The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารรายงานวิจัย เรื่อง กลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ตามโครงการยกระดับคุณภาพการวิจัยและพัฒนาชุมชนของหน่วยงานสังกัดสถาบันการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cdlc Udon, 2022-03-24 07:01:43

วิจัย เล่ม 2 กลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาตินาเรียง

เอกสารรายงานวิจัย เรื่อง กลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ตามโครงการยกระดับคุณภาพการวิจัยและพัฒนาชุมชนของหน่วยงานสังกัดสถาบันการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

กลยทุ ธก์ ารสรา้ งความมนั่ คงทางอาหารตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของ
ชุมชนกสิกรรมธรรมชาตมิ าตรฐานอินทรียว์ ิถไี ทยคริสตจักรนาเรยี ง
อาเภอศรธี าตุ จงั หวัดอดุ รธานี

กนกกร สทุ ธิอาจ
นภทั ร โชตเิ กษม
ณัฐวุฒิ เหมากระโทก

ศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชนอดุ รธานี
สถาบนั การพฒั นาชมุ ชน

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

รายงานวจิ ยั นี้ได้รบั สนบั สนุนทนุ วจิ ยั
จากกรมการพฒั นาชมุ ชน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

พ.ศ. 2564



ชอื่ รายงานการวิจัย กลยทุ ธ์การสรา้ งความมน่ั คงทางอาหารตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรยี ว์ ถิ ีไทยคริสตจกั รนาเรยี ง
ผู้วิจัย อาเภอศรธี าตุ จงั หวัดอุดรธานี
สว่ นงาน กนกกร สทุ ธิอาจ, นภัทร โชตเิ กษม, และณฐั วฒุ ิ เหมากระโทก
ปงี บประมาณ ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนอุดรธานี สถาบนั การพฒั นาชมุ ชน
2564

บทคดั ยอ่

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศักยภาพและกระบวนการสร้างความม่ันคงทางอาหาร 2) ศึกษา
แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) กาหนดกลยุทธ์การสร้างความม่ันคงทางอาหารตาม
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้วยวิธีวิจัยวธิ ีการวิจยั แบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยใช้
ทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
ดาเนินการในพื้นที่ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จังหวัด
อุดรธานี แบง่ การวจิ ัยออกเปน็ 3 ระยะ ดงั น้ี

ระยะที่ 1 ศึกษาศักยภาพและกระบวนการสร้างความม่ันคงทางอาหารของชุมชนกสิกรรม
ธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง เก็บข้อมูลด้วยการสารวจข้อมูลและสนทนากลุ่ม
จากประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นสมาชิกกลุ่มกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง
จานวน 191 คน พิจารณาจากดัชนีช้ีวัดความม่ันคงทางอาหาร 4 ประการ ได้แก่ การเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย
(วัตถุดิบประเภทผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์) การมีอาหารท่ีเพียงพอและมีคุณภาพ (การผลิตอาหารหลักของชุมชน)
การใช้ประโยชน์จากอาหาร (พ้ืนที่การเกษตร การจัดการพ้ืนที่ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ) ความมีเสถียรภาพ
ด้านอาหาร (ธนาคารเมลด็ พันธุ์ ถนอมอาหาร) ผลการศึกษา พบวา่

1.1 ศักยภาพการสร้างความม่ันคงทางอาหาร พบว่า ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติ
ครสิ ตจักรนาเรยี ง ดา้ นภมู ปิ ระเทศ เปน็ พนื้ ทร่ี าบล่มุ สลบั กบั เนินสูง ในอดตี เหมาะแก่การเพาะปลูกพืช มีปา่ ไม้ที่
อุดมสมบูรณ์ แหลง่ นา้ ตามธรรมชาติเพียงพอ แต่ปัจจบุ นั ปา่ ไม้ถูกบุกรุกเพ่ือทาเกษตรเชิงเด่ียว มีการใช้สารเคมี
และยาฆา่ แมลง ทาให้ดินเสื่อมคุณภาพ บางพื้นทเ่ี ปน็ ดินลกู รงั ไม่เหมาะแก่การปลูกพชื ดา้ นการประกอบอาชีพ
สว่ นใหญ่ทาการเกษตร เช่น ข้าว มันสาปะหลัง ออ้ ย เป็นการทาเกษตรเชงิ เด่ียว แต่ยงั มีเกษตรกรบางกลมุ่ ปรับ
พ้ืนที่ตามแนวทาง โคก หนอง นา โมเดล และทาเกษตรอนิ ทรีย์ ด้านศาสนาและวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่
นับถือศาสนาพุทธ และมีประชาชนบางส่วนนับถือศาสนาคริสต์ โดยมีคริสตจักรตั้งอยู่ภายในชุมชน แต่
ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกนั อยา่ งมีความสขุ มกี ารรวมกลุ่มทากจิ กรรมตา่ ง ๆ รว่ มกนั ชว่ ยเหลอื เก้อื กูลกัน

1.2 กระบวนการสร้างความม่ันคงทางอาหาร พบว่า ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติ
คริสตจักรนาเรียง มีการปลูกผักสวนครัว เล้ียงสัตว์ และแปรรูปอาหาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในเรื่องของ
อาหาร อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.07) ประชาชนสามารถผลิตอาหารประเภท พืชผัก สัตว์ และแปรรูปท่ีมี
ความหลากหลายได้เอง อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.90) แต่มีพ่อค้าเข้ามารับซื้อผลผลิตทางการเกษตร และ
ผลิตภัณฑ์แปรรูปในชุมชนอย่างต่อเน่ือง อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉล่ีย 2.29) รวมทั้งในชุมชนได้มีรถพุ่มพวง
เข้ามาขายของภายในชุมชน หรือรา้ นขายพืชผัก ร้านอาหารอยูใ่ นชุมชน อยูใ่ นระดับปานกลาง (ค่าเฉลยี่ 2.83)



ระยะท่ี 2 ศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรม
ธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง เก็บข้อมูลด้วยการสนทนากลุ่ม จากกลุ่มเป้าหมายที่เป็น
สมาชิกกลุ่มกสิกรรมธรรมชาติและผู้นาชุมชน จานวน 15 คน จากการศึกษาการประยุกต์ใช้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถแบ่งออกเป็น 4 มิติ ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดล้อม และด้านวัฒนธรรม ผลการศกึ ษา พบว่า

2.1 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า ชุมชนได้เน้นสร้างฐานการ
พึง่ ตนเองตามหลัก 4 พอ คือ พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเยน็ ซงึ่ ถอื ว่าเป็นขั้นพื้นฐาน เม่อื สรา้ งรากฐานท่ีม่ันคง
ก็จะสามารถก้าวหน้าได้ นั่นก็คือ ดาเนินชีวิตตามหลักทฤษฎีบันได 9 ข้ันสู่ความพอเพียง ในขั้นที่ 5 – 9
ประกอบด้วย บุญ ทาน เกบ็ รกั ษา ขายหรือจาหน่าย และเครือข่าย สอดคล้องกบั การทคี่ นในชมุ ชนต้องการให้มี
การทาเกษตรอินทรีย์ในทุกครัวเรือน ลดการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร มีการทาปุ๋ยชีวภาพใช้เอง ซง่ึ เปน็ การ
น้อมนาแนวพระราชดาริ เกษตรทฤษฎีใหม่ มาปรับใช้ในการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
และทาใหท้ ุกครวั เรือนในชุมชนเป็นแหล่งผลิตอาหารเองได้ จะทาใหไ้ ม่มีการเพ่มิ รายจ่ายในครัวเรือน ตลอดจน
การเพิม่ องค์วามรูก้ ารทาเกษตรปลอดภัยให้กบั สมาชกิ ของชมุ ชน

2.2 การขับเคลื่อนกิจกรรมเอาม้ือสามัคคี พบว่า ชุมชนได้มีการรวมกลุ่มเครือข่าย
กสิกรรมธรรมชาติ โดยใช้กระบวนการขับเคลื่อนงานด้วยการใช้พลังของชุมชน การมีส่วนร่วม ความสามัคคี
ผ่านกิจกรรมที่เรียกว่า เอาม้ือสามัคคี คือ การรวมพลังประสานความร่วมมือการพัฒนาพื้นท่ีแปลง โดยสมาชกิ
จะช่วยกันทางานในแปลงของสมาชิก โดยการขุดดิน ขุดแปลง ขุดหนอง ขุดคลองไส้ไก่ ปลูกแฝก ปลูกต้นไม้
ห่มดิน ทาปุ๋ยหมักชีวภาพใช้เอง ซ่ึงจะผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกันไปให้ครบทุกแปลงของสมาชิกในเครือข่าย ซ่ึง
เป็นการไปตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ และการจัดการพื้นที่ตามภูมิสังคม โคก หนอง นา โมเดล นาไปสู่
ความสาเร็จในการสรา้ งความมัน่ คงทางอาหาร ทีท่ าให้ชุมชนกลายเปน็ แหล่งอาหารท่ีสาคัญของลุ่มนา้ ปาว

ระยะท่ี 3 กาหนดกลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง เก็บข้อมูลด้วยการประชุมเชิง
ปฏิบตั ิการ จากกลุม่ เปา้ หมายทเี่ ปน็ สมาชิกกลุ่มกสิกรรมธรรมชาติ จานวน 10 คน และผนู้ าชมุ ชน ผู้ทรงคุณวุฒิ
จานวน 10 คน จากการศึกษาแนวคิดการกาหนดยุทธศาสตร์ สามารถแบ่งกลยุทธ์ออกเป็น 5 องค์ประกอบ
ได้แก่ (1) แนวคิด หลักการและเหตุผล (2) เป้าหมาย (3) เนื้อหาสาระ ประกอบด้วย การกาหนดทิศทาง
การประเมินสภาพแวดล้อม การกาหนดกลยทุ ธ์ และการนากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบตั ิ (4) กระบวนการและวิธีการ
(5) การติดตามประเมินผล ผลการศกึ ษา พบวา่ ทรพั ยากรทสี่ าคญั ทส่ี ดุ กค็ ือ นา้ ที่ชว่ ยการเกบ็ รักษานา้ และดิน
มีดินท่ีอุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุอาหาร ด้วยการทาเกษตรเชิงเดี่ยวแบบผสมผสาน และตามหลักมาตรฐาน
อนิ ทรีย์วถิ ไี ทย คือ หวั ใจของการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ด้วยการใชก้ ิจกรรมเอามื้อสามัคคีของสมาชิกของ
ชุมชนกสกิ รรมธรรมชาตคิ รสิ ตจกั รนาเรียง ซ่งึ สามารถกาหนดเป็นกลยุทธ์ท่สี าคญั ดงั น้ี

1. การจัดการพ้ืนที่เกษตรกรรมตามรูปแบบ โคก หนอง นา โดยมีการส่งเสริมให้
สมาชกิ ของชุมชน พัฒนาพื้นทีก่ ารเกษตรตามหลกั ภูมสิ ังคม และทฤษฎใี หมป่ ระยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล

2. การพัฒนากสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีการส่งเสริมให้
สมาชิกของชมุ ชน ใช้หลกั กสิกรรมธรรมชาติ เพอ่ื ฟ้ืนฟทู รัพยากรน้าและทรพั ยากรดินใหม้ ีคุณภาพที่ดี

3. การเสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านกิจกรรมเอาม้ือสามัคคี โดยมีการ
ขบั เคลอ่ื นกิจกรรมของชุมชน ผา่ นการสร้างความสามัคคี การทางานเปน็ ทมี แบ่งปนั เกื้อกลู และชว่ ยเหลือกัน

กิตตกิ รรมประกาศ

การวิจัยครั้งน้ี สามารถดาเนินการบรรลุผลสาเร็จลงได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ท่ีปรึกษา
โครงการวิจัย คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประทีป พืชทองหลาง ที่ท่านให้ความรักความเมตตาในการให้
คาแนะนา ตรวจแก้ไขเล่มวิจัย และให้อิสระในการคิดและดาเนินการศึกษาวิจัย จนทาให้เกิดเป็นผลงานวิจัย
ฉบับน้ีขึ้นมา ขอขอบพระคุณสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอุดรธานี ท่านกัมปนาทจักรวาล วิเวศ ศรีพุทธา
พัฒนาการจงั หวัดอุดรธานี ทีใ่ ห้ความอนุเคราะห์ประสานการลงพ้นื ท่ีเก็บข้อมูลของคณะวจิ ัย และขอบพระคุณ
สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี นายนิรันดร์ โคตรธรรม พัฒนาการอาเภอศรีธาตุ และ
คณะเจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนอาเภอทุกท่าน ที่ช่วยอานวยความสะดวกด้านการเก็บข้อมูล ช่วยประสานงานและ
จดั สถานที่ อาหาร และอาหารว่าง สาหรบั การจดั เวทกี ารสนทนากลมุ่ และการประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ าร ขอขอบคุณ
นายไพทูรย์ สีลาโคตร นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ และทีมงานนักพัฒนาพื้นที่ต้นแบบตาบลตาดทอง
อาเภอศรีธาตุ ท่ีช่วยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ แบบสารวจข้อมูล พร้อมท้ังดาเนินการประมวลผลข้อมูล และ
วิเคราะหข์ อ้ มลู การวิจยั ในระยะที่ 1 ให้กับคณะวิจัย

ขอขอบพระคุณผู้ให้ข้อมูลสาคัญของงานวิจัยคร้ังน้ี คือ อาจารย์ไชยา โนนอาสา ลุงแสวง ศรีธรรมบตุ ร
และสมาชกิ ชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาติครสิ ตจักรนาเรยี งทุกท่าน ที่ช่วยกันให้ข้อมูลทเ่ี ปน็ ประโยชน์อยา่ งมาก และ
ให้ความร่วมมือเข้าร่วมเวทีสนทนากลุ่มและการประชุมเชิงปฏิบัติการทุกคร้ัง ขอบคุณนายธิติพันธ์ พลสิงห์
หัวหน้าฝา่ ยพฒั นาทรัพยากรบคุ คล นางกรกมล ขาเดช หวั หน้าฝ่ายวชิ าการ และคณะนักวิชาการ/นกั ทรัพยากร
บุคคลของ ศพช.อุดรธาน ในการลงพื้นท่ีเก็บข้อมูลวิจัย ค้นคว้าข้อมูล และทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง
ขอขอบคุณนายปิยวัฒน์ รัตนวงษ์ นกั วชิ าการพัฒนาชมุ ชนปฏิบัติการ ท่ีช่วยถอดเทป และสรปุ ประเด็นทไ่ี ด้จาก
การลงพ้ืนท่ีเก็บข้อมูล ขอบคุณนางสาวสิริมา พิมแพง นักภูมิสารสนเทศ ท่ีช่วยทาฐานข้อมูลภาพถ่ายทาง
อากาศ และศึกษาข้อมูลสภาพบริบทชุมชนนาเรียง และบุคคลสาคัญของกรมการพัฒนาชุมชนท่ีขาดไม่ได้ ซึ่ง
เป็นผู้ผลักดนั ให้เกิดโครงการศึกษาวจิ ัยในครั้งนี้ คือ ทา่ นธนวฒั น์ ปน่ิ แกว้ ผู้อานวยการสถาบันการพฒั นาชุมชน
ที่เปิดโอกาสให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี ได้ดาเนินการศึกษาวิจัย และยังให้คาแนะนาและ
ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่องาน คณะวิจัยจึงขอขอบพระคุณทุกท่านท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการวิจัย ฉบับน้ี
มา ณ โอกาสน้ี

คณะวิจัยศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี
30 กันยายน 2564

สารบญั หน้า

บทคัดยอ่ ค
กิตตกิ รรมประกาศ ง
สารบัญ ฉ
สารบัญตาราง ช
สารบญั ภาพ ซ
สารบัญแผนภาพ
1
บทที่ 1 บทนา 1
1. ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา 6
2. วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย 6
3. ปญั หาการวิจัย 6
4. ขอบเขตการวิจัย 8
5. นยิ ามศพั ท์ในการวิจยั 10
6. กรอบแนวคดิ การวิจัย 11
7. ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ
12
บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 12
1. แนวคิดเกย่ี วกับความมนั่ คงทางอาหาร 20
2. หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. แนวคดิ เกีย่ วกับการพ่ึงตนเอง 33
4. มาตรฐานอนิ ทรยี ์วิถีไทย
5. แนวคิดเก่ียวกับการพฒั นากลยุทธ์ 38
6. ข้อมลู ทว่ั ไปของชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาตคิ รสิ ตจกั รนาเรียง 44
7. งานวิจัยที่เกย่ี วขอ้ ง 51
54
บทที่ 3 ระเบียบวธิ วี ิจัย
ระยะท่ี 1 ศกึ ษาศักยภาพและกระบวนการสรา้ งความมั่นคงทางอาหาร 61
ระยะท่ี 2 ศกึ ษาแนวทางการประยุกต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 61
ระยะท่ี 3 กาหนดกลยทุ ธ์การสร้างความมน่ั คงทางอาหาร 64
65

สารบัญ (ตอ่ ) จ

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล หน้า
1. ศึกษาศักยภาพและกระบวนการสรา้ งความม่นั คงทางอาหาร 67
2. ศกึ ษาแนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 68
3. กาหนดกลยุทธ์การสรา้ งความมนั่ คงทางอาหาร 82
97
บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 104
1. วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย 104
2. สรุปผลการวจิ ัย 104
3. การอภิปรายผล 112
4. ขอ้ เสนอแนะ 116
118
บรรณานุกรม
ภาคผนวก 122
128
ภาคผนวก ก. แบบสอบถามการวิจัย 132
ภาคผนวก ข. แบบบนั ทึกการสนทนากล่มุ การวิจัย 136
ภาคผนวก ค. แบบบันทกึ การประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารวิจัย 141
ภาคผนวก ง. ประเด็นการเก็บขอ้ มูลการวิจยั เพมิ่ เติม 147
ภาคผนวก จ. หนังสือขอความอนุเคราะหเ์ กบ็ ข้อมลู รายชื่อผ้ใู หข้ ้อมูล และคาสั่ง
ภาคผนวก ฉ. ภาพประกอบกิจกรรมการศกึ ษาวิจัย 152

ข้อมูลคณะวิจัย

สารบัญตาราง ฉ

ตารางท่ี หน้า
1 ข้อมลู ทว่ั ไปของตวั แทนชุมชนกสกิ รรมธรรมชาติครสิ ตจักรนาเรียง 68
2 กระบวนการสรา้ งความมน่ั คงทางอาหารของครวั เรือนกสกิ รรมธรรมชาติ 77
3 กระบวนการสร้างความมน่ั คงทางอาหารของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติ 79

สารบญั ภาพ ช

ภาพที่ หน้า
1 กรอบแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2 ระดบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 24
3 ทฤษฎีบนั ได 9 ขนั้ สู่ความพอเพียง 25
4 การวเิ คราะห์ในรูปของเมตทริกซ์ 26
5 แผนท่แี สดงขอบเขตตาบลตาดทอง อาเภอศรธี าตุ จังหวัดอดุ รธานี 48
6 แผนทีแ่ สดงแหล่งอาหารชุมชนกสกิ รรมธรรมชาตคิ ริสตจักรนาเรยี ง 71
7 แสดงแหลง่ อาหารชุมชนกสิกรรมธรรมชาตคิ ริสตจกั รนาเรยี ง 72
8 แสดงถึงพธิ เี ปดิ ศูนย์กสกิ รรมธรรมชาตมิ าตรฐานอินทรยี ไ์ ทยครสิ ตจกั รนาเรยี ง 76
9 แสดงถงึ กจิ กรรมวันดนิ โลกของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติคริสตจกั รนาเรยี ง 88
10 แสดงถงึ การออกแบบพนื้ ทีแ่ ปลงของนายแสวง ศรธี รรมบุตร ตามหลักภมู ิสงั คม 88
11 แสดงถงึ ส.ค.ส. พระราชทาน ปี พ.ศ. 2547 91
12 แสดงถึงกจิ กรรมเอาม้อื สามัคคีของชุมชนกสิกรรมธรรมชาตคิ ริสตจกั รนาเรียง 92
13 แสดงถึงการมสี ่วนร่วมของสมาชกิ ชุมชนกสกิ รรมธรรมชาตคิ ริสตจักรนาเรียง 93
14 แสดงถงึ ความหมายของมาตรฐานอนิ ทรีย์วถิ ีไทย 95
96

สารบัญแผนภาพ ซ

แผนภาพที่ หน้า
1 กรอบแนวคิดการวจิ ยั 10
2 แผนผงั ขน้ั ตอนการวจิ ยั 66

บทท่ี 1

บทนำ

1. ควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของปัญหำ

สถานการณ์โลกที่เปล่ียนแปลงอย่างต่อเนื่องซ่ึงส่งผลกระทบต่อประเทศไทย ทั้งทางตรงและทางอ้อม
ไม่ว่าจะเป็นการเปล่ียนแปลงของโครงสร้างประชากรท่ีมีสัดส่วนวัยแรงงานลดลงประชากรผู้สูงอายุเพ่ิมข้ึน
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดดตลอดจนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
และความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศ ประกอบกับเกิดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19)
เป็นโรคระบาดที่ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อการดาเนินชีวิตของผู้คนทาให้เกิดวิถีชีวิตแบบใหม่ (New
Normal) ส่ิงท่ีจะตามมา คือ ความท้าทายของประชาชนที่จะปรับตัวอย่างไรให้สามารถดารงชีวิตให้อยู่รอดได้
ภายใต้สภาวะท่ีต้องเผชิญในทุกขณะ ความมั่นคงทางอาหารได้กลายเป็นปัญหาความมั่นคงรูปแบบใหม่ที่หลาย
ประเทศกาลังเผชิญ และสร้างมาตรการรับมือเพื่อความอยู่รอดของประชาชน ในประเทศและประชากรโลก
โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในประเทศกาลังพฒั นาท่ีพบว่าปญั หานี้กาลังทวคี วามรุนแรง อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลง
ของภูมิอากาศ การเกิดวิกฤติด้านพลังงาน ความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อมและการให้ความสาคัญของการ
ผลิตอาหารลดลง เนน้ การผลิตพืชพลังงานเพมิ่ ขึ้น จึงทาใหร้ าคาพืชอาหารสงู ขึน้ จนทาใหป้ ระชาชนทย่ี ากจนไม่
สามารถเข้าถึงอาหารได้ และเห็นได้ชัดเจนในช่วงที่เกิดวิกฤติการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ท่ีประชาชนไม่สามารถออกจากบ้านเพ่ือไปซื้อหาอาหารได้ และในบางพ้ืนท่ีไม่มีอาหารวางขาย
สะท้อนให้เห็นปัญหาความขาดแคลนอาหารเป็นสิ่งที่มีความสาคัญมากกว่าเงินทองต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์
(กรมการพัฒนาชมุ ชน, 2563)

ความม่ันคงทางอาหารได้กลายเป็นปัญหา ความม่ันคงรูปแบบใหม่ท่ีหลายประเทศทั่วโลกกาลังเผชิญ
และสร้างมาตรการรับมือกับความท้าทายดังกลา่ วเพื่อความอยรู่ อดของประชากรในประเทศและประชากรโลก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกาลังพัฒนาที่ปัญหาน้ีกาลังทวีความรุนแรงมากข้ึนอันมีผลจากสภาวะแวดล้อม
ระหว่างประเทศท่ีเกิดวิกฤตด้านพลังงาน สภาพแวดล้อม และเพื่อความสาคัญของการผลิตพืชอาหารลดลง
ทาให้ราคาพืชอาหารสูงข้ึน จนทาให้ประชากรท่ียากจนไม่สามารถเข้าถึงอาหารได้และความมั่นคงทางอาหาร
เป็นปัจจัยพ้ืนฐานในการดารงชีวิตที่สาคัญที่สุดของมนุษย์ ถ้าครัวเรือน ชุมชน และประเทศ ไม่มีความมั่นคง
ด้านอาหารก็เหมือนขาดปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิต ส่งผลให้การดารงชีวิตเป็นไปอย่างยากลาบาก ปัญหา
ความมั่นคงทางอาหารเริ่มต้นข้ึนในช่วง พ.ศ. 2513– 2522 ซ่ึงเป็นช่วงที่ท่ัวโลกกาลังประสบปัญหาขาดแคลน
ธัญพืชสาหรับบริโภค ส่งผลให้เกิดวิกฤตราคา อาหารที่เพ่ิมสูงขึ้น และในช่วงเวลานั้นได้มีการจัดการประชุม
อาหารโลกครั้งแรกข้ึนในปี พ.ศ. 2517 ท่ีกรุงโรม ประเทศอิตาลี โดยในท่ีประชุมมองความมั่นคงทางอาหารวา่
เป็นปัญหาที่เกิดจากความไม่เพียงพอในการผลิตอาหารเพื่อตอบสนองความต้องการในการบรโิ ภค จึงเกิดคาวา่
“ความมั่นคงทางอาหาร” (food security) ขึ้นโดยองค์การอาหารโลกได้ให้ความหมายว่า หมายถึง
การมีปริมาณอาหารสาหรับบริโภคภายในครัวเรือน ชุมชน และประเทศ อย่างเพียงพอและมีคุณภาพอย่าง

2

ต่อเน่ือง รวมถึงระบบการจัดการผลิตท่ีสามารถสร้างความย่ังยืนให้แก่ทรัพยากร และมีการกระจายผลผลิ ตที่
เป็นธรรมต่อทุกระดับ (องค์การอาหารและการเกษตรแหง่ สหประชาชาติ, 2549) จากความหมายท่ีกล่าวมาใน
ข้างต้นจะเห็นได้ว่า การมีปริมาณอาหารที่เพียงพอต่อความต้องการในการบริโภคและมีการจัดการทรัพยากร
อาหารไดอ้ ย่างยง่ั ยนื จะนาไปส่คู วามมั่นคงทางอาหาร (จอมขวัญ ชุมชาติ, 2557, น. 1)

