บรรณานุกรม National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
1. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการให้การปรึกษาขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ:
สำ� นกั งานกจิ การโรงพมิ พ์ องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ ; 2547.
2. สำ� นกั วณั โรค กรมควบคมุ โรค . คู่มอื การให้การปรกึ ษาในงานวัณโรคและวัณโรคดอ้ื ยาสำ� หรับบุคลากร
สาธารณสขุ . กรุงเทพฯ: สำ� นกั พิมพอ์ ักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2560.
3. ส�ำนักวณั โรค กรมควบคุมโรค . แนวทางการด�ำเนนิ งานช่วยเหลอื ทางด้านสังคม เศรษฐกิจสำ� หรบั ผปู้ ่วย
วัณโรค; 2559.
4. ส�ำนกั วณั โรค กรมควบคุมโรค. มาตรฐานสากลการดแู ลรกั ษาวัณโรค (International Standards for
Tuberculosis Care: ISTC) การวนิ ิจฉัย การรักษา และสาธารณสุข (Diagnosis Treatment Public
Health). กรงุ เทพฯ: ส�ำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2552.
5. นิติพัฒน์ เจียรกุล. แนวทางปฏิบัติเรื่องวัณโรค. สาขาวิชาโรคระบบหายใจและวัณโรค. ภาควิชา
อายรุ ศาสตร์. คณะแพทย์ศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล. มหาวิทยาลัยมหดิ ล. 2007.
6. Grant R. Patient-centred care: is it the key to stemming the tide? International Journal
Tuberculosis and Lung Disease, 17, 10, S3-S4.
7. International Council of Nurses. Nursing Assessment and Interventions for Patients
Experiencing Side-effects During Treatment for DR-TB. (Available from Tuberculosis Project,
International Council of Nurses, 3., Place Jean Marteau , 1201 – Geneva, Switzerland
8. Roy M, Levasseur M, Couturier Y, Lindstrom B, Genereux. The relevance of positive
approaches to health for patient-centered care medicine. Preventive Medicine Reports
2 (2015) 10-2.
9. Stewart MA, Brown JB, McWhinney IR. Patient-Centred Medicine :Transforming the
clinical method. Second edition. Radcliffe Medical Press Ltd. 2003 4 pts, 21 chapters.
10. TB CARE I. International Standards for Tuberculosis Care. 3rded. San Francisco, United
States of America; 2014.
11. Vincent H.K Poon. Short counseling techniques for busy family doctors. Canadian family
physician Medecin de famille canadien 1997; 43: 705-8, 711-3.
12. Williams, G., Tudor, T., Jittimanee, S., Biraua, E., Fujiwara, P. I., Dlodlo, R., et al. Best
practice for the care of patients with tuberculosis: A guide for low-income countries.
2nded. Paris: International Union Against Tuberculosis and Lung Disease; 2017.
13. Williams V. Universal patient-centred care: can we achieve it?. International Journal
Tuberculosis and Lung Disease, 2013;17(10):S1-3.
139
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 14. World Health Organization. Elimination Financial hardship of Tuberculsosis via Universal
Health Coverage and other Social Protection measures. [cited 2018 Aug 18]. Available
from: http://www.who.int/tb/publications/UHC_SP_factsheet.pdf
15. World Health Organization. Guidelines for the programmatic management of drug-resistant
tuberculosis: emergency update 2011. Geneva, Switzerland: WHO; 2011. (WHO/HTM/
TB/2011.6)
16. World Health Organization. Guideline: nutritional care and support for patients with
tuberculosis. Geneva, Switzerland: WHO; 2013.
17. World Health Organization. Recommendations for investigating contacts for persons with
infectious tuberculosis in low and middle-income countries. Geneva, Switzerland: WHO;
2012. (WHO/HTM/TB/2012.9)
140
11บทท่ี
การปอ้ งกนั การแพร่กระจายเช้ือวัณโรค
141
National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
142
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561
11บทท่ี National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
การป้องกนั การแพรก่ ระจายเชือ้ วัณโรค
ผู้ป่วยวัณโรคส่วนใหญ่เป็นวัณโรคที่ปอด จึงสามารถแพร่กระจายเชื้อทางอากาศได้ โดยการไอ จาม
พูดตะโกนดังๆ ท�ำให้ผู้อื่นที่อยู่ในบริเวณนั้นๆ สูดเอาอากาศที่ปนเปื้อนเช้ือวัณโรคเข้าสู่ร่างกายได้ สถาน
พยาบาลเป็นสถานที่ที่ผู้ป่วยไปรับบริการสุขภาพจึงมีความเส่ียงสูงในการแพร่กระจายเช้ือวัณโรคไปสู่บุคคล
อ่ืนๆ ในสถานพยาบาล ประกอบด้วยบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในสถานพยาบาล ผู้ป่วยอื่นๆ และญาติท่ีไปรับ
บริการสุขภาพในเวลาเดียวกัน นอกจากน้ีผู้ป่วยวัณโรคยังสามารถแพร่กระจายเช้ือให้กับบุคคลใกล้ชิดอื่นๆ
ท้ังในครอบครัวและในชุมชนขณะที่มีกิจกรรมร่วมกัน ดังน้ันการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
จึงมีความส�ำคญั อย่างมากต่อแผนการด�ำเนินงานควบคมุ วัณโรค
11.1 ปัจจยั และความเสยี่ งต่อการแพรก่ ระจายเชอ้ื
(1) ปจั จัยเกยี่ วข้องกบั การแพรก่ ระจายเชอื้ ประกอบดว้ ย 4 ปจั จยั คือ
1) ปจั จยั ดา้ นผปู้ ว่ ยวณั โรค ไดแ้ ก่ ผปู้ ว่ ยวณั โรคปอด วณั โรคกลอ่ งเสยี ง และวณั โรคของอวยั วะอนื่
ทม่ี ชี อ่ งทางเปิดออกส่ภู ายนอก โดยเฉพาะผ้ปู ว่ ยที่มีแผลโพรงในปอด ผูป้ ว่ ยวัณโรคเสมหะ
บวก ผู้ปว่ ยไม่ปดิ ปากและจมกู เม่ือมีอาการไอ จาม รอ้ งเพลง พดู ทกี่ อ่ ให้เกิดละอองฝอย
2) ปจั จยั ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ สถานทค่ี บั แคบหรอื ทบึ (enclosed spaces) มกี ารไหลเวยี น
ของอากาศนอ้ ย ขาดการถ่ายเทอากาศทเ่ี หมาะสม สถานท่ีมคี นอยู่อย่างแออัด
3) ปจั จยั ดา้ นผสู้ มั ผสั ขน้ึ อยกู่ บั ปรมิ าณเชอื้ วณั โรคในอากาศทผ่ี ปู้ ว่ ยสดู เขา้ ไป และระยะเวลา
ท่ีสมั ผัสใกล้ชิดกับผปู้ ่วยวณั โรค
4) ปจั จยั ดา้ นผใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ไดแ้ ก่ ความลา่ ชา้ ในการวนิ จิ ฉยั การรกั ษาโดยไมม่ กี าร
แยกผู้ป่วยออกจากผูอ้ ื่น ให้การรกั ษาด้วยระบบยาทไี่ มเ่ หมาะสม หรือให้ยากระต้นุ อาการ
ไอ ซง่ึ ทำ� ใหเ้ ชอ้ื ออกมากบั เสมหะ
(2) ผูส้ มั ผสั ทเ่ี ส่ยี งต่อการตดิ เชื้อและปว่ ยเป็นวัณโรค
1) ประชากรทเี่ ปน็ กลมุ่ เสย่ี งในการสมั ผสั และตดิ เชอื้ วณั โรค เชน่ ผทู้ อ่ี ยใู่ กลช้ ดิ กบั ผปู้ ว่ ยวณั โรค
(contacts) ผตู้ ้องขงั (prisoners) บคุ ลากรสาธารณสุข (health care worker) แรงงาน
ขา้ มชาติ (migrant labors) ผู้สงู อายุ และเด็ก ผทู้ อ่ี าศยั อยใู่ นชุมชนแออัด คา่ ยอพยพหรอื
สถานสงเคราะห์ เป็นต้น
143
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 2) ผปู้ ว่ ยทมี่ โี รครว่ ม ถอื วา่ เปน็ ปจั จยั เสยี่ งทสี่ ำ� คญั ทมี่ ผี ลทำ� ใหก้ ารตดิ เชอื้ ปว่ ยเปน็ วณั โรค เชน่
ผู้ติดเชื้อเอชไอวี (HIV) ผู้ป่วยเบาหวาน (DM) ผู้ที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน ผู้ป่วยโรคปอด
อุดกนั้ เร้อื รัง (COPD) ผู้ป่วยโรคฝนุ่ หิน (silicosis) และผู้ปว่ ยโรคไต เป็นตน้
3) ผู้ท่ภี ูมิต้านทานทีช่ ั้นเยือ่ บุ (mucosa) ของหลอดลมและเน้อื เย่อื ทป่ี อดมีการเปล่ยี นแปลง
จากโรคฝ่นุ หิน การสูดควันบหุ ร่ี เป็นต้น
(3) การประเมนิ ความเสยี่ งตอ่ การแพรก่ ระจายเชื้อวัณโรคในสถานพยาบาล ได้แก่
1) จ�ำนวนผปู้ ่วยวัณโรคทเ่ี ขา้ รบั การรักษาในแต่ละหน่วยทั้งผูป้ ว่ ยในและผ้ปู ว่ ยนอก
2) จำ� นวนผู้ป่วยวัณโรคดอื้ ยาหลายขนานทเ่ี ขา้ รับการรักษาในแผนกผปู้ ว่ ยใน และผูป้ ่วยนอก
จ�ำแนกตามปงี บประมาณ
3) จ�ำนวนคร้ังของผปู้ ว่ ยท่มี ารับบรกิ ารที่สถานพยาบาล
4) แผนกทีม่ คี วามเสี่ยงสูงในการแพรก่ ระจายเชื้อ เช่น แผนกผ้ปู ว่ ยนอก สถานท่ีเก็บเสมหะ
คลินกิ วัณโรค แผนกผ้ปู ว่ ยใน อายุรกรรม หอ้ งเอกซเรย์ หอ้ งปฏบิ ตั ิการชันสตู ร เป็นต้น
5) กิจกรรมที่ปฏิบัติในสถานพยาบาลท่ีสามารถท�ำให้เกิดละอองฝอย (aerosol-generating
procedures produces) เชน่ การใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ การใหย้ ากระตนุ้ เสมหะ การดดู เสมหะ
การใหย้ าพน่ การส่องกลอ้ งตรวจหลอดลม เป็นต้น
6) ประเมนิ บคุ ลากรทเ่ี ส่ียงตอ่ การสัมผัสและรับเชอ้ื วณั โรค โดยพจิ ารณาถึงอายแุ ละอายขุ อง
การทำ� งานในสถานพยาบาล โรคประจำ� ตวั บางโรคทเ่ี สย่ี ง ปฏิบตั ิงานในแผนกทเี่ ส่ียง
7) จำ� นวนบคุ ลากรในสถานพยาบาลทไ่ี ดร้ บั การวนิ จิ ฉยั วณั โรคจำ� แนกตามแผนกรปู แบบการวนิ จิ ฉยั
8) จำ� นวนบคุ ลากรในสถานพยาบาลทตี่ ดิ เชอื้ วณั โรคแฝง จำ� แนกตามแผนก รปู แบบการวนิ จิ ฉยั
9) จำ� นวนการตรวจเสมหะเพอ่ื หาเชอื้ วณั โรค จำ� แนกตามแผนก และชว่ งเวลาตามความเหมาะสม
11.2 มาตรการควบคุมการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในสถานพยาบาล
การด�ำเนนิ การป้องกันการแพรก่ ระจายเช้ือวัณโรคในสถานพยาบาล ม่งุ เน้นแก้ปัจจยั ทจ่ี ะมีผลตอ่ การ
แพรก่ ระจายเช้ือวัณโรค ลดความเสย่ี งท่จี ะติดเชือ้ และปว่ ยเปน็ วณั โรค อาศัยมาตรการหลัก 3 มาตรการ ดงั นี้
11.2.1 มาตรการการบริหารจดั การ (administrative measures)
มาตรการบริหารจัดการถือเป็นมาตรการแรกและเป็นมาตรการที่ส�ำคัญที่สุดในการควบคุม
ปอ้ งกันการแพรเ่ ชื้อในสถานพยาบาล โดยมีวัตถุประสงค์หลกั คอื ป้องกันไมใ่ หผ้ ปู้ ว่ ยอน่ื ๆ และผ้ปู ฏิบตั งิ านใน
สถานพยาบาล สัมผัสหรือรับเชื้อวัณโรคจากผู้ป่วยวัณโรค และลดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วยวัณโรค โดยการ
วินิจฉัยผู้ที่มีอาการสงสัยและให้การรักษาผู้ป่วยวัณโรคโดยเร็วท่ีสุด มาตรการด้านการบริหารจัดการหลักๆ
ประกอบดว้ ย
(1) การพัฒนาแผนงานป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคของสถาน
พยาบาล ควรจดั ตง้ั คณะกรรมการเพอ่ื รบั ผดิ ชอบการดำ� เนนิ งาน จดั ทำ� แผนงานปอ้ งกนั และควบคมุ การแพรก่ ระจาย
144
เช้ือวัณโรค และประเมินผลการด�ำเนินงาน โดยอาจจะแยกออกมาจากแผนงานป้องกันและควบคุมการ National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
แพร่กระจายเชอื้ ในสถานพยาบาล
(2) การให้ความรู้บุคลากรท่ีปฏิบัติงานในสถานพยาบาล การให้ความรู้อาจด�ำเนินการ
ในรูปแบบของการอบรม ซ่ึงควรด�ำเนินการก่อนมอบหมายและปฏิบัติงาน และด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง
เปน็ ประจำ� ทุกปี ครอบคลมุ เน้อื หาอยา่ งนอ้ ย 7 ขอ้ ได้แก่
1) ความรพู้ ้ืนฐานของการแพร่กระจายเชอื้ และพยาธกิ ำ� เนดิ ของวัณโรค
2) ความเสย่ี งของการแพรเ่ ชื้อวัณโรคไปยงั บคุ ลากรและเจา้ หนา้ ท่ขี องสถานพยาบาล
3) อาการและอาการแสดงของวณั โรค
4) ความสมั พนั ธข์ องวณั โรคและโรคเอดส์ ผตู้ ดิ เชอื้ เอชไอวเี สย่ี งตอ่ การปว่ ยเปน็ วณั โรค
5) ความสำ� คญั ของการควบคุมการแพร่กระจายเชือ้ ในสถานพยาบาล
6) มาตรการทจี่ �ำเพาะในการปฏิบตั งิ านเพือ่ ลดการแพร่กระจายเช้ือ
7) มาตรการที่จะสามารถปอ้ งกันตนเองจากการรับเชื้อ
(3) การใหค้ วามรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ ด�ำเนนิ การได้หลายชอ่ งทาง หรือหลายรูปแบบ เชน่
การใหส้ ขุ ศกึ ษา การฉายวดี ีโอ โปสเตอร์ แผน่ พับความรู้ เป็นต้น
(4) การจดั บริการสขุ ภาพทเี่ หมาะสมแก่ผ้ปู ่วยเพอื่ ลดการแพร่กระจายเช้ือวัณโรค
หลักส�ำคัญคือคัดกรองค้นหาผู้มีอาการสงสัยให้รวดเร็ว แยกผู้มีอาการออกจากผู้ป่วย
อนื่ ๆ ผปู้ ว่ ยสวมหนา้ กากอนามยั ใหก้ ารวนิ จิ ฉยั วณั โรคโดยเรว็ และรบี รกั ษาใหห้ าย และใชเ้ วลาในการรบั บรกิ าร
ท่ีสั้นทส่ี ุดในสถานพยาบาลสาธารณสุข
(4.1) แผนกผปู้ ว่ ยนอก เปน็ ดา่ นแรกทผี่ ปู้ ว่ ยเขา้ มารบั บรกิ ารสขุ ภาพในสถานพยาบาล
สขุ ภาพ ควรคน้ หาวา่ ผปู้ ว่ ยรายใดทม่ี คี วามเสยี่ งทจี่ ะเปน็ วณั โรค โดยเฉพาะผปู้ ว่ ยทอ่ี ยใู่ นระยะแพรเ่ ชอ้ื ซง่ึ หมายถงึ
เปน็ ผู้ป่วยวัณโรคท่มี ีเชอ้ื วัณโรคในเสมหะและมีอาการไอ จาม
1) มีจุดคดั กรองวณั โรค เพือ่ แยกผปู้ ่วยทสี่ งสยั ออกจากบุคคลอ่ืนตั้งแตบ่ รเิ วณ
แรกเขา้ มาในสถานพยาบาล ดังนัน้ จดุ คัดกรองควรอยู่ใกลบ้ รเิ วณที่ท�ำบตั รผ้ปู ว่ ย หรืออยู่หนา้ อาคาร ซึ่งเป็น
ทโ่ี ลง่ ระบายอากาศไดด้ ี ถา้ สถานพยาบาลมชี อ่ งทางเขา้ หลายชอ่ งทาง เชน่ หอ้ งฉกุ เฉนิ หอ้ งตรวจผปู้ ว่ ยประกนั
สงั คม ควรมีระบบคดั กรองในทุกจุดบรกิ ารผู้ปว่ ย
2) แนะน�ำให้ผู้ป่วยท่ีมีอาการสงสัยสวมหน้ากากอนามัยเพ่ือป้องกันการแพร่
เชือ้ สบู่ ุคคลอนื่ ๆ
3) จดั สถานทแี่ ยก ควรแยกผมู้ อี าการสงสยั หรอื เปน็ วณั โรคระหวา่ งรอตรวจ ไม่
ใหป้ ะปนกับผปู้ ่วยอ่นื ๆ ซึ่งควรเปน็ ท่ีโล่ง ระบายอากาศไดด้ ี
4) มีปา้ ยเตอื น (poster alert) ใหผ้ ู้ปว่ ยแจ้งเจ้าหน้าทข่ี องสถานพยาบาลหาก
มอี าการเข้าข่ายปว่ ยเป็นวัณโรค ปา้ ยดงั กลา่ วควรมอี ยูต่ ามจดุ ตา่ งๆ ของสถานพยาบาล
5) มชี อ่ งทางดว่ น (fast track) หรอื ชอ่ งทางพเิ ศษสำ� หรบั ผปู้ ว่ ยทม่ี อี าการสงสยั
วณั โรค เชน่ มหี อ้ งตรวจเฉพาะโรคระบบทางเดนิ หายใจแยกจากผปู้ ว่ ยทวั่ ไป กรณไี มส่ ามารถแยกหอ้ งตรวจได้
ควรตรวจผูป้ ่วยท่มี ีอาการก่อน เพื่อใหส้ ่งต่อไปตรวจเพิ่มเตมิ ได้รวดเรว็ ข้ึน
145
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 6) จดั โตะ๊ และเกา้ อสี้ ำ� หรบั แพทย์ พยาบาล และผปู้ ว่ ย ในหอ้ งตรวจใหเ้ หมาะสม
เพ่อื ลดการแพร่เช้อื จากผู้ป่วยไปยงั แพทยแ์ ละพยาบาลระหวา่ งให้บริการตรวจรักษา
7) ใหก้ ารตรวจวนิ จิ ฉยั โรคใหเ้ รว็ ทสี่ ดุ อาจพจิ ารณาใหส้ ง่ เอกซเรยท์ รวงอกและ
เกบ็ เสมหะสง่ ตรวจไดเ้ ลย เมอื่ พบผปู้ ว่ ยมอี าการสงสยั วณั โรค เมอื่ ไดผ้ ลตรวจแลว้ จงึ พบแพทยเ์ พอื่ วนิ จิ ฉยั โรค
และให้การรักษาได้อยา่ งรวดเรว็
(4.2) การจดั สถานทเ่ี ก็บเสมหะ สถานทีเ่ กบ็ เสมหะ มีได้ 2 ลักษณะ คอื
