The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารรายงานวิจัย เรื่อง กลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ตามโครงการยกระดับคุณภาพการวิจัยและพัฒนาชุมชนของหน่วยงานสังกัดสถาบันการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cdlc Udon, 2022-03-24 07:01:43

วิจัย เล่ม 2 กลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาตินาเรียง

เอกสารรายงานวิจัย เรื่อง กลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ตามโครงการยกระดับคุณภาพการวิจัยและพัฒนาชุมชนของหน่วยงานสังกัดสถาบันการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

92
2.2.3 กจิ กรรมเอามือ้ สามัคคี
กิจกรรมเอาม้ือสามัคคี คือ การลงแขก ร่วมแรง เอาแฮง ช่วยกันทางานหรือกิจกรรมของกลุ่ม
คนท่ีรู้จักใกล้ชิดกัน สร้างกลไกทางภาคีเครือข่ายร่วมกัน เอาม้ือสามัคคีไม่ได้สร้างแค่กายภาพและสิ่งท่ีพากัน
มาข่วยกันขุดดินเท่าน้ัน แต่เอาม้ือสามัคคีคือการสร้างสังคมที่ดีงาม ช่วยเหลือ และก่อให้เกิดการเก้ือกูลกัน ซึ่ง
เอาม้ือสามัคคี เบ้ืองหลังทางทฤษฎีคือมาจาก ส.ค.ส. พระราชทาน เมื่อปี พ.ศ. 2547 ที่ในหลวงรัชกาลท่ี 9
พระราชทานเป็นฉบับสุดท้ายท่ีท่านปรุงด้วยพระองค์เอง หากมองเผิน ๆ อาจจะเป็นเพียงแผนท่ีประเทศไทย
แต่มีเพียงน้อยคนท่ีเข้าใจถึงนัยยะความห่วงใยของพระองค์ท่านท่ีส่อื สารผ่านภาพ ส.ค.ส. พระราชทานในปนี น้ั
ตรงกลางภาพจะเปน็ แผนที่ประเทศไทย และมีระเบิดอยู่ 4 ลูก ท่จี ดุ ชนวนอยู่รายล้อมประเทศไทยไว้ มีอกั ษรท่ี
เขียนไว้ว่า มีระเบิดเกือบท่ัวโลก เปรียบเสมือนว่าพระองค์ทรงเตือนว่าเรากาลังจะเจอวิกฤต 4 ด้าน น่ั นก็คือ
วิกฤตภัยธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พอวิกฤตอย่างแรกเกิดขึ้นวิกฤตทางสังคมก็จะตามมา จะเกิดโรคระบาดใน
พืช ในสัตว์ ในคน และเม่ือเกิดสองส่ิงน้ีแล้ว วิกฤตต่อมาคือเศรษฐกิจตกต่า ข้าวยากหมากแพง เม่ือถึงช่วงน้ัน
เราทุกคนจะรู้ว่า “เงินทองเป็นของมายา ข้าวปลาสิของจริง” ส่วนวิกฤตสุดท้ายคือภัยสงครามกลางเมือง
ทง้ั หมดน้ีเป็นที่มาของคาวา่ เอามอื้ สามัคคี
หากเราพิจารณาอย่างถ่ีถ้วน เราจะเหน็ คาว่า สามัคคีเป็นพลังค้าจุนแผน่ ดินไทย ตรงกลางจะมี
เสน้ อยู่ 3 เส้น คา้ จนุ ประเทศไทย ถ้าเรารักษาไวไ้ ด้ เราจะอยู่รอด นนั่ ก็คอื

“ชาติ คือ แผ่นดนิ ประชาชนที่มีกลมุ่ ชาติพันธ์ทุ ห่ี ลากหลาย
ศาสนา คือ ศีลธรรมอันดีงามท่อี ย่ใู นคาสอนของแต่ละศาสนาท่เี รานับถือกัน
พระมหากษัตริย์ คอื สถาบันที่ชว่ ยยดึ เหนีย่ วจติ ใจ เปน็ ศูนย์รวมใจของคนในชาติ”

ภาพที่ 11 แสดงถึง ส.ค.ส. พระราชทาน ปี พ.ศ. 2547

93
ดังน้ัน เบื้องหลังทฤษฎเี อาม้อื สามัคคีมาจากสามัคคีเป็นพลงั ค้าจนุ แผ่นดินไทย เราทาแต่ละจุด
ที่เล็ก ๆ อยู่ท่ีบ้านของเราให้ได้ก่อน แล้วจึงมารวมตัวก่อข้ึนเป็นสังคม หากเราช่วยกันทาแบบนี้ มีความสามัคคี
เกื้อกูลกัน เราจะอยู่รอดได้ และการพึ่งตนเอง เราต้องเร่ิมจากฐานทรัพยากรของ ตัวเราเองก่อน ทรัพยากรที่
สาคัญที่สุดก็คือ น้า การเก็บรักษาน้า และดิน มีดินท่ีอุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุอาหาร ทั้งหมดน้ี คือ หัวใจของ
ความมั่นคงทางอาหาร เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติจึงใช้กระบวนการเอามื้อสามัคคี เป็นพลังในการขับเคลื่อน
งานของ ในหลวงรชั กาลที่ 9 ชว่ ยกนั ทางาน ขดุ ดนิ ขุดแปลง ขดุ หนอง ปลกู แฝก ปลกู ตน้ ไม้ ห่มดนิ ทาปยุ๋ หมัก
ชีวภาพใช้เอง ซึ่งเราจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันไปให้ครบทุกแปลงของสมาชิกในเครือข่าย สาหรับอาหารการ
กิน เราก็ช่วยทาช่วยกันหามารวมกัน กิจกรรมนี้จะทาให้เรามีความรักสามัคคี และเป็นเครือข่ายที่เข้มแข็งมาก
ขน้ึ เช่นเดยี วกบั ชุมชนกสิกรรมธรรมชาตคิ รสิ ตจกั รนาเรยี ง ท่ไี ดใ้ ช้กจิ กรรมนเี้ ขา้ มาชว่ ยพฒั นาพ้ืนที่ในแปลงของ
สมาชิกในชุมชนด้วยเช่นกัน ซึ่งท่ีผ่านมาได้มีการร่วมกันเอามื้อสามัคคีในพื้นที่มากกว่า 100 คร้ัง นับตั้งแต่ปี
2560 จนถงึ ปัจจุบนั โดยกจิ กรรมเอามอื้ สามัคคีที่ยิง่ ใหญ่ทส่ี ุด คอื “พลังคนสรา้ งสรรค์โลก รวมพลงั ตามรอยพ่อ
ของแผน่ ดิน” ปีที่ 5 แตกตัวทั่วไทย สานพลังสามคั คี ท่ีมผี เู้ ขา้ รว่ มจาก 7 ภาคี มากกวา่ 1,000 คน
รวมทั้งกิจกรรมเอามื้อสามัคคีถูกขยายวงกว้างออกไป ในแปลงของสมาชิกสภาคริสตจักร
นาเรียง และเครือข่าย โคก หนอง นา ของอาเภอศรีธาตุ และอาเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี และในปี
พ.ศ. 2561 ได้มีการก่อตั้งเปน็ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรยี ์วถิ ีไทยคริสตจักรนาเรียง พร้อมทั้งมีการ
จัดงานวันดินโลกข้ึนอย่างย่ิงใหญ่ ซึ่งมี ดร.วิวัฒน์ ศัลยกาธร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขณะน้ัน เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดอุดรธานี มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ
มลู นธิ ริ ักษ์ดนิ รกั ษน์ ้า สถาบนั การศกึ ษา และภาคเี ครือข่ายการพัฒนาทงั้ 7 ภาคี เข้ารว่ มงาน ถอื ว่าเปน็ ประกาศ
ความพร้อมท่ีสามารถเปิดโอกาสให้ประชาชนท่ีมีความสนใจ อยากเข้าศึกษาเรียนรู้แนวพระราชดารทิ ฤษฎีใหม่
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

ภาพที่ 12 แสดงถึงกิจกรรมเอามื้อสามัคคีของชุมชนกสกิ รรมธรรมชาติคริสตจกั รนาเรยี ง

94

2.2.4 การสรา้ งเครอื ข่ายการพฒั นาชุมชน
ปัจจุบันชุมชนกสิกรรมธรรมชาติคริสตจักรนาเรียง เป็นจุดเรียนรู้ต้นแบบสาหรับการพัฒนา
พื้นที่ต้นแบบ โคก หนอง นา ของกรมพัฒนาชุมชน ที่ได้เกิดข้ึนความร่วมมือของภาคีเครือข่ายท้ัง 7 ภาคส่วน
และอีกปัจจยั สาคัญ คอื กรมการพัฒนาชุมชนเลอื กชมุ ชนนาเรยี ง ตาบลตาดทอง อาเภอศรธี าตุ จงั หวัดอุดรธานี
เป็นจุดขยายผลตามโครงการขับเคล่ือนพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามหลักทฤษฎีใหม่ของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
โดยได้รับงบประมาณจากกรมการพัฒนาชุมชน สาหรับการออกแบบพื้นที่และขุดปรับแต่งหลุมขนมครก และ
คลองไส้ไก่ ให้เป็นไปตามหลักการของ โคก หนอง นา โมเดล พร้อมท้ังได้มีการสร้างฐานเรียนรู้ จุดเรียนรู้ตาม
หลักกสิกรรมธรรมชาติข้ึน บนพื้นท่ีแปลงของลุงแสวง ศรีธรรมบุตร หลังจากดาเนินการพัฒนาพ้ืนที่เรียบร้อย
แล้ว ทางสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอุดรธานี ได้กาหนดการช่วยเหลือกันและกันผ่านกิจกรรมการเอาม้ือ
สามัคคี เพ่ือสร้างกระบวนการเรียนรู้โดยเร่ิมจากจุดเล็ก ๆ ทาแบบคนจน เรียนรู้จากการปฏิบัติ จนก่อให้เกิด
ความเช่ียวชาญ เกิดพลัง ขยายเครือข่ายความร่วมมือ ซ่ึงถือว่าเป็นการ Kick Off จุดขยายผลพื้นท่ีต้นแบบ
โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน ของจังหวดั อดุ รธานี
กระบวนการขับเคลื่อนพ้ืนท่ีต้นแบบ โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน เกิดจากการท่ีเจ้าหน้าที่
พัฒนาชุมชนที่มีความเข้าใจในการทางานท่ีชัดเจน เรียนรู้หลักกสิกรรมธรรมชาติ ใช้การมีส่วนร่วมของ
ประชาชนเข้ามาออกแบบการดาเนินงานร่วมกันกับเจ้าของแปลง ครัวเรือนต้นแบบ เครือข่ายกสิกรรม
ธรรมชาติ สภาคริสตจักรนาเรียง ผู้นาชุมชน และประชาชนในชุมชน ท้ังหมดได้จัดเวทีประชุมหารือกัน สร้าง
ความเข้าใจร่วมกันให้ชัดเจน รวมทั้งพัฒนากรตาบลท่ีรับผิดชอบงานดังกล่าว ได้มีการลงพ้ืนท่ี ทางานร่วมกัน
กับเจ้าของแปลงและชุมชนอย่างใกล้ชิด มีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน จนทาให้เจ้าของแปลงท่ีเป็น
ครัวเรือนเป้าหมายต่างให้ความไว้วางใจ และเห็นความตั้งใจท่ีเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนที่ทุ่มเทให้กับงานที่ต้องใช้
ภาคีเครือข่ายรว่ มกันขับเคลือ่ นงานใหส้ าเร็จ

2.2.5 ความสาเร็จของชุมชน
ปัจจัยความสาเร็จของการขับเคลื่อนพื้นท่ีต้นแบบ โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน ในพ้ืนท่ีชุมชน
กสกิ รรมธรรมชาติครสิ จกั รนาเรยี ง นบั ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจบุ ัน ปจั จัยหลัก คอื เกดิ จากการมีส่วนร่วม
ท้ัง 3 ภาคส่วน ค ร บ ได้แก่ สภาคริสตจักร เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน และประชาชนในชุมชน ท้ังสามภาคส่วนน้ี
มีความสาคัญท่ีช่วยทาให้การขับเคล่ือนงานให้สาเร็จผลได้ จุดสาคัญของชุมชนคริสตจักรนาเรียง คือ สมาชิก
ของชุมชนจะใช้โบสถ์คริสต์ท่ีอยู่เป็นศูนย์กลางของชุมชน ในการพบปะพูดคุยแลกเปล่ียนการทางานของชุมชน
ร่วมกันเป็นประจาอยู่แล้ว เนื่องจากทุกคนจะต้องเข้ามาปฏิบัติศาสนกิจที่โบสถ์คริสต์ของชุมชนทุกสัปดาห์
และผลของการขับเคล่ือนพ้ืนที่ โคก หนอง นา โมเดล ทาให้เห็นภาพชัดเจนที่สุดในการปฏิบัติตนตามทฤษฎี
บันได 9 ข้ันสู่ความพอเพียง นั่นคือ ข้ันที่ 5 บุญ และ ขั้นที่ 6 ทาน เพราะชาวบ้านจะนาอาหารปลอดภัย ท้ัง
พืชผัก ผลไม้ ที่ได้จากสวนมาถวายท่ีโบสถ์ และร่วมทานอาหารพร้อมกัน จึงเกิดความสัมพันธ์ท่ีดี จุดนี้กลาย
เป็นจดุ แข็งของชมุ ชนทที่ าใหเ้ กิดภาพการทางานท่ีมีความชดั เจน และสร้างกระบวนการมสี ่วนร่วมตัง้ แตข่ ้ันตอน
ร่วมคิดวางแผน ร่วมลงมอื ทา และร่วมรบั ผลประโยชน์

95
การทางานใด ๆ น้ัน จาเป็นต้องร่วมกันขับเคลื่อนงานด้วยกันจากหลายฝ่าย ซึ่งมักจะต้องเจอ
ปัญหาอุปสรรคเสมอ แตก่ ็ไม่ใช่ปญั หาที่ใหญ่ เปน็ เพียงปัญหาการสื่อสารที่ยังไมเ่ ข้าใจตรงกัน ทาใหบ้ างคร้ังการ
ดาเนินงานขาดความต่อเนื่อง เน่ืองจากบางคนน้อยใจหรือมองว่าตัวเองไม่มีความสาคัญ รวมทั้งถูกคนใน
ครอบครัวต่อว่าเก่ียวกบั การเข้าร่วมกิจกรรมเอามื้อสามัคคี แตท่ ุกคนก็สามารถปรบั ความเข้าใจกันได้ ใชว้ ิธีการ
พูดคุย แลกเปล่ียนความคิดเห็น ปรับทัศนคติของคนในครอบครัว ลงมือทาอย่างต้ังใจ ปฏิบัติให้เกิดผลจริงจัง
และทกุ ฝา่ ยจะหาทางออกของปัญหาร่วมกนั ตามหลกั

ค ภาคศาสนา คือ สภาคริสจักรนาเรียง
ร ภาคราชการ คือ สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอ/จังหวัด
บ ภาคประชาชน คอื ชุมชนกสกิ รรมธรรมชาตคิ ริสจักรนาเรียง หม่บู า้ นนางาม

ภาพท่ี 13 แสดงถึงการมีสว่ นร่วมของสมาชิกชุมชนกสกิ รรมธรรมชาตคิ รสิ ตจักรนาเรียง
2.2.6 การต่อยอดสธู่ รุ กิจชมุ ชนท่เี ขม้ แข็ง
สิ่งที่เกิดขึ้นจากทฤษฎีบันได 9 ข้ันสู่ความพอเพียง ในข้ันท่ี 8 คือ ขาย และ ขั้นท่ี 9 คือ

เครือข่าย เรียกได้ว่าเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในระดับก้าวหน้า เมื่อผลผลิตทางการเกษตรของสมาชิกภายใน
ชุมชนคริสตจักรนาเรียงได้ถูกดาเนินการในขั้นท่ี 5 บุญ ข้ันท่ี 6 ทาน มาแล้วนั้นจะเข้าสู่ในข้ันที่ 7 คือ เก็บไว้
เมื่อขาด น่ันก็คือการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ในรูปของการถนอมอาหาร การหมัก การดอง หรือการ
บรรจุภัณฑ์ เพื่อเก็บไว้รับประทานในยามจาเป็น แต่เราต้องยอมรับว่า สังคมไทยในปัจจุบัน ยังมีความ
จาเป็นต้องแลกเปลี่ยนสินค้า ใช้เงินตราเพื่อดารงชีวิต ดังน้ันส่ิงท่ีจะช่วยให้เกษตรกรมีรายได้เพื่อใช้จ่ายใน
ครอบครัว จึงเป็นบันไดข้ันท่ี 8 น่ันก็คือ การจาหน่ายสินค้า แต่เราไม่สามารถอยู่รอดบนโลกคนเดียวได้ เรา
จาเป็นต้องมีเพ่ือน เช่นเดียวกันกับการจาหน่ายสินค้าทางการเกษตร เราไม่สามารถหาตลาดเองคนเดียว ไม่
สามารถไปขายสินคา้ เฉพาะครอบครวั ตนเองได้เท่าน้ัน เรายังจาเป็นต้องมีเพอื่ นท่ีมีผลผลติ เหมือนกันกับเราด้วย
น่นั จึงเปน็ ท่มี าวา่ ทาไม เราจงึ ต้องจาหน่ายสนิ คา้ ร่วมกัน มีการรวมกลุม่ ของเกษตรกร เพ่อื สามารถสง่ สินค้าออก

96
ไปจาหนา่ ยนอกชุมชนได้ ประหยดั ตน้ ทนุ การขนส่งสินคา้ และมเี ครอื ขา่ ยท่ีใหญ่ข้ึน เพ่ือทาให้การกระจายสินค้า
ทางการเกษตร และสนิ ค้าแปรรูปให้เขา้ ถึงผบู้ รโิ ภคได้ทกุ ระดับ

ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง ถือว่าเป็นชุมชนหน่ึงที่
ประสบความสาเรจ็ ของการได้รับมาตรฐานอนิ ทรยี ว์ ิถีไทย พร้อมท้งั ได้รับการส่งเสริมให้มชี ่องทางการตลาดของ
สินค้าเกษตรอินทรีย์ โดยได้รับความช่วยเหลือจากมูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้า เข้ามาส่งเสริมให้ความรู้ ต่อยอดการ
แปรรูปผลิตภัณฑ์ และสร้างแบรนด์สินค้าให้มีความน่าสนใจและน่าเชื่อถือจากผู้บริโภค ปัจจุบันได้มีการส่งผล
ผลิตทางการเกษตรทั้งผักปลอดสารพิษ ผลไม้อินทรีย์ และสินค้าแปรรูปทางการเกษตรเข้าไปจาหน่ายอยู่ที่
ห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัลพลาซ่า อุดรธานี พร้อมทั้งมีการช่วยจัดหาช่องทางการตลาดให้มากข้ึน ทาให้สมาชิก
ของชุมชนมรี ายไดเ้ พิม่ มากขนึ้

ภาพที่ 14 แสดงถงึ ความหมายของมาตรฐานอนิ ทรีย์วถิ ไี ทย
มาตรฐาน Earth Safe หรือ อินทรีย์วิถีไทย เป็นความตั้งใจให้เกษตรกรเปลี่ยนจากเกษตรเคมี เป็น
เกษตรอินทรีย์ ถ้าเกษตรกรไม่มีวิถีชีวิตพอเพียงตามหลักทฤษฎีใหม่ และดาเนินชีวิตตามทฤษฎีบันได 9 ขั้น
แห่งความพอเพียง ก็จะเป็นเศรษฐกิจตาโตเช่นเดิม ปลูกเพ่ือขายเช่นเดิม ปลูกพืชเชิงเด่ียวเช่นเดิม ทาลายป่า
เช่นเดิม ปลูกตามตลาดเช่นเดิม แห่กันปลูกตามตลาด แห่กันตายเหมือนเดิม ดังนั้นจึงเห็นความสาคัญมากกว่า
การทาเกษตรอินทรีย์ แต่ต้องมีวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วย จึงจะทาให้เกษตรกรมี
คุณภาพชีวิตที่ดีและม่ังคง มูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้า เข้ามาเพ่ือยกระดับสินค้าของครัวเรือนเปา้ หมายที่มีพ้ืนที่ โคก
หนอง นา ให้ได้รับมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย หรือ Earth Safe ซ่ึงเห็นได้จากตัวอย่างความสาเร็จของชุมชน
คริสตจักรนาเรียง ท่ีได้รับการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ สินค้าทางการเกษตร ทาให้สมาชิกของชุมชน
มรี ายได้ตลอดทงั้ ปี มีคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ี และครอบครัวมคี วามสขุ อยา่ งแทจ้ ริง

