The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการประจำปี 2565 สพป.เชียงใหม่ เขต 4-หมุน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nick_narak99, 2022-02-11 03:50:23

แผนปฏิบัติการประจำปี 2565 สพป.เชียงใหม่ เขต 4-หมุน

แผนปฏิบัติการประจำปี 2565 สพป.เชียงใหม่ เขต 4-หมุน

แผนปฏบิ ตั กิ าร

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2565

กลุ่มนโยบายและแผน
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4
สานักงานคณะกรรมการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 4
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



สารบญั

คำนำ หน้า
สารบญั ก
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐาน ข

 ท่ตี ัง้ และสภาพทางภูมศิ าสตร์ 1
 อำนาจหนา้ ที่ของสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา 2
 โครงสร้างการบริหารงานของสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา 4
 ข้อมลู พื้นฐานทางการศึกษา 5

สว่ นที่ 2 ผลการดำเนนิ งาน 10
 ผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 17
 ผลการดำเนินงานด้านโอกาสทางการศกึ ษา 18
 ผลการดำเนนิ งานด้านคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 18
 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นออกของผู้เรียน ชั้น ป.1 19
 ผลการทดสอบทางการศึกษา NT ป.3 20
 ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET ป.6 21
 ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET ม.3 22
 ผลการทดสอบทางการศกึ ษา O-NET ม.6 23
 ผลการคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานฯ 24
 ผลการตดิ ตามและประเมินผลมาตรฐานสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
25
ส่วนที่ 3 ทิศทางการพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 28
 ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) 28
 แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ 30
 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) 31
 นโยบายและแผนระดับชาตวิ า่ ด้วยความม่ันคงแหง่ ชาติ 32
 นโยบายรฐั บาล 34
 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 -2579 38
 นโยบายและจุดเน้นการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 40
 นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 25654-2565 45
 ทิศทางการจดั การศกึ ษาของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 46
 แผนพัฒนาจงั หวดั เชยี งใหม่ ปงี บประมาณ 2563-2565
 ทศิ ทางการจัดการศกึ ษาสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ข

สารบญั (ตอ่ )

ส่วนที่ 4 รายละเอียดแผนปฎิบตั กิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน้า

 รายละเอียดแผนปฎิบตั กิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 51
 โครงการ/กิจกรรม
55
1. โครงการส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานสภานกั เรียน 62

2. โครงการดำเนนิ งานโครงการระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นและคุ้มครองนกั เรยี น 70
ประจำปี 2565 74
78
3. โครงการพัฒนากจิ การลกู เสือ-เนตรนารี ประจำปงี บประมาณ 2565 83
4. โครงการดำเนินงานจัดการศกึ ษาโดยครอบครวั สพป.เชยี งใหม่ เขต 4
5. โครงการโรงเรียนวถิ พี ทุ ธในสถานศึกษา 87

6. โครงการนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้พ้นื ท่ีเปน็ ฐาน เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา 91
ปงี บประมาณ 2565
96
7. โครงการส่งเสริมและพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาสำหรบั ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา 100
และบุคลากรทางการศกึ ษา
8. โครงการพัฒนาภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สารสกู่ ารท่องเทยี่ วชุมชน (English for 105

Local Tourism) 111
9. โครงการพฒั นาศึกษานเิ ทศกด์ ้านการวจิ ัยขอ สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 117

10. โครงการพฒั นาครูและการขับเคล่อื นโครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อยประเทศไทย 121
ระดับปฐมวยั
11. โครงการส่งเสริมและพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา เพื่อเตรยี มความพร้อมสู่หลกั สูตร 128
135
ฐานสมรรถนะ
12.โครงการพฒั นาสมรรถนะครูดา้ นการวดั และประเมนิ ผล ปีงบประมาณ 2565 138

13. โครงการขับเคล่อื นคลงั เนอื้ หาสาระสอื่ อิเล็กทรอนกิ ส์ OBEC Content Center 143
ผา่ นการประชุม(ออนไลน์Video Conference Platform) Zoom
14. โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรทู้ ง้ั ระบบสกู่ ารยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและ

การเตรียมใหผ้ ู้เรยี นสอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 (Active Learning)
15. โครงการพฒั นาคุณภาพสานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ ด้วย “หอ้ งเรยี นคุณภาพ 5G”

16. โครงการส่งเสรมิ การขับเคลือ่ นหลกั สูตรตา้ นทุจรติ การศึกษา (Anti- Corruption
Education)ในสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2565
17. โครงการพัฒนาครูผู้สอนระดบั มัธยมศกึ ษาในโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา เรือ่ ง

การใช้โปรแกรม Class Start เพอื่ การจดั การเรยี นรแู้ บบ Online
18. โครงการประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารการจัดทำบนั ทึกข้อตกลงในการพัฒนางาน(PA)

ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการประเมนิ ตำแหนง่ วิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4 ค

สารบญั (ต่อ)

19. โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารยน่ื ขอรับบำเหน็จบำนาญดว้ ยตนเองทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ หนา้
(Pensions’ Electronic Filing) 146
20. โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการเจา้ หนา้ ท่ีพัสดุในสถานศึกษา
21. โครงการประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการบคุ ลากรดา้ นเทคโนโลยี 149
22. โครงการอนรุ ักษ์ สืบสานวฒั นธรรมภมู ิปญั ญาท้องถิน่ 152
23. โครงการยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติขา้ ราชการและบุคลากรทางการศึกษาประจำปี 2565 155
24. โครงการยกระดับคณุ ภาพการตรวจสอบภายใน ประจำ พ.ศ.2565 158
25. โครงการประชมุ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาในการบริหารจัดการ 160
26. โครงการปรบั ปรุงภูมิทัศน์ สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 166
169
สว่ นท่ี 5 การบรหิ ารแผนสู่การปฏบิ ัติ
173
ภาคผนวก
คำส่ังแต่งต้งั คณะกรรมการจดั ทำแผน
คณะผ้จู ัดทำ

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ง

สว่ นที่ 1
ข้อมูลพ้ืนฐาน

ทตี่ ัง้ และสภาพทางภูมิศาสตร์

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 เปน็ หนว่ ยงานทางการศึกษาที่
เกิดข้ึนตามพระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 และทีแ่ ก้ไขเพม่ิ เติม
(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2553 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง การแบ่งส่วนราชการภายในสำนกั งาน
เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา พ.ศ. 2553

ปจั จุบันสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ต้ังอย่เู ลขท่ี 134 หมู่ท่ี 8
ถนนเชยี งใหม่ – ฮอด ตำบลสันกลาง อำเภอสนั ป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ อยู่ทางทิศใต้ของจงั หวัดเชียงใหม่
ห่างจากตัวจงั หวัด 20 กโิ ลเมตร ประกอบด้วย 5 อำเภอ มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั อำเภอและจงั หวดั ใกล้เคยี ง
ดังน้ี

ทศิ เหนือ อำเภอสะเมงิ และอำเภอเมืองเชียงใหม่ จงั หวัดเชยี งใหม่
ทิศใต้ อำเภอจอมทอง จงั หวดั เชยี งใหม่ และอำเภอเมอื งลำพูน จังหวัดลำพูน
ทศิ ตะวนั ออก อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่
ทศิ ตะวันตก อำเภอจอมทอง และอำเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนทแี่ สดงอาณาเขตรับผสดิ ำชนอำกบงสำนนเำกขงตพนำนเขทตกำพำนรทศกำำกษรศเชกำำยษงใเชหยำมงำใเหขตมำ4เขต 4

อำเภอสะเมิง อำเภอเมือง

อำเภอหางดง หางดง
หางดง อำเภอ
สารภี
อำเภอแมว่ าง ดอยหล่อ
อำเภอแมแ่ จม่ ส่นป่าตอง สน่ป่าตอง # สารภ่ อำเภ#อ.sตhpออดถแสงำมนอำเภนำวยน#อกำห..งsงsลhhำอppนเถดสแขมนำอตนำวยน.ำกsแสหสห.งhsงลhมาันาpำอpนรง่วปเภดขาา่ ตีงง.shp
แมว่าง แม่วาง
10 สนัอปำเา่ ภตออง#
สารภ่

อำเภอ อำเภอสนั กำแพง สนำปำตองสำนปำตอง
ดอยหลอ่ดอยหลอ่ ดอยหล่อ ส รภำ ส รภำ
อำเภอ ห งดง ห งดง

NN

อำเภอเมือง จงั หวัดลำพนู WW EE

10 0 0 10 10 20 Miles20 Miles SS

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4 1

อำนาจหนา้ ทขี่ องสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา

สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 เป็นหน่วยงานทางการศกึ ษา
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีอำนาจหน้าท่ีดำเนินการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของ
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาตามความในมาตรา 38 แห่งพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และ
ท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม มาตรา 37 แหง่ พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และ
ท่ีแก้ไขเพ่มิ เติม และตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรื่อง การแบง่ ส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา พ.ศ.2560 และฉบับท่ี 2 พ.ศ.2561 ดงั ต่อไปนี้

มาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม
กำหนดให้สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีอำนาจหน้าท่ีในการกำกับดูแล จัดต้ัง ยุบ รวม หรือเลิก
สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานในเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ประสาน สง่ เสรมิ และสนับสนนุ สถานศึกษาเอกชนในเขตพ้ืนที่
การศึกษา ประสานและสง่ เสริมองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบาย
และมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การศึกษาของบคุ คล ครอบครัว องค์กรชมุ ชน องค์กร
เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอ่นื ที่จัดการศึกษาในรปู แบบท่ี
หลากหลายในเขตพืน้ ท่ีการศึกษา

มาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
และที่แก้ไขเพมิ่ เติม กำหนดให้สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีอำนาจหน้าท่ีเก่ียวกับการศึกษา ตามท่ีกำหนด
ไวใ้ นกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ ารหรอื กฎหมายอ่นื และมีอำนาจหนา้ ทด่ี ังน้ี

(1) อำนาจหน้าท่ีในการบริหารและจัดการศึกษา และพัฒนาสาระของหลักสูตร
การศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน

(2) อำนาจหน้าท่ีในการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษารว่ มกบั สถานศกึ ษา

(3) รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษา
และสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา

(4) ปฏิบัติหนา้ ที่อื่นตามทีก่ ฎหมายกำหนด
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารเรื่อง การแบง่ ส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา พ.ศ.2560 และฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2561 มีอำนาจหนา้ ท่ี ดงั น้ี
1. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาให้
สอดคล้องกับนโยบายมาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานและความ
ตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน
2. วิเคราะหก์ ารจัดตั้งงบประมาณเงินอดุ หนนุ ทวั่ ไปของสถานศึกษา และหน่วยงานใน
เขตพื้นที่การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้งกำกับ
ตรวจสอบตดิ ตาม การใชจ้ ่ายงบประมาณของหน่วยงานดังกล่าว
3. ประสาน ส่งเสริม สนับสนนุ และพัฒนาหลักสตู รร่วมกบั สถานศึกษาในเขตพ้นื ท่ี
การศกึ ษา
4. กำกบั ดูแล ตดิ ตาม และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานในเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา
5. ศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ัย และรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศดา้ นการศึกษาในเขตพ้นื ที่
การศึกษา

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4 2

6. ประสานการระดมทรพั ยากรดา้ นต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพ่ือสง่ เสริม
สนับสนุนการจดั และการพฒั นาการศกึ ษาในเขตพื้นท่ีการศกึ ษา

7. จัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษา

8. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและ
สถาบนั อน่ื ทจี่ ัดรูปแบบทห่ี ลากหลายในเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา

9. ดำเนินการและประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนุนการวจิ ัย และพฒั นาการศึกษาในเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา

10. ประสาน ส่งเสรมิ การดำเนินงานของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และ
คณะทำงานด้านการศึกษา

11. ประสานการปฏิบัติราชการท่วั ไปกบั องคก์ รหรอื หนว่ ยงานต่าง ๆ ทงั้ ภาครัฐ เอกชน
และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

12. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือท่ี
ได้รับมอบหมาย

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4 3

แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 แผนผังแสดงโครงสรา้ งการแบ่งสว่ นราชการของสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ผอู้ ำนวยการ สพป.เชียงใหม่ เขต 4
ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา รองผูอ้ ำนวยการ สพป.เชียงใหม่ เขต 4

กลุ่ม กลุ่มบรหิ าร กลุ่ม กลมุ่ กลมุ่ นเิ ทศ กลุ่มส่งเสริม กลุ่มส่งเสรมิ กลมุ่ พฒั นา หน่วย กลุ่ม
อำนวยการ การเงนิ และ บริหารงาน นโยบาย การจัด การศกึ ษา ตรวจสอบ กฏหมาย
สนิ ทรัพย์ และแผน ตดิ ตาม การศกึ ษา ทางไกล ครูและ ภายใน และคดี
บคุ คล และ บคุ ลากร
ประเมินผล เทคโนโลยี ทางการ
การจัด และการ ศกึ ษา
การศึกษา ส่อื สาร

14

ข้อมูลพืน้ ฐานทางการศึกษา

สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4 มีบคุ ลากร ครู นกั เรียน สถานศกึ ษา
หนว่ ยงานทางการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชากรในเขตบริการทั้ง 5 อำเภอ ดงั รายละเอียด
เสนอตามตารางท่ี 1 - 5 ดังน้ี

ตารางที่ 1 แสดงข้อมลู จำนวนบคุ ลากร

บุคลากร จำนวน (คน)
1. สังกัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา
1
1.1 ผอู้ ำนวยการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 5
1.2 รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา 12
1.3 ศกึ ษานเิ ทศก์ 42
1.4 บุคลากรอ่ืนตาม มาตรา 38 ค (2) 2
1.5 ลูกจา้ งประจำ 62

รวม 965
2. สงั กัดสถานศกึ ษา 28
43
2.1 ขา้ ราชการครู
2.2 พนกั งานราชการ 83
2.3 ลกู จ้างประจำ 18
2.4 ลกู จ้างช่ัวคราว 1,137

2.4.1 ครูอตั ราจ้าง
2.4.2 นักการภารโรง

รวม

รวมท้ังสิ้น 1,199

ท่มี า : ข้อมลู DMC สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน 2564)

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4 5

ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนโรงเรยี นและนักเรยี นสงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จำแนกเป็นอำเภอ

อำเภอ จำนวนโรงเรียน รวม ก่อน จำนวนนกั เรียน รวม
ร.ร ร.ร ร.ร. ประถม ม.ต้น ม.ปลาย

หลัก สาขา เรียนรวม ประถม

สนั ป่าตอง 18 - 1 19 406 2,442 258 - 3,106

หางดง 21 - 2 23 734 2,720 528 - 3,982

สารภี 17 - - 17 747 3,168 743 - 4,658

แม่วาง 16 1 2 19 472 1,715 336 151 2,674

ดอยหล่อ 12 - 1 13 263 901 119 - 1,283

รวม 84 1 6 91 2,622 10,864 1,984 151 15,703

ทม่ี า : ขอ้ มลู DMC สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน (ณ วันที่ 10 มิถนุ ายน 2564)

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4 มโี รงเรยี นในสังกัด จำนวน 90 โรง 1 สาขา

จัดการเรียนการสอน 84 โรง 1 สาขา

 โรงเรยี นขยายโอกาส จำนวน 22 โรง

 โรงเรียนขนาดเล็ก (1-120 คน) จำนวน 44 โรง แบง่ เป็น
 ไมม่ ีนักเรียน จำนวน 6 โรง
 นักเรยี น 1 - 20 คน จำนวน - โรง
 นักเรยี น 21 – 40 คน จำนวน 4 โรง
 นกั เรยี น 41 – 60 คน จำนวน 5 โรง
 นักเรยี น 61 – 80 คน จำนวน 13 โรง
 นักเรียน 81 – 100 คน จำนวน 11 โรง
 นักเรยี น 101 – 120 คน จำนวน 5 โรง

 โรงเรยี นท่ไี ปจดั การเรียนการสอนรวมกับโรงเรียนอนื่ ทุกช่วงช้นั จำนวน 6 โรง ได้แก่
1. โรงเรยี นวดั รัตนาราม เรยี นรวมกบั โรงเรียนบา้ นแม่กุง้ หลวง
2. โรงเรยี นวดั ขุนคง เรียนรวมโรงเรียนบ้านทา่ ขนุ คง
3. โรงเรียนบา้ นท่าขนุ คง เรียนรวมโรงเรยี นบา้ นสนั ทราย
4. โรงเรยี นบา้ นใหม่ปางเติม เรยี นรวมโรงเรียนบ้านกาด(เขมวงั สฯ์ )
5. โรงเรียนไตรมิตรวทิ ยา เรยี นรวมโรงเรียนบา้ นกาด(เขมวงั สฯ์ )
6. โรงเรียนเจรญิ สามัคคี เรียนรวมโรงเรียนบ้านเหล่าเป้า

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4 6

ตารางที่ 3 แสดงจำนวนโรงเรียนและนักเรยี นสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน จำแนกตามขนาด

