The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tuahuay, 2022-12-03 19:44:41

รายงานพิจารณาศึกษา ข้อเสนอทิศทางประทศไทยหลังวิกฤตโควิด ๑๙ ในด้านการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม

สำนักกรรมาธิการ๑

๙๐

เสริมสรางและยกระดับความสัมพันธและความรวมมือทางเศรษฐกิจ
ระหวางประเทศคูขนานกับความสามารถในการใชประโยชนจาก
ความเชอ่ื มโยงดา นการคมนาคม อาทิ ถนน และทา เรอื

ไทย - จีน (ตอนใต) ผลจากโควิด 19
จะทำใหการจัดระเบียบโลกใหม (New World Order) เริ่มชัดเจนมากข้ึน
และจีนจะเปนผูเลนที่มีบทบาทสำคัญกับเศรษฐกิจโลกอยางมาก
ดังนั้น ไทยจะตองใชความไดเปรียบและประโยชนจากเสนทาง
โลจิสตกิ สท่ีไทยสามารถผลักดันการคา ผานแดนจากไทยไปยังจนี ตอนใต
ไดแก แนวระเบียงยอยดานตะวันตก / เสน ทาง R3B (ไทย - เมยี นมา -
จีนตอนใต) เร่ิมจากกรุงเทพฯ ออกจากไทย ณ ดานแมส าย - ทา ขี้เหล็ก
(รัฐฉาน เมยี นมา) - เชียงตงุ - เมอื งลา - ตา ล่ัว (ยนู นาน) - รวมกบั R3A
ท่ีเชยี งรุง (หรอื จง่ิ หง) - นครคุนหมงิ ระยะทาง 1,383 กม. ใชเ วลา 45 ชม.
(ยังไมสามารถใชไดตลอดเสนทาง เนื่องจากสถานการณทางการเมือง
ของเมียนมา) ซึ่งจำเปนจะตองมีการผลักดันการเจรจากับเมียนมา
เพื่อใหสามารถใชเสนทางไดรอยละ 100 และแนวระเบียงยอย
ดานตะวันตก / เสนทาง R3A (ไทย - ลาว - จีนตอนใต) เริ่ม จาก
กรุงเทพฯ ออกจากไทย ณ ดานเชียงของ - ผานดานหวยทราย
(แขวงบอแกว สปป.ลาว) - ดานบอเต็น แขวงหลวงน้ำทา - เขาสูจีน
ณ ดานโมฮัน (Mohan) - นครคุนหมิง มณฑลยูนนาน ระยะทาง
รวม 1,858 กม. ใชเวลามนการเดนิ ทางประมาณ 50 ช่ัวโมง

ทั้งนี้ เสนทางตามแนวระเบียงเศรษฐกิจน้ี
เปนโอกาสท่สี ำคัญของไทยทท่ี ้งั ดา นการคา การลงทนุ และโอกาสอื่น ๆ
ทางเศรษฐกิจ ที่จะสามารถเชื่อมโยงกับจีนไดโดยตรง และจะเปน
โอกาสสำคัญที่ทำใหไทยขยายมูลคาการคาระหวางไทย - จีนตอนใต
(มณฑลยูนนาน) เพ่มิ มากข้ึน เน่อื งจากการคาของไทยยังคงกระจุกตัว

๙๑

อยูที่มณฑลกวางตุง) โดยจะตองพิจารณาปรับโครงสรางการสงออก
ในเสนทางจีนตอนใต โดยเนนผลักดันการสงออกสินคาในกลุมสินคา
สำเร็จรูปเพื่อการอุปโภคบริโภคไปปอนผูบริโภคจีนใหมากข้ึน
โดยเฉพาะอยางยิ่งสินคาไลฟสไตล (สินคาอัญมณี ของตกแตงบาน)
โดยกระทรวงพาณิชย จะตองเรงศึกษาแนวโนมของผลิตภัณฑ
คูแขงท่ีกำลังอยูในกระแส อีกท้ังจำเปนตองมีพันธมิตรหรือคูคา
ในจีนที่เชื่อถือได และมีกลยุทธการตลาดที่มุงเจาะผูบริโภคจีน
ในระดับเมือง/มณฑล รวมทั้งตองเลือกชองทางการคาที่เหมาะสม
กับผลติ ภณั ฑท ่ีจะสงออกไปจีน

4.2.4 การพิจารณาปรับปรุงและบังคับใช
กฎหมายที่มีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันใหกับไทย
ไดแก 1) พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว
พ.ศ. 2542 ท่อี าจจำเปน ตองมีการทบทวน/พจิ ารณาปลดล็อคธุรกิจ
ตามบัญชีสาม (ธุรกิจที่ไทยยังไมมีความสามารถในการแขงขัน
กับนักลงทุนตางชาติ) ซึ่งในบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เปนไป
อยางรวดเร็ว การพิจารณาทบทวนดังกลาว ตามสภาวการณ
ทางเศรษฐกิจ การลงทุน และการคา ระหวา งประเทศ รวมถึงแนวโนม
การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของโลก ทั้งนี้ เพื่อเรงใหผูประกอบการ
ในประเทศปรับตัวและแขงขันไดภายใตสถานการณตาง ๆ ที่ดำเนินไป
อยางรวดเร็ว โดยเฉพาะในยุคโควิด 19 ที่เปนตัวเรงสำคัญที่อาจจะ
ทำใหเ กดิ ธุรกิจแบบใหมมากขน้ึ และ 2) พระราชบัญญัตกิ ารแขงขัน
ทางการคา พ.ศ. ๒๕๖๐ ในประเด็นเรื่อง เกณฑอำนาจเหนือตลาด
เปนการเฉพาะสำหรับธุรกิจ e-Commerce ที่มีความคลองตัว
และสามารถนำมาใชกับสถานการณการคาที่มีการเปลี่ยนแปลง
อยางรวดเร็ว การเพิ่มบทบัญญัติใหชัดเจนเกี่ยวกับอำนาจของ

๙๒

สำนักงานคณะกรรมการการแขงขันทางการคาในการตรวจสอบ
พฤติกรรมของบริษัทที่จดทะเบียนในตางประเทศ แตอาจมี
ผลกระทบตอการแขงขันที่เปนธรรมในประเทศไทย และอำนาจ
ในการเรียกขอมูล และบทลงโทษในกรณีไมใหความรวมมือ การเพิ่ม
ขอกำหนดเกี่ยวกับแพลตฟอรมตางประเทศ โดยใหรวมถึง cross
border e-Commerce และการเพิ่มเติมมาตรการเกี่ยวกับโปรแกรม
ผอนปรน (Leniency Program) ใหชัดเจน เพื่อยกเวนโทษหรือลดโทษ
ใหแกผูกระทำผิดแลวมาสารภาพใหขอมูลที่เปนประโยชน ซึ่งเปน
มาตรการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพมากในตา งประเทศ เปน ตน

4.2.5 การสงเสริมความเขมแข็งของเศรษฐกิจ
ฐานราก (Strengthening Local Economies)

การแพรระบาดของโควิด 19 ไดชี้ใหเห็นถึง
จุดออนสำคัญภายในประเทศหลายดาน โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำ
ทงั้ ความเหล่ือมลำ้ ในการเขาถึงเทคโนโลยี หรืออินเทอรเ น็ตความเร็วสูง
ความเหลื่อมล้ำของโอกาสทางการศึกษา และความเหลื่อมล้ำทางดาน
รายได ซึ่งเปนประเด็นสำคัญที่นำมาสูความยากจนของคนในประเทศ
ดังนั้น รัฐบาลและหนวยงานที่เกี่ยวของ จะตองเรงสรางความเขมแข็ง
ของประชาชนในระดับฐานรากและสรางรายไดที่มั่นคงใหกับคนกลุมน้ี
ซึ่งไดรับผลกระทบจากโควิด 19 อยางมาก โดยมีประเด็นที่ควรพิจารณา
ดังนี้

1) การพฒั นาทกั ษะฝม ือแรงงาน เนื่องจาก
ในขณะนี้มีแรงงานในเมืองที่ตกงาน หลั่งไหลกลับภูมิลำเนาและมุงสู
การประกอบอาชีพทางดานเกษตรกรรมมากขึ้น รวมถึงจำนวน
นักศกึ ษาจบใหมที่จะตองมาแขงขันกบั เองกับแรงงานกลุมน้ี และเปน
ชวงที่มีความยากลำบากอยางมากในการหางาน ดังนั้น ภาครัฐควร