97

3. กาหนดกลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จังหวัด
อดุ รธานี

จากการศึกษาแบบบันทึกการประชุมเชิงปฏิบัติการของกลุ่มเป้าหมายที่เป็นสมาชิกกลุ่มกสิกรรม
ธรรมชาติ จานวน 10 คน และผู้นาชุมชน ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 10 คน จากการศึกษาแนวคิดการกาหนด
ยุทธศาสตร์ สามารถแบ่งกลยทุ ธอ์ อกเป็น 5 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ (1) แนวคิด หลักการและเหตุผล (2) เปา้ หมาย
(3) เนือ้ หาสาระ ประกอบดว้ ย การกาหนดทิศทาง การประเมินสภาพแวดล้อม การกาหนดกลยุทธ์ และการนา
กลยุทธไ์ ปสูก่ ารปฏิบตั ิ (4) กระบวนการและวิธกี าร (5) การตดิ ตามประเมินผล กลยทุ ธก์ ารสร้างความม่นั คงทาง
อาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักร
นาเรียง อาเภอศรธี าตุ จังหวัดอดุ รธานี ผลการศึกษา พบวา่

3.1 การกาหนดทิศทางของการขับเคลอ่ื นการสร้างความมน่ั คงทางอาหาร
3.1.1 สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายใน

ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นพ้ืนฐานของความม่ันคงทางอาหาร โดยทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่ในชุมชน
ประกอบด้วย น้า ป่าไม้ และดิน ได้ช่วยทาประโยชน์แก่คนในชุมชนทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อสร้างและเปน็
พ้ืนฐานทก่ี อ่ ให้เกิดความมั่นคงทางอาหารให้แก่ครอบครัวและชมุ ชน ได้แก่

1) ทรพั ยากรแหลง่ นา้ ถอื วา่ เป็นแหลง่ ทอ่ี ุดมสมบรู ณ์ ด้วยทีต่ ง้ั ทางภมู ศิ าสตร์อยู่ติดกับ
ลาน้าปาวที่ไหลผ่านให้เกษตรกรได้ใช้หล่อเลี้ยงทั้งชีวิตและเพาะปลูก นอกจากนั้นในอดีตยังเป็นแหล่งท่ี
ชาวบ้านใช้หาปลาเพื่อนามาเป็นอาหาร ลักษณะท่ีสาคัญของลาน้าปาวมีความอุดมสมบูรณ์มากในด้าน
ทรัพยากรอาหารที่หล่อเล้ียงผู้คนมายาวนาน เป็นทางน้าไหลไปลงยังเข่ือนลาปาว ในเขตจังหวัดกาฬสินธ์ุ
โดยยังคงรักษาความชุ่มชื้นอยู่ จึงเป็นท่ีอาศัยของกบ เขียด หอย ปู ปลา ชาวบ้านจะลงไปหาสัตว์น้าต่าง ๆ
เพื่อนามาปรุงเป็นอาหารได้ทั้งกลางวันและกลางคืน ตามริมน้าสามารถเข้าไปปลูกพืชผักได้รวมทั้งพืชผักตาม
ธรรมชาติข้ึนมามากมายหลังจากที่น้าลด ถือได้ว่าลาน้าปาวมีส่วนสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน โดยเฉพาะ
ชาวบ้านที่ใช้ประโยชน์ในการจับปลาเล้ียงชีพ และเป็นอาชีพที่สาคัญในระดับต้นๆ ของครอบครัว ซึ่งสามารถ
หาปลามาประกอบอาหาร เอาไปขายเพื่อมาซ้ือเครื่องอุปโภคบริโภคอ่ืน ๆ แต่ในปัจจุบันลาน้าปาวได้รับ
ผลกระทบจากโรงงานนา้ ตาลในเขตอาเภอกมุ ภวาปี จังหวดั อุดรธานี และไดร้ บั ผลกระทบจากการใชส้ ารเคมีใน
ภาคการเกษตร โดยเฉพาะการปลูกอ้อย ทาให้มสี ารปนเป้ือนในลาน้าเพิ่มมากข้ึน สง่ ผลให้พืชท่เี ป็นอาหารตาม
ธรรมชาติเรมิ่ หาไดย้ ากมากขึน้ สตั ว์นา้ ท่อี ยู่ในลาน้าปาวมจี านวนชนดิ ทหี่ ลากหลายนอ้ ยลง

2) ทรพั ยากรปา่ ไม้ ถือว่าเปน็ แหล่งอาหารทีส่ มบูรณ์ให้กับคนในชุมชน แตใ่ นปจั จุบันมี
พ้ืนที่ป่าไม้เหลือประมาณ 20 % ของพื้นที่ท้ังหมด สภาพป่าโดยท่ัวไปเป็นลักษณะของป่าเต็งรัง ป่าโปร่ง มี
ต้นไม้ขึ้นอยู่ประปรายไม่หนาแน่น ประกอบไปด้วยไม้เน้ือแข็ง ได้แก่ ไม้มะค่าโมง ตะเคียนทอง ประดู่ เต็งรัง
แดง และตะแบก มีพื้นท่ีอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติท่ีจัดอยู่ในประเภทป่าเสื่อมโทรม และมีเขตที่ดิน สปก.
ปัจจบุ นั ปา่ ชมุ ชนลดเหลือนอ้ ยลง เนอื่ งจากการบุกรุกเพือ่ ทาสัมปทานป่าไม้ และพฒั นาพนื้ ท่ีทางดา้ นการเกษตร

98

3) ทรัพยากรดิน ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติคริสตจักรนาเรียง มีที่ดินเพื่อผลิตอาหาร
และ ผลติ สนิ ค้า สรา้ งความมนั่ คงทางอาหาร ให้แก่ตนอยา่ งพอเพยี ง โดยมีท่นี าสาหรับปลกู ข้าวสลับท่ีไร่ที่ใช้ทา
ไร่อ้อย ซึ่งต้องใช้สารเคมี ยาฆ่าแมลงเป็นจานวนมากในการทาการเกษตรแต่ละครั้ง ส่งผลกระทบให้ดินเสื่อม
คุณภาพ ปลูกพืชได้ผลผลิตน้อยลง และพืชผักพ้ืนบ้าน และพืชที่ใช้เป็นอาหารตามะรรมชาติถูกทาลายและสญู
พันธุ์ไปเป็นสจานวนมาก แต่ในปัจจุบันมีกลุ่มเกษตรกรที่ได้รวมตัวกันทาตามหลกั กสิกรรมธรรมชาติ โดยมีการ
ปรับปรุงบารุงดิน ฟื้นฟูดินด้วยศาสตร์พระราชาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 หลักการห่มดิน
ทเี่ รยี กว่า “แหง้ ชามนา้ ชาม” ทาใหส้ ภาพดนิ เรมิ่ กลับมามคี ณุ ภาพดขี นึ้ สามารถปลูกพชื ไดผ้ ลดขี ้นึ

3.1.2 สถานการณ์ด้านการพึ่งตนเองด้านอาหารของชุมชน ชุมชนมีการจัดระบบบริหาร
จัดการแหล่งอาหาร จานวน 2 แหล่ง คือ แหล่งอาหารที่ผลิตเองในพื้นที่แปลงเกษตรของครัวเรือน และแหล่ง
อาหารตามธรรมชาติที่ชุมชนร่วมกันบริหารจัดการพื้นท่ี มีกฎกติกา ข้อห้าม และข้อตกลงร่วมกันในการใช้
ประโยชน์ ซ่งึ แบง่ การอธบิ ายตามมติ ขิ องการสร้างความมัง่ คงทางอาหาร ได้แก่

1) ชุมชนสามารถเขา้ ถงึ อาหารท่ีปลอดภยั ทุกคนสามารถเข้าถึงอาหารปลอดภยั ได้โดย
เท่าเทียมกัน ทุกคนต้องอ่ิมท้อง มีอาหารสด อาหารแห้ง อาหารแปรรูปรับประทานตลอดท้ังปี ทั้งเกิดเองตาม
ธรรมชาติ และปลูกเอง มีอาหารแลกเปลี่ยนผลผลิตกัน มีอาหารได้กินตลอดโดยไม่ต้องซื้อ และเม่ือมีเพียงพอ
สามารถนาไปขายเพื่อสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับครอบครวั หรอื ชมุ ชนได้

2) ชุมชนมีปริมาณอาหารที่เพียงพอและอาหารมีความปลอดภัย แต่ละครัวเรือนมี
อาหารที่เพยี งพอจะเกิดข้ึนในกลมุ่ ที่รวมตัวกนั เช่น กลมุ่ กสิกรรมธรรมชาติ กลมุ่ วิสาหกิจชุมชนท่จี ดั ตงั้ ข้ึนและมี
หน่วยงานสนับสนุนท่ีเป็นระบบ แต่ในภาพใหญ่ของชุมชนยังมีการหาซื้ออาหารอยู่ แต่การได้มาซ่ึงอาหารท่ี
ปลอดภัย ต้องเป็นแหลง่ ผลติ ที่คนในชมุ ชนผลติ เอง

3) ชุมชนสามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งอาหารที่ผลิตเอง ทุกคนสามารถใช้ประโยชน์
จากแหล่งอาหารผลิดเอง และแหล่งอาหารตามธรรมชาติได้ เพราะทุกครัวเรือน หรือกลุ่มที่จัดต้ังข้ึน มีอาณา
บริเวณท่ีเป็นกรรมสิทธิ์ในการจัดการพ้ืนที่เป็นของตนเอง คนในชุมชนจึงสามารถใช้ประโยชน์กับท่ีดินทากินได้
อยา่ งทวั่ ถงึ

4) ชุมชนจะสามารถอยรู่ อดได้ และมีอาหารทเ่ี พยี งพอและพร้อมรองรับต่อวกิ ฤตการณ์
ตา่ ง ๆ ทุกคนสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากแหลง่ อาหารผลิดเองไดแ้ ละทกุ ครัวเรือน แตเ่ ราตอ้ งเพม่ิ ปริมาณการปลูก
ให้มากขึ้น และรณรงค์ให้คนในหมู่บ้าน แต่ละครัวเรือนปลูกไว้สาหรับตนเอง เพราะเท่าท่ีมีในปัจจุบันสามารถ
อยู่รอดได้ในระยะหนึ่งปี และการเพ่ิมผลผลิตทางด้านอาหารก็ย่อมมาจากแหล่งผลิตเดิมของชุมชน คือ การ
ปลูกพืชผักจะใชเ้ มลด็ พนั ธเ์ุ ดมิ ทปี่ ลกู ไวแ้ ล้ว การเล้ียงสัตวก์ ็ใช้พ่อพันธุ์แม่พนั ธทุ์ ่มี ีอยแู่ ล้ว

3.1.3 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนมีการพ่ึงตนเองและใช้ประโยชน์
จากทรัพยากรอาหารที่มีอยู่ในชุมชนเป็นหลัก การดารงชีวิตแบบพอเพียงนั้น จะต้องเร่ิมท่ีการปรับตัวเองก่อน
โดยมุ่งเน้นให้เกดิ การสรา้ งฐานการพ่ึงตนเองตามหลกั 4 พอ หรือเปรยี บเสมอื นบา้ นทีต่ อ้ งมีเสาอย่างนอ้ ย 4 เสา
เพ่ือเป็นรากฐานของชวี ติ ใหม้ ่ันคง ซงึ่ รากฐานของมนษุ ยไ์ มต่ อ้ งการอะไรมาก อธบิ ายไดด้ ังน้ี

99

1) พอกนิ ตอ้ งการของกนิ มีขา้ วปลาอาหารเพียงพอ หมู เห็ด เป็ด ไก่ ในชุมชนนาเรยี ง
มีความอุดมสมบูรณ์ บรรพบุรุษเราเพาะปลูกมาตั้งแต่อดีต มีหน้าท่ีทาการกสิกรรม เพราะต้องสร้างอาหาร
ใหก้ บั มนษุ ยท์ ั้งโลก ดงั น้นั เสาหลักแรกคอื การทาเพอื่ ให้เราอยู่รอด

2) พอใช้ ต้องมีการอุปโภค มีของใช้ท่ีจาเป็น เป็นปัจจัยเสริมสาหรับมนุษย์ เช่น สบู่
ยาสีฟัน ยาสระผม น้ายาลา้ นจาน แต่ถ้ามองในบริบทของเกษตรกร ก็คือ ปัจจัยการผลติ เชน่ ปุ๋ยแห้ง ฮอร์โมน
สารสกดั จากสมุนไพร

3) พออยู่ ต้องมีท่ีอยู่อาศัย มีผืนแผ่นดินเพ่ือใช้ทามาหากิน มีท่ีดิน เป็นของตนเอง
ดินมีความอุดมสมบูรณ์ ปลูกพืชก็เจริญงอกงาม กินผลไม้แล้วหว่านเมล็ดลงไปในดิน แล้วมันสามารถงอกข้ึน
เปน็ ตน้ กล้าและเตบิ โตเปน็ ตน้ ไม้ใหญ่ท่ใี หผ้ ลผลิตได้

4) พอร่มเย็น ต้องมีสภาพแวดล้อมที่ดี มีอากาศที่บริสุทธิ์ มีต้นไม้ใหญ่ ให้ร่มเงาและ
พกั ผอ่ นอย่างมคี วามสุข

5) บุญ ต้องมีความกตัญญูต่อพ่อแม่ ต้องกลับมาเลี้ยงดูท่านยามแก่เฒ่า และต้องตอบ
แทนคุณแผน่ ดิน โดยการฟน้ื ฟูแผ่นดนิ ใหก้ ลับมามคี วามอดุ มสมบูรณ์อีกครงั้

6) ทาน ตอ้ งรู้จกั การให้ รจู้ ักการแบง่ ปันชว่ ยเหลือผู้อ่ืน มผี ลผลติ ทไี่ ด้จากในแปลงของ
ตนเอง อันดับแรกต้องแบ่งปันให้เพ่ือนบ้านและสมาชิกก่อนท่ีจะขาย ใช้วิธีคิดที่เรียกว่า “ยิ่งทาย่ิงได้ ย่ิงให้ยิ่งมี
ยงิ่ ให้ไปยิง่ ไดม้ า” เป็นหัวใจสาคญั ของปรัชญาความพอเพียง

7) เก็บรักษา หลังจากทาบุญทาทานแล้ว ต้องรู้จักเก็บไว้ใช้ภายในครอบครัวตนเอง
ด้วย รู้จักการพ่ึงพาตนเองให้ได้มากที่สดุ ต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง ใช้ชีวิต ท่ีไม่ประมาท ในข้ันน้ีคือ การ
คัดเลือกเก็บเมล็ดพันธ์ุ การเก็บผลผลิตไว้ในยุ้งฉาง การแปรรูปเพ่ือถนอมอาหาร เพ่ือไว้ใช้ในยามวิกฤตหรือภัย
พบิ ัติ เช่น ข้าวกลอ้ ง ปลารา้ ปลาแห้ง พรกิ แห้ง น้าปลา

8) ขาย หรือท่ีเรียกว่าการสร้างธุรกิจยั่งยืน ทาภายใต้การรู้จักตนเอง ไม่ลงทุนมาก
หลายอย่างพร้อมกัน รู้จักพอประมาณและทาไปตามลาดับข้ันตอนท่ีวางแผนไว้ ทาธุรกิจที่ไม่มุ่งหวังไปที่ตัวเงนิ
เพียงอย่างเดียว แต่มุ่งไปที่การเก้ือกูลกัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้และแบ่งปันกัน ตามแก่นของความพอเพียงท่ี
เรียกว่า “ขาดทุนของเรา คอื กาไรของเรา”

9) เครือข่าย สร้างให้เกิดการเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายให้กว้างขึ้น ซึ่งการที่ได้เข้า
ฝึกอบรมจากศูนย์ฝึกกสิกรรมธรรมชาติ ทาให้มีเพ่ือนเพ่ิมมากขึ้น สามารถขยายความร่วมมือ ความช่วยเหลือ
และการแบ่งปันกัน จากหลายกลุ่มหลายฝ่ายที่ทางาน เพื่อสร้างให้เกิดสังคมแห่งการแบ่งปันและเกื้อกูลกันท่ี
ย่ังยืน ปัจจุบันมีการรวมกลุ่มสมาชิกท่ีทางานกัน เรียกว่า กลุ่มกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย
คริสตจกั รนารยี ง

3.1.4 การสรา้ งพลงั การมสี ่วนรว่ มของชุมชน สิง่ ทท่ี าให้ชุมชนเข้มแข็งเกิดจากการมสี ว่ นร่วม
ของคนในชุมชน มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และมีผู้นาที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการอยู่ใน
ชมุ ชน ซ่งึ ชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาติคริสตจกั รนาเรยี งได้ยึดการพฒั นาชุมชน ตามหลกั ค ร บ ไดแ้ ก่

100

ค ภาคศาสนา คอื สภาคริสจกั รนาเรียง
ร ภาคราชการ คอื หน่วยงานราชการระดบั อาเภอ/จงั หวัด
บ ภาคประชาชน คือ ชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาติครสิ จกั รนาเรียง หมบู่ ้านนางาม

3.2 การประเมนิ สภาพแวดล้อม
การวเิ คราะห์สถานการณ์แวดล้อมนัน้ เพื่อวิเคราะห์ภาพรวมของจุดแข็ง จดุ ออ่ น โอกาส และภยั คุกคาม
ท่มี ีผลกระทบต่อการสรา้ งความมน่ั คงทางอาหาร สามารถอธบิ ายดังนี้

3.2.1 จุดแขง็
1) ชุมชนมีทรัพยากรการผลิตทอี่ ุดมสมบรู ณ์และหลากหลายสามารถผลติ อาหารทั้งพืช

ประมง และปศสุ ตั วไ์ ดเ้ พยี งพอสาหรับการบรโิ ภคภายในชมุ ชน แบง่ ปนั เก้อื กูลกนั ให้แก่สมาชิกในชมุ ชน
2) มีการส่งเสริมการผลิตตามแนวทฤษฎีใหม่เศรษฐกิจพอเพียง ทาให้เกษตรกร

สามารถบริหารจัดการทรัพยากรการผลิตท่ีมีอยู่อย่างจากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการใช้ภูมิปัญญา
ท้องถ่ินและวัฒนธรรมท่ีเก่ียวกับการเกษตรและอาหารท่ีมีความเป็นเอกลักษณ์มีชื่อเสียง และจุดขาย สามารถ
ส่งเสรมิ การเพิ่มผลผลติ ในชมุ ชน รวมท้งั ส่งเสรมิ การรวมกลุม่ ของเกษตรกรใหม้ คี วามเข้มแข็ง

3) ประชาชนมีอาชีพหลักทานา ทาไร่ ส่วนใหญ่มีท่ีดินเป็นของตนเอง มีองค์กรต่าง ๆ
ในชุมชนทมี่ ีความเข้มแข็ง เชน่ ศนู ยก์ สกิ รรมธรรมชาติ

4) หมู่บ้าน/ชุมชน มีปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นาชุมชนในด้านต่าง ๆ สามารถเป็นวิทยากร
ได้ และมแี หลง่ เรยี นรู้ดา้ นการผลติ อาหาร เชน่ มีพ้นื ทตี่ ้นแบบ โคก หนอง นา โมเดล ศนู ยเ์ รียนรชู้ ุมชน

5) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นหน่วยงานสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนา
ทอ้ งถิน่ ชุมชนให้มีความเขม้ แข็ง

3.2.2 จุดออ่ น
1) เกษตรกรบางครวั เรือนขาดความเข้าใจในการทาการเกษตรทเี่ หมาะสม ขาดความรู้

ในการบริหารทรัพยากรท่ีดี ซึ่งส่วนใหญ่ยังมีการเน้นปลูกพืชเชิงเด่ียว ละทิ้งรูปแบบ/วิธีการดั้งเดิมในการผลิต
และการสารองอาหารของครัวเรือน จะทาให้มีความเส่ียงด้านรายได้ และอาจส่งผลต่อความสามารถในการ
เข้าถงึ อาหาร

2) ชุมชนยังพบปัญหาการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของโรงงานอุตสาหกรรม
ทาให้ความหลากหลายของชนิดพืชลดลง รวมถึงกระแสความต่ืนตัวเรื่องการใช้พลังงานชีวภาพ ทาให้มีการ
ส่งเสริมการปลูกพืชเพื่อนาไปผลิตพลังงาน โดยยังไม่มีการวางแผนเรื่องการจัดสรรพื้นที่ปลูกท่ีชัดเจน จนเกิด
ปัญหาการแยง่ พนื้ ที่ระหวา่ งพืชอาหารและพืชพลงั งาน

3) เกษตรกรมีปัญหาหนี้สินนอกระบบจานวนมาก จึงทาให้เกษตรกรยังไม่กล้า
ปรับเปลี่ยนสรู่ ะบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง

4) ปัญหาความเสอ่ื มโทรมของทรัพยากรดินทีเ่ กิดจากการใชส้ ารเคมี ยาฆา่ แมลง ทาให้
ปลูกพืชท่ใี หผ้ ลผลิตได้นอ้ ยลง และพชื พืน้ ถิ่นได้สญู พันธุไ์ ปจากการทาลายทรพั ยากรป่าไม้

5) ประชาชนในชมุ ชนสว่ นใหญย่ งั ขาดการศึกษาทส่ี ร้างใหม้ ีความเขา้ ใจท่ถี ูกตอ้ ง

101

3.2.3 โอกาส
1) นโยบายรัฐบาลให้ความสาคัญกับการพัฒนาในระบบอาหารมาก โดยเฉพาะการนา

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนา โดยเฉพาะกรมการพัฒนาชุมชน และมูลนิธิกสิกรรม
ธรรมชาติที่เข้ามามีส่วนช่วยเหลือในการพัฒนาพ้ืนที่ โคก หนอง นา และช่วยในการถ่ายทอดองค์ความรู้ และ
ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ โดยปราชญ์ชุมชน ทาให้เกดิ ความต่นื ตัวของสังคมในการฟื้นฟวู ิถีชีวิตและเกษตรกรรมด้งั เดิม

2) ความต่ืนตัวในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพมากข้ึน เกิดความต้องการอาหารที่มี
คุณภาพปลอดภัย และมีคุณคา่ ทางโภชนาการเพิม่ ขึน้ ทาให้เกิดชอ่ งทางในการพฒั นาสินคา้ เกษตร และอาหาร

3.2.4 ภยั คุกคาม
1) การเติบโตของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้เกิดการย้ายแรงงานจาก

ภาคเกษตรไปสภู่ าคอตุ สาหกรรมมากขึน้ แรงงานเกษตรสว่ นใหญเ่ ป็นแรงงานสูงอายุทม่ี ขี ้อจากัดในการพัฒนา
2) สภาวะเศรษฐกิจท่ีตกต่า ส่งผลให้มีแรงงานตกงานเป็นจานวนมาก ราคาอาหารที่

สูงขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจ ทาให้คนจนมีข้อจากัดในการเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพยากมากขึ้น อีกท้ังอาชีพ
เกษตรกรไม่เปน็ ที่นยิ ม

3) การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติมีแนวโน้มความถ่ี
และความรุนแรงมากขึ้น รวมทั้งการเกิดข้ึนและการแพร่ระบาดของโรคพืชและสัตว์อุบัติใหม่ สร้างความ
เสียหายแก่ผลผลิตการเกษตรในวงกวา้ ง

4) ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจก่อให้เกิดการละเลยในการอนุรักษ์พันธ์ุพื้นเมือง
และส่งผลให้ฐานพันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์พืชแคบลง ปัญหาที่ตามมาคือ พืชจะมีความทนทาน และ
ปรับตวั ต่อสภาพแวดลอ้ มรวมท้ังโรคแมลงน้อยลง

3.3 การกาหนดกลยุทธ์
3.3.1 วสิ ัยทศั น์
ชุ ม ช น ก สิ ก ร ร ม ธ ร ร ม ช า ติ ค ริ ส ต จั ก ร น า เ รี ย ง มี อ า ห า ร ท่ี มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ป ล อ ด ภั ย

อย่างเพยี งพอและมคี วามมน่ั คงทางด้านอาหารอยา่ งย่ังยนื

3.3.2 วัตถปุ ระสงค์
1) เพ่ือให้มีอาหารทมี่ ีคุณภาพและปลอดภยั อย่างเพยี งพอกับความต้องการบริโภคของ

คนในชุมชน
2) เพอื่ ให้คนในชมุ ชนสามารถเข้าถงึ อาหารทมี่ ีคณุ ภาพและปลอดภัยได้อยา่ งเหมาะสม
3) เพ่ือส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากอาหารในการบริโภค โดยมีความปลอดภัยในการ

บริโภค ทาให้ชีวติ ความเปน็ อยู่ไดร้ บั การตอบสนองอย่างเพยี งพอ
4) เพื่อให้ประชาชน หรือครัวเรือนของชุมชน เข้าถึงอาหารอย่างเพียงพอและย่ังยืน

ลดความเส่ียงในการเข้าถึงอาหารเม่ือเกิดความขาดแคลนข้ึนมาอย่างกะทันหัน ในภาวะไม่ปกติ หรือเหตุการณ์
ทเ่ี กดิ ขึน้ เปน็ วัฏจกั ร

102

3.3.3 เปา้ หมาย
1) ชุมชนสามารถผลิตอาหารเองได้จากในชุมชน โดยมีการบริหารจัดการพื้นท่ีตาม

หลกั กสกิ รรมธรรมชาติ และหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
2) ชุมชนมีการฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะทรัพยากรดิน น้า

ป่า โดยใช้วิธีแบบธรรมชาตชิ ่วยธรรมชาติ
3) ชุมชนมีการรวมกลุ่ม สร้างพลังเครือข่ายการพัฒนาชุมชน ขับเคล่ือนกิจกรรมการ

สร้างความมน่ั คงทางอาหารรว่ มกนั ผา่ นการใชก้ ิจกรรมเอามือ้ สามคั คี

3.3.4 กลยทุ ธ์
1) กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาพื้นท่ีการเกษตรของสมาชิกในชุมชน ตามหลักทฤษฎีใหม่

ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
2) กลยุทธท์ ่ี 2 ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารใช้หลกั กสกิ รรมธรรมชาตใิ นการฟน้ื ฟูทรัพยากรดินและ

ทรพั ยากรน้าของชมุ ชน
3) กลยุทธ์ท่ี 3 เสรมิ พลงั การมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ในชมุ ชนผ่านกิจกรรมเอามื้อสามัคคี

3.4 การนากลยทุ ธไ์ ปส่กู ารปฏิบัติ
3.4.1 กลยุทธ์พัฒนาพ้ืนท่ีการเกษตรของสมาชิกในชุมชน ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่

โคก หนอง นา โมเดล มีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้
1) ส่วนราชการสนับสนุนงบประมาณให้แก่ครัวเรือนเกษตรกร เพ่ือพัฒนาการจัดการ

พื้นทเี่ กษตรกรรมตามรปู แบบ โคก หนอง นา
2) ผู้นาชุมชนมีการส่งเสริมให้สมาชิกของชุมชน พัฒนาพื้นที่เกษตรตามหลักภูมิสังคม

และทฤษฎใี หมป่ ระยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
3) หน่วยงาน ภาคีการพฒั นาท้งั 7 ภาคส่วน มีส่วนร่วมในการสง่ เสรมิ บทบาทของกลุ่ม

และชุมชนในการสรา้ งความมั่นคงอาหารในระดบั ครวั เรือน และชมุ ชน
4) ส่งเสริมให้มีการผลิตตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรกรรมย่ังยืน การเกษตร

ผสมผสานเพื่อให้มีอาหารเพียงพอกับการบริโภคในครัวเรือน และลดความเสี่ยงในการขาดแคลนอาหาร เพ่ือ
การเขา้ ถึงอาหารได้ตลอดเวลา

3.4.2 กลยุทธ์ส่งเสริมให้มีการใช้หลักกสิกรรมธรรมชาติในการฟ้ืนฟูทรัพยากรดินและ
ทรัพยากรน้าของชมุ ชน มแี นวทางการดาเนนิ งาน ดงั นี้

1) ส่วนราชการสนับสนุนงบประมาณในจัดการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนากสิกรรม
ธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีการส่งเสรมิ ใหส้ มาชกิ ของชมุ ชน ใช้หลักกสิกรรมธรรมชาติ เพ่ือฟื้นฟู
ทรพั ยากรนา้ และทรพั ยากรดนิ ให้มีคุณภาพทีด่ ี

2) ชมุ ชนมสี ่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการ และสรา้ งกลไกการขับเคล่ือนกิจกรรมในการ
ฟื้นฟทู รพั ยากรดินและทรพั ยากรน้าผ่านการจดั งานวนั ดนิ โลก และงานวันน้าโลก

103

3) ส่งเสริมให้ครัวเรือนเกษตรกรเข้าร่วมโครงการมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย โดย
ประสานความรว่ มมอื กบั มลู นิธิรกั ษ์ดินรกั ษน์ ้า เขา้ มาช่วยเหลือในดา้ นการพฒั นาและแปรรปู ผลิตภณั ฑ์

4) สนับสนุนและผลักดันให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และปรับปรุงดิน
แหล่งน้า ป่าไม้ และทรัพยากรประมง ปศุสัตว์ และพันธุ์พืช เพ่ือใช้เป็นทรัพยากรในการผลิตได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และยงั่ ยนื

3.4.3 กลยุทธ์เสริมพลังการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชนผ่านกิจกรรมเอามื้อสามัคคี
มแี นวทางการดาเนนิ งาน ดงั นี้

1) ผู้นาชุมชนและสมาชิกในชุมชนพัฒนาการเสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่าน
กิจกรรมเอามื้อสามัคคี โดยมีการขับเคลื่อนกิจกรรมของชุมชน ผ่านการสร้างความสามัคคี การทางานเป็นทีม
แบง่ ปัน เกื้อกลู และชว่ ยเหลือกัน

2) ส่วนราชการสนบั สนุนให้เกษตรกรมีการสารองปจั จัยการผลิต ทงั้ พันธ์ุพืช พันธุส์ ัตว์
และบริหารจัดการแหลง่ ประมงท่ีเหมาะสมในทกุ สถานการณ์เพื่อความมน่ั คง

3) ส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของเกษตรกรเพื่อพัฒนาด้านการผลิตและ
การตลาดในรูปแบบขององค์กรเกษตร เช่น สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกจิ ชมุ ชน

สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ว่า ทรัพยากรที่สาคัญที่สุดก็คือ น้าท่ีช่วยการเก็บรักษาน้าให้ใช้ประโยชน์
ในการอุปโภคบริโภคของคนในชุมชน และดิน ต้องมีดินที่อุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุอาหาร ด้วยการทาเกษตร
เชิงเดี่ยวแบบผสมผสาน และตามหลักมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย คือ หัวใจของการสร้างความม่ันคงทางอาหาร
ดว้ ยการใช้กจิ กรรมเอาม้ือสามัคคีของสมาชกิ ของชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาติครสิ ตจักรนาเรียง ซ่งึ สามารถกาหนด
เปน็ กลยุทธท์ ่สี าคัญ 3 ด้าน ดงั นี้

1. การจัดการพื้นท่ีเกษตรกรรมตามรูปแบบ โคก หนอง นา โดยมีการส่งเสริมให้สมาชิกของ
ชุมชน พฒั นาพ้นื ท่ีการเกษตรตามหลักภูมิสงั คม และทฤษฎใี หมป่ ระยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล

2. การพัฒนากสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีการส่งเสริมให้สมาชิกของ
ชุมชน ใชห้ ลักกสิกรรมธรรมชาติ เพอ่ื ฟน้ื ฟทู รพั ยากรน้าและทรัพยากรดินให้มคี ุณภาพท่ีดี

3. การเสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านกิจกรรมเอามื้อสามัคคี โดยมีการขับเคลื่อน
กจิ กรรมของชมุ ชน ผา่ นการสร้างความสามคั คี การทางานเป็นทมี แบง่ ปัน เก้ือกูล และชว่ ยเหลือกนั

บทที่ 5
สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษากลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยครสิ ตจักรนาเรยี ง อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอดุ รธานี
ด้วยวิธีวิจัยวิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยใช้ท้ังการวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) และการวจิ ยั เชิงปรมิ าณ (Quantitative Research) คณะวิจัยไดส้ รุปผล อภิปรายผล
และข้อเสนอแนะ ดงั น้ี

1. วตั ถปุ ระสงค์การวิจยั

1.1 เพื่อศึกษาศักยภาพและกระบวนการสร้างความม่ันคงทางอาหารของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติ
มาตรฐานอินทรยี ์วถิ ีไทยคริสตจกั รนาเรียง อาเภอศรธี าตุ จงั หวดั อดุ รธานี

1.2 เพ่ือศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติ
มาตรฐานอนิ ทรีย์วิถไี ทยครสิ ตจกั รนาเรยี ง อาเภอศรธี าตุ จังหวดั อดุ รธานี

1.3 เพื่อกาหนดกลยุทธ์การสร้างความม่ันคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
ชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรยี ์วิถีไทยครสิ ตจกั รนาเรียง อาเภอศรธี าตุ จังหวดั อุดรธานี

2. สรปุ ผลการวิจยั

2.1 ศักยภาพและกระบวนการสร้างความมั่นคงทางอาหารของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐาน
อินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง โดยเก็บข้อมูลด้วยการสารวจข้อมูลและสนทนากลุ่ม จากประชากรกลุ่ม
ตัวอย่างท่ีเป็นสมาชิกกลุ่มกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง จานวน 191 คน
พิจารณาจากดัชนีชี้วัดความม่ันคงทางอาหาร 4 ประการ ได้แก่ การเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย (วัตถุดิบประเภท
ผัก ผลไม้ เนอ้ื สัตว)์ การมอี าหารท่ีเพียงพอและมีคุณภาพ (การผลิตอาหารหลักของชมุ ชน) การใชป้ ระโยชน์จาก
อาหาร (พ้ืนท่ีการเกษตร การจัดการพื้นท่ีตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ) ความมีเสถียรภาพด้านอาหาร (ธนาคาร
เมล็ดพันธ์ุ ถนอมอาหาร) ผลการศึกษา พบวา่

2.1.1 ศักยภาพการสร้างความมั่นคงทางอาหาร พบว่า ด้านภูมิประเทศ เป็นพ้ืนที่ราบลุ่ม
สลับกับเนินสูง ในอดีตเหมาะแก่การเพาะปลูกพืช มีป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ แหล่งน้าตามธรรมชาติเพียงพอ แต่
ปัจจุบนั ป่าไม้ถูกบุกรุกเพ่ือทาเกษตรเชิงเดีย่ ว มกี ารใชส้ ารเคมีและยาฆ่าแมลง ทาใหด้ นิ เสื่อมคุณภาพ บางพ้ืนที่
เป็นดินลูกรัง ไม่เหมาะแก่การปลูกพืช ด้านการประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่ทาการเกษตร เช่น ข้าว มันสาปะหลัง

105

อ้อย เป็นการทาเกษตรเชิงเดี่ยว แต่ยังมีเกษตรกรบางกลุ่ม ปรับพื้นท่ีตามแนวทาง โคก หนอง นา โมเดล และ

ทาเกษตรอินทรีย์ ด้านศาสนาและวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และมีประชาชนบางส่วน

นับถือศาสนาคริสต์ โดยมีคริสตจักรตั้งอยู่ภายในชุมชน แต่ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข มีการ

รวมกลุ่มทากจิ กรรมต่าง ๆ ร่วมกัน ช่วยเหลือเก้ือกูลกัน

จากการพิจารณาตามมิติสาคัญของความม่ันคงทางอาหาร 4 ประเด็น สามารถสรุปศักยภาพ
ของชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาติครสิ ตจักรนาเรียง ดังน้ี

1) การเขา้ ถงึ อาหารท่ีปลอดภยั อาหารท่บี รโิ ภคในครัวเรือนส่วนใหญ่ วัตถุดิบประเภท
ผักท่ีใช้ประกอบอาหาร วัตถุดิบประเภทเน้ือสัตว์หรือโปรตีน ไข่ ท่ีใช้ประกอบอาหาร แหล่งอาหารตาม
ธรรมชาติที่สามารถหาอยู่หากินได้ ดังน้ันสรุปได้ว่า อาหารท่ีบริโภคในครัวเรือนส่วนใหญ่ผลิตมาจากการปรุง
อาหารเพอ่ื บรโิ ภคเอง และส่วนนอ้ ยจะมาจากการซ้ือจากแม่ค้าในตลาด หรอื จากรถขายอาหาร โดยสามารถหา
อาหารได้จากแหล่งอาหารในธรรมชาติ เช่น ป่าชุมชน ลาน้าปาว หนองน้า และแหล่งอาหารท่ีสามารถผลิตเอง
ได้ เช่น ข้าวท่ีปลูกในนา ผักที่ปลูกข้างบ้าน ไก่ที่เลี้ยงไว้หลังบ้าน ซึ่งมีเกษตรกรหลายคนท่ีได้ปรับวิถีด้าน
การเกษตรมาทาในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล เปน็ เกษตรแบบผสมผสาน โดยครวั เรอื นของเกษตรกรกลุ่มน้ี
จะมคี วามมั่นคงทางอาหารมาก และสามารถเขา้ ถงึ อาหารที่ปลอดภัยได้

2) การมีอาหารที่เพียงพอและมีคุณภาพ อาหารท่ีชุมชนสามารถผลิตเองได้และ
เพียงพอตลอดทั้งปี พืชผักสวนครัวท่ีสามารถผลิตเองได้ในชุมชน และจาหน่ายเป็นรายได้ให้ครัวเรือน อาหาร
หลักท่ีสมาชิกในชุมชนนิยมรับประทานมากที่สุด แบ่งเป็น อาหารเช้า อารหารกลางวัน และอาหารเย็น
เครื่องปรุงที่ใช้ในการประกอบอาหาร เคร่ืองเทศที่ใช้ในการประกอบอาหาร การแปรรูปและถนอมอาหาร
ดังน้ันสรุปได้วา่ อาหารที่บริโภคในครัวเรอื นเพียงพอต่อความต้องการของสมาชกิ บางครัวเรือนมีเหลือพอท่ีจะ
จาหน่ายเป็นรายได้ให้กับครัวเรือนตนเอง หรือแบ่งปันให้ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านของตนเองได้ อาหารท่ีชุมชน
สามารถผลิตเองได้และเพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือนตลอดปี ประกอบด้วย สัตว์น้า เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา
พืชผักสวนครัว ข้าว เครื่องเทศ เช่น พริก ขิง ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด แมงรัก หอม กระเทียม สัตว์บก เช่น ไก่
เปด็ หมู ววั และการถนอมอาหาร เชน่ ผักดอง หน่อไม้ดอง ปลารา้ ปลาแห้ง

