The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรภาษาไทย-ป.5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Lanida Kdes, 2022-12-06 00:52:37

หลักสูตรภาษาไทย-ป.5

หลักสูตรภาษาไทย-ป.5



กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ทำไมต้องเรยี นภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และ
เสรมิ สร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่อื งมือในการติดต่อส่ือสารเพ่ือสร้างความเข้าใจ
และความสัมพันธ์ท่ีติดต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกันในสังคม

ประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล
สารสนเทศต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทนต่อการ

เปล่ยี นแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใชใ้ นการพัฒนาอาชีพให้
มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี
สนุ ทรียภาพ เป็นสมบัตลิ ้ำค่าควรแก่การเรยี นรู้ อนุรักษ์ และสบื สานให้คงอยคู่ ชู่ าติไทยตลอดไป

เรยี นรู้อะไรในภาษาไทย

ภาษาไทยเปน็ ทักษะทตี่ อ้ งฝึกฝนจนเกดิ ความชำนาญในการใชภ้ าษาเพือ่ การส่ือสาร การเรยี นร้อู ย่างมี

ประสิทธภิ าพ และเพ่อื นำไปใชใ้ นชีวิตจริง
 การอ่าน การอ่านออกเสียงคำ ประโยค การอ่านบทรอ้ ยแก้ว คำประพนั ธ์ชนดิ ต่าง ๆ การอ่านใน

ใจเพ่อื สรา้ งความเขา้ ใจ และการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ความรจู้ ากสิ่งท่ีอา่ น เพอ่ื นำไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
 การเขียน การเขียนละกดคำตามอักขรวิธี การเขยี นสอื่ สารรปู แบบตา่ ง ๆ การเขียนเรียงความ ย่อ

ความ เขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนตามจินตนาการ เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และเขียนเชิง

สร้างสรรค์
 การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมิวจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น

ความรู้สึก พูดลำดับเร่ืองราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ทั้งเป็นทางการและไม่เป็น

ทางการ และการพดู เพ่อื โน้มน้าวใจ
 หลักการใช้ภาษาไทย ศึกษาธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้อง

เหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่าง ๆ และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย

 วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิด
คุณค่าของงานประพันธ์ และเพ่ือความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก
เพลงพ้ืนบ้านที่เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี เร่อื งราวของสงั คมในอดตี และความงดงามของภาษา เพอ่ื ให้เกิดความซาบซ้ึงและภูมใิ จในบรรพบุรุษ

ทไ่ี ดส้ ่ังสมสืบทอดมาจนถงึ ปจั จุบนั



สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระท่ี ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ให้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคิดเพ่ือนำไปได้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดำเนิน

ชวี ติ แลว้ มีนิสยั รกั การอ่าน
สาระท่ี ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ

ตา่ ง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกใน

โอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์
สาระท่ี ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของ

ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และ

นำมาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริง

คณุ ภาพผูเ้ รยี น

จบชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓
 อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง
คล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคำและข้อความท่ีอ่าน ตั้งคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์ คาดคะเน
เหตุการณ์ สรปุ ความรู้ ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคำสงั่ คำอธิบายจากเรื่องท่ีอ่านได้ เข้าใจความหมาย
ของขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนที่และแผนภูมิ อ่านหนังสืออย่างสมำ่ เสมอ และมมี ารยาทในการอ่าน
 มที ักษะในการคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจำวัน เขียนจดหมายลา
ครู เขียนเรื่องเกี่ยวกบั ประสบการณ์ เขยี นเรือ่ งตามจินตนาการ และมมี ารยาทในการเขียน
 เล่ารายละเอียดและบอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รวมท้ังพูดแสดงความคิดความรู้สึก
เกยี่ วกับเรื่องที่ฟังและดู พดู สือ่ สาร เล่าประสบการณ์ และพูดแนะนำหรือพูดเชิญชวนใหผ้ อู้ ื่นปฏบิ ัติตาม และมี
มารยาทในการฟัง ดู และพดู
 สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ ความแตกต่างของคำและพยางค์ หน้าที่ของคำในประโยค
มที ักษะการใชพ้ จนานุกรนในการค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคำคล้องจอง แต่งคำขวัญ
และเลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
 เข้าใจและสรุปข้อคิดท่ีได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
แสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดีทอ่ี าน รู้จักเพลงพืน้ บา้ น เพลงกล่อมเดก็ ซ่งึ เปน็ วฒั นธรรมของท้องถิ่น ร้องบท
รอ้ งเลน่ สำหรับเด็กในท้องถน่ิ ทอ่ งจำบทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทีม่ คี ุณค่าตามความสนใจได้

จบช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖
 อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองเปน็ ทำนองเสนาะไดถ้ ูกต้องอธิบายความหมาย