ภายใต้สถานการณ์วิกฤตอาหาร ยังมีกลุ่มชาวบ้านที่รวมพลังกันฟ้ืนฟูความม่ันคงทางอาหารให้กับ
ชุมชนของตนเอง โดยปลูกผักสวนครัวบริโภคในครัวเรือน เพื่อแก้ปัญหาและฟื้นฟูฐานอาหารเพื่อสร้างความ
ม่ันคงทางอาหารของหมู่บ้าน ดังน้ันเพ่ือเป็นการสร้างเสริม ฟ้ืนฟู และอนุรักษ์แหล่งอาหารท่ีเป็นธรรมชาติของ
ชุมชน ชาวบ้านจะต้องสร้างความม่ันคงทางอาหารให้กับชุมชน ชาวบ้านจะต้องสร้างระบบการพ่ึงตนเองและ
การพึ่งพากันเองในชุมชน โดยการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ผ่านระบบเกษตรกรรม ชาวบ้านจะต้องผลิต
อาหารกันเองให้ได้ จะต้องมีแหล่งอาหารธรรมชาติ ที่ให้ทุกคนเข้าถึงอาหารท้ังจากป่า นา และแหล่งน้าตาม
ฤดูกาล และมีระบบการแลกเปล่ียนพ่ึงพากันผ่านเครือญาติและเพื่อนบ้าน และสร้างระบบการเก้ือหนุนและ
พึ่งพาช่วยเหลือกัน อีกทั้งปัจจุบันมีมูลเหตุและสถานการณ์ที่เปล่ียนแปลงไปทาให้พืชผักหลายชนิดเริ่มลด
ปริมาณลง บางชนิดก็หายสาบสูญไป ซึ่งมีสาเหตุหลายประการคือ 1) เกิดจากพ้ืนท่ีป่าถูกทาลาย ทาให้ผัก
พ้ืนบ้านที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติ ตามป่าเขาและตามหนองน้าธรรมชาติ เม่ือป่าถูกแผ้วถางหรือขาดความอุดม
สมบูรณ์ ป่าท่ีเคยเป็นแหล่งอาหารก็ลดลง ส่งผลให้ผักพื้นบ้านลดลงไปด้วย 2) การเปล่ียนแปลงระบบการผลิต
จากการเกษตรเพื่อยังชีพมาเป็นเกษตรพาณิชย์ 3)การทาเกษตรแบบใช้สารเคมีเพื่อต้องการผลผลิตสูงทาให้
เกษตรกรมีการลงทุนสูง ระบบนิเวศเปล่ียนไป 4) การพัฒนาแหล่งน้าโดยเฉพาะแหล่งน้าธรรมชาติที่มีผัก
พื้นบ้าน ห้วยหนองคลองบึงถูกเปลี่ยนเป็นระบบชลประทานทาให้ผักพ้ืนบ้านลดลงทาให้สูญพันธ์ไป
5) พฤติกรรมการบริโภคเปลี่ยนไปจากสังคมชนบทเปล่ียนเป็นสังคมเมือง ทาให้คนหันมารับประทานอาหาร
สาเร็จรูปมากขึ้น 6) ไม่มีการถ่ายทอดการบริโภคจากคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่ ทาให้คนรุ่นใหม่ไม่รู้จัก ไม่รักษา
ไม่รู้วิธีการเพ่ือนาไปปรุงอาหาร จึงทาให้ไม่รู้คุณค่าผักพ้ืนบ้านท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย 7) หลงกระแสผักตลาด
เนื่องจากเป็นการปลูกเพ่ือขายจึงไม่ได้เก็บความรู้เกี่ยวกับผักพื้นบ้านจึงทาให้ผักน้ันสูญหายไป จะเห็นได้ว่า
ผักพื้นบ้านหลายชนิดลดปริมาณลงแต่ถึงอย่างไรบทบาทและคุณค่าของผักพ้ืนบ้านยังมีคุณค่าด้านการบริโภค
ด้านโภชนาการ ด้านการใชป้ ระโยชน์และดา้ นสรรพคุณทางยา (สมพศิ แก้วทรัพย์, 2556, น. 1-3)

ดว้ ยเหตนุ ี้ ทกุ ภาคสว่ นต่างเล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนาประเทศโดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ดงั ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) ทก่ี าหนดให้ประเทศไทยสามารถยกระดบั การพัฒนาให้
บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” ซึ่งในประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 4 กลา่ วถงึ ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญที่ให้ความสาคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังภาคเอกชน
ประชาสังคม ชุมชนท้องถ่ินมาร่วมขับเคล่ือนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเองท้ังใน
มิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพ่ึงตนเองได้ สอดคล้อง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2563) ท่ียึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง” “การพัฒนาท่ีย่ังยืน” และ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” และยึดหลักการเจริญเติบโตทาง

3

เศรษฐกิจท่ีลดความเหล่ือมลา้ และขับเคลื่อนการเจรญิ เติบโตจากการเพิ่มภาคการผลิตบนฐานการใช้ภูมิปัญญา
และนวตั กรรม กรมการพฒั นาชมุ ชน เปน็ หนว่ ยงานสงั กดั กระทรวงมหาดไทย ได้มกี ารขับเคลอื่ นภารกิจเพ่ือให้
สอดคล้องกับทิศทางของยุทธศาสตร์ชาติแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสัง คม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายของรัฐบาล และแผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทยเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายสูงสุด
ภายใต้วิสัยทัศน์ “เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพ่ึงตนเองได้ ภายในปี 2565” ด้วยการพัฒนากลไกให้มี
ศักยภาพ ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ตลอดจน
พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคง และชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ในประเด็นการพัฒนาสร้างสรรค์ ชุมชน
พ่ึงตนเองได้มีเป้าหมายการพัฒนาเพ่ือให้ประชาชนมีศักยภาพในการบริหารจัดการและพัฒนาตนเองสู่ความ
ม่ันคง มั่งค่ัง ย่ังยืน และมีความสุข มุ่งเน้นให้ประชาชนใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการชุมชน พัฒนา
ผนู้ าใหม้ ีความสามารถในการขบั เคล่ือนการบริหารจัดการชุมชน ท้ังในรูปแบบการแก้ไขปัญหาความยากจนเชิง
บูรณาการ การสร้างความมั่นคงด้านอาชีพและรายได้ และส่งเสริมให้ประชาชนน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต กอปรกับแผนพัฒนาจังหวัดอุดรธานี พ.ศ.2561 – 2564
กาหนดวิสัยทัศน์ว่า “เมืองน่าอยู่ ศูนย์กลางการค้าการลงทุนอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง” และมีพันธกิจท่ีสาคัญท่ี
สอดคล้องกับการสร้างความม่ันคงทางอาหาร คือ พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรท่ีสาคัญและยกระดับมาตรฐาน
การทาการเกษตรปลอดภยั และเกษตรอินทรีย์ เพ่ือให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างเข็มแข็งและย่ังยนื
จึงมีการดาเนินการส่งเสริมการเรียนรู้การเกษตรตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเพิ่มประสิทธิภาพการ
ผลติ และการสง่ เสรมิ การรวมกลุ่มเกษตรกร เครอื ขา่ ยปราชญ์ชาวบ้าน เพ่อื ทาใหจ้ ังหวัดอดุ รธานีเปน็ แหล่งผลิต
อาหารทีป่ ลอดภัย และมสี นิ ค้าจากเกษตรอินทรียม์ ากขึน้ (สานกั งานจังหวัดอดุ รธานี, 2562, น. 56-58)

อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี มีพ้ืนท่ีทั้งหมด 320,000 ไร่ พ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นพื้นท่ีเกษตรกรรม
ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ และเป็นพื้นที่ป่าไม้ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ส่วนมากเป็นป่าเส่ือมโทรม เกษตรกร
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญ คือ อ้อย มันสาปะหลัง และข้าว ในอดีตเกษตรกรประสบ
ปญั หาดนิ เส่อื มสภาพ ขาดแคลนแหล่งน้า ทาใหเ้ กษตรกรต้องอพยพไปทางานที่อื่น แสวง ศรธี รรมบตุ ร (2561)
กล่าวว่า สภาพที่ดินของตนเองและพื้นที่บริเวณบ้านนาเรียง เป็นดินลูกรัง ปลูกพืชได้ลาบาก ให้ผลผลิตน้อย
เนื่องจากดินขาดแร่ธาตุอาหาร รวมทั้งเกษตรกรส่วนใหญ่หันไปปลกู พืชเศรษฐกิจ ทาให้แหล่งอาหารในท้องถนิ่
ลดลง ต้องซื้อจากตลาดที่อยู่ภายนอกชุมชน พึ่งพาอาหารจากคนภายนอกชุมชน ต่อมาได้มีการนาองค์ความรู้
จากการฝึกอบรมเร่ืองศาสตร์พระราชา จากศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอ้ือง จังหวัดชลบุรี มาปรับใช้ในพื้นท่ี
ของตนเอง จนสามารถปลูกพืชผักผลไม้ได้อย่างอุดมสมบูรณ์ มีปลาเต็มบ่อ รวมทั้งได้มีการเผยแพร่องค์ความรู้
ขยายผลการพัฒนาไปสู่เกษตรกรภายในชุมชนของตนเองและชุมชนรอบข้าง สร้างให้มีความเข้มแข็งในการ
ร่วมกันต่อสู้กับความแห้งแล้งของธรรมชาติด้วยศาสตร์พระราชา ในการจัดการน้า ตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล และพัฒนาเพ่ือเปลี่ยนกระบวนการปลูกพืชเชิงเดี่ยวให้เป็นโคก หนอง นา
โมเดล ด้วยการทาเกษตรเชิงเดี่ยวแบบผสมผสาน มีการบริหารจัดการน้าเพื่อมีน้าใช้ในการเกษตรได้ตลอดท้งั ปี
มีการส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาปลูกพืชที่หลากหลายมากข้ึน ปลูกพืชผักตามฤดูกาล ปลูกผลไม้ตาม
สภาพบริบทของท้องถิ่น สามารถเป็นคลังอาหารของชุมชนได้ รวมทั้งมีการปลูกพืชตามหลกั กสิกรรมธรรมชาติ

4

ทาให้เกษตรกรมีรายได้มากกว่าการปลูกพืชเชิงเด่ียวเพียงอย่างเดียว และสามารถสร้างให้พ้ืนท่ีกลับมามีความ
อุดมสมบูรณ์ และสามารถเป็นต้นแบบให้แก่เกษตรกรในพื้นที่และจังหวัดใกล้เคียงได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ และ
นาไปปรับใช้ในพน้ื ท่ีของตนเอง (ทที่ าการปกครองอาเภอศรีธาตุ, 2562)

เม่ือวันท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ได้มีการทาพิธีเปิดศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์
วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง ตาบลตาดทอง อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี เพ่ือเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ตาม
แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เก่ียวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ และการบริหาร
จัดการพ้ืนท่ีตามหลักการของ โคก หนอง นา โมเดล วิวัฒน์ ศัลยกาธร (2561) กล่าวว่า “ศาสตร์พระราชา”
เป็นกรอบแนวคิดในการจัดทายุทธศาสตร์ เพ่ือขับเคล่ือนให้ภาคเกษตรเจริญเติบโตอย่างต่อเน่ือง ให้รอดพ้น
จากวิกฤตต่าง ๆ ประชาชนสามารถพ่ึงพาตนเองได้ มีแนวทางการพัฒนาการเกษตรแบบย่ังยืน 6 แนวทาง
ประกอบดว้ ย 1) การผลติ 2) การแปรรูปและการเพิ่มมลู คา่ 3) การพัฒนามาตรฐานและการตลาด 4) การวจิ ัย
และพฒั นา 5) การส่งเสรมิ พนั ธกุ รรมท้องถ่นิ และเสริมสรา้ งความหลากหลายทางชวี ภาพ ซ่ึงการดาเนนิ การต้อง
ใช้กลไกการทางานในระดับพ้ืนท่ีทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา ภาคประชาสังคม เครือข่าย
เกษตรกรรมย่ังยืน ปราชญ์ชาวบ้าน และภาคศาสนา ซ่ึงท้ังหมดมีความสาคัญที่จะบูรณาการความร่วมมือการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาระบบการเกษตรให้มีความย่ังยืน ชุมชนคริสตจักรนาเรียงจึงเป็นเป้าหมายที่มีความพร้อม
ยกระดับการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้และศูนย์ฝึกอบรมศาสตร์พระราชาให้กับเกษตรกร ประชาชนท่ัวไป
ในพื้นท่ีของจังหวัดอุดรธานีและจังหวัดใกล้เคียง โดยมีองค์ประกอบ คือ ศาสนา (ความเชื่อของมนุษย์) ความรู้
(โรงเรียน) ราชการ (หน่วยงานราชการ) ซ่ึงท่ีชุมชนนาเรียงมีองค์ประกอบดังกล่าวครบถ้วน ท้ังจุดเรียนรู้
บคุ ลากร วิทยากรครูพาทา โดยมกี ารใช้โบสถ์ครสิ ตเ์ ป็นศูนย์บม่ เพาะฝึกอบรมศาสตร์พระราชา การดาเนินชีวิต
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และหลักกสิกรรมธรรมชาติ มุ่งเน้นการสร้างหลัก 4 พอ คือ พอกิน พอใช้ พออยู่
พอร่มเย็น เป็นข้ันพื้นฐานสาหรับการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต
และในปี พ.ศ. 2563 มเี กษตรกรทผี่ ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง จาก
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง จานวน 380 คน โดยส่วนใหญ่เป็นสมาชิก
ของผผู้ า่ นการฝกึ อบรมและมกี ารรวมกลุ่มสรา้ งเครือขา่ ยกระจายอยใู่ นเขตพน้ื ที่อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอดุ รธานี

ชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรียว์ ิถีไทยคริสตจักรนาเรียง เป็นพื้นทีเ่ กษตรกรรมท่ีมปี ัญหาการ
ทาเกษตรเชิงเด่ียว เน้นการปลูกพืชเศรษฐกิจและพลังงาน รวมท้ังยังมีการใช้พ้ืนท่ีทาการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
หลายชนิดและใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีช่วยในการเพาะปลูก ทาให้ดินเส่ือมคุณภาพและขาดแร่ธาตุท่ีอุดมสมบูรณ์
เกิดผลกระทบต่อแหล่งอาหารตามธรรมชาติทเี่ คยอุดมสมบรู ณ์ในอดีต ชุมชนไม่สามารถที่พ่ึงพาแหลง่ อาหารตาม
ธรรมชาตไิ ด้อย่างในอดีต ประชาชนส่วนใหญ่ซ้ือหาอาหารจากตลาดภายนอกชมุ ชน ประกอบกับปจั จบุ นั หลังเกิด
ศูนย์ฝึกอบรมกสิกรรมธรรมชาติ ได้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรท่ีอยู่ในพื้นท่ีของอาเภอศรีธาตุและอาเภอ
กุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ได้มีการดาเนินการพัฒนาพ้ืนท่ีตามรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล รวมทั้งจัดต้ังกลุ่ม
เกษตรกรปลูกผัก ปลูกพืชแบบผสมผสาน ลดพ้ืนท่ีการทาเกษตรเชิงเดี่ยว เป็นเกษตรอินทรีย์ตามมาตรฐาน
อินทรีย์วิถีไทย โดยได้มีมูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้าเข้ามาส่งเสริมสนับสนุนการผลิตสินค้าทางการเกษตร เช่น พืชผัก
สวนครวั พชื เศรษฐกจิ ตลอดจนการแปรรูปสินค้าทางการเกษตร เพ่ือจดั จาหน่ายให้กับภาคเอกชนต่าง ๆ ภายใน

5

จังหวัด รวมทั้งยังมีจุดจาหน่ายสินค้าอยู่ท่ีห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัล พลาซ่า อุดรธานี สิ่งที่เกิดขึ้นถือว่าเป็นการ
สร้างความมั่นคงทางอาหาร สร้างแหล่งอาหารที่ปลอดภัย สอดคล้องกับแนวคิดขององค์การอาหารและ
การเกษตรแห่งสหประชาชาติ ท่ีระบุว่า ความมั่งคงทางอาหารต้องประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก คือ
1) การมีอาหารเพียงพอ 2) การเข้าถึงอาหาร 3) การใช้ประโยชน์จากอาหาร 4) การมีเสถียรภาพด้านอาหาร
ปัจจุบันสมาชิกท่ีเป็นกลุ่มเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการของมูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้าที่ได้รับมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย
มจี านวนทั้งสิ้น 25 ครัวเรือน (มูลนธิ กิ สกิ รรมธรรมชาติ, 2561)

ในปี พ.ศ. 2563 เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
กรมการพัฒนาชุมชนจึงกาหนดการขับเคลื่อนการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
ใน 3 ด้าน เริ่มต้นจากมีครัวเรือนต้นแบบในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จากนั้นมีการขยายผลไปสู่ครัวเรือนอ่ืน ๆ ภายในชุมชน รวมทั้งยังมีการกาหนดแนวทางการส่งเสริมวัฒนธรรม
การปลูกผักสวนครัว ที่น้อมนาแนวพระราชดาริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ -
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สู่แผนปฏิบัติการ 90 วัน “ปลูกผักสวนครัว เพ่ือสร้างความม่ันคงทาง
อาหาร” โดยการสร้างวัฒนธรรมปลูกพืชผักประจาครัวเรือน นาไปสู่ความต่อเน่ืองจนกลายเป็น “ทาเป็นบ้าน
สานเป็นกลุ่ม” เพื่อให้เกิดความยั่งยืนที่แท้จริงในชุมชน และเกิดเป็นรายได้จากผลผลิตท่ีมีเพ่ิมมากขึ้น
และก่อให้เกิดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชน เพื่อแก้ปัญหาของชุมชน มีการถ่ายทอดความรู้
การพัฒนาพ้ืนที่เกษตรกรรมตามหลักศาสตร์พระราชาและเกิดกิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้ของชุมชนกับ
บุคคลภายนอกท่ีสามารถดาเนินการควบคู่กันไปได้อย่างย่ังยืน ซ่ึงจาเป็นต้องอาศัยกระบวนการมีส่วนร่วมจาก
ทุกภาคส่วน ซ่ึงในพื้นที่อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี มีการส่งเสริมการสร้างความม่ันคงทางอาหารทสี่ ะท้อนให้
เห็นความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายจากหลายภาคส่วน เช่น หน่วยงานราชการ มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ
สถาบันการศึกษา มูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้า องค์กรเอกชนต่าง ๆ กลุ่มเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์
วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง ผู้นาชุมชน และผู้นาทางศาสนาได้เข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการสร้าง
ความมั่นคงทางอาหาร ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ บริหารจัดการพื้นที่รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล
เพื่อสร้างประโยชน์ของชุมชนเองและประโยชน์ต่อชุมชนอ่ืนให้เป็นรูปธรรม พร้อมท้ังสามารถเป็นแบบอย่างท่ีดี
ใหแ้ กช่ มุ ชนอน่ื ได้ (สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีธาตุ, 2564)

ดังนั้นคณะวิจัยจึงให้ความสนใจที่จะทาการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เร่ือง
กลยุทธ์การสร้างความม่ันคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติ
มาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ความสาเร็จการดาเนินโครงการวิจัย
ดังกล่าวจะนาไปสู่การประยุกต์และปรับใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียงท่ีช่วยให้สร้างความมั่น คงทาง
อาหารและชุมชนมีแหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์และปลอดภัย เกษตรกรและประชาชนในชุมชนสามารถพ่ึงพา
ตนเองได้ ชุมชนสามารถผลิตอาหารหล่อเล้ียงชุมชมรอบข้างและพ้ืนท่ีใกล้เคียงกันได้ ตามหลักการท่ีว่า
“1 หมู่บ้าน สามารถดูแลได้ท้ังตาบล สร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร ด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
รวมท้ังยังเป็นแนวทางการพัฒนาท่ีสามารถนามาใช้แก้ไขปัญหาสรา้ งความม่ันคงทางอาหารของประเทศได้อย่าง
มีประสทิ ธภิ าพและยงั่ ยนื ตอ่ ไป

6

2. วตั ถุประสงค์กำรวจิ ัย

2.1 เพื่อศึกษาศักยภาพและกระบวนการสร้างความมั่นคงทางอาหารของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติ
มาตรฐานอนิ ทรีย์วถิ ีไทยครสิ ตจักรนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จงั หวดั อุดรธานี

2.2 เพื่อศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติ
มาตรฐานอนิ ทรยี ว์ ถิ ไี ทยครสิ ตจกั รนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จงั หวัดอดุ รธานี

2.3 เพ่ือกาหนดกลยุทธ์การสร้างความม่ันคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
ชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาติมาตรฐานอนิ ทรยี ์วิถีไทยครสิ ตจักรนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี

3. ปัญหำกำรวจิ ัย

3.1 ศักยภาพและกระบวนการสร้างความม่ันคงทางอาหารของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐาน
อินทรียว์ ิถไี ทยครสิ ตจักรนาเรยี ง อาเภอศรธี าตุ จังหวดั อุดรธานี เป็นอย่างไร

3.2 แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐาน
อนิ ทรีย์วิถไี ทยครสิ ตจกั รนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จงั หวัดอุดรธานี เปน็ อย่างไร

3.3 กลยทุ ธก์ ารสร้างความมนั่ คงทางอาหารตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของชุมชนกสิกรรม-
ธรรมชาตมิ าตรฐานอินทรีย์วิถไี ทยคริสตจักรนาเรียง อาเภอศรธี าตุ จงั หวัดอุดรธานี เปน็ อย่างไร

4. ขอบเขตกำรวจิ ยั

คณะวิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยใช้ทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กาหนดขอบเขตการวิจัย
ออกเป็น 3 ระยะ ดังน้ี

4.1 ระยะที่ 1 ศึกษำศักยภำพและกระบวนกำรสร้ำงควำมม่ันคงทำงอำหำรของชุมชน
กสิกรรมธรรมชำติมำตรฐำนอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนำเรียง อำเภอศรีธำตุ จังหวัดอุดรธำนี คณะวิจัย
ดาเนินการวิจัยโดยใชว้ ิธีวจิ ยั เชิงปริมาณ ด้วยการสารวจข้อมลู รายละเอียดดังน้ี

4.1.1 ขอบเขตด้ำนเน้ือหำ ศึกษาศักยภาพและกระบวนการสร้างความมั่นคงทาง
อาหารของชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาตมิ าตรฐานอินทรยี ์วถิ ไี ทยคริสตจกั รนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จงั หวัดอุดรธานี

4.1.2 ขอบเขตด้ำนประชำกร ไดแ้ ก่ ประชากรท่ีผา่ นการฝกึ อบรมหลกั สูตรการพัฒนา
กสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงจากศูนย์ฝึกอบรมคริสตจักรนาเรียงและเป็นสมาชิกกลุ่มกสิกรรมธรรมชาติ
มาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจกั รนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี จานวน 380 คน (ไชยยา โนนอาสา,
2564) และกลุ่มตัวอย่าง ได้กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสาเร็จรปู ของเครซี่ และมอร์แกน (Krejcie &
Morgan, 1970 อ้างถึงใน ธีรวุฒิ เอกะกูล, 2543) โดยใช้ค่าความคลาดเคล่ือนที่ระดับ 0.05 จากประชากร
จานวน 380 คน ไดก้ ล่มุ ตัวอย่างจานวน 191 คน โดยวธิ ีสุ่มตวั อยา่ งแบบงา่ ย (Simple random sampling)

7

4.1.3 ขอบเขตด้ำนพื้นท่ี ทาการวิจัยในพ้ืนที่ตาบลศรีธาตุ ตาบลตาดทอง และตาบล
หวั นาคา อาเภอศรธี าตุ จังหวดั อุดรธานี

4.1.4 ขอบเขตด้ำนเวลำ ดาเนินการ 1 เดือน
4.2 ระยะท่ี 2 ศึกษำแนวทำงกำรประยุกต์ใช้ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน
กสิกรรมธรรมชำติมำตรฐำนอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนำเรียง อำเภอศรีธำตุ จังหวัดอุดรธำนี คณะวิจัย
ดาเนนิ การวจิ ยั โดยใชว้ ธิ วี จิ ัยเชิงคณุ ภาพ ดว้ ยการสนทนากลุ่ม (Focus group) รายละเอยี ดดังน้ี

4.2.1 ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ เป็นการกาหนดรูปแบบการสร้างความม่ันคงทางอาหาร
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยนาข้อมูลในระยะท่ี 1 ท่ีได้จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการ
สารวจข้อมูล มาเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการออกแบบประเด็นคาถามที่ใช้ในเวทีสนทนากลุ่ม เพื่อหาแนวทาง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักร
นาเรยี ง อาเภอศรีธาตุ จังหวดั อดุ รธานี

4.2.2 ขอบเขตด้ำนกลุ่มเป้ำหมำย ได้แก่ สมาชกิ กลุม่ กสิกรรมธรรมชาติคริสตจักรนา
เรียง อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี จานวน 10 คน และผู้นาชุมชนในเขตพื้นที่อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
จานวน 5 คน

4.2.3 ขอบเขตด้ำนพ้ืนที่ ทาการวิจัยในพื้นที่ตาบลศรีธาตุ ตาบลตาดทอง และตาบล
หัวนาคา อาเภอศรีธาตุ จงั หวัดอุดรธานี

4.2.4 ขอบเขตดำ้ นเวลำ ดาเนนิ การ 1 เดือน
4.3 ระยะท่ี 3 กำหนดกลยุทธ์กำรสร้ำงควำมมั่นคงทำงอำหำรตำมหลักปรัชญำของ
เศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชำติมำตรฐำนอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนำเรียง อำเภอศรีธำตุ
จงั หวัดอุดรธำนี คณะวิจยั ดาเนินการวจิ ยั โดยใชว้ ธิ ีวิจยั เชงิ คุณภาพ ดว้ ยการประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ รายละเอยี ด
ดงั นี้