1) ตู้เก็บเสมหะที่เป็น negative pressure และมีแผงกรองอากาศระดับ
HEPA fitter หรอื
2) สถานท่ีเกบ็ เสมหะควรเป็นสถานทีโ่ ลง่ แจ้ง ควรอยู่ห่างจากบุคคล ห่างไกล
จากผู้ปว่ ยคนอ่ืนๆ และญาติ มีการระบายอากาศตามธรรมชาติทดี่ ี มีแสงแดดสอ่ งถึง
สถานทเี่ กบ็ เสมหะทงั้ สองแบบจะตอ้ งมอี า่ งลา้ งมอื ถงั ขยะตดิ เชอื้ และคำ� แนะนำ�
ในการปฏิบตั ิตวั ของผู้ป่วย ประเด็นส�ำคญั มากคือหา้ มเก็บเสมหะในห้องน�้ำเดด็ ขาด
(4.3) คลินกิ วณั โรค
1) จดั บรกิ ารแบบ one stop service เพ่ือให้ผู้ป่วยอย่ทู จ่ี ุดเดยี ว ไมเ่ ดินปะปน
และสัมผัสผู้ป่วยและบุคคลอื่นๆ และลดระยะเวลาที่อยู่ในสถานพยาบาล การบริการท่ีจุดเดียวประกอบไป
ดว้ ยการซกั ประวตั ิ ตรวจรกั ษา เกบ็ เสมหะ เอกซเรย์ (ถา้ ปฏบิ ตั ไิ ด)้ รบั คำ� แนะนำ� สขุ ศกึ ษา จา่ ยยาและนดั รกั ษา
ครง้ั ต่อไป
2) จดั สถานทตี่ ง้ั ของคลนิ กิ วณั โรคใหเ้ หมาะสม ใหแ้ ยกจากอาคารอน่ื ของสถาน
พยาบาล (ถา้ ทำ� ได้) หรอื อยดู่ ้านใดดา้ นหนง่ึ ของอาคารทมี่ ีทางเปดิ โล่งออกไปด้านนอกอาคาร มีระบบระบาย
อากาศได้ดีและแสงแดดส่องถึง และไม่ควรอยู่ใกล้คลินิกอื่นๆ ที่ให้บริการผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงวัณโรค เช่น
คลินกิ เอชไอวี คลนิ ิกเบาหวาน คลนิ ิกเดก็ คลนิ ิกสงู อายุ เปน็ ตน้
(4.4) แผนกผปู้ ว่ ยใน ถา้ จำ� เป็นตอ้ งรบั ผ้ปู ่วยวณั โรคไวใ้ นสถานพยาบาล
1) ควรมีห้องแยกส�ำหรบั ผูป้ ่วยวัณโรค ระยะแพรเ่ ช้อื (infectious TB cases)
หอ้ งทร่ี บั ผปู้ ว่ ยทด่ี ที สี่ ดุ คอื หอ้ งแยกเดยี่ ว ซงึ่ มกี ารจดั การอากาศทถี่ กู ตอ้ งตามหลกั วศิ วกรรมและสถาปตั ยกรรม
คือ airborne infection isolation room: AIIR หากไมม่ หี ้อง AIIR อาจใช้ห้องเด่ียว (single room) มพี ดั ลม
ดูดอากาศท่ีท�ำให้ทิศทางการไหลของอากาศในห้องไหลจากบุคลากรสู่ผู้ป่วยและท้ิงสู่ภายนอก อัตราการ
หมุนเวียนของอากาศในห้องไม่น้อยกว่า 12 เท่าของปริมาตรห้องต่อช่ัวโมง ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน
(MDR-TB) ตอ้ งแยกหอ้ งกบั ผปู้ ว่ ยวณั โรคทว่ั ไปทไี่ มด่ อื้ ยา ผปู้ ว่ ยควรใสห่ นา้ กากอนามยั ปดิ ปาก และจมกู ตลอด
เวลา ยกเวน้ กรณีจำ� เป็น เชน่ เวลารับประทานอาหาร แปรงฟัน ลา้ งหน้า เป็นต้น
2) ถ้าไม่สามารถจัดห้องแยกให้ผู้ป่วยได้ ควรจัดให้ผู้ป่วยพักรักษาที่เตียงที่อยู่
ริมหน้าต่างทีเ่ ป็นทางออกของทิศทางลม
3) ไม่ควรอนุญาตให้เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ หรือผู้ท่ีมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
เข้าเยี่ยม โดยไมจ่ �ำเปน็
4) หากจ�ำเป็นต้องเคล่ือนย้ายผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เช้ือออกจากห้องแยก
ควรให้ผู้ป่วยสวมหนา้ กากอนามัยปิดปากและจมูกกอ่ นออกจากห้องแยกทุกครง้ั
146
(4.5) การใหบ้ รกิ ารตรวจหรอื รกั ษาในแผนกอน่ื ๆ เชน่ ทแี่ ผนกฉกุ เฉนิ มกี ารคดั กรอง National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
และให้บริการผู้ป่วยที่สงสัยหรือผู้ป่วยวัณโรคแยกจากผู้ป่วยอื่นๆ เช่นกัน กรณีที่ผู้ป่วยวัณโรคต้องได้รับ
การผา่ ตัด ถา้ ไม่เรง่ ดว่ นควรผา่ ตัดเป็นรายสุดท้าย เปน็ ต้น
11.2.2 มาตรการควบคุมส่ิงแวดลอ้ ม (environmental control)
มาตรการควบคุมส่งิ แวดลอ้ ม อาศัยหลักการควบคุมคณุ ภาพอากาศ (air quality control)
เพอื่ ลดปริมาณเช้อื ท่มี ีอยู่ในอากาศ ภายในพน้ื ที่รอตรวจ หอ้ งตรวจ หอผ้ปู ว่ ย หรือพื้นที่อืน่ ทีม่ คี วามเสยี่ ง
การควบคมุ คณุ ภาพอากาศด�ำเนินการได้ 4 วธิ ดี งั นี้
(1) การระบายอากาศ มี 2 วธิ ี ไดแ้ ก่
(1.1) การระบายอากาศดว้ ยวธิ ธี รรมชาติ (natural ventilation) เปน็ การไหลของ
อากาศจากพนื้ ทห่ี นงึ่ ไปสพู่ น้ื ทหี่ นงึ่ หรอื อาศยั ลมพดั จากภายนอกไปสภู่ ายในตวั อาคารชว่ ยใหเ้ กดิ การไหลของ
อากาศจากภายนอกไปสภู่ ายในตวั อาคารและไหลออกไปอกี ดา้ นหนงึ่ ตามทศิ ทางลมธรรมชาติ
(1.2) การระบายอากาศดว้ ยวธิ กี ล (mechanical ventilation) เปน็ การใชเ้ ครอ่ื งมอื
ในการระบายอากาศออกจากพื้นท่ี โดยท่ัวไปมักใช้พัดลมระบายอากาศประเภทต่างๆ หรือใช้ระบบ
ทอ่ สง่ ลมในการนำ� พาอากาศเขา้ หรอื ออกจากพน้ื ท่ี การระบายอากาศดว้ ยวธิ นี ี้ จะสามารถควบคมุ ทศิ ทางการ
ไหลของอากาศภายในพน้ื ทไี่ ดต้ ลอดเวลาไมข่ น้ึ อยกู่ บั ฤดกู าล การใชพ้ ดั ลมทว่ั ไป ควรเปดิ ใหไ้ ปในทศิ ทางเดยี ว
(ไม่ส่ายไปมา) และเป็นทิศทางเดียวกับทิศทางลมธรรมชาติและให้พัดจากบุคลากร ผ่านผู้ป่วยและออกสู่
ภายนอกอาคาร สว่ นพดั ลมดดู อากาศทตี่ ดิ ผนงั ควรอยใู่ กลผ้ ปู้ ว่ ยเพอื่ ดดู อากาศทม่ี เี ชอื้ ปนเปอ้ื นออกภายนอกอาคาร
(2) การปรับความดันอากาศด้วยการใช้พัดลมที่มีแรงดูด เพื่อให้สภาพห้องเป็นลบหรือ
บวก เม่ือเทยี บกบั แรงดันอากาศภายนอกห้อง แบ่งออกเปน็ 3 แบบ ได้แก่
แบบที่ 1 เปน็ สภาพหอ้ งทม่ี คี วามดนั อากาศเปน็ ลบ (negative pressure) ทำ� ใหอ้ ากาศ
ภายในจะไม่สามารถไหลออกไปส่ภู ายนอกหอ้ งได้ เช่น หอ้ งแยกผู้ปว่ ยวณั โรค หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เป็นต้น
แบบที่ 2 เป็นสภาพห้องทีม่ ีแรงดันอากาศภายในและภายนอกห้องมคี วามดันอากาศท่ี
เทา่ กนั (neutral pressure) จะทำ� ใหม้ อี ากาศไหลเขา้ ออกไปมาระหวา่ งภายในหอ้ งและภายนอกหอ้ งไดต้ ลอด
เชน่ แผนกประชาสัมพนั ธ์ เปน็ ต้น
แบบท่ี 3 เปน็ สภาพหอ้ งทม่ี คี วามดนั อากาศเปน็ บวก (positive pressure) ทำ� ใหอ้ ากาศ
จากภายนอกหอ้ งไมส่ ามารถไหลออกไปสภู่ ายในห้องได้ เช่น หอ้ งท�ำงานของบุคลากรสขุ ภาพ เป็นต้น
(3) การใช้แผงกรองอากาศประสิทธิภาพสูง high-efficiency particulate air (HEPA)
filter เปน็ วธิ กี ารกำ� จัดเชือ้ วัณโรคโดยการใชเ้ คร่อื งกรองอากาศ หลักการคือ อากาศท่ีมเี ช้อื วัณโรคปนเปอ้ื น
จะผ่านเข้าไปในเคร่ืองกรองและผ่านขบวนการท�ำลายเช้ือวัณโรค ก่อนปล่อยอากาศท่ีสะอาดออกมาใช้ใหม่
วธิ นี เ้ี หมาะสำ� หรบั หอ้ งเลก็ ๆ ทม่ี บี รเิ วณจำ� กดั และอบั ทบึ ทไ่ี มส่ ามารถระบายอากาศตามธรรมชาตไิ ด้ ทง้ั นก้ี าร
ติดตั้งเครื่องกรองอากาศควรพิจารณาตามความเหมาะสม และต้องมีการตรวจสอบประสิทธิภาพของเคร่ือง
กรองอากาศอยา่ งสม่�ำเสมอ
(4) การฆ่าเช้ือด้วยแสงอัตราไวโอเลต (ultraviolet germicidal irradiation: UVGI)
เชอ้ื วณั โรคจะตายเมอื่ ถกู รงั สอี ลั ตราไวโอเลตทม่ี คี วามเขม้ ทเ่ี หมาะสม ในระยะเวลาทนี่ านเพยี งพอ การฆา่ เชอื้
ด้วยรังสีอัลตราไวโอเลต สามารถกระท�ำได้ ดงั น้ี
147
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 การฆา่ เชอื้ โรคดวั ยรังสีอัลตราไวโอเลตโดยตรง (direct ultraviolet germicidal
irradiation fixture) เปน็ การฆา่ เชอ้ื ในบรเิ วณหอ้ งหรอื พน้ื ทเ่ี สยี่ ง โดยแขวนหลอด UV
ไว้บนเพดานใหร้ งั สีอัลตราไวโอเลตกระจายไปท่วั หอ้ ง จะใช้ในพื้นท่ที ไ่ี มม่ ผี ้ปู ว่ ยอยู่
การฆา่ เชอ้ื โรคดัวยรังสอี ัลตราไวโอเลตในพน้ื ทีส่ ่วนบนของห้อง (upper room or
shielded ultraviolet germicidal irradiation fixture) ใชฆ้ า่ เชอ้ื วณั โรค ซงึ่ อยใู่ น
ละอองฝอยเสมหะทล่ี อยอยดู่ า้ นบนจะถกู ทำ� ลายโดยรงั สอี ลั ตราไวโอเลต ซง่ึ อากาศ
ด้านบนท่เี ชอื้ ถกู ทำ� ลายแลว้ จะไหลเวียนกลบั มาแทนทอี่ ากาศดา้ นลา่ ง
การฆ่าเชอ้ื โรคในอากาศด้วยรังสอี ลั ตราไวโอเลต ระบบปดิ (UV fan) สามารถเปิด
ใช้งานได้ตลอดเวลาขณะท�ำงานอยู่ในห้อง เหมาะส�ำหรับลดการปนเปื้อนของ
เชือ้ ในอากาศ เชน่ หอ้ งไอซยี ู หอ้ งผ่าตดั ห้องตรวจโรค หอ้ งฉกุ เฉิน เปน็ ต้น
การฆา่ เชอื้ โรคดวั ยรงั สอี ลั ตราไวโอเลตในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เชน่ ตชู้ วี นริ ภยั (biological
safety cabinet : BSC) และตยู้ อ้ มสสี ไลด์ ทมี่ กี ารออกแบบเพือ่ ปอ้ งกันการแพร่
กระจายของเชอ้ื โรคจากตวั อยา่ งหรอื สารทดลองสสู่ ภาวะแวดลอ้ ม และผปู้ ฏบิ ตั งิ าน
จะมพี ดั ลมทมี่ แี รงดดู ดดู เชอ้ื โรคขณะปฏบิ ตั งิ าน ผา่ นหลอดรงั สอี ลั ตราไวโอเลตเพอ่ื
ฆา่ เชอื้ ก่อนปลอ่ ยออกส่ภู ายนอกอาคาร
การฆา่ เชอ้ื โรคดวั ยรงั สอี ลั ตราไวโอเลตในตเู้ กบ็ เสมหะ ซงึ่ หลอดรงั สอี ลั ตราไวโอเลต
จะทำ� งานหลังจากผ้ปู ว่ ยขากเสมหะเสรจ็ และไมม่ ีคนอย่ใู นตู้เกบ็ เสมหะ
11.2.3 มาตรการป้องกนั ส่วนบุคคล (personal protection)
การใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั รา่ งกายสว่ นบคุ คล (personal protective equipment: PPE) เปน็ การ
ดำ� เนนิ การเพอ่ื ลดความเสยี่ งตอ่ การไดร้ บั เชอื้ วณั โรคของบคุ ลากรในหนว่ ยงาน ทใ่ี หก้ ารตรวจวนิ จิ ฉยั หรอื รกั ษา
ผ้ทู ส่ี งสัยว่าป่วยเป็นวัณโรคหรอื ผปู้ ว่ ยวัณโรค โดยมหี ลกั การใชด้ งั น้ี
ใช้อปุ กรณป์ อ้ งกนั รา่ งกายเฉพาะในกรณีท่มี ีขอ้ บง่ ชเ้ี ท่านนั้ และเม่ือหมดกจิ กรรมแล้วให้
ถอดอุปกรณ์ป้องกนั ร่างกายน้นั ออก
เลอื กใช้อุปกรณป์ อ้ งกันรา่ งกายสว่ นบุคคลให้เหมาะแกง่ าน
เลือกใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกันรา่ งกายสว่ นบคุ คลทม่ี ีขนาดที่เหมาะสมกบั ผู้สวมใส่
การเลอื กใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั รา่ งกายในระบบทางเดนิ หายใจ (respiratory protection) ไดแ้ ก่
(1) หนา้ กากอนามยั หรอื surgical mask ประสทิ ธภิ าพในการกรองขนาด 1 - 5 ไมโครเมตร
มปี ระโยชนใ์ นการชว่ ยลดการแพรก่ ระจายเชอ้ื จากผสู้ วมใส่ จงึ ควรจดั หาหนา้ กากอนามยั ใหแ้ กผ่ ปู้ ว่ ยทม่ี อี าการ
ทางระบบทางเดินหายใจ/สงสัยป่วยเป็นวัณโรค (ก่อนการวินจิ ฉยั ) และผปู้ ว่ ยท่รี ูแ้ นช่ ดั วา่ เป็นวัณโรค โดยให้
เปลยี่ นหนา้ กากอนามยั ทนั ทเี มอื่ เปอ้ื นหรอื ชน้ื แฉะและใชเ้ ฉพาะบคุ คล รวมถงึ ตอ้ งลา้ งมอื กอ่ นและหลงั การใช้
งานทุกครงั้
(2) หนา้ กากกรองอนภุ าค สามารถปอ้ งกนั การสดู อากาศทป่ี นเปอ้ื นดว้ ย droplet nuclei ได้
เชน่ N95 โดยกรองเชอ้ื อนภุ าคขนาด 1 ไมโครเมตร ไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 95 สวมใสท่ กุ ครงั้ กอ่ นการเขา้ ไป
148
ดูแลผู้ป่วย โดยต้องมีการตรวจสอบการแนบสนิทกับใบหน้า (fit check) ทุกคร้ัง และห้ามสวมหน้ากาก National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
กรองอนภุ าคชนดิ N95 ทบั surgical mask เพราะการสวมทับจะท�ำให้มรี อยร่วั (face – seal leakage)
ทำ� ใหล้ ดประสทิ ธภิ าพในการปอ้ งกนั ควรเปลยี่ นหนา้ กากกรองอนภุ าคใหมท่ นั ทเี มอื่ เปอ้ื น ชนื้ แฉะ มกี ลน่ิ เหมน็
หรอื สญู เสยี รปู ทรง และใชเ้ ฉพาะบคุ คล ซง่ึ เปน็ อปุ กรณช์ นดิ ใชค้ รง้ั เดยี วทงิ้ กรณที ม่ี คี วามจำ� เปน็ ตอ้ งใชซ้ ำ�้ ภาย
หลงั ตอ้ งใช้ความระมัดระวงั
บคุ คลากรควรสวมใสห่ นา้ กากกรองอนุภาคเมอื่
ใหบ้ รกิ ารตรวจรกั ษาผปู้ ว่ ยทมี่ อี าการสงสยั วณั โรคทหี่ อ้ งตรวจผปู้ ว่ ยนอกหรอื ตรวจ
ผ้ปู ว่ ยวัณโรคท่คี ลนิ กิ วัณโรค หรอื หอ้ งตรวจทางรังสี
ดแู ลรกั ษาผู้ป่วยวณั โรคในห้องแยก
ท�ำหัตถการที่ท�ำให้เกิดละอองฝอยของเสมหะฟุ้งกระจายซ่ึงท�ำให้แพร่เช้ือได้ เช่น
การใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ (endotracheal intubation) การกระตนุ้ การไอเพอ่ื ขบั เสมหะ
(sputum induction) การดูดเสมหะ (suction) การใหย้ าพน่ เปน็ ตน้
ปฏบิ ตั ิงานในห้องปฏบิ ตั กิ ารชนั สูตร (laboratory room)
สอ่ งกล้องตรวจหลอดลม (bronchoscopy)
ผา่ ตดั ผปู้ ว่ ยวณั โรค
ชนั สตู รศพผปู้ ว่ ยวณั โรค
นอกจากการใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกันแลว้ มาตรการอื่นๆ ทีเ่ ป็นการปอ้ งกนั การแพรเ่ ชือ้ จาก
ผูป้ ่วยได้ โดยสขุ อนามัยของผปู้ ว่ ย เช่น การปดิ ปากและจมูก เวลาไอหรอื จาม การบว้ นเสมหะลงในภาชนะ
ท่ีสถานพยาบาลจัดเตรียมไว้ ถ้าไม่มีแนะน�ำให้บ้วนใส่กระดาษช�ำระแล้วใส่ในถุงพลาสติกแล้วปิดปากถุง
ใหส้ นิทกอ่ นทิง้ ขยะ และควรลา้ งมอื บอ่ ยๆ ใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ เป็นต้น
11.3 แนวทางเฝ้าระวังการตดิ เชือ้ และการปว่ ยของบุคลากร
บุคลากรทางการแพทย์ เป็นผู้ที่มีความเส่ียงต่อการรับเช้ือจากอากาศระหว่างการปฏิบัติงาน ต้องมี
มาตรการในการเฝ้าระวงั และปอ้ งกัน ดังน้ี
(1) ตอ้ งมีความรเู้ กยี่ วกับวณั โรค ลกั ษณะการแพรเ่ ช้อื และแนวทางการป้องกนั
(2) บุคลากรที่เริ่มท�ำงานในสถานพยาบาลสาธารณสุข ควรได้รับการตรวจคัดกรองหาวัณโรคด้วย
การเอกซเรย์ทรวงอกทุกราย โดยไม่ต้องรอการตรวจสขุ ภาพประจ�ำปี ถา้ ไม่พบการป่วยเปน็ วณั โรค แนะนำ�
ใหต้ รวจหาการตดิ เช้ือวัณโรคแฝง (latent TB infection: LTBI) ซง่ึ มี 2 วธิ ี ดังน้ี
(2.1) ทดสอบทเุ บอร์คลุ นิ (tuberculin skin testing)
ถา้ ผลทเุ บอรค์ ลุ นิ ขนาด > 10 มลิ ลเิ มตร แสดงวา่ เคยรบั เชอื้ วณั โรค
ถา้ ผลทเุ บอรค์ ลุ นิ ขนาด < 10 มลิ ลเิ มตร อาจตรวจซำ�้ หลังจากน้ัน 1-3 สัปดาห์
(two-step test) ถา้ ครงั้ ที่ 2 เป็นบวก แสดงว่าเปน็ boosted reaction
(2.2) Interferon-gamma release assay: IGRA เป็นการตรวจเลือดโดยวัดระดับสาร
interferon-gamma ท่ีเพ่มิ ขน้ึ จากการกระตุ้น antigen ของเช้อื วัณโรค เพอ่ื ชว่ ยในการวินจิ ฉยั การตดิ เช้อื
149
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 ถา้ ผลทเุ บอรค์ ลุ นิ หรอื IGRA เปน็ บวก แสดงวา่ ตดิ เชอื้ แลว้ ใหเ้ ฝา้ ระวงั การปว่ ยเปน็ วณั โรค
และป้องกันการรบั เชื้อใหม่ ควรตรวจรา่ งกายทุก 6 เดอื นถงึ 1 ปี
ถา้ ผลทุเบอร์คลุ นิ หรือ IGRA เปน็ ลบ ใหท้ ดสอบซ้ำ� อกี ภายใน 1-2 ปี ถา้ ผลภายหลงั เปน็
บวกแสดงว่ามีการรับเช้ือใหม่ และตรวจร่างกายแล้วไม่พบการป่วยเป็นวัณโรค อาจพิจารณาให้ยาป้องกัน
วณั โรคตามความเหมาะสมเฉพาะรายโดยคำ� นงึ ถงึ ประโยชนแ์ ละความเส่ยี ง
ส�ำหรับบุคลากรท่ีปฏิบัติงานท่ัวไปในสถานพยาบาลสาธารณสุข ควรได้รับการตรวจ
เอกซเรยท์ รวงอกปลี ะ 1 ครัง้ สว่ นบุคลากรท่ปี ฏิบตั งิ านสัมผสั กับผปู้ ่วยโดยตรงควรได้รบั การตรวจเอกซเรย์