โดยตรงและโดยนัยของคำ ประโยค ขอ้ ความ สำนวนโวหารจากเรื่องที่อา่ น เข้าใจคำแนะนำ คำอธิบายใน
ค่มู ือต่างๆ แยกแยะข้อคิดเหน็ และขอ้ เท็จจริง จับใจความสำคญั ของเร่อื งที่อ่านและนำความรู้ ความคิดจาก



เร่อื งทอ่ี า่ นไปตัดสนิ ใจแก้ปญั หาในการดำเนินชวี ิต มมี ารยาทและมนี สิ ยั รกั การอา่ น และเห็นคุณค่าของส่งิ ที่
อ่าน

 มีทกั ษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และครึง่ บรรทดั เขยี นสะกดคำ แต่งประโยค
และเขยี นข้อความ ตลอดจนเขยี นส่ือสารโดยใช้ถ้อยคำชดั เจนเหมาะสม ใช้แผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพ
ความคิด เพ่อื พัฒนางานเขยี น เขียนเรียงความ ยอ่ ความ จดหมายสว่ นตวั กรอกแบบรายการต่าง ๆ
เขียนแสดงความร้สู ึกและความคิดเห็น เขยี นเรื่องตามจินตนาการอยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมมี ารยาทในการเขยี น

 พูดแสดงความรู้ ความคดิ เกย่ี วกบั เร่ืองทีฟ่ งั และดู เล่าเรอ่ื งย่อหรือสรุปจากเรือ่ งที่ฟงั และดู
ตง้ั คำถาม ตอบคำถามจากเรอ่ื งท่ีฟังและดู รวมทง้ั ประเมินความนา่ เช่อื ถือจากากรฟังและดูโฆษณาอยา่ งมี
เหตุผล พูดตามลำดับข้นั ตอนเร่อื งต่าง ๆ อยา่ งชดั เจน พูดรายงานหรือประเดน็ คน้ คว้าจากการฟัง การ
ดู การสนทนา และพูดโน้มน้าวได้อยา่ งมเี หตุผล รวมทง้ั มมี ารยาทในการฟงั ดูและพูด

 สะกดคำและเขา้ ใจความหมายของคำ สำนวน คำพงั เพยและสุภาษิต รูแ้ ละเข้าใจชนดิ และ
หนา้ ท่ขี องคำในประโยค ชนิดของประโยค คำภาษาถ่ินและคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คำราชา
ศัพท์และคำสุภาพได้อยา่ งเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพและกาพย์
ยานี ๑๑

 เข้าใจและเหน็ คุณคา่ วรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ า่ น เล่านิทานพื้นบ้าน รอ้ งเพลงพื้นบ้าน ของ
ท้องถ่ิน นำขอ้ คิดเห็นจากเร่อื งที่อา่ นไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ และทอ่ งจำบทอาขยานตามทกี่ ำหนดให้



ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

สาระท่ี ๑ การอ่าน

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ
ดำเนนิ ชีวิต และมีนสิ ัยรกั การอ่าน

ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

๑. อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองได้ การอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของ

ถกู ตอ้ ง บทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองทปี่ ระกอบด้วย

๒. อธบิ ายความหมายของคำ ประโยคและข้อความ - คำทม่ี ีพยญั ชนะควบกลำ้

ท่ีเปน็ การบรรยายและการพรรณนา - คำท่ีมีอักษรนำ

๓. อธบิ ายความหมายโดยนัย จากเร่อื งท่ีอา่ น - คำที่มตี ัวการันต์

อยา่ งหลากหลาย - อกั ษรยอ่ และเครือ่ งหมายวรรคตอน

- ขอ้ ความทเี่ ปน็ การบรรยายและพรรณนา

- ขอ้ ความทีม่ คี วามหมายโดยนยั

การอ่านบทรอ้ ยกรองเป็นทำนองเสนาะ

๔. แยกข้อเท็จจริงและข้อคดิ เหน็ จากเรอ่ื งท่ีอ่าน การอ่านจบั ใจความจากส่อื ตา่ งๆ เชน่

๕. วเิ คราะห์และแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกบั เร่อื งที่ - วรรณคดใี นบทเรยี น

อ่านเพือ่ นำไปใช้ในการดำเนินชวี ิต - บทความ

- บทโฆษณา

- งานเขียนประเภทโนม้ นา้ วใจ

- ขา่ วและเหตุการณป์ ระจำวนั

๖. อ่านงานเขยี นเชงิ อธบิ าย คำสง่ั ขอ้ แนะนำ การอา่ นงานเขียนเชิงอธบิ าย คำสัง่ ขอ้ แนะนำ

และปฏิบัตติ าม และปฏบิ ตั ิตาม เชน่

- การใช้พจนานกุ รม

- การใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์

- การอ่านฉลากยา

- คมู่ อื และเอกสารของโรงเรียนท่เี กยี่ วขอ้ งกบั

นักเรียน

- ขา่ วสารทางราชการ

๗. อ่านหนังสอื ทม่ี คี ณุ ค่าตามความสนใจอย่าง การอ่านหนังสือตามความสนใจ เชน่

สมำ่ เสมอและแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั เรื่อง - หนังสอื ท่ีนักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวยั

ทอ่ี ่าน - หนงั สือท่ีครูและนกั เรยี นกำหนดร่วมกัน

๘. มมี ารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอ่าน



สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวในรูปแบบ

ต่าง ๆ
เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี

ประสทิ ธิภาพ

ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

๑. คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัด และครง่ึ บรรทัด  การคัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครง่ึ
บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอกั ษรไทย

๒. เขยี นส่ือสารโดยใช้คำได้ถกู ตอ้ งชัดเจน และ  การเขยี นส่ือสาร เชน่

เหมาะสม - คำขวญั

- คำอวยพร

- คำแนะนำและคำอธิบายแสดงขนั้ ตอน

๓. เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิด  การนำแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพ

เพื่อใช้พฒั นางานเขยี น ความคิดไปพัฒนางานเขียน

๔. เขียนยอ่ ความจากเรือ่ งทีอ่ ่าน  การเขียนยอ่ ความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน

ความเรียงประเภทต่างๆ ประกาศ แจ้งความ

แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรยั

๕. เขยี นจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ  การเขียนจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ

๖. เขยี นแสดงความร้สู ึกและความคิดเห็นได้ตรงตาม  การเขยี นแสดงความรสู้ กึ และความคดิ เห็น

เจตนา

๗. กรอกแบบรายการตา่ งๆ  การกรอกแบบรายการ

- ใบฝากเงินและใบถอนเงิน

- ธนาณตั ิ

- แบบฝากส่งพสั ดไุ ปรษณียภัณฑ์

๘. เขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ  การเขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ

๙. มีมารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขยี น



สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความร้สู ึก

ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์

ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

๑. พดู แสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรู้สึก  การจับใจความ และการพดู แสดงความรู้

จากเรื่องทีฟ่ งั และดู ความคิดในเรื่องทฟ่ี งั และดู จากส่อื ต่างๆ เช่น

๒. ต้งั คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผลจากเร่อื งที่ - เร่ืองเลา่

ฟงั และดู - บทความ

๓. วิเคราะห์ความนา่ เชื่อถือจากเร่ืองทฟ่ี งั และดู - ข่าวและเหตกุ ารณ์ประจำวนั

อย่างมเี หตผุ ล - โฆษณา

- ส่อื สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์

 การวิเคราะหค์ วามน่าเชื่อถือจากเร่ืองที่ฟงั และ

ดูในชวี ิตประจำวัน

๔. พูดรายงานเรอื่ งหรือประเด็นทีศ่ กึ ษาค้นคว้าจาก  การรายงาน เชน่

การฟงั การดู และการสนทนา - การพูดลำดับข้ันตอนการปฏบิ ัติงาน

- การพูดลำดบั เหตุการณ์

๕. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง การดู และการพดู



สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา

ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ

ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

๑. ระบชุ นดิ และหน้าที่ของคำในประโยค  ชนิดของคำ ได้แก่
- คำบุพบท
๒. จำแนกส่วนประกอบของประโยค - คำสนั ธาน
๓. เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่ิน - คำอุทาน

๔. ใชค้ ำราชาศัพท์  ประโยคและสว่ นประกอบของประโยค
๕. บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
๖. แต่งบทร้อยกรอง  ภาษาไทยมาตรฐาน
๗. ใช้สำนวนได้ถกู ต้อง  ภาษาถิน่

 คำราชาศัพท์

 คำทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ

 กาพย์ยานี ๑๑

 สำนวนทเ่ี ปน็ คำพงั เพยและสุภาษติ

สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ ค่า

และนำมาประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ

ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

๑. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมทอี่ า่ น  วรรณคดีและวรรณกรรม เชน่

๒. ระบุความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอา่ นวรรณคดแี ละ - นทิ านพื้นบ้าน

วรรณกรรมทีส่ ามารถนำไปใชใ้ นชีวิตจรงิ - นทิ านคติธรรม

๓. อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม - เพลงพืน้ บา้ น

- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียนและตาม

ความสนใจ

๔. ท่องจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทร้อย  บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี ีคุณคา่

กรองทีม่ ีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กำหนด

- บทร้อยกรองตามความสนใจ



ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรรู้ ายปี

สาระที่ ๑ การอ่าน

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นำไปใชต้ ัดสนิ ใจแกป้ ัญหาใน
การดำเนนิ ชวี ิต และมีนสิ ัยรักการอ่าน

ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง กจิ กรรม / กระบวนการเรียนรู้

๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ  การอ่านออกเสยี งและการ ▪ อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้ว
บทรอ้ ยกรอง
บทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง (p) บอกความหมายของบทร้อย - คำควบกล้ำ
- คำท่ีมอี กั ษรนำ
๒. อธิบายความหมายของคำ แกว้ และบทรอ้ ยกรองที่ - คำทมี่ ีตัวการันต์
- ข้อความ
ประโยคและข้อความท่ีเปน็ ประกอบด้วย - อกั ษรยอ่ เครื่องหมายวรรค
ตอน
การบรรยายและการพรรณนา - คำทม่ี ีพยญั ชนะควบกลำ้
▪ อา่ นทำนองเสนาะ
(k p) - คำท่มี ีอกั ษรนำ ▪ อธิบาย พรรณนา บรรยาย
▪ บอกความหมายของคำ
๓. อธบิ ายความหมายโดยนัยจาก - คำท่มี ีตวั การันต์ ▪ สนทนา ซักถาม
▪ อภปิ ราย สรปุ
เรอ่ื งทอ่ี า่ นอยา่ งหลากหลาย(k) - อกั ษรยอ่ และเครอื่ งหมาย
▪ อ่านในใจ
วรรคตอน ▪ สนทนา ซกั ถาม
▪ วิเคราะห์
- ขอ้ ความทเ่ี ป็นการบรรยาย ▪ แสดงความคิดเหน็
▪ แยกแยะข้อเทจ็ จริง
และพรรณนา ▪ อภิปราย
▪ สรปุ
- ขอ้ ความท่มี ีความหมาย ▪ นำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน
▪ อา่ นคำส่งั คำแนะนำ
โดยนยั ▪ ปฏิบตั ิตามคำสง่ั คำแนะนำ
▪ อา่ นป้ายต่าง
 การอา่ นบทรอ้ ยกรองเปน็ ▪ ใชพ้ จนานกุ รมค้นควา้
▪ อ่านขา่ วสาร
ทำนองเสนาะ ▪ รกั การอ่าน

๔. แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น  การอ่านจบั ใจความจากส่ือ

จากเร่ืองที่อ่าน (k a) ตา่ งๆ เชน่

๕. วิเคราะหแ์ ละแสดงความ - วรรณคดใี นบทเรยี น

คิดเหน็ เกย่ี วกับเรื่องทอ่ี า่ นเพื่อ - บทความ

นำไปใช้ในการดำเนนิ ชวี ิต - บทโฆษณา

(k a) - งานเขยี นประเภท

โน้มนา้ วใจ

- ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจำวัน

๖. อา่ นงานเขยี นเชงิ อธิบาย คำสั่ง  การอา่ นงานเขียนเชิงอธิบาย
ขอ้ แนะนำ และปฏิบัติตาม (p) คำสัง่ ขอ้ แนะนำ และปฏบิ ัตติ าม

เช่น

- การใชพ้ จนานกุ รม

- การใชว้ ัสดุอุปกรณ์

- การอ่านฉลากยา

- คมู่ อื และเอกสารของโรงเรยี นท่ี



เก่ยี วข้องกับนักเรยี น

- ข่าวสารทางราชการ

๗. อา่ นหนงั สอื ทมี่ คี ณุ ค่าตาม  การอ่านหนังสือตามความ ▪ อ่านหนังสอื ในเวลาวา่ ง
▪ สนใจคน้ คว้าหนังสือจากแหล่ง
ความ สนใจ เช่น
เรยี นรู้นอกชนั้ เรยี น
สนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดง - หนงั สอื ท่นี กั เรยี นสนใจและ ▪ เลา่ เรื่องจากการอ่าน
▪ สนทนาซกั ถามจาการอ่าน
ความคิดเห็นเก่ยี วกับเรือ่ งท่ี เหมาะสมกับวยั ▪ ตอบคำถามจาการอา่ น
▪ แสดงความคิดเห็นในเร่ืองที่
อา่ น - หนงั สือท่ีครแู ละนกั เรยี น
อ่าน
(p) กำหนดรว่ มกัน ▪ สรปุ ขอ้ คิดทไ่ี ด้จากการอา่ น

๘. มีมารยาทในการอา่ น (a)  มารยาทในการอา่ น ▪ ปฏิบตั ติ นตามหลกั การอ่าน

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความและเขียนเรื่องราวใน
รูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้

๑. คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั  การคัดลายมอื ตวั บรรจงเต็ม ▪ กระบวนการเขยี น

และคร่ึงบรรทัด (p) บรรทดั และครึ่งบรรทดั ตาม - ขอ้ ปฏิบัติในการเขยี น

รูปแบบการเขียนตวั อักษรไทย - คัดตวั บรรจงเตม็ บรรทัด

- คัดตวั บรรจงคร่งึ บรรทัด

- คัดตามรปู แบบ

๒. เขียนสือ่ สารโดยใช้คำได้  การเขียนส่อื สาร เช่น ▪ ศึกษารปู แบบการเขยี น

ถกู ต้องชดั เจน และเหมาะสม (p) - คำขวัญ ▪ อภปิ ราย สนทนา

- คำอวยพร ▪ ออกแบบงาน

- คำแนะนำและคำอธบิ ายแสดง ▪ ออกแบบตัวหนังสอื
ขั้นตอน
▪ ฝกึ เขียน

- คำขวัญ

- คำอวยพร

- คำอธิบาย แสดงขน้ั ตอน

- ป้ายต่างๆ

๓. เขียนแผนภาพโครงเรือ่ งและ  การนำแผนภาพโครงเรอ่ื งและ ▪ ศึกษารปู แบบ
แผนภาพความคิดเพอื่ ใชพ้ ฒั นา แผนภาพความคิดไปพฒั นา ▪ อภิปราย สนทนา
งานเขยี น (p) งาน
▪ เขยี นแผนภาพโครงเร่ือง
เขียน ▪ เขียนแผนภาพความคิด,