4.3.1 ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ เป็นการกาหนดรูปแบบการสร้างความม่ันคงทางอาหาร
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยนาข้อมูลในระยะที่ 1 และ 2 ท่ีได้จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลจาก
การสารวจข้อมูลและการสนทนากลุ่ม มาเป็นข้อมูลในการออกแบบวิธีการและต้ังประเด็นคาถามที่ใช้ในการ
ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อกาหนดกลยุทธ์การสร้างความม่ันคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งของชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรียว์ ถิ ไี ทยครสิ ตจกั รนาเรยี ง อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี

4.3.2 ขอบเขตด้ำนกลุ่มเป้ำหมำย ไดแ้ ก่ สมาชกิ กลุ่มกสิกรรมธรรมชาติครสิ ตจักรนา
เรียง อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี จานวน 10 คน และผู้นาชุมชนในเขตพ้ืนท่ีอาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
และผทู้ รงคณุ วุฒิ จานวน 10 คน

4.3.3 ขอบเขตด้ำนพื้นท่ี ทาการวิจัยในพ้ืนที่ตาบลศรีธาตุ ตาบลตาดทอง และตาบล
หวั นาคา อาเภอศรธี าตุ จงั หวดั อดุ รธานี

4.3.4 ขอบเขตดำ้ นเวลำ ดาเนินการ 1 เดอื น

8

5. นิยำมศัพท์ในกำรวิจัย

5.1 ควำมมั่นคงทำงอำหำร หมายถึง การท่คี รัวเรือนชุมชนกสกิ รรมธรรมชาติมีปรมิ าณอาหารเพื่อการ
บริโภคที่เพียงพอ มีความหลากหลายของประเภทอาหารที่ได้รับ สามารถเข้าถึงอาหารได้ โดยมีระบบการ
กระจายอย่างทว่ั ถึง และสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากอาหารได้อย่างปลอดภัย มคี ณุ ภาพโดยมคี ณุ ค่าทางโภชนาการ
ทงั้ ต่อสขุ ภาพและส่งิ แวดล้อม โดยมุง่ เนน้ ทีก่ ารพึ่งพาตนเอง แต่ละครัวเรอื นสามารถผลติ อาหารได้ดว้ ยตนเองให้
พออยู่พอกิน ไม่ต้องซ้ือจากภายนอกชุมชน แนวทางการสร้างความม่ันคงทางอาหารของกรมการพัฒนาชุมชน
ระดบั ครวั เรอื น กาหนดวิธีการไว้ 3 ประการ ดังนี้

5.1.1 ปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อใช้ประกอบอาหารในชีวิตประจาวัน เพื่อลดค่าใช้จ่ายประจาวัน
ตามสภาพพืน้ ที่ของครวั เรือน

5.1.2 เล้ียงสัตว์ที่เป็นอาหารของครัวเรือน เช่น ไก่ เป็ด ปลา กบ หรืออ่ืน ๆ ตามท่ีสภาพของ
พน้ื ท่ีแต่ละครัวเรอื นทสี่ ามารถทาได้ดว้ ยตนเอง

5.1.3 แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรภายในครัวเรือน เพื่อเป็นการถนอมอาหารและใช้
ประโยชน์ในครัวเรือนรปู แบบต่าง ๆ เชน่ การตากแหง้ การหมัก การดอง

5.2 ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง แนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รชั กาลที่ 9 ทรงช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบตั ิตนในทางท่ีควรจะเปน็ โดยมพี ืน้ ฐานมาจากวถิ ีชีวติ ด้ังเดิม
ของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยู่
ตลอดเวลา มุง่ เน้นการรอดพ้นจากภยั และวกิ ฤตเพ่อื ความม่ันคงและความย่ังยืนของการพฒั นา เป็นกลไกสาคัญ
สาหรับการขับเคล่ือนในระดับพื้นท่ี โดยมีจุดมุ่งหมายสาคัญ คือ สามารถพ่ึงตนเองได้ พ้นจากความยากจน
สร้างให้พอมีพอกนิ และมสี มั มาอาชีพ ให้มีชีวติ ทเ่ี รียบง่าย ประหยดั ไม่ฟุง้ เฟ้อฟุม่ เฟอื ย ใหย้ ดึ ถือทางสายกลาง

5.3 กำรประยกุ ตใ์ ชป้ รัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถงึ สมาชิกกลุ่มกสกิ รรมธรรมชาติมาตรฐาน
อินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง มีการพึ่งตนเองเป็นหลัก การทาอะไรอย่างเป็นข้ันเป็นตอน รอบคอบ
ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง
ในดา้ นตา่ ง ๆ การสร้างสามคั คใี ห้เกิดข้นึ บนพ้ืนฐานของความสมดลุ ในแต่ละสดั ส่วน แตล่ ะระดับ ครอบคลุมท้ัง
ทางด้านเศรษฐกจิ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากร ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม รวมถึงจิตใจ และวฒั นธรรม

5.4 ศักยภำพกำรสร้ำงควำมม่ันคงทำงอำหำร หมายถึง ความสามารถของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติ
มาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียงที่สามารถผลิตอาหารปลอดภัยและสร้างแหล่งอาหารท่ีเพียงพอต่อ
ความต้องการของคนในชุมชนและในพื้นที่ใกล้เคียง โดยมีกิจกรรมการสร้างความมั่นคงทางอาหารและการทา
เกษตรอินทรยี ต์ ามแนวทางของมลู นิธิรกั ษด์ นิ รักษ์น้า เพือ่ ดาเนนิ กจิ กรรมให้เป็นไปตามมาตรฐานอนิ ทรีย์วิถีไทย
หรือ Earth Safe Standard รวมท้ังแนวทางแก้ไขข้อขัดข้องที่ทาให้ครัวเรือนในชุมชนกสิกรรมธรรมชาติไม่
สามารถเข้าถงึ อาหารที่ปลอดภัย การเกดิ ความไม่พอเพยี งของอาหาร การกระจายอาหารไมท่ วั่ ถึง และการท่ีไม่
สามารถผลิตอาหารทป่ี ลอดภัยต่อสขุ ภาพสาหรับครัวเรือน

9

5.5 กระบวนกำรสรำ้ งควำมมั่นคงทำงอำหำร หมายถงึ แนวทางการดาเนินกจิ กรรมสร้างความมั่นคง
ทางอาหารของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียงท่ียึดหลักกสิกรรมธรรมชาติ
มีการพัฒนาพ้ืนที่ให้เป็นไปตามรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรเพื่อผลิตอาหารที่
ปลอดภัย โดยอาศัยความร่วมมือการขับเคลื่อนจากพลังที่เรยี กว่า “ค ร บ” ประกอบด้วย คริสตจักร ราชการ
และหมู่บ้าน เป็นไปตามดัชนชี ี้วดั ความมน่ั คงทางอาหาร 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ (1) การเข้าถึงอาหารทีป่ ลอดภัย (2) การ
มอี าหารที่เพียงพอและมคี ุณภาพ (3) การใชป้ ระโยชนจ์ ากอาหาร และ (4) ความมีเสถียรภาพดา้ นอาหาร

5.6 หลักกสิกรรมธรรมชำติ หมายถึง การทาเกษตรอินทรีย์ที่ได้น้อมนาแนวพระราชดาริเก่ียวกับ
ทฤษฎีการจัดการดิน ที่เรียกว่า เล้ียงดินให้ดินเล้ียงพืช โดยทาการปรับปรุงบารุงดินให้มีแร่ธาตุอาหารและ
อุดมสมบรู ณ์ไม่เผา ไม่ทาลายหนา้ ดิน ไมใ่ ช้สารเคมฉี ดี พ่น ราด รด ใส่ดนิ และตน้ พชื

5.7 ชุมชนกสิกรรมธรรมชำติ หมายถึง กลุ่มกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักร
นาเรียง อาเภอศรธี าตุ จงั หวดั อุดรธานี เป็นการรวมตวั ของครวั เรอื นเกษตรกรที่ได้น้อมนาแนวพระราชดาริของ
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว รชั กาลท่ี 9 ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล เข้ามาบริหาร
จัดการพน้ื ทีด่ ว้ ยการทาเกษตรเชิงเดยี่ วแบบผสมผสานและเกษตรอินทรีย์

5.8 ควำมมน่ั คงทำงอำหำรตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หมายถึง สถานการณ์ท่ีครวั เรือน
ในชุมชนกสิกรรมธรรมชาติสามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย มีอาหารท่ีเพียงพอต่อการบริโภคและมีคุณภาพท่ี
เหมาะสม สามารถใช้ประโยชน์จากอาหารตามความต้องการของครัวเรือน และมีเสถียรภาพด้านอาหารที่
ครัวเรือนสามารถเข้าถึงอาหารอย่างเพียงพอตลอดเวลา ไม่มีความเส่ียงท่ีจะเกิดความขาดแคลนข้ึนมาอย่าง
กะทันหัน เช่น วิกฤตของโรคระบาด วิกฤตเศรษฐกิจตกต่า วิกฤตภัยพิบัติทางธรรมชาติ วิกฤตภัยสงคราม
โดยแตล่ ะครวั เรอื นสามารถสรา้ งภูมคิ ุ้มกันตนเองตามหลักการพ่งึ ตนเอง หลกั ทฤษฎบี ันได 9 ขน้ั สู่ความพอเพียง
ในระดับขั้นพ้ืนฐาน คือ พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น ให้สาเร็จเป็นรูปธรรมก่อนท่ีจะยกระดับตนเองไปสู่
ขนั้ ก้าวหนา้ คือ ทาบญุ ทาทาน เก็บรักษา ขาย และเครือขา่ ยกองกาลงั เกษตรโยธิน ต่อไป

5.9 กลยุทธ์กำรสร้ำงควำมม่ันคงทำงอำหำรตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง
การดาเนินงานท่ีใช้หลักการพึ่งพาตนเอง การผลิตอาหารด้วยตนเองเพ่ือการบริโภคในครัวเรือนได้อย่างเพียงพอ
และปลอดภัย การสร้างพลังภาคีเครือข่ายในระดับพื้นท่ีชุมชนท้องถ่ิน ภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคศาสนา
เพ่ือส่งเสริมความมั่นคงทางอาหาร เพ่ือให้มีอาหารท่ีเพียงพอ ประชาชนเข้าถึงได้และใช้ประโยชน์ได้อย่าง
ปลอดภัย และยกระดับสูก่ ารเป็นคลงั อาหารทีส่ าคัญในระดับชมุ ชน ตาบล อาเภอ และจังหวดั โดยมีองคป์ ระกอบ
ของกลยุทธ์ ได้แก่ (1) แนวคิด หลักการและเหตุผล (2) เป้าหมาย (3) เน้ือหาสาระ ประกอบด้วย การกาหนด
ทิศทาง การประเมินสภาพแวดลอ้ ม การกาหนดกลยุทธ์ และการนากลยุทธ์ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ (4) กระบวนการและ
วธิ กี าร (5) การติดตามประเมินผล

10

6. กรอบแนวคิดกำรวิจัย

คณะวิจยั ได้ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ยี วขอ้ งและสรปุ เปน็ กรอบแนวคิดการวิจยั ดังน้ี

ตวั แปรทีศ่ กึ ษา กลยทุ ธ์การสร้างความมัน่ คงทางอาหารตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ศักยภาพการสร้างความมนั่ คงทางอาหาร 1. รา่ งกลยุทธ์โดยการจัดประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร มี
1. ผลกระทบจากวกิ ฤตการณ์ 4 ดา้ น คือ โรคระบาด องค์ประกอบ ดังนี้
ภัยธรรมชาติ เศรษฐกิจตกตา่ ภยั สงคราม
2. กจิ กรรมกลมุ่ กสกิ รรมธรรมชาตมิ าตรฐานอนิ ทรยี ์ 1.1 แนวคดิ หลกั การและเหตผุ ล
วถิ ไี ทยครสิ ตจกั รนาเรยี ง 1.2 เป้าหมาย
1.3 เนื้อหาสาระ ประกอบดว้ ย การกาหนดทศิ ทาง
กระบวนการสร้างความม่ันคงทางอาหาร การประเมินสภาพแวดลอ้ ม การกาหนดกลยทุ ธ์ และ
1. การเข้าถงึ อาหารทปี่ ลอดภัย การนากลยุทธไ์ ปสู่การปฏบิ ตั ิ
2. การมอี าหารทเ่ี พยี งพอและมีคณุ ภาพ 1.4 กระบวนการและวิธกี าร
3. การใชป้ ระโยชนจ์ ากอาหาร 1.5 การติดตามประเมินผล
4. ความมเี สถยี รภาพดา้ นอาหาร 2. พัฒนากลยทุ ธ์โดยใชก้ ารจดั ประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร
เพอื่ สรุปผลการรบั รองกลยุทธ์
แนวทางการประยกุ ต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ทฤษฎบี นั ได 9 ขั้นสคู่ วามพอเพียง กลยทุ ธ์การสร้างความม่ันคงทางอาหาร
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1.1 ข้ันพ้ืนฐาน คอื พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเยน็ ชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรยี ์
1.2 ข้ันกา้ วหน้า คอื ทาบญุ ทาทาน เก็บรกั ษา
ขาย และกองกาลงั เกษตรโยธนิ วถิ ไี ทยครสิ ตจกั รนาเรยี ง
2. ขอบเขตหลกั ในการปฏบิ ตั ิตนให้สามารถพงึ่ ตนเอง อาเภอศรีธาตุ จงั หวัดอุดรธานี
ได้ 5 ประการ คอื ด้านจิตใจ ดา้ นสังคม
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ดา้ นเศรษฐกจิ และด้านเทคโนโลยี

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ การวิจยั

11

7. ประโยชนท์ ่คี ำดว่ำจะได้รับ

7.1 ได้ข้อมูลศักยภาพและกระบวนการสร้างความมั่นคงทางอาหารของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติ
มาตรฐานอินทรยี ์วิถีไทยคริสตจักรนาเรยี ง อาเภอศรธี าตุ จงั หวัดอดุ รธานี

7.2 ได้ข้อมูลแนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติ
มาตรฐานอินทรียว์ ิถีไทยครสิ ตจกั รนาเรยี ง อาเภอศรธี าตุ จังหวดั อุดรธานี

7.3 ได้ข้อมูลและกลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอนิ ทรยี ว์ ิถไี ทยคริสตจกั รนาเรยี ง อาเภอศรธี าตุ จังหวัดอดุ รธานี

7.4 มีข้อเสนอเชิงนโยบายในการทางานพัฒนาชุมชนด้านการสร้างความม่ันคงทางอาหารตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของชุมชนทีม่ ีบริบทคล้ายคลึงกนั

บทท่ี 2
แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง

การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษากลยุทธ์การสร้างความม่ันคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
ซ่งึ คณะวิจัยไดศ้ ึกษาค้นควา้ เอกสาร บทความ ตารา แนวคิดทฤษฎี และงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วข้อง ดงั น้ี

1. แนวคิดเกยี่ วกับความม่ันคงทางอาหาร
2. หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. แนวคดิ เกยี่ วกบั การพ่งึ ตนเอง
4. แนวคดิ เกย่ี วกับมาตรฐานอินทรีย์วถิ ีไทย
5. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนากลยทุ ธ์
6. ข้อมลู ทัว่ ไปชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาติคริสตจักรนาเรยี ง
7. งานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้อง

1. แนวคดิ เกย่ี วกบั ความม่ันคงทางอาหาร

1.1 ความหมายของความมั่นคงทางอาหาร
นกั วิชาการไดใ้ ห้ความหมายของความม่นั คงทางอาหาร 3 กลุ่ม ดงั นี้

1.1.1 ความมั่นคงทางอาหารที่เน้นถึงเรื่องการมีอยู่ของอาหาร และแหล่งอาหาร ได้แก่ การมี
ปริมาณอาหารสาหรับบริโภคภายในครอบครัวและชุมชน โดยสามารถเข้าถึงอาหารได้อย่างเพียงพอ ปลอดภัย
มีคุณภาพ และต่อเน่ือง รวมถึงการมีระบบการจัดการผลผลิต ที่เกื้อหนุนต่อความย่ังยืน และความมั่นคง
ทางการผลิตทั้งท่ีดิน แหล่งน้า และแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ต้องมีระบบการกระจายผลผลิตที่เป็นธรรมและ
เหมาะสมทั้งในระดับครัวเรือน ชุมชน และประเทศ สุพาณี ธนีวุฒิ (2544) นวลน้อย ตรีรัตน์ (2551) และ
สุธานี มะลพิ ันธ์ (2552) ลว้ นใหค้ วามหมายไว้ในทางเดียวกันดงั กลา่ วแล้ว

1.1.2 ความม่ันคงทางอาหารท่ีเน้นเรื่องระบบการผลิตและการเข้าถึงอาหาร โดยหมายถึง
ความสามารถในการตัดสินใจจัดการและใช้ทรัพยากรในท้องถ่ินให้เหมาะสมกับสภาพท้องถ่ิน ต่อการเพ่ิมข้ึน
ของจานวนผลผลิต เร่ิมต้ังแต่ครัวเรือนเกษตรกรในชนบท จะต้องมีความสามารถในการผลิตอาหารให้เพียงพอ
กับความต้องการในการบริโภคภายในครอบครัวเป็นลาดับแรก เม่ือมีผลผลิตส่วนที่เหลือค่อยขาย โดยใน
กระบวนการผลติ อาหารต้องปราศจากการปนเปื้อนของสารเคมี ซ่งึ ความมน่ั คงทางอาหารในรูปแบบดงั กล่าวจะ
เป็นไปได้ก็ต่อเม่ือเกษตรกรมีทรัพยากร และมีสิทธิในการผลิตท่ีอยู่บนพื้นฐานของวัฒนธรรมท้องถ่ิน อย่างไรก็
ตามหากเกษตรกรมีสิทธิหรือกรรมสิทธ์ิในที่ดินย่อมก่อให้เกิดความมุ่งมั่นท่ีจะรักษาท่ีดิน แหล่งน้า และ
ทรัพยากรธรรมชาติอ่ืน ๆ เพ่ือให้พื้นที่น้ันสามารถนามาใช้ผลิตอาหารและสร้างรายได้ให้ครอบครัวได้ อย่าง
ยั่งยืนตลอดไป รวมถึงโอกาสของคนทุกคนก็ต้องได้รับอาหารอย่างเท่าเทียมกัน (สุนันท์ธนา แสนประเสริฐ,
2545) และ (บัณฑติ ปิยะศิลป์, 2549)

13

1.1.3 ความม่ันคงทางอาหารท่ีเน้นเร่ืองการจัดการอาหารโดย หมายถึง การกินดีอยู่ดีของ
ครอบครัว ชุมชน และสามารถพ่ึงตนเองทางด้านอาหารได้ โดยจะต้องมีสิทธิและสามารถเข้าถึงทรัพยากรดิน
น้า ป่า และอาหารธรรมชาติได้ง่าย และใช้ความรู้ ภูมิปัญญา ทักษะ ความสามารถ และเทคโนโลยีที่มีอยู่ใน
ชุมชนมาจัดการกับทรัพยากรเหล่าน้ันอย่างสอดคล้อง เหมาะสมกับวิถีชีวิต วัฒนธรรมชุมชน และระบบนิเวศ
อันจะทาให้ครอบครัวและชุมชนสามารถมี อาหารเพื่อบริโภคได้อย่างพอเพียงตลอดเวลาท่ีต้องการและอาหาร
น้นั จะตอ้ งสามารถนามาใช้ ประโยชนไ์ ด้อย่างยง่ั ยืน (ปยิ นาถ อิม่ ดี, 2547)

นอกจากน้ี องคก์ ารอาหารและเกษตรแหง่ สหประชาชาติ หรอื FAO (2006) ยังได้ให้คานิยาม
ความมั่นคงทางอาหาร หมายถึง การที่มนุษย์มีปริมาณอาหารเพื่อการบริโภคที่มีความหลากหลายของประเภท
อาหารเพียงพอต่อความต้องการและคุณภาพของอาหารมีคุณค่าทางโภชนาการ และความสะอาดปลอดภัยใน
ชีวิต ตลอดจนการขนส่งหรือการกระจายของอาหารส่งถึงมนุษย์ได้อย่างทั่วถึง หรือทาให้มนุษย์แต่ละคน
สามารถเขา้ ถึงอาหารได้งา่ ย

สรุปความหมายของความมั่นคงทางอาหารว่า หมายถึง การมีปริมาณอาหารท่ีมีคุณภาพ
เหมาะสมอย่างเพียงพอกับความต้องการบริโภคในระดับ ครัวเรือน ชุมชน และประเทศ โดยจะต้องมีสิทธิและ
สามารถเขา้ ถงึ ทรพั ยากร

1.2 ความเปน็ มาของความมัน่ คงทางอาหาร
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554) ได้กล่าวไว้ว่า ความเป็นมา
ของความมั่นคงทางอาหารเริ่มข้ึนจากปัญหาการขาดแคลนอาหารในภูมิภาคต่าง ๆ ท่ังโลก โดยเฉพาะใน
ประเทศกาลังพัฒนา ทาให้ความม่ันคงทางอาหารกลายเป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจอย่างมาก ทาให้ในปี
พ.ศ. 2517 ไดม้ กี ารประชมุ สดุ ยอดอาหารโลกทก่ี รุงโรม ประเทศ อิตาลี ซง่ึ ได้มีการอภิปรายถงึ วิกฤตการณ์ด้าน
อาหารในภูมิภาคต่างๆ ท่ัวโลก ในเบื้องต้นจะเน้นไปท่ี เรื่องของปริมาณท่ีเพียงพอของอาหาร ความคงตัวของ
ราคาอาหาร ตลอดจนการรักษาระบบนิเวศ ซึ่งเป็นผลมาจากการผลิตอาหาร
Maxwell (1998, อ้างถึงใน ทรงสิริ วิชรานนท์, 2555) ได้จาแนกความเป็นมาของความม่ันคงทาง
อาหารในแตล่ ะช่วง ดังนี้

ช่วงที่หน่ึง พ.ศ. 2517-2523 มุ่งเน้นความมั่นคงทางอาหารในระดับโลก เพราะจากวิกฤติ
อาหารที่เกิดขึ้นในแอฟริการวมทั้งราคาอาหารท่ีเพ่ิมสูงขึ้น จึงทาให้เกิดการประชุมสุดยอดอาหารโลก โดย
องค์การอาหารและเกษตรแหง่ สหประชาชาติ (FAO) ได้มกี ารกอ่ ต้งั คณะกรรมการวา่ ด้วยความมั่นคงทางอาหาร
โลกและสภาอาหารโลกเพอื่ ตดิ ตามสภาวะความต้องการและปริมาณอาหารโลก

ช่วงท่ีสอง พ.ศ. 2524-2528 เร่ิมมีการปฏิบัติตามนโยบายการปรับโครงสร้างเพื่อแก้ปัญหา
ความยากจน ทอ่ี าจส่งผลต่อภาวะความม่นั คงทางอาหาร

ช่วงที่สาม พ.ศ. 2529-2533 เมือ่ เกิดภาวะอดอยากในแอฟรกิ าและบางสว่ นของประเทศกาลัง
พฒั นา และเกดิ แนวคดิ เรอ่ื งความมนั่ คงทางอาหารอย่างจริงจงั

ช่วงที่ส่ี พ.ศ. 2533-2539 ได้มีการนาแนวคิดเรื่องการลดความยากจนเข้ามาแก้ปัญหาเร่ือง
ความม่นั คงทางอาหาร

14

ช่วงที่ห้า พ.ศ. 2539 เป็นต้นมา เป็นช่วงที่ราคาอาหารในตลาดโลกสูงขึ้น ทาให้ความม่ันคง
ทางอาหารกลบั มาเป็นทส่ี นใจอกี คร้ัง แตเ่ ปน็ การเนน้ เรอ่ื งความสามารถในการพึง่ พาตนเอง

สธุ านี มะลิพนั ธ์ (2552) กล่าวถึงสถานการณ์ทางดา้ นความม่ันคงทางอาหาร ของประเทศกาลังพัฒนา
ว่ายังขาดความมั่นคงทางอาหาร เนื่องจากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศบางช่วงเวลา เช่น
ช่วงภัยแล้ง น้าท่วม เป็นต้น ประชากรส่วนหนึ่งเกิดการขาดแคลนอาหารในการบรโิ ภค ซ่ึงสถานการณ์ดังกล่าว
ได้ส่งผลต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิต รวมทั้งยังเชื่อมโยงไปสู่ปัญหาอ่ืน ๆ ตามมา เช่น ปัญหาความยากจน
ปัญหาการเสื่อมโทรมของทรัพยากร ปัญหาสังคม เป็นต้น นอกจากน้ี ทรงสิริ วิชิรานนท์และคณะ (2555) มี
ประเดน็ เพ่มิ เติม นอกจากสาเหตุทเ่ี กิดจากการเปล่ียนแปลงของสภาพภมู ิอากาศแลว้ และอกี สาเหตทุ ีส่ าคัญ คือ
คนในประเทศกาลังพัฒนามีวัฒนธรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยหันไปบริโภคอาหารตามแบบ
ชาวตะวันตกท่ีเรียกกันโดยท่ัวไปว่าอาหารขยะ (junk food) ทาให้คนรุ่นใหม่ละเลยอาหารในท้องถ่ิน หันไป
พ่ึงพาอาหารในท้องตลาด ทาให้ภูมิปัญญาการหาอาหารและเมนูอาหารในท้องถ่ินสูญหายไป อีกทั้งความ
หลากหลายของพนั ธ์ุพืชกล็ ดลง เนอ่ื งจากระบบการเกษตรทเ่ี นน้ ผลิตพชื เชิงเดยี่ วเพื่อใหไ้ ด้ ปริมาณทีม่ ากข้นึ จงึ
ทาให้การทาเกษตรเพื่อยังชีพเปล่ยี นเปน็ การทาการเกษตรเพือ่ เชงิ พาณิชย์