ทรวงอก ทุก 6 เดือน เพอื่ เฝ้าระวังการปว่ ยของบุคลากร
(3) แนวทางการดำ� เนินงานเมือ่ บุคลากรปว่ ยเป็นวณั โรค
เมอื่ บคุ ลากรปว่ ยเปน็ วณั โรคใหด้ แู ลรกั ษาไมต่ า่ งจากการดแู ลรกั ษาวณั โรคทว่ั ไป พจิ ารณาให้
หยุดพักงานอยา่ งน้อย 2 สัปดาห์ หรือจนกวา่ ผลเสมหะเปน็ ลบ แล้วแตแ่ พทย์พิจารณาตาม
ความเหมาะสม โดยขน้ึ กบั ตำ� แหนง่ งาน และแผนกท่ีทำ� งาน
ควรมีการให้ความรู้แก่ผู้ร่วมงานเร่ืองการแพร่เชื้อ รวมไปถึงการป้องกันการติดเชื้อ เพื่อลด
การตีตรา (stigma) และแบ่งแยกผู้ป่วยวณั โรคในหนว่ ยงานน้นั ๆ
ศึกษาแนวทางเพื่อขอรับค่าชดเชยจากส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกรณีท่ีได้รับ
ผลกระทบจากการใหบ้ ริการดูแลผูป้ ว่ ยวัณโรค
11.4 การปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชือ้ วัณโรคในครอบครวั และชมุ ชน
ผปู้ ว่ ยวณั โรคสามารถแพรก่ ระจายเชอ้ื วณั โรคใหแ้ กผ่ อู้ น่ื ทใ่ี กลช้ ดิ ได้ ตงั้ แตเ่ รมิ่ มอี าการจนกระทง่ั ไดร้ บั การวนิ จิ ฉยั
และรกั ษาดว้ ยสตู รยาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพจนผลตรวจเสมหะเปน็ ลบ ระยะเวลาจะสน้ั หรอื นานขน้ึ กบั วา่ ผปู้ ว่ ยเขา้ สู่
ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ เพ่อื รบั การวินจิ ฉัยเร็วหรอื ชา้ การวินจิ ฉยั โดยทมี สขุ ภาพรวดเร็วแค่ไหน ประสิทธภิ าพ
ของยาที่ใช้รักษา ปว่ ยจากเชอื้ ที่ไวตอ่ ยา หรือเชอื้ ดอื้ ยา เนือ่ งจากผูป้ ว่ ยทว่ั ไปหลงั เรมิ่ รักษา สว่ นใหญต่ อ้ งใช้
เวลาอย่างนอ้ ย 2 สัปดาห์ - 2 เดือน ส่วนผ้ปู ่วยวณั โรคด้ือยาหลายขนาน อาจต้องใชร้ ะยะเวลา นานประมาณ
2-4 เดือน จงึ จะพ้นระยะแพร่เช้ือ
แนวทางการควบคมุ ปอ้ งกันตามมาตรการตา่ งๆ ดังนี้
(1) มาตรการการจัดการ
1) คน้ หาผปู้ ว่ ยวณั โรคในชมุ ชนใหพ้ บโดยเรว็ โดยเฉพาะกลมุ่ ทม่ี คี วามเสย่ี ง เชน่ ผสู้ มั ผสั รว่ มบา้ น
หรอื สมั ผสั ใกล้ชิด ผู้ตดิ เชอื้ เอชไอวี ผ้สู ูงอายทุ ม่ี ีโรครว่ ม (ตดิ เตยี งหรือตดิ บา้ น) ผ้ตู ิดสุราเรือ้ รงั ผ้ใู ชส้ ารเสพตดิ
เป็นต้น
2) เมอ่ื พบผู้ปว่ ยวัณโรค ใหก้ ารดูแลและแนะน�ำการปฏบิ ัตติ วั ดังน้ี
ใหก้ ารรักษาท่ีได้มาตรฐานและมปี ระสิทธภิ าพ เป็นวิธีท่จี ะตัดวงจรการแพร่กระจายเช้อื
วณั โรคโดยเร็ว
ใหผ้ ้ปู ่วยดแู ลตนเองใหแ้ ข็งแรง ออกก�ำลงั กาย พักผ่อนใหเ้ พียงพอ รบั ประทานอาหารที่
มีประโยชน์ ใช้ชอ้ นกลาง เมอ่ื กนิ อาหารรว่ มกบั ผ้อู นื่ งดสูบบุหรี่ เลกิ ด่ืมสรุ า
150
ผู้ป่วยควรอยู่ในห้องท่ีมีอากาศถ่ายเทได้ดี มีแสงแดดส่องถึง ซักผ้าเช็ดหน้าและเสื้อผ้า National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
ด้วยผงซกั ฟอกและผ่ึงแดดให้แหง้
เมอ่ื ผปู้ ว่ ยไอหรอื จามใหใ้ ชก้ ระดาษชำ� ระหรอื ผา้ เชด็ หนา้ ปดิ ปากและจมกู ทกุ ครงั้ และทงิ้
ในถงั ขยะที่มถี ุงรองรบั และมฝี าปดิ ล้างมือใหส้ ะอาดบอ่ ยๆ บ้วนเสมหะในภาชนะทม่ี ฝี า
ปิดมดิ ชดิ ท�ำลายโดยการเผาทกุ วัน หรือบว้ นเสมหะในโถสว้ มชักโครก
3) ผู้ป่วยหลีกเล่ียงการคลุกคลีใกล้ชิดกับบุคคลอื่นในช่วงระยะแพร่เช้ือ อย่างน้อย 2 สัปดาห์
หรอื จนกวา่ ผลตรวจเสมหะเปน็ ลบ (กรณผี ปู้ ว่ ยวณั โรคดอ้ื ยาหลายขนาน ระยะเวลาแยกผปู้ ว่ ยจนกวา่ มผี ลตรวจ
เสมหะเป็นลบ)
บุคคลในครอบครัว โดยเฉพาะเด็ก ผู้สูงอายุ หรือคนท่ีมีโรคหรือภาวะเส่ียงต่อวัณโรค
ควรแยกห้องนอน
บุคคลอืน่ ๆ ในชุมชน
o ถา้ ผปู้ ว่ ยตอ้ งทำ� งานในทที่ ำ� งานทม่ี คี วามเสย่ี งตอ่ การแพรก่ ระจายเชอ้ื ควรใหห้ ยดุ งาน
o ควรหลกี เลย่ี งการเขา้ ไปในสถานทที่ ม่ี ลี กั ษณะปดิ (close space) และมคี นแออดั เชน่
สถานบนั เทิง โรงภาพยนตร์ ห้างสรรพสนิ ค้า เปน็ ตน้
o ควรหลกี เลย่ี งการโดยสารสาธารณะทต่ี ดิ เครอ่ื งปรบั อากาศ เชน่ รถโดยสารปรบั อากาศ
รถแทก็ ซ่ี เครื่องบิน เปน็ ตน้
4) แนะน�ำผู้สัมผัสร่วมบ้านและผู้สัมผัสใกล้ชิดไปรับการคัดกรองและตรวจหาวัณโรคอย่าง
สมำ่� เสมอทุก 6 เดือน เปน็ เวลา 2 ปี และหลังจากนนั้ ประจำ� ทกุ ปี
(2) มาตรการควบคุมสง่ิ แวดล้อม จดั ทีอ่ ย่อู าศยั และสง่ิ แวดลอ้ มภายในบ้านหรือที่ทำ� งาน โดยเปิด
ประตหู น้าต่างใหอ้ ากาศถา่ ยเทได้สะดวก นำ� ท่ีนอน หมอน มุ้ง ผ่ึงแสงแดด เสมอๆ
(3) มาตรการปอ้ งกนั ส่วนบุคคล ในระยะแพร่เช้อื และ/หรอื มอี าการไอ จาม แนะนำ� ผูป้ ว่ ยให้สวม
หน้ากากอนามยั เม่ือตอ้ งอยู่กบั ผู้อ่ืน เชน่ เมือ่ มญี าติหรือคนรู้จกั มาเยย่ี มที่บา้ น ในทท่ี �ำงานท่มี เี พื่อนรว่ มงาน
ในห้องเดยี วกนั หรอื เมื่อจ�ำเปน็ ตอ้ งเดนิ ทางออกนอกบา้ นและโดยสารรถสาธารณะ หรอื อย่ใู นชมุ ชนทม่ี ผี ูค้ น
มากและเป็นสถานที่ปิด หรือสถานท่ีที่มีการติดเครื่องปรับอากาศ เช่น ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์
รา้ นอาหาร เป็นตน้
กรณมี ีผู้ปว่ ยวณั โรคในทท่ี �ำงานหรอื โรงเรียน
ควรใหผ้ ปู้ ว่ ยทส่ี ามารถแพรเ่ ชอ้ื ได้ หยดุ งานหรอื หยดุ เรยี นเพอ่ื รกั ษาและลดการแพรก่ ระจาย
เช้ือในสถานที่ท�ำงาน/สถานศึกษา เป็นเวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ (กรณี ผู้ปว่ ยวณั โรคดื้อยา
หลายขนาน ควรหยุดงานหรอื หยุดเรยี นจนกว่าผลตรวจเสมหะเป็นลบ)
กรณสี ถานประกอบการ นายจ้างไม่ควรเลกิ จ้างดว้ ยเหตทุ ี่ป่วยเป็นวัณโรค
ควรท�ำความสะอาดห้องท�ำงานหรือห้องเรียนท่ีพบผู้ป่วยวัณโรค เช่น เปิดประตู-หน้าต่าง
ระบายอากาศล้างแอร์ ท�ำความสะอาดผา้ มา่ น เป็นต้น
แนะนำ� ใหผ้ ู้สมั ผัสใกล้ชิด ซ่งึ ไดแ้ ก่ คนทท่ี �ำงานในห้องเดยี วกนั หรือนกั เรียนในหอ้ งเดียวกัน
มาตรวจหาวัณโรค (contact investigation)
ให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้สัมผัส และผู้ท่ีเก่ียวข้อง ให้ก�ำลังใจในการรักษา ไม่แสดงความ
รังเกยี จต่อผูป้ ่วย เพอื่ ลดการตตี รา (stigma)
151
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 บรรณานุกรม
1. ทองปาน เงอื กงาม. การติดเชื้อวณั โรคในบคุ ลากรสถานพยาบาลแมส่ อด บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัย
เชยี งใหม;่ 2547.
2. นรวีร์ จ่มั แจ่มใส, อุไร ภนู วกลุ และงามตา เจริญธรรม. การติดเช้ือวณั โรคในบคุ ลากรสถานพยาบาลพระ
ปกเกลา้ ปี พ.ศ.2539. วารสารศนู ยก์ ารศกึ ษาแพทยศาสตรค์ ลนิ กิ สถานพยาบาลพระปกเกลา้ 2540; 14: 131-41.
3. นธิ ิพฒั น์ เจยี รกุล, วนั ชัย เดชสมฤทธ์,ิ อรสา ชวาลภาฤทธ,ิ์ ตรงธรรม ทองด,ี มาริษา สมบตั บิ ูรณ์ และ
สำ� ราญ ใจชนื้ . ความชกุ ของวัณโรคในพยาบาลสถานพยาบาลศิรริ าช. วารสารวณั โรค โรคทรวงอกและ
เวชบำ� บัดวกิ ฤต 2545; 25: 73-7.
4. ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์. สถานการณ์วัณโรคของประเทศไทยและแนวทางแก้ไข. วารสารสมาคม
เวชศาสตร์ป้องกนั แห่งประเทศไทย 2554;1: 232-5
5. วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธ์ิ. การประเมินการควบคุมการแพร่กระจายของเช้ือวัณโรคทางด้านสิ่งแวดล้อม
สำ� นกั วณั โรค กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2554. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พอ์ กั ษรกราฟฟคิ แอนด์
ดีไซน;์ 2554.
6. วัฒน์ อุทัยวรวิทย์. สถานการณ์และปัญหาวัณโรคในสถานพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์.กลุ่มงาน
เวชกรรมสังคม สถานพยาบาลเชยี งรายประชานุเคราะห,์ กมุ ภาพันธ์; 2540.
7. วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี, นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล และภิรมย์ กมลรัตนกุล. อัตราอุบัติการณ์ของวัณโรคใน
บุคลากรสถานพยาบาลจุฬาลงกรณ์. กรุงเทพฯ: ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย; 2547.
8. รัตนา พันธ์พานิช และกุลดา พฤติวรรธน์. การติดเชื้อวัณโรคในบุคลากรในสถานพยาบาลนครพิงค์
เชียงใหม่. วารสารวณั โรคและโรคทรวงอก 2538; 16: 25-34.
9. ศรีประพา เนตรนิยม. แนวทางป้องกันวัณโรคในสถานพยาบาลสาธารณสุขภายใต้ภาวะจ�ำกัดทาง
ทรัพยากร ส�ำนกั วณั โรค กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2553. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์อกั ษร
กราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2553.
10. สถาบันพระบรมราชชนก. คมู่ อื แนวทางการปฏบิ ตั ิงานเพือ่ การป้องกนั และควบคมุ การแพรก่ ระจายเชอ้ื
วัณโรคในสถานพยาบาล. ส�ำนักปลัดกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2553, กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั ; 2553.
11. สถาบันพระบรมราชชนก. คู่มอื แนวทางการปฏิบตั ิงานเพอื่ การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชอ้ื
วณั โรคในสถานพยาบาล. สำ� นกั ปลดั กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2557, กรงุ เทพฯ:
โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ� กัด; 2557.
12. สถาบนั โรคทรวงอก. การจดั การระบบระบายอากาศและการปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื วณั โรค สถาบนั
โรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2556. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สขุ มุ วทิ การพมิ พ์ จำ� กดั ; 2556.
13. สำ� นกั วณั โรค. การควบคมุ การตดิ เชอื้ วณั โรคในยคุ ของการขยายงานการดแู ลรกั ษาผตู้ ดิ เชอ้ื เอชไอวี สำ� นกั
วัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์
ดไี ซน;์ 2551.
152
14. ส�ำนักวัณโรค. คู่มือแนวทางการประเมินส่ิงแวดล้อม เพ่ือการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
วณั โรคในสถานพยาบาล ส�ำนกั วัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2559. กรงุ เทพฯ:
โรงพมิ พอ์ กั ษรกราฟฟคิ แอนดด์ ไี ซน;์ 2559.
15. สำ� นกั วณั โรค กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ . แนวทางการดำ� เนนิ งานควบคมุ วณั โรคแหง่ ชาติ พ.ศ.
2556. พิมพค์ รัง้ ท่ี 2 (ฉบับปรับปรงุ เพิม่ เตมิ ) กรุงเทพฯ: สำ� นักงานกจิ การโรงพมิ พ์ องค์การสงเคราะห์
ทหารผา่ นศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ์; 2556
16. ส�ำนักวัณโรค. แนวทางการบริหารจัดการผู้ป่วยวัณโรคด้ือยา ส�ำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสุข พ.ศ. 2559: 89-98. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อกั ษรกราฟฟิคแอนดด์ ไี ซน;์ 2559.
17. อะเคื้อ อณุ หเลขกะ. รายงานการวเิ คราะหส์ ถานการณ์การป้องกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื วัณโรคในสถาน
พยาบาลในประเทศไทย. เชียงใหม่; 2552.
18. องั กรู เกดิ พาณชิ , ฐติ นิ าต สทิ ธสิ าร, วภิ าพรรณ วมิ ลเฉลา, สถาพร ธติ วิ เิ ชยี รเลศิ , อภริ กั ษ์ ปาลวฒั นว์ ไิ ชย,
ปราณี อ่อนศรี และคณะ. ความชุกของปฏิกิริยาทูเบอร์คูลินและบุสเตอร์เอฟเฟกต์ในนักศึกษาแพทย์
นกั เรยี นพยาบาล และทหารเกณฑไ์ ทย. วารสารวณั โรค โรคทรวงอกและเวชบำ� บดั วกิ ฤต 2545; 23: 203-17.
19. โอภาส การยก์ วินพงศ์. วัณโรคในบคุ ลากรสถานพยาบาลศรีสะเกษ. วารสารวัณโรค โรคทรวงอก และ
เวชบำ� บัดวกิ ฤต 2546; 24: 197-204.
20. American Association of Respiratory Care. Clinical Practice Guideline. Respiratory Care.
1996; 41(7); 647-53.
21. American National Standards Institute and American Society of Heating, Refrigerating, and
Air Conditioning Engineers, Inc. Standard 62.1-2004, Ventilation for Acceptable Indoor Air
Quality. Atlanta, United States of America; 2004.
22. Centers for Disease Control and Prevention. Guidelines for Environmental Infection Control
in Health-Care Facilities (2003), Errata: Vol. 52 (No. RR-10)” (MMWR Vol. 52 [42]: 1025–6)
on October 24, 2003.
23. Centers for Disease Control and Prevention. Guidelines for preventing the transmission
of Mycobacterium tuberculosis in health-care settings, 2005. MMWR2005; 54 (No.RR- 17).
24. Centers for Disease Control and Prevention Public Health Service. Guideline for infection
control in health care personnel, 1998. AJIC: American Journal of Infection Control
(1998;26:289-354) and Infection Control and Hospital Epidemiology (1998;19:407-63).
25. Francis J. Curry National Tuberculosis Center. Tuberculosis Infection Control Plan Template
For Jails. San Francisco, United States of America; 2002.
26. Siegel JD, Rhinehart E, Jackson M, Chiarello L, and the Healthcare Infection Control
Practices Advisory Committee. Guideline for Isolation Precautions: Preventing Transmission
of Infectious Agents in Healthcare Settings. Atlanta, United States of America; 2007.
153
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 27. The American Institute of Architects and the Facilities Guidelines Institute. Guidelines for
Design and Construction of Hospital and Healthcare Facilities 2001edition. Washington
DC, United States of America; 2001.
28. World Health Organization. An Advocacy Strategy for Adoption and Dissemination of the
WHO Policy on TB Infection Control in Health-Care Facilities, Congregate Settings and
Households, April 2010. Geneva, Switzerland: WHO; 2010.
29. World Health Organization. Guidelines for the Prevention of tuberculosis in Health Care
Facilities in Resource-Limited Setting. 1999. Geneva, Switzerland: WHO; 1999. (WHO/
TB/99.269)
30. World Health Organization. Infection prevention and control of epidemic-and pandemic-
prone acute respiratory disease in health care, June 2007. Geneva, Switzerland: WHO;
2007.