ขนาดโรงเรียน จำนวนโรงเรียน รอ้ ยละ
6 6.59
ไม่มนี ักเรยี น
ขนาดท่ี 1 - -
จำนวนนักเรียน 1 - 20 คน 4 4.39
จำนวนนักเรียน 21 – 40 คน 5 5.49
จำนวนนักเรยี น 41 – 60 คน 13 14.28
จำนวนนกั เรียน 61 – 80 คน 11 12.08
จำนวนนกั เรยี น 81 – 100 คน 5 5.49
จำนวนนักเรียน 101 – 120 คน 26 28.57
11 12.08
ขนาดท่ี 2 จำนวนนกั เรียน 121 – 200 คน 6 6.59
ขนาดท่ี 3 จำนวนนักเรียน 201 – 300 คน 3 3.29
ขนาดท่ี 4 จำนวนนักเรยี น 301 – 499 คน 1 1.09
ขนาดท่ี 5 จำนวนนักเรยี น 500 – 1,499 คน -
ขนาดที่ 6 จำนวนนกั เรียน 1,500 – 2,499 คน 91 100
ขนาดท่ี 7 จำนวนนกั เรยี น 2,500 คน ขึ้นไป

รวม

ทีม่ า : ข้อมูล DMC สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (ณ วันท่ี 10 มิถุนายน 2564)

- โรงเรียนท่ีไมม่ ีนักเรยี น จำนวน 6 โรง ไดแ้ ก่

1. โรงเรียนวัดรัตนาราม อำเภอสนั ปา่ ตอง จังหวดั เชยี งใหม่
จงั หวดั เชยี งใหม่
2. โรงเรยี นวดั ขนุ คง อำเภอหางดง จงั หวัดเชียงใหม่
จังหวัดเชยี งใหม่
3. โรงเรียนบ้านทา่ ขนุ คง อำเภอหางดง จังหวดั เชยี งใหม่
จงั หวัดเชียงใหม่
4. โรงเรียนบ้านใหมป่ างเตมิ อำเภอแมว่ าง

5. โรงเรียนไตรมติ รวิทยา อำเภอแม่วาง

6. โรงเรยี นบา้ นเจริญสามคั คี อำเภอดอยหล่อ

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4 7

ตารางที่ 4 จำนวนนักเรียน สงั กัด สพฐ. ปีการศกึ ษา 2563 จำแนกตามระดับการศึกษา/ช้นั /เพศ/หอ้ งเรยี น

ระดับการศึกษา/ชั้น จำนวนนักเรยี น จำนวน
ชาย หญงิ รวม หอ้ งเรียน
อนุบาล 1 109 99 208
อนบุ าล 2 592 501 1,093 39
อนุบาล 3 668 653 1,321 101
1,369 1,253 2,622 112
รวมก่อนประถมศกึ ษา 999 892 1,841 252
ประถมศึกษาปีท่ี 1 1,007 914 1,922 155
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 984 900 1,884 158
ประถมศึกษาปที ่ี 3 1,013 845 1,848 136
ประถมศึกษาปที ี่ 4 886 821 1,707 130
ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 888 796 1,684 134
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 5,777 5,169 10,946 130
354 311 665 843
รวมประถมศกึ ษา 388 291 679 30
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 318 322 640 31
มัธยมศึกษาปีที่ 2 1,060 924 1,984 28
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 18 26 44 89
14 27 41 3
รวมมัธยมศกึ ษาตอนต้น 3
มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 38 66 3
มธั ยมศึกษาปีที่ 5 28 91 151 9
มัธยมศึกษาปีท่ี 6 8,266 7,437 15,703 1,193
รวมมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

รวมท้ังสิน้

ที่มา : ข้อมลู DMC สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (ณ วันท่ี 10 มิถุนายน 2564)

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4 8

ตารางที่ 5 จำนวนนักเรยี นท่ีจบการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563

ชั้น/รายการ นักเรียนที่จบการศึกษา

จบชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 จำนวน (คน) ร้อยละ
1. ศกึ ษาต่อ
 โรงเรยี นเดมิ 516 30.23
 โรงเรยี นอนื่ สังกัด สพฐ. 971 56.88
 โรงเรยี นสงั กัดเอกชน 20 1.17
 โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามัญ 51 2.99
 กศน. 12 0.70
 โรงเรยี นอน่ื สงั กดั อบจ. 21 1.23
 อ่ืน ๆ 116 6.80
1,707 100
รวม
จบชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 581 99.32
1. ศกึ ษาต่อ 4 0.68
2. ประกอบอาชีพ -
3. บวชเรียน -
4. ไมป่ ระกอบอาชพี และไมศ่ ึกษาต่อ 585 100

รวม 24 51.06
จบชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 23 48.94
1. ศกึ ษาต่อ -
2. ประกอบอาชีพ -
3. บวชเรียน 47 100
4. ไมป่ ระกอบอาชีพและไม่ศึกษาต่อ

รวม

ท่ีมา : ขอ้ มูลDMC สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน (ณ วันที่ 20 กรกฎาคม 2563)

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4 9

ส่วนท่ี 2
ผลการดำเนนิ งาน

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4
ขับเคลื่อนภารกิจ โดยใช้แผนเป็นเครื่องมือในการการบริหารจัดการและพัฒนาการศึกษาที่
สอดคล้องกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่

และนโยบายของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ภายใต้กลยุทธ์ 6 กล
ยุทธ์ ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โดย

สรุปผลการดำเนนิ งานตามภารกจิ สำคญั ในประเด็นด้านคณุ ภาพการศกึ ษา ดา้ นโอกาสทางการศึกษา ด้าน
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ การดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และมาตรฐาน
สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา ดงั น้ี

ผลการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

โครงการ ผลการดำเนินงาน

กลยทุ ธท์ ี่ 1 ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของมนษุ ย์และของชาติ

1. โครงการโรงเรยี นวธิ พี ุทธใน เชงิ ปรมิ าณ

สถานศึกษา โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายในโครงการโรงเรียนวิถีพุทธในสถานศึกษาที่

เข้ารับการพัฒนาให้ยกระดับเป็นโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำระดับประเทศ

จำนวน 21 โรงเรยี น และไดร้ ับคัดเลอื กให้เป็นโรงเรียนวิถีพุทธพระราชทาน

จำนวน 2 โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรยี นวดั เวฬวุ นั และโรงเรยี นบา้ นกาด (เขมวังส์)

เชงิ คุณภาพ

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 นำ

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการติดตามและประเมินผลการพัฒนา

โรงเรียนวิถีพทุ ธในสถานศึกษา (SMEV) และมีการนิเทศ ติดตาม ชว่ ยเหลือ

พัฒนาโรงเรียนวิถีพุทธจากศึกษานิเทศก์และเครือข่ายคณะกรรมการนิเทศ

โครงการโรงเรยี นวิถีพุทธในสถานศึกษา นิเทศพฒั นาโรงเรยี นตามอัตลักษณ์

โรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ 29 ประการ พัฒนาจัดการเรยี นการสอนของครูผูส้ อนจาก

แผนการจัดการเรยี นร้สู อดแทรกคุณธรรมและหลักไตรสิกขา พฒั นากจิ กรรม

ดีเด่น โรงเรียนวิถีพุทธในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

เชยี งใหม่ เขต 4

2. โครงการการดำเนนิ งาน เชิงปรมิ าณ

โครงการระบบการดแู ล 1. ทีมงานเครือข่ายและครูรับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือ

ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นและคุ้มครอง นกั เรยี น จำนวน 15 เครือขา่ ย 85 โรงเรียน

นกั เรยี น ประจำปีงบประมาณ 2. ผู้ผ่านการฝึกอบรมเครือข่ายสารวัตรนักเรียน (พสน.) จำนวน

2564 44 ราย

เชงิ คณุ ภาพ

1. ทมี งานเครอื ขา่ ยและครผู ู้รับผิดชอบงานระบบการดแู ลช่วยเหลือ

นกั เรียน มีความรู้ ความเข้าใจและขับเคลอื่ นงานระบบการดูแลชว่ ยเหลือ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 10

โครงการ ผลการดำเนนิ งาน

3. โครงการการดำเนินงาน นักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพส่งผลให้กระบวนการดำเนนิ งานดูแลช่วยเหลอื
โครงการจดั สรรเงนิ อุดหนุน นกั เรียนมขี ัน้ ตอนชดั เจน มีมาตรฐานการทำงานท่ตี รวจสอบได้โดยมคี รู
นักเรียนยากจนพิเศษแบบมี ประจำช้นั / ครูท่ปี รึกษา เปน็ บคุ ลากรหลักในการดำเนินงานและบคุ ลากร
เงื่อนไข ประจำงบประมาณ
2564 ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งในและนอกสถานศึกษา และส่งผลให้นักเรียนได้รับ
การดแู ลชว่ ยเหลือและสง่ เสริมพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพเปน็ คนที่สมบรู ณ์ ทั้ง
ดา้ นร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา

2. ผู้ผ่านการฝึกอบรมเครือข่ายสารวัตรนักเรียน (พสน.) ได้รับ
ความรู้ ความเข้าใจทักษะ รู้จักบทบาทหน้าที่กระบวนการที่เกี่ยวข้อง
เทคนิควิธีการทำงาน และประสบการณก์ ารปฏบิ ตั ิหน้าที่ ในสถานการณ์จริง
เปน็ อย่างดี และได้รบั วฒุ บิ ตั รและการแต่งตง้ั เปน็ พนักงานเจ้าหน้าท่ีส่งเสริม
ความประพฤตจิ ากผ้วู า่ ราชการจงั หวัดเชยี งใหม่

3. ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ฝึกอบรมเครือข่ายสารวัตร
นกั เรยี น ฯ ในหวั ข้อเก่ียวกบั การจดั ฝึกอบรม พบวา่ โดยภาพรวมอยใู่ นระดับ
มาก (4.42%) โดยรายการข้อที่ 7 เนื้อหาการให้ความรู้ของวิทยากรเป็น
ประโยชน์ต่อการนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางาน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด
(4.76%) ค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือรายการข้อที่ 1 ก่อนการฝึกอบรมมีความรู้
ความเข้าใจในหัวข้อฝึกอบรม (2.92%) ในหัวข้อเกีย่ วกับเน้อหาความร้แู ละ
ประสบการณ์ พบวา่ โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มากท่ีสดุ (4.61%) โดยรายการ
ข้อที่ 8 การฝึกปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความ
ประพฤตนิ ักเรียนและนกั ศึกษา มีค่าเฉล่ียมากท่ีสดุ (4.79%) และรายการขอ้ ที่
มีค่าเฉลี่ยทีส่ ุดคอื รายการข้อที่ 5 แนวทางการจัดตัง้ องคก์ รเครือขา่ ยส่งเสริม

ความประพฤตินกั เรียนและนกั ศกึ ษา (4.54%)

เชิงปริมาณ
1. ครูผู้รับผิดชอบงานคัดกรองนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข

และครูผู้รับผิดชอบงานการเงินของโรงเรียนในสังกัด จำนวน 85 โรงเรียน
170 คน เข้ารว่ มการประชมุ และเข้าร่วมกิจกรรม

2. บันทกึ ข้อมูลรายงานการจดั สรร ปีการศึกษา 2564 ภาคเรียนท่ี

1 ครบทุกโรงเรียน จำนวน 447 หอ้ ง
3. นกั เรยี นทนุ กลมุ่ เดมิ ได้รบั ทุน จำนวน 1,645 ราย เปน็ เงนิ

2,522,500 บาท นักเรียนทุนกลุ่มใหม่ได้รับทุน จำนวน 792 ราย เป็นเงิน
1,298,000 บาท
เชิงคณุ ภาพ

1. ครูผ้รู ับผิดชอบงานคัดกรองนกั เรยี นยากจนพเิ ศษแบบมเี ง่ือนไข
และครูผู้รับผิดชอบงานการเงินของโรงเรียนในสงั กดั ได้รบั ความรู้ ความ
เขา้ ใจ สามารถปฏบิ ัตงิ านในระบบสารสนเทศในระบบ ct.thaieduforall.
org/unauthorized.html ทำให้สามารถดำเนนิ งานมอบทนุ และบันทึก
ขอ้ มลู การจดั สรรไดค้ รบทุกโรงเรียน

2. ผลการประเมินความพึงพอใจของผเู้ ข้าประชุม ดงั นี้

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 11

โครงการ ผลการดำเนนิ งาน

1) ดา้ นวิทยากร พบวา่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสดุ

(4.64%) หัวขอ้ ทมี่ ีคา่ เฉลย่ี มากที่สุด ไดแ้ ก่ การถ่ายทอดความรมู้ ีความ

ชัดเจน (4.71%) และหวั ข้อที่มีค่าเฉล่ยี นอ้ ยท่ีสุด ไดแ้ ก่ หวั ข้อการบรหิ าร

เวลาในการอบรม (4.49%)

2) ด้านเน้อื หา โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มากที่สุด (4.73%)

หวั ข้อท่ีมคี ่าเฉลยี่ มากทีส่ ดุ ไดแ้ ก่ เนอื้ หาสาระมีประโยชนต์ ่อการปฏิบตั ิงาน

(4.80%) และหวั ข้อทม่ี ีค่าเฉลีย่ นอ้ ยทีส่ ุด ไดแ้ ก่ หวั ขอ้ ขอบเขตเนื้อหามี

ความเหมาะสม (4.66%)

3) ด้านบรกิ าร โดยภาพรวมอยู่ระดับมาก (4.35%) หวั ขอ้ ที่มี

ค่าเฉลย่ี มากท่ีสดุ ไดแ้ ก่ หวั ข้อรปู แบบการประชุมทคี วามเหมาะสมและ

ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ (4.60%) และหัวข้อท่ีมคี ่าเฉลยี่ น้อย

ที่สุด ไดแ้ ก่ หัวข้อระยะเวลาในการอบรมมคี วามเหมาะสม (4.40%)

4) ด้านนำความร้ไู ปใช้ โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก (4.39%)

หัวข้อท่มี ีค่าเฉลีย่ มากท่ีสดุ ไดแ้ ก่ หัวข้อสามารถนำความรไู้ ปเผยแพร/่

ถา่ ยทอดให้แกผ่ เู้ กีย่ วขอ้ งได้ (4.50%) และหวั ข้อท่มี คี ่าเฉลย่ี นอ้ ยทสี่ ุด ได้แก่

หัวขอ้ ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการประชมุ (4.41%)

4. โครงการพฒั นาหลักสูตร เชิงปริมาณ

สถานศกึ ษาตามเป้าหมาย สถานศกึ ษาในสงั กัด จำนวน 85 โรงเรยี น มกี ารพัฒนาหลักสูตร

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น สถานศึกษาตามเป้าหมายหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง

และมาตรฐานการเรียนรู้และ พ.ศ. 2560) อยา่ งเป็นปจั จบุ ัน

ตวั ชว้ี ดั ฯ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. เชิงคณุ ภาพ

2560) สถานศึกษาในสงั กดั นำความร้ไู ปพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาได้อย่าง

มปี ระสิทธิภาพสอดคลอ้ งกับบรบิ ทและตรงกับความต้องการของผู้เรียน

กลยทุ ธ์ท่ี 2 การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์

1. โครงการสง่ เสรมิ การ เชิงปริมาณ

ดำเนนิ งานสภานกั เรยี น 1) ครูที่ปรึกษางานสภานักเรียน โรงเรียนละ 1 คน ได้แก่ โรงเรียน

ขยายโอกาส จำนวน 22 โรงเรียนและโรงเรียนประถมศึกษาขยายใหญ่

จำนวน 3 โรงเรียน รวมทงั้ ส้ิน 25 โรงเรยี น

2) ประธานสภานักเรียน โรงเรียนละ 1 คน ได้แก่ โรงเรียนขยาย

โอกาส จำนวน 22 โรงเรียนและโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ จำนวน 3

โรงเรียน รวมทั้งสน้ิ 25 โรงเรยี น

เชงิ คุณภาพ

1) ครูที่ปรึกษางานสภานักเรียน และประธานสภานักเรียน ได้

เรียนรู้และเข้าใจบทบาทหน้าท่ีตามหลักวิถีประชาธิปไตย อันมี

พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข ตระหนักถงึ ความเป็นไทย มีคณุ ธรรม

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 12

โครงการ ผลการดำเนนิ งาน

จริยธรรมและธรรมาภิบาล มีวินัย เคารพกฎ กติกา ดำเนินชีวิตตามหลัก

เศรษฐกจิ พอเพียงและมีจติ อาสาสามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

2) คณะกรรมการสภานักเรยี นเขตพื้นท่ี ได้ทำบทบาทหนา้ ที่โดย

สมบรู ณ์ พร้อมไปทำกิจกรรมจติ อาสาในนามสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา

ประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4 ร่วมกับชมุ ชน

2. โครงการพัฒนาการเรียน เชิงปรมิ าณ

การสอนภาษาองั กฤษเพือ่ การ ครูผู้สอนมีผลงานการพัฒนาการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพอื่ การ

สอื่ สารสกู่ ารทอ่ งเทีย่ วชุมชน สื่อสารสู่การทอ่ งเทีย่ วชมุ ชน ระดับดีเดน่ จำนวน 44 คน

เชิงคณุ ภาพ

ครผู ู้สอนภาษาอังกฤษในสงั กดั มีการจดั การเรียนการสอนภาษา

อังกฤษเพอ่ื การสื่อสารสู่การท่องเท่ียวชมุ ชนที่ส่งผลถึงคุณภาพผู้เรียน

3. โครงการสง่ เสริมสืบทอด เชิงปริมาณ

วชิ าชีพทางการศึกษา ประจำปี มอบเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติแก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ

พ.ศ. 2564 ศึกษา ซ่ึงไดร้ ับรางวลั ระดบั ชาติและระดับจงั หวดั ได้แก่ รางวลั เกียรติยศวันครู