1.3 ดชั นชี ้ีวัดความมน่ั คงทางอาหาร
ดัชนีชี้วัดความมั่นคงทางอาหาร หมายถึง ปัจจัยหรือตัวแปรท่ีสามารถแสดงหรือสะท้อนให้เห็นถึง
สถานภาพ และการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นกับมิติใดมิติหน่ึงหรือหลายมิติของความม่ันคงทางอาหาร ซึ่งแบ่งเป็น
2 สว่ น ได้แก่

1.3.1 พัฒนาการของดัชนีช้ีวัดความมั่นคงทางอาหาร ดัชนีชี้วัดความมั่นคงทางอาหารถูก
พัฒนาขึ้นเพ่ือสะท้อนความมั่นคงทางอาหาร ใช้วัดมิติใด มิติหน่ึงหรือหลายมิติของความมั่นคงทางอาหารท่ี
แสดงให้เห็นถึงสถานภาพที่เป็นอยู่การเปลี่ยนแปลง ที่เกิดข้ึนหรือผลลัพธ์ที่ได้จากมาตรการแทรกแซงและ
พฒั นาการทส่ี าคัญของการพฒั นา ถึงแม้ขณะนี้ อาจจะยงั ไม่มดี ชั นีตัวใดทีส่ มบูรณ์แบบซงึ่ สามารถครอบคลุมมิติ
ของความมั่นคงทางอาหารได้อย่าง ครบถ้วน ดังน้ันในทางปฏิบัติจึงอาจพบว่าหลายหน่วยงานหรือองค์กรอาจ
เลือกใช้ดัชนีเพียงตัวใดตัวหนึง่ หรือหลายตัวประกอบกัน ข้ึนอยู่กับแนวคิดความม่ันคงทางอาหารที่ใช้เป้าหมาย
วัตถุประสงค์ และเงือ่ นไขทางทรัพยากรของแตล่ ะงาน

ศจินทร์ ประชาสันต์ิ (2555) ได้แบ่งดัชนีช้ีวัดความมั่นคงทางอาหารเป็น 3 ลักษณะได้แก่ 1)
ความเพียงพอของอาหารสู่ประเด็นการเข้าถึงอาหารเนื่องจากในระยะแรกที่แนวคิดความมั่นคงทางอาหารถูก
มองว่าเป็นปญั หาของการขาดแคลน อุปทาน ดัชนีทใ่ี ชเ้ ปน็ หลักจะอยใู่ นรปู ของสว่ นตา่ งระหว่างปรมิ าณผลผลิต
อาหารและความต้องการ อาหารของประชากรในระดับภูมิภาคหรือประเทศ ส่วนในระดับย่อยลงไป คือระดับ
ครัวเรือนและปัจเจกบุคคลจะใช้ภาวะโภชนาการเป็นดัชนีวัดความม่ันคงทางอาหาร ความเช่ือการขาดแคลน
อาหารในระดับมหภาคจะส่งผลกระทบให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ 2) การวัดภววิสัยสู่อัตวิสัย เป็นการวัดจาก
พื้นฐานของความเป็นจริงจากทฤษฎีไปสู่การวัดในมุมมองความรู้สึกของแต่ละบุคคล พัฒนาการในส่วนน้ีได้รับ
อิทธิพลมาจากการศกึ ษาเร่อื งความยากจน ซ่งึ ไดห้ นั มาให้ความสาคัญกบั การฟังประสบการณข์ องคนจน แทนที่
จะวัดจากมูลค่าที่เป็นตัวเงินแบบเดิม ดัชนีความมั่นคงทางอาหารโดยอัตวิสัย คือ ดัชนีที่อยู่บนฐานของ

15

ความรู้สึกหรือการรับรู้ หรือประสบการณ์ของครัวเรือนหรือปัจเจกบุคคล ซ่ึงยังรวมถึงการให้ความสาคัญกับ
คุณค่า และวัฒนธรรมที่เก่ียวข้องกับสถานการณ์ทางอาหาร 3) การใช้ดัชนีตัวแทนสู่ดัชนีพื้นฐาน การวัดความ
มนั่ คงทางอาหารในงานจานวนมากมักใช้ดัชนตี ัวแทน เช่น ระดับรายได้ ปรมิ าณ แคลอรี ขอ้ มูลการบรโิ ภค หรอื
ทรัพย์สินที่มี เป็นต้น ซึ่งดัชนีเหล่านี้ไม่ได้เป็นดัชนีพื้นฐานของความม่ันคงทางอาหารโดยตรง แต่เป็นดัชนี
ตัวแทนของระดับความม่ันคงทางอาหาร ข้อจากัดของการใช้ดัชนีตัวแทน คือ ในบางบริบทอาจจะไม่สามารถ
บอกความมน่ั คงทางอาหารไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

สรุป ดัชนีช้วี ดั ความมัน่ คงทางอาหารจะมีพัฒนาการคณะวิจัยได้วเิ คราะห์และเห็นว่า ลักษณะ
ที่ 1 จากความพอเพียงของอาหารเป็นดชั นที ่ีน่าจะนามาปรับใช้กบั วิจัยได้เป็นอยา่ งดี เนอื่ งจากสามารถมองเห็น
ภาพได้ชัดจากส่วนต่างของผลผลิตต่อความต้องการในการบริโภค ซ่ึงสามารถบอกได้ชัดเจนหากผลผลิต
เพียงพอต่อความต้องการในการบริโภคแสดงวา่ ยังมีความมน่ั คงทางอาหาร

1.3.2 ระดับดัชนีชี้วัดความม่ันคงทางอาหาร สามารถสรุปได้ 3 ระดับ ซึ่งมาจากองค์การ
อาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (2549) 2 ระดับ และมลู นธิ ิเกษตรกรรมยงั่ ยนื (2555) 1 ระดับ ได้แก่

1) ดชั นชี ว้ี ัดความมนั่ คงทางอาหารระดับโลก (global food security situation) ได้แก่
1.1) การประเมินปริมาณคงเหลือของธัญญาหารโลก โดยเปรียบเทียบกับ

แนวโนม้ ความต้องการการบรโิ ภคธญั ญาหารของโลก โดยภาพรวมอตั ราส่วนของความต้องการใชธ้ ัญพชื เพ่ือการ
บริโภคน้ันมแี นวโนม้ สงู ข้นึ เม่ือเปรยี บเทยี บสดั ส่วนระหว่างปริมาณธัญญาหารและความต้องการใช้ พบวา่ ยังคง
อยูใ่ นเกณฑ์

1.2) การพิจารณาความสามารถและศักยภาพของประเทศผู้ส่งออก
ธัญญาหารที่สาคญั 5 ราย ของโลก ไดแ้ ก่ประเทศอาร์เจนตินา ออสเตรีย แคนาดา สหภาพยุโรป สหรฐั อเมริกา
จากสถติ ิ พบวา่ ความต้องการใช้ธัญญาหารทั้งภายในประเทศ และการสง่ ออกของประเทศผู้ส่งออกธัญญาหาร
ท้ัง 5 เพ่ิมข้ึนในขณะท่ีความสามารถในการผลิตลดลง จากปรากฏการณ์เอลนิโยที่ทาให้เกิดความแห้งแล้ง แต่
เมือ่ พจิ ารณาโดยภาพรวมแล้วพบวา่ ยงั อยูใ่ นระดบั ทป่ี ลอดภัยต่อความมน่ั คงทางอาหารโลก

1.3) การสารวจปริมาณคงเหลือของผู้ส่งออกธัญญาหารในแต่ละหมวด คือ
ข้าว ข้าวสาลี ข้าว โอ๊ต และข้าวโพด ตัวช้ีวัดในข้อนี้ชี้ให้เห็นถึงจุดยืนและสถานะของไทยในฐานะผู้ส่งออก
ธัญญาหารในหมวดข้าว พบว่ามีเพียงประเทศเดียว คือ ประเทศจีนท่ีข้อมูลแสดงว่าปริมาณผลผลิตท่ีออกสู่
ตลาดโลกลดลงกว่าปที ีผ่ ่านมา ดงั นน้ั ผลผลิตอาหารของประเทศเหลา่ น้ี หากมีการเปลีย่ นแปลง จะสง่ ผลกระทบ
ตอ่ ความมัน่ คงทางอาหารโลก

2) ดัชนีช้ีวัดความมั่นคงทางอาหารระดับประเทศ (national food security
situation) ไดแ้ ก่

2.1) ความสามารถในการเข้าถึงอาหารของประชาชน หมายถึง ประชาชน
ต้องมีความสามารถเข้าถึงอาหารได้ตลอดเวลา พิจารณาจากรายได้จากประชาชาติของประชากรต่อคนต่อปี
และสดั สว่ นในการใช้จา่ ยในเร่ืองอาหารต่อรายไดท้ ้งั หมด

16

2.2) ความเพยี งพอของอาหารต่อความต้องการบริโภค หมายถงึ อาหารต้อง
เพียงพอต่อความต้องการในการบริโภคของประชาชนในครัวเรือน ชุมชน และประเทศ ท้ังนี้ทาได้โดยการ
พจิ ารณาจากความตอ้ งการพลังงานของอาหารต่อคนตอ่ วนั

2.3) การมีอาหารสะสม หมายถึง การเข้าถึงอาหารอย่างสม่าเสมอ โดยเนน้
ที่ความสามารถในการผลิตของชุมชนและประเทศ คือ การศึกษาดัชนีความหลากหลายของการผลิตอาหารตอ่
ความต้องการในการบริโภคของประชากร

2.4) สถานการณ์การบริโภคอาหารของประชาชน หมายถึง การพิจารณา
สัดส่วนของประชากรทข่ี าดอาหารเมอื่ เปรียบเทียบกบั จานวนประชากรท้งั หมดในชุมชนหรอื ในประเทศ

2.5) สถานการณ์ทางโภชนาการ หมายถึง การพิจารณาสัดส่วนร้อยละของ
เดก็ อายุต่ากวา่ 5 ปี ทมี่ ีน้าหนกั ตา่ กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน

2.6) สถานการณ์ทางอนามัยและสาธารณสุข หมายถึง การพิจารณาจาก
การมีแหลง่ น้ากิน นา้ ใชท้ ่ีสะอาดและปลอดภัย รวมถึงการพิจารณาอัตราการเสียชวี ิตของเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี

3) ดัชนีชี้วัดความม่ันคงทางอาหารระดับครัวเรือนและชุมชน (community food
security situation) ไดแ้ ก่

3.1) การรับรู้ของชุมชนหรือครัวเรือน การสอบถามครัวเรือนเรื่องความ
ม่ันคงทางอาหาร สามารถเปิดเผยให้เห็นถึงแง่มุมทางการยอมรับทางวัฒนธรรมในอาหารที่ครัวเรือนบริโภค
รวมถึงปญั หาการขาดแคลนและการเข้าถึงอาหารในบางชว่ งเวลาของปี

3.2) รายจ่ายหรืองบประมาณด้านอาหารของชุมชนหรือครัวเรือนจากการ
วัดรายจ่ายด้านอาหารของครัวเรือนสามารถบ่งบอกถึงความสามารถและความเส่ียงในทางเศรษฐกิจของ
ครัวเรือนในการดูแลความมั่นคงทางอาหารของตนเอง ครัวเรือนที่มีรายจ่ายด้านอาหารคิดเป็นสัดส่วนต่อ
รายจ่าย ทั้งหมดจานวนมากย่อมมีความเส่ียงหรือเปราะบางต่อความไม่ม่ันคงทางอาหารมาก นอกจากนี้
รายจ่ายดา้ นอาหารยังสามารถนามาแปลงเปน็ ข้อมูลพลงั งานแคลอรีได้อีก

3.3) ปริมาณพลังงานจากอาหาร ประกอบด้วย (1) การวัดพลังงานจาก
อาหารท่ีปัจเจกบุคคลบริโภค การวัดพลังงานในระดับบุคคลจะวัด จากประเภทและปริมาณอาหารทั้งหมดที่
บริโภคเข้าไป (รวมถึงขนมขบเคี้ยว) ในแต่ละวัน ทั้งที่บริโภคภายในครัวเรือนหรือซื้อหาจากนอกครัวเรือนเป็น
ระยะเวลาประมาณ 7 วันติดต่อกัน เพอื่ รวมปัจจัย ความเบีย่ งเบนในแตล่ ะวันที่เกิดขึ้น การวดั อาจทาได้ทั้งโดย
การสังเกตและจากการสัมภาษณ์จากความทรงจา จากน้ันปริมาณอาหารท่ีบริโภคจะถูกแปลงเป็นปริมาณ
พลงั งานแคลอรีตามสตู รการ คานวณการวดั ความม่ันคงทางอาหารกจ็ ะนาตัวเลขพลงั งานแคลอรีทค่ี านวณได้มา
เทียบกับค่าตัวเลข ความต้องการอาหารขั้นต่ามาตรฐาน (2) การวัดพลังงานจากอาหารท่ีเตรียมเพื่อบริโภคใน
ครัวเรอื น วธิ ีน้ีวัดพลังงานจากปริมาณ อาหารที่ผา่ นการปรงุ หรือแปรรูปซ่ึงครัวเรือนเตรยี มไว้สาหรบั การบริโภค
ภายในระยะเวลาหนึ่งๆ ซ่ึงโดยมากจะเป็น 1-2 สัปดาห์ โดยเก็บข้อมูลจากการสอบถามผูร้ บั ผิดชอบดูแลอาหาร
ในครัวเรือน จะมีการแยกอย่างชัดเจนระหว่างปรมิ าณอาหารท่ีซ้ือ ปริมาณอาหารท่ีเตรียมเพื่อการบรโิ ภค และ
ปริมาณอาหารที่รับประทานจริง ส่วนมากการเก็บข้อมูลจะได้หน่วยวัดปริมาณอาหารที่อยู่ในรูปหน่วยวัด

17

ท้องถิ่น เช่น กระป๋อง หม้อ ถุง เป็นต้น ดังนั้นจึงต้องแปลงหน่วยเหล่านั้นให้อยู่ในรูปหน่วยวัด มาตรฐาน เช่น
กิโลกรัม กรัม เป็นต้น แล้วหักลบปริมาณอาหารที่สูญเสียไปจากการปรุง กระบวนการแปรรูป หลังจากน้ันจึง
แปลงใหอ้ ย่ใู นรปู ของพลงั งานแคลอรี

4) ความหลากหลายของอาหาร เป็นดัชนีหนึ่งที่มีงานศึกษารองรับค่อนข้างมาก และ
พบว่ามคี วามสัมพันธ์กบั ปริมาณแคลอรีการบริโภคต่อหวั และปริมาณแคลอรีท่ีครวั เรือนมีไว้สาหรับการบริโภคท้ัง
ในเขตชนบทและเขตเมือง ซ่ึงในครัวเรือนฐานะปานกลางและยากจนสามารถนามาใช้เป็น ตัวแปรแทนคุณภาพ
อาหารท่ีครัวเรือนบริโภคได้ ความหลากหลายของอาหารในช่วงเวลาหน่ึงๆ ยังบ่งบอกถึงความสัมพันธ์กับระดับ
รายได้ทีเ่ พ่มิ ขึน้ หรอื ลดลง จะทาใหก้ ารแยกกลุม่ ระหว่างครัวเรือนที่มี ฐานะทางเศรษฐกิจต่างกันทาได้ดี

5) ความถี่ในการบรโิ ภคอาหาร เป็นการวัดความถ่ีในการบรโิ ภคอาหารจานวนหน่ึงท่ี
เป็นส่วน สาคัญในอาหารแต่ละมื้อในช่วงระยะเวลา 24 ช่ัวโมงที่ผ่านมา เช่น ถามถึงจานวนมื้ออาหารท่บี รโิ ภค
ตอ่ วนั จานวนมอ้ื อาหารทป่ี ระกอบไปดว้ ยเน้ือสัตว์ เปน็ ตน้ วิธีน้ที าให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเก็บขอ้ มูล ทาให้
รบั ทราบความแตกตา่ งในความถีข่ องการบรโิ ภคของแต่ละครัวเรอื น

6) ปริมาณการสารองอาหาร หมายถึง การสารองอาหารในชว่ งปีที่ผ่านมาหรือในช่วง
ระยะเวลาใดเวลาหนึ่งท่ีครวั เรือนอาจจะมีความเปราะบางต่อความไม่มนั่ คงทางอาหารเปน็ พิเศษ เชน่ ช่วงก่อน
การเก็บเกี่ยวจะมปี ริมาณผลผลติ ท่ีนอ้ ยกว่าชว่ งปกติ เป็นต้น

อาจสรุปได้ว่า ดัชนีชี้วัดความมั่นคงทางอาหารมีอยู่หลายระดับ คณะวิจัยเห็นว่าดัชนีช้ีวัด
ความมั่นคงทางอาหารมีต้ังแต่ระดับครัวเรือนและชุมชนไปจนถึงดัชนีชี้วัดความม่ันคงทางอาหารระดับโลก ใน
งานวิจัยน้ีจะเน้นในระดับครัวเรือนและชุมชนเป็นสาคัญ ประเด็นในด้านการมีอยู่ของแหล่งอาหาร การเข้าถึง
แหล่งอาหาร และความสามารถในการเข้าถึงแหล่งอาหารและสภาพอาหารธรรมชาติและภูมปิ ญั ญาท้องถิน่

1.4 มติ ิสาคญั ของความม่นั คงทางอาหาร
การให้นิยามมิติความม่ันคงทางอาหารมีอยู่หลายมิติ แต่ส่วนใหญ่จะเป็นมิติที่คล้ายคลึงกัน ซ่ึงมีตั้งแต่
3 มิติ 4 มติ ิ 5 มิติ และ 7 มิติ ดงั นี้

ปิยนาถ อิม่ ดี (2547) กลา่ ววา่ ความมนั่ คงทาง อาหารประกอบด้วย 3 มติ ิ คือ
1) การมีอยู่ของอาหาร (food availability) หมายถึง การมีปริมาณอาหารท่ีมี

คุณภาพเหมาะสมอย่างม่ันคงเพียงพอต่อทุกคน กล่าวคือ อาหารน้ันจะต้องสามารถหาได้และมีการนามาใช้ได้
ทุกเวลา ทุกคนสามารถนาอาหารมาใช้ในการบริโภคได้อย่างเพียงพอ ท้ังด้านปริมาณและคุณภาพ มีความ
หลากหลายชนดิ และสอดคลอ้ งกับวฒั นธรรมในแตล่ ะท้องถนิ่ การมีอาหารและการหาอาหารได้ นั้นมีเงือ่ นไขอยู่
ท่ฤี ดกู าล แหลง่ อาหาร และความอุดมสมบูรณข์ องทรัพยากรธรรมชาติ

2) การเข้าถึงอาหาร (food accessibility) หมายถึง ทุกคนสามารถเข้าถึงทรัพยากร
เพียงพอท่ีจะนามาทาเป็นอาหาร การเข้าถึงทรัพยากรที่เหมาะสมสาหรับอาหาร ได้แก่ ที่ดิน น้า ป่าไม้ และ
เทคโนโลยี ความสามารถในการเขา้ อาหารท้ังทางตรงและทางอ้อม ซึง่ ทางตรงนนั้ จะเป็นในส่วนของท่ีดินทากิน
และทางอ้อมจะเป็นการซ้ือขายอาหาร ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงทรัพยากร คือ กฎหมาย ประเพณี การมี

18

อธิปไตยทางอาหาร ทรัพยากรสาธารณะร่วม การมีท่ีดิน มีรายได้พอที่จะซ้ืออาหาร ราคาของอาหารไม่แพง
เกินไป รวมถึงระบบความสมั พันธ์ทางสงั คม ระบบความสมั พันธแ์ บบเครอื ญาติและการช่วยเหลือเกื้อกลู กัน

3) การใช้อาหารให้เป็นประโยชน์ (food utilization) หมายถึง การใช้อาหารให้
ถูกต้องตามหลักโภชนาการ สุขอนามัย และการดูแลสุขภาพ อาหารจะต้องนามาใช้ให้เกิดประโยชน์เพ่ือ
ตอบสนองความต้องการข้ันพ้ืนฐาน ตลอดจนอาหารต้องนามาใช้เพ่ือสุขภาพของบุคคล โดยมีคณุ ค่าทางอาหาร
โภชนาการ มีความปลอดภยั และไม่มกี ารปนเปือ้ นสารเคมีทีเ่ ป็นอนั ตรายต่อรา่ งกาย

องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (2560, น. 65) ระบุว่า ความม่ันคงทาง
อาหารจะตอ้ งมีองคป์ ระกอบสาคญั 4 มิติ ซงึ่ สัมพนั ธแ์ ละบางครง้ั กม็ นี ยั ะทที่ ับซอ้ นกนั ไดแ้ ก่

1) ความพอเพียงของปริมาณอาหาร (Availability) ที่อาจได้มาจากการผลิต
ภายในประเทศหรือการนาเขา้ จากต่างประเทศ รวมถึงความช่วยเหลือคา้ นอาหารจากประเทศอืน่

2) การเข้าถึงทรพั ยากรที่เพยี งพอ (Access) ทรัพยากรที่พอเพยี งของบุคคลเพ่ือได้มา
ซงึ่ อาหารทีเ่ หมาะสมและมโี ภชนาการ ทรัพยากรดังกลา่ วหมายถึง ความสามารถของบุคคลทจ่ี ะกาหนดควบคุม
กลุ่มสินค้าหน่ึงๆ ได้ภายใต้บริบททางกฎหมาย การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของชุมชนท่ีบุคคลอาศัยอยู่
รวมถงึ สิทธติ ามประเพณี เช่น การเขา้ ถงึ ทรัพยากรส่วนรามของชุมชน

3) การใช้ประไยชน์ด้านอาหาร (Utilization) ผ่านอาหารท่ีเพียงพอ น้าสะอาคและ
การรักษาสุขภาพและสุขอนามัยเพื่อที่จะเข้าถึงภาวะความเป็นอยู่ที่ดีทางโภชนาการ ซ่ึงความต้องการทาง
กายภาพท้ังหมดได้รับการตอบสนอง โดขนัยยะน้ี ความม่ันคงทางอาหารจึงสัมพันธ์กับปัจจัยนาเข้าที่ไม่ใช่
อาหารด้วย

4) เสถียรภาพทางอาหาร (Stability) ท่ีประชาชน ครัวเรือนและบุคคลจะต้องเข้าถงึ
อาหารท่ีเพียงพอตลอดเวลา ไม่ต้องเสี่ยงกับการไม่สามารถเข้าถึงอาหารอันเป็นผลมาจากวิกฤตท่ีเกิดข้ึนอย่าง
กะทันหัน เช่น วิกฤตทางเศรษฐกิจหรือสภาพภูมิอากาศ หรือเหตุการณ์ ท่ีเป็นไปตามวงจร เช่น ภาวะความไม่
มน่ั คงทางอาหารตามฤดูกาล ซง่ึ จะครอบคลมุ ถึงมิติความพอเพยี งและการเข้าถงึ อาหารด้วย

เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลอื ก (2545) ได้ให้นยิ ามความมน่ั คงทางอาหารไว้ 5 มติ ิ คอื
1) การมีปริมาณอาหารเพียงพอสาหรับบริโภคทุกคน ท้ังภายในครอบครัว ชุมชน

และชุมชนอน่ื ๆ
2) คุณภาพอาหารปลอดภัย มีความหลากหลายครบถ้วนตามหลักโภชนาการและ

สอดคล้อง กบั วัฒนธรรมในแตล่ ะทอ้ งถิน่
3) มีระบบการผลิตท่ีเกื้อหนุน รักษาความสมดุลของระบบนิเวศที่สร้างให้เกิดความ

หลากหลายทางชีวภาพและใชเ้ ทคโนโลยีท่ีเหมาะสม
4) มีระบบการจัดการผลผลิตที่สอดคลอ้ ง เหมาะสม เป็นธรรม มีการกระจายอาหาร

อย่างทัว่ ถงึ ท้ังในระดบั ครอบครวั ชมุ ชน และประเทศ
5) มีความม่ันคงในทรัพยากรเพ่ือการผลิตอาหาร ได้แก่ ที่ดิน แหล่งน้า ผืนป่า

พนั ธกุ รรม และทรัพยากรอื่น ๆ ทเ่ี อ้อื ให้เกิดความมัน่ คงในอาชีพเกษตรกรผผู้ ลิต

19

ศจินทร์ ประชาสันต์ิ (2555) ไดใ้ หน้ ยิ ามความมัน่ คงทางอาหาร ประกอบดว้ ย 7 มติ ิ คือ
1) มิติความเปราะบาง ความเปราะบางเป็นแนวคิดท่ีสัมพันธ์กับมิติด้านเวลาหรือ

“เสถียรภาพ” ของความม่ันคงทางอาหารอย่างใกล้ชิด ซ่ึงความเปราะบางของแต่ละกลุ่มคนมีระดับท่ีแตกต่าง
กันขึ้นอยู่กับลักษณะความเสี่ยงและความสามารถในการรับมือกับความเส่ียงหรือความไม่แน่นอนของ
สถานการณ์

2) มิติจิตวิทยาและสังคม ความไม่ม่ันคงทางอาหาร บุคคลเกิดความรู้สึกถูกกีดกัน
หรือขาดแคลน หรือทาให้ครัวเรือนรู้สึกกระวนกระวายใจว่าจะมีอาหารเพียงพอหรือไม่ เช่น ไม่อาจบริโภค
อาหารได้ 3 มอื้ ต่อวนั ไม่อาจเขา้ รว่ มกจิ กรรมหรืองานประเพณีท่ีเกี่ยวข้องกับอาหาร ต้องบรโิ ภคอาหารที่ได้มา
จากการบรจิ าค ตอ้ งลกั ขโมย หรอื ตดิ หน้ชี าระค่าอาหาร เปน็ ต้น ซ่งึ นามาสูป่ ัญหาความเครียดตามมา