31. World Health Organization. Natural Ventilation for Infection Control in Health-Care Setting
2009. Geneva, Switzerland: WHO; 2009.
32. World Health Organization. WHO Policy on TB Infection Control in Health-Care Facilities,
Congregate Setting and Households 2009. Geneva, Switzerland: WHO; 2009. (WHO/HTM/
TB/2009.419)
154
12บทที่
แนวทางการสอบสวนและควบคุมวณั โรค
155
National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
156
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561
12บทท่ี National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
แนวทางการสอบสวนและควบคมุ วณั โรค
วัณโรค เป็นโรคติดต่อท่ีเป็นปัญหาส�ำคัญของสาธารณสุขไทยมาโดยตลอด ปัจจุบันเทคโนโลยีการ
วนิ จิ ฉยั และการรกั ษาวณั โรคของประเทศไทยรดุ หนา้ มากกวา่ ในอดตี เทยี บเทา่ มาตรฐานขององคก์ ารอนามยั
โลกและประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ แตอ่ บุ ตั กิ ารณข์ องการเกดิ วณั โรคในประเทศไทยกลบั ไมล่ ดลง และยงั มแี นวโนม้
ทจี่ ะเปน็ ปญั หามากขน้ึ ในอนาคต ทงั้ นเี้ นอ่ื งจากระบบการปอ้ งกนั ควบคมุ วณั โรค การเฝา้ ระวงั รวมทง้ั บคุ ลากร
ไมส่ ามารถปรบั ตามการเปลย่ี นแปลงของโรคและสงั คมไดท้ นั จำ� เปน็ ตอ้ งมวี ธิ กี ารทำ� งานทร่ี วดเรว็ และเบด็ เสรจ็
มากข้นึ การสอบสวนโรคดว้ ยวิธีการทางระบาดวทิ ยาแบบภาคสนาม (Field Epidemiology) เปน็ วธิ กี ารท่ี
ช่วยในการอธิบายการเกิดโรคและการเกิดการระบาดท่ีอาจเปล่ียนแปลงไปจากเดิม และไม่อาจใช้วิธีการ
ควบคุมโรคแบบเดิมมาใช้ได้ ในปัจจุบันบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขยังไม่เห็นถึงความส�ำคัญและ
ประโยชน์ของการสอบสวนวัณโรค ซ่ึงการสอบสวนวัณโรคเป็นกิจกรรมติดตามตรวจผู้สัมผัสใกล้ชิด ค้นหา
ผปู้ ว่ ยวณั โรครวมถงึ ผตู้ ดิ เชอื้ วณั โรคระยะแฝง (LTBI) และนำ� มารกั ษาจนหาย เพอื่ หยดุ ยงั้ การแพรก่ ระจายของ
เชื้อวัณโรค การสอบสวนวัณโรคยังมีเป้าหมายเพื่ออธิบายลักษณะ ความเชื่อมโยงตลอดจนถึงปัจจัยเส่ียงท่ี
ท�ำให้เกิดการแพร่กระจายโรคจากผู้ป่วยไปยังผู้สัมผัส เพ่ือก�ำหนดมาตรการในการป้องกันและควบคุมการ
แพรก่ ระจายเชอ้ื ที่จำ� เพาะกบั สถานการณน์ ั้นๆ
วัตถุประสงค์ของการสอบสวนวณั โรค
(1) เพื่อทบทวนใหท้ ราบขนาดของปญั หาวณั โรคท่แี ทจ้ ริงในพน้ื ที่
(2) เพอ่ื ทบทวนใหท้ ราบรายละเอยี ดการวนิ จิ ฉยั การรกั ษา และผลการรกั ษาของผปู้ ว่ ยวณั โรคแตล่ ะราย
(3) เพื่อค้นหา ตรวจคัดกรอง ตรวจวินิจฉัยและรักษา การติดเช้ือและการป่วยเป็นวัณโรคในกลุ่ม
ผสู้ ัมผสั พร้อมทั้งตดิ ตามเฝา้ ระวังผสู้ มั ผัสที่ยงั ไมป่ ว่ ย
(4) เพอื่ ค้นหาและควบคุมแหล่งแพรก่ ระจายโรค จากความเชื่อมโยงทางระบาดวทิ ยาในกล่มุ ผ้ปู ่วย
(5) เพื่อเสนอแนวปฏิบัติในการแกไ้ ขปัญหาทจี่ �ำเพาะส�ำหรับแตล่ ะพื้นที่
157
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 12.1 ค�ำจ�ำกัดความท่ีใช้ในการสอบสวนวัณโรค
12.1.1 ผู้ปว่ ยในการสอบสวนวัณโรค ได้แก่
(1) ผ้ทู ม่ี อี าการน่าสงสัยเป็นวณั โรค (presumptive TB) หมายถงึ ผู้ท่ีมอี าการไอเรื้อรงั
ติดต่อกันนาน 2 สัปดาห์ขนึ้ ไป อาการอนื่ ๆ ทอี่ าจพบได้คือ น�ำ้ หนักลด เบือ่ อาหาร ออ่ นเพลีย มไี ข้ (มกั จะเปน็
ตอนบ่าย ตอนเยน็ หรือตอนกลางคนื ) ไอมีเลอื ดปน (hemoptysis) เจ็บหน้าอก หายใจขดั เหงอื่ ออกมาก
ตอนกลางคืน
(2) ผปู้ ่วยวัณโรคท่ีไม่มีผลการตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการยนื ยัน (probable TB case)
หมายถงึ ผปู้ ว่ ยทแ่ี พทยว์ นิ จิ ฉยั และรกั ษาแบบวณั โรค โดยอาศยั ลกั ษณะทางคลนิ กิ และภาพเอกซเรยท์ รวงอก
หรือการตรวจทางเน้ือเยื่อพยาธิวิทยา (histopathology) โดยไม่มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการด้าน
แบคทีเรยี ยนื ยัน (B- หรอื clinically diagnosed TB case)
(3) ผปู้ ว่ ยวณั โรคทม่ี ผี ลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารยนื ยนั (confirmed TB case) หมายถงึ
ผปู้ ว่ ยวณั โรคซงึ่ แพทยว์ นิ จิ ฉยั โดยมผี ลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารพบเชอ้ื วณั โรค (B+หรอื bacteriologically
confirmed TB case) เชน่ AFB smear บวกหรอื การเพาะเลยี้ งเชอื้ และแยกชนดิ เชอื้ (culture & identification)
พบ Mycobacterium tuberculosis complex growth หรอื การตรวจทางอณชู วี วทิ ยา (molecular tests)
พบ MTB detected
12.1.2 ผ้สู ัมผสั วัณโรค (contacts of TB case) หมายถึง บคุ คลทส่ี ัมผัสกบั ผู้ปว่ ยวัณโรคทเี่ ป็น
index case ในช่วงตั้งแต่ 3 เดือนกอ่ น index case มอี าการหรือก่อนการวินจิ ฉยั ของ index case จนถึง
index case พน้ ระยะแพรเ่ ชอ้ื เชน่ หลงั การรักษาผู้ป่วยวณั โรคท่ยี ังไวต่อยาเปน็ เวลา 2 สปั ดาห์ หรือผลการ
ตรวจเสมหะด้วย AFB smear ลบ ผู้สัมผัสโรค แบ่งออกเปน็ 2 กลมุ่ ได้แก่
1) ผสู้ มั ผสั รว่ มบา้ น (household contact) หมายถงึ บคุ คลทอี่ าศยั อยรู่ ว่ มบา้ นกบั ผปู้ ว่ ย
ทไี่ ดร้ บั การวินิจฉัยกอ่ น (index case)
2) ผ้สู ัมผสั ใกล้ชิด (close contact) สามารถแบง่ เป็นประเภทได้ ดังต่อไปนี้
ก. ผสู้ มั ผสั ใกลช้ ดิ ทไี่ มใ่ ชผ่ สู้ มั ผสั รว่ มบา้ น แตม่ กี จิ กรรมอยรู่ ว่ มหอ้ งเดยี วกนั กบั ผปู้ ว่ ย เชน่
นักเรียนที่เรียนร่วมห้องเดียวกับผู้ป่วย เด็กเล็กที่อยู่ห้องเดียวกับพ่ีเล้ียงท่ีป่วยเป็นวัณโรค ผู้ต้องขังที่อยู่ร่วม
หอ้ งนอนเดียวกบั ผปู้ ่วยวัณโรคในเรือนจ�ำ เปน็ ต้น
ข. ผสู้ มั ผสั ใกลช้ ดิ ทส่ี ามารถกำ� หนดระยะเวลาทอี่ ยรู่ ว่ มกบั ผปู้ ว่ ยได้ ใหพ้ จิ ารณาผทู้ อ่ี ยรู่ ว่ ม
กับผู้ปว่ ยโดยเฉพาะในสถานท่ีท่ีใชเ้ ครื่องปรบั อากาศ หรือสถานท่ีปดิ อับ ขาดการระบายอากาศ โดยใช้เกณฑ์
ระยะเวลาเฉล่ยี มากกวา่ 8 ชัว่ โมงต่อวนั หรอื มากกวา่ 120 ช่ัวโมงต่อเดือน
ค. ผู้สัมผสั ท่เี ป็นผู้โดยสารรว่ มกับผปู้ ว่ ยวณั โรค
ผ้โู ดยสารเครอ่ื งบนิ ร่วมกับผปู้ ่วย ให้ใช้เกณฑ์ผูโ้ ดยสารทกุ คนทนี่ ั่งแถวหนา้ ผู้ป่วย
2 แถว แถวเดยี วกบั ผปู้ ว่ ยและแถวหลงั ผปู้ ว่ ย 2 แถว และใชเ้ กณฑร์ ะยะเวลาเฉลยี่
มากกว่า 8 ช่ัวโมงต่อวัน
158
กรณีการเดินทางระบบขนส่งสาธารณะทางบกหรือทางน�้ำ เช่น รถโดยสาร National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
สาธารณะ รถโรงเรยี น รถไฟ เรอื โดยสาร โดยเฉพาะพาหนะทใ่ี ชเ้ ครอ่ื งปรบั อากาศ
หรอื ขาดการระบายอากาศ ใหน้ �ำหลกั เกณฑ์เรอื่ งระยะเวลาการสมั ผสั ระยะห่าง
และการระบายอากาศ มาปรบั ใช้ตามสถานการณ์
ง. ผ้สู มั ผัสในกรณีอืน่ ๆ นอกเหนือจากขา้ งตน้ ให้พจิ ารณาว่าเป็นผสู้ ัมผัสวัณโรคโดยใช้
เงื่อนไขเรื่อง ระยะเวลาและระยะห่างจากผู้ป่วยมาพิจารณาร่วมกัน ทั้งนี้พิจารณาตามข้อเท็จจริงของแต่ละ
กรณแี ละสถานที่ เชน่ กรณผี ้สู ัมผัสท่ีเป็นเดก็ อายุตำ่� กว่า 5 ขวบ ผูต้ ิดเชือ้ เอชไอวี หรอื ผู้ทีม่ ีภมู คิ มุ้ กันถกู กด
หรอื บกพร่อง มโี อกาสสงู ทจี่ ะตดิ เช้ือและป่วยเปน็ วัณโรค
กรณพี บผปู้ ว่ ย index case เป็นเดก็ อายุนอ้ ยกว่า 5 ปี หรือ MDR-TB /pre XDR-TB /
XDR-TB ในผปู้ ่วยรายใหม่หรอื กลับเปน็ ซำ�้ ให้สมั ภาษณ์ผู้ปว่ ยดว้ ยว่า เคยสัมผัสผ้ปู ่วยวณั โรคหรอื ไม่ ในชว่ ง
2 ปกี ่อนผปู้ ว่ ยมีอาการป่วยคร้งั นี้ เพื่อคน้ หาผ้ปู ว่ ยทอี่ าจเป็นแหล่งแพรเ่ ชือ้ (probable source case)
12.2 ทีมสอบสวนโรคและการเตรียมการลงพนื้ ที่
12.2.1 ทมี สอบสวนโรค ประกอบด้วย
(1) ทมี ระดบั พน้ื ที่ ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล, โรงพยาบาล (งานระบาดวทิ ยา
เวชปฏิบัตคิ รอบครวั เวชกรรมสังคม), สำ� นกั งานสาธารณสุขอ�ำเภอ (แจ้งเจ้าหนา้ ที่หนว่ ยปฏิบัตกิ ารควบคุม
โรคติดต่อ (CDCU), งานระบาดวิทยาและงานวัณโรค/งานควบคุมโรคติดต่อ), ศูนย์บริการสาธารณสุขของ
กรงุ เทพมหานคร, ทมี อนามยั โรงเรยี น (กรณพี บปญั หาในโรงเรยี น), ทมี อาชวี อนามยั (กรณพี บปญั หาในสถาน
ประกอบการ), ทมี ควบคมุ การตดิ เชอ้ื (IC) ของโรงพยาบาล (กรณพี บปญั หาภายในโรงพยาบาล), ทมี ราชทณั ฑ์
(กรณพี บปญั หาในเรอื นจ�ำ)
(2) ทมี ระดบั จงั หวดั ไดแ้ ก่ สำ� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั (งานระบาดวทิ ยาและงานวณั โรค/
งานควบคมุ โรคตดิ ต่อ)
(3) ทีมระดับเขต ได้แก่ ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรค (งานระบาดวิทยา งานวัณโรค
งานป้องกนั ควบคมุ โรคเขตเมอื ง) เขตสุขภาพ กรงุ เทพมหานคร (สำ� นักอนามยั สำ� นักการแพทย์)
(4) ทมี ระดบั ประเทศ ได้แก่ กรมควบคุมโรค (ส�ำนกั ระบาดวิทยา สำ� นกั วณั โรค สถาบนั
ป้องกนั ควบคุมโรคเขตเมอื ง)
ทง้ั น้ี การพจิ ารณาทมี เพอ่ื เขา้ รว่ มการสอบสวนโรค ขน้ึ อยกู่ บั ระดบั และความรนุ แรงของสภาพ
ปัญหา ส�ำหรบั บางกรณี ควรพจิ ารณาให้มอี ายุรแพทยห์ รือกมุ ารแพทย์ หรือผู้เช่ยี วชาญ ร่วมทีมสอบสวนโรค
12.2.2 การเตรยี มลงพ้ืนที่ (prepare for field work)
เน่ืองจากการออกสอบสวนโรคในพื้นท่ี เป็นงานท่ีซับซ้อน ต้องท�ำในเวลาจ�ำกัดและมี
คา่ ใช้จา่ ยสูง เพื่อใหก้ ารด�ำเนนิ งานให้ผลคุม้ ค่า การเตรยี มการกอ่ นออกดำ� เนนิ งานจงึ มคี วามสำ� คญั มาก
159
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 หลังจากที่ได้มีการพิจารณาขนาด ความรุนแรงของปัญหาและศักยภาพของทีมในพื้นท่ีเพื่อ
ตดั สนิ ใจวา่ ทมี ในระดบั ถดั มา (ทมี เฉพาะกจิ ) ควรชว่ ยออกดำ� เนนิ การสอบสวนและควบคมุ การระบาดรว่ มกบั
พืน้ ทห่ี รือไม่
ทมี สอบสวนโรค ควรมกี ารกำ� หนดตำ� แหนง่ และผทู้ จี่ ะปฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี นตำ� แหนง่ ตา่ งๆ (ในหนงึ่ ทมี
ควรมีลูกทมี ประมาณ 3-7 คน) ตัวอย่างเชน่
(1) หัวหนา้ ทมี (supervisor)
(2) ผ้สู อบสวนหลัก (principle investigator; PI)
(3) ผชู้ ่วยผสู้ อบสวนหลกั (co-PI)
(4) ผจู้ ดั การทมี (administrative officer)
(5) ผดู้ แู ลเรือ่ งความปลอดภัย (safety officer)
(6) อื่นๆ เช่น นกั การสอื่ สาร ทปี่ รึกษาด้านวิชาการ
(7) ผรู้ ับผดิ ชอบงานวัณโรคของพื้นท่นี น้ั ๆ
กิจกรรมท่ีต้องเตรียมการก่อนออกสอบสวนโรคในพื้นที่ รายละเอียดศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก
หนงั สือแนวทางการสอบสวนและควบคุมวณั โรค
12.3 การสอบสวนวัณโรค
การสอบสวนแบง่ ออกเปน็ 4 ข้นั ตอน คอื
(1) ทบทวนขนาดปัญหาวณั โรค (situation review)
(2) ทบทวนรายละเอยี ดของผู้ปว่ ยแตล่ ะราย (case review)
(3) ค้นหาและตรวจผู้สัมผัสโรค (contact investigation) และค้นหาผู้ป่วยท่ีเป็นแหล่งแพร่เช้ือ
(source case investigation)
(4) สอบสวนกรณีเกิดผปู้ ว่ ยเป็นกลุ่มก้อนหรอื สงสัยการระบาด หรือพบผูป้ ว่ ยวัณโรคในองค์กรใดๆ ท่ี
เสยี่ งต่อการแพรร่ ะบาด (cluster/ outbreak/ organization investigation) หรอื กรณีเฉพาะอืน่ ๆ
เมื่อมีการวินิจฉัยผู้ป่วยวัณโรคแต่ละราย เจ้าหน้าท่ีคลินิกวัณโรคต้องข้ึนทะเบียนรักษาผู้ป่วยวัณโรค
ทุกราย ซกั ถามผู้ป่วยถงึ จ�ำนวน รายชื่อ อายุ อาชีพ และทีอ่ ยขู่ องผ้สู ัมผัส และแจง้ เจ้าหน้าทีเ่ วชกรรมสังคม/
เวชปฏิบตั คิ รอบครัว/ เวชศาสตร์ชมุ ชน หรือเจา้ หน้าทีท่ ไี่ ด้รับมอบหมาย เพื่อดำ� เนนิ การข้นั ตอนที่ (2) และ
(3) ตลอดจนรายงานตอ่ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ งหลกั เกณฑแ์ ละ
วิธีการแจง้ ในกรณที ม่ี ีโรคติดต่ออันตราย โรคติดตอ่ ท่ีต้องเฝา้ ระวงั หรือโรคระบาดเกิดขน้ึ กรณีพบกลุม่ ก้อน
ของผปู้ ่วยวณั โรคหรอื สงสัยการระบาด หรือพบผู้ปว่ ยวณั โรคในสถานที่หรือองคก์ รท่ีเสี่ยงตอ่ การแพรร่ ะบาด
ของวัณโรคเป็นวงกว้าง หรือกรณีเฉพาะอื่นๆ เจ้าหน้าที่เวชกรรมสังคม/ เวชปฏิบัติครอบครัว/ เวชศาสตร์
ชมุ ชน หรอื เจา้ หน้าทที่ ีไ่ ด้รบั มอบหมาย ควรแจง้ เจา้ หน้าท่ีหน่วยปฏบิ ัตกิ ารควบคมุ โรคตดิ ตอ่ (CDCU) หรอื
ทมี ระบาดวทิ ยาหรอื ทมี เฝา้ ระวงั สอบสวนเคลอ่ื นทเ่ี รว็ (Surveillance and Rapid Response Team, SRRT)
ดำ� เนินการตามขั้นตอนท่ี (1) – (4)
160
12.3.1 การทบทวนขนาดปัญหาวัณโรค (Situation review) National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ค้นหาผปู้ ว่ ยวณั โรคและวณั โรคด้อื ยา (ย้อนหลังอยา่ งนอ้ ย 1 ป)ี จากฐาน
ขอ้ มลู ตา่ งๆ ในโรงพยาบาล ตรวจสอบใหถ้ กู ตอ้ งครบถว้ นกอ่ นนำ� ไปวเิ คราะหใ์ หท้ ราบสถานการณว์ ณั โรคและ
วัณโรคด้อื ยาในพนื้ ที่
ข้ันตอน
(1) ทบทวนจำ� นวนและรายชือ่ ผู้ปว่ ยวณั โรคทงั้ หมด (ยอ้ นหลังอย่างน้อย 1 ปี) จาก
ทะเบยี นหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และ/หรอื ฐานขอ้ มลู ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และ/หรอื ทะเบยี น
ชันสูตรวณั โรค (TB 04)
ทะเบียนผู้ป่วยวัณโรค (TB 03) และทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคท่ีได้รับยาแนวที่สอง
(PMDT 03)
ฐานข้อมูลวณั โรคในโปรแกรม TBCM หรอื ฐานข้อมลู อน่ื ๆ ของโรงพยาบาล
ฐานข้อมลู การส่งั ใช้ยาวัณโรค
ฐานข้อมูลรหัสการวินิจฉัยโรค (ICD-10) รหัส A15 – A19 (A15 Respiratory
tuberculosis, bacteriologically and histologically confirmed, A16 Respiratory tuberculosis, not
confirmed bacteriologically or histologically, A17 Tuberculosis of nervous system, A18
Tuberculosis of other organs, A19 Miliary tuberculosis)
ฐานขอ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพ (43 แฟม้ )
(2) ตดั ขอ้ มลู ผปู้ ่วยที่ซ�้ำซอ้ นออก
(3) ประสาน และ/หรอื สง่ั ตรวจเพม่ิ เตมิ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ผปู้ ว่ ยทค่ี รบถว้ น ถกู ตอ้ งทส่ี ดุ โดยเฉพาะ
ผปู้ ว่ ยทมี่ ผี ลยนื ยนั ทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หรอื ผปู้ ว่ ยทมี่ โี อกาสแพรเ่ ชอื้ ไดม้ าก เชน่ มรี อยแผลโพรง (cavity) ในปอด
(4) จดั ทำ� ทะเบยี นผปู้ ว่ ยวณั โรคและทะเบยี นผปู้ ว่ ยวณั โรคทไ่ี ดร้ บั ยาแนวทส่ี อง ใหค้ รบถว้ น
ถูกตอ้ งและนำ� ขอ้ มลู เขา้ ในโปรแกรม TBCM
(5) วเิ คราะหส์ ถานการณว์ ณั โรคและวณั โรคดอ้ื ยาในพนื้ ที่ เชน่ จำ� นวนปว่ ย อตั ราปว่ ยและ
แนวโน้มของปัญหาวณั โรคและวัณโรคดื้อยา ความครอบคลุมของการคน้ หาวณั โรคและวณั โรคดอ้ื ยา ผลการ
รักษาวัณโรคและวัณโรคดื้อยา และวิเคราะห์ขอ้ มูลแยกกลุม่ ตา่ งๆ เชน่ อายุ เพศ สัญชาติ สถานะการติดเชอ้ื
เอชไอวี เขตพน้ื ที่
12.3.2 ทบทวนรายละเอียดของผู้ปว่ ยแตล่ ะราย (case review)