๙๓

จะตองหาแนวทางการ Re-skill และ Up-skill ใหแกประชาชน
โดยอาจใชแนวทางเสริมสรางความรูในการประกอบอาชีพดาน
เกษตรกรรมผานชองทางออนไลน (Online Course) ใหมากข้ึน
เพื่อใหประชาชนสามารถเขาถึงไดโดยงาย ทั้งนี้ เพื่อสรางอาชีพใหม
ใหแกประชาชน และสรางภมู คิ ุมกันใหแกช ุมชนในระยะยาวตอ ไป

2) การสรางความเขม แขง็ ในภาคครัวเรอื น
โดยเฉพาะการสงเสริมความรูทางดานการเงิน (Financial
Literacy) ซึ่งมีความเกี่ยวของกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กลาวคือ เมื่อเกิดสถานการณวิกฤติการแพรระบาดของโควิด 19
สง ผลใหส ภาพคลองทางการเงนิ สะดุดลง ทำใหป ระชาชนมีความเขาใจ
มากขึน้ เก่ียวกับการรเู ก็บ รูใช ดังน้นั หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
จะเขามาชวยใหสถานการณทางเศรษฐกิจดีขึ้นไดในขณะนี้
โดยเฉพาะแนวทางการจัดทำบัญชีครัวเรือน ซึ่งปจจุบันองคกร
และสถาบันการเงินในประเทศไทยมีความรูเรื่องทางการเงิน
เปนอยางดี แตยังไมมีการบูรณาการ จึงควรรวมมือกันแบงหนาที่
ซึ่งกันและกัน โดยแตละภาคสวนจัดทำ Digital Platform
เพื่อสนับสนุนความรูเรื่องทางการเงินนี้ นอกจากนี้ ควรใหความรู
และชใี้ หป ระชาชนเห็นตัวอยา งท่ีดีทางการเงิน โดยเปนบทบาทของ
หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสว นที่เกี่ยวของตองบูรณาการ
รวมกันดำเนินการและทำใหสามารถปฏิบัติไดจริง โดยมีเปาหมาย
ใหลงไปสูร ะบบเศรษฐกจิ ฐานรากของประเทศอยา งท่ัวถึงดว ย

3) การสรางความเขมแข็งใหพื้นที่
โ ดยการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural
Tourism) จากสถานการณโควิด 19 คาดวา ตลาดการทองเที่ยว
ในตางประเทศจะฟนตัวไดยากและไมอาจคาดการณระยะเวลา
การฟนตัวที่แนนอนได ดังนั้น จึงควรมุงเนนไปที่การบริโภค

๙๔

ภายในประเทศเปนหลัก (Domestic Consumption) เชือ่ มโยงกับ
การสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แบบคูขนานกันไป
ซึ่งอาจจะตองจำลองรูปแบบของสถานการณ (scenario) ในหลายรูปแบบ
ขึ้นมา เนื่องจากสถานการณในขณะนี้ยังไมมีความแนนอนวาจะจบลง
เมื่อไหร (uncertainty) และยังไมทราบลักษณะของโรคและวิธีการ
รักษาโรคที่แนนอน (unknown) โดยสามารถนำประเทศตนแบบ
ที่ประสบความสำเร็จในการนำมรดกทางวัฒนธรรมมาตอยอดเปน
จุดขายในดานการคาและดานการบริการ เพื่อกำหนดเปนนโยบาย
กระตุนและสงเสริมใหคนในประเทศทองเที่ยวในประเทศ เชน
ประเทศญ่ีปุน ดำเนินนโยบาย Cool Japan ซ่ึงเปนนโยบายทถ่ี ูกสรา งขนึ้
เพ่อื พัฒนาเศรษฐกิจทงั้ ในและนอกประเทศ โดยใชจ ดุ เดน ของสินคา
และบริการที่เปนเอกลักษณเฉพาะ เพื่อเชิญชวนนักทองเที่ยว
ใหทองเที่ยวในญี่ปุน เพื่อใหเกิดการบริโภคภายในประเทศเพิ่มข้ึน
รวมทั้งมีการเผยแพรประชาสัมพันธผานชองทางรายการทางสถานี
วิทยุโทรทัศนในหลายประเทศ เพื่อเปนการแนะนำประเทศญี่ปุน
ใหท่ัวโลกไดร ูจักอตั ลักษณ วฒั นธรรมของญีป่ ุน เปนตน ดังน้นั รัฐบาล
จึงมุงเนน ดำเนินนโยบายสง เสริมการทองเท่ยี วเชงิ วัฒนธรรมมากข้ึน
เพื่อสงเสริมใหประชาชนในประเทศทองเที่ยวภายในประเทศ
ซ่ึงจะชวยกระจายรายไดสูชุมชนมากข้ึน ซึ่งรัฐบาลและภาคสวน
ที่เกี่ยวของ อาจตองเรงกำหนดรูปแบบหรือแนวทางการสงเสริมควบคู
ไปกบั การดแู ลดานสาธารณสขุ ทไี่ ทยสามารถดำเนนิ ไดอยางดีอยแู ลว

๙๕

4.3 สรุปขอ เสนอเชงิ นโยบาย
4.3.1 การปรบั โครงสรา งภาคการผลิต
1) สงเสริมการขยายหวงโซอุปทานของ

อุตสาหกรรมที่มีความจำเปนยิ่งยวด (Critical Industry Supply
Chain) ของไทยใน 7 อุตสาหกรรม ไดแก อุตสาหกรรมอาหาร
อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย อุตสาหกรรมยาและเครื่องสำอาง
อุตสาหกรรมสิ่งทอทางการแพทยและเครื่องนุงหม อุตสาหกรรม
ส่อื สารสนเทศ อตุ สาหกรรมผผู ลิตไฟฟาและพลังงาน และอุตสาหกรรม
บรรจุภัณฑและการพิมพ รวมถึงตองครอบคลุมถึงการพัฒนาและ
แปรรูปสินคาเกษตร ที่จะชวยสงเสริมอุตสาหกรรมการเกษตรของไทย
ใหเติบโตตอไปได และเปนสวนหนึ่งที่ชวยยกระดับรายไดใหกับ
เกษตรกรไทย (กระทรวงอุตสาหกรรม)

2) สงเสริมการจัดสรางศูนยทดสอบและตรวจ
วิเคราะหทางหองปฏิบัติการการทดสอบเคร่ืองมือและอุปกรณ
ทางการแพทย (Laboratory Testing) ที่ไดมาตรฐานสากล รวมท้ัง
มาตรฐานของไทย ซึ่งการมีหองตรวจรบั รองในประเทศไทยจะชวยเพิม่
ขีดความสามารถใหกับอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทยและสิ่งทอ
ทางการแพทยอยางครบวงจร ทำใหอุปกรณเครื่องมือทางการแพทย
ตาง ๆ ที่ถูกคิดคนขึ้นโดยนวัตกรรมใหม ๆ ซึ่งเปนฝมือคนไทย
มีความนาเชื่อถือและไดรับการยอมรับทั้งในระดับประเทศแ ล ะ
ตางประเทศ และจะเปน โอกาสสำคัญในการสรา งงานใหกับแรงงาน
ในประเทศ และทำใหไทยสามารถสรางรายไดจากการสงออก
อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทยไดตอไปในอนาคต โดยหนวยงาน
ที่เกี่ยวของพิจารณาขอรับการจัดสรรงบประมาณจากพระราชกำหนด
ใหอำนาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อแกไขปญหา เยียวยา และฟนฟู

๙๖

เศรษฐกิจและสังคม ที่ไดรับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 เพอ่ื นำมาเสนอขอจัดตงั้ ศูนยทดสอบฯ
ดังกลาว ตามวัตถุประสงคของเงินกูที่มุงเนนการฟนฟูเศรษฐกิจ
ในประเทศ (กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงสาธารณสุข)

