้ การสงเสริมการผลิตของอุตสาหกรรม
ที่เกี่ยวของกับการรักษาโรคและปองกันโรค โดยเฉพาะอุตสาหกรรม
เครื่องมือแพทยและอุตสาหกรรมสิ่งทอทางการแพทย (Medical
Textile) มีส่งิ ท่ตี องคำนงึ คอื เรอ่ื งมาตรฐาน โดยท่อี ปุ กรณท างการแพทย
ตาง ๆ นั้นมีขอกำหนดจากมาตรฐานในระดับสากล ดังนั้น สิ่งท่ี
ประเทศไทยตองเรงผลักดัน คือ การสรางมาตรฐานของอุปกรณ
และเครื่องมือทางการแพทยที่ผลิตในประเทศใหเปนที่ยอมรับ
ในระดับสากล โดยการสงเสริมการจัดสรางศูนยทดสอบและตรวจ
วิเคราะหทางหองปฏิบัติการ (Laboratory Testing) ในประเทศไทย
เพื่อเปนหองปฏิบัติการในการทดสอบเครือ่ งมือและอุปกรณทางการแพทย
ที่ไดมาตรฐานสากล รวมทั้งมาตรฐานของไทย ซึ่งการมีหองตรวจ
รับรองในประเทศไทยจะชว ยเพ่ิมขีดความสามารถใหกับอุตสาหกรรม
เครื่องมือแพทยและสิ่งทอทางการแพทยอยางครบวงจร ทำให
อุปกรณเครื่องมือทางการแพทยตาง ๆ ที่ถูกคิดคนขึ้นโดยนวัตกรรม
ใหมๆ ซึ่งเปนฝมือคนไทย มีความนาเชื่อถือและไดรับการยอมรับ
ทั้งในระดับประเทศและตางประเทศ และจะเปนโอกาสสำคัญ
ในการสรางงานใหกับแรงงานในประเทศ และทำใหไทยสามารถสราง
รายไดจากการสงออกอุตสาหกรรมเคร่ืองมือแพทยไดตอไปในอนาคต
ซึ่งหนวยงานที่เกี่ยวของ อาจพิจารณางบประมาณจากพระราชกำหนด

๖๖

ใหอำนาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อแกไขปญหา เยียวยา และฟนฟู
เศรษฐกิจและสังคม ที่ไดรับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 เพื่อนำมาเสนอขอจดั ต้ังศูนยทดสอบฯ
ดังกลาว ตามวัตถุประสงคของเงินกูที่มุงเนนการฟนฟูเศรษฐกิจ
ในประเทศ

3) อตุ สาหกรรมสนับสนนุ (Supporting Industry)
(1) อตุ สาหกรรมสื่อสารสนเทศ
การปรับตัวในยุคโควิด 19 ที่ทำใหเกิด

New Normal โดยเฉพาะการทำงาน Work From Home ที่ทำให
องคกรตาง ๆ มีความจำเปนตองใชอุปกรณทางเทคโนโลยีเพื่อใช
ในการทำงานและการติดตอสื่อสาร มีการประชุมออนไลน
ซึ่งจำเปนจะตองใชอุปกรณตาง ๆ ทั้งโทรศัพทมือถือสวนบุคคล
คอมพิวเตอรพ กพา อินเทอรเ น็ต เพ่ือรองรับการเช่ือมตอการทำงาน
ท่ีบาน ซึ่งมีแนวโนมวาหลังวิกฤตโควิด 19 กระแส Work From
Home อาจมีการนำมาปรับใชจริงกับบางองคกร เพื่อตองการลด
ปญหาความแออัดในที่ทำงาน ตามมาตรการ Social Distancing
นอกจากน้ี Work From Home สามารถผลติ ผลงานและจดั ประชุม
ผานระบบ VDO Conference ผานโปรแกรมตาง ๆ อาทิ Zoom,
MS Teams, Cisco Webex, Google Hangouts, Skype, Line,
FaceTime ซึ่งทำใหการใชชีวิตของผูคนปรับตัวเขาสูความเปนดิจิทัล
อยางหลีกเลี่ยงไมได อีกทั้ง ยังมีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารมาใชเพื่อการเรียนรูระบบออนไลนมากขึ้น รวมถึง
ในธรุ กจิ ตา ง ๆ ที่ไดมีการปรบั ตัวจากออฟไลนเขาสูออนไลนมากขึ้น
ดงั นั้น องคก รตาง ๆ จงึ เร่ิมมกี ารลงทนุ ทางเทคโนโลยีและสอื่ สารสนเทศ
ทั้งในดานซอฟทแวรและฮารดแวร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ

๖๗

ความรวดเร็วในการทำงาน ทำใหในอนาคตอุตสาหกรรมสื่อสารสนเทศ
จะมีความจำเปนมากยิ่งข้ึน

(2) อุตสาหกรรมผผู ลิตไฟฟา และพลงั งาน
อุตสาหกรรมผูผลิตไฟฟาและพลังงาน

เปนกลุมอุตสาหกรรมที่ชวยสนับสนุนใหอุตสาหกรรมหลัก ๆ ดำเนิน
ตอไปไดแมในยามวิกฤต และเปนอุตสาหกรรมตนน้ำที่ตองปอน
อุตสาหกรรมทม่ี ีความจำเปนยิ่งยวดอน่ื ๆ ดวย ทั้งอุตสาหกรรมอาหาร
โรงงานผลติ เคร่อื งมือแพทย โรงงานผลิตยา โรงงานผลติ บรรจุภัณฑ
จึงจำเปนตองจัดใหกลุมอุตสาหกรรมผูผลิตไฟฟาและพลังงานเปนกลุม
อตุ สาหกรรมจำเปนอยางยิ่งยวด

(3) อุตสาหกรรมบรรจภุ ัณฑและการพมิ พ
ผูประกอบการในสายโซอุปทาน (Supply

Chain) ของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑและการพิมพ ประกอบไปดวย
ธุรกิจสิ่งพิมพ (สำนักพิมพและธุรกิจโรงพิมพ) ธุรกิจพิมพซิลคสกรีน
และธุรกิจบรรจุภณั ฑ ทม่ี จี ำนวนมาก ซึ่งสวนใหญจะเปนผปู ระกอบการ
ขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) แตสวนแบงตลาด ถูกครอบครอง
โดยผูประกอบการรายใหญที่มีธุรกิจครบวงจรทั้งโรงพิมพและ
สำนักพิมพ และอาจรวมถึงธุรกิจบรรจุภัณฑในบางราย ดังนั้น
จากสภาพแวดลอมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะ
การใหตอบรับ สื่อดิจิทัล อาทิ สื่ออิเล็กทรอนิกส เชน E-Book,
E-Magazine และเว็บไซตหนังสือพิมพ เปนตน ที่เขามาแทนที่สื่อ
ด้ังเดิมของผูบรโิ ภคในปจจบุ ัน และสภาพการแขงขันในตลาดท่ีตอง
แยงกนั รับงานพิมพหรืองานโฆษณา ท่ีมจี ำกัด จึงสง ผลใหธ รุ กิจ SMEs
บางสวนที่สายปานสั้นจำเปนตองปดกิจการไป หรือบางรายก็มี
การควบรวมกิจการ เพ่ือเพิ่มอำนาจตอรองทางดานการส่ังซื้อวัตถุดิบ

๖๘

หรือการบริหารตนทุนพนักงานใหลดลง รวมทั้งบางรายมีการปรับ
รูปแบบการดำเนินธุรกิจดวยการขยายไปทำธุรกิจผานชองทาง
ออนไลนท กี่ ำลงั เติบโตแทน