3) มิติการแก้ไขปัญหาหรือการปรับตัว ในแต่ละครัวเรือนยังมีความกังวลเมื่อเกิด
ปัญหาความไม่ม่ันคงทางอาหาร ซึ่งอาจจะแสดงออกมาทั้งในแง่ของจิตวิทยาและความพยายามแก้ไขปัญหาใน
ลักษณะท่ีแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะชว่ งเวลา

4) มิติชุมชน ความม่ันคงทางอาหารของปัจเจกบุคคลและครัวเรือนมีความสัมพันธ์
อย่างยิ่งกับบริบทแวดล้อมในชุมชน หากชุมชนมีศักยภาพและความสามารถพ่ึงพาและดูแลจัดการด้านอาหาร
ได้มากข้ึนก็จะแก้ปัญหาความไม่มั่นคงทางอาหารได้อย่างย่ังยืนข้ึน โดยไม่ต้องพึ่งพิงความช่วยเหลือ เร่งด่วน
จากแหลง่ ทนุ ภายนอกหรือความช่วยเหลอื ดา้ นอาหารจากภาครัฐ

5) มิติสิทธิทางอาหาร ถือเป็นส่วนสาคัญของศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์และจาเป็น
จะต้องมีเพื่อบรรลุสิทธิมนุษยชนด้านอื่น ๆ ตามแนวคิดนี้ รัฐแต่ละประเทศจึงมีหน้าท่ีที่จะต้องเคารพ ปกป้อง
และ เติมเต็มสิทธิด้านอาหารของประชาชนโดยการดาเนินการเองภายในหรือร่วมมือกับต่างประเทศโดย ผ่าน
มาตรการท่สี าคัญ คอื มาตรการทางกฎหมาย

6) มิตอิ ธปิ ไตยทางอาหาร สิทธิของประชาชนที่จะกาหนดนโยบายเกษตรและอาหาร
ของตนเอง ที่จะปกปอ้ งและควบคุมการค้าและการผลติ ทางการเกษตรภายในประเทศเพ่ือที่จะบรรลุ เปา้ หมาย
การพัฒนาท่ยี งั่ ยืน

7) มิติวัฒนธรรม กล่าวได้ว่าวัฒนธรรมกับอาหารมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด
ทาให้วัฒนธรรมเป็นปัจจัยพื้นฐานที่เช่ือมระหว่างฐานทรัพยากรทางอาหารเข้ากับของความมั่นคงทางอาหาร
รวมถึงวิถีชีวิต กล่าวโดยสรุปมิติความมั่นคงทางอาหารโดยทั่วไปมีจุดเร่ิมต้นมาจากการประชุมอาหารโลก ซ่ึง
ได้รับการพัฒนาต่อโดยองค์การอาหารและเกษตรแห่งประชาชาติ ทาให้เกิดแนวคิดหรือความหมาย ในเร่ือง
ความม่ันคงทางอาหารท่ีหลากหลาย

นอกจากน้ียังมีอีกหลายแง่มุมของความมั่นคงทางอาหาร ซึ่งมิติเหล่าน้ีจะช่วยให้เห็น
รายละเอียดปลีกย่อยของความมั่นคงทางอาหารภาพรวมได้เข้าใจมากข้ึน จากมิติทั้งหมดท่ีกล่าวมาคณะวิจัย
สามารถนามาสรปุ และจัดกลุ่มใหม่โดยนามติ ิท่ีมีความใกล้เคยี งหรือซ้าซ้อนกันไว้ในกลุ่มเดยี วกนั พบว่าสามารถ
จัดกลมุ่ ได้เปน็ 4 มิติ ดังนี้

20

1) การมีอยู่ของอาหาร หมายถึง การมีชนิดและปริมาณอาหารท่ีมีคุณภาพในการ
บริโภคอยา่ งเพียงพอ ทงั้ ในระดับครวั เรือน ชุมชน และประเทศ

2) การเข้าถึงอาหาร หมายถึง ทุกคนมีสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากรอาหาร ตาม
ความสามารถของแต่ละบุคคลเพือ่ ให้ไดม้ าซ่งึ อาหารทเ่ี พยี งพอ

3) การจัดการอาหารและแหล่งอาหาร หมายถึง การจัดการแหล่งผลิตที่สอดคล้อง
และเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย ซึ่งในการผลิตน้ันจะต้องไม่ส่งผลต่อระบบนิเวศ และถ้าหากชุมชนมีศักยภาพในการ
ดูแลจัดการทรัพยากรท่ีเหมาะสมและยั่งยืนก็ไม่จาเป็นตอ้ งพึ่งภาครัฐ และทาให้เกิดเสถียรภาพและความม่ันคง
ทางอาหารดว้ ย

4) การใช้ประโยชน์อาหาร หมายถึง การนาอาหารมาบริโภคให้ถูกต้องตามหลัก
โภชนาการมคี วามปลอดภยั และเพียงพอตอ่ การเจริญเติบโตของรา่ งกายและมสี ุขภาพแขง็ แรง

2. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2.1 ความหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สุเมธ ตันตเิ วชกลุ (2550, น. 56) ได้อธิบายถึง ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ จึง
ประกอบหลักการหลักวิชา และหลักธรรมหลายประการ คือ

1) เป็นปรัชญาแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ
ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐ

2) เปน็ ปรัชญาในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศให้ดาเนนิ ไปในทางสายกลาง
3) จะช่วยพัฒนาเศรษฐกิจให้ก้าวทันโลกยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการ
รองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก
ภายนอกไดอ้ ย่างดี
4) ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ี จะต้องมี
ระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ัง ภายนอกและ
ภายใน
5) จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนา วิชาการ
ตา่ ง ๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการดาเนนิ การทกุ ขน้ั ตอน
6) จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และ
นักธุรกิจในทุกระดับให้มีสานักในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้ มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิต
ด้วยความอดทน ความเพียร มสี ติปญั ญา และความรอบคอบ
รุจิพร จารุพงษ์ (2553, น. 4-6) สรุปคาอธิบายเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการดาเนินชีวิตหรือวถิ ี
ชีวิตของคนไทยให้อยู่อย่างพอประมาณ เดินทางสายกลาง มีความพอดีและพอเพียงกับตนเอง ครอบครัว และ
ชมุ ชน โดยไมต่ อ้ งพง่ึ ปจั จยั ภายนอกต่าง ๆ ท่เี ราไม่ไดเ้ ปน็ เจ้าของ นอกจากนี้สิ่งสาคญั ต้องร้จู ักการพง่ึ ตนเอง ทั้ง
ต้องไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน และรู้จักการนาทรัพยากรที่เรามีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดาเนิ นชีวิต

21

ประจาวัน ด้วยการรู้จักนาปัจจัยพื้นฐาน ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย และยารักษาโรค มาใช้ในการ
ดาเนินชีวิตอย่างมีความสุขสบายและพอเพียงกับตนเอง โดยอาศัยความรู้และความสามารถ เพื่อให้เกิดความ
พอเพียงในลักษณะพออยู่พอกิน ก่อให้เกิดความสุขความสบายภายในครอบครัว และหากเหลือจากการดารง
ชพี สามารถนาไปขาย เพ่ือเปน็ รายได้และเกบ็ ออมเป็นเงินทุนสารองต่อไป ซึง่ ในการดารงชวี ิตของเกษตรกรตาม
ระบบเศรษฐกจิ พอเพียงตามแนวพระราชดาริ แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ระดบั ดงั นี้

1) เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล เป็นความสามารถในการดารงชีวิตอย่างไม่เดือดร้อน มี
ชีวิตความเป็นอยู่อย่างพอประมาณตนตามฐานะ ตามอัตภาพและท่ีสาคัญไม่หลงใหลตามกระแสวัตถุนิยม มี
อิสรภาพในการประกอบอาชพี เดนิ ทางสายกลาง อกี ท้ังทากจิ กรรมท่เี หมาะสมกับตนเอง และสามารถพงึ่ ตนเอง

2) เศรษฐกิจพอเพียงระดับเกษตรกร เป้นเศรษฐกิจเพ่ือการเกษตรท่ีเน้นการพ่ึงตนเอง อีกทั้ง
เกษตรกรจะใช้ความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการท่ีดิน โดยเฉพาะแหล่งน้า และกิจกรรมการเกษตรเอง
ดว้ ยการนาเร่ืองทฤษฎีใหม่ สรา้ งความหลากหลายของกจิ กรรมการเกษตร มีกจิ กรรมเก้ือกลู ซงึ่ กันและกัน และ
ใช้แรงงานในครอบครัวทากิจกรรมอย่างเต็มที่ เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเสริมรายได้ ตลอดจนการผสมผสาน
กจิ กรรมการปลกู พืช เลี้ยงสัตว์ และประมง ในไร่นาให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ

คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ (2552, น. 15) ได้ให้
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจท่ีสามารถอุ้มชูตัวเองได้ ให้ความพอเพียงกับตัวเองอยู่ได้
โดยไม่ต้องเดอื ดรอ้ น โดยต้องสรา้ งพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ ของตนเองให้ดเี สยี ก่อน

สรุปได้ว่า เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความรอบคอบ รอบรู้และความระมัดระวัง ในการดาเนินงาน
หรอื ประกอบกิจการงานใด ๆ มคี วามเพยี งพอ พออยู่ พอกนิ ในการดารงชีวติ ท้งั ในระดับครอบครัว ชมุ ชนและ
มีความเข้มแข็ง มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีสอดคล้องกับหลกั ธรรมคาสอนในศาสนา เพื่อสังคมที่สงบสุข กินดีอยู่ดี
และสามารถพ่งึ พาตนเองได้อย่างยง่ั ยนื

2.2 ความสาคัญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
กรมการพัฒนาชุมชน (2563, น. 1) อธิบายว่า พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดารัสที่เก่ียวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นครั้งแรกในพิธี
พระราชทานปรญิ ญาบตั ร ณ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ เมอื่ วนั ท่ี 18 มนี าคม 2517 ความวา่
“...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขนั้ ต้องสร้างพ้ืนฐานคือ ความพอมี พอกนิ พอใช้ของประชาชน
ส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พ้ืนฐานความ
มน่ั คงพร้อมพอสมควร และปฏิบัตไิ ด้แล้ว จงึ ค่อยสรา้ งค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขน้ั ท่ีสูงขึ้น
โดยลาดบั ตอ่ ไป...”

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เริ่มมีความชัดเจนขึ้น เม่ือพระองค์ทรงมีพระราชดารัส เมื่อ
วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2540 เพ่ือเป็นแนวทางในการแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกจิ ของประเทศจากวิกฤติต้มยากุ้ง ซึง่ เรม่ิ จาก
เดือนกรกฎาคม 2540 และเมื่อวันท่ี 4 ธันวาคม 2541 ทรงพระราชทานหลักคิดและหลกั ปฏิบัติเรอ่ื งเศรษฐกิจ
พอเพียง เพ่ือเป็นแนวทางการดาเนินชีวิตของคนไทยและย้าถึงการทาให้พอเพียงสาหรับตนเอง (Self-
sufficiency) และแตกต่างกับเศรษฐกิจพอเพียง (Self-sufficiency of Economy) ท่ีหมายถึง การทาอะไรให้

22

เหมาะสมกับฐานะของตนเอง และเมอ่ื วนั ที่ 17 มกราคม 2544 ณ พระตาหนักเปีย่ มสุข พระองค์ทรงเน้นย้าว่า
เศรษฐกจิ พอเพยี ง (Self-sufficiency of Economy) หมายถงึ การกระทาอะไรให้เหมาะสมกับฐานะของตนเอง
ถ้ามุมมองระดบั ชาวบา้ นนั้น คือ การทาเองไดบ้ นพน้ื ฐานของความมเี หตุผลแตเ่ รียบง่าย

คณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ (2552, น. 15-16) อธบิ ายว่า
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการต้ังตัวใหม้ ีความพอกินพอใช้ ไม่ใช่มุ่งหวังแต่จะทุ่มเทความเจริญยกฐานะทางเศรษฐกจิ
ให้รวดเร็วแต่เพียงอย่างเดียว เพราะผู้ที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพ่ึงตนเองย่อมสามารถสร้างความ
เจริญก้าวหน้า และฐานะทางเศรษฐกิจข้ันท่ีสูงข้ันไปตามลาดับต่อไปได้ ซึ่งสอดคล้องกับ สุเมธ ตันติเวชกุล
(2553, น. 2) ท่ีสรุปความสาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง คือ หันกลับมายึดเส้นทางสายกลางในการดาเนินชีวิต
เป็นพ้ืนฐานของความมั่นคงในการดารงชีวิตส่งผลให้สามารถพึ่งตนเองได้ โดยใช้หลักการพึ่งตนเอง 5 ประการ
ดงั นี้

1) ด้านจิตใจ คือ การทาตนให้เป้นที่พึ่งของตนเอง มีจิตใจเข้มแข็ง และมีจิตสานึกที่ดี
สร้างสรรค์ให้ตนเองและชาติโดยรวม มีจิตใจเอื้ออาทร ประนีประนอม ซ่ือสัตย์สุจริต เห็นประโยชน์ส่วนรวม
เป้นที่ต้ัง ดังพระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เกี่ยวกับการพัฒนาคน ความว่า
“...บุคคลต้องมีรากฐานทางจิตใจที่ดี คือ ความหนักแน่นมั่นคงในสุจริตธรรมแลความมุ่งม่ัน ที่จะปฏิบัติหน้าที่
ให้จนสาเร็จ ท้ังต้องมีกุศโลบายหรือวิธีการอันแยบยลในการปฏิบัติงาน ประกอบพร้อมด้วยจึงจะสัมฤทธิผลที่
แน่นอน และบงั เกดิ ประโยชน์อนั ย่ังยนื แกต่ นเองและแผน่ ดิน...”

2) ด้านสังคม แต่ละชุมชนต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน โดยเช่ือมโยงกันเป็นเครือข่ายชุมชนท่ี
เขม้ แขง็ อสิ ระ ดังกระแสพระราชดารสั ความว่า “...เพอื่ ให้งานรุดหนา้ ไปพร้อมเพรยี งกัน ไมล่ ดหลั่น จึงขอให้ทุก
คนพยายามท่ีจะทางานในหน้าที่อย่างเต็มที่ และให้มีการประชาสัมพันธ์กันให้ดี เพ่ือให้งานท้ังหมดเป็นงานที่
เกอื้ หนนุ สนบั สนนุ กัน...”

3) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ใช้และจัดการอย่างฉลาด พร้อมท้ังการเพิ่ม
มูลค่าโดยยึดหลักการของความยั่งยืนและเกิดประโยชน์สูงสุด ดังกระแสพระราชดารัสความว่า “...ถ้ารักษา
ส่ิงแวดล้อมให้เหมาะสมนึกว่าอยู่ได้อีกหลายร้อยปี ถึงเวลานั้นลูกหลานของเราก็อาจหาวิธีแก้ปัญหาต่อไป เป้น
เรื่องของเขา ไม่ใช่เรื่องของเรา แตเ่ ราก็ทาได้ ไดร้ ักษาสง่ิ แวดล้อมไวใ้ หพ้ อสมควร”

4) ด้านเทคโนโลยี จากสภาพแวดลอ้ มที่เปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว เทคโนโลยีทเ่ี ขา้ มาใหม่มีท้ัง
ดีและไม่ดี จึงควรต้องแยกแยะบนพื้นฐานของภูมิปัญญาชาวบ้านและเลือกใช้เฉพาะที่สอดคล้องกับความ
ต้องการของสภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ สังคมไทยและควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาของเราเอง ดัง
กระแสพระราชดารัส ความว่า “...การเสริมสร้างสิ่งที่ชาวบ้านชาวชนบทขาดแคลนและต้องการ คือความรู้ใน
ด้านเกษตรกรรมโดยใชเ้ ทคโนโลยสี มัยใหมเ่ ป้นสงิ่ ทเี่ หมาะสม...”

5) ด้านเศรษฐกิจ แต่เดิมนักพัฒนามุ่งที่การเพ่ิมรายได้ และไม่มีการมุ่งที่การลดรายจ่าย ใน
เวลาเช่นนี้จะต้องปรับทิศทางใหม่ คือ จะต้องมุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็นสาคัญและยึดหลกั พออยู่พอกินพอใช้ และ
สามารถอย่ไู ดด้ ว้ ยตวั เองในระดับเบื้องต้น ดังกระแสพระราชดารัส ความวา่ “...การทตี่ ้องการให้ทกุ คนพยายาม

23

ท่ีจะหาความรู้และสร้างตนเองให้ม่ันคงน้ี เพื่อตนเองเพื่อท่ีจะให้ตัวเองมีความจาเป็นอยู่ท่ีก้าวหน้าท่ีมีความสุข
พอมีพอกินเปน้ ข้ันหนึง่ และขัน้ ต่อไปกค็ ือ ให้มเี กยี รตวิ า่ ยืนไดด้ ว้ ยตนเอง”

มูลนิธิชัยพัฒนา (2560) อธิบายว่า เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏบิ ัติตน
ของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนา และบริหาร
ประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือให้ก้าวทันต่อโลก ยุคโลกาภิวัตน์
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถึงความจาเปน็ ท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ี
ดพี อสมควร ต่อการกระทบใด ๆ อนั เกิดจากการเปลยี่ นแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งน้ี จะตอ้ งอาศัยความรอบรู้
ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ
ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ นัก
ทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม
ดาเนนิ ชีวิตดว้ ยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพื่อใหส้ มดุลและพร้อมตอ่ การรองรับ
การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอก
ได้เปน็ อย่างดี

2.3 องค์ประกอบปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
คณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ (2552, น. 19-20) ได้สรุป
แนวคิดของระบบเศรษฐกจิ พอเพยี งแบ่งออกเปน็ 3 ประการ ได้แก่

ประการแรก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นระบบท่ียึดถือหลักการท่ีว่า “ตนเป็นท่ีพึ่งแห่งตน” โดย
มุ่งเนน้ การผลิตพชื ผลให้เพียงพอกับความต้องการบริโภคในครวั เรือนเป็นอันดบั แรก เม่ือเหลือพอจากการบริโภค
แล้ว จึงผลิตเพื่อการค้า ผลผลิตส่วนเกินท่ีออกสู่ตลาดก็จะเป็นกาไรของเกษตรกร ลักษณะเช่นน้ีเกษตรกรจะ
กลายสถานะเป็นผู้กาหนดตลาดแทนที่ว่าตลาดจะเป็นตัวกระทาหรือเป็นตัวกาหนดเกษตรกร ดังเช่นที่เป็นอยู่
และหลกั ใหญ่สาคญั ยิ่ง คือ การลดคา่ ใช้จา่ ยโดยการสร้างสิ่งอุปโภคบริโภคในท่ีดนิ ของตนเอง เช่น ขา้ ว พืชผกั ไม้ผล

ประการท่ีสอง เศรษฐกิจพอเพียงให้ความสาคัญกับการรวมกลุ่มของชาวบ้าน ท้ังน้ี กลุ่ม
ชาวบ้านหรือองค์กรชาวบ้านจะทาหน้าท่ีเป็นผู้ดาเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ให้หลากหลาย ครอบคลุมถึง
การเกษตรแบบผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การทาธรุ กิจค้าขาย และการทอ่ งเทย่ี วระดบั ชุมชน โดย
องค์กรชาวบ้านเหล่านี้ได้รับการพัฒนาให้เข้มแข็ง และมีเครือข่ายท่ีกว้างขวางมากขึ้นแล้วเกษตรกรทั้งหมดใน
ชุมชนก็จะได้รับการดูแลให้มีรายได้เพ่ิมขึ้น รวมทั้งได้รับการแก้ไขปัญหาในทุก ๆ ด้าน ซ่ึงจะทาให้เศรษฐกิจ
โดยรวมของประเทศเติบโตได้อย่างมีเสถียรภาพ เศรษฐกิจสามารถขยายตัวต่อสภาวการณ์ด้านการกระจาย
รายไดท้ ด่ี ีขึน้

ประการท่ีสาม เศรษฐกิจพอเพียงตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเมตตา ความเอื้ออาทร และความ
สามัคคีของสมาชิกในชุมชนในการร่วมแรงร่วมใจ เพ่ือประกอบอาชีพให้บรรลุผลสาเร็จประโยชน์ท่ีเกิดข้ึนจึงมิได้
หมายถึง รายได้แต่เพียงมิติเดียวหากแต่ยังรวมถึงประโยชน์ในด้านอื่น ๆ ด้วย ได้แก่ การสร้างความมั่นคงให้กับ
สถาบันครอบครัว สถาบันชุมชนอีกทั้งการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ของชุมชนบนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถน่ิ

24

ความสามารถในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รวมทง้ั การรกั ษาไว้ซง่ึ ขนมธรรมเนียมประเพณีท่ี
ดงี ามของไทยใหค้ งอยู่ตลอดไป

กรมการพัฒนาชุมชน (2563, น. 4) อธิบายว่า กรอบแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย
คณุ ลกั ษณะ 3 ประการ และเงอื่ นไข 2 ประการ หรือทเี่ รยี กวา่ 3 หว่ ง 2 เง่ือนไข ดงั ภาพ

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
(ท่ีมา : สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์. ศนู ยศ์ กึ ษาเศรษฐกจิ พอเพยี ง, 2551, น. ข)
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีพระองค์ทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานข้างต้น เป็นที่มา
ของ นิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ท่ีคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นามาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านช่องทาง
ตา่ ง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซ่งึ ประกอบดว้ ยความพอประมาณ มเี หตผุ ล มีภมู คิ ้มุ กนั บนเงอื่ นไข ความรู้ และ คุณธรรม
อธบิ ายไดด้ ังน้ี

ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจาเป็นและเหมาะสมกับฐานะของตนเอง
สังคม สงิ่ แวดล้อม รวมท้ังวฒั นธรรมในแต่ละท้องถิ่น ไมม่ ากเกินไป ไม่นอ้ ยเกินไป และตอ้ งไม่เบียดเบียนตนเอง
และผูอ้ ื่น เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคทอี่ ยู่ในระดับพอประมาณ

ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจดาเนินการเรื่องต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลักวิชาการ
หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมท่ีดีงาม โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจน
คานึงถึงผลท่คี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทาน้นั ๆ อย่างรอบรแู้ ละรอบคอบ

ระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบและการ
เปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม โดยคานึงถึงความ
เป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคต เพ่อื ใหส้ ามารถปรับตัวและรับมอื ได้

เง่ือนไขความรู้ ท่ีจะต้องฝึกฝนให้มีความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้น มาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความ
ระมดั ระวังในการปฏิบัติ

25

เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะต้องสร้างเสริมให้เป็นพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบด้วย ด้าน
จิตใจ คือ การมีความตระหนักในคุณธรรม รู้ผิดชอบชั่วดี มีความซ่ือสัตย์สุจริต ใช้สติปัญญาอย่างถูกต้องและ
เหมาะสมในการดาเนินชีวิต และด้านการกระทา คือ มีความขยันหมั่นเพียร อดทน ไม่โลภ ไม่ตระหนี่ รู้จัก
แบง่ ปนั และรบั ผดิ ชอบในการอยรู่ ่วมกับผอู้ นื่ ในสังคม

2.4 ระดบั ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
พิพัฒน์ ยอดพฤติการ (2550: 83–91) อธิบายถึงระดับของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เล้ียงตนเองบน
พ้ืนฐานของความประหยัดและการลดค่าใช้จ่ายท่ีไม่จาเป็น เรียกว่า เศรษฐกิจพอเพียงแบบพ้ืนฐาน เศรษฐกิจ
พอเพียงในระดับท่ีมีการรวมตัวกันเพื่อร่วมกัน ดาเนินงานมีการสร้างเครือข่ายโดยประสานความร่วมมือกับ
ภายนอก เรียกว่า เศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ดังน้ันเศรษฐกิจพอเพียงสามารถจาแนกได้เป็น 3 ระดับ
ดงั ต่อไปนี้

ภาพที่ 2 ระดบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(ทมี่ า : พิพัฒน์ ยอดพฤติการ, 2550, น. 85)
1) เศรษฐกิจพอเพียงระดับที่หนึ่ง พ่ึงตนเองได้ (Dependent) เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบ
พน้ื ฐานท่ีเน้นความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัว มีลกั ษณะทส่ี ามารถพึ่งพาตนเอง สามารถสนองความ
ต้องการข้ันพ้ืนฐานได้ เช่น ความต้องการในปัจจัยสี่ของตนเองและครอบครัว มีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและ
กัน มีความสามัคคีกลมเกลียว และมีความพอเพียงในการดาเนินชีวิตด้วยการประหยัดการลดค่าใช้จ่ายท่ีไม่
จาเป็น จนสามารถดารงชีวติ อยู่ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ทั้งทางด้านรา่ งกายและด้านจิตใจ
2) เศรษฐกิจพอเพียงระดับที่สอง รวมกลุ่ม (Independent) เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าว
หน้าท่ีเน้นความพอเพียงในระดับกลุ่มหรือองค์กร คือเม่ือบุคคลหรือครอบครัวมีความพอเพียง ในระดับท่ีหนึ่ง
แล้วก็จะรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์เพื่อร่วมกันดาเนินงานในด้านต่าง ๆ ท้ัง ด้านการผลิต การตลาด
ความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคม และศาสนา โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง
ทง้ั หน่วยราชการ มูลนิธิและเอกชน
3) เศรษฐกิจพอเพียงระดับท่ีสาม ร่วมมือกัน (Inter–dependent) เป็นเศรษฐกิจพอเพียง
แบบกา้ วหนา้ ท่เี นน้ ความพอเพียงในระดบั เครือข่าย คือ เม่อื กลุ่มหรือองคก์ รมีความพอเพียงใน ระดับที่สองแล้ว

26

ก็จะร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกเพ่ือสร้างเครือข่าย มีการติดต่อร่วมมือกับ ธนาคารและบริษัทต่างๆ ท้ังใน
ดา้ นการลงทนุ ดา้ นการผลิต ดา้ นการตลาด ดา้ นการจาหนา่ ย ด้านการบริหารจัดการเพอ่ื การขยายกจิ กรรมทาง
เศรษฐกิจที่หลากหลาย ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพชีวิต ท้ังในด้านสวัสดิการการศึกษา ด้านสังคมและศาสนา
ให้ได้รับประโยชน์ด้วยกันทุกฝ่าย การจาแนกปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงข้างต้น แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาที่
เร่ิมต้นจากหลักของการพึ่งตนเอง โดยเปลี่ยนจากการพ่ึงพาตนเองไม่ได้หรือต้องคอยอาศัยผู้อ่ืนอยู่ ตลอดเวลา
เปน็ การพัฒนาตนเองให้มคี วามเข้มแข็ง เปน็ อสิ ระแลว้ จงึ ค่อยๆพัฒนาข้ึนมาเปน็ การแลกเปลี่ยน การรวมกลุ่ม
ช่วยเหลอื กนั จนนาไปสูก่ ารพง่ึ พงิ ช่วยเหลอื กัน และสงเคราะหเ์ กอื้ กูลรว่ มมือกัน

2.5 ทฤษฎีบนั ได 9 ข้ันสู่ความพอเพียง
มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ (2563, น. 13) อธิบายว่า หลักทฤษฎีบันได 9 ขั้น สู่การพ่ึงตนเองเป็นการ
ประยุกต์หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกษตรกรน้อมนาไปปฏิบัติในการดารงชีวิต โดยเน้น
เศรษฐกิจพอเพียงข้ันพื้นฐานก่อน น่ันก็คือ พอกิน พออยู่ พอใช้ พอร่มเย็น จึงค่อยพัฒนาไปสู่ขั้นก้าวหน้า คือ
บุญ ทาน เก็บ ขาย เพ่ือสร้างความมั่นคงไปสู่เศรษฐกิจพอเพียงระดับที่ใหญ่ข้ึน ดังพระราชดารัสของ
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เมอ่ื วันที่ 4 ธันวาคม 2541
เพอ่ื เป็นหลักในการทางานใหส้ าเร็จว่า
“...ถ้าทาโครงการอะไรให้สอดคล้องกับภูมิประเทศ ก็จะสามารถสร้างความเจริญให้กับเขตท่ีใหญ่ข้ึนได้
เขตที่ใหญ่ลงท้ายก็จะแผ่ทั่วประเทศได้ แต่เพ่ือการนี้จะต้องมีความร่วมมืออย่างดีระหว่าง ทุกฝ่าย ท้ัง
นักวิชาการ และนักปกครอง ดังน้ี... ถึงบอกว่า เศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่ สองอย่างนี้จะทาความเจริญ
แก่ประเทศได้ แต่ต้องมีความเพียรแล้วต้องอดทน ต้องไม่ใจร้อน ต้องไม่พูดมาก ต้องไม่ทะเลาะกัน ถ้าทาโดย
เขา้ ใจกันเช่ือว่าทกุ คนจะมคี วามพอใจได.้ ..”