3) หนวยงานที่เกี่ยวของพิจารณาศึกษา
ศักยภาพของอุตสาหกรรม CISC พรอ มท้ังกฎระเบียบตา ง ๆ ท่ยี งั คง
เปนปญหาและอุปสรรคตอการสงเสริมอุตสาหกรรมดังกลาวตอไป
อาทิ พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย พ.ศ. 2551 โดยมีสำนักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปนหนวยงานกำกับดูแล
และรับผิดชอบในการออกใบอนุญาตการผลติ /จำหนาย/นำเขาเครือ่ งมอื
แพทยที่ไดมาตรฐานตามท่ีสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม
(สมอ.) รวมถึงภารกิจอื่น ๆ ซึ่ง อย. มีบุคลากรไมเพียงพอสำหรับ
ภารกิจที่มีคอนขางมาก ทำใหการดำเนินภารกิจในเรื่องการกำกับดูแล
ผลิตภัณฑดานสุขภาพใหม ๆ ที่ผลิตโดยเทคโนโลยีที่กาวหนา ซึ่งเปน
เรื่องการพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องมือทางการแพทยในอนาคต
ไมทันตอบริบทและสถานการณการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เปนไป
อยางรวดเรว็ จึงอาจตองมีการทบทวนบทบาทภารกิจของ อย. เพื่อให
สามารถรองรับศักยภาพของอุตสาหกรรมเครื่องมือทางการแพทย
ของไทยในอนาคตไดตอไป (กระทรวงสาธารณสุข)

4) กำหนดกรอบยทุ ธศาสตรและกลไกในการพัฒนา
เศรษฐกิจหมุนเวียนในระดับชาติ (CE Grand Strategy and
Driven Mechanism) เพื่อเปนนโยบายสำหรับการกำหนด
แนวทางสงเสริมสทิ ธปิ ระโยชนหรือมาตรการทางภาษีตอไปสำหรบั
ภาคอุตสาหกรรมและผูประกอบการที่มีการนำเศรษฐกิจ
หมุนเวียนมาปรับใช เนื่องจากประเทศไทยยังไมมีการกำหนด
กรอบยุทธศาสตร (Grand Strategy) หรือวิสัยทัศน (Vision)

๙๗

สำหรับการสงเสริมพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียนโดยตรง (กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงอุตสาหกรรม
กระทรวงมหาดไทย)

5) ผลักดันใหเกิดแพลตฟอรมการคาดิจิทัล
แหงชาติ (National Digital Trade Platform : NDTP) เพ่อื ให
การดำเนินธุรกิจของภาคธุรกิจไทยมีความคลองตัวมากขึ้น และจะมี
สว นชวยใหธุรกิจขนาดเล็กเขามาใชประโยชนจากแพลตฟอรมดังกลาว
เพื่อลดอุปสรรคและปญหาจากแพลตฟอรมขนาดใหญของตางชาติ
ที่มีตนทุนและการแขงขันที่สูง และหนวยงานที่เกี่ยวของ ควรศึกษา
ประเด็นกฎหมายที่รองรับการพัฒนาแพลตฟอรมและกฎหมายที่อาจ
เปนอุปสรรคตอการพัฒนาแพลตฟอรมดังกลาวเพิ่มเติม (สำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, สำนกั งานขับเคล่ือนการปฏิรูป
ประเทศยุทธศาสตรชาติและการสรางความสามัคคีปรองดอง
(ป.ย.ป.), กระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม, คณะกรรมการรวม
ภาคเอกชน 3 สถาบนั )

4.3.2 การปรับโครงสรา งการคา ของไทย
1) การปรบั นโยบายการคา ของไทย เนน การเขา สู

ตลาดใหมๆ ลดการพึ่งพาตลาดเดิม โดยเรงผลักดันการเจรจา
ความตกลงทางการคา หรอื FTA ในแตล ะฉบับที่คงคางอยู ไดแก ไทย
- ตุรกี ไทย - ปากีสถาน ไทย - ศรีลังกา ไทย - อังกฤษ ไทย - EFTA
และ ไทย - EAEU เปนตน รวมถึงควรพิจารณาเขารวมการเจรจาเปน
พันธมิตรทางการคาในกรอบความตกลงใหม ๆ ในระดับภูมิภาค เชน
ความตกลงที่ครอบคลุมและกาวหนาสำหรับหุนสวนทางเศรษฐกิจ
ภาคพื้นแปซิฟก หรือ CPTPP (Comprehensive and Progressive
Trans-pacific Partnership) ที่จะชวยยกระดับมาตรฐานการผลิต

๙๘

สินคาไทย ตลอดจนการประกอบธุรกิจ การทำการคา และการปรับปรุง
กฎระเบียบเพ่ือใหสอดคลองกับมาตรฐานทางการคา ทรี่ วมถึงประเด็น
ดานสิ่งแวดลอม และทรัพยสินทางปญญา ที่จะชวยเติมเต็มหวงโซ
อปุ ทานของไทย และสนับสนุนการขจัดปญหาและอุปสรรคทางการคา
และดึงดูดความนาลงทุนของประเทศในบทบาทการเปนฐานการผลิต
ในหวงโซอุปทาน (Supply Chain) ของภูมิภาคอีกดวย นอกจากน้ี
ควรพิจารณาใชประโยชนจากการเปนตลาดฐานเดียวกันของกลุม
อาเซียน เพื่อสรางความเขมแข็งใหกับหวงโซอุปทานในภูมิภาค
(Regional Supply Chain) (กระทรวงพาณิชย กระทรวงเกษตรและ
สหกรณการเกษตร กระทรวงการคลัง กระทรวงการตา งประเทศ)

2) เรงจัดทำกลไก/มาตรการในการชวยเหลือ
และปรบั ตัวผไู ดร บั ผลกระทบจากการเปด เสรกี ารคา โดยจดั ต้งั กองทุน
หมนุ เวยี น เพอ่ื สรางความเขมแขง็ ใหกับผปู ระกอบการไทย เพอื่ ใหมี
การชวยเหลือเกษตรกรไทยและผูประกอบการในการปรับตัวจาก
การเปดเขตเสรีทางการคา (กองทุน FTA) ใหสามารถแขงขันได
และเพื่อใหกองทุนสามารถตอบสนองความตองการของเกษตรกร
และเขาถึงกลุมเปาหมายจริง ๆ เนื่องจาก กองทุนอื่น ๆ ที่มีอยู
ในปจจุบันยังไมครอบคลุมกลุมผูไดรับผลกระทบจากการเปดเขต
เสรีทางการคา จึงจำเปนตอ งมีกองทนุ หมุนเวียนในการปรับตัวผูไ ดร ับ
ผลกระทบจากการเปดเขตเสรีทางการคา (กระทรวงพาณิชย)

3) เรงดำเนินการแกไขปญหาอุปสรรคสำคัญ
เพื่อสงเสริมใหภาคบริการกลายเปนกลไกใหมในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจของประเทศ

(1) พาณิชยอิเล็กทรอนิกส - หนวยงาน
ที่เกี่ยวของ รวมกันศึกษาวิเคราะหขอมูล และกฎหมายที่เกี่ยวของ

๙๙

รวมถึงกฎหมายในตางประเทศที่ใชรองรับในการแกไขปญหา
แพลตฟอรมพาณิชยอิเล็ก ทรอนิกสขนาดใหญผูกขาดสินคาหรือ
สงผลตอความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการไทย
เพื่อวางแนวทางปองกันผลกระทบใหกับผูประกอบการไทย และ
เพื่อใหผูประกอบการไทยสามารถแขงขันได (กระทรวงการคลัง
กระทรวงพาณชิ ย กระทรวงดิจทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม)

(2) ธุรกิจบริการสุขภาพ - ทบทวน/ปรับปรุง
กฎหมายทเ่ี ก่ียวของ อาทิ พระราชบญั ญตั ิสถานพยาบาล พ.ศ. 2541
ควรแกไขเพิ่มเติมเพื่อเปดชองใหสามารถใชระบบการแพทยทางไกลได
เพื่อสงเสริมระบบ Telemedicine หรือสามารถนำหุนยนตมาใช
ในการรักษาพยาบาลได และมีขอกำหนดมาตรฐานใหชัดเจน /
พระราชบัญญัติเครอ่ื งมือแพทย พ.ศ. 2551 ควรมกี ารแกไขกฎหมาย
โดยการผอนปรนใหโฆษณาไดมากขึ้น แตยังคงสอดคลองกับมาตรฐาน
วิชาชีพและยังคงคุมครองผูบ ริโภคได และควรมีการกำหนดแนวปฏบิ ตั ิ
ใหชัดเจน เพื่อใหผูประกอบการทราบวา กรณีใดสามารถโฆษณาได
และกรณีใดโฆษณาไมได (กระทรวงสาธารณสขุ )