ทั้งนี้ ในชวงที่เทคโนโลยีดิจิทัลเขามา
มีบทบาทตอธุรกิจและอุตสาหกรรมในประเทศมากขึ้น กลุม
อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑและการพมิ พกไ็ ดรับผลกระทบ โดยเฉพาะ
ในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพไมวาจะเปนหนังสือตาง ๆ โฆษณาแผนพับ
ไดอารี่ และอื่น ๆ ถูก disrupt จากเทคโนโลยีดิจิทัล ทำใหยอดผลติ
และยอดขายหดหายไปจำนวนมาก สัดสวนมูลคาอุตสาหกรรมป 2562
เปลี่ยนเปนส่ิงพิมพเหลือรอยละ 40 บรรจุภัณฑเพิ่มเปนรอยละ 60
(จากเดิมสดั สว น 50:50)

สำหรับชวงวิกฤตโควิด 19 ประชาชน
เริ่มมีพฤติกรรมสั่งอาหารทางออนไลนมากขึ้น โดยเฉพาะในชวง
ล็อคดาวน สงผลใหยอดผลิตบรรจุภัณฑเพื่อบรรจุอาหารในเดือน
มนี าคมเพิม่ ขนึ้ ถงึ รอยละ 200 - 300 ในขณะทบ่ี รรจภุ ณั ฑสำหรับ
ใสเจลลางมือและแอลกอฮอลฆาเชื้อซึ่งกลายเปนสินคาจำเปนและ
ตองพกพาในชีวิตประจำวันของประชาชนก็ไดรับคำสั่งผลิตเพิ่มข้ึน
โดยในเดือนมีนาคมเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 300 และบางสวน
ตองสั่งนำเขาจากจีนซึ่งชวยบรรเทาการขาดแคลนไดระดับหนึ่ง
ทำใหอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑกลับมามีบทบาทสำคัญอีกครั้ง
นอกจากน้ี บรรจุภัณฑก็เปนอุตสาหกรรมสนับสนุน (Supporting
industry) ใหกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ อีกดวย จึงนับเปนอีกหน่ึง
อุตสาหกรรมที่ไทยมีศักยภาพและมีความสำคัญตอระบบเศรษฐกิจ
ซึ่งรัฐจะตองมีนโยบายในการสงเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมนี้
ให Supply Chain ในประเทศมคี วามเขมแขง็ และเติบโตตอไป

๖๙

ดังนั้น เมื่อสถานการณเริ่มคลี่คลาย ธุรกิจที่มี
ความจำเปน (Essential) เหลานี้ จำเปนจะตองไดรับการพัฒนา
อยา งตอเนื่อง เนื่องจากเปนอุตสาหกรรมที่มีความจำเปนตอการดำรงชีวิต
และชวยลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับภาคเศรษฐกิจอยางรุนแรง
ซึ่งภาคธุรกิจสามารถดำเนินการตอไปไดอยางตอเนื่อง อาทิ อาหาร
และเครื่องดื่ม เวชภัณฑการแพทย เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร ธนาคาร ธุรกิจการเกษตร พลังงานและสาธารณูปโภค
รวมถงึ อุตสาหกรรมตนน้ำที่ตองปอนอุตสาหกรรมขางตน ชอ งทางการ
จัดจำหนาย การขนสงและโลจิสติกส และบรรจุภัณฑ ซึ่งรัฐบาล
จะตองกำหนดทิศทางของอุตสาหกรรมหลักของประเทศที่จะตอง
มุงเนนสงเสริมเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจในประเทศ โดยมอบหมาย
หนวยงาน ที่เกี่ยวของ พิจารณาศึกษาศักยภาพของอุตสาหกรรม
ดังกลาว พรอมทั้งกฎระเบียบตาง ๆ ที่ยังคงเปนปญหาและอุปสรรค
ตอการสงเสริมอุตสาหกรรมดังกลาวตอไป อาทิ พระราชบัญญัติ
เคร่อื งมือแพทย พ.ศ. 2551 โดยมสี ำนกั งานคณะกรรมการอาหาร
และยา (อย.) เปนหนวยงานกำกับดูแล และรับผิดชอบในการออก
ใบอนญุ าตการผลิต/จำหนาย/นำเขาเคร่ืองมือแพทยทไี่ ดมาตรฐานตามที่
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) กำหนด เพื่อเปน
เครื่องยืนยันวา ผลิตภัณฑที่ผลิตและนำเขามานั้นไดมาตรฐาน
เดียวกันท้ังหมด ซ่ึงขอบเขตการทำงานของ อย. มีภารกจิ ทก่ี วางขวาง
ตองรับผิดชอบทั้งเรื่อง ยา ยาเสพติดใหโทษ วัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิต
และประสาท สารระเหย เครื่องมือแพทย อาหาร เครื่องสำอาง และ
วัตถุอันตราย แตปจจุบัน อย. มีบุคลากรไมเพียงพอสำหรับภารกิจที่มี
คอนขางมาก ทำใหการดำเนินภารกิจในเรื่องการกำกับดูแลผลิตภัณฑ
ดานสุขภาพใหมๆ ที่ผลิตโดยเทคโนโลยีที่กาวหนา ซึ่งเปนเรื่อง
การพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องมือทางการแพทยในอนาคต ไมทันตอ

๗๐

บริบทและสถานการณการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เปนไปอยางรวดเร็ว
จึงอาจตองมีการทบทวนบทบาทภารกิจของ อย. เพื่อใหสามารถ
รองรับศักยภาพของอุตสาหกรรมเครื่องมือทางการแพทยของไทย
ในอนาคตไดตอไป

4.1.2 การปรับการผลิตสู BCG Economy Model
การขับเคลื่อนประเทศไทยหลังโควิด 19 คือ

การสรางความเขมแข็งจากภายใน ตามหลักคิดของปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งนำมาสูการพัฒนาโมเดลขับเคลื่อนประเทศไทย
ภายใต BCG Economy Model ทตี่ องผนึก 3 เศรษฐกจิ เขา ดวยกัน
คือ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economy) เศรษฐกิจหมุนเวียน
(Circular Economy)5 และ เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy)
ซงึ่ เปนการรวมจุดแข็งของประเทศไทย อนั ประกอบดวย “ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ” และ “ความหลากหลายทางวัฒนธรรม” มาตอยอด
และยกระดับมูลคาหวงโซการผลิตสินคาและบริการ ครอบคลุม
4 สาขายุทธศาสตรสำคัญ ประกอบดวย 1) เกษตรและอาหาร
2) สุขภาพและการแพทย 3) พลังงาน วัสดุ และเคมีชีวภาพ และ
4) การทองเที่ยวและเศรษฐกิจสรางสรรค ซึ่งกลุมอุตสาหกรรมเหลานี้
ครอบคลุม 5 ใน 10 อุตสาหกรรม S-Curve โดยมีมูลคาทางเศรษฐกิจ
รวมกันกวา 3.4 ลานลานบาท และมีกำลังแรงงานอยูในระบบ

5 เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) หมายถึง ระบบอุตสาหกรรมที่วางแผนและ
ออกแบบมา เพอ่ื คนื สภาพหรอื ใหช วี ิตใหมแ กว ัสดตุ า ง ๆ ในวงจรชวี ิตผลติ ภณั ฑ แทนท่ีจะ
ทิ้งไปเปนขยะเมื่อสิ้นสุดการบริโภค โดยจะนำวัสดุที่เปนองคประกอบของผลิตภัณฑ
เหลานั้นกลับมาสรางคณุ คาใหม หมุนเวยี นเปนวงจรตอเนื่อง โดยไมมีของเสีย นอกจากน้ี
ยังมงุ เนนการอนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติและสรางความสมดุลในการดึง ทรพั ยากรธรรมชาติ
มาใชงานใหม ควบคูไปกับการสรางระบบและการออกแบบที่มีประสิทธิภาพเพื่อลด
ผลกระทบภายนอกเชงิ ลบ

๗๑

16.5 ลานคน โดยมีการประมาณการวา ในอีก 5 ปขางหนา
กลุมอุตสาหกรรมภายใต BCG Economy Model จะสรางมูลคา
ทางเศรษฐกจิ ไดถ งึ 4.4 ลา นลานบาท และจา งงานไดก วา 20 ลา นคน