3) การใช้ประโยชน์จากอาหาร พ้ืนที่สาหรับการปลูกพืชผัก และเล้ียงสัตว์สาหรับเป็น
อาหารของชุมชน แหล่งนา้ สาหรบั ใชใ้ นการปลูกพืชผัก เล้ียงสตั ว์ และทาการเกษตรของชมุ ชน การจดั การพ้ืนที่
สาหรับการสร้างแหล่งอาหารของชุมชน ที่ใช้การบริหารจัดการพื้นที่ด้วย โคก หนอง นา โมเดล และมีการใช้
ประโยชนจ์ ากแหล่งอาหารตามธรรมชาติ เชน่ ป่าชมุ ชน ลานา้ ปาว หนองนา้ ในชุมชน

4) ความมีเสถียรภาพด้านอาหาร ปัจจุบันได้มีการฟ้ืนฟูสภาพพ้ืนที่ด้วยการบริหาร
จัดการน้าตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล นอกจากน้ียังมีการรวมกลุ่มของชุมชนในการ
จดั การทรพั ยากรอาหาร แบง่ เปน็ กลุม่ ปลูกพืชผัก กลุ่มเลยี้ งสตั ว์ และกลมุ่ แปรรูปอาหาร การมีสถานที่เกบ็ พันธ์ุ
หรือธนาคารเมล็ดพันธุ์พืชของชุมชนการเตรียมความพร้อมด้านการขยายพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่ใช้เป็นอาหาร
ของชุมชน กล่าวโดยสรปุ คือ ชุมชนมกี ารทาการเกษตรตามหลักทฤษฎใี หม่ และตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ

106

2.1.2 กระบวนการสร้างความมั่นคงทางอาหาร พบว่า ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติคริสตจักร
นาเรียง มีการปลูกผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ และแปรรูปอาหาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในเร่ืองของอาหาร อยู่ใน
ระดบั มาก (คา่ เฉลีย่ 4.07) ประชาชนสามารถผลิตอาหารประเภท พืชผกั สัตว์ และแปรรูปท่ีมีความหลากหลาย
ไดเ้ อง อยูใ่ นระดบั มาก (ค่าเฉล่ยี 3.90) แตม่ พี ่อค้าเข้ามารับซื้อผลผลิตทางการเกษตร และผลติ ภัณฑแ์ ปรรูปใน
ชมุ ชนอย่างต่อเน่อื ง อยู่ในระดบั ปานกลาง (ค่าเฉลีย่ 2.29) รวมทง้ั ในชุมชนไดม้ ีรถพุ่มพวงเขา้ มาขายของภายใน
ชุมชน หรือร้านขายพืชผัก ร้านอาหารอยู่ในชุมชน อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉล่ีย 2.83) และสรุปข้อคิดเห็น
จากผูใ้ ห้ขอ้ มูลสาคัญจากมติ ิสาคญั ของความมน่ั คงทางอาหาร ไดด้ ังนี้

1) ชุมชนสามารถเข้าถึงอาหารปลอดภัยได้โดยเท่าเทียมกัน มีอาหารสด อาหารแห้ง
อาหารแปรรูปรับประทานตลอดทั้งปี ทั้งเกิดเองตามธรรมชาติ และปลูกเอง มีอาหารแลกเปล่ียนผลผลิตกัน มี
อาหารไดก้ ินตลอดโดยไมต่ อ้ งซ้อื

2) ชุมชนมีปริมาณอาหารท่ีเพียงพอและอาหารมีความปลอดภัย การมีอาหารท่ี
เพียงพอจะเกิดขึ้นในกลุ่มท่ีรวมตัวกัน เช่น กลุ่มกสิกรรมธรรมชาติ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่จัดต้ังขึ้นและมี
หนว่ ยงานสนับสนุนทเ่ี ปน็ ระบบ แต่ในภาพใหญข่ องชุมชนยังมีการหาซือ้ อาหารอยู่

3) ชุมชนสามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งอาหารที่ผลิตเอง ชุมชนสามารถใช้ประโยชน์
จากแหล่งอาหารผลิตเอง และแหล่งอาหารตามธรรมชาติได้ เพราะทุกครัวเรือน หรือกลุ่มท่ีจัดต้ังข้ึน มี
กรรมสทิ ธใ์ิ นการจัดการพน้ื ที่เป็นของตนเอง คนในชุมชนจงึ สามารถใชป้ ระโยชนก์ ับท่ีดินทากนิ ไดอ้ ย่างทั่วถงึ

4) ชมุ ชนจะสามารถอยู่รอดได้ และมีอาหารท่ีเพียงพอและพรอ้ มรองรับต่อวกิ ฤตการณ์
ตา่ ง ๆ ชมุ ชนสามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งอาหารผลติ เองได้และทุกครัวเรือน แตเ่ ราต้องเพม่ิ ปริมาณการปลูก
ให้มากขึ้น และรณรงค์ให้คนในหมบู่ ้าน แต่ละครัวเรอื นปลกู ไวส้ าหรบั ตนเอง

2.2 แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐาน
อินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง โดยเก็บข้อมูลด้วยการสนทนากลุ่ม จากกลุ่มเป้าหมายที่เป็นสมาชิกกลุ่ม
กสิกรรมธรรมชาติและผู้นาชุมชน จานวน 15 คน จากการศึกษาการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สามารถแบ่งออกเปน็ 4 มติ ิ ได้แก่ ดา้ นเศรษฐกจิ ด้านสังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม และด้าน
วัฒนธรรม ผลการศึกษา พบว่า

2.2.1 การประยุกต์ใช้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า ชุมชนได้สร้างฐานการพ่ึงตนเอง
ตามหลัก 4 พอ คือ พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น ซ่ึงถือว่าเป็นขั้นพ้ืนฐาน เมื่อสร้างรากฐานที่มั่นคงก็จะ
สามารถก้าวหน้าได้ น่ันก็คือ ดาเนินชีวิตตามหลักทฤษฎีบันได 9 ข้ันสู่ความพอเพียง ในข้ันที่ 5 – 9
ประกอบด้วย บุญ ทาน เกบ็ รักษา ขายหรอื จาหนา่ ย และเครอื ข่าย สอดคล้องกบั การท่ีคนในชมุ ชนต้องการให้มี
การทาเกษตรอินทรียใ์ นทกุ ครวั เรือน ลดการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร มีการทาปุ๋ยชวี ภาพใชเ้ อง ซึง่ เป็นการ

107

น้อมนาแนวพระราชดาริ เกษตรทฤษฎีใหม่ มาปรับใช้ในการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
และทาให้ทุกครัวเรือนในชุมชนเปน็ แหล่งผลติ อาหารเองได้ จะทาใหไ้ ม่มีการเพิ่มรายจ่ายในครัวเรือน ตลอดจน
การเพม่ิ องค์วามรูก้ ารทาเกษตรปลอดภัยให้กับสมาชิกของชมุ ชน

ชุมชนได้ทาการปรับวิธีคิดของสมาชิกในชุมชน โดยเริ่มจากตัวบุคคลหรือตัวผู้นาเองก่อน โดย
มุ่งเน้นให้เกิดการสร้างฐานการพึ่งตนเองตามหลัก 4 พอ หรือเปรียบเสมือนบ้านที่ต้องมีเสาอย่างน้อย 4 เสา
เพ่อื เป็นรากฐานของชวี ติ ใหม้ ่ันคง ซงึ่ รากฐานของมนษุ ย์ไม่ต้องการอะไรมาก นนั่ กค็ ือ

หนึง่ “พอกนิ ” ตอ้ งการของกิน มขี ้าวปลาอาหารเพียงพอ หมู เห็ด เป็ด ไก่ ของชุมชน
มีความอุดมสมบูรณ์ บรรพบุรุษเราเพาะปลูกมาตั้งแต่อดีต มีหน้าท่ีทาการกสิกรรม เพราะต้องสร้างอาหาร
ใหก้ บั มนุษย์ทง้ั โลก ดังนั้นเสาหลกั แรกคือการทาเพอ่ื ให้เราอยรู่ อด

สอง “พอใช้” ต้องมีการอุปโภค มีของใช้ท่ีจาเป็น เป็นปัจจัยเสริมสาหรับมนุษย์ เช่น
สบู่ ยาสีฟัน ยาสระผม น้ายาล้านจาน แต่ถ้ามองในบริบทของเกษตรกร ก็คือ ปัจจัยการผลติ เช่น ปุ๋ย ฮอร์โมน
สารสกัดจากสมุนไพร

สาม “พออยู่” ต้องมีท่ีอยู่อาศัย มีผืนแผ่นดินเพ่ือใช้ทามาหากิน มีที่ดิน เป็นของ
ตนเอง ดนิ มคี วามอดุ มสมบูณ์ ปลกู พืชกเ็ จริญงอกงาม กินผลไม้แลว้ หวา่ นเมลด็ ลงไปในดนิ แล้วมันสามารถงอก
ขน้ึ เป็นต้นกล้าและเติบโตเปน็ ตน้ ไมใ้ หญ่ท่ใี หผ้ ลผลิตได้

สี่ “พอร่มเย็น" ต้องมีสภาพแวดล้อมท่ีดี มีอากาศที่บริสุทธ์ิ มีต้นไม้ใหญ่ ให้ร่มเงาและ
พักผ่อนอย่างมคี วามสุข

เม่ือสร้างรากฐานท่ีมัน่ คงแลว้ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถก้าวหน้าได้ แต่ไม่ใช่การก้าวหน้าตาม
ทุนนิยมของชาติตะวันตก แต่การท่ีจะก้าวหน้าได้ สิ่งแรก คือ ด้านจิตวิญญาณ ทาให้เราต้องเน้นไปที่บันไดขั้น
ต่อไป นั่นก็คือ

ห้า “บุญ” ต้องมีความกตัญญูต่อพ่อแม่ ต้องกลับมาเล้ียงดูท่านยามแก่เฒ่า และต้อง
ตอบแทนคณุ แผ่นดนิ โดยการฟนื้ ฟแู ผน่ ดนิ ให้กลบั มามคี วามอดุ มสมบูรณ์อกี ครัง้

หก “ทาน” ต้องรู้จักการให้ รู้จักการแบ่งปันชว่ ยเหลอื ผู้อื่น มีผลผลิตที่ไดจ้ ากในแปลง
ของตนเอง อันดับแรกต้องแบ่งปันให้เพ่ือนบ้านและสมาชิกก่อนที่จะขาย ใช้วิธีคิดที่เรียกว่า “ย่ิงทายิ่งได้ ย่ิงให้
ยิ่งมี ยงิ่ ให้ไปย่งิ ไดม้ า” เปน็ หวั ใจสาคัญของปรชั ญาความพอเพยี ง

เจ็ด “เก็บรักษา” หลังจากทาบุญทาทานแล้ว ต้องรู้จักเก็บไว้ใช้ภายในครอบครัว
ตนเองด้วย รู้จักการพ่ึงพาตนเองให้ได้มากที่สุด ต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเอง ใช้ชีวิต ที่ไม่ประมาท ในขั้นนี้
คือ การคัดเลือกเก็บเมลด็ พันธ์ุ การเก็บผลผลิตไว้ในย้งุ ฉาง การแปรรูปเพื่อถนอมอาหาร เพ่ือไว้ใช้ในยามวิกฤต
หรอื ภยั พบิ ัติ เชน่ ขา้ วกลอ้ ง ปลารา้ ปลาแห้ง พรกิ แหง้ น้าปลา

108

แปด “ขาย” หรือที่เรียกว่าการสร้างธุรกิจยั่งยืน ทาภายใต้การรู้จักตนเอง ไม่ลงทุน
มากหลายอย่างพร้อมกัน ร้จู ักพอประมาณและทาไปตามลาดบั ข้ันตอนท่วี างแผนไว้ ทาธรุ กจิ ที่ไม่มงุ่ หวังไปท่ีตัว
เงินเพียงอย่างเดียว แต่มุ่งไปท่ีการเก้ือกูลกัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้และแบ่งปันกัน ตามแก่นของความพอเพียงท่ี
เรียกวา่ “ขาดทนุ ของเรา คอื กาไรของเรา”

เก้า “เครือข่าย” สร้างให้เกิดการเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายให้กว้างขึ้น ซ่ึงการที่ได้เข้า
ฝึกอบรมจากศูนย์ฝึกกสิกรรมธรรมชาติ ทาให้มีเพื่อนเพิ่มมากขึ้น สามารถขยายความร่วมมือ ความช่วยเหลือ
และการแบ่งปันกัน จากหลายกลุ่มหลายฝ่ายท่ีทางาน เพื่อสร้างให้เกิดสังคมแห่งการแบ่งปันและเกื้อกูลกันที่
ยัง่ ยนื ปัจจบุ ันมกี ารรวมกลุ่มสมาชกิ ทีท่ างานกนั

2.2.2 การขับเคล่ือนกิจกรรมเอาม้ือสามัคคี พบว่า ชุมชนได้มีการรวมกลุ่มเครือข่ายกสิกรรม
ธรรมชาติ โดยใช้กระบวนการขับเคลื่อนงานด้วยการใช้พลังของชุมชน การมีส่วนร่วม ความสามัคคี ผ่าน
กิจกรรมท่ีเรียกว่า เอาม้ือสามัคคี คือ การรวมพลังประสานความร่วมมือการพัฒนาพ้ืนท่ีแปลง โดยสมาชิกจะ
ช่วยกันทางานในแปลงของสมาชิก โดยการขุดดิน ขุดแปลง ขุดหนอง ขุดคลองไส้ไก่ ปลูกแฝก ปลูกต้นไม้ ห่ม
ดิน ทาปุ๋ยหมักชีวภาพใช้เอง ซ่ึงจะผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกันไปให้ครบทุกแปลงของสมาชิกในเครือข่าย ซึ่งเป็น
การไปตามหลักกสกิ รรมธรรมชาติ และการจัดการพน้ื ทีต่ ามภูมิสงั คม โคก หนอง นา โมเดล นาไปส่คู วามสาเร็จ
ในการสรา้ งความมนั่ คงทางอาหาร ท่ที าใหช้ มุ ชนกลายเปน็ แหลง่ อาหารทีส่ าคัญของล่มุ น้าปาว

ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติคริสตจักรนาเรียง เป็นจุดเรียนรู้ต้นแบบสาหรับการพัฒนาพ้ืนที่
ต้นแบบ โคก หนอง นา ของกรมพัฒนาชุมชน ท่ีได้เกิดข้ึนความร่วมมือของภาคีเครือข่ายท้ัง 7 ภาคส่วน และ
อีกปัจจัยสาคัญ คือ กรมการพัฒนาชุมชนเลือกชุมชนนาเรียง ตาบลตาดทอง อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี
เป็นจุดขยายผลตามโครงการขับเคล่ือนพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามหลักทฤษฎีใหม่ของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดย
ได้รับงบประมาณจากกรมการพฒั นาชมุ ชน สาหรบั การออกแบบพนื้ ที่และขุดปรับแต่งหลุมขนมครก และคลอง
ไส้ไก่ ให้เป็นไปตามหลักการของ โคก หนอง นา โมเดล พร้อมทั้งได้มีการสร้างฐานเรียนรู้ จุดเรียนรู้ตามหลัก
กสิกรรมธรรมชาติขึ้น บนพ้ืนท่ีแปลงของลุงแสวง ศรีธรรมบุตร หลังจากดาเนินการพัฒนาพื้นท่ีเรียบร้อยแล้ว
ทางสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอุดรธานี ได้กาหนดการช่วยเหลือกันและกันผ่านกิจกรรมการเอามื้อสามัคคี
เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้โดยเร่ิมจากจุดเล็ก ๆ ทาแบบคนจน เรียนรู้จากการปฏิบัติ จนก่อให้เกิดความ
เชี่ยวชาญ เกิดพลัง ขยายเครือข่ายความร่วมมือ ซ่ึงถือว่าเป็นการ Kick Off จุดขยายผลพื้นที่ต้นแบบ โคก
หนอง นา พัฒนาชมุ ชน ของจงั หวัดอดุ รธานี

กระบวนการขับเคลื่อนพื้นที่ต้นแบบ โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน เกิดจากการที่เจ้าหน้าท่ี
พัฒนาชุมชนที่มีความเข้าใจในการทางานท่ีชัดเจน เรียนรู้หลักกสิกรรมธรรมชาติ ใช้การมีส่วนร่วมของ

109

ประชาชนเข้ามาออกแบบการดาเนินงานร่วมกันกับเจ้าของแปลง ครัวเรือนต้นแบบ เครือข่ายกสิกรรม
ธรรมชาติ สภาคริสตจักรนาเรียง ผู้นาชุมชน และประชาชนในชุมชน ทั้งหมดได้จัดเวทีประชุมหารือกัน สร้าง
ความเข้าใจร่วมกันให้ชัดเจน รวมทั้งพัฒนากรตาบลท่ีรับผิดชอบงานดังกล่าว ได้มีการลงพ้ืนที่ ทางานร่วมกัน
กับเจ้าของแปลงและชุมชนอย่างใกล้ชิด มีการสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีกับชุมชน จนทาให้เจ้าของแปลงท่ีเป็น
ครัวเรือนเป้าหมายต่างให้ความไว้วางใจ และเห็นความตั้งใจที่เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนที่ทุ่มเทให้กับงานท่ีต้องใช้
ภาคีเครอื ขา่ ยร่วมกันขับเคลื่อนงานให้สาเร็จ ตามหลัก

ค ภาคศาสนา คือ สภาคริสจกั รนาเรยี ง
ร ภาคราชการ คือ สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอ/จังหวัด
บ ภาคประชาชน คอื ชุมชนกสิกรรมธรรมชาตคิ ริสจกั รนาเรียง หมู่บา้ นนางาม
นอกจากนี้ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรยี ์วิถีไทยคริสตจักรนาเรยี ง ถือว่าเป็นชุมชน
หนึ่งที่ประสบความสาเร็จของการได้รับมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย พร้อมทั้งได้รับการส่งเสริมให้มีช่องทาง
การตลาดของสินค้าเกษตรอินทรีย์ โดยได้รับความช่วยเหลือจากมูลนธิ ิรกั ษ์ดินรักษ์น้า เข้ามาส่งเสริมให้ความรู้
ตอ่ ยอดการแปรรูปผลิตภณั ฑ์ และสรา้ งแบรนดส์ ินคา้ ใหม้ คี วามนา่ สนใจและน่าเชื่อถือจากผู้บริโภค ปจั จบุ ันได้มี
การส่งผลผลติ ทางการเกษตรท้ังผกั ปลอดสารพิษ ผลไม้อินทรีย์ และสินคา้ แปรรปู ทางการเกษตรเข้าไปจาหน่าย
อยู่ที่ห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัลพลาซ่า อุดรธานี พร้อมท้ังมีการช่วยจัดหาช่องทางการตลาดให้มากข้ึน ทาให้
สมาชิกของชมุ ชนมรี ายได้เพม่ิ มากขึ้น

2.3 กลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน
กสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง เก็บข้อมูลด้วยการประชุมเชิงปฏิบัติการ จาก
กลุม่ เป้าหมายที่เป็นสมาชกิ กลุม่ กสิกรรมธรรมชาติ จานวน 10 คน และผู้นาชมุ ชน ผู้ทรงคุณวฒุ ิ จานวน 10 คน
จากการศึกษาแนวคิดการกาหนดยุทธศาสตร์ สามารถแบ่งกลยุทธ์ออกเป็น 5 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) แนวคิด
หลักการและเหตุผล (2) เป้าหมาย (3) เน้ือหาสาระ ประกอบด้วย การกาหนดทิศทาง การประเมิน
สภาพแวดล้อม การกาหนดกลยุทธ์ และการนากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ (4) กระบวนการและวิธีการ (5) การ
ติดตามประเมนิ ผล ผลการศกึ ษา พบว่า

การกาหนดกลยุทธ์การสร้างความมน่ั คงทางอาหารตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของ
ชุมชนกสกิ รรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรยี ว์ ิถไี ทยครสิ ตจักรนาเรยี ง มปี ระเดน็ สาคัญ ดังน้ี