(3) การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ - (1) พิจารณา
การสนับสนุนการผลิตสินคาในทองถิ่น โดยการใหคำแนะนำ
อยางครบวงจรตงั้ แตการออกแบบรปู ลักษณ ดไี ซน สนิ คาทีต่ อบโจทย
ความตองการของผูบริโภค และเพื่อชวยสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคา
(2) สงเสริมความรูในการจำหนายผานชองทางออนไลน
ซึ่งอาจไมจำเปนตองเปนแพลตฟอรมใหญ แตอาจเปน e-Marketplace
ในลักษณะ Community ซึ่งขณะนี้เกิดขึ้นมากในเฟซบุก เชน ชุมชน
ตลาดออนไลนของมหาวิทยาลัย ชุมชนตลาดออนไลนหมูบาน เปนตน
เพื่อเปนการกระตุนเศรษฐกิจในระดับฐานรากใหสามารถเรียนรู
วิธีการทำมาคาขายได กอนที่จะพัฒนาและยกระดับกิจการตอไป

๑๐๐

(3) เรงพิจารณาปรับปรุงแกไขกฎระเบียบตาง ๆ ที่เปนอุปสรรค
ตอการสง เสริมการผลติ ในอุตสาหกรรมท่ชี วยสงเสริมใหไทยเปนฮับ
(Hub) ดานการทองเที่ยวเชิงสุขภาพอยางครบวงจร และควร
กำหนดแผนยุทธศาสตรอยางชัดเจน รวมทั้งควรมีการศึกษา
ศักยภาพของประเทศอื่น ๆ ที่มีแนวนโยบายจะผลักดันการทองเที่ยว
เชิงสุขภาพเหมือนกัน โดยเฉพาะอินเดีย เพื่อใหไทยมีจุดแข็ง
และมีความแตกตาง สามารถผลักดันใหการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
ของไทยเกิดความยั่งยืนและสามารถพึ่งพาตนเองไดแมในยามเกิด
วิกฤตในอนาคต (กระทรวงพาณิชย กระทรวงมหาดไทย กระทรวง
อุตสาหกรรม กระทรวงสาธารณสขุ )

(4) ธุรกิจดิจิทัลคอนเทนต (Digital
Content) - การสรางแพลตฟอรมดิจิทัล คอนเทนตไทยแลนด
เพื่อเปนศูนยรวมขอมูลและศูนยรวมการทำธุรกิจทั้งในตลาด
ในประเทศและตลาดตางประเทศของภาพยนตร ละคร แอนิเมชัน
อีสปอรต เพลง หรือธุรกิจการตูนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งในเรื่อง
ของการศึกษา หรือ e-learning (กระทรวงพาณิชย, กระทรวง
วัฒนธรรม, กระทรวงศกึ ษาธิการ)

4) การผลักดันการคาชายแดนและผานแดน
เรงศึกษาการใชประโยชนจากการคาผานแดน และหันมาให
ความสำคัญกับตลาดประเทศเพื่อนบานและประเทศใกลเคียง
ในภูมิภาค ซึ่งเปนภูมิภาคที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงและจะเปน
เครื่องยนตในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกในอนาคตอันใกล โดยเฉพาะ
ประเทศเมียนมาซึ่งเปนประเทศที่เชื่อมโยง 2 ประเทศกำลังพัฒนา
ที่มีประชากรมากที่สุดในโลก คือ จีน และ อินเดีย โดยใชประโยชน
จากความไดเปรียบดานทำเลที่ตั้งการเชื่อมโยงในภูมิภาค ความตกลง

๑๐๑

การคาเสรี ความคลายคลึงของขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม พฤติกรรม
ผูบริโภคที่เชื่อมั่นในคุณภาพ และชื่นชอบสินคาไทย เปนตน
โดยเฉพาะในเสนทางไทย - เมียนมา - อนิ เดีย - เอเชียใต และ ไทย
- จีน (ตอนใต) ตามแนวระเบียงยอยดานตะวันตก/ เสนทาง R3B
(ไทย - เมียนมา - จีนตอนใต) และแนวระเบียงยอยดานตะวันตก /
เสน ทาง R3A (ไทย - ลาว - จนี ตอนใต) (กระทรวงพาณิชย, กระทรวง
การตางประเทศ, กระทรวงคมนาคม)

5) การปรับปรุงและบังคับใชกฎหมายที่มี
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันใหกับไทย ไดแก
พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542
โดยการทบทวน/พิจารณาปลดล็อคธุรกิจตามบัญชีสาม (ธุรกิจที่ไทย
ยังไมมีความสามารถในการแขงขันกับนักลงทุนตางชาติ) เพื่อเรงให
ผูประกอบการในประเทศปรบั ตัวและแขง ขนั ไดภายใตส ถานการณต า ง ๆ
ท่ีดำเนินไปอยางรวดเรว็ และ พระราชบญั ญัติการแขงขนั ทางการคา
พ.ศ. ๒๕๖๐ ในประเด็นการเพิ่มบทบัญญัติใหชัดเจนเกี่ยวกับอำนาจ
ของสำนักงานคณะกรรมการการแขงขันทางการคาในการตรวจสอบ
พฤติกรรรมของบริษัทที่จดทะเบียนในตางประเทศ แตอาจมีผลกระทบ
ตอการแขงขันที่เปนธรรมในประเทศไทย และอำนาจในการเรียก
ขอมูล และบทลงโทษในกรณีไมใหความรวมมือ การเพิ่มขอกำหนด
เกี่ยวกับแพลตฟอรมตางประเทศ โดยใหรวมถึง cross border
e-Commerce และการเพิ่มเติมมาตรการเกี่ยวกับโปรแกรมผอนปรน
(Leniency Program) ใหชัดเจน เพื่อยกเวนโทษหรือลดโทษใหแก
ผูกระทำผิด แลวมาสารภาพใหขอมูลท่ีเปนประโยชน ซึ่งเปนมาตรการ
ที่มีประสิทธิภาพมากในตางประเทศ (กระทรวงพาณิชย, สำนักงาน
คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน, สำนักงานคณะกรรมการการ
แขงขันทางการคา)

๑๐๒

6) การสงเสริมความเขมแข็งของเศรษฐกิจฐานราก
(Strengthening Local Economies) โดยการเรงพัฒนาทักษะฝมือ
แรงงานในกลุมแรงงานที่ไดรับผลกระทบจากโควิด 19 และกลุม
นักศึกษาจบใหมที่วางงาน การสงเสริมความรูทางดานการเงิน
(Financial Literacy) ใหภาคครัวเรือน เพื่อสรางวินัยในการใชจายเงิน
และการสรางความเขมแข็งใหพื้นที่โดยการสงเสริมการทองเที่ยว
เชิงวัฒนธรรม (Cultural Tourism) เพื่อมุงใหเกิดการบริโภค
ภายในประเทศเปนหลัก (Domestic Presumption) เชื่อมโยง
กับการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแบบคูขนานกันไป
(กระทรวงแรงงาน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย
และนวัตกรรม กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม
กระทรวงมหาดไทย ธนาคารแหงประเทศไทย)

------------------------------------------------

๑๐๓

บรรณานกุ รม
International Monetary Fund. April 2020. IMF World

Economic Outlook 2020 (Chapter 1 THE GREAT
LOCKDOWN). (Online)
https://www.imf.org/en/Publications/WEO/Issues/2
020/04/14/weo-april-2020
Krungsri Research. May 2020. Business Implications under
COVID-19. เอกสารประกอบการนำเสนอตอ
คณะกรรมาธิการการพาณชิ ยและอุตสาหกรรม วฒุ สิ ภา
เม่ือวนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2563
Krungsri Research. April 2020. Industry Horizon. (Online)
https://www.krungsri.com/bank/th/Other/research/
industry/industry-horizon.html
Manager Online. พฤษภาคม 2563. ธปท. เผยเศรษฐกิจ เม.ย.
เปราะบาง หวงยอดวางงานพงุ . (Online)
https://mgronline.com/stockmarket/detail/9630
000056053
McKinsey & Company. April 2020. The future is not
what it used to be: Thoughts on the shape
of the next normal. (Online)
https://www.mckinsey.com/featured-
insights/leadership/the-future-is-not-what-it-
used-to-be-thoughts-on-the-shape-of-the-next-
normal