ในภาคการผลิต จำเปนจะตองนำแนวคิดของ
เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) มาปรับใช ซึ่งเศรษฐกิจ
หมุนเวียนสามารถเชื่อมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจใหมไดในหลากหลาย
สาขาทัง้ Service Economy, Sharing Economy และ Bio Economy
ซึ่งระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน จะมีผลกระทบในไทยตอสาขาตาง ๆ
ดงั น้ี

• ภาคการเกษตร : พืชพลังงาน และสินคา
เกษตรออรแ กนคิ

• ภาคอุตสาหกรรม : อุตสาหกรรมแปรรูป
อตุ สาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมน้ำมนั อุตสาหกรรมพลาสติก
และเคมภี ัณฑ วัสดกุ อสราง เฟอรน ิเจอร สินคาไลฟส ไตล และสินคา
แฟช่ัน

• ภาคบริการ : การทองเที่ยวแบบเฉพาะกลุม
อาทิ Green Tourism, รานคาปลีก คาสง บริการติดตั้งระบบ
พลังงานหมุนเวียน ธุรกิจกอสราง ธุรกิจอสังหาริมทรัพย ธุรกิจ
โรงแรมและท่ีพกั บริการขนสงรปู แบบใหม บริการแบง ปนยานยนต
(Car sharing) ธุรกจิ บรกิ ารวิชาชีพ ธรุ กจิ การบรหิ ารจัดการพลังงาน
และธุรกิจใหค ำปรกึ ษาดา นการบรหิ ารสิ่งแวดลอ ม

ท้งั นี้ ธุรกจิ ทเี่ ก่ยี วของกับระบบเศรษฐกจิ หมุนเวียน
(Circular Economy) จะเขามามีบทบาทตอการพัฒนาสังคม
คารบอนต่ำโดยเฉพาะอยางยิ่งรูปแบบธุรกิจใหมที่จะเกิดขึ้นจาก
ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน ซึ่งจะชวยใหมีวัตถุดิบที่ใชในการผลิต

๗๒

และการบริโภคอยางสมำ่ เสมอ โดยแนวคิดของเศรษฐกิจหมุนเวียน
สงผลตอ ระบบเศรษฐกจิ ในภาพรวม ดงั น้ี

1) ผลกระทบของกฎหมาย/กฎระเบียบ (Role of
Regulation) รัฐบาลตาง ๆ เริ่มสรางแรงจูงใจและรางวัลสำหรับ
รปู แบบธรุ กจิ ทนี่ ำเศรษฐกิจหมนุ เวยี นมาใช

2) ความเสี่ยงในการผลิต (Production Risks)
เศรษฐกิจหมุนเวียนชวยปกปอ งธุรกิจและเศรษฐกิจจากความผันผวน
ของราคาทรัพยากรและความเสย่ี งดานอุปทาน

3) รูปแบบธุรกิจใหม (New Business Models)
ความตอ งการของผูบรโิ ภคเปลย่ี นจากความตองการความเปนเจาของ
ไปสูการเขาถึงบริการ โดยที่รูปแบบธุรกิจใหมจะเขาใจวาลูกคาเปน
ผูใชงานมากกวาผูบริโภคที่เปนเจาของสินคาเทานั้น โดยปจจุบัน
ผูใชงานตองการเขาถึงบริการแทนที่จะเปนเจาของผลิตภัณฑ
ที่ใหบริการ โดยรูปแบบธุรกิจแบงปน (Sharing Economy) ไดแก
BlaBlaCar, AirBnB, Grab, Co-working space เปนตน มีแนวโนม
ประสบความสำเร็จมากขึ้น นอกจากนี้ ยังเกิดรูปแบบบริการแทน
การจำหนายสินคา เชน การใหบริการแสงสวางแทนการขาย
หลอดไฟ การใหบ ริการซกั รีดแทนการขายเครอ่ื งซักผา เปน ตน

4) การขยายตัวของเมือง (Urbanization)
การขยายตัวของเมืองมีบทบาทสำคัญในการชวยเรงการเปลี่ยนผาน
ไปสูเ ศรษฐกจิ หมนุ เวียน

5) ความเชื่อมโยงของเทคโนโลยี (Connectivity)
เทคโนโลยีใหม ๆ ที่เชื่อมโยงกันจะชวยใหเศรษฐกิจหมุนเวียนเกิดขึ้น
ในวงกวาง

๗๓

อยางไรก็ตาม การดำเนินงานของทุกหนวยงาน
ในประเทศไทยเปนการดำเนินงานที่ขาดการกำหนดเปาหมายรวม
(Common Goal) ของประเทศที่ชัดเจน ซึ่งตางจากประเทศที่เปน
ผูนำดานการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน เชน สหภาพยุโรป
ที่กำหนดมาตรการ Circular Economy Package โดยมีการติดตาม
ประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวมอยางเปนระบบ ประเทศแคนาดา
ท่ตี ั้งเปาหมายไปสูการเปนประเทศทีม่ ี Zero Waste หรือ ประเทศ
เนเธอรแลนดที่มีเปาหมายในการลดการใชวัตถุดิบลงรอยละ ๕๐
ภายในป พ.ศ. ๒๕๗๓ (ค.ศ. 2030) เปนตน

ดังนั้น จึงควรมีการกำหนดกรอบยุทธศาสตร
และกลไกในการพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียนในระดับชาติ
(CE Grand Strategy and Driven Mechanism) เพอ่ื เปนนโยบาย
สำหรับการกำหนดแนวทางสงเสริมสิทธิประโยชนหรือมาตรการ
ทางภาษีตอไปสำหรับภาคอุตสาหกรรมและผูประกอบการที่มี
การนำเศรษฐกิจหมนุ เวียนมาปรับใช เนื่องจาก ประเทศไทยยังไมมี
การกำหนดกรอบยุทธศาสตร (Grand Strategy) หรือวิสัยทัศน
(Vision) สำหรับการสงเสริมพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียนโดยตรง
มีเพียงการกำหนดยุทธศาสตร นโยบาย และแผนแมบทตาง ๆ
ที่เกี่ยวของกับเศรษฐกิจหมุนเวียน และแมวาจะมีอยูจำนวนมาก
แตบางยุทธศาสตรก็เปนเพียงสวนควบที่รวมไปกับการพัฒนาในมิติอื่น
เชน การพัฒนา BCG (Bio-Circular-Green) ซึ่งถูกกำหนดไวใน
นโยบายรัฐบาล บางก็เปนแผนแมบทรายสาขาอุตสาหกรรมหรือ
ผลิตภัณฑ เชน แผนแมบทหรือ Roadmap การจัดการขยะ
พลาสติกหรือการจัดการเรื่องมลพิษ และแมวาหนวยงานภาครัฐตาง ๆ
เริ่มมีความตื่นตัวและดำเนินกิจกรรมโครงการที่สอดคลองกับ

๗๔

เศรษฐกิจหมุนเวียน ซึ่งปจจุบันไมอาจปฏิเสธไดวา ผูที่มีบทบาทนำ
ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียนของไทยคือภาคเอกชน
โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมผูประกอบการรายใหญ หรือบริษัทขามชาติ
อีกทั้งมาตรการและกิจกรรมโครงการที่ดำเนินการอยูของแตละ
หนวยงานทัง้ ในภาครัฐและเอกชนมีลกั ษณะการดำเนินงานที่แยกสว นกัน
ตามภารกิจหนา ท่แี ละเปาประสงค

4.1.3 การผลักดันใหเกิดแพลตฟอรมการคาดิจิทัล
ระหวา งประเทศของไทย (NDTP)