ภาพท่ี 3 ทฤษฎีบนั ได 9 ขนั้ สู่ความพอเพยี ง
(ที่มา : กรมการพฒั นาชุมชน. สานกั เสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน, 2551, น. 14)
การไปสูค่ วามพอเพียง ตามแนวทางศาสตรพ์ ระราชา เน้นการเริม่ ตน้ ทก่ี ารทาเพ่ือ พอกิน พอใช้ พออยู่
และพอร่มเย็น เริ่มท่ีตัวเราเองพอก่อน ต่อเม่ือมีเหลือแล้วจึงขยายต่อไป แบ่งเป็นข้ันพื้นฐาน 4 ขั้น และข้ัน
กา้ วหนา้ อีก 5 ข้ัน รวมเป็นบันได 9 ขน้ั สคู่ วามพอเพยี งทีย่ ั่งยืน แบ่งออกตามคาอธิบายดังนี้

27

2.5.1 เศรษฐกิจพอเพียงขน้ั พื้นฐาน
1) ข้ันที่ 1 พอกิน เป็นพื้นฐานสาคัญที่สุดของมนุษย์ คือ ความต้องการปัจจัย 4 และ

สิ่งท่ีสาคัญท่ีสุดคือ อาหาร เป็นขั้นท่ี 1 ของแนวทางแก้ปัญหาท่ีย่ังยืน โดยตอบคาถามให้ได้ว่า “ทาอย่างไรจึง
จะพอกิน” ให้ความสาคัญกับข้าวปลาอาหารมากกว่าเงิน โดยยึดหลักคาว่า “เงินทองเป็นของมายา
ข้าวปลาสิของจริง” เกษตรกรต้องเริ่มจากการอยู่ให้ได้โดยไม่ใช้เงิน มีอาหารพอมีพอกิน ท้ังปลูกพืชและ
เลยี้ งสัตว์ เชน่ ชาวนาต้องเก็บข้าวให้เพยี งพอสาหรับการมีกนิ ทั้งปี ไม่ขายข้าวเปลือกเพื่อนนาเงินไปซ้ือข้าวสาร
และหัวใจสาคัญของการ “พอกิน” หมายรวมถึง ความปลอดภัยในอาหาร การผลิตท่ีปลอดภัยไปจนถึงกิน
อยา่ งไรใหม้ ีสขุ ภาพดี นี่คือบนั ไดขนั้ ที่ 1 ท่ีเกษตรกรจะต้องขา้ มให้ได้

2) ข้ันท่ี 2 – 4 พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น เกิดขึ้นได้พร้อมกันด้วยการ “ปลูกป่า 3
อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง” ซึ่งป่า 3 อยา่ งจะใหท้ งั้ อาหาร เครื่องนงุ่ ห่ม สมนุ ไพรสาหรบั รักษาโรค ทั้งโรคคน โรค
พืช และโรคสัตว์ให้ไม้สาหรับทาบ้านพักที่อยู่อาศัย และให้ความร่มเย็นกับตัวบ้าน ชุมชนและโลกใบน้ีเป็น
แนวทางในการแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกรไทย ซ่ึงได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถแก้ปัญหาได้ จริง
และแก้ปัญหาจากการทาเกษตรเชิงเดี่ยว ปัญหาความเส่ือมโทรมของทรัพยากร ปัญหาความขาดแคลนน้า
ภยั แลง้ ทั้งหมดลว้ นแก้ปญั หาได้จากแนวคิด ปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง

2.5.2 เศรษฐกจิ พอเพียงขัน้ ก้าวหน้า
1) ขน้ั ที่ 5 – 6 บุญและทาน เปน็ การสรา้ งสมั พนั ธก์ นั ในชุมชน โดยไม่เกยี่ วกบั การค้า

ขาย แต่เป็นการให้ทาน แบ่งปันกัน อาจจะเป็นการบริจาคสิ่งของให้กับคนที่ยากไร้หรือการเข้าวัดทาบุญฟัง
ธรรม เพื่อฝึก ลด ละ กิเลสจากจิตใจของเรา รู้จักเป็นผู้แบ่งปัน ไม่ตระหน่ีจนเกินไปและยังเป็นการสร้างชุมชน
ให้น่าอยู่ข้ึนอีกด้วย เป็นการลดช่องว่างและความเหลื่อมล้า ตามความหมายที่ลึกซ้ึงว่า “Our Loss is Our
Gain” หรือ “ยิ่งทาย่ิงได้ ยิ่งให้ยิ่งมี” การให้ไป คือ ได้มาและเชื่อมั่นในฤทธิ์ของทานว่าทานมีฤทธิ์จริง และจะ
ส่งกลับคืนมาเป็นเพ่ือน เป็นกัลยาณมิตร เป็นเครือข่าย ท่ีช่วยเหลือกันในทุกสถานการณ์ แม้ในวันที่โลกนี้
ประสบกับวิกฤต

2) ขนั้ ท่ี 7 เกบ็ รกั ษา เปน็ ขั้นทีใ่ หร้ ้จู ักพึ่งพาตัวเอง พอเหลือจากทาบุญ ทาทานก็ต้อง
รจู้ กั เกบ็ รกั ษาไว้ด้วย ซ่งึ เป็นการต้งั อย่บู นความไมป่ ระมาท ไดเ้ ก็บไว้ใชย้ ามฉกุ เฉินจาเปน็ การเกบ็ รกั ษาเป็นการ
เอาตัวรอดเมื่อยามเกิดวิกฤตการณ์ โดยยึดแนวทางตามวิถีชีวิตชาวนาสมัยก่อน เช่น ชาวนาสมัยก่อนจะเก็บ
รักษาข้าวไว้ในยุ้งฉาง คัดเลือกและเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ไว้สาหรับเพาะปลูกในฤดูกาลต่อไป อีกทั้งยังต้องรู้จัก
การถนอมอาหาร เพื่อไวบ้ รโิ ภคยามหนา้ แล้งหรือยามเกิดภัยพิบัติ เช่น ปลาร้า ปลาแหง้ มะขามเปียก พริกแห้ง
หอม กระเทียม

3) ขั้นท่ี 8 ขาย เนื่องจากเศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่เพื่อการค้า ไม่ใช่เศรษฐกิจหลังเขา
การค้าขายสามารถทาได้ แต่ทาภายใต้การรู้จักตนเอง รู้จักพอประมาณและทาไปตามลาดับ โดยของท่ีขาย คือ
ของที่เหลือจากทุกขั้นแล้วจึงนามาขาย เช่น ทานาอินทรีย์ ปลูกข้าวปลอดสารเคมีไม่ทาลายธรรมชาติ ได้
ผลผลิตเก็บไว้พอกิน เก็บไว้ทาพันธุ์ ทาบุญ ทาทาน แล้วจึงนามาขาย ด้วยความรู้สึกของการ “ให้” อยากที่จะ
ให้สิ่งดี ๆ ท่ีเราปลูกเอง เผื่อแผ่ให้กับคนอ่ืน ๆ ได้รับสิ่งดี ๆ ด้วยการค้าขายตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จึง

28

เป็นการค้าที่มองกลับด้าน“เพราะรักคุณ จึงอยากให้คุณได้รับในส่ิงดี ๆ” พอเพียงเพ่ืออุ้มชู เผ่ือแผ่ แบ่งปัน
ไปดว้ ยกนั

4) ขนั้ ท่ี 9 ขา่ ย กองกาลังเกษตรโยธนิ หมายความวา่ เป็นการสร้างเครือข่ายเช่อื มโยง
ท้ังประเทศ เพอื่ ขยายผลความสาเร็จตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิวตั ิแนวความคดิ และวิถีการดาเนินชีวิต
ของคนในสงั คม ชมุ ชน เพ่อื แกป้ ัญหาวกิ ฤต 4 ประการ ไดแ้ ก่ วิกฤตส่งิ แวดล้อม ภยั ธรรมชาติ (Environmental
Crisis) วิกฤตโรคระบาดท้ังในคน สัตว์ พชื (Epidemic Crisis) วิกฤตเศรษฐกิจ ขา้ วยากหมากแพง (Economic
Crisis) วกิ ฤตความขดั แยง้ ทางสังคม/สงคราม (Political Crisis)

2.6 การน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ารปฏบิ ตั ิ
สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ (2554) อธิบาย
ว่า เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่
ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับประเทศ ท้ังในด้านการพัฒนา และการบริหารที่ให้ดาเนินไปในทาง
สายกลาง ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็น ที่จะต้องมีระบบ
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายในภายนอก ท้ังน้ี จะต้อง
อาศัยความรอบรู้ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างย่ิง โดยการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน
และการดาเนนิ การทุกข้ันตอน และในขณะเดยี วกันกจ็ ะต้องเสริมสรา้ งพ้ืนฐานจิตใจ ใหส้ านึกในคุณธรรม ความ
ซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสมดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความขยันหม่ันเพียร มีสติ ปัญญา
และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมตอ่ การรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้าน
วตั ถุ สงั คม ส่งิ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอก

2.6.1 การประยุกตใ์ ช้
ณัฏฐพงศ์ ทองภักดี (2550, น. 11) กล่าวถึง การประยุกต์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับ
พฤติกรรมของบุคคลว่า พฤติกรรมอย่างเดียวกันถ้าทาภายใต้เงื่อนไขเดียวกันอาจมีความพอเพียง แต่ถ้าทา
ภายใต้อีกเงื่อนไขที่แตกต่างกันอาจไม่เพียงพอ การจะทาความเข้าใจจึงไม่สามารถประเมินเพียงการมอง
พฤตกิ รรมปลายทางได้ แตค่ วรมองถงึ ปลายทางที่ตัดสนิ ใจภายใต้ เงือ่ นไขและในสภาพแวดลอ้ มในขณะนั้น ด้วย
ว่าเป็นตามองค์ประกอบของความพอเพียงหรือไม่ พฤติกรรมนั้นมีความเสี่ยงเพียงใด และสามารถนาไปสู่การ
พัฒนาที่มั่นคงหรือย่งั ยนื หรือไม่ ความเขา้ ใจผดิ คิดวา่ เศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ เร่ืองของภาคเกษตรเท่านัน้ ปรชั ญา
นี้ ไม่สามารถใช้ได้กับการบริหารในภาคอื่น ๆ เช่น ภาคธุรกิจเอกชน ภาครัฐวิสาหกิจ เหตุที่คนจานวนมากคิด
ว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องของภาคเกษตรก็เน่อื งจากว่าความสนใจในการประยุกต์ใช้ ในระยะแรกได้เร่มิ ตน้
อย่างจรงิ จังในภาคเกษตรกรรมก่อน เนอื่ งจากภาคเกษตรยงั ขาด ความสามารถในการพฒั นา และขาดหลักการ
บริหารอย่างสูง นอกจากน้ี ภาคเกษตรยังเป็นภาคที่สาคัญต่อการพัฒนาประเทศด้วย เมื่อเป็นเช่นน้ี คนส่วน
ใหญ่จึงเขา้ ใจว่า เศรษฐกิจพอเพยี งไมม่ ีความเก่ียวข้องกับสังคมเมืองหรอื ภาคการเกษตรที่อาศยั เทคโนโลยีช้ันสูง
แท้จริงแล้วการมีพฤติกรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาและบริหาร ในทุก
ภาค สว่ นและทกุ สาขาอาชพี ได้เปน็ อย่างดี ไมจ่ าเป็นจะตอ้ งเป็นในภาคเกษตรกรรมเท่าน้ัน

29

กรมการพัฒนาชุมชน (2563, น. 22) กล่าวถึง การประยุกต์ใช้แนวคิดตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชวี ติ เพอ่ื นาไปสู่ความสามารถในการพึง่ พาตนเองได้ สามารถอยใู่ นสงั คมอย่างมี
ความสุขตามอัตภาพ ควรพิจารณาข้ันพ้ืนฐาน คือ การพึ่งตนเองเป็นหลัก ทาอะไรอย่างเป็นขั้นเป็นตอน
รอบคอบ และระมดั ระวัง รวมทัง้ พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ และสมควร สรา้ งความสามัคคีใหเ้ กิดขึ้นบน
พ้ืนฐานของความสมดุลในแต่ละสัดส่วน แต่ละระดับ และครอบคลุมท้ังทางด้านจิตใจ สังคม เทคโนโลยี
ทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม และสภาพเศรษฐกิจ การนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกตใ์ ช้ ตอ้ งคานึงถงึ 4 มิติ ดงั นี้

1) ดา้ นเศรษฐกิจ คือ การลดรายจา่ ย เพ่ิมรายได้ ใช้ชวี ติ อย่างพอควร คิดและวางแผน
อยา่ งรอบคอบ มีภูมคิ ุ้มกนั ไม่เสย่ี งเกนิ ไป การเผื่อทางเลือกสารอง

2) ด้านสังคม คือ การช่วยเหลือเกื้อกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว
และชุมชน สร้างให้เกิดสังคมแห่งการแบง่ ปนั

3) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คือ การรู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาด
และรอบคอบ เลอื กใชท้ รพั ยากรท่ีมีอยู่ อยา่ งรคู้ า่ และเกิดประโยชน์สูงสดุ ฟน้ื ฟทู รัพยากรเพอื่ ใหเ้ กดิ ความย่งั ยนื

4) ด้านวัฒนธรรม คือ การสร้างความรักและเห็นคุณค่าในความเป็นไทย เอกลักษณ์
ไทย เหน็ ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของภมู ิปญั ญาไทย ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น รู้จักแยกแยะ และเลือกรับวฒั นธรรมอื่น ๆ

รัตนา เนตรแจ่มศรี (2550, น. 19) ได้กล่าวถึง ปัจจัยแห่งความสาเร็จของเศรษฐกิจพอเพียง
ไว้โดยสรุป คือ ต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานทางจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ นักทฤษฎีรวมถึง
นักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีจิตสานึกในความซ่ือสัตย์สุจริตและมีคุณธรรม อีกท้ังควรมีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม มี
ความเพียร ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน มีสติปัญญาและความรอบคอบ และในการนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้น้ัน ควรนาวชิ าการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการในทกุ ขั้นตอน

คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ (2560, น. 40–41) กล่าวว่า เราสามารถนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ใน
ระดับปจั เจกบุคคล ชุมชน และระดับรฐั ได้ดังนี้

1) ในระดับปัจเจกบุคคลและครอบครัว คือ การที่สมาชิกในครอบครัวใช้ชีวิตบน
พื้นฐานของการรู้จักตนเอง สามารถพึ่งตนเองได้และดาเนินชีวิตอย่างพอกินพอใช้ โดยไม่เบียดเบียนผู้อื่น
ทาให้เกิดความพอใจในการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง พยายามพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้สามารถอยู่
อย่างพอเพยี งไดใ้ นทกุ สถานการณ์

2) ความพึงพอใจในระดับชุมชน เกิดขึ้นเม่ือสมาชิกมีระดับความเพียงพอในระดับ
ครอบครวั เป็นพ้นื ฐานแล้ว สมาชิกสามารถนาหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาขยายผลในทางปฏบิ ัติไปสู่ระดับ
ชุมชน ได้รวมกลุ่มเพ่ือส่วนรวม โดยอาศัยภูมิปัญญาชาวบ้านและความสามารถท่ีตนมีอยู่เป็นพื้นฐาน
ประกอบการดาเนินชีวิตท่ีมีความช่วยเหลือแบ่งปันกัน จนเป็นพื้นฐานให้เกิดการรวมกลุ่มในสังคมสร้าง
เป็นเครือข่ายเช่ือมโยงระหว่างกันต่อไป ซึ่งจะนาไปสู่ความเป็นอยู่ท่ีพอเพียงของชุมชนโดยรวมในการดาเนิน
ชีวิตท่ีสมดลุ อยา่ งแทจ้ รงิ

30

3) ความพอเพียงในระดับรัฐหรือระดับประเทศเป็นเศรษฐกิจแบบก้าวหน้า เกิดขึ้น
จากการรวมกลุ่มของชุมชนหลายๆ แห่งที่มีความพอเพียง มาร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์
ตลอดจนร่วมมือพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสร้างเป็นเครือข่าย เช่ือมโยงระหว่างชุมชน ด้วย
หลักการแบ่งปันและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จนเกิดเป็นสังคมแห่งความพอเพียงในท่ีสุด รู้แจ้งเห็นจริงด้วย
เหตุผลทว่ี า่ พ้นื ฐานของประเทศเปน็ อย่างไร กส็ ามารถวางนโยบาย และกลยทุ ธก์ ารพัฒนาความก้าวหน้าได้โดย
ไม่คิดว่าการพัฒนาไม่ย่ังยืน ดังนั้นการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ให้ได้ผลในการดาเนินชีวิต
จาเป็นต้องเริ่มจากการมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงอะไร และมีหลักการสาคัญ
อะไรบ้างท่ีจะนาไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ตลอดจนเห็นถึงประโยชน์จากการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ช้จงึ จะเกิดความสนใจทจี่ ะทดลองนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ

สรุปได้ว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการพัฒนาท่ีนาไปสู่การพึ่งตนเอง โดย
อาศัยความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี บนหลักความรู้และ หลักคุณธรรม เพ่ือนาไปสู่
การพัฒนาที่สมดุลอยา่ งย่ังยนื

2.6.2 การน้อมนาไปสู่การปฏิบตั ิ
สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ กลมุ่ พัฒนากรอบแนวคิดทาง
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2556, น. 138-139) โดยคณะทางานโครงการประยุกต์ใช้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้สรุปสังคมวิเคราะห์ผลการสัมมนาจากการระดมสมองผู้นาชุมชนจากทุกภาคของ
ประเทศไทยท่ีร่วมกันทบทวนถึงกิจกรรมต่าง ๆ ในการดาเนินชีวิตประจาวัน พบว่า มีความสอดคล้องกับหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แบ่งเป็น 3 ระดบั คือ

1) ระดับจิตสานึก เกิดจากการท่ีสมาชิกในชุมชนแต่ละคนตระหนักถึงความสุข และ
ความพอใจในการใช้ชวี ติ อย่างพอดี และความรู้สึกถึงความพอเพียง คือ ดาเนินชีวติ อย่างสมถะ ประกอบอาชพี
เลี้ยงตนเองได้อย่างถูกต้อง ท้ังน้ี แม้ว่าระดับความพอเพียงของสมาชิกแต่ละคน จะไม่เท่าเทียมกัน แต่สมาชิก
ทุกคนดาเนินชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยยึดหลัก 3 ประการ ร่วมกัน ได้แก่ การใช้ชีวิตบนพ้ืนฐานของ
การรูจ้ กั ตนเอง การคดิ พง่ึ พาตนเองและพึ่งพาซ่ึงกนั และกัน และการใชช้ ีวติ อยา่ งพอเพยี ง

2) ระดบั ปฏิบัติ ผนู้ าชุมชนแตล่ ะพ้ืนทไ่ี ดน้ าหลักการเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ใน ระดบั
ปฏบิ ัติ โดยแบ่งได้ 4 ขั้น ได้แก่

2.1) การพ่ึงตนเองได้ คือ ต้องพยายามพ่ึงตนเองให้ได้ในระดับครอบครัว
กอ่ นใหแ้ ต่ละครอบครัวมกี ารบรหิ ารจดั การอย่างพอดี

2.2) การอยู่อย่างพอเพียง คือ การดาเนินชีวิตโดยยึดหลักทางสายกลาง ให้
ตนเองอยู่ได้อย่างสมดุล มีความสุขที่แท้จริงโดยไม่ให้รู้สึกขาดแคลนจนต้องเบียดเบียนตนเอง หรือ ดาเนินชีวติ
อยา่ เกินพอดจี นตอ้ งไปเบียดเบียนสิ่งแวดลอ้ ม

2.3) การอยู่ร่วมกันอย่างเอ้ืออาทร คอื การรูจ้ ักให้และรู้จักแบง่ ปัน ซึง่ จะทา
ให้เกดิ วัฒนธรรมทด่ี ี อกี ท้ังเปน็ การช่วยลดความเห็นแก่ตัว และสรา้ งความพอเพยี งใหเ้ กิดขึ้นในจิตใจ

31

2.4) การอย่ดู ยี งิ่ ข้นึ ดว้ ยการเรยี นรู้ คอื ตอ้ งรู้จักพฒั นาตนเอง โดยการเรียนรู้
จากธรรมชาติและประสบการณ์ เพ่ือให้เกิดการระมดั ระวงั ในการกระทาใด ๆ ตอ่ ไป

3) ระดับผลท่ีเกิดจากการปฏิบัติ คือ การวัดผลจากการปฏิบัติตามหลักการข้างต้น
กล่าวคือ สมาชิกในแต่ละชุมชนได้พัฒนาชีวิตของตนเองให้ดีข้ึน โดยเร่ิมจากการพัฒนาจิตใจ ให้เกิดความ
พอเพียงในทุกระดับของการดาเนินชีวิต ท้ังในระดับครอบครัว ชุมชน และสังคม ระดับการศึกษาขนาดของ
ครัวเรือน การเป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม รายได้ รายจ่าย การถือครองท่ีดิน รวมถึงการได้รับข่าวสารเก่ียวกับ
ทฤษฎีใหม่ ยกเวน้ หน้สี ินเทา่ น้ัน ทีไ่ ม่มีความสัมพนั ธก์ ับการเลือกดาเนินชีวติ ตามแนวพระราชดาริทฤษฎีใหม่

สุเมธ ตันตเิ วชกุล (2549, น. 117 –118) ไดแ้ บ่งระดับของบคุ คลในสงั คมในเร่ืองการ ประยกุ ต์
แนวทางเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชป้ ฏบิ ตั ิ แบ่งได้ 2 ระดบั ดังนี้

1) ระดับบุคคลและครอบครัว เร่ิมต้นจากการเสริมสร้างคนให้ มีการเรียนรู้วิชาการ
และทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็น เพื่อให้สามารถรู้เท่าทันการเปลย่ี นแปลงในด้านต่าง ๆ พร้อมท้ังเสริมสรา้ งคุณธรรม
จนมีความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าของการร่วมกันของคนในสังคม และอยู่ร่วมกับระบบนิเวศวิทยาอย่าง
สมดุล เพื่อจะไดล้ ะเวน้ ต่อการประพฤติผิดมชิ อบ ไมต่ ระหน่ี เป็นผู้ให้ เกือ้ กลู แบง่ ปัน มสี ติย้ังคิดพจิ ารณาอย่าง
รอบคอบ ก่อนท่ีจะตัดสินใจ หรือกระทาการใด ๆ จนกระท่ังเกิดเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีในการดารงชีวิต สามารถคิด
และกระทาบนพื้นฐานของความมีเหตุมีผล พอเหมาะพอประมาณกับสถานภาพ บทบาทและหน้าท่ีของแต่ละ
บคุ คล ในแต่ละสถานการณ์ แล้วเพยี รฝึกปฏบิ ัติเชน่ น้ี จนสามารถพง่ึ ตนเองได้ และเป็นทีพ่ ่ึงของผู้อน่ื ไดใ้ นทส่ี ดุ