ทบทวนข้อมูลของผู้ป่วยแต่ละรายจากบันทึกของโรงพยาบาล เพื่อยืนยันการวินิจฉัย
การรกั ษาและผลการรกั ษา ประเมนิ ความเสยี่ งและโอกาสในการแพรก่ ระจายเชอื้ เพอื่ คน้ หาและควบคมุ ปจั จยั
ทางสังคมและส่ิงแวดล้อมที่ส่งเสริมการแพร่กระจายเชื้อและประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม จิตใจ
ของผปู้ ่วยและครอบครวั
161
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 ขั้นตอน
(1) ตรวจสอบข้อมูลการวินิจฉัย การรักษาและผลการรักษาจากแบบบันทึกต่างๆ ระบบ
ฐานขอ้ มลู ตา่ งๆ ของโรงพยาบาล เชน่ เวชระเบยี นผปู้ ว่ ย แบบบนั ทกึ การตรวจรกั ษาวณั โรค (TB 01) ทะเบยี น
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารชนั สตู ร ทะเบยี นชนั สตู รวณั โรค (TB 04) ฐานขอ้ มลู การจา่ ยยาของโรงพยาบาล ทะเบยี นผปู้ ว่ ย
วัณโรคทว่ั ไป (TB 03) ทะเบยี นผูป้ ว่ ยวณั โรคทไ่ี ด้รบั ยาแนวทส่ี อง (PMDT 03) และฐานขอ้ มลู โปรแกรม
(2) กรณพี บผทู้ ม่ี อี าการนา่ สงสยั วณั โรค (presumptive TB) และผปู้ ว่ ยทว่ี นิ จิ ฉยั จากลกั ษณะ
ทางคลนิ ิก (probable TB case) ตอ้ งสง่ ตรวจเสมหะและติดตามให้ทราบผลทกุ ราย
(3) ประเมินความเส่ียงและโอกาสในการแพร่เชื้อของผู้ป่วยแต่ละราย เช่น ประเภทของ
ผปู้ ่วย (วัณโรคปอด วัณโรคหลอดลม วณั โรคกล่องเสียง) ผลตรวจ AFB smear บวก ผลการเพาะเลี้ยงเชือ้
และแยกชนดิ เชอ้ื ไดเ้ ปน็ เชือ้ M. tuberculosis complex ผลการทดสอบความไวต่อยาพบเชอื้ วัณโรคดอื้ ยา
ยังไมไ่ ดร้ บั การรักษา ได้รบั การรักษาท่ไี มเ่ หมาะสม หรอื ตอบสนองไม่ดีตอ่ การรักษา มีอาการไอและไมม่ กี าร
ป้องกันการแพร่กระจายเชอ้ื ส่ผู ู้อ่นื การไดร้ บั หัตถการทางการแพทยบ์ างอยา่ ง เชน่ การกระตุ้นให้ไอ การใส่
ท่อช่วยหายใจ การส่องกล้องตรวจหลอดลม เป็นตน้
(4) สัมภาษณผ์ ู้ปว่ ย (index case) ควรด�ำเนินการภายใน 3 วันท�ำการ หลังได้รับรายงาน
วา่ พบผปู้ ว่ ยวณั โรค (กรณีผูป้ ่วยเปน็ XDR-TB ควรสมั ภาษณ์ผู้ปว่ ยภายใน 12 ช่วั โมง) เพือ่ ประเมินการรับรู้
เรือ่ งวณั โรค ประเมนิ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และจิตใจของผ้ปู ่วยและครอบครัวจากการเจ็บป่วยหรอื
จากการตีตรา เลอื กปฏิบัติ เชน่ การสูญเสียรายได้หรือการขาดรายได้ ถูกไล่ออกจากงาน ถกู พกั งานโดยไมไ่ ด้
รับเงินเดอื น เปน็ ต้น วางแผนร่วมกับผ้ปู ว่ ยในการเลือกสถานทที่ �ำ DOT (directly observed treatment)
และพี่เล้ียงดูแลการรบั ประทานยา (DOT observer) ใหเ้ หมาะสมกับวิถชี ีวิตและความจ�ำเป็นในการด�ำรงชพี
และเพอ่ื ค้นหาผปู้ ่วยทเี่ ป็นแหลง่ แพร่ รวบรวมรายช่ือและข้อมลู ของผูส้ มั ผัสในบ้าน สถานทศี่ กึ ษา/ที่ทำ� งาน/
โรงเรียนกวดวิชา สถานท่ที ำ� กิจกรรมตา่ งๆ (รายละเอียดและหลักการในการสัมภาษณ์ผู้ป่วย ศึกษาเพม่ิ เตมิ
ไดจ้ ากหนงั สอื แนวทางการสอบสวนและควบคุมวณั โรค)
(5) สัมภาษณ์พี่เล้ียงดูแลการรับประทานยา (DOT observer) เพื่อประเมินความรู้เร่ือง
วัณโรค การรักษาวัณโรค การประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ปัญหาอุปสรรคในการก�ำกับการ
กินยาและการส่งตอ่ ข้อมูลให้เจ้าหน้าท่ที ราบ การป้องกันการติดเชือ้ จากผปู้ ว่ ย
12.3.3 การค้นหาผู้สัมผัสโรคและผู้ป่วยที่เป็นแหล่งแพร่เชื้อ (contact and source case
investigation)
การคัดกรองผู้สัมผัส ควรด�ำเนินการภายใน 7 วันท�ำการหลังจากวินิจฉัยวัณโรคใน index
case โดยพิจารณาจากผปู้ ว่ ย (index case) ดังต่อไปน้ี
ถา้ พบผ้ปู ว่ ยยืนยนั เปน็ วัณโรค (confirmed TB Case) ทุกราย
ถา้ พบผปู้ ว่ ยนา่ จะเปน็ วณั โรค (probable TB case) ใหพ้ จิ ารณาทำ� contact Investigation
ด้วย โดยเฉพาะผปู้ ว่ ยทภี่ าพเอกซเรย์ทรวงอกมแี ผลโพรง (cavity) หรือมีอาการไอ
ถา้ พบผปู้ ว่ ยเด็กอายนุ ้อยกวา่ 5 ปี ทงั้ วณั โรคปอดหรือนอกปอด ให้ซกั ประวตั กิ ารสมั ผัส
162
ผู้ปว่ ยวัณโรค เพอื่ ค้นหา source case (ผูท้ ี่แพร่เช้อื ให้ผปู้ ว่ ยรายนี้) National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
ถา้ พบ MDR-TB, preXDR-TB หรือ XDR-TB ใหท้ ำ� contact investigation ทกุ ราย
กรณีพบ MDR-TB, preXDR-TB หรือ XDR-TB ในผู้ป่วยรายใหม่หรือกลับเป็นซ�้ำ
ใหค้ น้ หา source case ดว้ ยการลงพนื้ ทเี่ พอ่ื เยยี่ มสถานทท่ี ี่ index case อาศยั อยู่ ศกึ ษา/
ทำ� งาน ท�ำกิจกรรมตา่ งๆ จะช่วยใหส้ ามารถค้นหาผู้สัมผัสได้ครบถว้ นมากข้นึ
แนวทางการค้นหาและตรวจผู้สมั ผัสโรค
ผู้สัมผัสวัณโรคที่เป็นผู้ใหญ่ทุกราย แนะน�ำให้คัดกรองด้วยการเอกซเรย์ทรวงอกและ
ซกั ถามอาการ ถา้ ผดิ ปกตเิ ขา้ ไดก้ บั วณั โรคหรอื มอี าการนา่ สงสยั วณั โรค ใหส้ ง่ เสมหะตรวจ
หาวณั โรค
ผสู้ มั ผสั วณั โรคทเ่ี ปน็ เดก็ ทกุ ราย แนะนำ� ใหค้ ดั กรองดว้ ยการซกั ประวตั ิ ตรวจรา่ งกายและ
เอกซเรย์ทรวงอก 2 ทา่ (ดา้ นตรงและด้านข้าง) หากมีอาการนา่ สงสยั วัณโรค หรอื ภาพ
เอกซเรย์ทรวงอกผิดปกติ ให้ส่งเสมหะ และ/หรือน้�ำจากกระเพาะอาหาร (gastric
aspirate) ตรวจหาวณั โรค
การตรวจเสมหะหรอื สงิ่ สง่ ตรวจอนื่ ๆ ควรสง่ ตรวจ molecular testing เชน่ Xpert MTB/
RIF ตามความเหมาะสม เนื่องจากจะช่วยยืนยันการวินิจฉัยวัณโรคและช่วยคัดกรอง
วัณโรคดอ้ื ยาหลายขนาน ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
ผสู้ ัมผัสทไี่ ม่ได้ป่วยเปน็ วณั โรค แต่เส่ยี งต่อการป่วยเป็นวณั โรค เชน่ อายนุ อ้ ยกว่า 5 ป,ี
ติดเช้ือ HIV ควรพิจารณาให้การรักษาการติดเช้ือระยะแฝง (isoniazid Preventive
Therapy, IPT) หรอื รกั ษาแบบอืน่ ท่อี งคก์ ารอนามยั โลกแนะนำ�
หากผลการคัดกรองและการตรวจต่างๆ เป็นปกติ ผู้สัมผัสควรได้รับการตรวจคัดกรอง
ด้วยการเอกซเรย์ทรวงอก และ/หรือการคัดกรองด้วยอาการทุก 6 เดือน เป็นเวลา
อย่างนอ้ ย 2 ปี
ผสู้ มั ผสั ทไี่ ดร้ บั การรกั ษาการตดิ เชอื้ ระยะแฝง ควรไดร้ บั การตดิ ตามผลการรกั ษา ดว้ ยการ
เอกซเรยท์ รวงอกและ/หรอื การคัดกรองดว้ ยอาการทกุ 6 เดอื น เป็นเวลาอย่างนอ้ ย 2 ปี
ผสู้ มั ผสั ทไ่ี ดร้ บั การวนิ จิ ฉยั วา่ เปน็ วณั โรค (probable หรอื confirmed) ไมว่ า่ จะมอี าการ
หรือไม่กต็ าม ต้องท�ำการสอบสวนหาผู้สัมผสั โรคของผู้ปว่ ยรายนน้ั ตอ่ ไป
ผู้สัมผัสท่ีได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นวัณโรค ที่มี index case เป็นผู้ป่วยวัณโรคด้ือยา
ควรส่งเสมหะหรือส่ิงส่งตรวจอ่ืนๆ ตรวจทดสอบความไวต่อยาทั้ง genotypic และ
phenotypic test DST ทกุ ราย
ผู้สัมผัสผ้ปู ว่ ย index case ที่ HIV positive ควรพจิ ารณาใหค้ ำ� ปรกึ ษาผู้สมั ผัสเพอ่ื ตรวจ
HIV ดว้ ย
163
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 12.3.4 การสอบสวนกรณีเกิดผู้ป่วยวัณโรคเป็นกลุ่มก้อนหรือสงสัยการระบาด (cluster/
outbreak Investigation) หรอื กรณีเฉพาะอน่ื ๆ
มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาและควบคุมแหล่งแพร่กระจายของเชื้อโรค (person, place)
จากความเชอื่ มโยงทางระบาดวทิ ยาในกลมุ่ ผปู้ ว่ ย และตงั้ สมมตุ ฐิ านการเกดิ ผปู้ ว่ ยเปน็ กลมุ่ กอ้ นหรอื การระบาด
ของวัณโรค และเสนอมาตรการแกไ้ ข
ข้อบ่งชี้ในการสอบสวนวณั โรค
(1) มผี ู้ปว่ ยวัณโรคเกิดข้นึ เป็นกลุม่ กอ้ น (cluster) โดยมจี ำ� นวนผปู้ ่วยวณั โรคตง้ั แต่ 2 คน
ขึ้นไปท่ีปว่ ยเปน็ วัณโรคในระยะเวลาห่างกันไม่เกิน 3 เดือน โดยเป็นกล่มุ ท่ี
อาศัยอยทู่ ี่ใกลเ้ คียงกนั หรอื หมบู่ า้ นเดียวกนั
มีประวตั ทิ �ำกิจกรรมรว่ มกัน หรอื ท�ำงานร่วมกนั
(2) กรณเี ฉพาะอน่ื ๆ เชน่
พบ MDR-TB, pre-XDR-TB, XDR-TB ในผปู้ ว่ ยรายใหม่หรือกลับเปน็ ซ�้ำ
พบผู้ป่วยในสถานที่หรือองค์กรที่เส่ียงต่อการแพร่ระบาด (congregate setting)
เชน่ โรงเรยี น สถานทกี่ วดวชิ า ศูนยเ์ ด็กเลก็
เมอื่ ทราบวา่ มกี รณดี งั กลา่ ว เจา้ หนา้ ทเี่ วชกรรมสงั คม/เวชปฏบิ ตั คิ รอบครวั /เวชศาสตรช์ มุ ชน
หรอื เจา้ หนา้ ทท่ี ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ควรแจง้ เจา้ หนา้ ทหี่ นว่ ยปฏบิ ตั กิ ารควบคมุ โรคตดิ ตอ่ (CDCU) หรอื ทมี ระบาด
วิทยาหรือทีมเฝ้าระวงั สอบสวนเคล่อื นท่เี ร็ว (surveillance and rapid response team, SRRT) เพอ่ื รว่ ม
กนั สอบสวนและควบคมุ โรคต่อไป
กรณีพบผู้ป่วยในสถานท่ีหรือองค์กรท่ีเส่ียงต่อการระบาดซึ่งเก่ียวข้องกับคนหมู่มาก ก่อน
ดำ� เนนิ การสอบสวนโรค จำ� เปน็ ตอ้ งมชี ว่ งเวลาสำ� หรบั การใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจเรอื่ งวณั โรค เนน้ เรอื่ งประโยชน์
ของการตรวจคัดกรองผูส้ ัมผัส และใหค้ วามม่ันใจเรื่องการรักษาความลับของผูป้ ่วย ทงั้ น้ี เพือ่ ลดความกังวล
ลดการต�ำหนิ ตีตรากีดกันผ้ปู ว่ ยวณั โรค
ข้นั ตอนการสอบสวน
(1) ทบทวนและยืนยันการเกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน การเกิดโรคในสถานที่/องค์กรที่เส่ียงต่อ
การแพร่ระบาด
(2) คน้ หาผปู้ ว่ ยเพมิ่ เตมิ จากฐานขอ้ มลู ตา่ งๆ คน้ หาผปู้ ว่ ยเพม่ิ เตมิ จากการตรวจผสู้ มั ผสั โรค
รว่ มบา้ นและผู้สมั ผสั ใกล้ชดิ โดยใชเ้ ทคนคิ เชอื่ มโยงผูป้ ่วย-ผูส้ ัมผัสไปจนกระทั่งไมพ่ บผปู้ ่วยเพมิ่ เติม
(3) การประเมินความเสี่ยงในการแพร่กระจาย/ติดเชื้อ ได้แก่ ส่ิงแวดล้อม การอาศัยรวม
กันในทแ่ี ออดั การระบายอากาศไมด่ ี พฤตกิ รรมการปอ้ งกันโรค, อปุ กรณ์ปอ้ งกันสว่ นบุคคล (PPE) เชน่ ไอ
จาม โดยไม่ปิดปากและจมูกหรือไม่ใส่หน้ากากอนามัย ท�ำหัตถการที่เสี่ยงต่อติดเชื้อแต่ไม่ใส่อุปกรณ์ป้องกัน
สว่ นบคุ คล การประกอบอาชพี /กจิ กรรมรว่ มกนั ทางสงั คม/กจิ กรรมรว่ มกนั ในทสี่ าธารณะ เชน่ นง่ั รถตรู้ ว่ มกนั
โดยสารเครื่องบนิ ระยะทางไกลรว่ มกัน เปน็ ตน้
(4) วเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอื่ ตงั้ สมมตฐิ านการเกดิ ผปู้ ว่ ยเปน็ กลมุ่ กอ้ นหรอื การระบาดของวณั โรค
เช่น การแพรก่ ระจายเชือ้ หรอื การระบาดเกดิ ขึ้นไดอ้ ยา่ งไร แหลง่ แพร่เชื้อโรคอยทู่ ใี่ ด (source of infection)
ปจั จยั เสีย่ งของบุคคลทที่ �ำให้เกดิ การปว่ ยเปน็ วณั โรค (risk factors)
164
(5) การประมวลเหตุการณแ์ ละความเช่ือมโยงทางระบาดวทิ ยา National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
สรุปจ�ำนวนผู้ป่วย แยกตามเพศ กลุ่มอายุ ผลการตรวจเสมหะ แยกตามหน่วยย่อย
ของหนว่ ยงาน/องค์กร ผลการรกั ษา ปญั หาอปุ สรรคในการตรวจและตดิ ตามผปู้ ว่ ย
ผลกระทบท่ีเกดิ ข้นึ กบั ผปู้ ว่ ย และองคก์ ร
สรปุ จำ� นวนผูส้ มั ผัส ความครอบคลมุ ของการตรวจผูส้ ัมผสั ปญั หาอุปสรรคในการ
ตรวจและติดตามผูส้ ัมผัส ผลกระทบทเี่ กดิ ขึ้นกบั ผู้สมั ผัส และองคก์ ร
ประมวลเหตกุ ารณโ์ ดยแสดงความเชอ่ื มโยงทางระบาดวทิ ยาระหวา่ งผปู้ ว่ ยกบั ผปู้ ว่ ย
โดยอาจใชว้ ิธี social network analysis เพื่อใหเ้ หน็ ภาพรวมของเหตกุ ารณ์
ส่งทดสอบความไวต่อยาหลายๆ ขนาน เพ่ือค้นหารูปแบบของการด้ือยาที่เหมือน
กันเปน็ กลมุ่ ก้อน
ส่งตรวจ whole genome sequencing เพื่อยนื ยนั กลมุ่ กอ้ นของผู้ป่วยวัณโรคทีม่ ี
เชื้อวัณโรคสายพันธุ์เดียวกัน และล�ำดับการเกิดเชื้อของผู้ป่วย/กลุ่มผู้ป่วย
(ถา้ สามารถทำ� ได)้
(6) เสนอมาตรการแกไ้ ขตามข้อค้นพบ เชน่ การคดั กรองวัณโรคดว้ ยการเอกซเรยท์ รวงอก
ก่อนเรมิ่ ทำ� งาน ส�ำหรบั บางอาชีพ เช่น ครู พ่เี ลี้ยงเด็ก พนักงานขับรถ ระบบคัดกรองวัณโรคในหนว่ ยงาน/
องคก์ รทม่ี จี ำ� นวนคนอยรู่ ว่ มกนั เปน็ จำ� นวนมาก ในสง่ิ แวดลอ้ มทเี่ ออ้ื ตอ่ การแพรก่ ระจายเชอ้ื เชน่ เรอื นจำ� สถานพนิ จิ
สถานสงเคราะห์ โรงงาน โรงเรียน สถานท่ีกวดวิชา การท�ำความสะอาดเครื่องปรับอากาศ สิ่งแวดล้อม
การทำ� ใหห้ ้องปราศจากเชื้อ ในหนว่ ยงาน/องคก์ รท่ีเกิดกล่มุ ก้อนของผปู้ ว่ ยวัณโรค
การเสนอแนวทางปฏบิ ัตเิ พือ่ การควบคุมป้องกนั โรคที่จำ� เพาะในแต่ละพ้นื ที่
เมอื่ ทำ� การสอบสวนวณั โรคแลว้ ทมี สอบสวนโรค ตอ้ งสรปุ ผลเบอ้ื งตน้ พรอ้ มเสนอแนวทางการควบคมุ
ป้องกันวัณโรคให้สงบโดยเรว็ ไมใ่ ห้แพร่ระบาดหรือถา่ ยทอดไปยังกลมุ่ คนหรือพนื้ ที่อนื่ ๆ หรือเพื่อชว่ ยใหก้ าร
สอบสวนและควบคุมโรคในอนาคตท�ำไดด้ ียิง่ ขึ้น
การจดั ทำ� ขอ้ เสนอแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการป้องกันควบคมุ โรค ควรเปน็ แนวทางทีค่ รอบคลุมการด�ำเนนิ
งานทงั้ ทเ่ี ป็นเฉพาะพ้นื ท่ี และในสว่ นกลางหรือระดบั ประเทศ โดยเป็นข้อเสนอทม่ี ีขอ้ มลู มาจากการสอบสวน
ในครง้ั นนั้ ไมใ่ ชใ่ หค้ ำ� แนะนำ� แบบทวั่ ๆ ไป ตวั อยา่ งของขอ้ เสนอแนะ สามารถศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ไดจ้ ากเลม่ แนวทาง
การสอบสวนและควบคมุ วณั โรค
การยุตบิ ทบาทของทมี เฉพาะกิจ
เนอ่ื งจากธรรมชาตขิ องวัณโรคทีม่ ีระยะเวลาการปว่ ยเปน็ เวลานาน บทบาทของทีมเฉพาะกจิ ในฐานะ
ก�ำลังสนับสนุนชั่วคราว (surge capacity) จ�ำเป็นจะต้องจ�ำกัดอยู่ในช่วงระยะเวลาท่ีเหมาะสม เช่น 1-2
สปั ดาห์ หลงั จากนน้ั จะตอ้ งสรปุ ผลการสอบสวน และขอ้ เสนอแนะสง่ พรอ้ มขอ้ มลู ใหก้ บั เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ
ที่ดูแลพ้ืนทนี่ ้นั ต่อไป
165
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 บรรณานุกรม
1. กองระบาดวิทยา ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการด�ำเนินงาน
ทางระบาดวิทยา . พมิ พ์ครั้งท่ี 1: โรงพมิ พ์องคก์ ารรับส่งสนิ คา้ และพัสดุภัณฑ์ สงิ หาคม 2542
2. ค�ำนวณ อึง้ ชูศักดิ์ . หลักวชิ าและการประยุกต์ระบาดวิทยา สำ� หรบั ผ้บู รหิ ารสาธารณสขุ . พมิ พ์ครั้งที่ 2:
สถาบันพัฒนาการสาธารณสขุ อาเซยี น มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล; 2549.
3. ชยันตร์ธร ปทุมานนท์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ระบาด
วทิ ยาการแพทย.์ กรุงเทพฯ: พิมพ์คร้ังท่ี 1: โรงพมิ พส์ ขุ โสภา 2541.
4. มลู นธิ วิ จิ ยั วณั โรคและเอดส.์ โครงการวจิ ยั เรอ่ื ง “การพฒั นาคมู่ อื และเครอื่ งมอื ทช่ี ว่ ยเพม่ิ ความครอบคลมุ
ในการคน้ หาผสู้ มั ผสั วณั โรคและลดผลกระทบทางสงั คมแกผ่ ปู้ ว่ ยและผสู้ มั ผสั โรค”. ทนุ วจิ ยั โดยสถาบนั วจิ ยั
ระบบสาธารณสขุ
5. ลดารัตน์ ผาตินาวิน, สุริยะ คูหะรัตน์, สมบัติ แทนประเสริฐสุข. ความชุกของวัณโรคปอดในบุคลากร
สาธารณสขุ ในสถานบรกิ ารสขุ ภาพ. วารสารวชิ าการสาธารณสขุ ; ปที ่ี 10 ฉบบั ที่ 4 ตลุ าคม-ธนั วาคม 2544
6. สมาคมปราบวณั โรคแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ.์ วณั โรค. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 5: โรงพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลยั 2546.