โดยที่คณะกรรมการรวมภาคเอกชน 3 สถาบัน
หรอื กกร. อยูร ะหวางการพัฒนาแพลตฟอรมการคาดิจิทัลแหงชาติ
(National Digital Trade Platform-NDTP) เพื่อเปนศูนยกลาง
ธุรกิจของภาคเอกชนในลักษณะธุรกิจกับธุรกิจ (Business to
Business: B2B) เชื่อม (Plug-in) แพลตฟอรมการคาดิจิทัลอื่นที่มี
การพัฒนาไปแลวหลายประเทศ เพื่ออำนวยความสะดวกใหเกิด
ความรวดเร็ว ลดขั้นตอน ลดตนทุนในดานการสงออก-นำเขา
โดยการพัฒนา NDTP ซึ่งเปนการเชื่อมโยงภาคธุรกิจของเอกชน
หรือ B2B เปนเรื่องสำคัญที่จะสงเสริมใหการทำการคาระหวาง
ประเทศมคี วามคลองตวั และมีตนทุนท่ลี ดลง ซ่ึงคาดวา ภายใน 1 ป
NDTP จะชวยลดตนทุนจากการจางงาน งานเอกสารตาง ๆ ได
ประมาณ 4 - 5 พันลานบาท และภายในป 2025 คาดวาจะชวย
เพิ่มปริมาณการคาไดมากขึ้นประมาณรอยละ 7 หรือประมาณ
1 ลานลานบาท ซึ่งเปนผลจากการลดขั้นตอนตาง ๆ นอกจากนี้
ยังสามารถชวยแรงงานที่ตกคางในระบบราว 1.8 ลานคน
ในการ Upskill และ Re-skill ใหเปนบุคลากรที่สามารถทำงานดาน
ดิจิทัลไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยการพัฒนา NDTP จะสอดคลอง

๗๕

และเสริมงานการพัฒนา National Single Window (NSW) ของภาครัฐ
เพื่อทำใหการเชื่อมโยงกับภาครัฐเปนไปอยางราบรื่นและทำให
กระบวนการดา นการคาระหวางประเทศแบบดจิ ิทลั มีความสมบรู ณ

ซึ่งขณะนี้มีหลายประเทศทั่วโลก ไดดำเนินการ
พัฒนาแพลตฟอรมการคาดิจิทัลดังกลาวแลว ไดแก จีน ญี่ปุน
ฮองกง ออสเตรเลีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส และอังกฤษ โดย
คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบในหลักการแนวทางการพัฒนา
แพลตฟอรมการคาดิจิทัลระหวางประเทศของไทยแลวเมื่อวันที่ 10
กันยายน 2562 โดยใหสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ
ราชการ สำนักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตรชาติ
และการสรางความสามัคคีปรองดอง และสำนักงานพัฒนารัฐบาล
ดิจิทัล (องคการมหาชน) เปนหนวยงานหลักรวมกับคณะกรรมการ
รวมภาคเอกชน 3 สถาบัน และหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการ
ออกแบบแพลตฟอรม

ดังนั้น รัฐบาลจึงควรผลักดันใหเกดิ แพลตฟอรม
การคาดิจิทัลแหงชาติ หรือ NDTP เพื่อใหการดำเนินธุรกิจของ
ภาคธุรกิจไทยมีความคลองตัวมากขึ้น และจะมีสวนชวยใหธุรกิจ
ขนาดเล็กเขามาใชประโยชนจากแพลตฟอรมดังกลาว เพื่อลด
อุปสรรคและปญหาจากแพลตฟอรมขนาดใหญของตางชาติ
ที่มีตนทุนและการแขงขันที่สูง อยางไรก็ตาม ควรมีการมอบหมาย
หนว ยงานท่เี ก่ยี วขอ ง ศึกษาประเด็นกฎหมายที่รองรับการพัฒนา
แพลตฟอรมและกฎหมายที่อาจเปนอุปสรรคตอการพัฒนา
แพลตฟอรมดังกลาวเพิ่มเตมิ นอกจากนี้ ในระยะถัดไป ควรมีการ
พัฒนาแพลตฟอรมตาง ๆ ที่ดำเนินการอยูแลวโดยภาครัฐ เชน
Thaitrade.com ของดีทั่วไทย.com ซึ่งเปนลักษณะธุรกิจกับ

๗๖

ผูบริโภค (Business to Customer: B2C) ใหสามารถเชื่อมตอเขา
กับ NDTP ไดดวย ซึ่งจะชวยตอบโจทยการพัฒนาและยกระดับ
SMEs ในระดับฐานรากของประเทศ ทมี่ ปี ญหาเร่ืองการเขา ถึงตลาด
ตางประเทศ ไมรูจักผูนำเขา ซึ่งการเชื่อมโยงแพลตฟอรมของรัฐ
ที่ดำเนินการอยูแลวกับ NDTP ทำให SMEs ไมจำเปนตองลงทุนสราง
ระบบเอง และตองผานตัวกลาง แตการเชื่อม (Plug-in) แพลตฟอรม
ที่มีอยูแลวเขา กับ NDTP จะทำให SMEs ไทยเขาถึงตลาดตา งประเทศ
ไดงา ยและสะดวกมากขึน้
4.2 ขอ คดิ เหน็ ดา นการปรับโครงสรา งการคา ของไทย

4.2.1 การปรับนโยบายการคาของไทย เนนการเขาสู
ตลาดใหมๆ ลดการพึง่ พาตลาดเดิม

ถึงแมในชวงการระบาดของโควิด 19 จะมี
ผลกระทบตอการคาระหวางประเทศ ทั้งการนำเขาและการสง ออก
แตการคาระหวางประเทศจะยังคงเปนกิจกรรมสำคัญสำหรับ
เศรษฐกิจไทยตอไป แตหลังวิกฤตโควิด 19 การคาโลกจะมีความซับซอน
มากขึ้น มีการแขงขันที่รุนแรงยิ่งขึ้น และมีแนวโนมที่มีการดำเนิน
มาตรการกีดกันทางการคามากขึ้น รวมทั้งความกังวลตอเรื่องสงคราม
การคาระหวางสหรัฐอเมริกาและจีน ก็ยังคงมีอยู ซึ่งอาจจะทำใหไทย
ยังคงตองเผชิญกับความผันผวนทางการคา ซึ่งแมในภาพรวม
ผูประกอบการไทยจะสามารถปรับตัวรองงรับสงครามการคาได
ในระดับหนึ่งแลว แตยังคงตองติดตามตอไป เพราะอาจมีนโยบาย
หรอื มาตรการรูปแบบใหม ๆ ออกมา

๗๗

นอกจากน้ี สถานการณโควิด 19 ยังเปนตัวเรง
สำคัญที่ทำใหไทยตองพิจารณาถึงการปรับแนวนโยบายเศรษฐกิจ
การคาของไทย เนื่องจากในอนาคตรูปแบบการคาหลังโควิด 19
จะเปลี่ยนไป ในขณะที่โครงสรางการสงออกสินคาไทยซึ่งพึ่งพิง
ตลาดจีนคอนขางมาก จากการที่ไทยเปนโซขอหนึ่งของหวงโซ
อุปทานจีน และสวนใหญการสงออกไปจีนยังเปนสินคาวัตถุดิบ
และกึ่งวัตถุดิบที่มูลคาเพิ่มต่ำ ซึ่งผลกระทบจากโควิด 19 ทำให
เห็นไดชัดเจนวา ไทยจำเปนตองหันมาพึ่งพาประเทศในภูมิภาค
หรือการผลิตในประเทศมากขึ้น เพื่อเปนการกระจายความเสี่ยง
และลดการพึ่งพาจากแหลงใดแหลงหนึ่งมากเกินไป โดยตองเพิ่ม
ความยืดหยุนใหกับหวงโซการผลิต ซึ่งอาจพิจารณาเลือกแหลงลงทุน
จากปจจัยตาง ๆ ท้ังเร่ืองทรัพยากรธรรมชาติ แรงงานท่ีมีคุณภาพ
และคาจางไมสูง ระยะทางไมหางจากประเทศไทยมาก เพื่อความสะดวก
ในการติดตามดแู ลการผลติ อยางใกลช ิด มคี วามพรอ มดานโครงสราง
พื้นฐาน อัตราภาษแี ละสิทธิพิเศษทางการคา และกฎระเบียบตาง ๆ