2) ระดับชุมชน ประกอบด้วย บุคคล ครอบครัว ที่มีความพอเพียงแล้ว ที่ใฝ่หา
ความกา้ วหน้าบนพนื้ ฐานของความพอเพียง คือ มคี วามรู้ และคุณธรรม เป็นกรอบในการดาเนินชวี ิตจนสามารถ
พ่งึ ตนเองได้ บคุ คลเหล่านร้ี วมกล่มุ กันทากิจกรรมต่าง ๆ ทสี่ อดคล้องเหมาะสมกบั สถานภาพภูมิสังคมของแต่ละ
ชุมชน โดยพยายามใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุนชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผ่านการร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมคิด
ร่วมทา แลกเปล่ียนเรียนรู้ กับบุคคลหลายสถานภาพ ในสิ่งที่จะสร้างประโยชน์สุขของคนส่วนรวม และ
ความก้าวหน้าของชุมชน อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยสติ ปัญญา ความสามารถของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และบน
พื้นฐานของความซ่ือสัตย์สุจริต อดกลั้นต่อการกระทบกระท่ัง ขยันหมั่นเพียร และมีความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่
ช่วยเหลือ แบ่งปันกันระหว่างสมาชิกในชุมชน จนนาไปสคู่ วามสามัคคีของคนในชุมชน ซงึ่ เป็นภมู คิ ุ้มกันท่ีดีของ
ชุมชน จนนาไปสู่การพัฒนาของชุมชนท่ีสมดุลและพร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ จนกระท่ัง สามารถ
พฒั นาไปสูเ่ ครอื ขา่ ยระหวา่ งชุมชนต่าง ๆ

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (2559, น. 192) ได้ กล่าวว่า
ไม่ใช่เฉพาะในหมู่คนจนหรือเกษตรกร โดยต้อง “ระเบิดจากข้างใน” คือ การเกิดจิตสานึก มีความศรัทธา
เช่ือม่ัน เห็นคุณค่า และนาไปปฏิบัติด้วยตนเอง แล้วจึงขยายไปสู่ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
ตอ่ ไป ทังนจี้ าแนกเปน็ 3 กล่มุ ใหญ่ ๆ ดังนี้

1) ความพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว มุ่งเน้นให้บุคคลและครอบครัว
อยูร่ ว่ มกนั อยา่ งมีความสุขทั้งทางกายและทางใจ พ่งึ พาตนเองอยา่ งเตม็ ความสามารถ ไม่ทาอะไรเกินตัว ดาเนิน
ชีวิตโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นรวมท้ังใฝ่รู้ และมีการพัฒนาตนเอง อย่างต่อเน่ืองเพ่ือความม่ันคงใน

32

อนาคต และเป็นท่ีพึ่งให้ผู้อ่ืนได้ในที่สุด เช่น หาปัจจัยสี่มาเลี้ยงตนเองและครอบครัวจากการประกอบสัมมาชีพ
รู้ข้อมูลรายรับ – รายจ่าย ประหยัด และไม่ตระหน่ี ลด ละ เลิก อบายมุข สอนให้เด็กรู้จักคุณค่า รู้จักใช้ และ
รู้จักออมเงินและสิ่งของเคร่ืองใช้ ดูแล รักษาสุขภาพ มีการแบ่งปันภายในครอบครัว ชุมชนและสังคมรอบข้าง
รวมถึงการรักษาวัฒนธรรม ประเพณี และการอยู่ร่วมกบั ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มได้อยา่ งเหมาะสม

2) ความพอเพียงระดับชุมชน คนในชุมชนมีการรวมกลุ่มกันทาประโยชน์ เพ่ือ
ส่วนรวม ช่วยเหลือเกื้อกูลกันภายในชุมชนบนหลักของความรู้ รัก สามัคคี สร้างเป็นเครือข่าย เช่ือมโยงกันใน
ชุมชนและนอกชุมชน ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เช่น การรวมกลุ่มอาชีพ
องค์กรการเงิน สวัสดิการชุมชน การช่วยเหลือดูแลรักษาความสงบ ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
รวมท้ังการใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินและทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมในชุมชนมาสร้างประโยชน์ได้อย่าง
เหมาะสม เพอ่ื สร้างเสริมชมุ ชนใหม้ คี วามเข้มแขง็ และมคี วามเปน็ อยู่ที่พอเพียง

3) ความพอเพียงระดับประเทศ เป็นการบริหารจัดการประเทศ โดยเร่ิมจากการ
วางรากฐานให้ประชาชนส่วนใหญ่อยู่อย่างพอมีพอกิน และพ่ึงตนเองได้ มีความรู้และคุณธรรมใน การดาเนิน
ชีวิต มีการรวมกลุ่มของชุมชนหลาย ๆ แห่งเพื่อแลกเปล่ียนความรู้ สืบทอดภูมิปัญญา และร่วมกันพัฒนาตาม
แนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งอย่างรู้ รกั สามคั คี เสรมิ สรา้ งเครือข่ายเชื่อมโยง ระหวา่ งชมุ ชนให้เกิดเปน็ สงั คมแห่ง
ความพอเพียงในทส่ี ดุ

กรมการพัฒนาชมุ ชน (2563, น. 22) กล่าวถงึ การน้อมนาแนวทางพระราชดาริไปประยุกต์ใช้
ในชีวติ ประจาวัน โดยการน้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเปน็ แนวทางการดาเนินงานพฒั นาชมุ ชน
และขบั เคลื่อนภารกิจกรมการพัฒนาชมุ ชน แบ่งระดบั การพัฒนาเป็น 3 ระดบั ดังนี้

1) ระดับครัวเรือน เพื่อการพออยู่พอกิน โดยส่งเสริมครัวเรือนให้มีการดาเนิน
กิจกรรมสรา้ งความม่ันคงทางอาหาร สร้างสง่ิ แวดล้อมให้ยั่งยนื และสรา้ งภมู คิ ้มุ กนั ทางสงั คม

2) ระดับกลุ่มอาชีพ ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพเพ่ือสร้างรายได้ ให้อยู่ดีมีสุขโดย
ส่งเสรมิ ให้ชมุ ชนมกี จิ กรรมและมกี ารรวมกลุ่ม และมคี รวั เรือนท่ีดาเนินการตามแนวทาง โคก หนอง นา โมเดล

3) ระดับชุมชน ส่งเสริมความร่วมมือพัฒนาชุมชนให้มีกิจกรรม ส่งเสริมหลักประกัน
สวัสดกิ าร ความสัมพันธใ์ นชุมชน และสรา้ งคุณภาพชีวิตประชาชนหลากหลาย และยงั่ ยืน โดยสง่ เสริมให้ชุมชน
มกี ารดาเนินกจิ กรรมในชุมชน ท่ีสง่ ผลต่อความม่นั คง ยั่งยืน และคุณภาพชีวติ ของประชาชนในชุมชน

นอกจากน้ีการดาเนินงานพัฒนาชุมชน ได้มีการน้อมนาแนวพระราชดาริ หลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏิบัตอิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม ใน 3 ดา้ น ไดแ้ ก่

1) การสร้างความมัน่ คงทางอาหาร ประกอบดว้ ย การปลูกผกั สวนครวั การเล้ียงสัตว์
เพื่อใช้ประกอบอาหารในชวี ติ ประจาวัน และการแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตร รวมทั้งการถนอมอาหาร

2) การสร้างสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน ประกอบด้วย การคัดแยกขยะ ทาถังขยะเปียกเพ่ือ
ทาปุ๋ยหมกั อนิ ทรีย์ จัดบา้ นพกั ให้สะอาด สวยงาม ไมเ่ ปน็ แหลง่ เพาะเชื้อโรคต่าง ๆ และใชท้ รัพยากรอยา่ งคุ้มค่า

33

3) การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม ประกอบด้วย มีการปฏิบัติตามศาสนกิจ และหลัก
ตามคาสอนของพระศาสดา ร่วมกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ อาสาสมัคร จิตอาสา สร้างสังคมแห่งการ
เอื้อเฟือ้ เผ่ือแผ่ แบง่ ปัน ชว่ ยเหลอื กนั และมกี จิ กรรมส่งเสริมการออกกาลงั กาย เพอ่ื สุขภาพรา่ งกายทีแ่ ขง็ แรง

สรุป หลักการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การดารงชีวิตของสมาชิก
โดยการพ่ึงตนเองเป็นหลัก ครอบคลุมทั้งทางด้านจิตใจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
รวมท้งั เศรษฐกิจตง้ั อยู่บนพื้นฐานของ 3 ห่วง 2 เงือ่ นไข ดังน้ี

1) ความพอประมาณ ได้แก่ การใช้ทรัพยากรทุกชนิดอย่างประหยัดและมี
ประสิทธิภาพสูงสุด ลดต้นทุนการผลิตโดยวิธีทางธรรมชาติ ยึดหลักธรรมชาติ ใช้แรงงานภายในครอบครัวแทน
การจ้างงานจากภายนอก ใชจ้ า่ ยพอประมาณเหมาะสมกับรายได้ท่มี แี ละการผลติ แตล่ ะครัง้ ใช้เงนิ ทนุ ของตนเอง

2) ความมีเหตุผล ได้แก่ การทาการเกษตรตามหลักวิชาการ หลักกสิกรรมธรรมชาติ
มกี ารวางแผนการผลิต ใชเ้ ทคโนโลยีทถี่ ูกหลักวชิ าการ ใช้ทรัพยากรหรอื วตั ถุดิบเพอื่ การผลิตภายในท้องถ่ิน การ
ลงทุนคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป เลอื กการผลติ ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มและสามารถสร้างรายได้ที่แน่นอน

3) การมภี ูมคิ ุม้ กันท่ีดี ไดแ้ ก่ การวางแผนกอ่ นการผลิต วิเคราะห์ความเหมาะสมก่อน
ทาการเพาะปลูก การมีปริมาณผลผลิตที่เพียงพอต่อการจาหน่าย มีกาไรจากการจาหน่าย สามารถชาระหนีส้ นิ
ได้ มีทุนสาหรับการผลิตครั้งต่อไปและมีเงินออมไว้ใช้ยามจาเป็น และยังรักษาความอุดมสมบูรณ์ของ
ทรพั ยากรธรรมชาติ มีความพร้อมตอ่ ความเปลยี่ นแปลงทกุ ดา้ น และมีการรวมกล่มุ ในการประกอบอาชีพ

4) การมีความรู้ ได้แก่ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผสมผสานความรู้ทางวิชาการเพ่ือ
เพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิต มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ได้รับการฝึกอบรม ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยน
ประสบการณเ์ พ่อื เพมิ่ พูนองคค์ วามรู้อยา่ งสมา่ เสมอ

5) การมีคุณธรรม ไดแ้ ก่ การยึดมั่นในหลักคาสอนทางพทุ ธศาสนา มีการเสียสละเพ่ือ
สว่ นรวม มกี ารผลติ ภายในหลักคณุ ธรรมซ่ือสตั ยต์ ่อคู่คา้ แบ่งปันให้ผอู้ นื่ โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน

3. แนวคิดเก่ียวกับการพึง่ ตนเอง

3.1 ความหมายของการพึ่งตนเอง
กรมการพฒั นาชุมชน (2563, น. 25) ใหค้ วามหมายการพ่ึงตนเอง คือ ความสามารถทเ่ี ป็นตัวเองทาง
ความคดิ ไม่มีผใู้ ดครอบงา มกี ารตัดสินใจ ดาเนินการโดยกระบวนการสถาบนั ชุมชน มีการพ่ึงพาอาศยั ซงึ่ กันและ
กัน อยา่ งรูเ้ ทา่ ทัน ไม่มุ่งแข่งขันกัน หรือเอาเปรยี บกนั มแี ต่การชว่ ยเหลอื เก้อื กูลกนั สงั่ สมทานบารมี โดยมีกรอบ
ความคดิ ดงั น้ี

1) ความรู้สกึ ของการรวมกันเป็นกลุ่ม ของคนที่มคี วามสนใจร่วมกัน
2) มีคา่ นิยมประชาธปิ ไตย
3) เปิดใจกว้างในการทางานร่วมกนั ตามหนา้ ที่ ทร่ี ับผิดชอบและร่วมชว่ ยเหลือกัน
4) เปิดใจกว้างในการทางานเป็นกลุ่ม ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่าง มุ่งให้ความสาคัญของ
กลุ่มและผลการบรรลุเป้าหมาย

34

5) เปิดใจกวา้ งในการสร้างสรรค์ ปลูกฝังใหม้ ีความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งโอกาสให้แสดงออก
6) ศรัทธาในการรวมกันและเชื่อม่ันในความสามารถการชว่ ยตนเองได้
สุเมธ ตันติเวชกุล (2559, น. 16) ได้ให้ความหมายการพ่ึงตนเอง คือ เศรษฐกิจพอเพียง การนาหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้น้ัน ขั้นแรก ต้องยึดหลักการพ่ึงตนเอง คือพยายามพึ่งตนเองให้ได้ก่อน ในแต่ละ
ครอบครวั มีการบริหารจัดการอย่างพอดปี ระหยัดไม่ฟุ่มเฟือย สมาชิกในครอบครวั แต่ละคนต้องรจู้ ักตนเอง เช่น
ขอ้ มูลรายรับ-รายจา่ ย ในครอบครัวของตนเอง สามารถรกั ษาระดับการใช้จ่ายของตน ไมใ่ หเ้ ป็นหน้ี และร้จู ักดึง
ศักยภาพในตัวเองในเรื่องของปัจจัยส่ีให้ได้ในระดับหนึ่ง การพัฒนาตนเองให้สามารถอยู่ได้อย่างพอเพียง คือ
ดาเนินชีวิตโดยยึดหลักทางสายกลางให้อยู่ได้อย่างสมดุล คือ มีความสุขที่แท้ ไม่ให้รู้สึกขาดแคลนจนต้อง
เบียดเบยี นตนเอง หรือดาเนินชวี ติ อย่างเกนิ พอดี จนตอ้ งเบียดเบียนผู้อน่ื หรอื เบียดเบียนส่งิ แวดลอ้ ม
สอดคล้องกับ ณัฐกาล เรืองอุดม (2554, น.9) ให้ความหมายของการพ่งึ ตนเอง หมายถึง การท่ีตนเอง
และชุมชนสามารถดาเนินการด้วยตนเองอย่างอิสระ ทางด้านความคิด ด้านการทากิจกรรมทั้งระดับปักเจกชน
และระดับชุมชน โดยผา่ นระบบความสมั พันธข์ องคนในชมุ ชนในการพง่ึ พาอาศัยกัน และช่วยเหลือเกอื้ กูลกนั
สรปุ ไดว้ า่ การพึง่ ตนเอง จาเป็นตอ้ งมีการจัดการชีวิตให้มีความสมั พันธก์ บั ส่ิงต่าง ๆ อย่างเหมาะสม คา
ว่า การพึ่งตนเอง จะไม่ได้หมายความเฉพาะปักเจกบุคคลหรือครอบครัวท่ีพ่ึงตนเองเท่านั้น ชุมชนก็ต้อง
พ่ึงตนเองได้ คือ มีระบบการจัดการให้เกิดความสัมพันธ์ของทุนต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชน ทั้งทุนทางสังคม ทุน
ทรพั ยากร ทุนท่ีเปน็ ตวั เงิน เพอ่ื เอื้อให้เกดิ การทากจิ กรรมท่ีเปน็ การสร้างงานสรา้ งอาชีพ เพิม่ รายได้ ลดรายจา่ ย
ให้กับคนในชุมชนอย่างยั่งยืนยาวนานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท้ังการพึ่งตนเองของครัวเรือน
ของชุมชนจึงมคี วามสมั พันธ์กัน ถ้าสว่ นเลก็ ๆ คือ ระดบั ปกั เจก ระดับครัวเรอื น มีความสามารถในการพง่ึ ตนเอง
ไม่เป้นคนฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย บริโภคนิยม มีเหตุมีผล ถ้าจะไม่มีส่ิงอานวยความสะดวกที่กาลังคนในครอบครัวทา
กันเองได้ มีภูมิคุ้มกันความคิดของคนท่ีจะไม่หลงใหลไปตามกระแสวัตถุนิยม ใช้ชีวิตเดินทางสายกลาง คือ ไม่
หย่อนเกินไป ไม่ตึงเกินไป เม่ือคนส่วนมากมีวิธีคิด วิธีปฏิบัติ พ่ึงตนเองรวมกันทาให้ชุมชนเป็นชุมชนพ่ึงตนเอง
มีกระบวนการพัฒนาท่ีนาความรู้ไปใช้ในการจัดการปัญหาของชุมชน ใช้ความรู้ภายในชุมชนผสมผสานความรู้
ภายนอกชุมชน สังคมจะรอดจากวิธีคิดวิธีปฏิบัติท่ีเอาเปรียบผู้อ่ืน การคอรัปช่ัน การรอความช่วยเหลือจาก
ภายนอกมาสู่กระบวนการมีส่วนร่วมคิด ร่วมทา ภายใต้ข้อมูลความรู้ ท่ีจะช่วยหนุนเสริม ทั้งภายในและ
ภายนอกชุมชน

3.2 องค์ประกอบการพึ่งตนเอง
กรมการพัฒนาชมุ ชน (2563, น. 28) กลา่ วถึงองค์ประกอบของการพึ่งตนเองตามแบบ TERMS อธบิ าย
ได้ดังนี้

1) Technology หรือ ด้านเทคโนโลยี ที่มีการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับเคร่ืองมือพื้นบ้าน
ตามสภาพชุมชน และสภาวะกาล

2) Economic หรือ ด้านเศรษฐกิจ อยู่ในลักษณะท่ีสมดุลระหว่างความต้องการกับขีด
ความสามารถสนองความตอ้ งการ ตลอดจนขีดความสามารถแขง่ ขันกบั ตลาดภายนอก อยา่ งรเู้ ทา่ ทัน

35

3) Resource หรือ ด้านทรัพยากร สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีดุลยภาพของระบบ
นเิ วศน์ และอยใู่ นสภาพทฟี่ ้ืนฟไู ด้

4) Mental หรือ ด้านจิตใจ คนในชุมชนมีจิตสานึกในการพึ่งตนเอง มีจิตใจเข้มแข็ง ลดละ
อบายมขุ และมีความขยนั หม่ันเพียร

5) Social หรือ ด้านสังคม คนในชุมชนสนใจกิจกรรมสาธารณะมีสว่ นร่วมสูง มผี ูน้ าเข้มแข็ง มี
ความเป็นปกึ แผน่ ทางสังคม รู้เท่าทนั โลกภายนอก

อย่างไรก็ตาม การพ่ึงตนเองทั้ง 5 ด้านน้ี ต้องมีกระบวนการเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนตามแบบ
BAN 3 ประการ คือ

1) Balance การสร้างความสมดุลของการพึ่งตนเอง เป็นความสอดคล้องกลมกลืนระหว่าง
เทคโนโลยี เศรษฐกจิ ทรพั ยากรธรรมชาติ จติ ใจ สังคม และวัฒนธรรม

2) Ability ความสามารถในการจัดการ เป้นความสามารถในการวิเคราะห์ วางแผน และการ
จดั ระบบชมุ ชน

3) Net Working การสร้างเครือข่ายการทางาน เป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหวา่ งชมุ ชนกบั
เครือข่ายท่ีมเี ปา้ หมายอนั เดียวกัน ในการสรา้ งพลังขับเคลื่อน ตอ่ รอง เพ่อื ต่อส้กู บั แรงกดดันจากสังคมภายนอก
ชมุ ชน เปน็ การเพิ่มความเขม้ แข็งใหแ้ ก่ชุมชน

ดังน้ัน การพ่ึงตนเองจึงมีความหมายครอบคลุมทั้งระดับปัจเจก ครอบครัว กลุ่มหรือชุมชน ขยาย
ความสัมพันธ์ในระดับเครือข่าย ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่าทุกคน ทุกครอบครัว ทุกชุมชน มีขีดความสามารถพึ่งตนเอง
ไดน้ ้ันหมายถึงความมน่ั คงการพฒั นาของชาติ

3.3 ปัจจยั เก่ียวกบั การพง่ึ ตนเอง
แนวความคดิ การพึ่งตนเอง เป็นแนวคดิ ท่เี กี่ยวขอ้ งกับการวัดความสามารถในการพ่ึงตนเองไดใ้ นชนบท
สัญญา สัญญาวิวัฒน์ (2542, น. 67-74) ได้กล่าวถึงทฤษฎีการพึ่งตนเองของชุมชนชนบทประกอบด้วยปัจจัย
สาคญั 5 ประการ สามารถอธิบายไดด้ งั นี้

1) พ่ึงตนเองได้ทางเทคโนโลยี หมายถึง การมีปริมาณ และคุณภาพทางเทคโนโลยีทางวัตถุ
เช่น เคร่ืองมือ เครื่องจักรกล และเทคโนโลยีทางสังคม การรู้จักใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และการบารุงรักษาให้
คงสภาพดีอยู่เสมอเพื่อการใช้งาน ซึ่งรวมทั้งของสมัยใหม่ และของดั้งเดิมของท้องถ่ินที่เรียกว่า ภูมิปัญญา
ชาวบ้านด้วย จะทาให้ชมุ ชนสามารถประกอบอาชพี ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ไมว่ ่าจะเปน็ การทานา ทาไร่ รวมทงั้
การทาอุตสาหกรรมในครัวเรือน การติดต่อค้าขาย หรือแม้แต่การประกอบอาชีพด้านบริการ ซ่อมแซม
เครื่องจักร ช่วยในการติดต่อส่ือสารกับภายนอกชุมชน ทาให้ได้ข่าวสารท่ีดี ทันต่อเหตุการณ์ รวมไปถึงการใช้
เทคโนโลยีทางสังคม การเป็นผู้นาชุมชนที่ดี การรู้จักการวางโครงการการบริการโครงการ เป็นต้น นอกจากน้ี
ลักษณะของเทคโนโลยีที่สนับสนุนการบริหารงานที่ดีต้องเชื่อมั่นว่า มีความสาคัญ และมีประโยชน์ต่อการ
บริหารงานพัฒนา เป็นเทคโนโลยีระดับชาวบ้าน มีความเป็นไปได้ที่จะนามาใช้ เป้นที่ยอมรับของประชาชน
และเหมาะสมกบั สภาพทอ้ งถ่นิ และสอดคลอ้ งกบั ความเชอื่ หรอื วัฒนธรรมท้องถ่นิ

36

2) พ่ึงตนเองไดท้ างเศรษฐกิจ หมายถงึ ความสามารถในการดารงชวี ิตทางเศรษฐกิจ ทม่ี คี วาม
ม่ันคงสมบูรณ์พูนสุขพอควร ประชาชนในชมุ ชนเลี้ยงตัวเองได้ มีรายได้พอเพียงสามารถซื้ออาหารหรือปัจจัย 4
อย่างอื่นได้ สามารถซื้อส่ิงของ ยาแก้ไข้ ไปหาหมอ รักษาไข้ หาเคร่ืองกีฬามาเล่นทาให้สุขภาพแข็งแรง ซ้ือ
อุปกรณ์การศึกษามาให้ลูกหลานในการศึกษาเล่าเรียน ซ่ึงอดิศักด์ิ น้อยสุวรรณ (2543, น. 80-81) กล่าวถึง
ยุทธศาสตร์เพื่อนาไปสู่การปฏิบัตงิ านเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง มีแนวทางการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องอยู่ 3 ด้าน
ประกอบด้วย การผลิต การจาหนา่ ย และการบริโภค

3) พง่ึ ตนเองได้ทางทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึง การมที รัพยากรธรรรมชาติ ความสามารถใน
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ให้ดารงอยู่ไม่ให้เส่ือมไปจนหมดส้ิน หรือไม่ให้สูญเสียสมดุลธรรมชาติ
มากนัก ตัวอย่าง เช่น ดิน น้า ป่า สัตว์บกและน้า รวมท้ังแร่ธาตุต่าง ๆ ท่ีมีค่าและความสาคัญต่อการดารงชีวิต
ของมนุษย์ และสุเมธ ตันตเิ วชกุล (2547, น. 36) ให้ความหมายไว้วา่ การพึ่งตนเองทางทรัพยากรธรรมชาติ คือ
การส่งเสริมให้มีการนาเอาศักยภาพของผู้คนในท้องถิ่นสามารถเสาะแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ หรือวัสดุใน
ทอ้ งถน่ิ ท่ีมีอย่ใู ห้เกิดประโยชนส์ ูงสุด ซ่งึ ส่งผลใหเ้ กดิ การพฒั นาประเทศได้ดขี ้นึ