7. สำ� นกั วณั โรค กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ . แนวทางการดำ� เนนิ งานควบคมุ วณั โรคแหง่ ชาติ พ.ศ.
2556. พมิ พ์ครง้ั ที่ 2 (ฉบับปรบั ปรงุ เพ่ิมเติม) กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั งานกจิ การโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์
ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถมั ภ;์ 2556.
8. สำ� นกั ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ . แนวปฏิบัตมิ าตรฐาน กรณผี ปู้ ว่ ยวัณโรคทาง
เดินหายใจระยะแพร่เชื้อเดินทางโดยอากาศยานระหว่างประเทศ. ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การ
สงเคราะหท์ หารผ่านศึกในพระบรมราชูปถมั ภ์; 2553.
9. สำ� นกั ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. เอกสารประกอบการอบรมหลกั สูตรระบาด
วทิ ยากอ่ นปฏบิ ัติการ ส�ำหรบั เจา้ หนา้ ที่ระบาดวทิ ยาระดับจังหวดั เขต และสว่ นกลาง . 21 -25 มนี าคม
2554 จงั หวัดนครนายก
10. ศนู ยก์ ฎหมาย กรมควบคมุ โรค. พระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. 2558. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์
แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ; 2558.
11. A.Gupta, J.Mbwambo, I.Mteza, S.Shenoi, B.Lambdin, C.Nyandindi et al. Active case finding
for tuberculosis among people who inject drugs on methadone treatment in Dar es
Salaam, Tanzania. The International Journal of tuberculosis and Lung Disease. The Union
2014. 18(17): 793-798
12. Center of Disease Control and Prevention. Guidelines for the Investigation of contacts of
Persons with Infection Tuberculosis, Recommendations from the National Tuberculosis
Controllers Association and CDC, 2005; 54
13. Elephant-to-Human Transmission of Tuberculosis, 2009. Emerging Infectious Diseases •
www.cdc.gov/eid • Vol. 17, No. 3, March 2011
166
14. Gregory J.Fox, Simone E.Barry, Warwick J. Britton, Guy B.Marks. Contact investigation for National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
tuberculosis: a systematic review and meta-analysis, Eur Respir J 2013; 41: 140-156
15. M.A.Jimenez-Fuentes, C.Mila Auge, M.N.Altet Gomez, J. Solsona Peiro, M.L.de Souza
Galvao, J.Maldonado et al. Screening for active tuberculosis in high-risk groups. The
International Journal of tuberculosis and Lung Disease. The Union 2014. 18(12): 1459-1465
16. N.Kancheya, D.Luhanga, B.Harris, J.Morse, N.Kapata, M.Bweupe et al. Integrating active
tuberculosis case finding in antenatal services in Zambia. The International Journal of
tuberculosis and Lung Disease. The Union 2014. 18(12): 1466-1472
17. R.Shrestha-Kuwahara, M.Wilce, N.Deluca, Z.Taylor. Factors associated with identifying
tuberculosis contacts. The International Journal of tuberculosis and Lung Disease. IUATLD
2003. 7(12): 5510-5516
18. The New Jersey Medical School Global Tuberculosis Institute. Tuberculosis education
and the congregate setting contact investigation: A resource for the public health worker.
Jan 2009
19. Tuberculosis Outbreak Associated with a Homeless Shelter — Kane County, Illinois,
2007–2011. MMWR / March 23, 2012 / Vol. 61 / No. 11 หน้า 186-189
20. World Health Organization. Definitions and reporting framework for tuberculosis – 2013
revision. Updated December 2014. Geneva, Switzerland: WHO; 2014. (WHO/HTM/
TB/2013.2)
21. World Health Organization. Toman’s tuberculosis case detection, treatment and moni-
toring questions and answers. Second edition. Geneva, Switzerland: WHO; 2004. (WHO/
HTM/TB/ 2004.334)
22. World Health Organization. Tuberculosis and air travel Guidelines for prevention and
control third edition. Geneva, Switzerland: WHO; 2008. (WHO/HTM/TB/ 2008.399)
23. World Health Organization. Early detection of Tuberculosis. An overview of approaches,
Guidelines and tools. Geneva, Switzerland: WHO; 2011. (WHO/HTM/STB/PSI/2011.21)
24. World Health Organization. Systematic screening for active tuberculosis: an operational
guide. Geneva, Switzerland: WHO; 2015. (WHO/HTM/TB/2015.16)
25. World Health Organization. Guidelines on the management of latent tuberculosis infection.
Geneva, Switzerland: WHO; 2015. (WHO/HTM/TB/ 2015.01)
26. World Health Organization. Global Tuberculosis Report 2017. Geneva, Switzerland: WHO;
2017. (WHO/HTM/TB/ 2017.23)
167
168
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561
13บทที่
พระราชบญั ญตั ิโรคตดิ ต่อ พ.ศ. 2558
กับการควบคมุ วัณโรค
169
National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
170
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561
13บทที่ National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
พระราชบัญญตั โิ รคติดตอ่ พ.ศ. 2558 กบั การควบคมุ วณั โรค
กระทรวงสาธารณสขุ ไดป้ ระกาศใหว้ ณั โรคเปน็ โรคตดิ ตอ่ ทต่ี อ้ งเฝา้ ระวงั ลำ� ดบั ที่ 48 (ซงึ่ หมายถงึ วณั โรค
ท่ีไวต่อยา (DS-TB) วัณโรคดอ้ื ยาชนิด RR-TB MDR-TB และ pre XDR-TB) และประกาศใหว้ ัณโรคด้ือยา
หลายขนานชนิดรุนแรงมาก (XDR-TB) เป็นโรคติดต่ออันตราย ล�ำดับที่ 13 ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ
พ.ศ. 2558 โดยก�ำหนดให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อเป็นผู้บังคับใช้กฎหมาย (เจ้าพนักงานควบคุมโรค
ตดิ ตอ่ เปน็ เจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา) ซงึ่ การใชก้ ฎหมายในการควบคมุ วณั โรคมมี าตรการ ดงั น้ี
13.1 มาตรการด้านการเฝ้าระวัง
การเฝา้ ระวงั เมื่อพบผปู้ ว่ ยหรือผ้มู เี หตอุ นั ควรสงสยั ตามกฎหมายระบุวา่ ตอ้ งแจ้งเจ้าพนักงานควบคมุ
โรคติดต่อ ซ่ึงการแจ้งหรือการรายงานโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังตามพระราชบัญญัติ
โรคติดตอ่ พ.ศ. 2558 มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือให้ผู้มสี ว่ นเก่ียวขอ้ งท้ังภาครฐั เอกชน และหน่วยงานอนื่ ๆ นำ� ไปใช้
ประโยชน์ในการด�ำเนินงานเฝ้าระวังและสอบสวนโรคทางระบาดวิทยา ในกรณีท่ีข้อมูลจากการเฝ้าระวัง
การสอบสวนโรค การแจ้งหรือรายงาน มีการพาดพิงถึงตัวบุคคลทั้งท่ีระบุตัวได้หรือไม่สามารถระบุตัวได ้
จะตอ้ งเกบ็ เป็นความลบั และประมวลผลโดยไมเ่ ปิดเผยชอ่ื ทง้ั นก้ี ารประมวลผลดังกลา่ วจะต้องเหมาะสมและ
ตรงกับวัตถปุ ระสงค์ในการป้องกันและควบคมุ โรค เจ้าพนกั งานควบคุมโรคตดิ ตอ่ อาจเปดิ เผยข้อมลู บางส่วน
ที่เกี่ยวกับการรักษา การป้องกัน การควบคุมโรคติดต่ออันตราย ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน
โดยไดร้ บั คำ� ยนิ ยอมจากเจา้ ของขอ้ มลู หรอื ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขทกี่ ฎหมายกำ� หนด (ตามมาตรา 10)
ในกรณที พี่ บผปู้ ว่ ยวณั โรค และวณั โรคดอ้ื ยาหลายขนานชนดิ รนุ แรงมากตอ้ งดำ� เนนิ การตามกฎหมาย ดงั น้ี
13.1.1 หลักเกณฑก์ ารแจง้ เมื่อพบผู้ปว่ ยวัณโรคหรือวณั โรคด้อื ยาชนดิ XDR-TB
(1) การแจง้ เมอื่ พบผปู้ ว่ ยวณั โรค ใหผ้ รู้ บั ผดิ ชอบในสถานพยาบาลหรอื เจา้ หนา้ ทห่ี อ้ งปฏบิ ตั กิ าร
แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในสังกัดส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหรือสังกัดส�ำนักอนามัย
กรุงเทพมหานคร แลว้ แต่กรณี ภายใน 7 วนั และบันทึกข้อมลู ในฐานข้อมลู TBCM ตามแผนงานวณั โรค
171
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 (2) การแจง้ เมอื่ พบผปู้ ว่ ยวณั โรคดอื้ ยาชนดิ XDR-TB ซง่ึ เปน็ โรคตดิ ตอ่ อนั ตรายตามกฎหมาย
เมอื่ พบ ผปู้ ว่ ย XDR-TB หรอื ผมู้ เี หตอุ นั ควรสงสยั XDR-TB ซงึ่ ไดแ้ ก่ ผปู้ ว่ ย RR/MDR-TB,
pre XDR-TB ท่ีปฏิเสธการรักษา ผู้ท่ีมคี วามเส่ียงสูงต่อการขาดการรกั ษา (เช่น โรคจติ เวช คนเร่รอ่ น ติดสุรา
เรอ้ื รงั ผใู้ ชส้ ารเสพตดิ เปน็ ตน้ ) ผทู้ ไ่ี มป่ ฏบิ ตั ติ ามแผนการรกั ษา (เชน่ กนิ หรอื ฉดี ยาไมส่ มำ่� เสมอ) ผปู้ ว่ ยวณั โรค
ท่ีมีประวัติสัมผัสผู้ป่วย XDR-TB ทั้งผู้สัมผัสร่วมบ้าน (household contact) และผู้สัมผัสใกล้ชิด (close
contact) ใหผ้ ้เู กย่ี วขอ้ งแจ้งต่อเจา้ พนักงานควบคุมโรคติดต่อ ดังนี้
กรณพี บผมู้ ีเหตุอันควรสงสยั วา่ เป็น XDR-TB ให้ผรู้ บั ผดิ ชอบในสถานพยาบาล
แจง้ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ สว่ นกลาง โดยแจง้ ผา่ นทมี ตระหนกั รสู้ ถานการณ์
(situation awareness team, SAT) ภายใน 3 ชวั่ โมง ท้งั นี้ควรแจ้งผปู้ ระสานงาน
วณั โรคของสำ� นกั งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคหรอื สำ� นกั งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคเขตเมอื ง
และแจง้ สำ� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั หรอื สำ� นกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร ทราบดว้ ย
เพื่อดำ� เนนิ การควบคุม XDR-TB ในพืน้ ทต่ี อ่ ไป
กรณพี บผปู้ ว่ ย XDR-TB โดยหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ทงั้ ภาครฐั และเอกชน ใหผ้ รู้ บั ผดิ ชอบ
หรอื เจา้ หน้าทห่ี ้องปฏบิ ตั กิ ารแจ้งเจ้าพนกั งานควบคมุ โรคตดิ ต่อสว่ นกลาง โดยแจง้
ผ่านทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (situation awareness team, SAT) ภายใน 3
ช่ัวโมง ท้ังน้ีควรแจ้งผู้ประสานงานวัณโรคของส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรค
หรือส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง และแจ้งส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
หรือส�ำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ทราบด้วย เพื่อด�ำเนินการควบคุม XDR-TB
ในพ้นื ทตี่ อ่ ไป
13.1.2 วธิ กี ารแจ้งเม่ือพบผปู้ ่วยวัณโรคหรือวณั โรคด้ือยาชนดิ XDR-TB ใหด้ ำ� เนนิ การตามขอ้ ใด
ข้อหน่งึ ดงั น้ี
แจ้งโดยตรงต่อเจา้ พนักงานควบคมุ โรคตดิ ตอ่
แจง้ ทางโทรศพั ท์
แจ้งทางโทรสาร
แจง้ เปน็ หนังสือ
แจ้งทางไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนิกส์
วธิ กี ารอนื่ ใดท่ีอธิบดีกรมควบคุมโรคประกาศกำ� หนดเพม่ิ เติม
13.1.3 ข้อมูลการแจ้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ตามวิธีการข้างต้นต้องมีรายละเอียด
อยา่ งน้อย ดงั น้ี
(1) กรณีผู้แจ้งเป็นผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล ให้แจ้งช่ือ ท่ีอยู่ และสถานท่ีท�ำงาน
ช่ือ อายุ เพศ สญั ชาติ ท่ีอยู่ปจั จุบันหรอื สถานทท่ี ผี่ ปู้ ว่ ยหรอื ผู้มเี หตุอนั ควรสงสัยพกั รักษาตัวอยู่ วันทเ่ี ร่มิ ป่วย
หรอื มีเหตอุ นั ควรสงสัยว่าปว่ ย วนั แรกรับไว้รักษา การวนิ ิจฉัยโรคข้ันต้น ประเภทและอาการสำ� คัญของผ้ปู ่วย
172
หรอื ผู้มีเหตอุ นั ควรสงสยั และผลการรกั ษา National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
(2) กรณผี แู้ จง้ เปน็ เจา้ หนา้ ทห่ี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารทท่ี ำ� การชนั สตู รหรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบในสถานทท่ี ไี่ ด้
มีการชันสตู ร ให้แจ้งช่ือ ท่อี ยู่ และสถานทที่ ำ� งาน ชอื่ อายุ เพศ สัญชาติ ทอี่ ยู่ปจั จุบนั หรอื สถานทีท่ ผี่ ูป้ ว่ ยหรอื
ผมู้ เี หตอุ นั ควรสงสยั ชอ่ื ทอ่ี ยู่ และสถานทที่ ำ� งานของผสู้ ง่ สง่ิ สง่ ตรวจ การวนิ จิ ฉยั โรคขน้ั ตน้ และผลการชนั สตู ร
ทง้ั น้ี ใหโ้ รงพยาบาลบนั ทึกขอ้ มูลผู้ป่วยในฐานขอ้ มลู TBCM ตามแผนงานวัณโรคด้วย
ศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ไดท้ ่ี ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารแจง้ ในกรณที ม่ี โี รคตดิ ตอ่
อันตราย โรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาดเกิดขึ้น พ.ศ. 2560 และแนวทางการรายงานโรคติดต่อ
อนั ตรายและโรคติดต่อทีต่ ้องเฝา้ ระวงั ตามพระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. 2558
13.2 มาตรการด้านการปอ้ งกนั และควบคมุ วณั โรคด้อื ยาชนดิ XDR-TB
(1) เมอื่ พบผปู้ ว่ ยหรอื ผมู้ เี หตสุ งสยั XDR-TB ในเขตพน้ื ทใี่ ด ใหเ้ จา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ในพน้ื ที่
น้นั มอี ำ� นาจด�ำเนนิ การเอง หรือออกคำ� สง่ั เปน็ หนงั สอื ใหผ้ ใู้ ดด�ำเนินการ ดังต่อไปน้ี (มาตรา 34)
ใหผ้ ูป้ ่วยหรือผู้มีเหตุสงสยั XDR-TB มารบั การตรวจหรือรักษา และเพือ่ ความปลอดภัยอาจ
ด�ำเนินการโดยการแยกกัก กักกัน หรือคุมไว้สังเกต ณ สถานที่ซ่ึงเจ้าพนักงานควบคุมโรค
ติดต่อก�ำหนดไว้ จนกว่าจะได้รับการตรวจและการชันสูตรทางการแพทย์ว่าพ้นระยะติดต่อ
ของโรคหรอื สนิ้ สุดเหตุอนั ควรสงสัย (ตามมาตรา 34 (1)) ท้ังน้ี การแยกกัก กักกนั หรอื คมุ ไว้
สงั เกต ควรพจิ ารณาดำ� เนนิ การตามความเหมาะสม มกี ารจดั การดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ยอยา่ งบรู ณาการ
โดยเนน้ ผู้ป่วยเปน็ ศนู ย์กลาง (Integrated, patient-centred cares) รวมถงึ การช่วยเหลือ
ดูแลสุขภาพจติ ไมใ่ หผ้ ู้ปว่ ยถกู ตตี ราจากสังคม และใช้ชีวิตตามปกติไดม้ ากท่สี ุด
ใหเ้ จา้ ของบา้ น ผู้ครอบครอง หรอื ผูพ้ ักอาศัยในบ้าน โรงเรอื น สถานที่ หรอื พาหนะท่ีมผี ้ปู ว่ ย
XDR-TB แกไ้ ขปรบั ปรงุ การสขุ าภบิ าลใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะ เพอ่ื การควบคมุ และปอ้ งกนั การแพร่
กระจายเชอ้ื (มาตรา 34 (4)) หา้ มผใู้ ดกระทำ� การหรอื ดำ� เนนิ การใดๆ ซง่ึ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ สภาวะ
ทไี่ มถ่ กู สขุ ลกั ษณะ อาจเปน็ เหตใุ หเ้ ชอ้ื XDR-TB แพรอ่ อกไปสผู่ อู้ น่ื ได้ (มาตรา 34 (6)) รวมถงึ
การห้ามผู้ใดเข้าหรือออกจากที่เอกเทศ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานควบคุมโรค
ตดิ ตอ่ (มาตรา 34 (7))
การค้นหาผู้สมั ผัสและกลุ่มเสี่ยง สามารถเขา้ ไปในบ้าน โรงเรือน สถานท่ี หรอื พาหนะ ท่มี ี
หรอื สงสยั วา่ มผี ปู้ ว่ ย XDR-TB เพอื่ การเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคมุ ไมใ่ หม้ กี ารแพรก่ ระจาย
เชื้อ (มาตรา 34 (8))
ด�ำเนินการสอบสวนโรค หากพบว่ามีผู้ป่วยหรือการระบาดของ XDR-TB ให้เจ้าพนักงาน
ควบคุมโรคติดต่อแจ้งต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดหรือคณะกรรมการโรคติดต่อ
กรงุ เทพมหานคร แล้วแตก่ รณี และรายงานข้อมลู นนั้ ใหก้ รมควบคุมโรคทราบโดยเรว็
173
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 (2) ในกรณที ม่ี เี หตจุ ำ� เปน็ เรง่ ดว่ นเพอ่ื เปน็ การปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื หรอื การระบาดของ XDR-TB
ใหผ้ วู้ า่ ราชการจงั หวดั โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จงั หวดั หรอื ผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร มีอ�ำนาจในพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของตน
ส่ังให้ผู้ป่วยหรือผู้มีเหตุอันควรสงสัย XDR-TB หยุดการประกอบอาชีพเป็นการช่ัวคราว (มาตรา 35(2))
สงั่ หา้ มผปู้ ว่ ยหรอื ผมู้ เี หตอุ นั ควรสงสยั XDR-TB เขา้ ไปในสถานทชี่ มุ นมุ ชน โรงมหรสพ สถานศกึ ษา หรอื สถานท่ี
อนื่ ใด เว้นแตไ่ ด้รบั อนุญาตจากเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดตอ่ (มาตรา 35(3))
(3) การป้องกันและควบคุมโรค ในบริเวณช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นสนามบิน
ท่าเรือ และพื้นที่ชายแดน ในกรณีท่ีพบว่าผู้เดินทางป่วยหรือมีเหตุอันควรสงสัย XDR-TB ให้เจ้าพนักงาน
ควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ประจำ� ดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ มอี ำ� นาจสงั่ ใหบ้ คุ คลดงั กลา่ วถกู แยกกกั กกั กนั
คมุ ไว้สังเกต
ในระหว่างที่อนุบัญญัติเก่ียวกับเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อยังไม่ประกาศใช้ ให้เจ้าพนักงาน
สาธารณสขุ ตามพระราชบญั ญัติโรคติดตอ่ พ.ศ. 2523 เป็นเจ้าพนักงานควบคมุ โรคติดต่อตามพระราชบัญญตั ิ
โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 จนกวา่ จะมกี ารแตง่ ตัง้ ตามกฎหมาย (มาตรา 58)
การดำ� เนนิ งานตามมาตรการดงั กลา่ งขา้ งตน้ ควรปรกึ ษาผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นกฎหมายและดำ� เนนิ การตาม
ทก่ี ฎหมายกำ� หนด โดยสามารถศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ไดท้ ี่ พระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. 2558 อนบุ ญั ญตั ทิ เี่ กยี่ วขอ้ ง
และแนวทางปฏบิ ตั ปิ อ้ งกนั ควบคมุ วณั โรคดอ้ื ยาหลายขนานชนดิ รนุ แรงมาก ภายใตพ้ ระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่
พ.ศ. 2558
บรรณานกุ รม
1. ราชกจิ จานเุ บกษา. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื ง ชอ่ื และอาการสำ� คญั ของโรคตดิ ตอ่ ทต่ี อ้ งเฝา้ ระวงั
พ.ศ.2559. เลม่ 133 ตอนพเิ ศษ 128 ง 3 มถิ ุนายน 2559.
2. ราชกิจจานุเบกษา. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการส�ำคัญของโรคติดต่ออันตราย
(ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2560. เล่ม 135 ตอนพเิ ศษ 29 ง 7 กมุ ภาพันธ์ 2561.