รางวัลครูดีในดวงใจ รางวัลผบู้ งั คับบญั ชาลูกเสือดเี ดน่ รางวัลพระพฤหัสบดี

รางวลั เสมาพทิ กั ษ์ จำนวน 103 คน

เชงิ คุณภาพ

ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีความภาคภมู ใิ จใน

วิชาชพี ตน มขี วัญกำลังใจในการปฏิบตั หิ นา้ ท่ีเตม็ กำลังความสามารถ

สร้างเดก็ ใหเ้ ป็นคนเกง่ คนดีของโรงเรยี น ชุมชน และสงั คม

4. โครงการสืบสานวฒั นธรรม เชงิ ปริมาณ

ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเข้ารว่ มกจิ กรรมแสดง

มุทติ าจิตและมอบประกาศเกียรติคณุ จำนวน 60 คน

เชงิ คณุ ภาพ

ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มคี วามภาคภูมใิ จ

ในวชิ าชพี

กลยุทธ์ท่ี 4 ดา้ นการสร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศึกษาทม่ี ีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความเหล่ือมลำ้ ทางการ

ศกึ ษา

1. โครงการการดำเนนิ งานจัด เชิงปริมาณ

การศกึ ษาโดยครอบครัว สพป. 1. ผู้จัดการศึกษาโดยครอบครัว จำนวน 16 บ้านเรียน ผู้เรียน

เชยี งใหม่ เขต 4 จำนวน 17 คน

2. ศูนย์การเรียนรู้โดยองค์กรชุมชน (มอวาคี) จำนวน 1 ศูนย์

ผเู้ รียนจำนวน 63 คน

3. ศนู ย์การเรยี นโดยองคก์ รเอกชน (พฒั นาเอเชีย) จำนวน 1 ศนู ย์

ผูเ้ รยี นจำนวน 51 คน

เชิงคณุ ภาพ

1. ผู้จัดการศึกษาโดยครอบครัว ให้ความสนใจและขออนุญาต

จัดตงั้ การศึกษาให้กบั บตุ รของตนเอง เพมิ่ ขึ้นอย่างต่อเน่อื ง

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 13

โครงการ ผลการดำเนนิ งาน

2. สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ได้มี

การติดตาม ดูแล ช่วยเหลือการวัดและประเมินผลการจัดการศึกษาของ

บ้านเรียนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (ปีการศึกษา 2563 ดำเนินการเรียบร้อย

ตามเปา้ หมายของโครงการ ฯ )

3. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการฝ่ายวิชาการในการดำเนินงานจัด

การศึกษา โดยครอบครวั ประกอบดว้ ย ผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ที่

การศกึ ษา รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา (รับผิดชอบกลมุ่

ส่งเสริมการจัดการศึกษาและกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด

การศึกษา) ศึกษานิเทศก์ด้านหลักสูตร และวัดประเมินผลการจัดการศึกษา

บุคลากรในกลุ่มนโยบายและแผน กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์

กลุ่มกฎหมายและคดี พร้อมบุคลากรของกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา ผู้มี

ส่วนเกยี่ วข้องอนื่ ๆ รว่ มประชมุ ตรวจสอบแผนการจดั การศกึ ษา พร้อมออก

นิเทศ ติดตาม ดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องและร่วมกันดำเนินการวัดและ

ประเมนิ ผล เพือ่ เลือ่ นระดับชนั้ ใหก้ บั ผู้เรียนตามข้อตกลงทกี่ ำหนดในแผนการ

จัดการศึกษาของแต่ละบ้านเรียน โดยวิธีการที่หลากหลายในสถานการณ์

แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ได้แก่ การให้บ้านเรียนมาจัด

นิทรรศการ นำเสนอผลงาน การประเมินจากร่องรอยหลักฐานการเรียน

การสอนของบ้านเรียนและผู้เรียน ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจให้กับผู้เรียนที่ได้

นำเสนอผลงานให้กับคณะกรรมการฯ รวมถึงจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ร่วมกนั ระหวา่ งบ้านเรียนกบั สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา สง่ ผลใหเ้ กิดความ

ร่วมมือและเข้าใจซึ่งกันและกัน พร้อมสร้างขวัญและกำลังใจให้กับผู้จัดการ

ศึกษาโดยครอบครวั ใหจ้ ัดการเรียนศึกษาโดยครอบครัวอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ตอ่ ไป

กลยทุ ธ์ที่ 5 ด้านการจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม

1. โครงการพัฒนาการจัดการ เชิงปริมาณ

เรียนรู้เชงิ บรู ณาการสง่ิ แวดลอ้ ม ครูผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการสง่ิ แวดลอ้ มในโรงเรยี นในสงั กัดสำนักงาน

เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 จำนวน 87 โรงเรียน 1

สาขา

เชิงคุณภาพ

ครู ผู้ร ับผิดชอ บโ คร ง ก าร สิ่ง แว ดล้อ มใน โ รง เรียน มีก าร พัฒนา

ส่ิงแวดล้อมศึกษาในโรงเรียนซ่ึงขยายผลจากโรงเรียนแกนนำ ทั้ง 5 โรงเรยี น

คือโรงเรียนบ้านสันป่าสัก โรงเรียนสันป่าตอง(สุวรรณราษฎร์วิทยาคาร)

โรงเรยี นบา้ นไร่ โรงเรียนบา้ นสามหลงั และโรงเรียนบา้ นแมส่ ะลาบ โดยการ

จดั ประชมุ ขยายผลการจัดกจิ กรรมสง่ิ แวดลอ้ มศึกษาในโรงเรยี นแกนนำให้กับ

ทุกโรงในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4

ซึ่งทำใหโ้ รงเรยี นและคณะครมู คี วามเขา้ ใจในการจดั กิจกรรมสง่ิ แวดลอ้ ม

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 14

โครงการ ผลการดำเนินงาน

ศึกษาในโรงเรียนมากขึ้นและสามารถจัดกระบวนการเรียนรเู้ พ่ือให้นักเรียนมี

จิตสำนึกรักสิ่งแวดล้อม และจากการนิเทศ ติดตามฯการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู้สิ่งแวดล้อมโรงเรียนทุกโรงในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 อยู่ในระดับดี

กลยทุ ธท์ ่ี 6 ดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษา

1. โครงการอบรมเชงิ เชิงปรมิ าณ

ปฏิบัตกิ ารการใชร้ ะบบ ผู้เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้ระบบสนับสนุนการบริหาร

สนับสนุนการบริหาร จัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและระบบสนับสนุนการบริหารจัดการ

จดั การสำนกั งานเขตพ้ืนที่ สถานศกึ ษา จำนวน 121 คน

การศึกษาและระบบสนบั สนุน เชิงคณุ ภาพ

การบริหารจดั การสถานศึกษา ผู้เข้าร่วมการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้ระบบ

สำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (Smart OBEC) ระบบสนับสนุนการบรหิ ารจัดการ

สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา (AMSS++) ระบบสนับสนนุ การบริหารจัดการ

สถานศึกษา(School Management Support System : SMSS)ในการรับ–

สง่ หนงั สือราชการ ระหว่างสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐานกับ

สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาได้

2. โครงการประชมุ ผบู้ ริหาร เชงิ ปรมิ าณ

สถานศกึ ษาในการบรหิ าร ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา จำนวน 86 คน

จดั การ เชงิ คณุ ภาพ

ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษามีความรู้ ความเขา้ ใจ นโยบาย กฎระเบียบใน

การดำเนินงาน ตลอดจนแนวทางการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่

การศกึ ษาอยา่ งชดั เจน

3. โครงการบรหิ ารจัดการ เชิงปริมาณ

นโยบายและแผน ประจำปี 1. ประชุมวางแผนสรุปภารกิจที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปัญหาการจัดทำ

งบประมาณ พ.ศ. 2564 แผน การวางแผนและการพัฒนาแผนของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาในปีที่

ผ่านมา ปัญหาการบริหารโครงการการบริหารงบประมาณ ปัญหาการ

จัดระบบข้อมูลและสารสนเทศ และปัญหาอื่น ๆ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม

ได้แก่ บุคลากรกลมุ่ นโยบายและแผน จำนวน 7 คน

2. ประชุมวิเคราะห์สภาพองคก์ ร มผี ู้เข้ารว่ มประชุม จำนวน 31 คน

3. ประชุมการพัฒนาระบบการวางแผนและกำหนดทิศทางการ

พัฒนาการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่

เขต 4 มีผู้เข้ารว่ มการประชมุ จำนวน 63 คน

4. ประชุมคณะทำงานเพื่อพิจารณาร่างแผนปฏิบัติการ ประจำปี

งบประมาณ พ.ศ. 2564 มผี ้เู ขา้ ร่วมการประชุม จำนวน 29 คน

5. ประชุมคณะทำงานเพื่อพิจารณาร่างแผนปฏิบัติประจำปี

งบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีโครงการท่ีกลุ่มต่าง ๆ เสนอมาให้พิจารณา

จำนวน 44 โครงการ

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 15

โครงการ ผลการดำเนินงาน

4. โครงการยกระดบั คณุ ภาพ เชงิ คุณภาพ
การตรวจสอบภายใน ประจำปี บุคลากรของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รับทราบแนวทางการ
งบประมาณ 2564
บริหารโครงการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงให ม่
5. โครงการอบรมเทคนิคและ เขต 4 และบริหารโครงการไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
ความรู้พน้ื ฐานการเขยี นหนงั สอื
ราชการ เชงิ ปริมาณ
ตรวจสอบ ติดตามการบริหารงบประมาณของหน่วยรับตรวจ
6. โครงการพัฒนาทกั ษะการ
ส่ือสารและการประชาสัมพันธ์ สถานศกึ ษา จำนวน 69 โรงเรยี น
เชงิ คุณภาพ

1. เพอื่ หนว่ ยรับตรวจมรี ะบบการปฏิบตั งิ านการเงนิ การบญั ชี และ
การบรหิ ารสินทรัพยท์ ถี่ กู ตอ้ งมีประสิทธภิ าพ

2. เพื่อบุคลากรในหน่วยตรวจสอบภายในมีความรู้ความสามารถใน
การพฒั นางานตรวจสอบภายในอยูเ่ สมอ

เชิงปริมาณ
บุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่

เขต 4 เขา้ ร่วมประชมุ จำนวน 63 คน
เชิงคุณภาพ

1. บุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่
เขต 4 มีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการและรูปแบบการเขียนหนังสือ
ราชการได้อย่างถกู ต้อง

2. บุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่
เขต 4 สามารถเขียนหนังสือราชการได้อย่างถูกต้องมีรูปแบบและทิศทาง
เดยี วกันสามารถปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

เชงิ ปรมิ าณ
ผู้เขา้ รับการอบรมทง้ั สน้ิ 201 คน ดงั น้ี
1. ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 3 คน
2. ครูผู้สอน จำนวน 104 คน
3. เจ้าหนา้ ทธ่ี ุรการ จำนวน 59 คน
4. บุคลากรปฏิบตั ิงานสำนักงานเขต จำนวน 35 คน

เชงิ คณุ ภาพ
ผู้เข้าร่วมการอบรม ได้เรียนรู้ เทคนิคการอ่านบทความ อ่านข่าว

การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ และการพูด การเป็นพิธีกร รวมถึง
ท่วงท่า ท่วงทีบุคลิกที่เหมาะสมในการ สื่อสารและประชาสัมพันธ์
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และพัฒนาตนเองได้อย่าง
เหมาะสม

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 16

ผลการดำเนนิ งานด้านโอกาสทางการศกึ ษา

1) ผลการรบั นักเรียนเปรียบเทยี บกับแผนการรับนักเรียน ประจำปีการศกึ ษา 2563

ระดบั ช้ัน โรงเรยี นท่ี แผนการรับนกั เรยี น ผลการรับนักเรียน

เปิดรับ หอ้ งเรยี น นกั เรียน ห้องเรียน ร้อยละ นักเรียน รอ้ ยละ
นักเรยี น
(คน) (คน) 37.37
42.13
อนุบาล 3 ขวบ 16 19 570 16 88089 213 48.79
62.67
อนบุ าล 2 76 89 2670 84 84.38 1125

ประถมศกึ ษาปที ี1่ 86 99 3960 99 100 1932

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 22 29 1160 28 96.55 727

2) ขอ้ มูลนกั เรยี นทจี่ บการศกึ ษาชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2562 เรียนตอ่ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

ในปกี ารศกึ ษา 2563

รายการ จำนวนนักเรียน จำนวนนกั เรยี นท่เี รยี นตอ่ (คน) รวม
รวม รอ้ ยละ
ทจ่ี บ ป.6 สพฐ. เอกชน ปริยัตธิ รรม อปท. กศน. อ่ืนๆ

87 1708 1488 20 51 21 12 116 1708 100
โรงเรียน

3) ข้อมลู นกั เรยี นที่จบการศึกษาช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 เรียนตอ่ ในปกี ารศกึ ษา 2563

รายการ จำนวนนกั เรยี น จำนวนนักเรยี นทีเ่ รียนตอ่ ปีการศกึ ษา 2563 (คน) ไมเ่ รยี นต่อ
รวม รอ้ ยละ (คน)
ท่ีจบ ม.3

23 โรงเรยี น 583 579 99.31 4

4) จำนวนและรอ้ ยละของเดก็ ด้อยโอกาสท่ีได้รบั การดูแลชว่ ยเหลอื และส่งเสริมให้ได้รับการศกึ ษาเต็มตาม

ศักยภาพจำแนกตามประเภทความด้อยโอกาส ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563

เด็กด้อยโอกาส

ประเภท จำนวนทั้งหมด ไดร้ บั การดูแลช่วยเหลือ

(คน) จำนวน ร้อยละ

1. เด็กทีถ่ กู บังคับให้ขายแรงงานหรือแรงงานเด็ก - - -

2. เดก็ ท่อี ยใู่ นธรุ กจิ ทางเพศหรือโสเภณี ---

3. เดก็ ที่ถูกทอดทิง้ หรือกำพรา้ เด็ก 24 24 100

4. เดก็ ในสถานพินจิ และคุ้มครองเด็กและเยาวชน - - -

5. เด็กเรร่ ่อน ---

6. เด็กท่ีได้รบั ผลจากโรคเอดส์ฯ ---

7. เดก็ ในชนกลุ่มน้อย 89 89 100

8. เดก็ ทีถ่ กู ทำร้ายทารณุ ---

9. เด็กยากจน (มากเป็นพเิ ศษ) 10,984 10,984 100

10. เดก็ ท่มี ีปญั หาเกีย่ วกบั ยาเสพติด ---

รวม 11,097 11,097 100

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 17

5) จำนวนนกั เรยี นไดร้ ับการดแู ลช่วยเหลือตามระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

จำนวนนักเรยี น

ประเภท จำนวนทัง้ หมด ไดร้ บั การดูแลชว่ ยเหลอื
(คน)
จำนวน รอ้ ยละ
14,595
1. กลุ่มปกติ 706 12,016 82.33
2. กลุ่มเส่ียง 485
3. กลมุ่ มปี ัญหา 1,474 695 98.44
4. กล่มุ พเิ ศษ 17,260
441 90.93

1,448 98.24

รวม 14,600 84.59

ผลการดำเนินงานด้านคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา

แผนภมู ิท่ี 1 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านออกของผเู้ รยี น (Reading Test : RT)
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 เปรียบเทยี บกับระดบั สพฐ. และระดับประเทศ

ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นออกของผเู้ รยี น (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1
ปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกบั ระดับ สพฐ.และระดับประเทศ

76.00 75.65 72.1172.2371.86 73.88
75.00 74.1374.14 การอ่านร้เู ร่อื ง 73.2073.02
74.00
73.00 รวม 2 สมรรถนะ
72.00
71.00
70.00
69.00

การอ่านออกเสียง

สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 75.65 72.11 73.88
สพฐ. 74.13 72.23 73.20
ประเทศ 74.14 71.86 73.02

สพป.เชียงใหม่ เขต 4 สพฐ. ประเทศ

ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านออกของผูเ้ รยี น (Reading Test : RT) ของ
นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 พบวา่ นกั เรียนมีความสามารถในด้านการอ่านออกเสียง
รอ้ ยละ 75.65 การอา่ นรเู้ ร่อื ง ร้อยละ 72.11 เม่ือเปรียบเทยี บกบั ระดับ สพฐ.และระดับประเทศ นักเรียน
มีความ สามารถรวมทง้ั 2 สมรรถนะ พบวา่ สงู กว่าระดับ สพฐ.และระดบั ประเทศ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 18

แผนภมู ทิ ่ี 2 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน (Reading Test : RT)
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 - 2563

ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นออกของผเู้ รยี น (Reading Test : RT) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1

80 ปกี ารศกึ ษา 2561-2563 75.6572.1173.88

75 71.93 69.18
66.74
70 68.86 การอา่ นออกเสียง
65.80 64.30 การอา่ นรูเ้ รอื่ ง
รวม 2 สมรรถนะ
65

60

55

2561 2562 2563

การอ่านออกเสียง 65.80 64.30 75.65

การอา่ นรู้เรอ่ื ง 71.93 69.18 72.11

รวม 2 สมรรถนะ 68.86 66.74 73.88

ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นออกของผูเ้ รียน(Reading Test : RT)ของนกั เรียน
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 - 2563 พบว่า ในปีการศกึ ษา 2563 นกั เรียนมคี วามสามารถใน
ด้านการอ่านออกเสียง และการอา่ นรูเ้ ร่อื ง สูงกวา่ ปีการศึกษา 2561และปีการศึกษา 2562