4) พึง่ ตนเองได้ทางจิตใจ หมายถงึ สภาพจิตใจที่กล้าแขง็ ในการท่ีจะต่อสู้กับปัญหาอปุ สรรคใน
การหาเล้ียงชพี การพัฒนาชีวิตให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นในการปกครองตนเอง ในการป้องกันกิเลสตัณหา ไม่โลภ
โกรธ หลง หรืออยากได้ อยากดี จนเกนิ ความสามารถของตน โดยตอ้ งเปน็ คนเข้มแข็ง ปลงใจ และปกั ใจ มน่ั ใจ
ว่าจะช่วยตนเองได้ พึ่งตนเอง และยังเป็นคนรู้จักพอ และสุเมธ ตันติเวชกุล (2547, น. 36) อธิบายไว้ว่า การ
พ่ึงตนเองทางจิตใจ คือ มีจิตใจเข้มแข็ง มีจิตสานึกว่าตนนั้นสามารถพ่ึงตนเองได้ ดังนั้น จึงควรท่ีจะสร้าง
แรงผลกั ดันใหม้ ภี าวะจิตใจฮึกเหิมต่อสู้ชีวิตดว้ ยความสจุ ริต แม้อาจจะไม่ประสบความสาเรจ็ บา้ งก็ตาม มพิ งึ ควร
ท้อแท้ ให้พยายามต่อไป ดังพระราชดารัสที่วา่ “บุคคลต้องมีรากฐานทางจิตใจที่ดี คือ ความหนักแน่นมั่นคงใน
สุจริตธรรม และความมุ่งมั่นท่ีจะปฏิบัติหน้าที่ให้จนสาเร็จ จึงจะสัมฤทธิผลที่แน่นอน และบังเกิดประโยชน์อัน
ย่ังยนื แก่ตนเองและแผน่ ดนิ ”

5) พ่งึ ตนเองได้ทางสังคม หมายถงึ ภาวการณท์ ค่ี นกลุ่มหน่ึงๆ มีความเป็นปึกแผน่ เหนียวแน่น
มีผู้นาที่มีประสทิ ธิภาพสามารถนากลุ่มคนเหลา่ น้ีปฏบิ ัติหนา้ ที่ต่าง ๆ ของตนไปสู่เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
โดยกลุ่มของตนเอง หรืออาจขอความช่วยเหลือจากภายนอกก็ได้ ซ่ึงเป้นการสืบเนื่องมาจากปัจจยั อีกทอดหน่ึง
เช่น การศึกษา การสื่อสารระหว่างกัน ความเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ ระบบการพึ่งตนเองทางสังคม ประกอบด้วย
องคป์ ระกอบที่สาคัญ 3 ประการ คอื ครอบครวั องคก์ รชมุ ชน และความสมั พนั ธ์ชุมชน

3.4 ทฤษฎีใหม่กบั การพึง่ ตนเอง
กรมการพัฒนาชุมชน (2563, น. 9) อธิบายไว้ว่า ทฤษฎีใหม่ เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ท่ีทรงพระราชทานไว้ เป็นแนวคิดและ
แนวทางในการดารงชีวิตท่ีนาไปสู่ความสามารถในการพ่ึงตนเองในระดับต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นเป็นตอน บน
พืน้ ฐานปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื ลดความเส่ียงในการเปล่ยี นแปลงของปัจจัยต่าง ๆ ตลอดจนความผัน
แปรของธรรมชาติ

37

“ทฤษฎีใหม่” เป็นระบบการพัฒนาท่ีมีมากกว่า 40 ทฤษฎี ผ่านหลักการทรงงาน จนนาไปสู่
การปฏิบัติได้จริงนั้น เช่น ทฤษฎีการทาฝนเทียมเพ่ือแก้ปัญหาความแห้งแล้ง ทฤษฎีการสร้างฝายชะลอน้า
ทฤษฎีการจัดการน้าท่วมด้วยแก้มลิงเพ่ือกักเก็บน้า ฯลฯ เหล่านี้ สามารถนามาใชร้ ่วมกัน เพ่ือนาไปสู่เป้าหมาย
ในการพึ่งตนเองได้ ให้เกษตรกรสามารถ มีความพออยู่ พอกิน พอใช้ และก้าวไปสู่การร่วมกันจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็นระบบ และการสร้างความร่วมมือระหว่างเครือข่ายจนสามารถพัฒนาสู่
ขน้ั กา้ วหน้าได้ พระองคท์ รงวางระบบทฤษฎีใหม่อย่างเปน็ ขั้นตอน ผ่านการวางแผน ทดลอง วจิ ัย จนกลายเป็น
โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ 4,741 โครงการ (สานกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงานโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ, 2560 น. 99) และที่เป็นโครงการพระราชดารทิ ี่สาคัญในด้านโครงการทฤษฎีใหม่
ด้านการจัดการน้า ต้ังอยู่ ณ วัดมงคลชัยพัฒนา ตาบลห้วยบง อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี สู่การ
ปฏบิ ัติอยา่ งเป็นรูปธรรมที่เปน็ ตน้ แบบการทาเกษตรทฤษฎีใหมท่ ั่วประเทศ

พระราชดาริ “ทฤษฎีใหม่” เป็นแนวทางหรือหลกั การในการจัดการทรัพยากรระดับไรน่ า คือ
ที่ดินและนา้ เพ่อื การเกษตร ในทดี่ นิ ขนาดเลก็ ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ ดงั น้ี

1) มีการบริหารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็กออกเป็นสัดส่วนที่ชัดเจน เพื่อประโยชน์
สูงสุดของเกษตรกร ซงึ่ ไมเ่ คยมีใครคดิ มากอ่ น

2) มีการคานวณโดยหลักวิชาการเกี่ยวกับปริมาณน้าท่ีจะกักเก็บให้พอเพียงต่อการ
เพาะปลูกไดต้ ลอดปี

3) มกี ารวางแผนทส่ี มบรู ณ์แบบสาหรับเกษตรกรรายย่อย 3 ข้ันตอน เพอ่ื ให้พอเพียง
สาหรับเลีย้ งตนเองและเพื่อเป็นรายได้ ดงั น้ี

3.4.1 ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น สถานะพื้นฐานของเกษตรกร คือ มีพื้นที่น้อย ค่อนข้างยากจนอยู่
ในเขตเกษตรน้าฝนเป็นหลัก โดยในขั้นที่ 1 นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเสถียรภาพของการผลิตเสถียรภาพด้าน
อาหารประจาวัน ความม่ันคงของรายได้ ความม่ันคงของชีวิต และความมั่นคงของชุมชนชนบท เป็นเศรษฐกิจ
พึ่งตนเองมากขึ้น มีการจัดสรรพื้นที่ทากินและที่อยู่อาศัยให้แบ่งพื้นที่ ออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตราส่วน
30:30:30:10 ซึ่งหมายถึง พื้นที่ส่วนที่หนึ่งประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน้า เพื่อใช้เก็บกักน้าฝนในฤดูฝน
และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์น้าและพืชน้าต่าง ๆ สามารถเลี้ยงปลา ปลูกพืชน้า
เช่น ผักบุ้ง ผักกะเฉดได้ด้วย พ้ืนที่ส่วนที่สองประมาณ 30% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝน เพ่ือใช้เป็นอาหาร ประจาวัน
ในครัวเรือนให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่าย และสามารถพึ่งตนเองได้ พ้ืนท่ีส่วนที่สามประมาณ 30% ให้
ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือบริโภค ก็นาไป
จาหน่าย และพื้นที่ส่วนที่สี่ประมาณ 10% ใช้เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ และโรงเรือนอื่น ๆ ถนน คันดิน กอง
ฟาง ลานตาก กองปุ๋ยหมัก โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผักสวนครัวหลังบ้าน

3.4.2 ทฤษฎีใหม่ข้ันกลาง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในท่ีดินของตนจน
ไดผ้ ลแลว้ ก็ตอ้ งเร่ิมขั้นท่ีสอง คอื ใหเ้ กษตรกรรวมพลังกนั ในรปู กลมุ่ หรือสหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกนั ดงั น้ี

1) การผลิต เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิตโดยเริ่มตั้งแต่ขั้นเตรียมดินการหา
พันธุพ์ ชื ปยุ๋ การหาน้า และอน่ื ๆ เพอื่ การเพาะปลกู

38

2) การตลาด เม่ือมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรียมการต่าง ๆ เพ่ือการขายผลผลิตให้ได้
ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว จัดเตรียมหาเคร่ืองสีข้าว
ตลอดจนการรวมกนั ขายผลผลิตใหไ้ ดร้ าคาดี และลดค่าใช้จา่ ยลงด้วย

3) ความเป็นอยู่ ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควรโดยมี
ปัจจัยพน้ื ฐานในการดารงชีวิต เช่น อาหารการกนิ ต่าง ๆ กะปิ นา้ ปลา เส้อื ผ้า ทพ่ี อเพยี ง

4) สวัสดิการ แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิการและบริการท่ีจาเป็น เช่น มีสถานีอนามัย
หรือมกี องทุนไวใ้ ห้กู้ยมื เพือ่ ประโยชนใ์ นกจิ กรรมตา่ ง ๆ

5) การศึกษา มีโรงเรียนและชุมชนมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุน
เพอื่ การศกึ ษาเล่าเรยี นให้แก่เยาวชนของชุมชนเอง

6) สังคมและศาสนา ชุมชนควรเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาสังคมและจิตใจโดยมี
ศาสนาเป็นท่ียึดเหน่ียว กิจกรรมท้ังหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่า
สว่ นราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชกิ ในชมุ ชนน้นั เป็นสาคญั

3.4.3 ทฤษฎีใหม่ข้ันก้าวหน้า เม่ือดาเนินการผ่านพ้นข้ันที่ 2 แล้ว เกษตรกรจะมีรายได้ดีข้ึน
ฐานะมั่นคงขึ้น เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ข้ันท่ีสามต่อไป คือ ติดต่อประสานงาน
เพ่ือจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัทห้างร้านเอกชน มาช่วยในการทาธุรกิจ การลงทุน และ
พัฒนาคุณภาพชีวิต ท้ังนี้ท้ังฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคารกับบริษัท จะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ
เกษตรกรขายข้าวได้ในราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) ธนาคารกับบริษัทสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่า (ซ้ือ
ข้าวเปลอื กตรงจากเกษตรกรและมาสเี อง) เกษตรกรซ้อื เครือ่ งอุปโภคบรโิ ภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกนั ซ้ือเป็น
จานวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ ซื้อในราคาขายส่ง) ธนาคารกับบริษัทจะสามารถกระจายบุคลากร (เพ่ือไป
ดาเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ ใหเ้ กดิ ผลดียง่ิ ขน้ึ )

ข้ันตอนในการนาทฤษฎีใหม่ไปทาให้เกิดความสาเร็จน้ัน มีส่ิงท่ีต้องคานึงหลายประการและ
ต้องไม่ลืมเร่ืองของ “ความยืดหยุ่น” พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ทรงตรัสหลายครง้ั ว่า “อย่าติดตารา” เพราะว่าเป็นทฤษฎใี หม่นนั้ ยังไม่มีตาราใด และสิ่งต่าง ๆ
ที่กาหนดขึ้นมาล้วนเป็นสูตรคร่าว ๆ (Tentative Formula) และเมื่อนาไปปฏิบัติแล้วจะต้องคานึงถึง
ความเหมาะสมของพื้นที่และปัจจยั อนื่ ๆทแ่ี ตกต่างตามแต่ละครอบครัว ซ่งึ มคี วามแตกตา่ งกันไปตามภูมิสังคม

4. มาตรฐานอนิ ทรีย์วถิ ไี ทย

4.1 ความหมายของมาตรฐานอนิ ทรยี ์วิถีไทย

มูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้า (2559) อธิบายว่า มาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย หรือ EarthSafe Standard คือ

แนวทางและกระบวนการปฏบิ ัติที่เปน็ มาตรฐานสาหรับผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูปเปน็ ผลิตภัณฑ์ จนถงึ

การรักษาคุณภาพที่ดีท่ีสุดจากเกษตรกรสู่ผู้บริโภค กลไกดังกลาวถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นโดยคณะทางาน

และภาคีเครอื ข่ายภายใต้มูลนธิ ิ รกั ษด์ นิ รักษน์ า้ (EarthSafe Foundation)

39

4.2 ตวั ช้ีวดั มาตรฐานอนิ ทรีย์วิถีไทย
มูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้า (2559) อธิบายว่า มาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย มุ่งเน้นในการเป็นตัวชี้วัดที่
ครอบคลุมกระบวนการผลิต พืช ผัก และผลไม้ที่ไม่มีการใช้สารเคมี การเก็บเก่ียวผลผลิตที่ไม่เอาเปรียบ
ธรรมชาติ และการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและความปลอดภัยที่ผู้บริโภคตรวจสอบได้ ทั้งน้ี ยังต้อง
คานึงถึงส่ิงแวดล้อม การสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อชุมชน และการมีวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้น
ข้อกาหนดมาตรฐานอนิ ทรีย์วถิ ไี ทย จึงประกอบดว้ ยการมพี ฤติกรรมดงั ตอ่ ไปน้ี

4.2.1 การผลิตพืช ผัก ผลไม้ในรูปแบบที่ไม่มีการใช้สารเคมีใดๆ มาเก่ียวข้อง รวมไปถึงการ
ผลผลิตบนพ้นื ฐานของวถิ ธี รรมชาติ (หรอื ทีร่ ู้จักกันทวั่ ไปว่าเกษตรอินทรีย์) โดยมีปัจจัยชี้วัดสาคญั คือ

1) ไมใ่ ชป้ ยุ๋ เคมี สารเคมีกาจดั ศัตรูหรอื ป้องกันศรตั รูพืช และสารเคมีกาจดั วชั พืช
2) ไมใ่ ช้พชื ทีม่ ีการตัดตอ่ พันธุกรรม (GMOs)
3) สามารถเปิดเผยและตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับกระบวนการผลผลิตได้อย่างมี
รปู ธรรม
4) คานึงถึงส่ิงแวดล้อมและระบบนิเวศในพ้ืนท่ี มีการกาหนดหน่วยมลภาวะและมี
การทดแทนคุณค่ากลับส่ดู ิน นา้ และปา่ อยา่ งเป็นระบบ
4.2.2 การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กล่าวคือ ต้องไม่ปลูกเพื่อขาย
ผลผลิตทั้งหมดเพียงอย่างเดียว เกษตรกรตอ้ งปลูกพืชไว้บรโิ ภคในครอบครวั เมอื่ เหลอื จึงแบ่งปัน เม่อื เหลือจาก
การแบ่งปันจึงรวมกันขาย สร้างภูมิคุ้มกันในคุณภาพชีวิต และลดการพ่ึงพาพ่อค้าคนกลางในตลาดที่ขาดความ
โปร่งใสและไร้คณุ ธรรม
มาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย จึงเป็นมากกว่าการรับรองคณุ ภาพผลผลติ เราจงึ ใช้คาว่า อนิ ทรีย์วิถี
ไทย หรอื EarthSafe แทนคาวา่ อินทรยี ์ น่นั ก็เป็นเพราะเราใส่ใจในทกุ ข้นั ตอนต้งั แตร่ ากเหง้าความเป็นไทย วถิ ี
ชีวติ การเกษตอย่างไทย พร้อมกระบวนการปฏิบัติ นวตั กรรม และแนวทางทส่ี อดคลอ้ งกับการสรา้ งความมนั่ คง
ทางอาหารท้ังในวนั นี้ และในอนาคต

4.3 บรรทัดฐานความเปน็ ไทย
มูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้า (2559) อธิบายว่า EarthSafe อินทรีย์วิถีไทย ถือกาเนิดและจัดตั้งข้ึนจากการ
ทางานเชิงรุกเพ่ือผลักดันสังคมการเกษตรท่ีดีและมีความย่ังยืนต่อผู้คนและต่อแผ่นดิน (social-driven on
sustainable agriculture) ของประเทศไทย ตลอด 20 ที่ผ่านมา ผู้ก่อต้ังมูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้า
คณุ สัณหจฑุ า จิราธิวัฒน์ มีวสิ ัยทศั น์และพนั ธกจิ ทีจ่ ะจัดตั้งเครือข่ายต้นแบบแห่งการพัฒนากระบวนการเกษตร
ทเ่ี ป็นของคนไทยซ่ึงมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและระดบั สากล ในทุกภูมิภาค

40

ของประเทศ ซ่ึงต่อมาถกู เรยี กว่า ครอบครวั EarthSafe นอกจากนั้น เกษตรกรทอ่ี ยู่ในครอบครวั ฯ จะได้รับการ
ส่งเสริมและสนับสนนุ ในทุกมติ ติ ้ังแต่

1) ต้นน้า การมีปัจจัยการผลิตท่ดี ตี อ่ วิถชี วี ติ ของเกษตรกรและสอดคล้องกับบรบิ ทท้องถิ่น
2) กลางนา้ การมีกระบวนการสง่ เสรมิ การแปรรปู และพัฒนาแบรนด์ภายใตบ้ ริบททอ้ งถ่ิน
3) ปลายน้า การมีตลาดที่โปร่งใสซึ่งสามารถรองรับคุณภาพและคุณค่าของผลผลิตได้อย่าง
แท้จรงิ
ทง้ั น้ี ภายใตก้ ารบรหิ ารเครือข่ายครอบครวั EarthSafe ได้มีการรูปแบบกฎเกณฑ์และบรรทัดฐานที่จะ
นาไปสู่การพฤตกิ รรม และนิตกิ รรมทม่ี ีคณุ คา่ ในการเป็นตน้ แบบของเกษตรกรไทย โดยมีหวั ข้อหลักดังตอ่ ไปน้ี
1) รูปแบบการปฏิบัติทางด้านการเกษตร กสิกรรม และปศุสัตว์ ท่ีมุ่งเน้นในการสารวจและ
เขา้ ใจสง่ิ ท่ีมีในท้องถิ่นก่อนเปน็ สาคัญ
2) รูปแบบการปฏิบัติทางด้านการเกษตร กสิกรรม และปศุสัตว์ ที่มุ่งเน้นในความหลากหลาย
ของทรัพยากรทางธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มทีม่ ีในพืน้ ท่ี
3) รูปแบบการปฏิบัติทางด้านการเกษตร กสิกรรม และปศุสัตว์ ที่มุ่งเน้นต่อการให้
ความสาคัญกับผืนแผ่นดนิ แหลง่ น้า พันธ์กุ รรมพืช และความมัน่ คงทางอาหารในระยะยาว
4) รูปแบบการปฏิบัติทางด้านการเกษตร กสิกรรม และปศุสัตว์ ที่มุ่งเน้นต่อการพัฒนา
ทรพั ยากรมนุษย์ กล่าวคือ วถิ ชี ีวิตทกุ ด้านของผูผ้ ลติ ผ้บู ริโภค และสังคมโดยรวม
5) รปู แบบการปฏิบัตทิ างดา้ นการเกษตร กสกิ รรม และปศุสัตว์ ทีม่ งุ่ เนน้ ในการน้อมนาศาสตร์
พระราชามาปฏิบตั ดิ ้วยความเข้าใจและเป็นรูปธรรม
6) รูปแบบการปฏิบัติทางด้านการเกษตร กสิกรรม และปศุสัตว์ ที่มุ่งเน้นในการสร้าง
กระบวนการตรวจสอบย้อนกลับ การบริหารผลผลิต และการเปิดเผยข้อมูลระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคบน
พื้นฐานของความเปน็ กลางและความนา่ เชอ่ื ถือ

4.4 ระบบการรบั รอง EarthSafe อินทรีย์วิถไี ทย
มูลนธิ ริ ักษ์ดินรักษน์ ้า (2559) สนับสนนุ การตรวจสอบ การวดั ผลประเมินผล และการรับรองเกษตรกร
พื้นที่การเกษตร ไปจนถึงผลผลิตทางการเกษตรอันเกิดขึ้นทั้งหมดจากเกษตรกร ท่ีมีผลกระทบต่อการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ ผลกระทบทางภมู ิสังคม และผลกระทบเชงิ เศรษฐกิจ โดยมีการออกแบบและพัฒนาระบบ
การรับรองให้มีความเชื่อมโยงกับหลักการมาตรฐาน มีความน่าเชื่อถือ และสร้างความทัดเทียมกับมาตรฐาน
การเกษตรอนิ ทรียใ์ นระดบั ชาติและระดบั สากล ทงั้ นี้ ยังคงไว้ซ่ึงบรรทัดฐานอตั ลกั ษณ์ของความเปน็ EarthSafe
อินทรีย์วิถีไทย ซ่ึงระบบรับรองหน่ึงเดียวที่ให้ความสาคัญต่อการคงไว้ซ่ึงรากเหง้าของความเป็นไทย อันได้แก่
วิถีชีวิตการเกษตร ศาสตร์พระราชาทท่ี รงพระราชทานแก่คนไทย และความมนั่ คงอาหารของไทย

41

มลู นธิ ิรกั ษ์ดินรกั ษ์นา้ ซ่งึ มรี ะบบการรับรองพฤติกรรมและผลสมั ฤทธิ์ทางการเกษตรแบบองคร์ วมในวิถี
ความเป็นไทย เล็งเห็นว่า การเปลี่ยนแปลงดังที่กล่าวได้มาข้างต้น อาจสร้างผลกระทบในระยะยาวต่อความ
ม่ันคงทางอาหารของคนไทย หากผู้ผลิตและผู้บริโภคผลผลิตทางการเกษตรยังอยู่ตกอยูภายใต้ความไม่รู้และ
ความไม่เข้าใจในวิถีท่ีมุ่งสู่ความย่ังยืนของทรัพยากรด้านอาหาร อาจทาให้เกิดความเสียหายต่อสภาพภูมิสังคม
การเกษตรของไทยในระยะกลางและระยะยาว อยา่ งไรกด็ ี การแก้ไขปัญหาทก่ี าลงั เกดิ ข้นึ อยู่น้ี เต็มไปดว้ ยความ
ซับซ้อนและมีบริบทที่หลากหลายจากท้ังฝัง่ ผู้ผลิตและผ้บู ริโภค มูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้า มีความเช่ือมั่นว่า หน่ึงใน
ปัจจัยพ้ืนฐานและตัวกลางท่ีจะคอยเชื่อมประสานให้เกิดการปรับตัวต่อการผลิตและการบริโภคในสังคม
การเกษตรแหง่ ความยง่ั ยืน คือ ระบบการรบั รองเกษตรกรและการรับรองผลผลติ ทางการเกษตร ซึ่งเปน็ รปู แบบ
กฎเกณฑ์ และกระบวนปฏิบัติทางการเกษตรทเี่ ป็นเคร่ืองมือยืนยนั ว่า ผผู้ ลิตไดผ้ ลิตและใช้ทรัพยากรตา่ งๆ ดว้ ย
ความรับผิดชอบ (Responsible production) และผู้บริโภคท่ีได้รับการให้ความรู้ที่ถูกต้องต่อผลผลิตท่ีมีการ
รับรองได้อุปโภคและบริโภคผลผลิตทางการเกษตรด้วยความตระหนักในคุณค่าและมีความรับต่อชอบ
(Responsible consumption)

อย่างไรก็ดี แม้จะมีระบบรับรองภายใต้คาว่า “มาตรฐานเกษตรอินทรีย์” และ “การรับรองเกษตร
อินทรีย์” อยู่จานวนหน่ึง แต่เมื่อมีการเปรียบเทียบบรรทัดฐานของการรับรองจากต้นน้าถึงปลายน้าแล้ว กลับ
พบว่า มาตรฐานและการรับรองท่ีมีมาตรฐานที่มีอยู่น้ัน เกิดขึ้นจากการวางมาตรการให้ครอบคลุมแบบกว้างๆ
(Generalized) และการทาให้เป็นพ้ืนฐานของการเกษตรในระบบใหญ่หรือในระดับนานาชาติ (Normalized)
แตข่ าดคณุ ลักษณะในมมุ มองของความเป็นไทยและบรบิ ทท่สี อดคล้องกับการเกษตรในระดบั ท้องถ่ิน ไดแ้ ก่ ภูมิ
ปัญญาอาหาร ภูมิสังคม อัตลักษณ์ท้องถิ่น วิถีชีวิตความเป็นไทย การใช้ศาสตร์พระราชาเพ่ือแก้ไขปัญหาชีวิต
อย่างรู้คิดและย่ังยืน การมีค่าใช้จ่ายในมูลค่าสูงในการรับรองมาตรฐานจากต่างประเทศ รวมไปถึงการขาด
มาตรฐานทางการเกษตรทเ่ี ป็นของประชาชนคนไทยและมคี วามทัดเทยี มในระดับสากลอย่างแท้จรงิ

ด้วยสาเหตุที่กล่าวมาข้างต้น ผู้ก่อต้ังมูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้า จึงได้จัดต้ังคณะทางานท่ีออกแบบและ
พัฒนาบรรทัดฐาน EarthSafe อินทรีย์วิถีไทย ที่ถูกทดลองและสร้างผลลัพธ์เชิงประจักษ์โดยครอบครัว
EarthSafe มาก่อนแล้วเป็นทุนเดิม มาสู่การเป็น มาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย มาตรฐานการเกษตรท่ีคงไว้ซ่ึงอัต
ลกั ษณข์ องประเทศไทย วิถชี ีวติ ของไทย การมีสว่ นร่วมของเกษตรกร ตลาด และผบู้ รโิ ภคตง้ั แต่ระดบั ท้องถิ่นถึง
ระดบั นานาชาติ โดยใชห้ ลักภมู สิ ังคมและศาสตรพ์ ระราชาเปน็ รากฐานในการพัฒนา ภายใตม้ าตรฐานแหง่ ความ
เป็นไทย (ของคนไทย เพ่ือคนไทย โดยคนไทย) ระบบการรับรองมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยจึงเปิดกว้างสาหรับ
การเข้าถึงจากเกษตรกรในทุกระดับ ต้ังแต่เกษตรกรรายย่อยจนถึงเครือข่ายการเกษตรขนาดใหญ่ ในทุกพื้นที่
ของประเทศไทย โดยไม่แบ่งเชื้อชาติ ชนชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม รวมถึงพัฒนาให้เกิดแบบแผนการ
ดาเนินในลักษณะกิจกรรมท่ีสร้างผลกระทบต่อสังคมการเกษตรในระดับท้องถิ่น จึงไม่มีการเรียกรับหรือเรียก


Click to View FlipBook Version