๑๐๔

SCB EIC. March 2020. EIC ปรับลดคาดการณ GDP ไทยป 2020
เปนหดตัวท่-ี 0.3% จากการแพรร ะบาด ของ COVID-19
ที่รนุ แรงเพิ่มขึน้ มากกวาคาด. (Online)
https://www.scbeic.com/stocks/product/o0x0/tg/e
8/fllktge870/EIC-Note_GDP_COVID-
Widespread_20200313.pdf

Techsauce Team. เมษายน 2563. 7 ปจจยั ท่จี ะกำหนด
ทศิ ทางของ ‘New Normal’. (Online)
https://techsauce.co/news/7-factors-that-will-
shape-new-normal

Techsauce Team. พฤษภาคม 2563. EIC ชเี้ เนวทางโอกาส
ลงทนุ ผาทำหนากากอนามยั เพ่ือคนไทยมใี ชอยา ง
ย่งั ยืน. (Online) https://techsauce.co/pr-
news/eic-scb-surgical-masks-covid-19

The Matter. กรกฎาคม 256. การแพทยทางไกล
(telemedicine) ตอ งทำผานสถานพยาบาลเทา นัน้
ประกาศน้ขี องแพทยสภา.. ใครไดป ระโยชน. (Online)
https://thematter.co/brief/brief-
1595484001/118356

World Bank. April 2020. East Asia and Pacific in the
Time of COVID-19. (Online)
https://openknowledge.worldbank.org/handle/1
0986/33477

๑๐๕

World Economic Forum. May 2020. The future of work is
here: 5 ways to reset labour markets after
coronavirus recovery. (Online)
https://www.weforum.org/agenda/2020/05/the-
future-of-work-is-here-5-ways-to-reset-labour-
markets-after-coronavirus-recovery/

ฐานเศรษฐกจิ . เมษายน 2563. โควดิ ดนั อตุ ฯบรรจุภัณฑโ ต
300%. (Online)
https://www.thansettakij.com/content/Macro_e
con/428019

ฐานเศรษฐกจิ . กรกฎาคม 2563. แหต งั้ โรงงาน หนา กากอนามยั
เพมิ่ ผลิต 4.2 ลา นชิ้นตอวนั . (Online)
https://www.thansettakij.com/content/Macro_e
con/440960

ไทยพับลกิ า. กรกฎาคม 2558. ประเทศไทยไมเหมือนเดิมอกี แลว
“Thailand’s New Normal” หนา ตาเปนอยา งไร
แลวเราควรทำอะไร. (Online)
https://thaipublica.org/2015/07/ttf-thailands-
new-normal/

ไทยพับลกิ า. พฤษภาคม 2563. จีนเรม่ิ ทดลองใชเ งนิ ดจิ ิทลั หยวน
วางอนาคตใหมใ นเศรษฐกิจโลก. (Online)
https://thaipublica.org/2020/05/china-pilot-trial-
digital-yuan-begins/

๑๐๖

ประชาชาตธิ รุ กิจ. พฤษภาคม 2563. 13 ยักษก ารเ มนตแ ห
ปรับไลน หนั ผลิตชดุ ปลอดเชอ้ื PPE. (Online)
https://www.prachachat.net/economy/news-
460998

โพสตท เู ดย. พฤษภาคม 2563. สศช. ประเมินโควดิ พนพษิ ทำตก
งาน 8.4 ลานคน. (Online)
https://www.posttoday.com/economy/news/624626

สถาบนั ระหวา งประเทศเพือ่ การคาและพัฒนา. 2563. ผลศึกษาไอทีดี
ชหี้ ลังโควดิ -19 ตอ งมงุ สูก ารคาดิจิทลั . (Online)
http://www.itd.or.th/th/%e0%b8%a7%e0%b8%b5%
e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a8%e0%b8%b1
%e0%b8%81%e0%b8%94%e0%b8%b4%e0%b9%8
c%e0%b9%80%e0%b8%9c%e0%b8%a2%e0%b8%
9c%e0%b8%a5%e0%b8%a8%e0%b8%b6%e0%b8
%81%e0%b8%a9%e0%b8%b2/

สวุ ิทย เมษนิ ทรยี . พฤษภาคม 2563. โลกเปลย่ี น คนปรบั หลดุ จาก
กบั ดกั ขยบั สูค วามย่งั ยืน. กระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม

อักษรศรี พานชิ สาสน. สงิ หาคม 2562. ยุทธศาสตร BRI กับผลกระทบ
การคา ไทย-จีน ในยุคสีจ้ินผิง. (Online)
https://www.the101.world/bri-effects-on-thai-
china-trading/

๑๐๗
ภาคผนวก 1
คำสง่ั คณะทำงานทิศทางประเทศไทยภายหลัง
วกิ ฤตโควิด 19

คณะกรรมาธิการการพาณิชยและการอตุ สาหกรรม
วุฒสิ ภา

ท่ี ท. ๘/๒๕๖๓
เร่อื ง แตง ต้ังคณะทำงานทศิ ทางประเทศไทย

ภายหลังวิกฤตโควิด 19”
----------------------------------
ตามที่ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญ
ประจำปครั้งที่หนึ่ง) ที่ประชุมไดมีมติตั้งคณะกรรมาธิการการพาณิชย
และการอุตสาหกรรม วุฒิสภา มีหนาที่และอำนาจพิจารณา
รางพระราชบัญญัติ กระทำกิจการ พิจารณาสอบหาขอเท็จจริง
หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการสงเสริม สนับสนุน หรือพัฒนา
การพาณิชยและอุตสาหกรรม การคุมครองทรัพยสินทางปญญา
การพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่นและภูมปิ ญญาไทย วิสาหกิจเพื่อสงั คม
วิสาหกิจชุมชน เขตเศรษฐกิจพิเศษ ความสามารถในการแขงขัน
และการเจริญเติบโตทางอุตสาหกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

๑๐๘

พิจารณาศึกษา ติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศ
และแผนแมบทภายใตยุทธศาสตร ที่อยูในหนาที่และอำนาจ
และอน่ื ๆ ที่เกย่ี วของ ตามขอบังคับการประชมุ วุฒสิ ภา พ.ศ. ๒๕๖๒ นัน้
ในคราวประชมุ คณะกรรมาธิการ ครงั้ ที่ ๙/๒๕๖๓
เมื่อวันพุธที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๓ ที่ประชุมไดมีมติตั้ง “คณะทำงาน
ทิศทางประเทศไทยภายหลังวิกฤตโควิด 19” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค
เพ่อื ศกึ ษาแนวทางการรับมือสถานการณทางเศรษฐกิจภายหลังสถานการณ
การแพรร ะบาดของเชือ้ โรคโควดิ 19 ของประเทศไทย
๑. คณะทำงานทิศทางประเทศไทยภายหลังวิกฤต
โควิด 19 ประกอบดวย
(๑) นางอภริ ดี ตนั ตราภรณ ประธานทป่ี รึกษาคณะทำงาน
(๒) นายเจน นำชยั ศิริ ประธานคณะทำงาน
(๓) นางสุวรรณี สริ ิเวชชะพนั ธ รองประธานคณะทำงาน
(๔) นายกอบศักด์ิ ดวงดี คณะทำงาน
(๕) นายพรชยั ฐรี ะเวช คณะทำงาน
(๖) นายวชิ ัย อัศรสั กร คณะทำงาน
(๗) นายมนตรี มหาพฤกษพงศ คณะทำงาน
(๘) นางสาวอนงคน ารถ มหาสวสั ด์ิ คณะทำงาน
และเลขานุการคณะทำงาน
(๙) นางสาวสุหชา ชวลิตปรีชา คณะทำงาน
และผชู ว ยเลขานุการคณะทำงาน
(๑๐) นางสาวจริ ยิ าภา ขจรบญุ คณะทำงาน
และผูชวยเลขานุการคณะทำงาน
(๑๑) นางสาวพนติ ตา ธรรมพิดา คณะทำงาน
และผูชวยเลขานกุ ารคณะทำงาน