ทั้งนี้ การสรางพันธมิตรทางการคา จะเปนเรื่อง
ที่สำคัญมาก โดยเฉพาะเพื่อชวยเติมเต็มหวงโซการผลิตของไทย
และเปนสวนหนึ่งของหว งโซก ารผลติ ในภูมิภาค (Regional Supply
Chain) และชว ยสนบั สนุนเร่ืองการขจดั ปญหาและอุปสรรคทางการคา
รวมทั้งชวยเพิ่มขีดความสามารถใหกับไทย เนื่องจากประเด็น
สงครามการคาระหวางสหรัฐอเมริกาและจีนที่เกิดขึ้นระหวาง
ป 2561 - 2562 มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการคาตลอด
โดยเฉพาะเรื่องภาษี ทำใหบริษัทและกลุมอุตสาหกรรมตาง ๆ
เร่ิมเปล่ียนเปา หมายยา ยฐานการผลติ ไปยงั ตลาดใหม ๆ

๗๘

ดังนั้น การเพิ่มขีดความสามารถทางคาของไทย
ในอนาคต จึงจำเปนอยางมากท่ีไทยตองเดินหนาผลักดันการเจรจา
การคาทั้งในรูปแบบทวิภาคี (Bilateral) การรวมกลุมในภูมิภาค
(Regional) และในระดับพหุภาคีภายใต WTO ซึ่งขณะน้ี ไทยยังคง
มกี รอบความตกลงทยี่ ังอยูระหวางการศึกษาและมีการเจรจาคงคางอยู
ไดแก ไทย - ตุรกี ไทย - ปากีสถาน ไทย - ศรีลังกา ไทย - อังกฤษ
ไทย - EFTA และ ไทย - EAEU รวมถึงไทยควรพิจารณาเขารวม
การเจรจาเพื่อเปนพันธมิตรทางการคาในกรอบความตกลงใหม ๆ
ในระดับภูมิภาค เชน ความตกลงที่ครอบคลุมและกาวหนาสำหรับ
หุนสวนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟก หรือ CPTPP (Comprehensive
and Progressive Trans-pacific Partnership) ที่จะชวยยกระดับ
มาตรฐานการผลิตสินคาไทย ตลอดจนการประกอบธุรกิจ การทำการคา
และการปรับปรุงกฎระเบียบเพื่อใหสอดคลองกับมาตรฐานทางการคา
และประเด็นดา นส่ิงแวดลอม เปน ตน ซงึ่ หนวยงานท่เี กย่ี วของจะตอ งเรง
ศึกษาความไดเปรียบและประโยชนจากการเขารวมกรอบความตกลง
การคา ตา ง ๆ เพ่ือชวยเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง ขนั ใหกับไทย
ทั้งในดานเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ตลอดจนเพิ่มพูน
ความนาลงทุนของประเทศในบทบาทการเปนฐานการผลิตในหวงโซ
อุปทาน (Supply Chain) ของภูมภิ าคอีกดว ย

อยางไรก็ตาม การพิจารณาเขารวมเจรจากรอบ
ความตกลงตาง ๆ จำเปนที่หนวยงานที่เกี่ยวของตองมีกลไก/มาตรการ
ทั้งในการชวยเหลือเยียวยา และการปรับตัวใหกับผูไดรับผลกระทบ
รวมถึงการสรางขีดความสามารถในการแขงขันใหก ับผูประกอบการไทย
ในสนิ คาเกษตรและสินคาอตุ สาหกรรม ซ่ึงกระทรวงพาณิชยควรเรง
ผลักดนั จดั ตงั้ กองทนุ หมุนเวยี นเพ่ือสรางขีดความสามารถในการแขงขัน

๗๙

ใหกับผูประกอบการไทย (กองทุน FTA) เพื่อใหกองทนุ ดังกลา วสามารถ
ตอบสนองความตองการของเกษตรกรและเขาถงึ กลุมเปา หมายที่แทจริง
เพ่ือชวยยกระดบั ขีดความสามารถของผูประกอบการไทย เน่ืองจาก
กองทุนอื่น ๆ ที่มีอยูในปจจุบัน ยังไมครอบคลุมกลุมผูไดรบั ผลกระทบ
จากการเปด เขตเสรที างการคา

4.2.2 การสงเสริมการคาภาคบรกิ าร
1) การสงเสริมดานพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

(E - Commerce)
มูลคาตลาดพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของไทย

ป 2561 คือ 195,000 ลานบาท และคาดการณวา ในป 2568
จะมีมูลคา 1.2 ลานลานบาท โดยจำนวนสินคาพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
ในป 2561 มีประมาณ 47 ลานชิ้น และในป 2562 เพิ่มขึ้นเปน
174 ลานช้นิ ท้ังน้ี ในป 2562 เปน สินคา จากตางประเทศ (สนิ คา จากจีน
รอยละ 90) และเปนสินคาภายในประเทศรอยละ 23 ซึ่งเปนกลุม
สินคา อาหาร เครอื่ งดืม่ และผลิตภณั ฑเ สรมิ ความงาม เปน ตน

อยางไรก็ตาม ประเด็นปญหาดานพาณิชย
อิเล็กทรอนิกส มีประเด็นเรื่องการทะลักเขาของสินคาจีนผาน
แพลตฟอรม พาณชิ ยอิเล็กทรอนิกส มีแนวโนมมากข้นึ อยางตอเนื่อง
และอาจสงผลกระทบตอสินคาไทยในระยะยาว เนื่องจากสินคาจีน
มีราคาถูก ดังนั้น รัฐบาลจำเปนตองมีมาตรการรองรับอยางเรงดวน
โดยมอบหมายหนวยงานที่เกี่ยวของ (กระทรวงการคลัง
กระทรวงพาณิชย กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม)
รวมกันศึกษาวิเคราะหขอมูล และกฎหมายที่เกี่ยวของ รวมถึง
กฎหมายในตางประเทศที่ใชรองรับในการแกไขปญหาแพลตฟอรม
พาณิชยอิเล็กทรอนิกสขนาดใหญผูกขาดสินคาหรือสงผลตอ

๘๐

ความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการไทย เพื่อวาง
แนวทางปองกันผลกระทบใหกับผูประกอบการไทย และเพื่อให
ผูประกอบการไทยสามารถแขงขันได

นอกจากนี้ รัฐบาลตองมีเปาหมายชัดเจน
ในการกำหนดนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจแพลตฟอรม (Platform
Economy) วา จะสนับสนุนภาคเอกชนในการสรางแพลตฟอรม
ของไทยเอง หรอื สนบั สนุนใหผ ปู ระกอบการไทยใชแ พลตฟอรมขนาดใหญ
ทีม่ อี ยูแ ลว (Shopee, Lazada, JD.com) ในการประกอบธุรกิจคาขาย
ออนไลน ซึ่งทัง้ 2 รปู แบบ ตางมขี อ ดีขอเสยี แตกตางกนั คอื

- แพลตฟอรมที่ไทยพัฒนาเอง ซึ่งไมจำเปนตอง
เปนแพลตฟอรมใหญเหมือนของตางชาติ โดยสวนใหญจะเปน
แพลตฟอรมที่พัฒนาโดยกลุม Startup เชน Farmto.com, หรือ
การพัฒนาแพลตฟอรมตาง ๆ ของภาครัฐที่ไดด ำเนินการอยูแ ลวท้งั
ในรูปแบบ B2B และ B2C เชน ThaiTrade.com ของกรมสงเสริม
การคาระหวางประเทศ Khongdeetourthai.com ของกรมพัฒนา
ธุรกิจการคา เปนตน ซึ่งแพลตฟอรมที่พัฒนาในไทยมีประโยชน
ในดานของขอมูลขนาดใหญ หรือ Big Data ซึ่งเปนขอมูลที่ไทย
สามารถเกบ็ ไดเอง นำมาวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค รวมถึงการพฒั นา
ตลาดและสินคาตอไปในอนาคต ซ่ึงจะมปี ระโยชนตอภาคธุรกิจไทย
เปน อยางมาก