2.3.1 วิสัยทัศน์
ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติคริสตจักรนาเรียงมีอาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัยอย่าง

เพียงพอและมคี วามมน่ั คงทางด้านอาหารอย่างยั่งยนื

110

2.3.2 วตั ถปุ ระสงค์
1) เพือ่ ใหม้ ีอาหารท่ีมีคุณภาพและปลอดภยั อยา่ งเพยี งพอกับความต้องการบริโภคของ

คนในชมุ ชน
2) เพอ่ื ให้คนในชุมชนสามารถเข้าถึงอาหารท่มี ีคณุ ภาพและปลอดภยั ได้อยา่ งเหมาะสม
3) เพ่ือส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากอาหารในการบริโภค โดยมีความปลอดภัยในการ

บรโิ ภค ทาใหช้ วี ติ ความเปน็ อยไู่ ด้รบั การตอบสนองอย่างเพียงพอ
4) เพ่ือให้ประชาชน หรือครัวเรือนของชุมชน เข้าถึงอาหารอย่างเพียงพอและยั่งยืน

ลดความเสี่ยงในการเข้าถึงอาหารเม่ือเกิดความขาดแคลนข้ึนมาอย่างกะทันหนั ในภาวะไม่ปกติ หรือเหตุการณ์
ท่เี กดิ ข้นึ เปน็ วัฏจักร

2.3.3 เป้าหมาย
1) ชุมชนสามารถผลิตอาหารเองได้จากในชุมชน โดยมีการบริหารจัดการพื้นที่ตาม

หลกั กสกิ รรมธรรมชาติ และหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล
2) ชุมชนมีการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะทรัพยากรดิน น้า

ปา่ โดยใชว้ ิธีแบบธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
3) ชุมชนมีการรวมกลุ่ม สร้างพลังเครือข่ายการพัฒนาชุมชน ขับเคลื่อนกิจกรรมการ

สรา้ งความม่ันคงทางอาหารร่วมกนั ผา่ นการใชก้ ิจกรรมเอาม้อื สามัคคี

2.3.4 กลยุทธ์
1) กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาพ้ืนท่ีการเกษตรของสมาชิกในชุมชน ตามหลักทฤษฎีใหม่

ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล มีแนวทางการดาเนนิ งาน ดงั น้ี
(1) ส่วนราชการสนับสนุนงบประมาณให้แก่ครัวเรือนเกษตรกร เพ่ือ

พัฒนาการจดั การพ้ืนท่เี กษตรกรรมตามรปู แบบ โคก หนอง นา
(2) ผู้นาชุมชนมีการส่งเสริมให้สมาชิกของชุมชน พัฒนาพื้นที่การเกษตรตาม

หลกั ภูมิสงั คม และทฤษฎีใหม่ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล
(3) หนว่ ยงาน ภาคีการพฒั นาทง้ั 7 ภาคสว่ น มีส่วนรว่ มในการส่งเสรมิ บทบาท

ของกลุ่มและชุมชนในการสรา้ งความมั่นคงอาหารในระดับครวั เรอื น และชุมชน
(4) ส่งเสริมให้มีการผลิตตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรกรรมยั่งยืน

การเกษตรผสมผสานเพ่ือให้มีอาหารเพียงพอกับการบริโภคในครัวเรือน และลดความเสี่ยงในการขาดแคลน
อาหาร เพอื่ การเขา้ ถงึ อาหารได้ตลอดเวลา

2) กลยุทธท์ ี่ 2 ส่งเสริมให้มกี ารใช้หลกั กสกิ รรมธรรมชาตใิ นการฟนื้ ฟูทรพั ยากรดินและ
ทรัพยากรนา้ ของชุมชน มแี นวทางการดาเนินงาน ดังนี้

(1) ส่วนราชการสนับสนุนงบประมาณในจัดการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนา
กสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีการส่งเสริมให้สมาชิกของชุมชน ใช้หลักกสิกรรมธรรมชาติ
เพื่อฟื้นฟูทรพั ยากรน้าและทรัพยากรดนิ ให้มคี ุณภาพทีด่ ี

111

(2) ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และสร้างกลไกการขับเคลื่อน
กจิ กรรมในการฟืน้ ฟทู รพั ยากรดินและทรัพยากรน้าผ่านการจดั งานวนั ดินโลก และงานวันน้าโลก

(3) ส่งเสริมให้ครัวเรือนเกษตรกรเข้าร่วมโครงการมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย
โดยประสานความร่วมมอื กบั มลู นิธิรักษด์ นิ รักษน์ า้ เขา้ มาช่วยเหลือในด้านการพฒั นาและแปรรปู ผลติ ภัณฑ์

(4) สนับสนุนและผลักดันให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และ
ปรับปรุงดินแหล่งน้า ป่าไม้ และทรัพยากรประมง ปศุสัตว์ และพันธุ์พืช เพ่ือใช้เป็นทรัพยากรในการผลิตได้
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และยัง่ ยนื

3) กลยทุ ธท์ ี่ 3 เสรมิ พลังการมสี ่วนรว่ มของสมาชิกในชุมชนผ่านกิจกรรมเอาม้ือสามัคคี
(1) ผู้นาชุมชนและสมาชิกในชุมชนพัฒนาการเสริมพลังการมีส่วนร่วมของ

ชุมชนผ่านกิจกรรมเอาม้ือสามัคคี โดยมีการขับเคลื่อนกิจกรรมของชุมชน ผ่านการสร้างความสามัคคี การ
ทางานเป็นทมี แบ่งปนั เกอื้ กูล และชว่ ยเหลือกนั

(2) ส่วนราชการสนับสนุนให้เกษตรกรมีการสารองปัจจยั การผลิต ท้ังพันธุ์พืช
พันธ์สุ ัตว์ และบรหิ ารจัดการแหลง่ ประมงที่เหมาะสมในทกุ สถานการณ์เพือ่ ความมนั่ คง

(3) ส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของเกษตรกรเพื่อพัฒนาด้านการผลิต
และการตลาดในรปู แบบขององค์กรเกษตร เช่น สหกรณ์ กล่มุ เกษตรกร และวิสาหกจิ ชมุ ชน

สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ว่า ทรัพยากรที่สาคัญที่สุดก็คือ น้าท่ีช่วยการเก็บรักษาน้าให้ใชป้ ระโยชน์
ในการอุปโภคบริโภคของคนในชุมชน และดิน ต้องมีดินที่อุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุอาหาร ด้วยการทาเกษตร
เชิงเด่ียวแบบผสมผสาน และตามหลักมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย คือ หัวใจของการสร้างความมั่นคงทางอาหาร
ดว้ ยการใช้กิจกรรมเอามื้อสามัคคีของสมาชิกของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติครสิ ตจักรนาเรียง ซงึ่ สามารถกาหนด
เป็นกลยทุ ธ์ทสี่ าคญั 3 ด้าน ดงั นี้

1. การจัดการพื้นที่เกษตรกรรมตามรูปแบบ โคก หนอง นา โดยมีการส่งเสริมให้สมาชิกของ
ชมุ ชน พัฒนาพื้นที่การเกษตรตามหลกั ภูมสิ ังคม และทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล

2. การพัฒนากสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีการส่งเสริมให้สมาชิกของ
ชุมชน ใชห้ ลักกสกิ รรมธรรมชาติ เพ่ือฟน้ื ฟทู รัพยากรน้าและทรัพยากรดินให้มีคุณภาพท่ีดี

3. การเสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านกิจกรรมเอามื้อสามัคคี โดยมีการขับเคล่ือน
กจิ กรรมของชมุ ชน ผ่านการสร้างความสามคั คี การทางานเป็นทมี แบ่งปัน เกือ้ กลู และช่วยเหลือกัน

112

3. การอภิปรายผล

จากการวจิ ัยคร้งั นี้ มผี ลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลน่าสนใจและควรนามาอภปิ รายผลอยู่ 3 ประเดน็ คือ
3.1 ศักยภาพและกระบวนการสร้างความมั่นคงทางอาหารของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐาน

อินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง พบว่า ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติคริสตจักรนาเรียง ด้านภูมิประเทศ เป็นพ้ืนท่ี
ราบลุ่มสลับกับเนินสูง ในอดีตเหมาะแก่การเพาะปลูกพืช มีป่าไม้ท่ีอุดมสมบูรณ์ แหล่งน้าตามธรรมชาติเพียงพอ
แต่ปัจจุบันป่าไม้ถูกบุกรุกเพ่ือทาเกษตรเชิงเดี่ยว มีการใช้สารเคมีและยาฆ่าแมลง ทาให้ดินเส่ือมคุณภาพ บาง
พื้นท่ีเป็นดินลูกรัง ไม่เหมาะแก่การปลูกพืช ด้านการประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่ทาการเกษตร เช่น ข้าว มัน
สาปะหลัง อ้อย เป็นการทาเกษตรเชิงเด่ียว แต่ยังมีเกษตรกรบางกลุ่ม ปรับพ้ืนที่ตามแนวทาง โคก หนอง นา
โมเดล และทาเกษตรอินทรีย์ ด้านศาสนาและวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ และมีประชาชน
บางส่วนนับถือศาสนาคริสต์ โดยมีคริสตจักรต้ังอยู่ภายในชุมชน แต่ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสขุ
มีการรวมกลุ่มทากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกนั ช่วยเหลอื เกอ้ื กูลกัน

ด้านกระบวนการสร้างความม่ันคงทางอาหาร มีการปลูกผักสวนครัว เล้ียงสัตว์ และแปรรูปอาหาร ช่วย
ประหยัดค่าใช้จ่ายในเรื่องของอาหาร อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉล่ีย 4.07) ประชาชนสามารถผลิตอาหารประเภท
พืชผัก สัตว์ และแปรรูปท่ีมีความหลากหลายได้เอง อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.90) แต่มีพ่อค้าเข้ามารับซื้อ
ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์แปรรูปในชุมชนอย่างต่อเน่ือง อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉล่ีย 2.29)
รวมท้ังในชุมชนได้มีรถพุ่มพวงเข้ามาขายของภายในชุมชน หรือร้านขายพืชผัก ร้านอาหารอยู่ในชุมชน อยู่ใน
ระดบั ปานกลาง (ค่าเฉลยี่ 2.83)

สอดคล้องกับการวิจัยของ (จอมขวัญ ชุมชาติ,2557: 8-19, สุพาณี ธนีวุฒิ, 2544; องค์การ
อาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ, 2549; นวลน้อย ตรีรัตน์, 2551; สุธานี มะลิพันธ์, 2552) กล่าวถึง
ความมั่นคงทางอาหาร ว่า 1) ความม่ันคงทางอาหารท่ีเน้นถึงเรื่องการมีอยู่ของอาหาร และแหล่งอาหาร ได้แก่
การมีปริมาณอาหารสาหรับบริโภคภายในครอบครัวและชุมชน โดยสามารถ เข้าถึงอาหารได้อย่างเพียงพอ
ปลอดภัย มีคุณภาพ และต่อเน่ือง รวมถึงการมีระบบการจัดการผลผลิต ที่เกื้อหนุนต่อความย่ังยืน และความ
มั่นคงทางการผลิตท้ังท่ีดิน แหล่งน้า และแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ต้องมีระบบการกระจายผลผลิตที่เป็นธรรม
และเหมาะสมทั้งในระดับครัวเรือน ชุมชน และประเทศ 2) ความมั่นคงทางอาหารเน้นเร่ืองระบบการผลิตและ
การเข้าถึงอาหาร โดยสามารถการตัดสินใจจัดการและใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น เร่ิม
ตั้งแต่ครัวเรือนเกษตรกรจะต้องมีความสามารถในการผลิตอาหารให้เพียงพอกับความต้องการในการบริโภค
ภายในครอบครวั เปน็ ลาดับแรก เมือ่ มผี ลผลิตสว่ นท่เี หลือค่อยขาย โดยในกระบวนการผลิตอาหารต้องปราศจาก
การปนเปื้อนของสารเคมี ซ่งึ ความมน่ั คงทางอาหารในรูปแบบดังกล่าวจะเป็นไปได้ก็ต่อเม่ือเกษตรกรมีทรัพยากร
และมีสิทธิในการผลิตท่ีอยู่บนพ้ืนฐานของวัฒนธรรมท้องถิ่น อย่างไรก็ตามหากเกษตรกรมีสิทธิหรือกรรมสิทธ์ิใน

113

ที่ดินย่อมก่อให้เกิดความมุ่งม่ันที่จะรักษาที่ดิน แหล่งน้า และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ เพ่ือให้พื้นที่นั้นสามารถ
นามาใช้ผลิตอาหารและสร้างรายได้ให้ครอบครัวได้ อย่างยั่งยืนตลอดไป รวมถึงโอกาสของคนทุกคนก็ต้องได้รับ
อาหารอย่างเท่าเทยี มกัน (สนุ ันทธ์ นา แสนประเสรฐิ , 2545; บณั ฑติ ปิยะศลิ ป์, 2549) 3) ความม่นั คงทางอาหาร
ท่ีเน้นเร่ืองการจัดการอาหารโดย หมายถึง การกินดีอยู่ดีของครอบครัว ชุมชน และสามารถพึ่งตนเองทางด้าน
อาหารได้ โดยจะต้องมี สิทธิและสามารถเข้าถึงทรัพยากรดิน น้า ป่า และอาหารธรรมชาติได้ง่าย และใช้ความรู้
ภมู ิปัญญา ท่ีมอี ยู่ในชุมชนมาจัดการกับทรัพยากรเหล่านน้ั อย่างสอดคล้อง เหมาะสมกับวิถีชีวิต วฒั นธรรมชุมชน
และระบบนิเวศ อันจะทาให้ครอบครัวและชุมชนสามารถมี อาหารเพื่อบริโภคได้อย่างพอเพียงตลอดเวลาท่ี
ต้องการและอาหารนน้ั จะต้องสามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้อย่างย่ังยนื (ปิยนาถ อ่ิมดี, 2547)

3.2 แนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐาน
อินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง พบว่า ชุมชนได้เน้นสร้างฐานการพึ่งตนเองตามหลัก 4 พอ คือ พอกิน พอใช้
พออยู่ พอร่มเย็น ซึ่งถือว่าเป็นข้ันพ้ืนฐาน เมื่อสร้างรากฐานที่มั่นคงก็จะสามารถก้าวหนา้ ได้ น่ันก็คือ ดาเนินชีวติ
ตามหลักทฤษฎีบันได 9 ข้ันสู่ความพอเพียง ในขั้นท่ี 5 – 9 ประกอบด้วย บุญ ทาน เก็บรักษา ขายหรือจาหน่าย
และเครอื ขา่ ย สอดคลอ้ งกับการที่คนในชมุ ชนต้องการให้มีการทาเกษตรอินทรยี ์ในทุกครวั เรือน ลดการใช้สารเคมี
ในภาคการเกษตร มกี ารทาป๋ยุ ชีวภาพใช้เอง ซึง่ เป็นการน้อมนาแนวพระราชดาริ เกษตรทฤษฎีใหม่ มาปรบั ใช้ใน
การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และทาให้ทุกครัวเรือนในชุมชนเป็นแหล่งผลิตอาหารเองได้
จะทาใหไ้ มม่ ีการเพิ่มรายจา่ ยในครวั เรือน ตลอดจนการเพ่ิมองค์วามรกู้ ารทาเกษตรปลอดภยั

ชุมชนได้มีการรวมกลุ่มเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ โดยใช้กระบวนการขับเคลื่อนงานด้วยการใช้พลัง
ของชุมชน การมีส่วนร่วม ความสามัคคี ผ่านกิจกรรมท่ีเรียกว่า เอาม้ือสามัคคี คือ การรวมพลังประสานความ
ร่วมมือการพัฒนาพื้นท่ีแปลง โดยสมาชกิ จะช่วยกนั ทางานในแปลงของสมาชิก โดยการขุดดนิ ขดุ แปลง ขุดหนอง
ขดุ คลองไส้ไก่ ทาฝายก้ันน้า ปลูกแฝก ปลูกต้นไม้ หม่ ดนิ ทาปุ๋ยหมกั ชีวภาพใช้เอง ซงึ่ จะผลัดเปลี่ยนหมนุ เวียนกัน
ไปใหค้ รบทุกแปลงของสมาชิกในเครือข่าย ซึ่งเปน็ การไปตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ และการจัดการพื้นท่ีเป็นไป
ตามภูมิสังคม โคก หนอง นา โมเดล นาไปสู่ความสาเร็จในการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ที่ทาให้ชุมชน
กลายเปน็ แหลง่ อาหารทส่ี าคญั ของลุม่ น้าปาว

สอดคล้องกับงานวิจัยของ พนม ด้วงทอง (2552) ได้ศึกษาเรื่องทฤษฎีใหม่กับความม่ันคงทาง
อาหารในครัวเรือน: กรณีศึกษาบ้านก๋องป๋อใต้ ตาบลเกียน อาเภออมก๋อย จังหวัด พบว่า สถานการณ์การผลิต
ทางการเกษตรที่สอดคล้องกับทฤษฎีใหม่มีเพียงด้านเดียวคือการผลิตข้าวได้เกิน 200 กก./คน/ปี รวม 58
ครวั เรือน คิดเป็นร้อยละ 90.62 ซ่งึ สืบเนื่องมาจากมีระบบคลองสง่ น้าท่คี รอบคลุมไปท่ัวทั้งหมู่บ้าน สว่ นด้านอื่น
ยังไม่มีความสอดคล้อง ในส่วนการมีอยู่ของอาหาร ชุมชนมีทรัพยากรอาหารพื้นบ้าน 91 ชนิด แบ่งเป็น
3 ประเภท ได้แก่ ทรัพยากรอาหารประเภทพืชผัก 74 ชนิด ไม้ผล 4 ชนิด สัตว์ 13 ชนิด และการเข้าถึงอาหาร

114

ทุกครัวเรือนมีสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรอาหาร ส่วนกลางของ ชุมชน เท่าเทียมกัน ภายใต้
เง่ือนไขสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง มีภูมิปัญญา มีทักษะความชานาญ และความสามารถในการเสาะหา
อาหารตามธรรมชาติ ผ่านระบบความสัมพันธ์ แบบเครือญาติที่มีการ ช่วยเหลือแบ่งปันกัน และการใช้
ประโยชน์ของอาหาร โดยการประเมินภาวะโภชนาการของเด็กอายุ น้อยกว่า 5 ปี ในชุมชนโดยการชั่งน้าหนัก
และวัดส่วนสูง ภาวะโภชนาการของเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ในชุมชนพบระดับท่ีเป็นปัญหาดังนี้ เกณฑ์น้าหนัก
ตามอายุ มีเด็กนา้ หนักน้อยกว่าเกณฑ์ 2 คน รอ้ ยละ 16.67 น้าหนกั คอ่ นข้างน้อย 3 คน รอ้ ยละ 25 ซึ่งแสดงว่า
มีการขาดแคลนอาหาร สว่ นในดา้ นการประเมินความมั่นคงทางอาหารของครัวเรอื น พบว่า ครัวเรอื นในชมุ ชนท่ี
มีความมัน่ คงทางอาหาร 16 ครวั เรอื น คิดเปน็ ร้อยละ 25 ครัวเรอื นท่ีไม่มน่ั คงทางอาหาร จานวน 48 ครวั เรือน
คิดเป็นร้อยละ 75 แบ่งออกเป็น 1) ครัวเรือนท่ีไม่ม่ันคงทางอาหารแต่ไม่อดอยากจานวน 30 ครัวเรือน คิดเป็น
ร้อยละ 47 และ 2) ไม่มั่นคงทางอาหารและอดอยากจานวน 18 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 28 และใน 18
ครัวเรือนนี้ แบ่งย่อยได้อีกเป็นสองกลุ่ม คือ ขาดแคลนไม่รุนแรงและรุนแรง ซ่ึงมี 15 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ
23 และ 3 ครวั เรือน คดิ เปน็ ร้อยละ 5 ของครวั เรอื นท้ังหมด ตามลาดับ