๑๐๙

๒. ใหคณะทำงานฯ มหี นา ท่ีและอำนาจ ดงั ตอไปน้ี
(๑) ศึกษาใหความเห็นและขอเสนอแนะเกี่ยวกับ

การรับมือสถานการณทางเศรษฐกิจภายหลังสถานการณการแพร
ระบาดของเชือ้ โรคโควดิ 19 ของประเทศไทย

(๒) วิเคราะห สังเคราะห และจดั ทำขอเสนอแนะ
เพื่อกำหนดเปนแนวทางการรับมือสถานการณทางเศรษฐกิจ
ภายหลังสถานการณการแพรระบาดของเชื้อโรคโควิด 19 ของ
ประเทศไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ

(๓) ติดตาม ตรวจสอบแผนงานการดำเนินงาน
ตามยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับการพัฒนาศักยภาพของประเทศไทยได
อยางมีประสิทธิภาพ

(๔) จัดทำรายงานในเรื่องดังกลาว เพื่อเสนอ
ตอ คณะกรรมาธกิ ารการพาณชิ ยแ ละการอตุ สาหกรรม วฒุ ิสภา

(๕) ดำเนินการในเรื่องอื่น ๆ ตามท่ีคณะกรรมาธิการ
การพาณชิ ยแ ละการอุตสาหกรรม วฒุ สิ ภา มอบหมาย

โดยกำหนดระยะเวลาในการพิจารณาศึกษา ๖๐ วนั
ท้ังน้ี ตง้ั แตวนั ท่ี ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓ เปน ตนไป
สง่ั ณ วนั ท่ี 24 เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓

(นางอภิรดี ตันตราภรณ)
ประธานคณะกรรมาธิการการพาณิชยและการอตุ สาหกรรม

วุฒสิ ภา

๑๑๐

ภาคผนวก 2
บทวิเคราะหเกย่ี วกบั ชวี ติ วิถใี หม (New Normal)

หลงั วิกฤตโควดิ 19

1. World Economic Forum (WEF)
WEF ไดเผยแพรบ ทความ The future of work is here:

5 ways to reset labour markets after coronavirus recovery
ซึ่งมีความเห็นวา การแพรระบาดของโควิด 19 ทำใหมีคนตกงาน
จำนวนมาก ดังนน้ั ภายหลงั โควิด 19 รัฐบาลตา ง ๆ ทวั่ โลก ควรหนั มา
ใหความสำคัญกับแนวทางการปรับตัวของตลาดแรงงานเพื่อฟนฟู
เศรษฐกจิ ดงั น้ี

1) Double down on upskilling and reskilling
การใหความสำคัญกับการพัฒนาทักษะเดิมที่มีอยู (Upskill)
และเรียนรูทักษะใหม ๆ (Reskill) เนื่องจากโควิด 19 เปนตัวเรง
สำคัญที่ทำใหภาคอุตสาหกรรมนำระบบดิจิทัลและระบบอัตโนมัติ
มาสูระบบการผลิตมากขึ้น จำเปนที่ภาครัฐและเอกชน จะตองเรง
ยกระดับทักษะแรงงานมนุษยเพื่อเรียนรูทักษะใหม ๆ โดยเฉพาะ
ทักษะดานดิจิทลั และเทคโนโลยี เพื่อใหกาวทันตอการเปลี่ยนแปลง
ในยคุ Disruption

2) Identify the jobs of tomorrow การใหค วามสำคัญ
กับงานยุคใหม โดยเฉพาะเศรษฐกิจใสใจ (Care Economy) ซึ่งเปน
เศรษฐกิจที่เนนการผลิตสินคาและบริการที่เนนการดูแลรางกาย
อารมณ และความตองการของผูใช เชน การดูแลผูสงู อายุ การดูแล
ผปู ว ย การแนะแนวอาชพี เปน ตน เศรษฐกจิ ใหความสนใจกบั ผลกระทบ
ตอสิ่งแวดลอม (Green Economy) รวมถึงงานที่มีความเกี่ยวของ

๑๑๑

กับเทคโนโลยีและการจัดการและธุรกิจ E-commerce ที่มีแนวโนม
เติบโตในอนาคต

3) Prioritize re-deployment and re-employment
การชวยเหลือคนตกงาน โดยรัฐจำเปนจะตองมีการเปดเผยขอมูลของ
ตลาดแรงงาน เปดตลาดแรงงานเพื่อเปนตัวกลางในการชวยให
คนตกงานมงี านทำ และลดอตั ราการวางงานลงได

4) Revalue essential work and improve the
quality of jobs การปรับเปลี่ยนแนวคิดวา งานอะไรสำคัญ โดยหลัง
โควิด 19 จะเห็นความชัดเจนมากขึ้นวา งานใดที่ไมเคยมีความสำคัญ
จะเรม่ิ มีบทบาทและมีความสำคัญมาก เพ่อื นำไปสูการพฒั นากฎหมาย
และยกระดับมาตรฐานแรงงาน

5) A collaborative recovery, reset and rebuild
การสรางความรวมมือระหวางนายจาง ลูกจาง และภาครัฐบาล ทั้งใน
ประเทศและตางประเทศ จะเปนสิ่งสำคัญอยางมากในการฟนฟู
เศรษฐกิจภายหลงั โควิด 19
2. McKinsey & Company

McKinsey & Company ไดเผยแพรบทความ “The
future is not what it used to be: Thoughts on the
shape of the next normal” เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2563
โดยไดกลา วถงึ แนวโนมสำคัญท่ีจะเกิดข้นึ ทัว่ โลกหลงั โควิด 19 หรือ
New Normal ที่จะมีผลตอรูปแบบการดำเนินธุรกิจที่ทำใหผูนำ
ทางดา นธุรกจิ หรือแมแ ตในภาครฐั บาลจะตองใหความสำคัญ ดังนี้

1) Distance is back การหันมาบริโภคสินคาทองถิ่น
มากกวาการสนิ คาและบรกิ ารจากตา งประเทศ จากการปด เมอื ง

๑๑๒

2) Resilience AND Efficiency การดำเนินธุรกิจใน
รูปแบบใหม ซึ่งตองการความยืดหยุนและมีประสิทธิภาพ ซึ่งหลาย ๆ
บริษัทเริ่มพบวาตัวเองออนแอลงจากการที่ไมสามารถหาชิ้นสวน
ที่ตองการได ทำใหหวงโซอุปทานเหลานี้จะตองหาแผนสำรอง
เพื่อเพ่ิมความแข็งแกรงของบริษทั

3) The rise of the contact-free economy การเขา
สูระบบเศรษฐกิจแบบไรการติดตอ การคาแบบดิจิทัล (Digital
Commerce), การแพทยทางไกล (Telemedicine) และระบบ
อัตโนมตั ิ (Automation)

4) More government intervention in the economy
การแทรกแซงของรัฐในระบบเศรษฐกิจ โดยที่รัฐบาลทั่วโลกได
ประกาศแผนกระตุนเศรษฐกิจที่ใชเงินกวา 10.6 ลานลานเหรียญ
สหรัฐทกี่ ารใชจ า ยมงุ เนน ไปยงั 3 ดาน คอื การสนบั สนุนความตองการ
พืน้ ฐานของประชาชน, การรักษางาน และการชวยเหลือธุรกจิ ตาง ๆ
ใหอ ยูรอด

5) More scrutiny for business การตรวจสอบที่มากข้ึน
ในธุรกิจ เน่ืองจากภาคธุรกิจจะเขามาเกี่ยวของและมีสวนรับผิดชอบ
ตอพนักงานรวมถึงประชาชนและสภาพแวดลอมโดยรวมมากขึ้น
กวาเดิมคนจะคาดหวังธุรกิจใหดำเนินงานโดยนึกถึงทั้งกำไร ผูคน
และโลกใบน้ี

6) Changing Industry structure, consumer
behavior, market positions, and sector attractiveness
การเปลี่ยนแปลงของโครงสรางทางอุตสาหกรรม, พฤติกรรมของ
ผูบริโภค, ตำแหนงและความนาดึงดูดของตลาด เพื่อตอบโจทย
ทศั นคติและพฤติกรรมของผูบ รโิ ภคที่เปลี่ยนไป