แผนภมู ทิ ่ี 3 ผลการทดสอบทางการศึกษา NT ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563
เปรยี บเทียบกบั ระดับ สพฐ. และระดบั ประเทศ

ผลการทดสอบทางการศึกษา NT ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563

50 เปรยี บเทยี บ ระดับ สพฐ. และระดับประเทศ
48
48.3347.7647.46

46 45.1544.5343.97

44 41.9741.3040.47
42

40

38

36 คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย รวม 2 ด้าน

สพป.เชยี งใหม่ เขต 4 41.97 48.33 45.15

สพฐ. 41.30 47.76 44.53

ประเทศ 40.47 47.46 43.97

แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 19

ผลการประเมินการทดสอบทางการศกึ ษา NT ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปี
การศึกษา 2563 พบวา่ นกั เรยี นมีความสามารถดา้ นภาษาไทย มคี ่าคะแนน รอ้ ยละ 48.33 ด้าน
คณติ ศาสตร์ คา่ คะแนน ร้อยละ 41.97 เมอ่ื เฉล่ียทงั้ 2 ด้าน มคี า่ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 45.15 เมือ่
เปรียบเทียบกับระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ พบวา่ นกั เรียนมคี วามสามารถด้านภาษาไทยและ

คณิตศาสตร์ สงู กวา่ ระดับ สพฐ.และระดับประเทศ

แผนภมู ทิ ่ี 4 ผลการทดสอบทางการศกึ ษา O-NET ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2563
เปรยี บเทยี บกับระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ

ผลการทดสอบทางการศกึ ษา O-NET ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2563
เปรยี บเทยี บกับระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ

70 58.1454.9656.20
60
50 44.1838.8743.55 42.5940.0242.13
40 38.77 37.6438.78
30 29.26 28.59 29.99

20
10
0 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉล่ยี

สพป.เขียงใหม่ เขต 4 58.14 29.26 38.77 44.18 42.59

สพฐ 54.96 28.59 37.64 38.87 40.02

ประเทศ 56.20 29.99 38.78 43.55 42.13

สพป.เขียงใหม่ เขต 4 สพฐ ประเทศ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน(O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา
2563 ใน 4 วิชา พบว่า วิชาภาษาไทย มีค่าคะแนนสูงสุด ร้อยละ 58.14 ส่วนวิชาที่มีค่าคะแนนต่ำสุด
ได้แก่ วิชาคณิตศาสตร์ รอ้ ยละ 29.26 เมื่อเปรยี บเทียบกบั ระดบั สพฐ. และระดับประเทศ พบวา่ มีค่า
คะแนนเฉลยี่ สูงกวา่ ระดบั สพฐ.และระดับประเทศ เมื่อพิจารณา เป็นรายวชิ า พบว่า วิชาคณติ ศาสตรแ์ ละ
วิชาวิทยาศาสตร์ มีคา่ เฉล่ยี ต่ำกว่าระดับประเทศแต่สงู กวา่ ระดบั สพฐ.
แผนภมู ทิ ี่ 5 ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2561 – 2563

ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2561 - 2563

80 56.71 49.99 58.14 38.9133.07 29.26 40.25 35.63 38.77 38.1533.77 44.18 43.5138.12 42.59
60
40
20
0 ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ เฉลีย่
2561 56.71 38.91 40.25 38.15 43.51
33.07 35.63 33.77 38.12
2562 49.99 29.26 38.77 44.18 42.59

2563 58.14

2561 2562 2563

แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 20

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพนื้ ฐาน(O-NET)ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา
2561 – 2563 ใน 4 วชิ า พบวา่ ในปีการศึกษา 2561 มคี ่าคะแนนเฉลยี่ 43.51 สงู กว่าคะแนนเฉล่ยี

ของปีการศกึ ษา 2563 และปีการศกึ ษา 2562 เมื่อดูเป็นรายวิชา พบวา่ วิชาภาษาไทยมีค่าคะแนนสูงกว่า
ทุกวชิ าทัง้ 3 ปีการศึกษา

แผนภมู ิท่ี 6 ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2563
เปรยี บเทยี บกบั สพฐ. และระดบั ประเทศ

ผลการทดสอบทางการศกึ ษา O-NET ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2563
เปรยี บเทยี บกบั ระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ

60 54.06 55.18 54.29

50 21.7925.82 25.46 28.7030.17 29.89 30.9234.14 34.38 33.87 36.33 36.01

40
30

20

10

0 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เฉลย่ี

สพป.เขยี งใหม่ เขต 4 54.06 21.79 28.70 30.92 33.87

สพฐ 55.18 25.82 30.17 34.14 36.33

ประเทศ 54.29 25.46 29.89 34.38 36.01

สพป.เขียงใหม่ เขต 4 สพฐ ประเทศ

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา

2563 ใน 4 วิชา พบว่า วิชาภาษาไทย มีค่าคะแนนสูงสุด ร้อยละ 54.06 ส่วนวิชาที่มีค่าคะแนนต่ำ
ท่ีสุด ได้แก่ วิชาคณิตศาสตร์ ร้อยละ 21.79 เม่ือเปรียบเทียบกับระดับ สพฐ. และระดับประเทศ

พบว่า มีระดับต่ำกว่าท้งั ระดับ สพฐ.และระดับประเทศทกุ วิชา
แผนภูมทิ ่ี 7 ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2561 - 2563

ผลการทดสอบทางการศกึ ษา O-NET ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2561 - 2563

60 54.3156.44 54.06
50
40 35.5530.14 28.7 27.1731.25 30.92 36.25 35.8733.87
30 27.9725.6321.79
20 วทิ ยาศาสตร์
10
0 ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ เฉลย่ี

2561 54.31 27.97 35.55 27.17 36.25

2562 56.44 25.63 30.14 31.25 35.87

2563 54.06 21.79 28.7 30.92 33.87

2561 2562 2563

แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 21

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน(O-NET) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา
2561 – 2563 ใน 4 วิชา พบว่า ในปีการศกึ ษา 2561 มคี า่ คะแนนเฉลี่ยสูงสุด 36.25 รองลงมา ไดแ้ ก่
ปกี ารศึกษา 2562 มีค่าคะแนน 35.87 และคา่ คะแนนต่ำสุดไดแ้ ก่ ปกี ารศึกษา 2563 มีค่าคะแนน 33.87
เมื่อพิจารณาเปน็ รายวิชา พบว่า วิชาภาษาไทยมีคา่ คะแนนสูงกว่าทุกวิชา ทั้ง 3 ปีการศึกษา ส่วนวิชาทีม่ ี

คา่ คะแนนตำ่ สดุ ทัง้ 3 ปีการศกึ ษา ได้แก่ วิชาคณติ ศาสตร์

แผนภูมิที่ 8 ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2563
เปรียบเทยี บกบั ระดับ สพฐ. และระดับประเทศ

ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศกึ ษา 2563
เปรยี บเทยี บบระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ

40 34.70 36.32 35.93 ก26บั .3ร3ะ2ด6.บั 04 ส2พ7.9ฐ83.3แ.0ล4ะ3ร2.ะ6ด8 ับปร2ะ9เ.7ท3ศ29.94 36.32 35.93 34.13 33.79
35 30.15 26.43
30
25 18.36 20.97
20
15
10
5
0 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สงั คมศกึ ษา เฉล่ยี

สพป.เขียงใหม่ เขต 4 34.70 18.36 27.98 20.97 30.15 26.43
สพฐ 36.32 26.33 33.04 29.73 36.32 34.13

ประเทศ 35.93 26.04 32.68 29.94 35.93 33.79

สพป.เขยี งใหม่ เขต 4 สพฐ ประเทศ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา
2562 ใน 5 วิชา พบว่า วิชาภาษาไทย มีค่าคะแนนสูงสุด ร้อยละ 30.95 ส่วนวิชาท่ีมีค่าคะแนนต่ำสุด

ได้แก่ วิชาคณิตศาสตร์ มีคา่ คะแนนรอ้ ยละ 16.54 เมอื่ เปรยี บเทียบกบั ระดับ สพฐ. และระดบั ประเทศ
พบว่า มีค่าคะแนนตำ่ กวา่ ระดบั สพฐ.และระดบั ประเทศทุกวชิ า
แผนภูมทิ ่ี 9 ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2561 – 2563

ผลการทดสอบทางการศกึ ษา O-NET ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2561 -2563

40.00 33.5730.9534.70 26.96 26.34 27.98 21.46 29.28 29.91 30.1525.95 25.04 26.43
30.00 19.42 16.54 18.36 20.52 20.97
20.00
10.00 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คมศึกษา เฉลย่ี
0.00 33.57 19.42 26.96 20.52 29.28 25.95
30.95 16.54 26.34 21.46 29.91 25.04
2561 34.70 18.36 27.98 20.97 30.15 26.43
2562
2563

2561 2562 2563

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 22

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา
2561– 2563 ใน 5 วชิ า พบวา่ ในปกี ารศึกษา 2563 มคี ่าคะแนนเฉล่ีย ร้อยละ 26.43 สูงกว่าปีการศึกษา

2561 และปีการศึกษา 2562 เม่ือพจิ ารณาเป็นรายวิชา พบวา่ วิชาภาษาไทย มีค่าคะแนนสูงสุดทง้ั 3 ปีการศึกษา
สว่ นวชิ าทมี่ คี ่าคะแนนตำ่ สุด ไดแ้ ก่ วชิ าคณิตศาสตร์ มีคา่ คะแนนต่ำกวา่ วชิ าอน่ื ๆ ท้ัง 3 ปกี ารศึกษา

ผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานของสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาออนไลน์

(Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2564

ปงี บประมาณ ปงี บประมาณ ปีงบประมาณ

พ.ศ.2562 พ.ศ. 2563 พ.ศ.2564

รอ้ ยละเฉล่ีย 90.32 89.14 99.21

ลำดับที่ 47 69 9

ระดับคุณภาพ A A AA

จากผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งานของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา

ออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.
2562 – 2564 ของสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4 เปรียบเทียบ 3 ปงี บประมาณ

พบว่า ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 มีคา่ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 99.21 อยู่ในลำดับที่ 9 จาก 225 เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 มีคา่ คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 89.14 อยูใ่ นลำดับท่ี 69 และปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 มี
ค่าคะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 89.14 อยใู่ นลำดบั ท่ี 69

ผลการติดตาม ประเมนิ ผลการบริหารและจดั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา

ตามมาตรฐานสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา (พ.ศ. 2560) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

มาตรฐาน/ตวั บง่ ช/ี้ ประเดน็ การพจิ ารณา ระดบั
คณุ ภาพ

มาตรฐานที่ 1 การบรหิ ารจัดการองคก์ ารส่คู วามเปน็ เลิศ (ใช้ผลการประเมินการเปน็ ระบบ -

ราชการ 4.0 ของ กพร.สพฐ.)

มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ (ใช้ผลการประเมินการ -

เปน็ ระบบราชการ 4.0 ของ กพร.สพฐ.)

มาตรฐานท่ี 3 สมั ฤทธิผลการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา ดเี ย่ยี ม

จากผลการติดตาม ประเมินผล การบริหารและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสำนักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษาตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (พ.ศ. 2560) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
พบว่า ผลการประเมินตามมาตรฐานท่ี 3 สัมฤทธิผลการบริหารและการจัดการ มีผลการประเมินอยู่ใน

ระดับคุณภาพดีเยย่ี ม สำหรบั มาตรฐานที่ 1 การบรหิ ารจัดการองค์การสู่ความเปน็ เลิศ และมาตรฐานที่ 3
การบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาที่มีประสทิ ธิภาพ ไม่มกี ารประเมิน

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 23

ผลการตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานของสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา

ตามตวั ช้ีวดั แผนปฏบิ ตั ิราชการของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กลยทุ ธ์ / ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน

กลยทุ ธ์ท่ี 1 การจดั การศกึ ษาเพ่ือความมัน่ คงของสังคมและของประเทศชาติ

ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุนในการสร้าง

ภูมิคมุ้ กันพรอ้ มรับมือกบั การเปลย่ี นแปลงและภยั คุกคามรปู แบบใหม่ในทุกรูปแบบ ร้อยละ 85 ไมบ่ รรลุ

กลยุทธท์ ี่ 3 การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์

ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และ ร้อยละ 80 บรรลุ

สติปัญญา

ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ เพมิ่ ขึน้ -

ขัน้ พ้ืนฐาน (O–NET) รอ้ ยละ 50 ข้นึ ไป

ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม ร้อยละ 70 บรรลุ

หลักสตู รระดับดขี นึ้ ไป

ตวั ชวี้ ดั ท่ี 10 ร้อยละของครูผูส้ อนภาษาองั กฤษในระดับชัน้ ประถมศึกษาและมธั ยม ศึกษา ร้อยละ บรรลุ

ได้รบั การพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ระดับการพัฒนาทาง ดา้ นภาษา 100

(CEFR) ตามเกณฑ์ทก่ี ำหนด

ตัวชว้ี ัดท่ี 11 ร้อยละของสถานศึกษาทีส่ อนในระดบั ม.ตน้ ที่ไดร้ ับการเตรยี มความพร้อมด้าน ร้อยละ ไมบ่ รรลุ

การอ่าน คณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ในการประเมนิ ระดบั นานาชาตติ ามโครงการ PISA 100

ตัวช้ีวัดท่ี 14 รอ้ ยละของผ้เู รียนได้รบั การพัฒนาใหม้ คี วามรู้ สมรรถนะ หรอื ทกั ษะอาชีพ

ในด้านต่าง ๆ เพื่อการประกอบอาชพี การดำรงชีวิตอยู่รว่ มกันในสังคมอย่างสอดคล้อง

ตามสภาพความต้องการและบริบทของแต่ละพื้นที่ ตลอดจนความท้าทายที่เป็นพลวัตร

ของโลกในศตวรรษท่ี 21

ตัวชวี้ ัดที่ 14.1 ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 – 6 รอ้ ยละ 80 บรรลุ

ตวั ชี้วัดท่ี 14.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 – 3 ร้อยละ 80 บรรลุ

กลยุทธท์ ่ี 4 การสร้างโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศึกษาที่มีคณุ ภาพ มีมาตรฐาน

และลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา

ตัวชว้ี ัดท่ี 15 อัตราการเขา้ เรียนของผู้เรยี นแต่ละระดับการศึกษาต่อประชากรกลุ่มอายุ ร้อยละ

ตวั ชี้วดั ที่ 15.1 ประชากรวยั เรียนที่มอี ายถุ งึ เกณฑ์การศกึ ษาภาคบงั คบั เขา้ เรยี น ช้นั 100

ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 บรรลุ

ตัวชวี้ ัดท่ี 15.2 นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ท่ีจบหลกั สูตรในปีการศกึ ษา 2563 รอ้ ยละ

ได้ศกึ ษาต่อชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 100 บรรลุ

กลยุทธ์ที่ 5 การจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี จทิ เ่ี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม

ตัวชว้ี ดั ท่ี 19 ร้อยละของนกั เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจและตระหนักในการอนรุ กั ษ์

ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ร้อยละ 80 บรรลุ

จากผลการตดิ ตามประเมินผลการบริหารและจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสำนกั งานเขตพืน้ ที่
การศกึ ษาตามตวั ชี้วัดแผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พบว่า ผลการดำเนนิ งานเทียบค่าเป้าหมายตวั ชวี้ ัด มีการประเมนิ จำนวน 4 กลยทุ ธ์

8 ตัวชวี้ ัด ผลการประเมนิ บรรลุเปา้ หมาย จำนวน 6 ตวั ช้วี ดั และไม่บรรลเุ ป้าหมาย จำนวน 2 ตัวช้ีวดั

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 24

สว่ นที่ 3
ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษา

สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 4 ได้ดำเนนิ การจัดทำแผนปฏิบัตกิ าร
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 โดยนำนโยบายท่ีเกีย่ วขอ้ งมาเปน็ แนวทางในการดำเนินงาน ดงั นี้

1. ยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580)
2. แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
3. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564)
4. นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าดว้ ยความมน่ั คงแหง่ ชาติ (พ.ศ.2562-2565)
5. นโยบายรัฐบาล
6. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 – 2579
7. นโยบายและจุดเนน้ การจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
8. นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
9. ทศิ ทางการจัดการศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
10. แผนพัฒนาจังหวดั เชียงใหม่ (พ.ศ. 2563-2565) ฉบับทบทวนรอบปี พ.ศ.2564
11. ทศิ ทางการจดั การศึกษาของสำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 4

ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตาม
รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย ซ่ึงจะตอ้ งนำไปสู่การปฏบิ ตั ิเพือ่ ให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมี
ความม่ันคง มงั่ คัง่ ยง่ั ยืน เป็นประเทศพัฒนาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ภายใน
ช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศคือ “ประเทศชาติมั่นคง
ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดย
ยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดีเก่ง และมี
คุณภาพ สร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม
และมีภาครฐั ของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชนส์ ่วนรวม โดยการประเมนิ ผลการพฒั นาตามยุทธศาสตร์
ชาติ ประกอบด้วย

1. ความอย่ดู มี ีสุขของคนไทยและสังคมไทย
2. ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้
3. การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ของประเทศ
4. ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสงั คม
5. ความหลากหลายทางชีวภาพ คณุ ภาพสิง่ แวดล้อม และความยั่งยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติ
6. ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการและการเขา้ ถงึ การให้บริการของภาครฐั