ส่วนงานวิจัยของจอมขวัญ ชุมชาติ (2558) ท่ีได้ศึกษาความม่ันคงทางอาหารของชุมชน
โคกพะยอม ตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูล พบว่า ชุมชนมีการใช้ประโยชน์จากอาหารทั้งหมด 188 ชนิด
โดยมแี หลง่ อาหารท่ีคนในชุมชนพ่ึงพาทัง้ หมด 3 แหล่ง ไดแ้ ก่ แหล่งอาหารธรรมชาติ แหลง่ อาหารผลิตเอง และ
แหล่งอาหารซ้ือขาย เม่ือนาปริมาณการมีอยู่ของอาหารเปรียบเทียบกับการใช้ประโยชน์เพื่อการบริโภค พบว่า
แหล่งอาหารธรรมชาติมีชนดิ อาหารท่ีไม่เพียงพอต่อความต้องการในการบรโิ ภค 10 ชนิด จากทั้งหมด 35 ชนดิ
แหล่งอาหารผลิตเองมีชนิดอาหารท่ีไม่เพียงพอต่อความต้องการในการบริโภค 38 ชนิด จากท้ังหมด 54 ชนิด
ซ่ึงการเปรียบเทียบปริมาณการมีอยู่ในชุมชนต่อปริมาณความต้องการในการบริโภค ถือว่าชุมชนยังถือว่ามี
ปริมาณอาหารที่มีอยู่ไม่เพียงพอต่อความต้องการในการบริโภค แต่เม่ือชุมชนมีการพึ่งพาแหล่งซ้ือขาย ก็พบว่า
อาหารทุกชนดิ มปี รมิ าณเพียงพอตอ่ ความต้องการในการบรโิ ภค สว่ นการเขา้ ถงึ แหล่งอาหาร พบว่า คนในชุมชน
มีสิทธิในการเข้าถึงแหล่งอาหารทุกแหล่งอย่างเท่าเทียมกัน แต่มีความแตกต่างกันไปข้ึนอยู่กับจากบริบทของ
แหล่งอาหาร และในส่วนของการจดั การอาหารและแหล่งอาหาร พบวา่ การจัดการเพ่ือให้ได้อาหารเหลา่ นี้ต้อง
อาศัยภูมิปัญญาการทาเครื่องมือภูมิปัญญาการเก็บหาอาหาร ภูมิปัญญาในการนาไปประกอบอาหาร ตลอดจน
การจดั การแหล่งอาหารเพ่ือให้ไดอ้ าหารมาบริโภคได้ตลอดเวลา

3.3 กลยุทธ์การสร้างความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน
กสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง พบว่า ทรัพยากรท่ีสาคัญที่สุดก็คือ น้า ที่ช่วย
การเก็บรักษาน้า และดิน มีดินที่อุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ธาตุอาหาร ด้วยการทาเกษตรเชิงเด่ียวแบบผสมผสาน และ
ตามหลักมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย คือ หัวใจของการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ด้วยการใช้กิจกรรมเอามื้อ
สามัคคีของสมาชิกของชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาตคิ ริสตจักรนาเรียง ซึง่ สามารถกาหนดเป็นกลยุทธท์ ีส่ าคัญ ดังนี้

1) การจัดการพื้นที่เกษตรกรรมตามรูปแบบ โคก หนอง นา โดยมีการส่งเสริมให้สมาชิกของ

ชุมชน พัฒนาพ้ืนทีก่ ารเกษตรตามหลักภมู สิ ังคม และทฤษฎีใหมป่ ระยกุ ต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล

115

2) การพัฒนากสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีการส่งเสริมให้สมาชิกของ
ชุมชน ใช้หลกั กสกิ รรมธรรมชาติ เพอื่ ฟื้นฟูทรพั ยากรน้าและทรัพยากรดินให้มีคุณภาพท่ีดี

3) การเสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านกิจกรรมเอามื้อสามัคคี โดยมีการขับเคล่ือน
กิจกรรมของชมุ ชน ผ่านการสรา้ งความสามคั คี การทางานเปน็ ทีม แบง่ ปนั เก้อื กูล และชว่ ยเหลอื กนั

สอดคล้องกับวิรัลพัชร ประเสริฐศักดิ์ (2555) ที่ศึกษาเร่ือง ความมั่นคงทางอาหารจาก
พัฒนาการเกษตรสู่เศรษฐกิจพอเพียง โดยได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ว่า การดาเนินยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงทาง
อาหารของไทย นอกจากการส่งเสริมการให้ความรู้เก่ียวกับความม่ันคงทางอาหารในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
ภาคการเกษตรรวมถึงประชาชนท่ัวไปแล้ว ไทยควรผลักดันนโยบายภาคการเกษตรตามแนวคิดความมั่นคงทาง
อาหารท่ีเน้นการพัฒนาเกษตรกรรายย่อยในระดับท้องถ่ิน ให้สามารถดาเนินไปได้ภายใต้อิทธิพลของระบบ
เศรษฐกจิ ทนุ นิยมเสรีในโลกยุคโลกาภิวัฒน์ โครงสรา้ งการผลิตที่เปลี่ยนแปลงไปจากการผลิตเพื่อยังชีพสู่การผลิต
เพื่อการค้า จากสังคมเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรม นามาซึ่งความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับ
ระบบการผลิตอาหาร ท้ังในระดับโลกและระดับประเทศอาจนาไปสู่ภาวะความไม่ม่ันคงทางอาหาร การบรรจุ
ประเด็น “ความม่ันคงทางอาหาร” ไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 จึงนับเป็นแนวทาง
สาคัญในการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและศักยภาพการผลติ ภาคเกษตรของประเทศใหเ้ ขม้ แขง็ มากขึน้

นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับคณะอนุกรรมการจัดทาแผนเพื่อการบริหารความมั่นคงทางด้าน
อาหาร คณะกรรมการนโยบายและแผนพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2560) ที่ได้
กาหนดกรอบยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านอาหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พ.ศ. 2560-2564) และกล่าวว่า
วิกฤตการณ์อาหารโลกยังคงเป็นประเด็นท่ีโลกให้ความสาคัญอย่างต่อเน่ืองจาก การเพิ่มข้ึนของราคาอาหารที่
ส่งผลกระทบอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจ สังคมและความเป็นอยู่ของประชากรโลก ท้ังองค์การระหว่างประเทศ
และองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในทุกระดับยังคงตระหนักถึงความสาคัญในการหาทางแก้ไขปัญหา
ดังกล่าวอย่างเป็นระบบ สาหรับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในฐานะเป็นหน่วยงานท่ีมีภารกิจด้านการผลิต
ภาคเกษตรกรรมซ่ึงเป็นแหล่งอาหารท่ีสาคัญ ได้ให้ความสาคัญและดาเนินการในเร่ืองน้ีอย่างต่อเนื่อง ภายใต้
คณะอนุกรรมการเพ่ือการบริหารความม่ันคงทางด้านอาหาร คณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร
และสหกรณ์ ในการจัดทากรอบยุทธศาสตร์ความม่ันคงด้านอาหารให้ครอบคลุมและเท่าทันต่อการเปล่ียนแปลง
เพ่ือให้เป็นแนวทางในการดาเนินงานด้านความม่ันคงด้านอาหารอย่างย่ังยืนต่อไป โดยเป็นไปตามกรอบ
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ที่มีวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศ
พัฒนาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

116

4. ขอ้ เสนอแนะ

จากผลการวิจัยคณะวิจยั มขี ้อเสนอแนะในการนาผลวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์ ดงั น้ี
4.1 ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติคริสตจักรนาเรียง มีทรัพยากรการผลิตที่อุดม

สมบูรณ์และหลากหลายสามารถผลิตอาหารท้ังพืช ประมง และปศุสัตว์ได้เพียงพอสาหรับการบริโภคภายใน
ชุมชน แบ่งปันเก้ือกูลกันให้แก่สมาชิกในชุมชน และมีการส่งเสริมการผลิตตามแนวทฤษฎีใหม่เศรษฐกิจพอเพียง
ทาให้เกษตรกร สามารถบริหารจัดการทรพั ยากรการผลติ ที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ตลอดจนการ
ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมที่เก่ียวกับการเกษตรและอาหารที่มีความเป็นเอกลักษณ์มีช่ือเสียง และเป็น
จุดขาย สามารถส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตในชุมชน รวมท้ังส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง
แต่เกษตรกรบางครัวเรือนขาดความเข้าใจในการทาการเกษตรท่ีเหมาะสม ขาดความรใู้ นการบริหารทรัพยากรท่ีดี
ซ่ึงส่วนใหญ่ยังมีการเน้นปลูกพืชเชิงเด่ียว ละทิ้งรูปแบบ/วิธีการดั้งเดิมในการผลิตและการสารองอาหารของ
ครัวเรือน จะทาให้มีความเส่ียงด้านรายได้ และอาจส่งผลต่อความสามารถในการเข้าถึงอาหาร รวมท้ังในชุมชน
ยังพบปัญหาการผลิตท่ีทาตอบสนองความต้องการของโรงงานอุตสาหกรรม ทาให้ความหลากหลายของชนิดพืช
ลดลง รวมถึงกระแสความตื่นตัวเร่ืองการใช้พลังงานชีวภาพ ทาให้มีการส่งเสริมการปลูกพืชเพื่อนาไปผลิต
พลังงาน โดยยังไม่มีการวางแผนเร่ืองการจัดสรรพนื้ ที่ปลูกทช่ี ัดเจน จนเกดิ ปัญหาการแย่งพืน้ ท่รี ะหว่างพืชอาหาร
และพชื พลงั งาน

ดังน้ันการท่ีจะพัฒนาให้ชุมชนสามารถสร้างความม่ันคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงได้นั้น จะต้องทาการปรับทัศนคติ เปล่ียนวิธีคิดของสมาชิกในชุมชนให้สามารถน้อมนาปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล มาปรับใช้ในการดารงชีวิตตามวิถีของ
ชุมชนให้ได้ ซ่ึงอาจจะต้องให้ส่วนราชการที่เก่ียวข้อง มีบทบาทในการสนับสนุนงบประมาณในจัดการฝึกอบรม
หลักสูตรการพัฒนากสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีการส่งเสริมให้สมาชิกของชุมชน ใช้หลัก
กสิกรรมธรรมชาติ เพ่ือฟื้นฟูทรัพยากรน้าและทรัพยากรดินให้มีคุณภาพที่ดี และให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการ
บริหารจัดการ และสร้างกลไกการขับเคลื่อนกิจกรรมในการฟื้นฟูทรัพยากรดินและทรัพยากรน้า และส่งเสริมให้
ครัวเรือนเกษตรกรเข้าร่วมโครงการมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย โดยประสานความร่วมมือกับมูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้า
เขา้ มาชว่ ยเหลอื ในดา้ นการพัฒนาและแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์

โดยมีเป้าหมายสาคัญ คือ เพ่ือให้ชุมชนมีอาหารท่ีมีปลอดภัย เพียงพอต่อความต้องการบริโภค
ของคนในชุมชน คนในชุมชนสามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัยได้อย่างเหมาะสม และผู้นาชุมชน
สามารถส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากอาหารในการบริโภค โดยมีความปลอดภัยในการบริโภค ทาให้ชีวิตความ
เป็นอยู่ได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอและยั่งยืน ลดความเสี่ยงในการเข้าถึงอาหารเม่ือเกิดความขาดแคลน
ขนึ้ มาอย่างกะทนั หนั ในภาวะไม่ปกติ

117

4.2 ขอ้ เสนอในการนาผลวิจยั ไปใช้ประโยชน์
4.2.1 ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย
ควรมีการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ หรือแนวทางการดาเนินงานในการประกาศใช้

กฎหมาย เก่ียวกับการสร้างความม่ันคงทางอาหารอย่างจริงจัง และประกาศเป็นนโยบายสาคัญในการขับเคล่ือน
ประเทศ โดยกาหนดให้ประเทศไทยเป็นคลังอาหารโลก สร้างภูมคิ มุ้ กันดา้ นอาหาร พลังงาน และน้าด่มื เป็นวาระ
สาคัญท่ีจะต้องทาให้ไทยเป็นแหล่งผลิตอาหารสาคัญของดลกให้ได้ โดยรัฐบาลและส่วนราชการต้องช่วยกัน
พัฒนาพืน้ ที่ และฟน้ื ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะดนิ และน้า ให้มคี วามอดุ มสมบรู ณใ์ ห้ได้อย่างยั่งยนื

4.2.2 ข้อเสนอระดับการบรหิ ารงาน
ผู้บริหารงานระดับท้องถ่ิน อาเภอ และจังหวัด สามารถนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการ

กาหนดเป้าหมาย ทิศทาง การวางแผนงานโครงการ เพอื่ ใช้ในการตัดสินใจวางแผนการบรหิ ารด้านต่างๆ เก่ียวกับ
อาหารทางธรรมชาติ เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกับสภาพความเป็นจริง เชน่ การสง่ เสริมในการฟน้ื ฟู อนุรกั ษ์พันธุกรรมพืช
และพนั ธ์ุสัตวใ์ นพน้ื ท่ใี ห้คงความอดุ มสมบูรณเ์ พยี งพอแก่การบรโิ ภคของประชาชนในพื้นทช่ี ุมชนท้องถ่ินได้

4.2.3 ขอ้ เสนอระดบั การปฏบิ ตั งิ าน
ผลการวิจัยทาให้มีกลยุทธ์ในการใช้เปน็ แนวทางในการขับเคล่ือนงานด้านการสร้างความมั่นคง

ทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยหน่วยงานระดับอาเภอ ภาคีการพัฒนาท้ัง 7 ภาคส่วน
ได้แก่ ส่วนราชการ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา ภาคประชาสังคม ภาคศาสนา ภาคสื่อสารมวลชน และภาค
ประชาชน ต้องช่วยกนั ขับเคล่อื นงานโดยใช้กลยุทธ์ในการทางานในพื้นที่อย่างจริงจัง

4.3 ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ัยครัง้ ตอ่ ไป
4.3.1 ควรมีการศึกษาเก่ียวกับประเด็นด้านการบริหารจัดการพ้ืนท่ี โคก หนอง นา โมเดล ตาม

หลักทฤษฎีใหม่ และหลักกสกิ รรมธรรมชาติ
4.3.2 ควรมีการศึกษาเก่ียวกับการพัฒนามาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย โดยมุ่งเน้นไปท่ีกระบวนการ

ของการรับรองมาตรฐาน การผลิตอาหารที่ได้มาตรฐานอินทรีย์ และการปลูกพืชและปศุสัตว์ท่ีเป็นไปตาม
มาตรฐานอินทรยี ์วถิ ไี ทย เพ่ือเพม่ิ โอกาสให้เกดิ การรวมกลมุ่ ของสมาชิกในชมุ ชน ผลติ สนิ ค้าและผลติ ภณั ฑท์ ่ีได้รับ
มาตรฐานอินทรีย์วถิ ไี ทย สามารถสรา้ งงาน สรา้ งรายไดใ้ หค้ นในชมุ ชนมากขนึ้

4.3.3 ควรวจิ ัยเกี่ยวกบั การส่งเสรมิ การผลิตและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากแหล่งอาหารท่ีอยู่ในพื้นท่ี
ชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาตมิ าตรฐานอนิ ทรีย์วิถีไทยครสิ ตจักรนาเรียง

4.3.4 ควรทาวิจัยเกี่ยวกับการต่อยอดภูมิปัญญาท้องถ่ินด้านทรัพยากรทางอาหารตามธรรมชาติ
มกี ารพฒั นาผลิตภณั ฑด์ ้านอาหาร และการสง่ เสริมด้านการตลาดให้แก่ผลผลิตทไี่ ดจ้ ากพชื สมุนไพรท้องถ่นิ

บรรณานุกรม

กิตตศิ ัพท์ วันทา และคณะ. (2553). ความมนั่ คงทางอาหารภายใต้บรบิ ทสังคมไทย จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน.
นนทบรุ ี : มูลนธิ ิเกษตรกรรมย่ังยืน.

กรมการพฒั นาชุมชน. (2563). 3 สร้าง ทางรอดสังคมไทย ภายใต้โครงการสรา้ งความมั่นคงด้านอาชีพและ
รายไดต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ : สานกั เสริมสรา้ งความเข้มแข็งชุมชน.

กลุม่ พัฒนากรอบแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง. (2546). กรอบแนวคิด
ทางเศรษฐศาสตรป์ รัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรงุ เทพฯ : สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ

เกศนาฎ กลิ่นทอง. (2561). ความมนั่ คงทางอาหารในครัวเรอื นเกษตรกร ตาบลสองห้อง อาเภอฟากท่า
จังหวัดอุตรดติ ถ์. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาเกษตรศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าเกษตรศาสตรแ์ ละสหกรณ์
มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช.

คณะกรรมการบรหิ ารงานอาเภอ อาเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี. (2562). แผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาอาเภอ

5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) อาเภอศรธี าตุ จังหวดั อุดรธานี. ทีท่ าการปกครองอาเภอศรธี าต.ุ

โครงการพัฒนาแหง่ สหประชาชาติประจาประเทศไทย UNDP. (2550). รายงานการพฒั นาคนของ
ประเทศไทย ปี 2550 : เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาคน. กรงุ เทพฯ: คนี พับบลิชชิง่
(ประเทศไทย) จากดั .

จอมขวัญ ชมุ ชาติ. (2558). ความม่นั คงทางอาหารของชุมชนโคกพะยอม ตาบลละงู อาเภอละงู จังหวดั สตลู .
วทิ ยานิพนธ์ปริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์.

ชยั ณรงค์ ลาภเศรษฐานุรกั ษ์. (2553). วิกฤตการณ์อาหารโลก คอื โอกาสความม่ันคงทางอาหารของไทย.
เพอ่ื การพัฒนาชนบท 10 (35) : 75-84.

เฉลมิ ศักด์ิ ตุ้มหริ ญั และคณะ. (2558). แนวทางการพฒั นาการพงึ่ พาตนเองอยา่ งยั่งยืนของชุมชน.

สาขาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช.

ทรงสริ ิ วชิ ริ านนท์ และพจนยี ์ บุญนา จงทพิ ย.์ (2555). วิถีชีวติ และความมั่นคงทางอาหารทอ้ งถิน่ ใต.้

วทิ ยานิพนธว์ ทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการพฒั นาภูมิสงั คมอยา่ งยง่ั ยืน มหาวิทยาลัยแมโ่ จ.้

นนทกานต์ จนั ทร์ออ่ น. (2557). ความม่ันคงทางอาหารของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สานกั งานเลขาธกิ าร
วุฒิสภา.

นคิ ม ศรเี งนิ . (2562). รปู แบบการสรา้ งความม่นั คงทางอาหารบนฐานความหลากหลายของพืชผักใน
ครัวเรือน ชุมชนรมิ แมน่ าพอง จงั หวดั ขอนแกน. ดษุ ฎีนิพนธ์ปรญิ ญาปรัชญาดุษฎบี ณั ฑิต
สาขาวชิ าสง่ิ แวดล้อมศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถมั ภ์.

119

ปราโมทย์ จติ ตส์ กลู . (2560). แนวทางการพึ่งพาตนเองในการจดั เกบ็ นาระดับไรน่ า ตามแนวทาง
ศาสตรพ์ ระราชา ในเขตปฏริ ปู ทดี่ ิน. กรุงเทพฯ : สานักพัฒนาพน้ื ท่ีปฏริ ูปท่ดี ิน สานักงานการปฏิรปู
ท่ดี นิ เพ่ือเกษตรกรรม.