- การใชแพลตฟอรมบนสื่อ Social Media ที่มีอยูแลว
อาทิ Facebook, IG, Line, Twitter, หรือ E-marketplace ที่เปนลักษณะ
community ของกลุมตาง ๆ หรือแพลตฟอรมขนาดใหญที่มีอยูแลว
อาทิ Shopee, Lazada, Amazon, JD.com ซ่งึ ผปู ระกอบการและธุรกิจ
สามารถดำเนินการไดงาย ไมยุงยาก และการเขาถึงของกลุมลูกคา

๘๑

และผบู รโิ ภคมีมาก สามารถดำเนินธุรกิจไดอยา งรวดเร็ว แตม ีขอจำกัด
เรื่องขอมูล เนื่องจากการจัดเก็บขอมูลในรูปแบบ Big Data เจาของ
แพลตฟอรมน้ัน ๆ จะเปนผูเก็บขอมูลเอง ทำใหภาครัฐหรอื ธรุ กิจไทย
ไมมีขอมูลพฤติกรรมผูบริโภค หรือขอมูลดานสินคา ในรูปแบบของ
Big Data ที่จะนำมาใชประโยชน เพื่อการพฒั นาธุรกจิ ตอไปในอนาคต

2) การสงเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ (Health
Care)

จากการแพรระบาดของโควดิ 19 ทำใหโ อกาส
ของธรุ กิจบรกิ ารสุขภาพ ซงึ่ เปน ธุรกิจท่เี กี่ยวของกับการดูแลสุขภาพ
โดยบุคลากรทางการแพทยในโรงพยาบาลและจากหนวยบริการสุขภาพ
อื่น ๆ รวมถึงความตองการในการบริโภคสินคาและบริการเพื่อสุขภาพ
จะมีแนวโนมเติบโตอยางมาก และจะมีการแขงขันกันมากขึ้น
ซึ่งประเทศไทยจะยิ่งมีโอกาสมากขึ้นจากการมีชื่อเสียงและมี
ศักยภาพในการบริหารจัดการสถานการณโควิด 19 ทำใหเปน
โอกาสสำหรับนักลงทุนและผูป ระกอบการรายใหมท่ีจะสนใจเขามา
ลงทุนในธุรกิจบริการสุขภาพมากขึ้น ในการสรางธุรกิจใหม ๆ
ในสาขาดังกลาว ประกอบกับการพัฒนาดานเทคโนโลยีของ
อุตสาหกรรมดานสุขภาพที่มีมาตรฐาน ซึ่งทำใหสามารถตอบสนอง
ความตองการของผูบริโภคไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสงผลให
ธุรกิจที่เกี่ยวของกับดานสุขภาพไมวาจะเปนอุปกรณการแพทย
วิตามิน อาหารเสริมตาง ๆ ไดรับผลดีจากปจจัยสนับสนุนดังกลาว
ขางตนดวยเชนกัน ดังนั้น เปนโอกาสที่ดีที่ไทยจะเดินหนาผลักดัน
ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ
รวมถึงการพัฒนาการผลิตอุปกรณเครื่องมือแพทยสำหรับการสงออก
(ไทยสามารถผลิตอุปกรณชุดเครื่องมือแพทยได เชน ชุดอุปกรณ

๘๒

ปองกนั ความปลอดภยั หรอื PPE (Personal Protective Equipment),
การผลิตหนากากอนามัย, การผลิตถุงมือทางการแพทย เปนตน)
ซึ่งในอนาคตจะตองมีการพิจารณาเรื่อง Economy of scale วา
ไทยมีศักยภาพทางดานการผลิตที่ทำใหตนทุนตอหนวยลดลงและ
ทำใหไทยกลายเปนผูสงออกสำคัญไดในท่สี ดุ รวมท้งั ตอ งมีการพิจารณา
ความตองการของตลาดและคูแขง เพื่อนำมากำหนดเปนยุทธศาสตร
ผลักดันการสงออกอุปกรณและเครื่องมือแพทยต อไป

นอกจากนี้ บริการดานการรักษาพยาบาลของไทย
ถือวา มีประสิทธิภาพสูง จากคุณภาพของบุคลากรทางการแพทย
และสถานพยาบาลที่ไดมาตรฐานนานาชาติ Joint Commission
International (JCI) สงู ถงึ 51 แหง ทง้ั นี้ การพัฒนาดา นดจิ ทิ ัล 5G
ปญญาประดษิ ฐ (Artificial Intelligence: AI) บลอ็ กเชน (Blockchain)
และอินเตอรเน็ตในทุกสิ่ง (Internet of Things: IoT) ไดเขามา
มีอิทธิพลทางการแพทยเพิ่มขึ้นในการพัฒนาขีดความสามารถ
ในการนำเทคโนโลยีมาประยุกตใชในการวิเคราะหขอมูลดาน
สุขภาพเชิงลึกและการใหคำปรึกษาผูปวย ประกอบกับการวางกรอบ
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศสุขภาพ หรือ eHealth Strategy
ขององคการอนามัยโลก (World Health Organization: WHO)
สงผลใหหลายประเทศรวมถึงประเทศไทย มีการวางยุทธศาสตร
พัฒนาระบบสาธารณสขุ ไปสูการเปน eHealth ทั้งในดานการใหบริการ
ทางการแพทย การวางมาตรฐาน และโครงสรางพื้นฐาน รวมถึง
การออกกฎหมายรองรับและการพัฒนาบุคลากร ซึ่งแนวโนม
ทางการแพทยทจ่ี ะมีการพัฒนาในอนาคต

๘๓

ทั้งน้ี การบริการทางสาธารณสุขที่รองรับการใช
เทคโนโลยีใหบริการ จำเปนตองคำนึงถึงความปลอดภัยของผูปวยและ
แพทยมีความรับผิดชอบเกี่ยวพันกับกฎหมายหลายฉบับ ขณะเดียวกัน
แพทยท่ดี ำเนินการทางเวชกรรมผานระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine)
ก็มีความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการที่มิไดทำการตรวจผูปวยหรือ
ขอคำปรึกษาโดยตรง ทำใหม ขี อ จำกัดของขอมูลในการใหคำปรึกษา
ปญหาในการใหบริการโทรเวชดงั กลาว จึงถือเปนความทาทายของ
ทกุ ประเทศท่ใี ชร ะบบโทรเวชกรรม

อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2563
ไดมีประกาศราชกิจจานุเบกษา ประกาศแพทยสภา ที่ 55/2563
เรื่อง แนวปฏบิ ัติการแพทยทางไกลหรือโทรเวช (telemedicine) และ
คลินกิ ออนไลน เพือ่ กำหนดหลักเกณฑการใหบ ริการการแพทยทางไกล
ซึ่งใหเวลาทุกฝายในการปรับตัว 90 วัน เพื่อให startup ไทย
หลายบริษัทท่หี ันมาใหบริการดาน health tech มากข้ึน และใหบริการ
การแพทยท างไกลอยูแ ลว สามารถไปจดทะเบยี นเพ่อื เปนสถานพยาบาล
ตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541 ไดเลย ดงั นั้น รัฐบาล
จึงควรพิจารณาทบทวน/ปรับปรุง กฎหมายสาธารณสุขที่เกี่ยวของ
เพือ่ รองรับการพัฒนาของเทคโนโลยที ่ีเปนไปอยางรวดเรว็ และเพื่อ
เปนประโยชนทั้งกับคนไขและบุคลากรทางการแพทย อาทิ
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 ควรแกไขเพิ่มเติม
เพื่อเปดชองใหสามารถใชระบบการแพทยทางไกลได เพื่อสงเสริม
ระบบโทรเวชกรรม หรือสามารถนำหุนยนตมาใชในการรักษาพยาบาล
ไดในสถานพยาบาล และควรกำหนดมาตรฐานใหชัดเจน /
พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย พ.ศ. 2551 ควรมีการแกไข
กฎหมายโดยการผอนปรนใหโฆษณาไดมากขึ้น แตยังคงสอดคลอง