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 25

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรช์ าติ
เพื่อให้ประเทศไทยสามารถยกระดับการพัฒนาให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความ
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ
เป้าหมายการพัฒนาประเทศข้างต้น จึงจำเป็นต้องกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศระยะยาวที่จะทำให้
ประเทศไทย มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยภายในและ
ภายนอกประเทศในทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของ
ประเทศได้รบั การพัฒนายกระดับไปสู่การใชเ้ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการสร้างมูลค่าเพ่มิ และพัฒนากลไกที่
สำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่ที่จะสร้างและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ เพื่อยกระดับฐาน
รายได้ของประชาชน ในภาพรวมและกระจายผลประโยชน์ไปสู่ภาคส่วนต่าง ๆได้อย่างเหมาะสม คนไทยได้รับ
การพัฒนาให้เป็นคนดีเก่ง มีวินัย คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมและมศี ักยภาพในการคิดวเิ คราะห์สามารถ “รู้
รับ ปรับใช้” เทคโนโลยีใหม่ได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเข้าถึงบริการพื้นฐาน ระบบสวัสดิการและกระบวนการ
ยตุ ธิ รรมไดอ้ ยา่ งเทา่ เทียมกัน โดยไมม่ ใี ครถูกท้งิ ไวข้ า้ งหลงั
การพฒั นาประเทศในชว่ งระยะเวลาของยทุ ธศาสตร์ชาติจะม่งุ เนน้ การสร้างสมดลุ ระหวา่ งการพัฒนา
ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในรูปแบบ“ประชารัฐ” โดย
ประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ได้แก่
1. ยทุ ธศาสตร์ด้านความม่ันคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคญั คอื ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมี
ความสุข เนน้ การบรหิ ารจัดการสภาวะแวดลอ้ มของประเทศให้มคี วามมั่นคง ปลอดภัย เอกราชอธิปไตย และมี
ความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติสังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคนเครื่องมือ เทคโนโลยีและ
ระบบฐานขอ้ มูลขนาดใหญ่ให้มคี วามพรอ้ มสามารถรบั มือกบั ภัยคกุ คามและภยั พิบตั ไิ ดท้ กุ รูปแบบ และทุกระดับ
ความรุนแรง ควบคไู่ ปกบั การป้องกันและแก้ไขปญั หาด้านความมน่ั คงท่ีมอี ยู่ในปัจจุบัน และท่ีอาจจะเกิดข้ึนใน
อนาคต ใช้กลไกการแกไ้ ขปัญหาแบบบูรณาการทง้ั กบั ส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสงั คม และองคก์ รทีไ่ ม่ใช่
รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบา้ นและมิตรประเทศทั่วโลกบนพ้นื ฐานของหลักธรรมาภบิ าล เพอ่ื เอื้ออำนวยประโยชน์
ต่อการดำเนนิ การของยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นอน่ื ๆ ใหส้ ามารถขบั เคลอื่ นไปได้ตามทิศทางและเปา้ หมายท่กี ำหนด
2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้นการยกระดบั
ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติบนพ้นื ฐานแนวคิด 3 ประการ ไดแ้ ก่ (1) “ตอ่ ยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่
รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์วฒั นธรรม ประเพณีวิถีชีวติ และจดุ เด่นทางทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลาย
รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอื่น ๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม เพอื่ ใหส้ อดรบั กับบริบทของเศรษฐกจิ และสงั คมโลกสมยั ใหม่ (2) “ปรบั ปัจจบุ ัน” เพ่อื ปูทางสู่อนาคต
ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้าง
พื้นฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพฒั นาอุตสาหกรรมและ
บริการอนาคตและ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่น
ใหม่รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาดผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับ
อนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐให้
ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก
ควบคู่ไปกบั การยกระดับรายได้และการกนิ ดอี ยู่ดรี วมถึงการเพมิ่ ขึน้ ของคนช้ันกลางและลดความเหลอื่ มล้ำของคนใน
ประเทศไดใ้ นคราวเดยี วกัน

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 26

3. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มีเป้าหมายการพัฒนาท่ี
สำคัญ เพอ่ื พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชว่ งวัยให้เป็นคนดีเก่ง และมคี ณุ ภาพ โดยคนไทยมคี วามพร้อมท้ังกาย
ใจ สติปัญญามีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัยมีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและ
ผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรมและเป็นพลเมืองดีของชาติมีหลักคิดท่ีถูกต้อง
มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น
มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวิต สูก่ ารเปน็ คนไทยทม่ี ีทักษะสูง เป็นนวัตกร
นกั คิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยคุ ใหม่และอ่นื ๆ โดยมีสมั มาชีพตามความถนัดของตนเอง

4. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเปา้ หมายการพฒั นาทใี่ ห้ความสำคัญ
กบั การดงึ เอาพลงั ของภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสงั คม ชมุ ชนทอ้ งถ่ิน มารว่ มขับเคลื่อน โดยการ
สนบั สนนุ การรวมตวั ของประชาชนในการรว่ มคิดรว่ มทำเพื่อสว่ นรวม การกระจายอำนาจและความรบั ผิดชอบ
ไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถ่ินการเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งของชมุ ชนในการจัดการตนเอง และ
การเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็น
ประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพ่ึงตนเองและทำประโยชน์แกค่ รอบครัว ชุมชน และสังคมใหน้ านท่สี ุด โดยรฐั ให้
หลกั ประกัน การเขา้ ถึงบรกิ ารและสวัสดิการท่มี คี ุณภาพอยา่ งเปน็ ธรรมและท่ัวถงึ

5. ยุทธศาสตรด์ ้านการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม มเี ปา้ หมายการพัฒนา
ที่สำคญั เพ่ือนำไปสู่การบรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาท่ยี ัง่ ยืนในทุกมติ ิ ทง้ั ด้านสังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม ธรรมาภิบาล
และความเป็นหุ้นสว่ นความร่วมมอื ระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พื้นที่เปน็ ตวั
ตงั้ ในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงานและการให้ทกุ ฝ่ายท่ีเกี่ยวขอ้ งได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มาก
ที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้โดยเป็นการดำเนินการบนพื้นฐานการเติบโตร่ว มกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ
ส่ิงแวดลอ้ ม และคณุ ภาพชวี ติ โดยให้ความสำคญั กับการสร้างสมดุลท้ัง 3 ดา้ น อนั จะนำไปสู่ความย่ังยืนเพื่อคน
รนุ่ ตอ่ ไปอยา่ งแทจ้ ริง

6. ยุทธศาสตรด์ า้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั มเี ป้าหมายการพัฒนา
ที่สำคัญ เพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม”โดย
ภาครัฐตอ้ งมขี นาดทีเ่ หมาะสมกบั บทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหนว่ ยงานของรัฐทีท่ ำหน้าทใ่ี นการกำกับหรือ
ในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขัน มีสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการ
ทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวมมีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการ
เปลีย่ นแปลงของโลกอย่ตู ลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยขี อ้ มลู ขนาดใหญ่ ระบบการ
ทำงานท่ีเปน็ ดิจิทลั เขา้ มาประยุกต์ใช้อย่างคมุ้ ค่าและปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะ
เปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเรว็ และโปรง่ ใส โดยทกุ ภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลกู ฝังคา่ นยิ มความซ่ือสัตย์
สุจรติ ความมธั ยัสถแ์ ละสร้างจิตสำนึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบ อยา่ งสิ้นเชงิ นอกจากนั้น
กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จำเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนำไปสู่
การลดความเหล่ือมล้ำและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ เป็น
ธรรมไมเ่ ลือกปฏิบตั ิและการอำนวยความยตุ ิธรรมตามหลักนิตธิ รรม

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 27

แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพื่อบรรลุเปา้ หมายตามที่กาหนดไว้ ในยุทธศาสตร์

ชาติ ซึ่งแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ เป็นแผนทีจ่ ัดทำไว้เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ตามยุทธศาสตร์ชาติ โดย

จะมีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น รวมทั้งการจัดทำงบประมาณ

รายจ่ายประจำปีงบประมาณจะต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งประเด็นแผนแม่บท

ภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ 23 ประเด็น ประกอบดว้ ย

1) ความมัน่ คง 2) การตา่ งประเทศ

3) การพฒั นาการเกษตร 4) อตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคต

5) การท่องเทยี่ ว 6) การพฒั นาพ้นื ที่ และเมอื งน่าอยอู่ ัจฉริยะ

7) โครงสร้างพื้นฐานระบบโลจสิ ตกิ ส์และดิจิทัล 8) ผปู้ ระกอบการและวสิ าหกิจ ขนาดกลาง

และขนาดย่อมยคุ ใหม่

9) เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 10) การปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม

11) การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต 12) การพฒั นาการเรยี นรู้

13) การสร้างให้คนไทยมสี ุขภาวะท่ดี ี 14) ศกั ยภาพการกีฬา

15) พลงั ทางสังคม 16) เศรษฐกิจฐานราก

17) ความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสงั คม 18) การเติบโตอย่างย่งั ยืน

19) การบริหารจดั การนำ้ ทั้งระบบ 20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ

21) การตอ่ ตา้ นการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ 22) กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม

23) การวจิ ัยและพัฒนานวตั กรรม

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติไดจ้ ัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) สำหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซึ่งเป็นการแปลง
ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมและวางรากฐานในการ
ยกระดับประเทศไทยให้เปน็ ประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการพฒั นาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ.2560-2564) มีหลกั การท่ีสำคัญ คอื

1. ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติอย่าง
สมเหตสุ มผล มีความพอประมาณ และมรี ะบบภูมคิ ้มุ กันและการบริหารจัดการความเส่ียงท่ีดี ซง่ึ เปน็ เงอ่ื นไขที่
จำเปน็ สำหรับการพัฒนาที่ยัง่ ยืนซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคน มีความเป็นคนทส่ี มบรู ณ์ สงั คมไทยเป็นสังคมคุณภาพ
มีทยี่ นื และเปดิ โอกาสให้กับทุกคนในสังคมไดด้ ำเนนิ ชีวติ ทด่ี ีมคี วามสขุ และอยรู่ วมกนั อยา่ งสมานฉันท์

2. ยึด “คนเป็นศนู ยก์ ลางการพัฒนา” มุ่งสร้างคุณภาพชีวิตและสุขภาวะท่ดี ี สำหรับคนไทยพัฒนาคน
ให้มีความเปน็ คนทีส่ มบูรณ์ มีวนิ ยั ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มคี วามคดิ สร้างสรรค์ มีทัศนคติท่ดี ี รบั ผิดชอบ
ต่อสงั คม มจี รยิ ธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรยี มความพร้อมเขา้ สู่สังคมผู้สงู อายอุ ยา่ งมีคณุ ภาพ
รวมถงึ การสร้างคนใหใ้ ช้ประโยชน์และอยกู่ บั สงิ่ แวดล้อมอยา่ งเกื้อกูล อนรุ กั ษ์ ฟืน้ ฟู ใช้ประโยชนท์ รัพยากร
ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างเหมาะสม

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 28

3. ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ประเทศไทยใน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น
ประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจำชาติว่า
“มัน่ คง ม่ังคงั่ ยงั่ ยนื ”

4. ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579” ท่ีเป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
มาเป็นกรอบในการกำหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมา ควบคู่กับกรอบ
เป้าหมาย ทีย่ ัง่ ยืน (SDGs)

5. ยดึ “หลักการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ท่ีลดความเหลอ่ื มลำ้ และขบั เคล่ือนการเจริญเตบิ โตจากการ
เพ่ิมผลติ ภาพการผลิตบนฐานของการใชภ้ มู ปิ ญั ญาและนวัตกรรม”

6. ยดึ “หลักการนำไปสกู่ ารปฏบิ ัตใิ หเ้ กิดผลสมั ฤทธ์ิอยา่ งจริงจงั ใน 5 ปที ่ตี อ่ ยอดไปสู่ผลสัมฤทธ์ิท่ีเปน็
เปา้ หมายระยะยาว”

ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบดว้ ย 10 ยุทธศาสตร์ ซ่ึงเกย่ี วข้องกับสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน จำนวน 6 ยทุ ธศาสตร์ตามกรอบ ดงั นี้

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การเสรมิ สร้างและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนุษย์ ให้ความสำคญั กบั การวางรากฐาน การ
พัฒนาคนให้มคี วามสมบรู ณ์ เริ่มต้ังแตก่ ลุม่ เด็กปฐมวัยทต่ี ้องพัฒนาให้มสี ุขภาพกายและใจที่ดีมที กั ษะทางสมอง
ทักษะการเรยี นรู้ และทักษะชวี ิต เพื่อให้เตบิ โตอย่างมีคณุ ภาพ ควบคกู่ บั การพัฒนาคนไทยในทุกช่วงวยั ใหเ้ ป็น
คนดี มีสขุ ภาวะทดี่ ี มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวินัย มจี ติ สำนึกทดี่ ีตอ่ สังคมสว่ นรวม มีทักษะความรู้ และ
ความสามารถปรับตวั เท่าทนั กับการเปลย่ี นแปลงรอบตวั ทร่ี วดเรว็ บนพน้ื ฐานของการมสี ถาบันทางสังคมที่
เขม้ แขง็ ท้ังสถาบนั ครอบครัว สถาบัน การศกึ ษา สถาบนั ศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนทรี่ ่วมกนั พัฒนา

ทุนมนษุ ย์ใหม้ ีคณุ ภาพสูง อกี ทั้งยงั เปน็ ทุนทางสังคมสำคัญในการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาประเทศ

ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลอ่ื มล้ำในสังคมใหค้ วามสำคัญกบั การดำเนินการ
ยกระดับคุณภาพบรกิ ารทางสังคมใหท้ ่ัวถงึ โดยเฉพาะอย่างย่ิงดา้ นการศึกษาและสาธารณสุข รวมทั้งการปดิ

ช่องว่างการคุม้ ครองทางสงั คมในประเทศไทยซง่ึ เปน็ การดำเนนิ งานต่อเนอ่ื งจากทไี่ ด้ขับเคลื่อนและผลักดันในช่วง
แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 11 และมงุ่ เนน้ มากขึ้นในเรื่องการเพ่ิมทักษะแรงงานและการใช้นโยบายแรงงานทีส่ นับสนุน
การเพม่ิ ผลิตภาพแรงงานและเสริมสรา้ งรายได้สูงขนึ้ และการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะ
อย่างยิง่ การสนบั สนุนในเรอ่ื งการสร้างอาชพี รายได้ และให้ความช่วยเหลือทเี่ ชื่อมโยง การเพ่มิ ผลติ ภาพ
สำหรบั ประชากรกลุ่มร้อยละ 40 รายได้ต่ำสดุ ผู้ดอ้ ยโอกาสสตรี และผู้สูงอายุ อาทิ การสนับสนนุ ธรุ กิจขนาด
เลก็ ขนาดกลาง และขนาดยอ่ ม วสิ าหกิจชมุ ชนและวิสาหกิจเพ่ือสังคม การพฒั นาองคก์ รการเงนิ ฐานราก
และการเข้าถงึ เงนิ ทุนเพ่อื สร้างอาชีพ และการสนับสนนุ การเขา้ ถงึ ปัจจัยการผลิตคุณภาพดีที่ราคาเป็นธรรม เปน็
ตน้ และในขณะเดียวกันก็ต้องเพม่ิ ประสิทธิภาพการใช้งบประมาณเชิงพ้ืนท่ีและบูรณาการเพือ่ ลดความเหลอ่ื มล้ำ

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การเตบิ โตท่ีเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อมเพือ่ การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืน ประเด็นท้าทายที่ต้อง
เร่งดำเนินการในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้แก่ การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ
ยกระดบั คณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม เพอื่ สนับสนุนการเติบโตทเี่ ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ มและคุณภาพชีวิตของประชาชน
เร่งแก้ไขปัญหาวิกฤติสิ่งแวดล้อมเพื่อลดมลพิษที่เกิดจากการผลิตและการบริโภค พัฒนาระบบบริหารจัดการที่
โปร่งใสเป็นธรรม ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นวงกว้างมากขึ้นต้องเร่งเตรียม

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 29

ความพรอ้ มในการลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกและเพ่ิมขดี ความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภมู ิอากาศรวมทง้ั บริหารจัดการเพ่ือลดความเสี่ยงดา้ นภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งค่ังและยั่งยืน
ใหค้ วามสำคญั ตอ่ การฟ้ืนฟูพื้นฐานด้านความมั่นคงที่เปน็ ปจั จัยสำคัญตอ่ การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศ โดยเฉพาะการอยู่รว่ มกันในสังคมอยา่ งสนั ตขิ องผ้มู ีความเห็นต่างทางความคิดและอดุ มการณ์บนพ้ืนฐาน
ของการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและการเตรียมการรบั มือกับภัย
คุกคามขา้ มชาติ ซ่งึ จะสง่ ผลกระทบอยา่ งมนี ยั สำคัญต่อการพฒั นาเศรษฐกจิ และ สังคมของประเทศในระยะ 20
ปขี า้ งหน้า