สรปุ

๑๐

๔. เขยี นยอ่ ความจากเรอ่ื งท่อี ่าน  การเขยี นยอ่ ความจากสอ่ื ต่างๆ ▪ ศกึ ษารูปแบบ
(p) เชน่ นทิ าน ความเรยี งประเภท ▪ เขยี นสรุปความจากเร่อื งท่ี
ต่างๆ ประกาศ แจง้ ความ
อ่าน
แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน ▪ เขยี นย่อความตามรูปแบบ
โอวาท คำปราศรัย

๕. เขียนจดหมายถึงผปู้ กครองและ  การเขยี นจดหมายถงึ ผปู้ กครอง ▪ ศึกษารูปแบบ

ญาติ (p) และญาติ ▪ เขยี นจดหมาย

▪ อภปิ รายผลงาน

▪ สรุป

๖. เขยี นแสดงความรสู้ กึ และความ  การเขยี นแสดงความรสู้ ึกและ ▪ อภิปราย

คิดเห็นได้ตรงตามเจตนา(P a) ความคิดเห็น ▪ บอกหรอื เลา่ ความรู้สกึ

▪ เขยี นแสดงความร้สู กึ จาก

เรอื่ งราวต่างๆ

▪ เขียนแสดงความคิดเห็น

๗. กรอกแบบรายการต่าง ๆ (p k)  การกรอกแบบรายการ ▪ เขยี นกรองรายการตาม

- ใบฝากเงนิ และใบถอนเงนิ แบบฟอรม์ ต่างๆ

- ธนาณัติ

- แบบฝากสง่ พัสดุ

ไปรษณียภัณฑ์

๘. เขยี นเรื่องตามจินตนาการ (p)  การเขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการ ▪ ศึกษาผลงานการเขยี น

▪ อภปิ ราย อธบิ ายรูปแบบ

▪ เขียนเร่อื งตามจินตนาการเชิง

สร้างสรรค์

๙. มีมารยาทในการเขียน (a)  มารยาทในการเขยี น ▪ ฝกึ ปฏบิ ัติตามหลกั การเขยี น

สาระที่ ๓ การฟงั การดู การพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคิด และ

ความรสู้ ึก ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง กิจกรรม / กระบวนการเรยี นรู้

๑. พดู แสดงความรู้ ความคดิ เหน็  การจับใจความ และการพดู ▪ กระบวนการฟงั การดู
และความร้สู กึ จากเรื่องทฟ่ี งั การพดู
และดู (p k a) แสดงความรู้ ความคิดในเร่ือง - มารยาท
ท่ฟี ังและดู จากสื่อตา่ งๆ เชน่
- ขอ้ ปฏิบัติ
- เรื่องเลา่
▪ ศึกษาค้นควา้

- บทความ ▪ สนทนา ซักถาม

▪ แสดงความคิดเหน็

๑๑

๒. ตงั้ คำถามและตอบคำถามเชิง - ขา่ วและเหตุการณป์ ระจำวนั ▪ อภิปรายความหมาย
เหตผุ ลจากเร่ืองท่ฟี ังและดู - โฆษณา ▪ เลา่ เรื่องย่อ
(k ) - สื่อสือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ ▪ บอกขอ้ คดิ
 การวิเคราะห์ความนา่ เชื่อถอื
๓. วิเคราะหค์ วามนา่ เชื่อถือจาก จากเร่ืองทฟี่ ังและดูใน ▪ ตงั้ คำถาม
เรอื่ งทฟ่ี ังและดูอยา่ งมีเหตุผล ชีวิตประจำวัน ▪ ตอบคำถามอยา่ งมีเหตุผล
( k a) ▪ สนทนา ซักถาม
▪ แสดงความคิดเหน็
▪ วิเคราะหข์ ้อเท็จจริง
▪ สรุปความนา่ เช่ือถือ
▪ ปรับใช้ในชวี ิตประจำวัน

๔. พดู รายงานเรอ่ื งหรอื ประเด็น  การรายงาน เชน่ ▪ ศึกษาคน้ ควา้
ท่ศี ึกษาค้นคว้าจากการฟงั การ - การพดู ลำดบั ขน้ั ตอนการ ▪ พดู นำเสนอหน้าช้นั เรยี น
ดูและการสนทนา( p ) ปฏิบตั ิงาน ▪ แสดงความคิดเห็นสมเหตุผล
- การพดู ลำดบั เหตุการณ์ ▪ วพิ ากษ์ วิจารณ์
๕. มีมารยาทในการฟงั การดู และ ▪ สนทนาตามลำดบั เหตุการณ์
การพดู (a)  มารยาทในการฟัง การดู และ ▪ สรปุ
การพดู
▪ อภิปรายมารยาทการพูด