3. ราชกจิ จานุเบกษา. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง หลักเกณฑ์และวธิ กี ารแจง้ ในกรณีทม่ี ีโรคติดต่อ
อันตราย โรคติดตอ่ ทต่ี อ้ งเฝา้ ระวัง หรอื โรคระบาดเกิดขึ้น พ.ศ. 2560. เล่ม 135 ตอนพเิ ศษ 316 ง 21
ธันวาคม 2560.
4. สำ� นกั ระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค. แนวทางการรายงานโรคตดิ ตอ่ อนั ตรายและโรคตดิ ตอ่ ทต่ี อ้ งเฝา้ ระวงั
ตามพระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. 2558. สำ� นกั ระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ . 2561
5. ศนู ยก์ ฎหมาย กรมควบคมุ โรค. พระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. 2558. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์
แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ; 2558.
174
14บทที่
การก�ำกบั และติดตามแผนงานวณั โรค
175
National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
176
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561
14บทที่ National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
การก�ำกับและตดิ ตามแผนงานวณั โรค
การก�ำกับและติดตามแผนงานวัณโรค เป็นการติดตามเพ่ือประเมินและแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้น วิธีการ
แก้ปัญหาเน้นการหาสาเหตุเพื่อแก้ไขให้ตรงกับสาเหตุของปัญหานั้นๆ จึงจ�ำเป็นต้องก�ำหนดบทบาทของ
บคุ ลากรและหนว่ ยงานแตล่ ะระดบั วางแผนการนเิ ทศและกำ� กบั ตดิ ตามงาน เพอื่ การดำ� เนนิ งานใหบ้ รรลตุ าม
ตวั ชีว้ ัดแผนงานวัณโรคต่อไป
14.1 บทบาทของบุคลากรและหน่วยงานแตล่ ะระดับ
(1) บทบาทและหน้าทีข่ องสำ� นกั วณั โรค
กำ� หนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ วางแผนควบคุมวัณโรคในระดับประเทศ
กำ� กบั ให้มกี ารด�ำเนินงานควบคมุ วัณโรคตามยุทธศาสตรข์ องแผนงานวัณโรคแหง่ ชาติ
เปน็ ผปู้ ระสานงานเฝ้าระวังวัณโรคในระดับประเทศ
นิเทศงานวณั โรคให้กบั ส�ำนักงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรค (สคร.)
ท�ำการวิจัย พัฒนารูปแบบ และก�ำหนดมาตรฐานการด�ำเนินงาน ตลอดจนพัฒนาคู่มือ
แนวทางสื่อตน้ แบบต่างๆ สำ� หรับงานควบคุมวณั โรค
เปน็ แกนกลางในการฝกึ อบรมการพฒั นาศกั ยภาพผู้ปฏิบัตงิ านดา้ นวัณโรค
จดั ทำ� ฐานขอ้ มูลวัณโรคระดับประเทศ
วิเคราะห์ขอ้ มลู ผลการด�ำเนินงานวัณโรคน�ำเสนอตอ่ ผบู้ รหิ าร
(2) บทบาทและหน้าทข่ี องผ้ปู ระสานงานวัณโรคระดบั เขต (regional TB coordinator)
วเิ คราะหป์ ญั หาวัณโรคในพืน้ ทที่ ร่ี บั ผิดชอบเพ่อื วางแผนการด�ำเนินงาน
พัฒนาบุคลากรสาธารณสุขที่เก่ยี วขอ้ งกับงานควบคมุ วัณโรคในจงั หวัดทีร่ บั ผิดชอบ
ทำ� การวจิ ยั พัฒนารูปแบบการดำ� เนินงานควบคมุ วัณโรคในระดบั พื้นท่ี
นิเทศและประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค และมาตรฐาน
การดำ� เนนิ งานดา้ นวัณโรคในเรือนจำ�
จดั ประชมุ ติดตามความก้าวหน้าการดำ� เนนิ งานวณั โรคระดบั จงั หวัด
ประสานงานการดำ� เนินงานกับส่วนกลางและระดบั จังหวดั
177
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 วเิ คราะห์ขอ้ มลู วัณโรคระดับเขต
feed back ขอ้ มูลวิเคราะหผ์ ลการดำ� เนินงานวณั โรคใหก้ บั จงั หวัด
(3) บทบาทและหน้าท่ขี องผู้ประสานงานวัณโรคระดับจงั หวัด (provincial TB coordinator)
ประสานงานการดำ� เนินงานวณั โรคระหว่างอำ� เภอภายในจงั หวัด
เฝา้ ระวงั รวบรวม วิเคราะห์ข้อมลู และปัญหาวณั โรคในพื้นท่ีท่ีรบั ผดิ ชอบ
นิเทศงานและจดั ประชุมติดตามความก้าวหนา้ การดำ� เนินงานวัณโรคภายในจงั หวดั
feed back ขอ้ มูลผลการดำ� เนนิ งานวัณโรคใหก้ บั สาธารณสุขอำ� เภอ
เร่งรดั การดำ� เนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการ
ร่วมฝกึ อบรมเจา้ หนา้ ที่ในระดับพน้ื ท ี่
รณรงค์ประชาสัมพันธ์ความรู้เร่ืองวณั โรคแก่ชมุ ชนและประชาชนทัว่ ไป
(4) บทบาทและหนา้ ที่ของผปู้ ระสานงานวณั โรคระดับอ�ำเภอ (district TB coordinator)
ร่วมวางแผนในการดำ� เนินงานควบคมุ วัณโรคในพื้นทก่ี ับทัง้ ระดับจังหวัดและระดับอ�ำเภอ
ประสานงาน เฝา้ ระวังและรวบรวมวเิ คราะหป์ ัญหาวัณโรคในพื้นทที่ ี่รบั ผิดชอบ
ตดิ ตามและวิเคราะห์ข้อมลู วณั โรคระดับอำ� เภอทัง้ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
ร่วมนเิ ทศ ควบคมุ ก�ำกบั และติดตามการประเมนิ ผล งานวณั โรคกบั หน่วยงานระดบั อำ� เภอ
ใหก้ ารสนับสนุนดา้ นต่างๆ เจา้ หนา้ ที่ท่ีรับผดิ ชอบงานวัณโรคในระดบั รพ.สต. เช่น การเป็น
พี่เล้ยี งดูแลรับประทานยา การติดตามผู้ปว่ ย เย่ียมบา้ น
(5) บทบาทและหน้าที่ของผู้ประสานงานวณั โรคในโรงพยาบาล (hospital TB coordinator)
ประสานหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ งภายในภายนอกโรงพยาบาล
ประสานเครอื ข่ายในการส่งต่อ
ด�ำเนินการและตรวจสอบความครบถ้วนในการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคทุกราย จากหน่วย
งานตา่ งๆ ในโรงพยาบาล
ประสานและร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการคลินิกวัณโรคในการจัดท�ำฐานข้อมูลวัณโรคของ
โรงพยาบาล
ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั PTC และ DTC เพอื่ ใหเ้ กดิ การดำ� เนนิ งานการควบคมุ วณั โรคของภาคเี ครอื
ข่ายอย่างมปี ระสิทธิภาพ
สนบั สนุนด้านวิชาการและพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร เช่น รพ.สต.และภาคีเครือขา่ ย
มสี ว่ นร่วมในการเฝ้าระวงั และสอบสวนโรค
(6) บทบาทและหนา้ ท่ีของเจ้าหน้าทคี่ ลนิ กิ วณั โรคของโรงพยาบาล (TB clinic)
ช่วยเหลือแพทยใ์ นด้านวนิ ิจฉยั และรักษา
ขึน้ ทะเบียนรักษาและบนั ทึกข้อมูลผู้ปว่ ยในฐานข้อมูล TBCM
178
บริหารจัดการให้ผู้ป่วยวัณโรคได้รับบริการการรักษาที่มีประสิทธิภาพ: การให้สุขศึกษา National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
การให้การรกั ษา การเลอื กพเ่ี ลยี้ ง และการจัดการให้มกี ารเยี่ยมบ้าน
มสี ว่ นร่วมในการเฝา้ ระวังอาการไมพ่ งึ ประสงค์จากยาวัณโรคและใหค้ �ำแนะนำ� เบ้อื งต้น
(7) บทบาทหน้าท่ขี องโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพต�ำบล (รพ.สต.)
คน้ หาผ้มู อี าการสงสัยวัณโรคและกล่มุ เสีย่ งในชมุ ชน
ใหก้ �ำลังใจและสนับสนุนดแู ลให้ผ้ปู ่วยรับประทานยาทุกมอื้ โดยครบถว้ น
ให้ความชว่ ยเหลอื และประสานงานดา้ นสังคมสงเคราะห์ในกรณีท่ีพบปญั หาของผ้ปู ่วย
จดั การใหผ้ ปู้ ว่ ยเกบ็ เสมหะเพอ่ื สง่ ตรวจตามแนวทางการรกั ษาพรอ้ มตดิ ตามอาการของผปู้ ว่ ย
บันทึกการก�ำกบั การรับประทานยาของผูป้ ่วยลงในฐานข้อมูล TBCM
ดำ� เนนิ การตดิ ตาม หรอื เยย่ี มบา้ น ถา้ ผปู้ ว่ ยผดิ นดั และคอยดแู ลจดั การเบกิ ยามาเตรยี มไวใ้ ห้
พร้อมอยเู่ สมอ
ส่งต่อผ้ปู ่วย ประสานงานกับโรงพยาบาลหรอื รพ.สต. อ่นื ๆ
ฝึกอบรมและเป็นท่ปี รกึ ษาให้ อสม.ในพน้ื ที่
รณรงค์ประชาสัมพันธค์ วามรู้วณั โรคในพน้ื ที่
(8) บทบาทและหนา้ ทข่ี องส�ำนักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ระดบั เขต (สปสช. เขต)
สนบั สนนุ งบประมาณและการดำ� เนนิ งานวณั โรคในพ้นื ท่รี ับผิดชอบ
สนบั สนนุ ใหผ้ ูป้ ว่ ยเข้าถึงยารักษาวณั โรค first line drugs และ second line drugs
(9) บทบาทหน้าทขี่ องเจ้าหนา้ ทีข่ องอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจ�ำหม่บู ้าน (อสม.)
เปน็ พเี่ ลยี้ งดแู ลการรบั ประทานยา และการใหก้ ำ� ลงั ใจและสนบั สนนุ ดแู ลใหผ้ ปู้ ว่ ยรบั ประทาน
ยาทุกม้ือโดยครบถ้วน รวมท้ังสังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากยา และบันทึกการให้ DOT
ในสมดุ บันทึกผู้ป่วย
เยี่ยมบา้ นผูป้ ว่ ย
ใหค้ วามรทู้ ถี่ กู ต้องเก่ยี วกับวัณโรคและการป้องกนั วณั โรค
รว่ มคน้ หาวัณโรคในชมุ ชนกับ รพ.สต.
ประสานงานกับเจ้าหน้าท่ี รพ.สต. กรณีท่ีพบปัญหาของผู้ป่วยจากการรักษาวัณโรค เช่น
ขาดยา ตดิ ตามผู้ปว่ ย
179
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 14.2 การนิเทศและก�ำกับติดตามแผนงานวัณโรค
14.2.1 การนเิ ทศงานวัณโรค
สำ� นกั วณั โรคประสานการดำ� เนนิ งานวณั โรคในระดบั เขตอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครงั้ การนเิ ทศงาน
ควรด�ำเนินการพร้อมกันกับการนิเทศงานห้องปฏิบัติการชันสูตรวัณโรค ส�ำนักวัณโรคควรสุ่มเยี่ยม
โรงพยาบาลและหนว่ ยงานทมี่ หี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารชนั สตู รวณั โรคดว้ ย เพอ่ื ปรกึ ษารว่ มกนั กบั ผปู้ ระสานงานวณั โรค
ระดับเขตในวิธีการแก้ปัญหาหากพบอุปสรรคใดๆ ระหว่างการนิเทศงาน นอกจากน้ันยังส่งเสริมการจัดการ
ข้อมลู วณั โรคให้มคี ณุ ภาพ (quality) ความนา่ เชือ่ ถือ (reliability) และการตรวจทานได้ (verification)
การนิเทศงานวณั โรคโดยส�ำนักงานป้องกนั ควบคุมโรค (สคร.) ผู้นิเทศงานจาก สคร. เยี่ยม
การด�ำเนนิ งานวัณโรคในระดับจังหวดั อย่างนอ้ ย 1 ครงั้ ในทกุ 3 เดือนการนิเทศงานควรด�ำเนินการพร้อมกัน
กับงานชนั สูตรวัณโรค ผนู้ ิเทศงานจาก สคร. ควรเยี่ยมสำ� นกั งานสาธารณสขุ อ�ำเภอ โรงพยาบาล และหนว่ ย
ชันสูตรท่ีมีการด�ำเนินงานต�่ำกว่ามาตรฐานด้วย เพื่อสามารถปรึกษาร่วมกันกับผู้ประสานงานวัณโรคระดับ
จังหวัดในวิธีการแก้ปัญหาหากพบอปุ สรรคใดๆ ระหวา่ งการนเิ ทศงาน ผนู้ เิ ทศควรระบุกิจกรรมท่ีไม่ได้ดำ� เนิน
การ หรอื กจิ กรรมท่ดี ำ� เนินการแตไ่ ม่ครบถว้ นถูกต้อง ท้ังน้กี ารอบรม (on the job training) ขณะนเิ ทศงาน
สามารถชว่ ยแกป้ ญั หาทเี่ จา้ หนา้ ทโ่ี รงพยาบาลปฏบิ ตั ไิ มค่ รบถว้ นไดท้ นั ที หากปญั หาบางอยา่ งไมส่ ามารถแกไ้ ข
ได้ขณะนิเทศงาน ผู้นิเทศควรสรุปประเด็นส�ำคัญจากการสังเกต และสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่เพ่ือรายงานให้
ผูบ้ รหิ ารหน่วยงานที่รบั การนิเทศทราบ
14.2.2 การกำ� กบั ตดิ ตาม มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ประเมนิ และแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ขณะปฏบิ ตั งิ านใหเ้ รว็
ทส่ี ดุ วธิ กี ารแกป้ ญั หาเนน้ การหาสาเหตเุ พอ่ื แกไ้ ขใหต้ รงกบั สาเหตขุ องปญั หานน้ั ๆ การวางแผนกำ� กบั งานวณั โรค
โดยจัดท�ำแผนปฏิบตั งิ านประจ�ำเดอื นเพ่อื ให้ม่นั ใจวา่ กิจกรรมต่างๆ ดำ� เนินตามกรอบเวลาทีก่ �ำหนด
ขอ้ มลู การคน้ หาผปู้ ว่ ยและผลการรกั ษาจากโปรแกรมอเิ ลก็ ทรอนกิ สจ์ งึ เปน็ เครอื่ งมอื หนงึ่ ในการ
กำ� กบั การดำ� เนนิ งานวณั โรค การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผปู้ ว่ ยเปน็ องคป์ ระกอบทส่ี ำ� คญั ตอ่ การกำ� กบั ตดิ ตาม และ
ประเมนิ ผลในทุกระดับ
อยา่ งไรกต็ ามการบนั ทกึ ขอ้ มลู และการใชข้ อ้ มลู ในโปรแกรมอเิ ลก็ ทรอนกิ สน์ นั้ ตอ้ งดำ� เนนิ งาน
ควบคู่ไปกับการนิเทศงาน เพ่ือแก้ไขปัญหาเป็นไปอย่างทันท่วงทีและได้ข้อมูลท่ีถูกต้องในการวิเคราะห์
สถานการณ์ วณั โรค การเกบ็ ขอ้ มลู และการจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู วณั โรคทถ่ี กู ตอ้ งนนั้ เจา้ หนา้ ทต่ี อ้ งไดร้ บั การอบรม
วิธีการใช้โปรแกรมตลอดจนวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลซ่ึงจะท�ำให้การใช้ระบบฐานข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์
เป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ
(1) เครอ่ื งมอื ในการก�ำกบั ตดิ ตาม
แผนงานวัณโรคแห่งชาตเิ ดมิ ใช้แบบฟอรม์ ในการบนั ทึกและรายงานข้อมลู ทุก 3 เดอื น
ปัจจุบันได้มีการพัฒนาเครื่องมือในการก�ำกับติดตามด้วยโปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับการบันทึกข้อมูล
ผูป้ ว่ ยวัณโรครายบคุ คลท่ีเรียกว่าฐานขอ้ มลู TBCM (tuberculosis case management) เป็นโปรแกรมท่ีใช้
บนั ทกึ การขน้ึ ทะเบยี นการรกั ษาผปู้ ว่ ยวณั โรคในโรงพยาบาล โดยบนั ทกึ ขอ้ มลู การวนิ จิ ฉยั การรกั ษา และการ
180
ตดิ ตามผปู้ ว่ ยจนสนิ้ สดุ การรกั ษา โดยขอ้ มลู จะมกี ารเคลอื่ นไหวตลอดเวลา (real time) เพอ่ื ใหท้ นั เวลาทนั ตอ่ National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
สถานการณใ์ นการใช้ประโยชน์ข้อมลู ของผใู้ ชง้ านในทกุ ระดบั และสามารถใช้ติดตามผปู้ ่วยทรี่ ักษาไม่ตอ่ เน่อื ง
หรือสง่ ต่อไปรับการรักษาท่สี ถานพยาบาลอน่ื ได้
การใช้งานโปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับบันทึกข้อมูลผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาล
หรอื หนว่ ยงานทใ่ี หบ้ รกิ ารดา้ นการดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ยวณั โรคสามารถขอเขา้ ใชง้ านโปรแกรมโดยกรอกขอ้ มลู ของ
ผ้ใู ช้งาน (user) ผา่ นทางหน้าเวบ็ ไซต์ www.tbcmthailand.net เพ่อื ขอ username และ password เขา้ สู่
ระบบการใช้งานโปรแกรมอิเลก็ ทรอนกิ สใ์ นการบันทกึ ขอ้ มูลผ้ปู ว่ ยวัณโรค
(2) การบนั ทกึ ข้อมูลผู้ปว่ ยวณั โรคในโปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วย
• ข้อมูลผปู้ ่วยและผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
• การขึ้นทะเบียนวัณโรคและวณั โรคด้ือยา การตดิ ตามการรกั ษา และการดูแล
การรับประทานยาโดยการสงั เกตตรง (DOT)
• ข้อมลู ผูส้ ัมผสั หรอื กลุ่มเสย่ี งทรี่ บั การคดั กรองวัณโรค
• ขอ้ มูลการรกั ษาผตู้ ดิ เชื้อวณั โรคระยะแฝง
• ขอ้ มลู การสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยไปขนึ้ ทะเบยี นวณั โรคหรอื รกั ษาวณั โรคทสี่ ถานพยาบาลอนื่
• รายงานวณั โรค ใชส้ ำ� หรบั การแสดงขอ้ มลู วณั โรคเพอ่ื นำ� ขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชน ์
(3) การใชง้ านและใชป้ ระโยชนจ์ ากโปรแกรม TBCM
ผู้รับผิดชอบจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล โรงพยาบาล ส�ำนักงาน
สาธารณสขุ อำ� เภอ สำ� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สำ� นกั งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรค/สถาบนั ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคเขตเมอื ง
สำ� นักวัณโรค รวมทัง้ หน่วยงานวชิ าการตา่ งๆ สามารถใชง้ านและใชป้ ระโยชน์ได้ในทกุ ระดบั
(3.1) โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำ� บล (รพ.สต.)
เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขสามารถบันทึกข้อมูลการดูแลรับประทานยาของ
ผปู้ ว่ ยในแตล่ ะวนั และขอ้ มลู ผสู้ มั ผสั หรอื กลมุ่ เสย่ี งวณั โรคได้ นอกจากนี้ สามารถใชข้ อ้ มลู วณั โรคในการวางแผน
กจิ กรรม โครงการ ในการป้องกันควบคมุ โรคไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
(3.2) โรงพยาบาล
เจา้ หนา้ ทค่ี ลนิ กิ วัณโรค เจ้าหน้าท่ที างหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารชนั สตู รวัณโรค หรือ
เจา้ หนา้ ทผ่ี เู้ กยี่ วขอ้ งสามารถบนั ทกึ ขอ้ มลู ผปู้ ว่ ยวณั โรคทมี่ ารบั บรกิ ารดา้ นวณั โรค ตง้ั แตก่ ารวนิ จิ ฉยั การรกั ษา
การติดตามดูแลจนสิ้นสุดการรักษา โดยบันทึกข้อมูลผู้ป่วย ประวัติการรักษา โรคร่วมต่างๆ อาการแรกรับ
การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบัตกิ ารชนั สูตรวณั โรค ยารกั ษาวณั โรค อาการไมพ่ งึ ประสงคจ์ ากการใชย้ า การดูแล
รับประทานยา การส่งต่อผู้ป่วยไปโรงพยาบาลอื่น ผลเมื่อสิ้นสุดการรักษา ข้อมูลกลุ่มเส่ียงวัณโรค การใช้
ประโยชนข์ ้อมูลเพอ่ื ตดิ ตามการรักษาและการป้องกนั ควบคุมวัณโรค
(3.3) ส�ำนักงานสาธารณสขุ อำ� เภอ
เจา้ หนา้ ทผี่ รู้ บั ผดิ ชอบงานวณั โรคสามารถศกึ ษาขอ้ มลู รายงาน ขอ้ มลู วณั โรค
ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ หรือน�ำข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์วัณโรค
และวางแผนการด�ำเนนิ งานควบคุมป้องกนั วัณโรคในพ้นื ท่ี
181
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 (3.4) สำ� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด
เจา้ หนา้ ทผ่ี รู้ บั ผดิ ชอบงานวณั โรคสามารถศกึ ษาขอ้ มลู รายงาน สถานการณ์
วัณโรคในพื้นที่รับผิดชอบของส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดได้ โดยสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลรายงาน
ในการวเิ คราะหส์ ถานการณห์ รอื แนวโนม้ ของโรค การประสานงานเครอื ขา่ ยวณั โรคในพน้ื ท่ี การนเิ ทศตดิ ตาม
ประเมนิ ผล รวมทงั้ การวางแผนการด�ำเนนิ การควบคมุ ปอ้ งกันวณั โรค
(3.5) สำ� นกั งานปอ้ งกนั ควบคุมโรค และสถาบันปอ้ งกันควบคมุ โรคเขตเมือง
เจา้ หนา้ ทผี่ รู้ บั ผดิ ชอบงานวณั โรคระดบั เขต สามารถศกึ ษาวเิ คราะหข์ อ้ มลู
สถานการณ์ในพ้ืนที่รับผิดชอบ เพ่ือน�ำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนงาน กิจกรรม โครงการในการ
ควบคุมป้องกนั วัณโรคไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
14.3 การค�ำนวณตัวช้วี ดั ที่ส�ำคญั ในการก�ำกับติดตามการด�ำเนินงานวัณโรค
ตารางท่ี 14.1 การค�ำนวณตวั ชี้วัดที่ใชป้ ระเมนิ แผนงานการควบคุมวณั โรคแหง่ ชาติ
ตวั ชวี้ ัด ตวั ตง้ั ตวั หาร หมายเหตุ
1) อตั ราการครอบคลมุ จำ� นวนผู้ปว่ ยใหม่และ จ�ำนวนผปู้ ว่ ยวณั โรค คา่ คาดประมาณของ
การรกั ษาวณั โรคใน กลบั เป็นซ�้ำท่ีตรวจพบ รายใหม่และกลบั เป็นซำ�้ องคก์ ารอนามัยโลก
ผู้ปว่ ยใหม่และกลับ และขน้ึ ทะเบียนรักษา ทีอ่ งคก์ ารอนามยั โลก เป็นคา่ คาดประมาณ
เป็นซ้�ำ ทีถ่ ูกรายงานในแผนงาน คาดประมาณ ระดบั ประเทศ ถา้ น�ำมา
(TB treatment วณั โรค ใช้ระดับเขตหรอื จงั หวดั
coverage rate) อาจคลาดเคล่ือนได้
2) อัตราผลสำ� เร็จของ จ�ำนวนผู้ป่วยวัณโรค จำ� นวนผู้ปว่ ยวัณโรค
การรักษาผู้ป่วยวัณโรค (แต่ละประเภท) ท่รี ักษา (แต่ละประเภท) ท่ขี น้ึ
(success rate)* หายและรักษาครบ ทะเบียนทัง้ หมดในช่วง
เวลาเดยี วกนั
3) อัตราการขาดการ จำ� นวนผปู้ ่วยวัณโรค จำ� นวนผู้ป่วยวัณโรค ผปู้ ่วยวณั โรคท่ไี ดร้ ับ
รกั ษา (loss to (แต่ละประเภท) ที่ขาด (แต่ละประเภท) ทขี่ ้ึน การวนิ จิ ฉยั แตไ่ มส่ ามารถ
follow-up rate)* การรักษาติดต่อกันนาน ทะเบียนทงั้ หมดในช่วง ติดตามมารับการรักษา
เกนิ 2 เดือน เวลาเดยี วกนั ถอื วา่ ขาดยากอ่ นเรม่ิ รกั ษา
ใหข้ นึ้ ทะเบยี นและ
จำ� หนา่ ยเปน็ ขาดการรกั ษา
182
ตัวชวี้ ัด ตวั ตั้ง ตัวหาร หมายเหตุ
4) อตั ราการรกั ษาล้ม จ�ำนวนผปู้ ่วยวณั โรค จ�ำนวนผู้ปว่ ยวัณโรค
เหลว (failure rate)* (แตล่ ะประเภท) ทีล่ ้ม (แต่ละประเภท) ทข่ี ้นึ
เหลวตอ่ การรกั ษา ทะเบียนทัง้ หมดในช่วง
เวลาเดียวกนั National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
5) อัตราตาย จำ� นวนผูป้ ่วยวัณโรค จำ� นวนผปู้ ว่ ยวัณโรค ผปู้ ่วยวัณโรคที่ไดร้ ับการ
(death rate)* (แตล่ ะประเภท) (แต่ละประเภท) ทข่ี ึ้น วนิ ิจฉยั แตผ่ ปู้ ว่ ยตาย
ทต่ี ายดว้ ยสาเหตใุ ดก็ได้ ทะเบยี นทั้งหมดในช่วง ก่อนเรม่ิ รบั การรักษา
ระหวา่ งการรกั ษาวณั โรค เวลาเดียวกนั วณั โรค ให้ขน้ึ ทะเบยี น
และจ�ำหนา่ ยเป็น died
6) อัตราการโอนออก จำ� นวนผปู้ ว่ ยวณั โรค จำ� นวนผู้ป่วยวัณโรค
(transferred out rate)* (แตล่ ะประเภท) ที่โอน (แต่ละประเภท) ทข่ี ึ้น
ทะเบยี นทัง้ หมดในช่วง
ไปรักษาทีอ่ ่ืนและไม่ เวลาเดียวกัน
ทราบผลการรักษา
7) รอ้ ยละของผูป้ ่วย จำ� นวนผปู้ ว่ ยท่ีมปี ระวตั ิ จำ� นวนผปู้ ่วยท่มี ีประวัติ
วัณโรคทม่ี ีประวตั เิ คย เคยรักษาวณั โรคมากอ่ น เคยรกั ษาวัณโรคมากอ่ น
รักษามาก่อน ได้รับการ มีผลการทดสอบความไว ท่ขี ้ึนทะเบียนรกั ษา
ตรวจและมผี ลทดสอบ ต่อยาวัณโรคชว่ งเวลา
ความไวของเชอื้ ตอ่ ยา เดยี วกัน
รักษาวัณโรค
8) ร้อยละการคน้ พบ จ�ำนวนผ้ปู ว่ ยวัณโรค จำ� นวนผ้ปู ว่ ยวณั โรค
ผู้ป่วยวณั โรคดื้อยา ดื้อยาหลายขนาน ด้อื ยาหลายขนาน
หลายขนาน ที่ตรวจพบและขน้ึ ทีค่ าดประมาณ
ทะเบียนรักษา
9) ร้อยละความ จ�ำนวนผ้ปู ว่ ยวณั โรค จำ� นวนผปู้ ่วยวณั โรค
ครอบคลมุ การได้รับยา ดื้อยาหลายขนานชนิด ด้ือยาหลายขนานชนิด
ใหมใ่ นผปู้ ่วยวัณโรค รนุ แรงมากใชส้ ตู รยาที่มี รนุ แรงมากทขี่ นึ้ ทะเบยี น
ดือ้ ยาหลายขนานทม่ี ี bedaquiline หรอื ทง้ั หมดในชว่ งเวลาเดยี วกนั
ขอ้ บ่งช้ี delamanid รักษา
รว่ มด้วย
183
ตวั ชีว้ ัด ตัวตง้ั ตวั หาร หมายเหตุ
10) ร้อยละของผู้ป่วย จ�ำนวนผปู้ ่วยวัณโรค จำ� นวนผ้ปู ว่ ยวัณโรคราย
วัณโรคที่มผี ลตรวจ รายใหมแ่ ละกลบั เปน็ ซำ�้ ใหมแ่ ละกลับเปน็ ซำ้�
เอช ไอ วี ท่สี มัครใจตรวจเลือด ท่ขี ้ึนทะเบียนทง้ั หมดใน
เอชไอวี (รวมผปู้ ่วยท่ี ช่วงเวลาเดยี วกัน
ทราบผลเอชไอวีมากอ่ น
การวนิ ิจฉยั วัณโรค)
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 11) อตั ราของการตรวจ จ�ำนวนผปู้ ่วยวณั โรคราย จ�ำนวนผู้ปว่ ยวัณโรคราย
พบเอชไอวใี นผู้ปว่ ย ใหม่และกลบั เปน็ ซ�้ำทม่ี ี ใหมแ่ ละกลบั เป็นซำ้� ท่ไี ด้
วณั โรค (HIV positive ผลเลือดเอชไอวีเป็นบวก รบั การตรวจเลอื ดเอชไอวี
rate) (รวมผปู้ ่วยทีท่ ราบผล (รวมผปู้ ว่ ยทต่ี รวจเอชไอวี
เอชไอวีเป็นบวก มาก่อน มากอ่ นการวนิ จิ ฉยั
การวินิจฉยั วัณโรค) วณั โรค)
12) อัตราของผปู้ ว่ ย จำ� นวนผู้ป่วยวณั โรคราย จำ� นวนผู้ป่วยวณั โรคราย
วัณโรคท่ตี ิดเชอ้ื เอชไอวี ใหมแ่ ละกลับเปน็ ซ้ำ� ท่ี ใหมแ่ ละกลับเป็นซำ้� ท่ี
ได้รบั ยาต้านไวรสั เอดส์ ตดิ เชื้อเอชไอวีได้รบั ยา ผลเอชไอวเี ปน็ บวก
(ART rate) ต้านไวรสั ขณะรกั ษา ทัง้ หมด
วัณโรค (รวมผู้ปว่ ยท่ีเคย
ไดร้ บั ยาตา้ นฯ ก่อนเร่ิม
รกั ษาวณั โรค)
13) อตั ราของผปู้ ว่ ย จำ� นวนผูป้ ่วยวณั โรคราย จำ� นวนผปู้ ่วยวณั โรคราย
วัณโรคทต่ี ดิ เช้อื เอชไอวี ใหมแ่ ละกลับเป็นซำ้� ท่ี ใหม่และกลบั เป็นซำ�้ ท่ี
ได้รับยา ตดิ เช้ือเอชไอวไี ด้รับยา ผลเอชไอวีเป็นบวก
co-trimoxazole (CPT co-trimoxazole ขณะ ทง้ั หมด
rate) รักษาวัณโรค
14) รอ้ ยละของผูส้ ัมผัส จ�ำนวนผ้สู มั ผัสร่วมบา้ น จำ� นวนผู้สมั ผสั รว่ มบ้าน
รว่ มบ้านไดร้ ับการตรวจ ของผู้ป่วยวัณโรคปอด ของผปู้ ว่ ยวัณโรคปอด
คัดกรองโดยการ เสมหะพบเช้ือและไดร้ บั เสมหะพบเช้อื
เอกซเรย์ทรวงอก การตรวจคดั กรอง
วณั โรคโดยเอกซเรย์
ทรวงอก
184
ตวั ชว้ี ัด ตวั ตัง้ ตัวหาร หมายเหตุ
15) ร้อยละของเดก็ อายุ จำ� นวนเดก็ อายุตำ�่ กว่า 5 จ�ำนวนเด็กอายตุ �ำ่ กว่า 5
ต่ำ� กว่า 5 ปี ซึ่งอยูร่ ว่ ม ปี ซึง่ อยรู่ ว่ มบา้ นกบั ผู้ ปี ซ่ึงอย่รู ว่ มบา้ นกับผู้
บา้ นกับผูป้ ว่ ยวัณโรค ได้ ปว่ ยวณั โรคปอด ไดร้ บั ปว่ ยวัณโรคในไตรมาสที่
รบั ยารักษาการตดิ เช้ือ ยารกั ษาการติดเช้อื ประเมนิ National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
วณั โรคระยะแฝง วณั โรคระยะแฝง
16) ร้อยละของครัว จำ� นวนครวั เรอื นผปู้ ่วย จ�ำนวนครวั เรือนผปู้ ่วย ขอ้ มลู จากการสำ� รวจ
เรือนผ้ปู ว่ ยวณั โรคลม้ วัณโรคเสียค่าใช้จ่ายทั้ง วณั โรคท่ไี ด้รับการ
ละลายจากการรกั ษา ทางตรงและทางอ้อมที่ สำ� รวจ
วณั โรค เกย่ี วข้องกบั การเจ็บ
ปว่ ยครั้งน้ี มากกวา่ หรือ
เท่ากับรอ้ ยละ 20 ของ
รายไดค้ รวั เรอื นตอ่ ปี
รายละเอยี ดตวั ชว้ี ดั อนื่ ๆ ดเู พมิ่ เตมิ ทแี่ ผนปฏบิ ตั กิ ารระดบั ชาตดิ า้ นการตอ่ ตา้ นวณั โรค พ.ศ. 2560 – 2564
หมายเหตุ *ผลรวมของจ�ำนวนผ้ปู ว่ ยวัณโรคท่ีนำ� มาประเมิน (cohort size) คือผลการรกั ษาขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ ได้แก่ 1) รกั ษาหาย
2) รักษาครบ 3) ล้มเหลว 4) ตาย 5) ขาดยา 6) โอนออก 7) ประเมินผลไมไ่ ด้ โดยผลรวมน้ใี ชเ้ ปน็ ตวั หารในการค�ำนวณอัตรา
ความส�ำเร็จในการรกั ษา จ�ำนวนทไ่ี ม่น�ำมารวมเปน็ ตัวหาร (excluded) คอื 1) เปล่ียนการวนิ ิจฉยั 2) พบ RR/MDR-TB หรอื
XDR-TB ก่อนส้ินเดือนท่ี 5 และย้ายไปข้นึ ทะเบียน PMDT
185
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 บรรณานุกรม
1. กลุ่มวัณโรค สำ� นกั โรคเอดส์ วณั โรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธ์. การประกาศยทุ ธศาสตร์การควบคมุ
วัณโรคของประเทศไทย ปี 2549. วาระการประชุมกรมควบคมุ โรค ประจ�ำเดือน เมษายน 2549.
2. สำ� นักวัณโรค กรมควบคุมโรค. แผนยทุ ธศาสตร์การควบคุมวัณโรคแห่งชาตเิ พื่อการบรรลเุ ปา้ หมายการ
พัฒนาแห่งสหสั วรรษ 2558. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ: ส�ำนกั พมิ พอ์ ักษรกราฟฟิค แอนด์ดไี ซน;์ 2554.
3. สำ� นกั วณั โรค กรมควบคมุ โรค. คมู่ อื การใชโ้ ปรแกรมบรหิ ารคลนิ กิ วณั โรค;TBCM Thailand [อนิ เทอรเ์ นต็ ].
2016[เขา้ ถงึ เมอ่ื 25 ธ.ค.2560]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://tbcmthailand.net/uiform/MainSummary.aspx
4. สำ� นกั วณั โรค กรมควบคมุ โรค. แนวทางการดำ� เนนิ งานควบคมุ วณั โรคแหง่ ชาต.ิ พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2 (ฉบบั ปรบั ปรงุ
เพมิ่ เตมิ ). กรงุ เทพฯ: สำ� นกั งานกจิ การโรงพมิ พ์ องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ;์ 2556.
5. สำ� นักวณั โรค กรมควบคมุ โรค. แผนปฏบิ ัตกิ ารระดับชาติ ด้านการต่อต้านวัณโรค พ.ศ. 2560 – 2564.
กรุงเทพฯ: สำ� นกั พมิ พ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดไี ซน์; 2560.
6. สำ� นกั โรคตดิ ตอ่ ทว่ั ไป กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ . ตำ� ราวคั ซนี และการสรา้ งเสรมิ ภมู คิ มุ้ กนั โรค
พ.ศ.2550. พิมพค์ รงั้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ: สำ� นักงานกิจการโรงพมิ พ์ องค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ; 2550.
7. ส�ำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ประจ�ำประเทศไทย. เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ
[อินเทอร์เน็ต]. 2548[เข้าถึงเม่ือ 25 ธ.ค.2560]. เข้าถึงได้จาก: http://www.undp.or.th/thai/
focusareas/mdgprogramme.html
8. World Health organization. An expanded DOTS framework for effective tuberculosis
control. Geneva, Switzerland: WHO; 2002. (WHO/CDS/TB/2002.297)
9. World Health organization. WHO tuberculosis programme framework for effective tuberculosis
control. Geneva, Switzerland: WHO; (WHO/TB/94.179)
10. Development indicators unit. Millennium Development Goals(MDGs) [Internet]. 2008[cited
2017 Dec 25]. Available from :http://mdgs.un.org/unsd/mdg/Host.aspx?Content=Indicators/
Official List.htm
11. World Health organization. The global plan to STOP TB 2006-2015. Actions for life towards
a world free of tuberculosis. Geneva, Switzerland: WHO; 2006. (WHO/HTM/STB/2006.35)
12. World Health organization. The global plan to STOP TB 2011-2015:Transforming the fight
towards elimination of tuberculosis. Geneva, Switzerland: WHO; 2010. (WHO/HTM/
TB/2010.2)
13. The STOP TB strategy. Building on and enhancing DOTS to meet the TB-related Millennium
Development Goals. Geneva, Switzerland: WHO; 2006. (WHO/HTM/TB/2006.368)
14. United Nation Development Programme. The Millennium Development Goals[Internet].
2006[cited 2017 Dec 25]. Available from: http://content.undp.org/go/cms-service/downloas/
asset?asset_id=2883030.
15. World Health organization. Global tuberculosis report 2017. Geneva, Switzerland: WHO;
2017. (WHO/HTM/TB/2017.23)
186
ภาคผนวก
187
National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018
รายนามคณะท�ำงานแนวทางการควบคมุ วัณโรคประเทศไทย พ.ศ.2561
(National Tuberculosis Control Programme Guideline, Thailand, 2018)
แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ.2561 ท่ีปรกึ ษา เลขานุการรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ
1) แพทย์หญิงมยรุ า กุสุมภ ์ อธบิ ดีกรมควบคมุ โรค
2) นายแพทยส์ ุวรรณชัย วัฒนายงิ่ เจริญชยั รองอธิบดีกรมควบคมุ โรค
3) นายแพทยภ์ าณุมาศ ญาณเวทย์สกลุ
บรรณาธกิ าร เลขานุการรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ
1) แพทยห์ ญงิ มยุรา กสุ มุ ภ ์
2) แพทย์หญงิ ศรีประพา เนตรนิยม นายแพทยท์ รงคุณวุฒิ กรมควบคมุ โรค
3) แพทยห์ ญงิ เพชรวรรณ พง่ึ รัศมี นายแพทยท์ รงคณุ วุฒิ กรมควบคมุ โรค
4) แพทย์หญิงผลนิ กมลวทั น ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั วัณโรค
5) รองศาสตราจารย์ (พเิ ศษ) นายแพทย์ทวี โชติพทิ ยสนุ นท์ นายกสมาคมโรคตดิ เชื้อในเด็กแหง่ ประเทศไทย
6) ศาสตราจารยแ์ พทยห์ ญงิ กลุ กัญญา โชคไพบูลยก์ จิ คณะแพทยศาสตร์ ศริ ิราชพยาบาล
7) นายแพทยเ์ จรญิ ชูโชตถิ าวร ทปี่ รึกษากรมควบคุมโรค
8) แพทยห์ ญงิ เปย่ี มลาภ แสงสายัณห ์ นายแพทยเ์ ชย่ี วชาญ สถาบนั โรคทรวงอก กรมการแพทย์
คณะผู้นิพนธ์
1) ศาสตราจารยแ์ พทย์หญิงวภิ า รชี ัยพชิ ติ กุล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่
2) ศาสตราจารยแ์ พทย์หญิงกลุ กัญญา โชคไพบลู ยก์ ิจ คณะแพทยศาสตร์ ศริ ิราชพยาบาล
3) ศาตราจารย์อะเคอ้ื อุณหเลขกะ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่
4) รองศาสตราจารย์ (พิเศษ) นายแพทยท์ วี โชตพิ ิทยสนุ นท์ สถาบันสขุ ภาพเดก็ แหง่ ชาตมิ หาราชินี
5) รองศาสตราจารยน์ ายแพทยพ์ ิรังกรู เกดิ พาณชิ วิทยาลยั แพทยศาสตรพ์ ระมงกฎุ เกลา้
6) รองศาสตราจารยอ์ ังคณา ฉายประเสรฐิ คณะแพทยศาสตร์ ศิรริ าชพยาบาล
7) รองศาสตราจารยแ์ พทยห์ ญงิ เพณณนิ าท์ โอเบอรด์ อรเ์ ฟอร ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่
8) รองศาสตราจารยแ์ พทย์หญิงธันยวรี ์ ภธู นกิจ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
9) รองศาตราจารย์แพทยห์ ญิงเกษวดี ลาภพระ คณะแพทยศาสตร์ ศริ ิราชพยาบาล
10) รองศาสตราจารยแ์ พทย์หญิงวนัทปรยี า พงษ์สามารถ คณะแพทยศาสตร์ ศริ ิราชพยาบาล
11) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์นายแพทย์กมล แก้วกิติณรงค ์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
12) ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยน์ ายแพทย์กำ� พล สุวรรณพมิ ลกลุ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
13) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์นายแพทยช์ นเมธ เตชะแสนศิริ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
14) นายแพทยเ์ จริญ ชูโชตถิ าวร กรมการแพทย์
188