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤตมิ ิชอบและธรรมาภิบาลใน
สังคมไทย เป็นชว่ งเวลาสำคัญท่ตี อ้ งเร่งปฏิรูป การบรหิ ารจัดการภาครัฐใหเ้ กิดผลสมั ฤทธิอ์ ย่างจริงจัง เพื่อให้
เป็นปัจจัยสนบั สนนุ สำคัญท่ีจะช่วยสง่ เสริมการพัฒนาประเทศในทุกด้านให้ประสบผลสำเร็จบรรลุเป้าหมาย ทั้ง
การบริหารจัดการภาครฐั ให้โปรง่ ใส มีประสิทธิภาพ รบั ผิดชอบ ตรวจสอบไดอ้ ยา่ งเป็นธรรม และประชาชนมีส่วน
รว่ ม มกี ารกระจาย อำนาจ และแบ่งภารกจิ รับผดิ ชอบท่ีเหมาะสมระหว่างสว่ นกลาง ภูมภิ าค และทอ้ งถ่ิน และ
วางพน้ื ฐานเพือ่ ให้บรรลุตามกรอบเป้าหมายอนาคตในปี 2579

ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวตั กรรมให้ความสำคัญกับการใช้องค์
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพัฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิด
สรา้ งสรรค์อย่างเข้มขน้ ท้ังในภาคธุรการ ภาครฐั และภาคประชาสงั คม รวมท้ังให้ความสำคัญกับการพัฒนา
สภาวะแวดล้อมหรือปัจจัยพื้นฐานที่เอ้ืออำนวยทั้งการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา การพฒั นาบุคลากร
วิจัย โครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการบริหารจัดการเพื่อช่วยขับเคลื่อนการพัฒนา
ประเทศให้กา้ วส่เู ปา้ หมายดงั กล่าว

นโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ดว้ ยความม่นั คงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565)

นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ า่ ด้วยความมัน่ คงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 - 2565) เป็นนโยบายและ แผน
หลักของชาติท่ีเปน็ กรอบหรือทิศทางการดาเนนิ การปอ้ งกัน แจ้งเตือน แกไ้ ข หรอื ระงบั ยับยงั้ ภัยคุกคาม เพือ่ ธำรงไว้
ซงึ่ ความมั่นคงแหง่ ชาติ โดยกาหนดให้คณะรัฐมนตรีหรอื หน่วยงานของรัฐใช้เปน็ กรอบแนวทาง หรือดำเนนิ การตาม
อำนาจหน้าท่ี ในการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดนิ แผนนิติบญั ญัติ การกำหนดยุทธศาสตร์ หรอื แผน
ดา้ นความมั่นคงเฉพาะเรอ่ื ง แผนเตรยี มพร้อมแหง่ ชาติ แผนบริหารวิกฤตการณ์ท่เี ก่ียวข้อง กับความมัน่ คงแหง่ ชาติ
หรอื กำหนดแผนงานหรือโครงการทเี่ ก่ียวกับนโยบายและแผนระดับชาติ วา่ ด้วยความม่นั คงแหง่ ชาติหรอื การปฏบิ ัติ
ราชการอ่นื ใดให้สอดคลอ้ งกับนโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าด้วยความม่ันคงแหง่ ชาติ ซง่ึ มีแผนระดับชาตวิ า่ ดว้ ย
ความมน่ั คงแห่งชาติ 19 แผน ได้แก่

1) การเสริมสร้างความมนั่ คงของมนษุ ย์
2) การข่าวกรองและการประเมนิ สถานการณด์ ้านความม่ันคง
3) การเสริมสร้างความม่นั คงของสถาบันหลกั ของชาตภิ ายใต้การปกครองระบอบ

ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
4) การพฒั นาระบบ การเตรียมความพร้อมแหง่ ชาติ
5) การพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 30

6) การสร้างความสามัคคปี รองดอง
7) การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาความไม่สงบในจังหวดั ชายแดนภาคใต้
8) การบรหิ ารจดั การผู้หลบหนีเข้าเมอื ง
9) การปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาการค้ามนษุ ย์
10) การปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติด
11) การเสรมิ สร้าง ความมั่นคงของชาตจิ ากภยั ทุจริต
12) การรักษาความมนั่ คงพ้นื ทช่ี ายแดน
13) การรกั ษาความมน่ั คงทางทะเล
14) การปอ้ งกนั และแก้ปญั หาภัยคกุ คามข้ามชาติ
15) การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาความมั่นคงทางไซเบอร์
16) การรกั ษาดลุ ยภาพสภาวะแวดล้อมระหวา่ งประเทศ
17) การรักษาความมน่ั คงทางพลังงาน
18) การรักษาความมนั่ คงด้านอาหารและน้ำ
19) การรกั ษาความมัน่ คงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

นโยบายรฐั บาล

คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี) แถลงต่อรัฐสภา
วนั พฤหสั บดที ่ี 25 กรกฎาคม 2562 โดยรัฐบาลได้กำหนดนโยบายในการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ จำแนกเปน็
นโยบายหลกั 12 ด้าน และนโยบายเร่งด่วน 12 เรอื่ ง ซ่งึ นโยบายหลัก 12 ดา้ น ประกอบด้วย

1) การปกป้องและเชิดชูสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์
2) การสร้างความมน่ั คงและความปลอดภัยของประเทศและความสงบสขุ ของประเทศ
3) การทำนบุ ำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
4) การสร้างบทบาทของไทยในเวทโี ลก
5) การพัฒนาเศรษฐกจิ และความสามารถ ในการแข่งขันของไทย
6) การพฒั นาพื้นท่ีเศรษฐกจิ และการกระจายความเจรญิ สู่ภมู ิภาค
7) การพฒั นาสร้างความเขม้ แข็งจากฐานราก
8) การปฏิรปู กระบวนการเรยี นรแ๎ู ละการพฒั นาศกั ยภาพของคนไทยทกุ ช่วงวัย
9) การพัฒนาระบบสาธารณสขุ และหลกั ประกนั ทางสงั คม
10) การฟน้ื ฟทู รัพยากรธรรมชาติและการรักษาสง่ิ แวดล้อมเพอื่ สร้างการเติบโตอยา่ งยง่ั ยืน
11) การปฏิรูปการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
12) การปอู งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ และกระบวนการยตุ ิธรรม

นโยบายเร่งด่วน 12 เรอ่ื ง ได้แก่
1) การแก้ไขปัญหาในการดำรงชวี ติ ของประชาชน
2) การปรับปรงุ ระบบสวัสดิการและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน
3) มาตรการเศรษฐกจิ เพอื่ รองรบั ความผันผวน ของเศรษฐกิจโลก
4) การใหค้ วามช่วยเหลอื เกษตรกรและพฒั นานวตั กรรม

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 31

5) การยกระดบั ศกั ยภาพของแรงงาน
6) การวางรากฐานระบบเศรษฐกจิ ของประเทศสู่อนาคต
7) การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21
8) การแก๎ไขปญั หาทุจรติ และประพฤติมิชอบในวงราชการท้งั ฝ่ายการเมืองและฝ่ายราชการ

ประจำ
9) การแกไ๎ ขปญั หายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพ้ืนท่ชี ายแดนภาคใต้
10) การพฒั นาระบบการให้บรกิ ารประชาชน 11) การจดั เตรยี มมาตรการรองรบั ภยั แล้ง

และอทุ กภยั
12) การสนับสนนุ ให้มกี ารศกึ ษา การรับฟังความเห็นของประชาชน และการดาเนนิ การ

เพอ่ื แก้ไขเพม่ิ เติมรัฐธรรมนูญ

ความสอดคล้องกบั แผน 3 ระดบั มติคณะรัฐมนตรีจากการประชุมวันท่ี 4 ธันวาคม 2560 เห็นชอบการ
จำแนกแผนออกเป็น 3 ระดบั ไดแ้ ก่

แผนระดับที่ 1 ยทุ ธศาสตร์ชาติ เปน็ เป้าหมายการพัฒนาประเทศ ใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนตา่ ง ๆ ให้
สอดคล้องและบูรณาการกนั

แผนระดับท่ี 2 ได้แก่ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ
แผนการปฏิรปู ประเทศ และแผนความม่นั คง

แผนระดบั ท่ี 3 หมายถงึ แผนที่จัดทำขน้ึ เพ่อื สนบั สนุนการดำเนนิ งานของแผนระดับที่ 1 และ 2 ใหบ้ รรลุ
เป้าหมายทก่ี ำหนดไว้ หรอื จัดขึน้ ตามที่กฎหมายกำหนด หรือจัดทำข้นึ ตามพันธกรณีหรอื อนุสัญญาระหว่างประเทศ

แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาไดจ้ ัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 เพื่อใช้เปน็
แผนยุทธศาสตร์ระยะยาวสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของประเทศ ได้นำไปใช้เป็นกรอบและ
แนวทางการพัฒนาการศกึ ษาและเรียนรู้สำหรับพลเมอื งทกุ ช่วงวัยตัง้ แต่แรกเกดิ จนตลอดชวี ิต โดยจุดมุ่งหมายที่
สำคัญของแผน คอื การมงุ่ เน้นการประกันโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาและการศกึ ษาเพอื่ การมีงาน
ทำและสร้างงานได้ ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและ
ความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งความ เป็นพลวตั ร เพื่อให้ประเทศไทยสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศทีม่ ีรายได้
ปานกลาง ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งภายใต้กรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ได้กำหนด
สาระสำคัญสำหรบั บรรลุเป้าหมายของการพฒั นาการศึกษาในระยะ 15 ปขี ้างหน้า ดงั น้ี

วิสัยทศั น์ : คนไทยทกุ คนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอยา่ งมคี ุณภาพ ดำรงชีวติ อย่างเปน็ สุข
สอดคลอ้ งกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปลีย่ นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21

พันธกิจ
1. พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่คนไทยทกุ คนเข้าถึงโอกาสในการศกึ ษาและ

เรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างความเสมอภาคด้านการศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ยกระดับคุณภาพและ
ประสทิ ธิภาพของการจัดการศกึ ษาทุกระดับ และจดั การศึกษาท่ีสอดคล้องและรองรับกระแสการเปลี่ยนแปลง
ของโลกศตวรรษท่ี 21 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 32

2. พัฒนาคุณภาพของคนไทยใหเ้ ปน็ ผมู้ ีความรคู้ ุณลกั ษณะ และทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษ
ท่ี 21 สามารถพฒั นาศกั ยภาพและเรยี นรูไ้ ด้ดว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชวี ิต

3. สรา้ งความมัน่ คงแกป่ ระเทศชาติโดยสร้างสังคมไทยใหเ้ ป็นสงั คมแห่งการเรยี นรู้และสังคม
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมที่คนไทยทุกคนอยูร่ ่วมกันอยา่ งปลอดภัย สงบสุข และพอเพยี ง

4. พฒั นาศกั ยภาพและความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศไทย เพอื่ การก้าวข้ามกับดัก
ประเทศรายไดป้ านกลาง สู่การเปน็ ประเทศในโลกที่หน่ึง และลดความเหลื่อมลำ้ ในสงั คมด้วยการเพ่ิมผลิตภาพ
ของกำลงั แรงงาน (productivity) ให้มีทักษะและสมรรถนะทีส่ อดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาดงานและการ
พฒั นาประเทศ พร้อมรบั การเปลี่ยนแปลงท่ีเปน็ พลวตั ของโลกศตวรรษที่ 21 ภายใตย้ ุคเศรษฐกจิ และสงั คม 4.0

วัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา
1) เพอื่ พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาท่มี คี ุณภาพและมีประสิทธิภาพ
2) เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ

บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาตแิ ละยุทธศาสตรช์ าติ
3) เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เปน็ สังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จรยิ ธรรม รรู้ กั สามัคคี และ

รว่ มมือผนึกกำลังมุ่งสูก่ ารพัฒนาประเทศอย่างย่งั ยนื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4) เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำ

ภายในประเทศลดลง
เป้าหมายของการจัดการศกึ ษา (Aspirations)
1. ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มคี ุณภาพและมาตรฐานอยา่ งทว่ั ถึง (Access)
2. ผู้เรียนทุกกล่มุ เป้าหมายได้รับบริการทางการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทยี ม (Equity)
3. ระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพ สามารถพฒั นาผู้เรยี นให้บรรลขุ ีดความสามารถและเต็มตาม

ศักยภาพ (Quality)
4. ระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษาท่มี ีประสิทธิภาพ เพ่ือการพัฒนาผู้เรียนอย่างทั่วถึงและมี

คุณภาพ และการลงทนุ ทางการศึกษาทคี่ ุ้มค่าและบรรลุเป้าหมาย (Efficiency)
5. ระบบการศึกษาที่สนองตอบและกา้ วทันการเปลีย่ นแปลงของโลกที่เปน็ พลวัตและบริบทท่ี

เปลยี่ นแปลง (Relevancy)
เปา้ หมายด้านผูเ้ รยี น (Learner Aspirations) โดยมงุ่ พฒั นาผเู้ รียนทกุ คนใหม้ ีคุณลกั ษณะ

และทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs) ประกอบดว้ ย ทกั ษะและคณุ ลักษณะต่อไปนี้
 3Rs ไดแ้ ก่ การอา่ นออก (Reading) การเขยี นได้ (Writing) และการคดิ เลขเปน็ (Arithmetics)
 8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical

Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้าน
ความร่วมมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผูน้ ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทกั ษะดา้ น
การสื่อสาร สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy)
ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะ
อาชีพ และทักษะการเรียนรู้(Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม
จริยธรรม(Compassion)

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 33

ยทุ ธศาสตร์
1. การจัดการศึกษาเพอื่ ความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ
2. การผลติ และพัฒนากำลังคน การวจิ ยั และนวัตกรรม เพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการ
แขง่ ขนั ของประเทศ
3. การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้
4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศกึ ษา
๕. การจัดการศึกษาเพอ่ื สรา้ งเสริมคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม
๖. การพฒั นาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจดั การศกึ ษา

นโยบายและจดุ เนน้ การจัดการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ.2565

ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการจัดการศึกษา
ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 เมอ่ื วันที่ 25 มถิ ุนายน 2564 แล้วนนั้

เนื่องจาก ในห้วงสถานการณก์ ารแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ซึ่งทำให้
ทกุ คนตอ้ งปรบั เปลยี่ นชวี ิตให้เข้ากับวิถีชวี ติ ใหม่ หรอื New Normal จึงมีความจำเปน็ ต้องปรับเปลย่ี นรูปแบบการ
ดำเนินการให้มีความปลอดภัยทั้งต่อตัวผู้เรียน ข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปด้วยความ
เรยี บรอ้ ย ดงั น้นั จึงอาศยั อำนาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบญั ญัติระเบยี บบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศนโยบายและจุดเน้นของ
กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ดังน้ี

หลักการตามนโยบาย ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดำเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ.2561 – 2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนยอ่ ยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และ
แผนยอ่ ยท่ี 3 ในประเด็น 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต รวมท้งั แผนการปฏริ ปู ประเทศ ดา้ นการศกึ ษา
(ฉบับปรับปรุง) และนโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนา
ศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบายเร่งด่วน เรื่องการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้
ยังสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอื่น ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 รวมทั้งนโยบายและแผนต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง โดยคาดหวังว่าผู้เรียนทุกช่วงวยั จะได้รับการพัฒนาในทุกมิตเิ ป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมีความ
พร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ดังนั้น ในการเร่งรัดการทำงานภาพรวม
กระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ความไว้วางใจให้กับสังคม และผลักดันให้การจัดการศึกษา
มีคุณภาพ ประสิทธิภาพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กำหนดหลักการสำคัญในการประกาศนโยบายและ
จดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ไวด้ งั นี้
1. สร้างความเชื่อมั่น ไว้วางใจให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนและประชาขน โดยให้ทุก
หน่วยงานนำรูปแบบการทำงานโดยบูรณาการการทำงานร่วมกัน และปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ความ
รับผิดชอบ ความเปน็ อนั หนงึ่ อนั เดียวกนั
2. สนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนดำเนินการตามภารกิจด้วยความรับผิดชอบต่อตนเอง องค์กร
ประชาชนและประเทศชาติ โดยให้ความสำคัญกับการประสานความร่วมมอื จากทุกภาคส่วน ผ่านกลไกการรับฟงั
ความคิดเห็นมาประกอบการดำเนินงานท่เี ป็นประโยชนต์ ่อการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 34

3. ดำเนินการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ได้ประกาศและแถลงนโยบายไว้แล้ว เมื่อ
วันที่ 25 มถิ นุ ายน พ.ศ.2564 โดยมงุ่ เนน้ ผลใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงของภาคการศึกษาท่ีจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ
ผู้เรยี นและประชาชนอย่างมีนยั สำคัญ

นโยบายและจุดเน้นประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565

1. การจัดการศึกษาเพอ่ื ความปลอดภัย
1.1 เร่งสร้างสถานศึกษาปลอดภัยเพื่อเพิ่มความเช่ือมันของสังคม และป้องกันจากภัยคุกคามใน

ชีวิตรูปแบบใหม่ และภัยอื่น ๆ โดยมีการวางมาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่นักเรียน ครูและบุคลากร ใน
สถานศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ จดั โครงการโรงเรียน Sandbox : Safety zone in school (SSS) หรือ การจัด
กิจกรรม Safety School Success จัดให้มีการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคติดต่อ การจัดการความรุนแรงเกี่ยวกับ
ร่างกาย จิตใจ และเพศ เปน็ ตน้