การฟงั การดู
▪ สนทนา ซักถามรายกลมุ่
▪ แสดงความคดิ เหน็
▪ สำรวจการปฏิบัตติ นตาม

มารยาทการฟงั ดู พดู

สาระที่ ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของ

ภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษาและรักภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ

ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้

๑. ระบชุ นดิ และหน้าที่ของคำ  ชนิดของคำ ได้แก่ ▪ อ่านและหาความหมาย
ในประโยค ( k) ▪ ศกึ ษาค้นคว้า
- คำบพุ บท ▪ จำแนกชนิดของคำ
▪ ระบหุ นา้ ทขี่ องคำ
- คำสันธาน ▪ รายงานการศึกษาค้นควา้
▪ ใชค้ ำตามหน้าท่แี ละชนิด
- คำอุทาน

๑๒

๒. จำแนกสว่ นประกอบของ  ประโยคและสว่ นประกอบ ▪ ศึกษาคน้ ควา้
ประโยค( k )
ของประโยค ▪ สนทนา อภปิ ราย

▪ จำแนกส่วนประกอบของ

ประโยค

▪ บอกหนา้ ท่ีของคำในประโยค

๓. เปรยี บเทียบภาษาไทย  ภาษาไทยมาตรฐาน ▪ อา่ นและหาความหมาย

มาตรฐานกับภาษาถ่นิ ( k )  ภาษาถน่ิ ▪ ศึกษาค้นควา้

▪ เปรียบเทียบคำภาษาไทยและ

ภาษาถน่ิ

▪ จดั ทำพจนานกุ รมภาษาถนิ่
▪ รายงานการศึกษาค้นควา้

▪ ใช้คำตามหนา้ ท่ีและชนดิ

๔. ใชค้ ำราชาศัพท์ ( k p )  คำราชาศัพท์ ▪ อ่านและเขยี นคำราชาศัพท์

▪ พูดประโยคทีใ่ ช้คำราชาศพั ท์

▪ หาความหมายของคำ

▪ ใชค้ ำราชาศัพทแ์ ทนคำสามญั

๕. บอกคำภาษาตา่ งประเทศ  คำท่มี าจากภาษาตา่ งประเทศ ▪ ศกึ ษาคน้ ควา้

ในภาษาไทย( p k ) ▪ สนทนา อภปิ ราย

▪ รวบรวมคำภาษาต่างประเทศ

ในภาษาไทย

▪ รายงานการศึกษาคน้ ควา้

๖. แตง่ บทรอ้ ยกรอง ( p k )  กาพย์ยานี ๑๑ ▪ ศกึ ษาแผนผังและฉนั ทลักษณ์
▪ อ่านออกเสยี ง

▪ อา่ นทำนองเสนาะ

▪ แตง่ กาพย์ยานี ๑๑ รายกลุ่ม /บุคคล

▪ นำเสนอผลงาน

๗. ใชส้ ำนวนไดถ้ ูกต้อง ( k p )  สำนวนที่เปน็ คำพังเพยและ ▪ ศกึ ษาค้นควา้
สุภาษิต ▪ สนทนา อภิปราย

▪ รวบรวมสำนวน สุภาษิต คำพงั เพย

▪ ใช้เป็นขอ้ คิดในการดำเนนิ

ชวี ิตประจำวัน

๑๓

สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คุณคา่

และนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ

ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กจิ กรรม / กระบวนการเรยี นรู้

๑. สรุปเร่ืองจากวรรณคดหี รือ  วรรณคดีและวรรณกรรม เชน่ ▪ อ่านวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณกรรมท่ีอ่าน (k) - นิทานพื้นบา้ น
- นทิ านคติธรรม - นทิ านพ้นื บา้ น
๒. ระบุความรู้และขอ้ คดิ จากการ - เพลงพ้ืนบา้ น
อา่ นวรรณคดีและวรรณกรรม - วรรณคดีและวรรณกรรมใน - นทิ านคติธรรม
ทสี่ ามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ บทเรยี นและตามความสนใจ
(k a p) - เพลงพืน้ บา้ น
 บทอาขยานและบทร้อยกรอง
๓. อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดี ที่มีคณุ ค่า - วรรณคดแี ละวรรณกรรมใน
และวรรณกรรม (k) - บทอาขยานตามทก่ี ำหนด
- บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ บทเรียนหรือตามความสนใจ
๔. ทอ่ งจำบทอาขยานตามที่ ▪ ศึกษาค้นคว้า
กำหนดและบทร้อยกรองทม่ี ี ▪ สรุปเรื่องจากวรรณคดี /
คุณค่าตามความสนใจ (p)
วรรณกรรมทอี่ า่ น
▪ นำเสนอความรู้ / ข้อคิด