๑๑๓

7) Finding the silver linings การเกดิ โอกาสในวกิ ฤต
เชน การตดิ ตอ ส่อื สาระหวา งผูค นใชรูปแบบการสอื่ สารทางออนไลน
มากข้นึ เชน Zoom, Skype, หรอื FaceTime
3. อิปซอสส (Ipsos)

อิปซอสส ผูนำดานการวิจัยตลาดจากฝรั่งเศส สรุปเทรนด
ธุรกิจที่จะเกิดขึ้นในอนาคตที่มีผลกระทบจากโควิด 19 ในรายงาน
Socio - economic trends that will strengthen and shape
the future world

1) Reshoring of Supply Chains การดึงการผลิต
กลับไปยังประเทศตนเอง เพื่อลดความเสี่ยงดาน Supply Chain
และสรางงานใหค นในชาติ

2) An Increasingly Distributed Workforce
ผลจากการ Work From Home ทำใหองคกรและลูกจางเริ่ม
คุนเคยกับเทคโนโลยีมากขึ้น สงผลใหหลังวิกฤติโควิด ตลาดงาน
และการจางงาน จะเปลี่ยนไป เพราะผูคนเริ่มคุนเคยกับการทำงาน
ผานระบบออนไลน และเทคโนโลยี ทำใหม แี นวโนม ทจี่ ะเกิดการจางงาน
ในลักษณะ Internationalization Talent Pool คือ การดึงคนเกง ๆ
จากตางชาติมารวมงาน ซึ่งสามารถทำงานรวมกันผานระบบ
ออนไลนไ ด ดังน้ัน คนในประเทศท่ไี มม ศี ักยภาพถูกทิ้งหางออกไป

3) Shift from Time-based to Task-based
Compensation การจางงานเปลีย่ นจากจาง Full Time จายรายเดือน
สูการจา งงานเปน งาน ๆ ตรงความสามารถคน

4) Hallowing Out of Middle-level Jobs ผบู ริหาร
ระดับกลางจะถูกลดบทบาท และแทนที่ดวย Automation - Gig
Economy

๑๑๔

5) Decline of Institutional Education เมื่อจางงาน
ตาม Skill มากขึ้น สถาบนั การศึกษาตอ งเรงปรับตัว

6) Reshape of Business Responsibilities ธุรกิจตอง
รบั ผดิ ชอบตอสังคม และโปรงใส

7) Re-engineering of Social Safety Nets ปรับระบบ -
นโยบายดแู ลประชาชน ใหส อดคลองบริบทสังคมทเ่ี ปลี่ยนไป
4. สถาบันอนาคตไทยศึกษา (Thailand Future Foundation)

สถาบันอนาคตไทยศึกษา รว มกบั สำนกั งานสภานโยบาย
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ (สอวช.)
จัดทำ Working Paper “ภาพอนาคตประเทศไทย หลังวิกฤต
Covid 19” โดยนำเสนอฉากทัศนที่นาจะเกิดขึ้นในประเทศไทย
หลังวิกฤตโควิด 19 เปน 4 ระยะ ซึ่งมีมุมมองในดานเศรษฐกิจ
ในแตละระยะ ดังนี้

1) ระยะที่ 1 Restriction : ระยะพยายามควบคุม
การแพรระบาดของโรค (เดือนท่ี 1-6) การปดเมืองและการเขมงวด
ในการเดินทาง สงผลใหเศรษฐกิจหยุดชะงัก ประชาชนกลับตางจังหวัด
ธุรกิจขาดสภาพคลอ ง คนจนขาดรายได คนวางงานเพิม่ มาก เกิดหน้ีเสยี
และลมละลาย รัฐชวยเหลือทั้งทางการเงิน การคลังและเงินเยียวยา
ประชาชนอยูภายใตความไมแนนอน บางสวนตื่นตระหนก กักตุน
สินคาจำเปนบางอยางจนขาดแคลนหรือราคาสูง การทองเที่ยวและ
ธุรกิจตอเนื่องไดรับผลกระทบหนัก รวมถึงธุรกิจบริการที่ปดชั่วคราว
ธุรกิจและพนักงานบางสวนหันไปทำงานที่บาน ประชาชนเรียนรู
ปองกันตนเอง รฐั เรงเพ่มิ อุปกรณทางการแพทย

๑๑๕

2) ระยะท่ี 2 Reopening : ระยะผอนคลายการควบคุม
(เดอื นที่ 7 - 12) ธุรกิจเร่ิมกลับมาเปดตัวบางสว น ธรุ กิจปรับตัวไปสู
ออนไลนเปนหลัก ธุรกิจอาหาร สุขภาพ การศึกษา ไดรับความนิยม
ธุรกิจที่ออนแอทยอยปดกิจการ ธุรกิจอื่นรัดเข็มขัด ชะลอการลงทุน
พนักงานที่ตกงานเริ่มปรับตัว เพิ่มทักษะ ยายไปทำงานอื่นหรือกลับ
ทองถิ่น การวางงานเพิ่ม กลุมเปราะบางมีปญหาหนัก คนตกงาน
หันไปพึ่งเศรษฐกิจในชุมชน รัฐเตรียมการรับการระบาดของคลื่นตอไป
การระบาดยงั กลับมาเปนระยะ มีนวตั กรรมดา นสุขภาพเพิม่ ข้นึ

3) ระยะท่ี 3 Recovery : ระยะการฟนตัวหลังจาก
สถานการณค ลีค่ ลาย (เดือนที่ 13 - 18) นักทองเที่ยวเริ่มกลับมาบาง
ธุรกิจบางสวนเริ่มกลับมาปกติ แตยังรัดเข็มขัดและพยายาม
lean องคกร ไทยเปนที่ตองการในฐานะเปนแหลงอาหารของโลก
ออนไลนกลายเปนเรื่องปกติใหม (New Normal) Work From
Home กลายเปน เรื่องปกติ หลายคนกลับไปทำงานที่บานเกิด (Work
From Hometown) เกิดเศรษฐกิจฐานรากมากขึ้น เศรษฐกิจฟนตัวชา
แตดีขึ้น เริ่มมีชองทางธุรกิจใหมๆ คนจนเมือง กลุมเปราะบาง
ยังไมฟ น ตวั รฐั ลงทนุ สรางงานขนาดใหญ มหาวทิ ยาลยั เปดโครงการใหญ
ใหค นมาเพมิ่ ทักษะ

4) ระยะที่ 4 Restructuring : ระยะการปรับโครงสราง
ระบบเศรษฐกิจและการปรับตัวของสังคมใหม (Social New
Normal) (เดือนที่ 19 - อนาคต 5 ปขางหนา) ประเทศทั่วโลก
มุง พ่งึ พาตนเองมากขนึ้ รัฐบาลผลักดันโมเดลเศรษฐกิจใหมท่ียั่งยืนขึ้น
อยางจริงจัง เชน BCG (Bio-Circular-Green Economy) โลก
เปลยี่ นเปน Regional Supply Chain และมีแผนสำรองหาก Supply
Chain หยุดชะงัก โรงงานปรับตัวสูโรงงาน 4.0 ที่อยูอาศัยปรับเปน
Mixed Use เพื่อทำงานและใชชีวิตไปพรอมกัน รัฐใหความสำคัญ

๑๑๖

กับความมั่นคงของมนุษย เชน อาหาร พลังงาน สุขภาพ และงาน
การทองเที่ยวกลับมาแบบมีคุณภาพ Virtual Tourism เปนสวนหน่ึง
ของการตัดสินใจทองเที่ยว ธุรกิจปรับตัวเขมแข็ง ลีน คลองตัว
(Agile) พื้นที่ออฟฟศลดลง ธุรกิจและพนักงานตัวจริงจะเหลือรอด
บริษัทสวนใหญมีแผนจัดการวิกฤตฟรีแลนซมากขึ้น รัฐออกแบบ
ระบบประกันใหมรองรับฟรีแลนซ การบริโภคฟุมเฟอยลดลง
เนนคุณภาพชีวิต 5G กระจายไปถึงทุกทองถิ่น สรางโอกาสธุรกิจ
ใหชุมชน เศรษฐกิจภายในประเทศเติบโต รัฐเตรียมรับสังคมสูงวัย
อยางเขมขน
5. ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร วิจัย และนวตั กรรม