1.2 เร่งพัฒนาบรรจุตัวชี้วัดเรื่องความปลอดภัยให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของสถานศึกษาและ
หน่วยงานทุกระดับ

1.3 เร่งพัฒนาให้มีหน่วยงานด้านความปลอดภัยที่มโี ครงสร้างและกรอบอัตรากำลังอย่างชัดเจน
ในทกุ สว่ นราชการของกระทรวงศึกษาธิการ

2. การยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา
2.1 เร่งจัดทำและพัฒนากรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน(หลักสูตรฐานสมรรถนะ) โดยรับฟัง

ความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ศึกษาวิเคราะห์ วิจัยความเหมาะสมความเป็นไปได้และทดลองใช้ก่อนการ
ประกาศใช้หลักสูตรฯ ในเดอื นเมษายน พ.ศ.2565

2.2 จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง มุ่งเน้นกระบวนการ
เรียนรู้แบบถักทอความรู้ ทักษะคุณลักษณะผูเ้ รยี นเข้าด้วยกันด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) มุ่งเน้น
ให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและเรียนรู้อย่างมีความสุข และพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ รวมทั้งการพัฒนาระบบ
การวดั และประเมินผลเชิงสมรรถนะ

2.3 พัฒนาช่องทางการเรียนรู้ผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มท่ีหลากหลาย และมแี พลตฟอร์มการเรียนรู้
อสิ ระที่รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ ส่อื การสอนคุณภาพสูง และการประเมินและพัฒนาผู้เรียน
เพอ่ื สง่ เสริมการเรียนรู้เปน็ รายบุคคล (Personalized Learning) สำหรับผเู้ รียนทกุ ช่วงวัย

2.4 มุ่งพัฒนาการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม ให้มีความ
ทันสมัยสอดรับกับวิถีใหม่ เหมาะกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นและการ
เสรมิ สรา้ งวถิ ีชีวติ ของความเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง

2.5 ส่งเสรมิ ให้ความรู้ด้วยการเงนิ และการออม (Financial Literacy) ใหก้ ับผู้เรยี น โดยบูรณาการ
ทำงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารออมสิน
ผ่านโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการสถานศึกษาส่งเสริมวินัยการออมกับ กอช. โครงการธนาคารโรงเรียน และการ
เผยแพรส่ อื่ แอนิเมชันรอบรู้เรื่องเงนิ

2.6 พัฒนาหลกั สูตรอาชีวศึกษา และหลักสูตรวิชาชพี ระยะส้ัน แบบโมดูล (Modular System) ที่
มีการบูรณาการวิชาสามญั และวิชาชีพเดียวกัน เชื่อมโยงการจัดการอาชีวศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และระบบทวิ
ภาคี รวมทั้งการจัดการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง (Block Course) เพอ่ื สะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ร่วมมือกับ
สถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาอย่างเข้มข้นเพื่อการมงี านทำ

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 35

2.7 ศกึ ษาวิจยั ถอดบทเรียนความสำเร็จในการจัดและพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาของ
สถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยงานสถานศึกษา
และผเู้ ก่ยี วข้องนำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม

3. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษาทกุ ช่วงวัย
3.1 ดำเนินการสำรวจและติดตามเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน เพื่อนำเข้าสู่ระบบ

การศึกษาโดยเฉพาะการศึกษาภาคบังคบั
3.2 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหเ้ ด็กปฐมวัยทมี่ อี ายุตง้ั แต่ 3 ปขี น้ึ ไปทุกคน เขา้ สู่ระบบการศึกษา เพ่ือ

รับการพัฒนาอย่างรอบคอบ มีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและต่อเน่ืองอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการ
ร่วมงานกบั ทุกหนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง

3.3 มุ่งแก้ปัญหาคนพิการในวัยเรียนที่ไม่ได้รับการศึกษาเข้าสู่ระบบการศึกษา โดยกำหนด
ตำแหนง่ (ปกั หมดุ ) บา้ นเดก็ พกิ ารทวั่ ประเทศ

3.4 ใหค้ วามชว่ ยเหลอื โรงเรยี นหา่ งไกลกนั ดารไดม้ โี อกาสเรยี นรู้ในยุคโควดิ โดยการสร้างความ
พร้อมในด้านดจิ ิทลั และด้านอ่นื ๆ

3.5 สง่ เสรมิ และสนับสนุนความร่วมมือการจัดการศึกษาร่วมกับหนว่ ยงาน องค์กรท้ังภาครัฐ
เอกชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและสถาบันสงั คมอ่ืน

4. การศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะอาชพี และเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขัน
4.1 ขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และส่งเสริมการ

ผลติ กำลงั คนท่ีตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ
4.2 ส่งเสรมิ สนับสนุนใหม้ กี ารฝึกอบรมอาชีพท่ีสอดคลอ้ งกับความถนัด ความสนใจ โดยการ

Re-skill, Up-skill, New skill เพื่อให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น พร้อมทั้งสร้างช่องทาง
อาชีพในรูปแบบที่หลากหลายให้ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งผู้สูงอายุที่มีความสนใน โดยมี
การบูรณาการความร่วมมือระหวา่ งหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง

4.3 จดั ตง้ั ศูนยใ์ หค้ ำปรึกษาการจดั ตงั้ ธุรกจิ (ศนู ย์ Start up) ภายใต้ศนู ย์พัฒนาอาชีพและการ
เป็นผู้ประกอบการ และพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการส่งเสริม และพัฒนา
ผู้ประกอบการด้านอาชีพทั้งผู้เรียนอาชีวศึกษาและประชาชนทั่วไป โดยเชื่อมโยงกับ กศน. และสถาน
ประกอบการท้งั ภาครัฐและเอกชนที่สอดคล้องกับการประกอบอาชพี ในวิถชี วี ิตรูปแบบใหม่

4.4 พฒั นาแอปพลิเคชน่ั เพ่ือสนับสนนุ ชา่ งพันธ์ุ R อาชวี ะซอ่ มทวั่ ไทย โดยการนำรอ่ งผ่านการ
ให้บริการของศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it Center) จำนวน 100 ศูนย์ ให้ครอบคลุมการให้บริการแก่
ประชาชน

5. การสง่ เสริมสนบั สนุนวชิ าชพี ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
5.1 พัฒนาหลักเกณฑ์การประเมนิ วทิ ยฐานะแนวใหม่ Performance Appraisal (PA) โดยใช้

ระบบการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ระบบ Digital
Performance Appraisal (DPA)

5.2 พัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล โดยการจัดทำกรอบระดับสมรรถนะดิจิทัล
(Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับ
อาชวี ศกึ ษา

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 36

5.3 ดำเนินการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ควบคู่กับการให้
ความรูด้ า้ นการวางแผนและการสร้างวินัยด้านการเงนิ และการออม

6. การพฒั นาระบบราชการและการบรกิ ารภาครัฐยุคดิจทิ ัล
6.1 พัฒนาระบบสารสนเทศโดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทท่ี ันสมยั ในการจัดระบบทะเบียนประวัติ

ของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาอเิ ล็กทรอนิกส์
6.2 ปรบั ปรงุ แนวทางการจัดสรรเงินค่าเครื่องแบบนกั เรยี นและอุปกรณ์การเรียนผา่ นแอปพลิเคชัน

“เปา๋ ตงั ” ของกรมบัญชกี ลางไปยงั ผู้ปกครองโดยตรง
7. การขบั เคลื่อนกฎหมายการศกึ ษาและแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ
จดั ทำกฎหมายลำดับรองและแผนการศึกษาแหง่ ชาติเพื่อรองรับพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ

ควบคูก่ บั การสร้างการรับรใู้ ห้กบั ประชาชนได้รบั ทราบอยา่ งทั่วถึง
แนวทางการขับเคลือ่ นนโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
1. ใหส้ ่วนราชการ หนว่ ยงานในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ นำนโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการ

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ข้างต้น เป็นกรอบแนวทางในการจัดการศึกษา โดยดำเนินการจัดทำแผนและ
งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ สู่การปฏิบตั ิระดับพื้นที่ ทำหนา้ ท่ีตรวจราชการ ติดตาม ประเมนิ ผลในระดับนโยบายและจัดทำ
รายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ทราบตามลำดับ

3. กรณมี ปี ญั หาในเชงิ พื้นทห่ี รอื ขอ้ ขดั ข้องในการปฏิบัติงาน ใหศ้ ึกษา วิเคราะหข์ ้อมลู และดำเนนิ การแก้ไข
ปัญหาในระดับพื้นที่ก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทั้งรายงานต่อคณะกรรมการติดตามฯ
ตามขอ้ 2 ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ และรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการตามลำดบั

4. สำหรบั ภารกจิ ของสว่ นราชการหลักและหนว่ ยงานท่ีปฏิบตั ิในลักษณะงานในเชิงหน้าที่ (Function) งาน
ในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซึ่งได้ดำเนินการอยู่ก่อนแล้ว หากมีความสอดคล้องกับ
หลักการนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าทีข่ อง
สว่ นราชการหลักและหนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งต้องเร่งรัด กำกบั ติดตามตรวจสอบให้การดำเนินการเกดิ ผลสำเร็จ และมี
ประสทิ ธิภาพอยา่ งเปน็ รปู ธรรม

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 37

นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565

ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
กำหนดให้มีการพัฒนาเด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัยให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะที่ดี สมวัยทุกด้าน โดยการปฏิรูป
กระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 ตระหนกั ถึงพหปุ ัญญาของมนษุ ย์ท่ีหลากหลาย
มเี ปา้ หมายให้ผ้เู รียนทุกกลุ่มวยั ไดร้ บั การศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทกั ษะท่จี ำเป็นของโลกอนาคต สามารถ
แกป้ ัญหา ปรบั ตัว ส่อื สาร และทำงานร่วมกับผู้อน่ื ได้อย่างมีประสิทธิผล มวี ินัย มีนิสยั ใฝเ่ รียนรู้ อย่างต่อเน่ือง
ตลอดชวี ิต รวมทงั้ เป็นพลเมอื งท่ีรู้สิทธิและหน้าท่ี มคี วามรบั ผิดชอบและมจี ิตสาธารณะ

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มุ่งม่ันในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เปน็ “การศึกษา
ขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
เท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดงั นี้

1. ด้านความปลอดภัย
พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาและ

สถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี
สามารถปรับตวั ต่อโรคอบุ ัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ

2. ดา้ นโอกาส
2.1 สนับสนนุ ใหเ้ ด็กปฐมวัยได้เข้าเรียนทุกคน มีพฒั นาการที่ดี ท้งั ทางร่างกาย จิตใจ วนิ ัย

อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาให้สมกับวยั
2.2 ดำเนนิ การใหเ้ ดก็ และเยาวชนได้รบั การศกึ ษาจนจบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน อยา่ งมีคุณภาพตาม

มาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพื่อการศึกษาต่อและประกอบอาชีพตรง
ตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งสง่ เสริมและพัฒนาผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ สู่ความเป็น
เลิศ เพ่อื เพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อป้องกันไม่ให้
ออกจากระบบการศกึ ษา รวมทง้ั ชว่ ยเหลอื เดก็ ตกหลน่ และเด็กออกกลางคนั ใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานอย่าง
เท่าเทียมกนั

2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ มีทักษะใน
การดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชพี พึ่งตนเองได้อย่างมศี ักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง

3. ดา้ นคุณภาพ
3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรยี นมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจำเปน็ ของโลกใน

ศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข มที ัศนคตทิ ่ถี ูกตอ้ งต่อบา้ นเมือง

3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และการ
เลอื กศกึ ษาตอ่ เพอ่ื การมีงานทำ

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 38

3.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเป็นในแต่ละ
ระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่สร้างสมดุลทุกด้าน
ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาพหปุ ญั ญา พัฒนาระบบการวดั และประเมินผลผ้เู รยี นทุกระดับ

3.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้เป็นครยู ุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน
ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัล มกี ารพฒั นาตนเองทางวชิ าชีพอย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ มีจติ วญิ ญาณความเปน็ ครู

4. ดา้ นประสิทธภิ าพ
4.1 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การโดยใช้พืน้ ที่เปน็ ฐาน มนี วัตกรรมเปน็ กลไกหลกั ในการขับเคลื่อนบน

ฐานขอ้ มลู สารสนเทศทถี่ กู ต้อง ทันสมัย และการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วน
4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนที่

สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมคี ุณภาพ (Stand Alone) ใหม้ คี ณุ ภาพอยา่ งย่ังยนื สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพ้ืนที่
4.3 บรหิ ารจดั การโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษาทีม่ ีจำนวนนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 น้อย

กวา่ 20 คน ให้ได้รบั การศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพ สอดคลอ้ งกบั นโยบายโรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน
4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ และสถานศึกษา

ที่ต้ังในพื้นท่ีลักษณะพิเศษ
4.5 สนับสนุนพนื้ ที่นวตั กรรมการศึกษาให้เปน็ ต้นแบบการพัฒนานวตั กรรมการศึกษาและการเพิ่ม

ความคลอ่ งตวั ในการบรหิ ารและการจดั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
4.6 เพิม่ ประสิทธภิ าพการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 39

ทิศทางการจัดการศึกษาของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

วิสยั ทศั น์
“สร้างคุณภาพทุนมนุษย์ ส่สู งั คมอนาคตท่ยี ั่งยนื ”

พนั ธกิจ
1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสรร้างความมั่นคง ของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองใน

ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
2. พฒั นาผู้เรียนให้มีความสามารถความเปน็ เลิศทางวิชาการเพอ่ื สรา้ งขีดความสามารถในการ

แขง่ ขัน
3. พฒั นาศกั ยภาพและคณุ ภาพผู้เรยี นใหม้ สี มรรถนะตามหลักสูตรและคณุ ลกั ษณะในศตวรรษ

ท่ี 21
4. สรา้ งโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมลำ้ ให้ผูเ้ รียนทุกคนไดร้ ับบริการทางการศกึ ษา

อย่างทวั่ ถงึ และเทา่ เทยี ม
5. พัฒนาผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้เปน็ มอื อาชพี
6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง และเป้าหมายการพฒั นาท่ียงั่ ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)
7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการการศึกษาทกุ ระดับ และจดั การศกึ ษาโดยใช้

เทคโนโลยีดจิ ิทัล

ผลสัมฤทธแิ์ ละเป้าหมายการให้บริการหนว่ ยงาน
1. ผเู้ รียนมีความพร้อมในการรับมอื กบั ภัยคกุ คามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ รวมถงึ ผเู้ รยี นในเขต

พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ไดร้ บั การศึกษาสอดคลอ้ งกบั อตั ลักษณ์ของจังหวดั ชายแดนภาคใต้
2. ผเู้ รียนได้รบั การพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพชวี ิตทมี่ คี ุณภาพ และส่งเสริมทักษะท่ีจำเป็น

ในศตวรรษท่ี 21
3. ประชากรทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับโอกาสในการเข้าถึงบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี

คุณภาพและมมี าตรฐาน อย่างเสมอภาคและเทา่ เทียม
4. ผูเ้ รียนไดร้ บั การพฒั นาใหม้ ีความรู้ มีทักษะ ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ เพ่ือตอบสนองความ

ตอ้ งการของประเทศ
5. พฒั นาระบบบริหารจัดการเพอื่ เพิม่ ประสทิ ธิภาพใหส้ งู ขึน้

กลยุทธห์ น่วยงาน
กลยทุ ธท์ ี่ 1 ส่งเสริมการจัดการการศึกษาใหผ้ เู้ รียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ

เป้าหมาย
ผูเ้ รยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา และสถานศกึ ษา ไดร้ บั การดแู ลความปลอดภัยจากภัยพิบัติ

คุกคามทุกรูปแบบ สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ และรองรับวิถีชีวิตใหม่ รวมถึงการจัด
สภาพแวดลอ้ มทเี ออ้ื ตอ่ การมสี ขุ ภาวะทด่ี ี

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 4 40

แนวทางการการพฒั นา
1.สร้างความตระหนกั ความรู้ ความเขา้ ใจแกค่ รู บุคลากรทางการศึกษา ใหส้ ามารถวิเคราะห์

ประเมินสถานการณ์ความเสี่ยง และดำเนินการตามแนวทางในการจัดการภยั พิบัติ และคุกคามทุกรูปแบบ ให้
สามารถปรบั ตัวต่อโรคอบุ ตั ิใหม่ และโรคอบุ ตั ซิ ำ้ รองรบั วิถชี ีวิต (New normal)

2. ส่งเสริมการพฒั นาผูเ้ รียนให้มีความรู้ความเข้าใจ รู้จักวิธีการปอ้ งกันและแก้ไขเกี่ยวกับภยั
คุกคาม ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุคามในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชกรรมไซเบอร์ ภัย
พิบัติ และภาวะฉุกเฉิน โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ ตลอดจนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม ท่ี
เก่ียวข้องกบั ความปลอดภยั

3.พัฒนากระบวนการเรียนรู้ ที่มุ่งเสริมสร้างทักษะชีวิตและทักษะอาชีพให้แก่ผู้เรียน เพ่ือ
รองรบั ภัยพบิ ตั ิ และภยั คกุ คามทุกรปู แบบ โรคอุบตั ิใหม่ และโรคอุบัติซ้ำ