▪ ทอ่ งบทอาขยาน
▪ ทอ่ งบทรอ้ ยกรองทส่ี นใจ

รายบคุ คล / รายกลุม่
▪ อภปิ รายคุณคา่
▪ สรปุ ข้อคิดทีไ่ ด้

๑๔

โครงสรา้ งรายวิชาภาษาไทย

ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง

ลำดบั ชือ่ หนว่ ยการ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วัด เวลา นำ้ หนัก
ท่ี เรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

๑ ครอบครวั ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๔ ป ๕/๕ 7 5

พอเพยี ง ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ 7 5

ท ๓.๑ ป ๕/๑ 9 5

ท ๔.๑ ป ๕/๒ 8 5

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔

๒ คนละไม้คนละมอื ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/๕

ป ๕/๖ ป ๕/๘

ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๘ ป ๕/๙

ท ๓.๑ ป ๕/๑

ท ๔.๑ ป ๕/๑

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓

๓ ภัยเงียบ ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๔ ป ๕/๕ ป ๕/๖

ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓

ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๔

ท ๔.๑ ป ๕/๓ ป ๕/๗

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๔

๔ ประชาธิปไตยใบ ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔

กลาง ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๔ ป ๕/๙

ท ๓.๑ ป ๕/๑

ท ๔.๑ ป ๕/๑

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓

๕ รว่ มแรงร่วมใจ ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๖ 95
ท ๒.๑ ป ๕/๒

ท ๓.๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓
ท ๔.๑ ป ๕/๑
ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓

๖ จากคลองสู่ห้อง ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ 8 5
แอร์ ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๔ ป ๕/๘ ป ๕/๙
ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/๕
ท ๔.๑ ป ๕/๑
ท ๕.๑ ป ๕/๔

(สอบกลางภาค) ๑๕
5
7 ดง่ั หยาดทพิ ยช์ โลม ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๔ 8 5
8
ใจ ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ 8 5
8 5
ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/ 8 5



ท ๔.๑ ป ๕/๔ ป ๕/๖

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓

8 กา้ วให้ไกลไปให้ถงึ ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๔ ป ๕/๕

ป ๕/๗ ป ๕/๘

ท ๒.๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๖ ป ๕/๙

ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/



ท ๔.๑ ป ๕/๔ ป ๕/๖

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓

9 ชวี ติ มีค่า ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๖ ป ๕/๗ ป ๕/๘

ท ๒.๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๖ ป ๕/๙

ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/



ท ๔.๑ ป ๕/๒

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓

๑0 ปลอดภยั ไวก้ อ่ น ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/๕

ท ๒.๑ ป ๕/๒ ป ๕/๖

ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/



ท ๔.๑ ป ๕/๓

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓

๑1 หนา้ ตา่ งท่เี ปิดกวา้ ง ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๔ ป ๕/๕ ป ๕/๗ ป ๕/



ท ๒.๑ ป ๕/๒ ป ๕/๙

ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/



ท ๔.๑ ป ๕/๖

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓

๑2 ภาษาจรรโลงใจ ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/ 8 ๑๖
13 สายนำ้ สายชวี ติ ๕ ป ๕/๖ ป ๕/๗ ป ๕/๘ 8 5
14 รูไ้ วไ้ ด้ประโยชน์ ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/ 7
15 แรงกระทบ ๖ ป ๕/๘ ป ๕/๙ 8 5
16 วิถีชวี ติ ไทย ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/ 8 5
๕ 5
ท ๔.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๓ ป ๕/๕ ป ๕/๖
ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔

ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๔ ป ๕/๕ ป ๕/
๗ ป ๕/๘
ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/

ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/

ท ๔.๑ ป ๕/๖ ป ๕/๗
ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔

ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๕ ป ๕/๗ ป ๕/

ท ๒.๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/๖ ป ๕/
๗ ป ๕/๙
ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/

ท ๔.๑ ป ๕/๑
ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔

ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๔ ป ๕/๕ ป ๕/
๗ ป ๕/๘
ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๙
ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/

ท ๔.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๖ ป ๕/๗
ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔

ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๔ ป ๕/๕ ป ๕/
๗ ป ๕/๘
ท ๒.๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/๖ ป ๕/
๘ ป ๕/๙
ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔
ป ๕/๕
ท ๔.๑ ป ๕/๗

๑๗

ท ๕.๑ ป ๕/๒ ป ๕/๔

17 กำเนดิ ผดิ พน้ คน ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/ 7 5
5
ท้งั หลาย ๕ ป ๕/๖ ป ๕/๗ ป ๕/๘ 10

ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๘ ป ๕/๙ 100

ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/๕

ท ๔.๑ ป ๕/๖

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔

18 กระเช้าของนางสีดา ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/ 8

๕ ป ๕/๖ ป ๕/๗ ป ๕/๘

ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๘ ป ๕/๙

ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/๕

ท ๔.๑ ป ๕/๖

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔

19 คุณค่าวรรณคดไี ทย ท ๑.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๔ ป ๕/๕ ป ๕/ 18