๘๔

กับมาตรฐานวิชาชีพและยังคงคุมครองผูบริโภคได และควรมี
การกำหนดแนวปฏิบัติใหชัดเจนเพื่อใหผูประกอบการทราบวา
กรณใี ดสามารถโฆษณาได และกรณีใดโฆษณาไมได

3) การสง เสรมิ การทองเท่ยี วเชิงสุขภาพ (Medical
Tourism) ซึ่งเปนผลมาจากมาตรการควบคุมการแพรระบาดของ
โควิด 19 ที่ไดผลดียิ่ง ซึ่งเกิดจากความเขมแข็งของทองถิ่นที่เขามามี
บทบาทอยางมาก ในการดำเนินมาตรการดานสาธารณสุข และ
ความรวมมือของประชาชน ทำใหประเทศไทยไดรับการชื่นชมจาก
ทั่วโลกสงผลตอภาพลักษณของอุตสาหกรรมทองเที่ยวไทยใน
อนาคต และในขณะเดียวกัน ชวงนี้แหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติของ
ไทยไดร ับการฟนฟู และทำใหธ รรมชาติย่ิงมีความสวยงามมากขนึ้ จึงมี
แนวโนมที่อนาคตขางหนา ประเทศไทยจะเปนจุดหมายปลายทาง
สำคัญสำหรับนักทองเที่ยวทั่วโลกภายหลังที่ทั่วโลกฟนตัวจากวิกฤต
โควิด 19 ทั้งนี้ หากไทยมุงมั่นพัฒนาเพื่อเตรียมความพรอมสำหรับ
โอกาสขางหนา รวมถึงเชื่อมโยงกับศักยภาพในดานการผลิต
ในอตุ สาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย และอุตสาหกรรม
ยาและเครื่องสำอาง รวมถึงธุรกิจบริการเพื่อความงามและสุขภาพ
(Wellness) ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพดานการแพทยแผนโบราณ
แพทยแผนไทย และการรกั ษาดว ยสมุนไพรทีห่ ลากหลายรวมทัง้ การ
จัดการทองเที่ยวในรูปแบบ Wellness Tourism อยางครบวงจร
ทำใหมีโอกาสสรางมูลคาเพิ่มใหกับเศรษฐกิจไทยไดอีกมาก โดยการ
กระจายฐานการผลิตไปในพื้นที่ตาง ๆ ทั่วไทยท่ีมีความพรอม ก็จะ
เปน การกระจายสรางงานใหกับชุมชนและกลุม เศรษฐกิจฐานรากได
อีกทั้ง ยังเปนการสงเสริมใหสินคาทองถิ่นไทยไมวาจะเปนสินคา
OTOP สินคา GI สินคาที่ผลิตจากกลุมชุมชนหรือวิสาหกิจชุมชนที่

๘๕

แสดงถึงอัตลักษณของคนทองถิ่น และเปนสินคาที่มีเสนหและมี
เอกลักษณ บงบอกถึงความเปนไทยและมีลักษณะเฉพาะ ได
กลายเปน สินคา ประจำถ่ินท่ชี วยสรา งรายไดใหกับคนในพน้ื ที่ อันจะ
เปน การสรางรากฐานใหเ ศรษฐกจิ ชมุ ชนมคี วามเขม แข็งไดตอไป

ดังนั้น จึงควรมีการกำหนดนโยบายเพื่อเรง
ดำเนนิ การในสวนที่เกย่ี วของ ดงั น้ี

(1) พิจารณาการสนับสนุนการผลิตสินคา
ในทองถิ่น โดยการใหคำแนะนำอยางครบวงจรตั้งแตการออกแบบ
รูปลักษณ ดีไซน สินคาที่ตอบโจทยความตองการของผูบริโภค และ
เพ่ือชว ยสรา งมลู คาเพิ่มใหก ับสินคา

(2) สงเสริมความรูในการจำหนายผาน
ชองทางออนไลน ซึ่งอาจไมจำเปนตองเปนแพลตฟอรมใหญ
แตอาจเปน e-Marketplace ในลักษณะ Community ซึ่งขณะนี้
เกิดขึ้นมากในเฟซบุก เชน ชุมชนตลาดออนไลนของมหาวิทยาลัย
ชุมชนตลาดออนไลนหมูบา น เปน ตน เพื่อเปนการกระตุนเศรษฐกิจ
ในระดับฐานรากใหสามารถเรียนรูวิธีการทำมาคาขายได กอนที่จะ
พัฒนาและยกระดบั กจิ การตอไป

(3) เรงพิจารณาปรับปรุงแกไขกฎระเบียบ
ตาง ๆ ที่เปนอุปสรรคตอการสงเสริมการผลิตในอุตสาหกรรม
ที่ชวยสงเสริมใหไทยเปนฮับ (Hub) ดานการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
อยางครบวงจร และควรกำหนดแผนยุทธศาสตรอยางชัดเจน
รวมทัง้ ควรมีการศึกษาศักยภาพของประเทศอนื่ ๆ ท่ีมีแนวนโยบาย
จะผลักดันการทองเที่ยวเชิงสุขภาพเหมือนกัน โดยเฉพาะอินเดีย
เพื่อใหไทยมีจุดแข็งและมีความแตกตาง สามารถผลักดันให

๘๖

การทอ งเทีย่ วเชงิ สุขภาพของไทยเกิดความยั่งยืนและสามารถพึ่งพา
ตนเองไดแมใ นยามเกิดวิกฤตในอนาคต

4) การสงเสริมธุรกิจดิจิทัลคอนเทนต (Digital
Content)

ภาคธุรกิจบริการที่ใหญมากภาคหนึ่งของ
ประเทศ คือ ธุรกิจดิจิทัลคอนเทนต หรือ ธุรกิจที่เกี่ยวกับการผลิต
ภาพยนตร เอนิเมชัน การทำโฆษณา เพลง เกมส การตูนในหลากหลาย
รปู แบบ โดยมลู คาของธุรกจิ ในสวนนีร้ วมกันในแตละปของประเทศไทย
มีมูลคาประมาณ 110,000 ลานบาท รัฐบาลจึงควรสนับสนุน
ธุรกิจดิจิทัลคอนเทนตใหเติบโตมากยิ่งขึ้นทั้ง 1) การสราง
แพลตฟอรมดิจิทัลคอนเทนตไทยแลนด เพื่อเปนศูนยรวมขอมูล
และศูนยรวมการทำธุรกิจทั้งในตลาดในประเทศและตลาด
ตางประเทศของภาพยนตร ละคร แอนิเมชัน อีสปอรต เพลง หรือ
ธุรกิจการตูนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งในเรื่องของการศึกษา หรือ
e-learning 2) การปรับรูปแบบของการจัดนิทรรศการ ซึ่งเดิมใช
กระบวนการจับคูธุรกิจ ใหผูซื้อจากตางประเทศเดินทางมาพบกับ
ผูขายหรือผูผลิตดิจิทัลคอนเทนตในไทย แตปจจุบันสถานการณ
ไมเอื้ออำนวย จะปรับเปลี่ยนไปในรูปแบบการจับคูธุรกิจออนไลน
ใหมากขึ้น ทง้ั สง เสริมตลาดในประเทศและสงเสริมตลาดในตางประเทศ
โดยจะจัดใหถี่ขึ้นและโฆษณาประชาสัมพันธใหมากขึ้น เพื่อเปด
โอกาสใหธุรกิจนีเ้ ตบิ โตไดเ ร็วขึ้น และ 3) การสงเสริมการผลติ คอนเทนต
(Content) ของไทย เพอ่ื สรา งแบรนดข องไทยข้นึ มา