4. ส่งเสริม พัฒนาทักษะด้านดิจิทัล และด้านการเรียนรู้ด้วยตนแอง นาไปสู้ Digital Life &
Learning รวมถึงความพร้อมของครูผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เพื่อความปลอดภัย เมื่อต้อง
เผชญิ กับสถาการณภ์ ยั พิบตั ิ และภัยคุกคาม

5. ส่งเสริมให้มีการจัดสภาพแวดล้อม และสร้างระบบนิเวศน์ การเรียนรู้ที่ปลอดภัยใน
สถานศกึ ษา ใหผ้ เู้ รยี นมีความปลอดภยั มีความอบอนุ่ และความสขุ ในสถานศึกษา

6. เสริมสร้างแนวทางการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาจากภัยคกุ คามทกุ รูปแบบไดอ้ ย่างทันท่วงที
เชน่ ภยั คุกคาทางไซเบอร์ การแสดงออกที่ไม่เหมาะสม พฤตกิ รรมกลน่ั แกล้งรังแกผู้อน่ื (Bully) ความรุนแรงใน
สถานศกึ ษา การล่วงละเมิดทางเพศ และยาเสพติด โดยความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย

7. พัฒนาระบบและรูปแบบการป้องกันภยั ทุกรูปแบบ รวมทง้ั เสรมิ มรา้ งสวัสดิการให้ครู และ
บุคลากรทางการศึกษามีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะภัยที่เกิดจากความไม่สงบ ในพื้นที่จังหวัด
ชายแดนภาคใต้

กลยุทธท์ ่ี 2 สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กบั ประชาชนวนั เรยี นทกุ คน
เปา้ หมาย
1. เดก็ ปฐมวยั ได้เข้าเรียนทกุ คน มพี ฒั นาการสมวัย
2. ประชากรวยั เรยี นระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาคจน

จบการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
3. ผเู้ รียนท่ีมคี วามรู้ความสามารถพิเศษไดร้ ับการสง่ เสริมและพัฒนาสู่ความป็นเลศิ
4. เด็กกลุ่มเสี่ยงที่ออกจากระบบการศึกษา เด็กตกหล่น และเด็กออกกลางคันได้รับการ

ชว่ ยเหลือใหไ้ ดร้ ับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
5. เดก็ พกิ ารและผู้ดอ้ ยโอกาส ไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพ

แนวทางการพัฒนา
1.สร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาระดับปฐมวัยอย่างเสมอภาค โดยการค้นหา เฝ้าระวัง

ตดิ ตาม และชว่ ยเหลอื เด็กปฐมวัยทม่ี ีคณุ ภาพ ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ
2. สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคการเข้าถึงการศึกษาข้นั พื้นฐานที่มีคุณภาพใหแ้ ก่ประชากร

วัยเรียนทกุ คนอย่างต่อเน่อื ง โดยจดั การศึกษาตามขดี ความสามรถของผู้เรียน ความถนดั และศักยภาพของแต่
ละบคุ คล วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชพี

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 41

3. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาดำเนินการค้นหา เฝ้าระวัง ติดตาม และประสาน
ช่วยเหลือ ประชากรวัยเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่อยู่นอกระบบการศึกษาให้เข้าถึงการศึกษาที่มี
คุณภาพ และได้รับการพัฒนาตามศักยภาพของแต่ละบุคคล และสนับสนุนให้มีข้อมูล องค์ความรู้ และ
แนวทาง/วิธก๊ าร/เคร่อื งมือ ทจ่ี ำเป็นในการปอ้ งกันนกั เรยี นออกจากระบบการศกึ ษา

4. พัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ สื่อ เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวกททางการ
ศึกษาสำหรับคนพิการ การวัดและประเมินผลทีเหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพของเด็กพิการและเด็กด้อย
โอกาส

5. ส่งเสรมิ พัฒนาการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั ในการสร้างโอกาสทางการศกึ ษา
6. ระดมการมีส่วนร่วมของสังคมอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างโอกาส และลดความเลื่อมล้ำทาง
การศกึ ษา

กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดับคณุ ภาพททางการศึกษาให้สอดคลอ้ งกับการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21
เป้าหมาย
1. ผูเ้ รยี นทกุ ชว่ งวัยในระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน มคี วามรักในสถาบันหลักของชาติและยึดมน่ั

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมอื งท่ีรู้สทิ ธิและหน้าท่ี อย่างมี
ความรบั ผดิ ชอบ มจี ิตสาธารณะ มคี วามรกั และความภมู ิใจในความเป็นไทย

2. ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน
สอดคล้องกับศักยภาพ ให้เป็นผูม้ สี มรรถนะและทักษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21

3. ผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยี มีสมรรถนะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ มีความพร้อมท้ัง
ทางดา้ นวิชาการ เชย่ี วชาญวชิ าชีพ มีจรรยาบรรณ และจติ วิญญาณความเปน็ ครู

4. สถานศกึ ษาจัดการศึกษาเพอื่ การบรรลุเป้าหมายการพฒั นาอย่างย่งั ยนื (Sustainable
Development Goals : SDGs) โดยเฉพาะ SDG เป้าหมายที่ 4 การศึกษาที่มีคุณภาพและเสริมสร้างคุณภาพ
ชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แนวทางการพัฒนา
คณุ ภาพผู้เรียน
1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่จำเป็นของ
โลกใน

ศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ
พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยู่หัว สกู่ ารปฏิบัติ

2. พัฒนาผ้เู รียนตามแนวทางพหปุ ัญญา (Multiple Intelligences)
3. พัฒนาผู้เรยี นให้มีสมรรถนะและทกั ษะด้านการอ่าน คณติ ศาสตร์ การคิดข้ันสงู นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เชื่อมโยงสู่
อาชพี และการมีงานทำ มที กั ษะอาชพี ท่ีสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของประเทศ
4. สง่ เสรมิ พัฒนาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ัล และดา้ นการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ที่นำไปสู่ Digital Life &
Learning

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 42

5. ดำเนินการคัดกรอง/วัดความสามารถและความถนดั ของผู้เรียน เพ่ือพัฒนาใหส้ อดคลอ้ งกบั
ศกั ยภาพ และสง่ เสริมขดี ความสามารถตามศักยภาพ

คุณภาพครู
1. สง่ เสรมิ ให้ครสู ามารถจัดการเรยี นการสอน และการเรยี นรรู้ ปู แบบ Active Learning / Co
– creation ใหก้ ับผู้เรียนในทกุ ระดับชั้น
2. พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้มีศักยภาพในการจดั การเรยี นการสอนสกู่ ารเรียนรู้
ฐานสมรรถนะ มีความรูค้ วามสามารถในการสร้างสรรคแ์ ละใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึงมีความรู้ และทักษะใน
สังคมยคุ ชวี ติ วิถีใหม่ (New Normal) มแี รงจูงใจในการเปน็ ครูมอื อาชีพ
3. ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาทางการศกึ ษาให้มีการพฒั นาตนเองทาง
วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง โดยมีการพัฒนารายบุคคล ส่งเสริมการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสูงตาม
มาตรฐานนานาชาติของครู มีจรรยาบรรณ และจิตวญิ ญาณความเปน็ ครู
หลกั สตู รและอืน่ ๆ
1. พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตร
สถานศึกษาบนฐานของสามมโนทัศน์หลัก คือ Career Education, Competency Building, Creative
Education
2. ส่งเสริม สนับสนุนการวัดประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ (Assessment for Learning) ที่
สอดคล้องกับสภาพบริบทของสถานศึกษา โดยให้มีรูปแบบวธิ ีการที่หลากหลาย เช่น การทดสอบด้วยข้อสอบ
ปรนัยและอัตนัย การประเมินภาคปฏิบัติ (Performance-based Assessment) และการประเมินตามสภาพ
จริง (Authentic Assessment) เปน็ ตน้
3. เพิม่ คุณภาพการจัดการศึกษาและบูรณาการอยา่ งย่งั ยืนในการจดั การเรียนรวม
4. พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน
รวมท้งั ดำเนินการใหม้ ีการขยายผล
5. สนับสนุนการจัดการเรยี นการสอนผา่ นแพลตฟอร์ม ดา้ นการศึกษาเพ่อื ความเปน็ เลิศ
6. บรู ณาการการศึกษาเพอ่ื การศกึ ษาต่อด้านอาชพี และการประกอบอาชีพ หรอื การมงี านทำ
ตามความต้องการและความถนดั ของผู้เรียน
7. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาปฐมวยั ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ
8. สนบั สนุนการปรับปรงุ หลักสตู รการผลติ ครสู ายสามญั ปฐมวัย การศกึ ษาพเิ ศษ การศึกษา
ตามอัธยาศัย ให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ สนับสนุนการพัฒนาระบบและกระบวนการบริหารจัดการ
กระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และระบบการนิเทศการศึกษา และการสอนงานของครูพี่เลี้ยงใน
สถานศึกษา
9. เสริมสร้างความเข้มแข็งศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (HCEC) เพื่อเป็น
ศูนย์กลางในการบรหิ ารจัดการพัฒนาศักยภาพบคุ คลสู่ความเป็นเลิศ

กลยุทธท์ ่ี 4 เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การศึกษา
เปา้ หมาย
1. สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาสถานศึกษามี

การนาระบบข้อมลู สารสนเทศ และเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 43

2. สถานศกึ ษาและพื้นที่นวัตกรรมได้รับการส่งเสริมสนับสนนุ ให้มีความคลอ่ งตัว และเอ้ือต่อ
การบริหาร และการจัดการศึกษาอย่างมีประสทิ ธภิ าพที่เหมาะสมกับบรบิ ท

3. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาสถานศึกษามี
การบรหิ ารจัดการ โดยเฉพาะด้านงบประมาณ และการบริหารงานบคุ คล ทม่ี ีประสทิ ธิภาพเหมาะสมกบั บริบท

4. สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสถานศกึ ษามี
การพฒั นาระบบการบริหารจัดการและการมสี ่วนรว่ ม ทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ เหมาะกบั บริบท

แนวทางการพัฒนา
การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัล
1. พฒั นาระบบฐานข้อมูลกลาง (Big Data) ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
และสารสนเทศท่มี ีประสิทธภิ าพ ทันสมยั และเป็นปัจจบุ นั เพอ่ื สามารถตอบสนองความตอ้ งการท่ีแตกต่างของ
นักเรียน และผู้รับบรกิ ารทุกประเภทรวมท้ังพฒั นาระบบฐานข้อมูล เพื่อปรับปรุงการบริการกระบวนการ ตลอดจน
การพัฒนา จนเกิดเปน็ วตั กรรมทตี่ อบสนองความต้องการทัง้ ในภาพรวม และเฉพาะกลมุ่ ได้ โดยสามารถเชื่อมโย
กับฐานข้อมลู กลางของหนว่ ยงานอนื่ ๆ ได้อยา่ งมรประสิทธภิ าพ และปลอดภัยในทุกมิติ
2. พฒั นาและจดั ระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา สำหรับประชาชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้
มกี ารเขา้ ถงึ ข้อมูลไดอ้ ยา่ งสะดวก
3. สง่ เสรมิ การนาเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการใหม้ ีประสิทธิภาพทุกระดบั
การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของสถานศึกษา และพ้ืนท่ีนวตั กรรม
4. สนบั สนนุ การจดั ทำมาตรฐานสำหรับโรงเรียนทส่ี ามารถดำเนินการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี
คณุ ภาพ
5. พฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐานทุกดา้ นใหม้ ีความพร้อมในการจัดการศึกษาทมี่ คี ุณภาพ
6. พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียน
และโรงเรียนทสี่ ามารถดำรงอยไู่ ด้อย่างมคี ุณภาพ ให้มีคุณภาพอย่างย่ังยืน สอดคลอ้ งกับบริบทของพน้ื ที่
7. บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาใหผ้ ู้เรยี นได้มีโอกาสรับการศึกษาทีม่ ีคุณภาพ
8. ส่งเสริมการจัดการการศึกษาในสถานศึกษาที่มีวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะและพื้นทพี่ ิเศษ อาทิ โรงเรียน
ในโครงการพระราชดำริ โรงเรยี นในโครงการพระราชดำริ โรงเรยี นในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ โรงเรียนในเขต
พฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ เป็นตน้
9. สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และการเพ่ิม
ความคลอ่ งตัวในการบรหิ าร และการจดั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
10. พัฒนาระบบประกันคุณภาพสถานศึกษาให้เป็นต้นแบบการพฒั นานวัตกรรมการศึกษามีความ
เขม้ แข็งในระบบประกันสขุ ภาพ
การบรหิ ารจดั การ
11. จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรด้านการศึกษาในการขับเคลื่อนนโยบายตามความต้องการ
และจำเป็นของผู้เรียน และสถานศึกษาในบริบทของแต่ละพื้นที่ และกระจายอำนาจการบริหารและ
งบประมาณไปสู่สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา และสถานศึกษา โดยลดกิจกรรมที่ดำเนนิ การจากส่วนกลางเน้น
กำกับทิศทางและตดิ ตามประเมนิ ผล
12. สนบั สนุนให้มกี ารปรบั อัตราเงินอดุ หนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานใหเ้ หมาะสม
13. พฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลให้เปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภิบาล

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 44

14. พัฒนาบุคลากรในสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านการวางกลยุทธ์ องค์กร
การมุ่งผลสัมฤทธข์ิ องงาน และการสรา้ งสขุ ในองคก์ ร และพฒั นาบุคลากรในสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา ด้าน
การเชื่อมโยงจากนโยบายสู่การปฏิบัติวัฒนธรรมการให้บริการ และการสร้างเครือข่ายการทำงาน และให้มี
ความก้าวหน้าในวิชาชีพ มาตรฐานตำแหน่ง และวิทยฐานะ พัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
ใหม้ คี วามก้าวหน้าในอาชพี มาตรฐานตำแหน่งและวทิ ยฐานะ

15. บริหารอัตรากำลังในสถานศึกษา เพื่อลดภาระงานอื่นของครูที่ไม่ใช่การสอน และบริหา ร
อัตรากำลังในสำนกั งานทกุ ระดับ ให้สอดคล้องกบั ภารกิจ เพือ่ สง่ เสรมิ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

16. พัฒนาระบบการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ
(ITA) โดยให้บุคลากรในหน่วยงานทุกระดับ นาหลักธรรมาภิบาลไปสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรมอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพและตอ่ เนอื่ ง

17. เพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
18. บูรณาการรระบบกำกับ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาในเชิงนโยบาย Agenda-
based และ Area-based ระดับคลสั เตอร์ (Cluster) สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา และสถานศกึ ษา
19. สง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วม และจัดการศกึ ษารว่ มกันของภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และ
องค์กรอื่น ๆ โดยเพิ่มบทบาท และกรอบภารกิจที่ตอบสนองต่อนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมากขนึ้
โดยสรปุ แลว้ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี พ.ศ. 2565 มวี สิ ยั ทศั น์ สร้างคณุ ภาพทุนมนษุ ยส์ สู่ ังคมมนษุ ย์ที่
ย่ังยนื ผ่านการขับเคล่ือนใน 4 กลยทุ ธห์ นว่ ยงาน ไดแ้ ก่ กลยทุ ธท์ ่ี 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความ
ปลอดภยั จากภยั ทุกรูปแบบ กลยุทธ์ท่ี 2 สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กบั ประชากรวัยเรยี น
ทกุ คน กลยทุ ธ์ที่ 3 ยกระดบั คุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 และกลยทุ ธท์ ่ี
4 เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การศึกษา เพ่อื เป็นกรอบในการดำเนินงานเพ่ือให้บรรลเุ ปา้ หมายของแผนใน
ระดบั ต่าง ๆ ตามท่ีกลา่ วมาแลว้ ในส่วนที่ 2 ซึ่งในแต่ละกลยทุ ธข์ องการดำเนนิ งานไดก้ ำหนดประเดน็ สำคัญโดยมี
เป้าหมาย ในการดำเนินการ ตวั ช้วี ดั แนวทางในการดำเนินการ และแผนงาน/โครงการ โดยสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตรช์ าติ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการปฏิรปู ประเทศ และแผนอ่นื ๆทเ่ี กยี่ วข้อง

แผนพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2565 ฉบับทบทวนรอบปี พ.ศ.2564

เปา้ หมายการพฒั นาจงั หวดั เชียงใหม่
“นครแห่งชีวิต และความมง่ั คั่ง” (City of Life and Prosprity)

(เมอื งทใี่ หค้ วามสขุ และชวี ติ ทมี่ ีคุณค่าแก่ผู้อยูอ่ าศัยและผมู้ าเยือนในฐานะเมอื งท่ีนา่ อย่แู ละน่า
ทอ่ งเท่ียวในระดับโลก)

พันธกจิ
1. สง่ เสรมิ และพัฒนาให้เปน็ เมอื งศูนยก์ ลางท่องเท่ียวและบริการสุขภาพ
2. สง่ เสริมและพฒั นาให้เป็นเมืองศูนยก์ ลางการคา้ การลงทนุ และการคมนาคมขนส่ง
3. ส่งเสริมและพฒั นาใหเ้ ปน็ เกษตรปลอดภยั
4. ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นเมอื งศนู ยก์ ลางการศกึ ษาระดับภูมภิ าค
5. สง่ เสรมิ และพัฒนาใหเ้ ปน็ เมอื งศนู ย์กลางการแพทย์และบรกิ ารสภุ าพ

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 45


Click to View FlipBook Version