1) Co - Creative Model การใชพลังปญญามนุษย
ในการขับเคลื่อน เปดโอกาสใหลูกคามีสวนรวมในการผลิต ผนวก
ทักษะและองคความรูมารังสรรค นวัตกรรมเพ่ิมโอกาสใหมทางธรุ กิจ

2) Collaborative Mode of Production ก า ร ใ ช
แพลตฟอรมแบบเปดที่ใหโอกาสทุกคนมีสวนรวม ดำเนินงาน
บนหลักเกอ้ื กลู และแบงปน มุง สรา งความอยูดมี สี ุขใหค นหมมู าก

3) Thriving in Balance การเนนการพัฒนาที่สมดุล
ทั้งความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความอยูดีมีสุขในสังคม ความยั่งยืน
ของธรรมชาติ บนรากฐานของปญญามนุษย

4) Growth for People การใชการเติบโตเพื่อปลดปลอย
พลังปญญามนุษย สรางหลักประกันความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต
ยกระดับทักษะเติมเต็มศกั ยภาพ และการมีสวนรวม

5) Hygienic Life การใชชีวิตที่สมดุลโดยมีทั้งสุขภาพที่ดี
เต็มเปยมดวยความหวัง มีความสุข มีความสมานฉันท เขาใจโลก

๑๑๗

เขาใจถึงคุณคาของการมีชีวิต ดำรงอยูในความพอเพียง มีทักษะ
ฉลาดรใู นการใชช ีวิต

6) Circular Economy เศรษฐกิจหมุนเวียนจะชวย
อุดชองวางการผลิตแบบเกาดวย Value Circle นำสิ่งเหลือใช
กลบั มาทำประโยชนใหม เนน ความยงั่ ยืน

7) Remedy of the Commons การฟนฟูเยียวยา
รักษาผลประโยชนสวนรวม ไตรตรองถึงสวนเสียที่อาจเกิดขึ้น
ในสิ่งดี ๆ ขณะเดยี วกัน มองหาสิง่ ที่ดที ี่ซอนอยูใ นส่ิงท่เี ลวราย

๑๑๘

ภาคผนวก 3
แนวโนม การดำเนินนโยบายของประเทศตา ง ๆ

หลงั วกิ ฤตโควิด 19

1. อินเดีย ประเทศตาง ๆ มีแนวโนมที่จะใหความสำคญั
และมีการลงทุนในระบบสาธารณสุขมากขึ้นภายหลังการแพรระบาด
ของโควิด 19 ซึ่งจะทำใหการแขงขันของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับ
สุขภาพเขมขนขึ้น โดยเฉพาะอินเดียท่ีปจจุบันอุตสาหกรรมยา
มขี นาดใหญอนั ดับ 3 ของโลกในเชิงปริมาณ และมขี นาดใหญอ ันดับ 14
ของโลกในเชิงมูลคา ดังนั้น อินเดีย จึงอาจเปนอีก 1 ประเทศที่มี
แนวโนมที่จะสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเชิงการแพทย
(Medical Tourism) เชนกัน รวมถึงอินเดียจะใชกลยุทธการทูต
ทางการแพทย (Medical Diplomacy) โดยการใหความชวยเหลือ
ดานสาธารณสุขแกประเทศยากไร การฝกอบรมดานการแพทย และ
การสนับสนุนดานเทคนิค ดังนั้น ไทยจึงควรมีการเตรียมความพรอม
รับมือในการแขงขนั ในอุตสาหกรรมดังกลาว

นอกจากนี้ อินเดียจะใหความสำคัญกับการปฏิรูป
ภาคเกษตร หลังการแพรระบาดของโควิด 19 ภาคเกษตรจะเปน
จุดแข็งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของอินเดีย อาจทำใหการขยายตัว
ของ GDP ในปงบประมาณ 2563 - 2564 (1 เมษายน 2563 - 31
มีนาคม 2564) เพิ่มเปนรอยละ 3 จากที่ธนาคารโลกคาดไวที่รอยละ
1.5 - 4 ทั้งนี้ ภาคเกษตรของอินเดีย มีสัดสวนรอยละ 16.5
ของ GDP ไมไดรับผลกระทบจากโควิด 19 และยังมีการเติบโต
อยางตอเนื่อง ตลอดจนเปนแหลงสรางงานที่สำคัญของประเทศ
ดังนั้น อินเดียจึงมีเปาหมายที่จะเปนแหลงผลิตอาหารของโลก
จากการที่มีศักยภาพเปนประเทศผูผลิตอาหารอันดับ 6 ของโลก

๑๑๙

และอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของอินเดียมีขนาดใหญอันดับ 5
ของโลก ซึ่งภายหลังการแพรระบาดของโรคโควิด 19 ยุติ คาดวา
อนิ เดยี จะเรง สงเสริมอตุ สาหกรรมอาหารใหเติบโตย่ิงข้ึน

2. ออสเตรเลีย พิจารณาปรับใชแผนเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อฟนฟูเศรษฐกิจหลังวิกฤตโควิด 19 เพื่อใหออสเตรเลียสามารถ
พึ่งพาตัวเองไดทั้งในชวงที่มีการปดพรมแดนและการหยุดการผลิต
ของประเทศที่เปนหวงโซอุปทาน โดยการฟนฟูอุตสาหกรรมการผลิต
ที่มีศักยภาพในประเทศใหมีความยืดหยุน สามารถผลิตสินคา
ที่จำเปนไดหลากหลายมากขึ้น และลดการพึ่งพาวัตถุดิบจาก
ตางประเทศ นอกจากนี้ ออสเตรเลียเปนประเทศที่มีกำลังการผลิต
สินคา โดยเฉพาะสินคาเกษตร ประมง ปศุสัตวและพลังงาน
มากกวาความตองการบริโภคในประเทศ การพิจารณาดำเนินแผน
เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจหลังวิกฤตโควิด 19
โดยยกระดบั อตุ สาหกรรมการผลิตท่ีมีศักยภาพในประเทศ (อาหาร
และการแปรรูป) สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการทำ
ฟารมเกษตรยุคใหม และใชค วามไดเปรยี บดานคณุ ภาพและชื่อเสียง
ของสินคาที่เปนที่ยอมรับในตลาดตางประเทศ ซึ่งนอกจากจะชวย
กระตุนการเติบโตของเศรษฐกิจในประเทศ การสรางมูลคาเพิ่ม
ใหการสงออกและสนับสนุนการใชงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
ที่ทันสมัยในประเทศ เพื่อใหออสเตรเลียพึ่งพาตนเองไดเปนหลัก
และไดรับผลกระทบนอ ยในกรณีที่อาจเกิดวิกฤตรุนแรงอันมีผลกระทบ
ตอเศรษฐกิจโลกในอนาคต (สำนักงานสงเสริมการคาตางประเทศ
นครซิดนยี , เมษายน 2563)

๑๒๐

3. สิงคโปร มุงปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจโดยเนน
การเพิ่มความหลากหลายของหวงโซอุปทาน พัฒนาภาคธุรกิจ
ที่ไดรับผลกระทบ เชน เทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ
ขยายแหลงนำเขาวัตถุดิบ อาหาร และตลาดสงออกในภูมิภาคอื่น ๆ
รวมถึงเรงจดั ทำขอ ตกลงเขตการคาเสรี

4. ญี่ปุน มีแนวโนมจะยายฐานการผลิตออกจากจีน
เพื่อกระจายฐานการลงทุนไปยังประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะอยางย่ิง
ประเทศในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตแ ละอนิ เดยี

5. สหภาพยุโรป (EU) จะเนนการระดมทุนเพื่อสนับสนุน
การวิจัยและพัฒนาวัคซีนรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID 19) ผานกลไกพหุภาคีสำคัญของโลก อาทิ องคกรหลัก
ในสหประชาชาติ กลุม G-20 World Economic Forum (WEF)
โดย EU เปนผูบริจาครายใหญและตั้งเปาหมายจะกำหนดกติกา
ในการแจกจายวัคซีนอยางเปนธรรม ซึ่งหาก EU ประสบความสำเร็จ
อาจชวยใหป ระเทศกำลังพัฒนารวมทงั้ ไทย สามารถเขา ถึงวัคซีนได


Click to View FlipBook Version