ปณุ ณดา มาสวสั ดิ์, ประพณิ วดี ศิริศุภลักษณ์, อสิ รยิ า นิติทณั ฑ,์ ประภาศ บญุ ญะศิริ. (2559).
ปจั จัยทีม่ ีผลต่อความมัน่ คงดา้ นอาหารของครวั เรือนเกษตรไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

พนม ด้วงทอง. (2552). ทฤษฎใี หม่กบั ความม่นั คงทางอาหารในครัวเรือน : กรณศ๊ ึกษาบา้ นกอ๋ งป๋อใต้ ตาบล
นาเกียน อาเภออมก๋อย จังหวัดเชยี งใหม่. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาวิทยาศาสตร์มหาบณั ฑิต สาขาวชิ า
การพฒั นาภมู ิสงั คมอย่างยง่ั ยืน สานกั งานบณั ฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั แม่โจ.้

พิเชษ โสวทิ ยสกลุ . (2559). โคก หนอง นา โมเดล. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก :
http://www.tv360expo.com/alliance/kmitl/kmitl.php

พฤกษ์ ยิบมนั ตะสริ ิ และคณะ. (2553). การพฒั นาตวั ชีวัดความมัน่ คงทางอาหารภายใตบ้ ริบทสังคมไทย
จงั หวัดเชียงใหม.่ สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาต.ิ

มินตรา สาระรกั ษ์ และเสาวลกั ษณ์ แสนนาม. (2557). ความม่นั คงทางอาหารในครวั เรือนของประชาชน
บา้ นเมอื งหมีน้อย ตาบลกวนวนั อาเภอเมือง จงั หวัดหนองคาย. วารสารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 16(3), 25-37.

มูลนธิ ิกสิกรรมธรรมชาต.ิ (2564). การพฒั นาตามหลักกสิกรรมธรรมชาตสิ รู่ ะบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง. ชลบรุ ี :
ศูนยก์ สกิ รรมธรรมชาติ มาบเออ้ื ง.

มลู นิธิเกษตรกรรมยงั่ ยนื . (2553). มหกรรมเกษตรกรรมย่งั ยนื เชดิ ชเู กียรติผู้สร้างสรรคเ์ กษตรกรรมย่ังยนื .
กรุงเทพฯ : บริษทั วันอังคาร จากดั .

วิรลั พชั ร ประเสริฐศักด์ิ. (2555). ความมน่ั คงทางอาหาร: จากพฒั นาการเกษตรสเู่ ศรษฐกจิ พอเพยี ง.
วารสารการเมืองการปกครอง. 5(2), 144-160.

___________. (2555). แนวคิดและคานิยามของความม่ันคงทางอาหาร. ศูนย์ดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.

วิวัฒน์ ศลั ยกาธร. (2560). การบริหารจดั การนาดว้ ย “โคก หนอง นา โมเดล”. [ออนไลน์].
สบื ค้นจาก : https://www.nectec.or.th/news/news-pr-news/khoknongna.html

ศจินทร์ ประชาสันต.ิ์ (2555). ความมน่ั คงทางอาหาร : แนวคิดและตัวชีวดั . (พิมพ์ครง้ั ที่ 13). สมุทรสาคร :
พมิ พ์ด.ี

ศยามล เจรญิ รัตน์. (2556). ความมัน่ คงทางอาหาร ปา่ ชมุ ชนกับการผลักดนั เร่ืองความเป็นธรรมเพื่อชมุ ชน
ท้องถิ่น. ประชุมวชิ าการประจาปี 2557 : สถาบนั วิจยั สงั คม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศยามล เจริญรตั น์ และคนอน่ื ๆ. (2556). การศึกษาเพือ่ การสรา้ งความมัน่ คงทางอาหารและวิถี
ชีวิตของกลุ่มชาติพนั ธ์ุในพืนทอ่ี นุรักษ์: กรณชี ุมชนกะเหร่ียงในผืนป่า ตะวนั ตก ปที ่ี 1.
สถาบนั วิจัยสงั คม จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

120

สุชาติ ประสทิ ธิร์ ฐั สินธ์. (2554). ระเบียบวธิ วี จิ ัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ : เฟื่องฟ้าพริ้นตง้ิ .
สุธานี มะลพิ นั ธ.์ (2552). ความมน่ั คงทางอาหารของชาวลัวะ บา้ นปา่ กา อาเภอบ่อเกลือ จังหวดั นา่ น.

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี.
สุภา ใยเมือง. (2555). ตัวชีวัดความมน่ั คงทางอาหารระดบั ชุมชน. สมทุ รสาคร : พมิ พ์ดี.
สภุ า ใยเมอื ง และเกยี รตศิ ักดิ์ ยั่งยืน. (2554). ตัวชวี ัดความมั่นคงทางอาหารระดบั ชุมชน. นนทบรุ ี :

มูลนธิ เิ กษตรกรรมยัง่ ยืน (ประเทศไทย).
สุรพงษ์ คงสัตย์ และธีรชาติ ธรรมวงศ.์ (2556). การหาคา่ ความเท่ียงตรงของแบบสอบถาม (IOC).

กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ์ราชวทิ ยาลยั .
สริ กิ ร ลมิ้ สุวรรณ. (2563). มาตรฐานอินทรีย์วิถไี ทย. สถาบันบ่มเพาะและส่งเสริมเกษตรอินทรีย์วิถไี ทยและ

อาหาร มหาวิทยาลยั รงั สิต.
สานักงานจังหวัดอดุ รธานี. (2562). แผนพัฒนาจงั หวดั อุดรธานี พ.ศ. 2561-2564. สานกั งานจงั หวดั อดุ รธาน.ี
สานักเสริมสร้างความเข้มแข็งชมุ ชน. (2556). คมู่ ือการดาเนินงานโครงการหมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียงตน้ แบบ.

กรงุ เทพฯ : กรมการพฒั นาชุมชน.
__________. (2562). การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสรา้ งความสุขให้ชมุ ชน. กรงุ เทพฯ :

กรมการพัฒนาชมุ ชน.
อานฐั ตันโช. (2558). เกษตรกรรมธรรมชาติ แนวคิด หลักการ และจลุ ินทรีย์ท้องถนิ่ . พมิ พ์ครั้งท่ี 5.

ศูนยว์ จิ ัยและพัฒนาเกษตรกรรมธรรมชาติ มหาวิทยาลยั แม่โจ.้
อจั ฉรา ทองประดับ. (2553). การวเิ คราะหผ์ ลกระทบตอ่ ความมนั่ คงดา้ นอาหารของครวั เรือนจากการ

เปลย่ี นพืนท่นี าข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจอน่ื ๆ ในตาบลการะเกด อาเภอเชียรใหญ่ จังหวดั
นครศรธี รรมราช. วิทยานิพนธ์ปริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร
มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์.
อจั ฉรา ทองประดบั และคนอื่น ๆ (2552). การศึกษาระดบั ความม่ันคงด้านอาหารของครัวเรอื น ใน
ตาบลการะเกด อาเภอเชยี รใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช. การประชุมวชิ าการระบบ
เกษตรแห่งชาตคิ รงั ท่ี 5 : พลงั งานทดแทนและความมั่นคงทางอาหารเพื่อ มนุษยชาติ
หนา้ 283-293.
อญั ชัญ อยสู่ บาย. (2556). การปฏบิ ัติตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่อื การพ่งึ ตนเองของสมาชิก
วิสาหกจิ ชุมชนกลุ่มไผ่ ตาบลทา่ กระดาน อาเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา.
วทิ ยานิพนธป์ ริญญาเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตรแ์ ละสหกรณ์
มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.
เอื้อมพร ลอยประดิษฐ์ และอาบอาไพ รัตนภาณุ. (2559). กสิกรรมธรรมชาติ การแปลงปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียงสูก่ ารปฏิบตั ิ (แบบคนจน). มลู นธิ กิ สกิ รรมธรรมชาติ
UNEP. (2008). Stockholm declaration of the United Nations conference on the
human environment. Retrieved from http//www.unep.org

121

ภาคผนวก

122

ภาคผนวก ก.
แบบสอบถามการวจิ ยั

123

แบบสอบถาม
การศกึ ษาวจิ ยั เรื่อง กลยทุ ธ์การสรา้ งความมัน่ คงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอนิ ทรีย์วิถีไทยครสิ ตจักรนาเรยี ง อาเภอศรีธาตุ จังหวดั อุดรธานี

คาชแี้ จง
1. แบบสอบถามชุดน้ี เป็นเคร่ืองมือการวิจัยในระยะที่ 1 ศึกษาศักยภาพและกระบวนการสร้างความ

มั่นคงทางอาหารของชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรยี ์วิถีไทยครสิ ตจักรนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จังหวัด
อุดรธานี โดยใชว้ ธิ ีการสารวจขอ้ มลู

2. แบบสอบถาม แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ได้แก่
ตอนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ศักยภาพและกระบวนการสร้างความม่ันคงทางอาหารของชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาติ

มาตรฐานอินทรยี ์วิถไี ทยคริสตจกั รนาเรยี ง
ตอนที่ 3 ข้อคิดเหน็ เพิ่มเตมิ จากผ้ตู อบแบบสอบถาม

ผวู้ จิ ยั หวังวา่ จะไดร้ บั ความเมตตานเุ คราะหจ์ ากท่านในการให้ขอ้ มลู คร้ังนเ้ี ป็นอย่างดยี งิ่ และขอกราบ
ขอบพระคุณท่านมาดว้ ย ณ โอกาสนี้

คณะวจิ ยั ศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนอดุ รธานี

ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
คาชีแ้ จง ขอให้ท่านทาเคร่ืองหมาย ✓/ ใน ( ) หน้าขอ้ ท่ีตรงกบั ขอ้ มูลทัว่ ไปของท่าน

1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญงิ

2. อายุ ( ) ต่ากว่า 30 ปี ( ) 30-39 ปี

( ) 40-49 ปี ( ) 50-59 ปี

( ) 60 ปีขึ้นไป

3. การศึกษา ( ) ประถมศึกษา ( ) มัธยมศึกษา

( ) ปวช. / ปวส. ( ) ปริญญาตรี

( ) ปริญญาโท ( ) ปริญญาเอก

( ) อื่น ๆ โปรดระบ.ุ .................................

124

4. อาชพี ( ) เกษตรกร ( ) ขา้ ราชการ
(
( ) พนกั งานรฐั วิสาหกจิ ( ) พนกั งานบริษัทเอกชน
(
( ) รบั จ้างทัว่ ไป ( ) นักเรยี น/นักศกึ ษา

) อาสาสมคั ร/จิตอาสา ( ) ว่างงาน

) อนื่ ๆ โปรดระบุ...............................................................

5. ตาแหนง่ ทางสงั คม ( ) ผนู้ าทอ้ งท่ี ( ) ผ้นู าท้องถ่นิ

( ) ปราชญช์ มุ ชน ( ) กรรมการหมูบ่ ้าน

( ) อนื่ ๆ โปรดระบ.ุ ......................................................

6. ระยะเวลาการเขา้ รว่ มเป็นสมาชิกกลุ่มเครือข่ายกสกิ รรมธรรมชาติ

( ) นอ้ ยกวา่ 1 ปี ( ) 1-5 ปี

( ) 6-10 ปี ( ) มากกว่า 10 ปี

ตอนท่ี 2 ศักยภาพและกระบวนการสร้างความม่ันคงทางอาหารของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐาน
อนิ ทรียว์ ถิ ีไทยคริสตจกั รนาเรยี ง

2.1 ศักยภาพด้านความม่ันคงทางอาหารของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย
ครสิ ตจักรนาเรียง

คาช้ีแจง โปรดทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่อง ตามความคิดเห็นต่อระดับศักยภาพการสร้างความม่ันคงทาง
อาหาร โดยเลือกตอบ 5 ระดับ ไดแ้ ก่ 5 = มากทสี่ ดุ 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอ้ ย 1 = น้อยทสี่ ุด

ข้อความ ระดับความคดิ เห็น

5 4321

1. อาหารทบ่ี รโิ ภคในครวั เรือนของทา่ นเพียงพอต่อความ
ต้องการของสมาชิกในครัวเรอื น

2. ครัวเรอื นของท่านได้มีการปลูกพืชผักสวนครวั สาหรบั
ประกอบอาหารในชีวติ ประจาวนั

3. ครัวเรอื นของทา่ นได้มีการเล้ยี งสตั วไ์ วส้ าหรบั เป็น
อาหารสาหรบั สมาชิกในครวั เรอื น

4. ครัวเรือนของทา่ นไดม้ ีการแปรรปู อาหาร ถนอมอาหาร
เชน่ การตากแหง้ การหมัก การดอง เพื่อเก็บไว้ใช้เป็น
อาหารสาหรับสมาชกิ ในครัวเรอื น

125

5. ท่านคดิ ว่าการปลูกผักสวนครัว เลย้ี งสตั ว์ และแปรรูป
อาหารจะชว่ ยประหยดั ค่าใชจ้ ่ายในเรอื่ งของอาหาร

6. ทา่ นมพี ้ืนทีส่ าหรับการทาการเกษตรอยา่ งเพยี งพอต่อ
การเลยี้ งดคู รัวเรอื นของตนเอง

7. ท่านได้ใช้หลักกสิกรรมธรรมชาติ ในการดาเนนิ กิจกรรม
ภาคการเกษตร

8. ทา่ นไดน้ ามีการจดั การพนื้ ท่ตี ามรูปแบบ โคก หนอง นา
โมเดล ในพนื้ ท่แี ปลงของตนเอง

9. ในพืน้ ที่ชมุ ชนของท่านไม่มีปัญหาเรอ่ื งขาดแคลนนา้
และไมม่ ีปัญหาโรคระบาดในพชื ในสตั ว์

10. อาหารท่บี ริโภคเปน็ หลักของสมาชิกในชมุ ชนของท่าน
มาจากผลผลิตทางการเกษตรทไ่ี ด้จากชุมชนเอง

11. ทา่ นได้ซ้ือวัตถุดิบ เครอื่ งปรุงสาหรับประกอบอาหาร
เชน่ น้าปลา เกลอื น้าตาล ผงชรู ส จากภายนอกชมุ ชน

12. ท่านยงั คงสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากแหล่งอาหารตาม
ธรรมชาตไิ ด้ เช่น ปลาจากลาหว้ ย ผกั ตามรมิ หนอง

13. ในชมุ ชนของท่านมีรถพุม่ พวงตะเวนขายของภายในบ้าน
หรือร้านขายพืชผกั รา้ นอาหารอยู่ในชมุ ชน

14. ทา่ นรู้จักมาตรฐานอนิ ทรยี ์วิถีไทย (Earth Safe) และได้
เขา้ ร่วมกิจกรรมของกลมุ่ สมาชกิ เกษตรอนิ ทรีย์

15. ท่านมคี วามเช่ือมัน่ ว่า หากเกิดวิกฤต เช่น ภัยธรรมชาติ
โรคระบาดรุนแรง สงครามกลางเมือง ชมุ ชนของท่านจะ
สามารถปดิ หม่บู ้าน โดยไมต่ ้องพง่ึ ปจั จยั ภายนอก และ
จะอย่รู อดได้ด้วยการมีอาหารท่เี พยี งพอตอ่ การบรโิ ภค
ของคนในชมุ ชน

126

2.1 กระบวนการสร้างความมั่นคงทางอาหารของชุมชนกสกิ รรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถไี ทย
คริสตจักรนาเรียง

คาชี้แจง โปรดทาเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่อง ตามความคิดเห็นต่อระดับกระบวนการสร้างความม่ันคงทาง
อาหาร โดยเลือกตอบ 5 ระดับ ได้แก่ 5 = มากทีส่ ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอ้ ย 1 = น้อยทสี่ ุด

ขอ้ ความ ระดับความคิดเหน็

5 4321

16. ชมุ ชนสามารถผลิตอาหารประเภท พชื ผัก สัตว์ และ
แปรรูปที่มคี วามหลากหลายได้เอง

17. ในชุมชนของท่านได้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกร เพื่อ
ปลูกพชื ผักสวนครัว เลีย้ งสัตว์ และแปรรูปอาหาร

18. ในชมุ ชนของท่านมแี หล่งอาหารทหี่ ลากหลายและ
เพยี งพอตามความต้องการของคนในชุมชน

19. คนในชมุ ชนสว่ นใหญป่ ลูกพืชแบบผสมผสาน มีพชื ผัก
สมนุ ไพร เคร่ืองเทศ และเล้ยี งสัตว์

20. ในชุมชนของท่านมปี ่าชุมชน มีแหล่งน้าตามธรรมชาติ ที่
สามารถเป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติได้

21. ในชมุ ชนของท่านได้มีการผลิตสนิ ค้าทางการเกษตร
อาหารปลอดภัย เพอ่ื จาหน่ายให้ประชาชนท่วั ไป

22. สมาชิกในชมุ ชนของท่านมีการเก้อื กลู แบง่ ปนั อาหาร
และแลกเปลี่ยนอาหารกนั

23. เกษตรกรส่วนใหญ่ในชุมชนมีการทาเกษตรอินทรยี ์

24. ในชมุ ชนมกี ารสรา้ งธนาคารเก็บเมลด็ พันธ์ุ ขยายพันธ์ุ
และอนรุ ักษ์พนั ธุ์พชื ทม่ี ีความหลากหลายทางชวี ภาพ

25. ในชมุ ชนของท่านมกี ารรวมกลุ่มของเกษตรกร จดั ตั้ง
เปน็ กลมุ่ อาชีพ หรือ ชมรม หรอื วสิ าหกจิ ชมุ ชน

26. มกี ารเขา้ มาช่วยสง่ เสริม ใหค้ วามรใู้ นการผลติ อาหาร
ปลอดภัย การแปรรูปอาหาร เพือ่ สรา้ งมลู คา่ ใหผ้ ลผลติ
ทางการเกษตร

27. ในชมุ ชนของท่านได้มีการใช้หลักการทางานร่วมกันของ
ภาคศาสนา ภาคราชการ และภาคประชาชน ใน
กิจกรรมสร้างความมน่ั คงทางอาหาร

127

28. มีช่องทางในการจาหน่ายและกระจายสนิ คา้ ทาง
การเกษตร ผลิตภัณฑ์แปรรูป

29. มีพ่อค้าเขา้ มารบั ซื้อผลผลติ ทางการเกษตร และ
ผลิตภัณฑ์แปรรปู ในชมุ ชนอย่างตอ่ เนื่อง

30. ท่านเหน็ ความสาคัญของการมแี หล่งอาหารปลอดภยั ที่
ทาให้สมาชกิ ในชุมชนสามารถเขา้ ถึงได้อย่างยงั่ ยืน

ตอนที่ 3 ขอ้ คิดเห็นเพ่ิมเติมจากผู้ตอบแบบสอบถาม

คาชแ้ี จง ขอให้ท่านเขียนแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับศกั ยภาพและกระบวนการสร้างความมัน่ คงทางอาหารของ
ชุมชนกสกิ รรมธรรมชาติมาตรฐานอนิ ทรีย์วิถไี ทยครสิ ตจักรนาเรยี ง

คาถามข้อที่ 1 ชมุ ชนสามารถเขา้ ถึงอาหารท่ีปลอดภัยได้หรอื ไม่ อยา่ งไร
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................... ...................
คาถามขอ้ ที่ 2 ชุมชนมีปริมาณอาหารท่เี พียงพอและอาหารมีความปลอดภัยหรอื ไม่ อย่างไร
............................................................................................................................................................. .................
.................................................................................................................. ............................................................
คาถามขอ้ ท่ี 3 ชุมชนสามารถใช้ประโยชนจ์ ากแหล่งอาหารทีผ่ ลิตเอง แหล่งอาหารตามธรรมชาตไิ ด้อยา่ ง
ท่ัวถึงหรอื ไม่ อยา่ งไร
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
คาถามขอ้ ท่ี 4 หากจาเป็นต้องปิดหมบู่ ้าน ไม่มกี ารตดิ ต่อจากโลกภายนอก ชุมชนจะสามารถอยรู่ อดได้ และมี
อาหารทีเ่ พียงพอและพร้อมรองรับต่อวกิ ฤตการณต์ ่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตไดห้ รือไม่ อยา่ งไร
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับศักยภาพและกระบวนการสร้างความมั่นคงทางอาหารของชุมชนกสิกรรม
ธรรมชาติมาตรฐานอินทรียว์ ิถไี ทยครสิ ตจกั รนาเรยี ง
....................................................................................................................................... .......................................
............................................................................................ ..................................................................................