4.2.3 การผลกั ดันการคาชายแดนและผานแดน
จากแนวโนมการคาโลก ที่คาดวาจะมี

ปริมาณลดลง โดยแตละประเทศจะหันมาพึ่งพิงการบริโภคในประเทศ

๘๗

มากขึ้น แตประเทศไทยมีโอกาสในการผลักดันใหการคาชายแดน
(Border Trade) เติบโตและขยายตวั ข้นึ มาก ซ่งึ แมในชวงโควิด 19
มูลคาการคาชายแดนของไทยในชวง 3 เดือนแรกของป 2563
(ม.ค.-มี.ค.) จะลดลง เนื่องจากปญหาการล็อคดาวน และการปดดาน
ทำใหสงออกสินคาไมได แตในระยะยาว การคาชายแดนจะยิ่งมี
บทบาทสำคัญกับประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากประเทศไทยมีดาน
การคาสำคัญที่สามารถผลักดันการสงออกไปยังประเทศที่สามหรือ
การคาผานแดนได (สิงคโปร - จนี ตอนใต - เวยี ดนาม)

ทั้งนี้ จากสถานการณโควิด 19 ที่ทำให
แนวนโยบายการคาของประเทศตาง ๆ มาใชนโยบายปกปอง
ทางการคาและ/หรือมีมาตรการนำเขาสินคาที่เขมงวด มีการนำ
มาตรการที่มิใชภาษี (Non- Tariff Measures: NTMs) มาใชเ พิม่ มากขึน้
ขณะที่การสงออกของไทยตองเผชิญการแขงขันที่มากขึ้นจากประเทศ
เศรษฐกิจเกิดใหม (Emerging Economies) ซึ่งหากสินคาไทย
ไมสามารถสรางความแตกตางที่เปนที่ตองการของผูบริโภคแลว
ก็จะสงผลใหการขยายตลาดสินคาในตางประเทศของไทยมีคูแขง
เพิ่มมากขึ้น และมีความยากลำบากขึ้นตามลำดับ ภายใต
สภาวการณเชนนี้ ไทยควรหันมาใหความสำคัญกับตลาดประเทศ
เพื่อนบานและประเทศใกลเคียงในภูมิภาค ซึ่งเปนภูมิภาคที่มี
การเติบโตทางเศรษฐกิจสูงและจะเปนเครื่องยนตในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจโลกในอนาคตอันใกล โดยเฉพาะประเทศเมียนมาซึ่งเปน
ประเทศที่เชื่อมโยง 2 ประเทศกำลังพัฒนาที่มีประชากรมากที่สุด
ในโลก คือ จีน และ อินเดีย โดยใชประโยชนจากความไดเปรียบ
ดานทำเลที่ตั้ง การเชื่อมโยงในภูมิภาค ความตกลงการคาเสรี

๘๘

ความคลายคลึงของขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม พฤติกรรมผูบริโภค
ท่ีเช่อื มัน่ ในคุณภาพ และช่ืนชอบสนิ คา ไทย เปนตน

ไทย - เมียนมา - อินเดีย - เอเชียใต
ในอนาคต เสน ทางฝง เมยี นมาจะสามารถเช่ือมตอไปยังตลาดเอเชียใต
(บังคลาเทศ เนปาล และอินเดีย) โดยเฉพาะอินเดีย ที่เปนตลาด
ขนาดใหญ มีประชากรกวา 1.3 พันลานคน โดยมี รัฐมณีปุระ ซึ่งมี
พรมแดนติดกับประเทศเมียนมา ที่ไทยสามารถสงออกสินคาผานแดน
ไปยงั อนิ เดียได

รัฐมณีปุระ มีประชากรรวมท้ังสิ้นประมาณ
3 ลานคนหรือประมาณรอยละ 0.30 ของประชากรทั้งประเทศอินเดีย
โดยท่ีสินคาเสื้อผาแฟชั่นของไทยเปนที่นิยมของคนทองถิ่นเนื่องจาก
รูปแบบดีไซนและสีสันสวยงามทันสมัย อีกทั้งคุณภาพดีใชไดนาน
และทน โดยที่การนำเขาสินคาไทยไมยุงยากเนื่องจากมีตัวแทน
(AGENCY) นำเขา สินคาอยใู นประเทศเมยี นมาประสานกบั ผูสงออกไทย
ใหจัดสินคาตามคำสั่งซื้อของรานและบรรทุกสินคาผานเมืองตามู
(TAMU) ของเมียนมาประมาณ 3 กิโลเมตรถึงชายแดนติดกับเมือง
มอเรห (MOREH) ของอินเดีย แลวจางคนทองถิ่นเปนกองทัพมดแบก
สินคาผานดานคนเขาเมือง “INDO MYANMAR FRIENDSHIP GATE”
หลังจากนั้นใชรถบรรทุกเล็กขนสงสินคาระยะทางประมาณ 110
กิโลเมตรถึงเมืองอิมฟาล รัฐมณีปุระ ใชเวลาประมาณ 4 ชั่วโมง
เนื่องจากเสนทางขรุขระ คดเคี้ยวอยูบนภูเขาที่สลับซับซอนประมาณ
65 กิโลเมตร รวมระยะเวลาทั้งสิ้นไมนอยกวา 16 วัน นับตั้งแตสั่งซ้ือ
สินคาจนกระทั่งสินคามาถึงเมืองอิมฟาล โดยที่เมืองมอเรหมีชายแดน
ติดกับเมียนมา เปนดานตรวจคนเขาเมืองสำคัญที่มีการพัฒนา
อยางรวดเร็วและกลายเปนศูนยกลางการคาชายแดนกับเมืองตามู

๘๙

ของเมียนมา ปจจุบันไดชื่อวาเปนเมืองหลวงทางการคาของรัฐฯ
และคาดวาอีกประมาณ 10 - 20 ปขางหนา จะกลายเปนเมือง
ท่ีพลุกพลา นจอแจ

ทั้งนี้ เมืองมอเรห รัฐมณีปุระ จะกลายเปน
ประตูสำคัญใหอินเดียเปดไปมาหาสูกับประเทศในกลุมเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใตได โดยการคาชายแดนและการคาผานแดน
จะกลายเปนตลาดใหญที่มีบทบาทในการฟนฟูสภาพเศรษฐกิจ
โดยรวมของประเทศได โดยตองมุงเนนพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก
(Facility) ตามดานชายแดน เพื่อใหมีการเชื่อมอยางไรรอยตอ
กับประเทศที่สาม และการเก็บขอมูลเกี่ยวกับขอกำหนด/ระเบียบ
ตาง ๆ (Regulation) ในการสงออกไปยังประเทศที่สาม ซึ่งในอนาคต
จะมบี ทบาทสำคัญมากขึน้ ในฐานะเปน Regional Supply Chain

นอกจากนี้ ไทยสามารถอาศัยกลไก
ความรวมมือภายใตกรอบ BIMSTEC (Bay of Bengal Initiative
for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation)
เปนพื้นฐานในการเขาสูตลาดสินคา รวมถึงขยายการคาและ
การลงทุนในเอเชียใตไดมากขึ้น เนื่องจากผูบริโภคในเอเชียใต
มีความตองการสินคาที่หลากหลายตามกำลังซื้อที่ขยายตัวมากขึ้น
สินคาที่ไทยมีโอกาสขยายตลาด ไดแก สินคาอุปโภค และบริโภค
เครื่องใชไฟฟา เครื่องจักร รถยนตและอุปกรณ นอกจากนั้น
ภูมิภาคนี้ยังสามารถเปนแหลงวัตถุดิบแหลงใหมของภาคการผลิต
ของไทย รองรบั การกระจายความเสี่ยงและลดภาวะพง่ึ ตลาดสง ออกเดมิ
ที่มีอยูแลว รวมทั้งสงเสริมการปรับมาตรฐานและกฎเกณฑของไทย
ใหสอดคลองและเปนมาตรฐานเดียวกันกับประเทศสมาชิกอื่น ๆ
เพื่อสงผลใหเกิดการอำนวยความสะดวกทางการคาเพิ่มขึ้น รวมถึง


Click to View FlipBook Version