128

ภาคผนวก ข.
แบบบันทึกการสนทนากลุ่มการวิจยั

129

แบบบนั ทึกการสนทนากลุ่ม
การศึกษาวจิ ยั เร่อื ง กลยุทธ์การสร้างความมัน่ คงทางอาหารตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ของชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาตมิ าตรฐานอนิ ทรยี ์วถิ ไี ทยคริสตจกั รนาเรียง อาเภอศรธี าตุ จังหวดั อดุ รธานี

คาชแ้ี จง
1. แบบบันทึกการสนทนากลุ่มชุดน้ี เป็นเครื่องมือการวิจัยในระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง
อาเภอศรธี าตุ จงั หวัดอดุ รธานี โดยใช้วธิ กี ารสนทนากล่มุ

2. แบบบนั ทกึ การสนทนากล่มุ แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ได้แก่
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู รายชื่อผูเ้ ขา้ ร่วมเวทกี ารสนทนากลมุ่
ตอนที่ 2 แนวทางการประยกุ ตใ์ ช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติมจากผู้เข้ารว่ มการสนทนากลมุ่

ผวู้ ิจยั หวังวา่ จะไดร้ บั ความเมตตานุเคราะหจ์ ากท่านในการให้ขอ้ มลู ครัง้ นเี้ ปน็ อย่างดียิง่ และคณะวิจัย
ขออนญุ าตบนั ทึกภาพและบนั ทึกเสยี งในขณะทท่ี าการเก็บข้อมลู วิจยั เพอ่ื ใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู
ต่อไป และขอกราบขอบพระคณุ ท่านมาด้วย ณ โอกาสน้ี

คณะวจิ ยั ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนอดุ รธานี

ตอนที่ 1 ข้อมลู รายชอื่ ผู้เข้ารว่ มเวทกี ารสนทนากลมุ่

ผูเ้ ขา้ รว่ มเวทสี นทนากล่มุ จานวน 25 คน ได้แก่

ลาดับ ช่ือ-สกุล ท่อี ยู่ท่ีสามารถติดต่อได้ เบอรโ์ ทรศพั ท์

สมาชกิ กลมุ่ กสิกรรมธรรมชาติครสิ ตจกั รนาเรยี ง อาเภอศรีธาตุ จงั หวดั อุดรธานี

1

2

3

4

5

6

7

8

130

ผ้นู าชุมชนในเขตพ้ืนท่ีอาเภอศรธี าตุ จังหวัดอุดรธานี
1
2
3
4
5

ตอนที่ 2 แนวทางการประยุกต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

คาถามขอ้ ท่ี 1 ชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรียง ได้มีการประยุกต์ใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวันอย่างไรบา้ ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
คาถามข้อที่ 2 "3 ห่วง 2 เงื่อนไข” ที่เป็นกรอบแนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีส่วนสาคัญต่อ
การสรา้ งแหลง่ อาหารท่ปี ลอดภัยหรือไม่ อย่างไร
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. .............................................................. ..............................
คาถามขอ้ ท่ี 3 หากกลา่ วถึงทฤษฎบี ันได 9 ขั้นสูค่ วามพอเพยี ง ในระดับข้ันพน้ื ฐาน หรอื ที่เรียกว่า หลกั 4 พอ
คือ พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น ท่านคิดว่ามีความจาเป็นต่อครัวเรือนของตนเองอย่างไร และส่งผลกระทบ
ให้มแี หล่งอาหารท่ปี ลอดภัยของชุมชนได้อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
คาถามข้อท่ี 4 หากกล่าวถึงทฤษฎีบันได 9 ขั้นสู่ความพอเพียง ในระดับขั้นก้าวหน้า คือ ทาบุญ ทาทาน
เก็บรักษา ขายหรือจาหน่าย และเครือข่าย จัดลาดับความสาคัญถูกต้องหรือไม่ รวมท้ังท่านคิดว่ามีผลกระทบ
ตอ่ การมีแหลง่ อาหารทป่ี ลอดภยั ของมนษุ ย์อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
คาถามขอ้ ท่ี 5 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวพระราชดาริทฤษฎีใหม่ และความมั่นคงทางอาหาร
มีความสมั พนั ธก์ นั หรอื ไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

131

คาถามขอ้ ท่ี 6 การพึ่งตนเองของชุมชนในทุกด้าน โดยเฉพาะการสร้างแหล่งอาหารที่ปลอดภัย มีส่วนช่วยให้
เกิดความมนั่ คงทางอาหารของชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาตคิ รสิ ตจักรนาเรียงหรือไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

คาถามขอ้ ท่ี 7 สมาชิกในชุมชนกสิกรรมธรรมชาติคริสตจักรนาเรียงได้มีการน้อมนาแนวพระราชดาริ และ
เกษตรทฤษฎีใหม่ และการพัฒนาพื้นท่ีตามรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล มาปรับใช้กับการพัฒนาพ้ืนท่ีแปลง
เกษตรของตนเองหรอื ไม่ อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................. ................

ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติมจากผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่ม

คาถามข้อท่ี 1 ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมเก่ียวกับการพัฒนาพื้นท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
คาถามข้อที่ 2 ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งของชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาตมิ าตรฐานอินทรียว์ ิถไี ทยคริสตจักรนาเรยี ง อาเภอศรธี าตุ จังหวัดอุดรธานี
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

132

ภาคผนวก ค.
แบบบนั ทกึ การประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารวิจยั

133

แบบบนั ทกึ การประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ าร
การศกึ ษาวิจัย เรือ่ ง กลยทุ ธ์การสรา้ งความมนั่ คงทางอาหารตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ของชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรยี ์วิถีไทยคริสตจกั รนาเรยี ง อาเภอศรีธาตุ จงั หวดั อดุ รธานี

คาชแี้ จง
1. แบบบันทึกการสนทนากลุ่มชุดนี้ เป็นเคร่ืองมือการวิจัยในระยะที่ 2 กาหนดกลยุทธ์การสร้างความ

มั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนกสิกรรมธรรมชาติมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย
ครสิ ตจักรนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จงั หวัดอดุ รธานี โดยใชว้ ิธีการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร

2. แบบบันทกึ การสนทนากลุ่ม แบง่ ออกเปน็ 4 ตอน ได้แก่
ตอนที่ 1 ข้อมลู รายชอื่ ผู้เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร
ตอนท่ี 2 ร่างกลยุทธ์การสร้างความม่ันคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ของชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาตมิ าตรฐานอินทรีย์วถิ ีไทยครสิ ตจกั รนาเรยี ง
ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะและขอ้ คดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ จากผู้เขา้ รว่ มการประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร

ผวู้ ิจัยหวงั ว่าจะได้รับความเมตตานเุ คราะห์จากท่านในการให้ขอ้ มลู ครง้ั นี้เป็นอยา่ งดียิง่ และคณะวจิ ยั
ขออนญุ าตบนั ทกึ ภาพและบนั ทึกเสยี งในขณะทีท่ าการเก็บข้อมลู วจิ ยั เพอื่ ใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ต่อไป และขอกราบขอบพระคุณทา่ นมาดว้ ย ณ โอกาสนี้

คณะวิจัยศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลรายชอื่ ผ้เู ข้ารว่ มการประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ าร

ผเู้ ขา้ รว่ มเวทีสนทนากลุ่ม จานวน 25 คน ได้แก่

ลาดบั ชอ่ื -สกุล ท่อี ยู่ท่สี ามารถตดิ ต่อได้ เบอรโ์ ทรศัพท์

สมาชิกกล่มุ กสิกรรมธรรมชาติคริสตจักรนาเรียง อาเภอศรีธาตุ จงั หวัดอุดรธานี

1

2

3

4

5

6

7

134

ผู้นาชมุ ชนในเขตพน้ื ที่อาเภอศรธี าตุ จงั หวดั อดุ รธานี
1
2
3
4
5

ตอนท่ี 2 รา่ งกลยุทธ์การสร้างความมัน่ คงทางอาหารตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ของชุมชนกสิกรรมธรรมชาตมิ าตรฐานอินทรีย์วิถไี ทยคริสตจกั รนาเรยี ง

1. แนวคดิ หลกั การและเหตุผล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. เป้าหมาย
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. เนื้อหาสาระ ประกอบดว้ ย

3.1 การกาหนดทศิ ทาง
........................................................................................................................................ ......................................
..............................................................................................................................................................................

3.2 การประเมินสภาพแวดล้อม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

3.3 การกาหนดกลยทุ ธ์
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

3.4 การนากลยุทธไ์ ปสูก่ ารปฏิบัติ
.............................................................................................................................................. ................................
..............................................................................................................................................................................
4. กระบวนการและวิธีการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

135

5. การติดตามประเมนิ ผล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นเพ่ิมเตมิ จากการประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ าร

1. ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติมจากสมาชกิ เครือข่ายกสกิ รรมธรรมชาติ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติมจากผู้นาชมุ ชน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. ประเดน็ การปรับปรุงแก้ไขร่างกลยุทธ์การสรา้ งความม่ันคงทางอาหารตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ของชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาตมิ าตรฐานอินทรียว์ ิถไี ทยครสิ ตจกั รนาเรียง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. การลงมตริ บั รองการปรบั ปรงุ แกไ้ ขร่างกลยทุ ธก์ ารสรา้ งความมน่ั คงทางอาหารตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งของชุมชนกสิกรรมธรรมชาตมิ าตรฐานอินทรยี ์วถิ ไี ทยครสิ ตจกั รนาเรยี ง

4.1 แนวคิด หลักการและเหตุผล
..................................................................................................... .........................................................................

4.2 เป้าหมาย
............................................................................................................................. .................................................

4.3 เนื้อหาสาระ ประกอบด้วย การกาหนดทิศทาง การประเมินสภาพแวดล้อม การกาหนดกลยุทธ์
และการนากลยทุ ธ์ไปสกู่ ารปฏบิ ัติ
............................................................................................................................. .................................................

4.4 กระบวนการและวิธีการ
............................................................................................................................. .................................................

4.5 การตดิ ตามประเมนิ ผล
............................................................................................................................. .................................................

5. ยืนยันการรับรองใช้แผนกลยุทธ์การสร้างความม่ันคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ
ชุมชนกสิกรรมธรรมชาตมิ าตรฐานอนิ ทรีย์วิถีไทยคริสตจักรนาเรยี ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

136

ภาคผนวก ง.
ประเดน็ การเกบ็ ขอ้ มลู การวิจยั เพิม่ เติม

137

ประเดน็ การเก็บขอ้ มลู การวิจยั เพ่ิมเติม
กลยทุ ธก์ ารสรา้ งความมนั่ คงทางอาหารตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของชมุ ชนกสกิ รรมธรรมชาตมิ าตรฐานอินทรีย์วถิ ีไทยครสิ ตจักรนาเรียง อาเภอศรธี าตุ จังหวัดอดุ รธานี

ตอนท่ี 1 ศกั ยภาพและกระบวนการสรา้ งความม่นั คงทางอาหาร
1. การเขา้ ถงึ อาหารท่ีปลอดภัย

1.1 อาหารทบ่ี ริโภคในครัวเรือนส่วนใหญ่
1.2 วตั ถุดิบประเภทผักที่ใชป้ ระกอบอาหาร
1.3 วตั ถุดบิ ประเภทเน้ือสตั วห์ รอื โปรตีน ไข่ ทใ่ี ช้ประกอบอาหาร
1.4 แหล่งอาหารตามธรรมชาตทิ ี่สามารถหาอยู่หากินได้
2. การมีอาหารทเ่ี พยี งพอและมีคุณภาพ
2.1 อาหารทช่ี มุ ชนสามารถผลิตเองได้และเพียงพอตลอดทั้งปี
2.2 พืชผกั สวนครัวทสี่ ามารถผลติ เองได้ในชมุ ชน และจาหนา่ ยเป็นรายไดใ้ ห้ครวั เรือน
2.3 อาหารหลกั ทสี่ มาชกิ ในชุมชนนยิ มรบั ประทานมากทีส่ ุด แบง่ เปน็ อาหารเช้า อารหารกลางวัน
และอาหารเยน็
2.4 เครอ่ื งปรุงทใ่ี ชใ้ นการประกอบอาหาร
2.5 เครื่องเทศที่ใช้ในการประกอบอาหาร
2.6 การแปรรปู และถนอมอาหาร
3. การใช้ประโยชนจ์ ากอาหาร
3.1 พน้ื ทีส่ าหรับการปลูกพชื ผัก และเลยี้ งสัตว์สาหรบั เปน็ อาหารของชมุ ชน
3.2 แหลง่ น้าสาหรบั ใช้ในการปลูกพืชผัก เลยี้ งสตั ว์ และทาการเกษตรของชุมชน
3.3 การจัดการพนื้ ทส่ี าหรับการสร้างแหล่งอาหารของชมุ ชน
4. ความมีเสถยี รภาพด้านอาหาร
4.1 การรวมกลุม่ ของชุมชนในการจัดการทรัพยากรอาหาร แบง่ เป็น กลุ่มปลกู พืชผกั กลุ่มเลย้ี งสตั ว์
และกล่มุ แปรรปู อาหาร
4.2 การมธี นาคารเมล็ดพนั ธพ์ุ ืชของชมุ ชน
4.3 การเตรียมความพร้อมด้านการขยายพนั ธุ์พืชและพันธุส์ ตั ว์ท่ใี ชเ้ ป็นอาหารของชมุ ชน

138

ตอนที่ 2 แนวทางการประยุกตใ์ ช้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
1. การประยุกตใ์ ช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวนั
2. "3 ห่วง 2 เง่ือนไข” ที่เป็นกรอบแนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีส่วนสาคัญต่อการสร้างแหล่ง
อาหารที่ปลอดภยั ของชมุ ชน
3. ทฤษฎบี ันได 9 ข้นั สคู่ วามพอเพียง ในระดบั ขน้ั พ้ืนฐาน หรอื ท่ีเรียกว่า หลกั 4 พอ คือ

3.1 พอกิน
3.2 พอใช้
3.3 พออยู่
3.4 พอรม่ เยน็
และในระดับข้ันก้าวหน้า คอื
3.5 ทาบญุ
3.6 ทาทาน
3.7 เกบ็ รกั ษา
3.8 ขายหรอื จาหน่าย
3.9 เครอื ขา่ ย
4. การพงึ่ ตนเองของชุมชนในทุกดา้ น โดยเฉพาะการสรา้ งแหล่งอาหารท่ปี ลอดภยั มสี ่วนชว่ ยใหเ้ กิดความม่ันคง
ทางอาหารของชมุ ชนกสิกรรมธรรมชาติคริสตจกั รนาเรียง
5. สมาชิกในชุมชนกสิกรรมธรรมชาติคริสตจักรนาเรยี งได้มีการน้อมนาแนวพระราชดาริ และเกษตรทฤษฎีใหม่
และการพฒั นาพ้นื ทีต่ ามรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล มาปรับใช้กับการพฒั นาพื้นท่แี ปลงเกษตรของตนเอง

ตอนท่ี 3 รา่ งกลยุทธก์ ารสรา้ งความมั่นคงทางอาหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ของชุมชนกสิกรรมธรรมชาตมิ าตรฐานอนิ ทรยี ์วิถีไทยคริสตจกั รนาเรยี ง

1. แนวคิด หลกั การและเหตผุ ล
2. เป้าหมาย
3. เน้ือหาสาระ ประกอบดว้ ย

3.1 การกาหนดทิศทาง
3.2 การประเมินสภาพแวดล้อม
3.3 การกาหนดกลยทุ ธ์
3.4 การนากลยทุ ธไ์ ปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
4. กระบวนการและวธิ กี าร
5. การตดิ ตามประเมนิ ผล

139

ภาคผนวก จ.
หนังสือขอความอนเุ คราะห์เกบ็ ข้อมูลการวิจัย รายชือ่ ผใู้ หข้ อ้ มลู การวจิ ัย

และคาสง่ั คณะทางานโครงการศึกษาวิจยั

140

141

รายช่อื กลุ่มเปา้ หมายท่ีใหข้ ้อมูล

กลยุทธ์การสรา้ งความมนั่ คงทางอาหารตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ของชุมชนกสกิ รรมธรรมชาตมิ าตรฐานอินทรยี ์วถิ ไี ทยครสิ ตจักรนาเรียง อาเภอศรธี าตุ จังหวดั อุดรธานี

ที่ ชือ่ -สกุล ตาแหน่งสังคม ทีอ่ ย่/ู สังกดั

ผใู้ หข้ ้อมูลสาคัญ

1 น.ส.จนั ทริ า ยอดเพช็ ร นว.พช.ชานาญการ สพอ.ศรธี าตุ

2 นายไพฑรู ย์ สลี าโคตร นว.พช.ปฏิบตั ิการ สพอ.ศรธี าตุ

3 นายไชยยา โนนอาสา ผอ.ศูนย์กสกิ รรมธรรมชาติ บ.นางาม ต.ตาดทอง

4 นายศกั ดิ์ ศรียงั สมาชกิ กลุ่มกสิกรรมธรรมชาติ บ.นางาม ต.ตาดทอง

5 นายแสวง ศรีธรรมบตุ ร ปราชญช์ ุมชน บ.นางาม ต.ตาดทอง

6 นายศริ ิชัย นามวเิ ศษ รองประธานกลุม่ กสิกรรมธรรมชาติ บ.จาปี ต.จาปี

7 นายคาจันทร์ วบิ ลู ย์กุล สมาชิกกลมุ่ กสิกรรมธรรมชาติ บ.นางาม ต.ตาดทอง

8 นายบุญเพ็ง เบ็ญวนั สมาชิกกลุม่ กสิกรรมธรรมชาติ บ.ตาด ต.ตาดทอง

9 นางแสงจันทร์ ทองสุมาตร สมาชกิ กล่มุ กสิกรรมธรรมชาติ บ.นางาม ต.ตาดทอง

10 นายวิวฒั น์ บญุ เดช สมาชิกกลุ่มกสิกรรมธรรมชาติ บ.นางาม ต.ตาดทอง

ผู้นาทอ้ งท่/ี ผูน้ าทอ้ งถ่ิน

1 นายพดั พุดตาแสง ผใู้ หญบ่ ้าน บ.นางาม ต.ตาดทอง

2 นายชชั วาล ทองสมุ าตร ผชู้ ว่ ยผู้ใหญ่บา้ น บ.นางาม ต.ตาดทอง

3 นายทองพดุ ปิตตาแสง กรรมการหมู่บา้ น บ.นางาม ต.ตาดทอง

4 นายประสทิ ธิ์ พนะราบ กรรมการหมู่บ้าน บ.นางาม ต.ตาดทอง

5 นายพงษ์ศักด์ิ แกว้ เวียงกนั กรรมการหมู่บ้าน บ.นางาม ต.ตาดทอง

ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ

1 อาจารยป์ รญิ ญา นาเมืองรักษ์ ประธานเครือขา่ ยกสิกรรมธรรมชาติ มูลนธิ กิ สกิ รรมธรรมชาติ

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

2 อาจารย์เฉลิมศกั ดิ์ ถนอมสิทธิ์ ผอ.ศนู ย์กสิกรรมธรรมชาติกาสนิ ธ์ุ มลู นธิ ิกสกิ รรมธรรมชาติ

3 ผศ.ดร.บุษกร สขุ แสน อาจารยส์ าขายุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภฏั

อุดรธานี

4 อาจารยท์ องอนิ ทร์ คามี นักวิทยาศาสตร์ปฏิบตั ิการ คณะวิทยาศาสตร์

มหาวิทยาลยั ขอนแกน่

5 นายนิรันดร์ โคตรธรรม พัฒนาการอาเภอศรธี าตุ สพอ.ศรีธาตุ


Click to View FlipBook Version