๗ ป ๕/๘

ท ๒.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/

๖ ป ๕/๘ ป ๕/๙

ท ๓.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔ ป ๕/



ท ๔.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๓ ป ๕/๖ ป ๕/๗

ท ๕.๑ ป ๕/๑ ป ๕/๒ ป ๕/๓ ป ๕/๔

99

รวม 160

๑๘

คำอธิบายรายวิชา
กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย รหัส ท ๑๕๑๐๑

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง
ศึกษาการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และร้อยกรอง อ่านทำนองเสนาะ อ่านจับใจความจากสื่อ
อา่ นงานเขียนเชิงอธิบาย คำส่งั ขอ้ แนะนำ บอกความหมายของบทร้อยแกว้ บทร้อยกรอง บอกลกั ษณะของ
คำควบกล้ำ อักษรนำ ตวั การนั ต์ อกั ษรย่อ เครือ่ งหมายวรรคตอน ข้อความบรรยายและพรรณนา ข้อความท่ี
มคี วามหมายโดยนัย แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเหน็ จากการอ่าน บทความ บทโฆษณา ข่าวเหตุการณ์ วรรณคดี
ในบทเรียน อธิบายคำสั่ง ข้อแนะนำ ใช้พจนานุกรม อ่านฉลากยา ข่าวสารทางราชการ และปฏิบัติตาม
อ่านหนังสือท่ีมีคุณคา่ แสดงความคิดเห็นจากการอ่าน มีมารยาทในการอ่าน การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็ม
บรรทดั ครง่ึ บรรทัด เขียนส่ือสาร โดยใช้คำได้ถูกตอ้ งชัดเจนเหมาะสม เขียนคำขวัญ คำอวยพร คำแนะนำ
และคำอธิบายแสดงขั้นตอน เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนที่ความคิด เขียนย่อความประเภทนิทาน
ประกาศ แถลงการณ์ โอวาท คำปราศรัย เขียนจดหมายถึงผู้ปกครอง ญาติ เขียนแสดงความรู้สึก ความ
คิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน กรอกแบบรายการ ในฝากเงิน ใบถอนเงิน ธนาณัติ แบบส่งพัสดุไปรษณียภัณฑ์
เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน การพูดแสดงความรู้ความคิด วเิ คราะห์ความน่าเช่ือถือ
จากเรื่องที่ฟัง และดูอย่างมีเหตุผล พูดรายงาน มีมารยาทในการฟัง ดู และพูด ระบุชนิด และหน้าที่
ของคำบุพบท คำสันธาน คำอุทาน จำแนกส่วนประกอบของประโยค ใช้คำราชาศัพท์ คำที่มาจาก
ภาษาต่างประเทศ เปรยี บเทียบภาษาถ่ิน ใช้สำนวน คำพังเพย สุภาษิต และแต่งกาพย์ยานี ๑๑ สรุปเรือ่ ง
ระบุความรู้ ข้อคิด อธิบายคุณค่าของนิทานพื้นบ้าน นิทานคติธรรม เพลงพ้ืนบ้าน ท่องจำ บทอาขยาน
และบทร้อยกรองท่ีมีคณุ ค่า
โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ทักษะการอ่าน อธิบาย
ขอ้ ความที่มีความหมายโดยนัย อ่านจับใจความสำคัญ วิเคราะห์ และสรุปความคดิ เห็น หลักการคัดบวนการ
ฟงั การดู การพูด การใช้ภาษา กระบวนการจำ มีนิสยั รกั การอ่าน มมี ารยาทในการอ่าน ฟัง ดู พูด และ
เขียน รักและเห็นคุณค่าของการเรียนภาษาไทย สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการดำเนิน
ชวี ิตประจำวนั มจี ติ สาธารณะ มคี ณุ ธรรมจริยธรรม มคี วามรกั และหวงแหนภาษาไทย

รหัสมาตรฐานตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗ ป.๕/๘
ท ๒.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗ ป.๕/๘ ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔

รวม ๓๓ ตวั ช้ีวัด

๑๙

กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๕

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เร่ือง ครอบครัวพอเพยี ง เวลา ๗ ช่ัวโมง

คำอธบิ ายประจำหนว่ ย
ศกึ ษาการอ่านออกเสยี ง ท้ังบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรอง จับใจความสำคัญ สามารถสรุปความคดิ เห็น

เร่ืองท่ีอ่าน คิด วิเคราะห์ และส่ือความ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง ศึกษาพยางค์ คำ วลี ใช้คำได้ถูกต้อง ตาม
ความหมาย ใช้พจนานุกรมได้ถูกต้อง นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เขยี นนิทาน เขยี นข้อคิด เขียนคำคล้องจอง มี
มารยาท และนิสยั ทดี่ ีในการฟัง พูด อ่าน และเขียน

โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียง บทร้อยแก้ว บทร้อยกรองกาพย์ยานี 11 ทักษะการอ่านจับ
ใจความสำคัญ วิเคราะห์ สรุป ความคิดเห็น หลักการเขียนส่ือสาร เขียนนิทาน เขียนคำคล้องจอง เข้าใจ

หลักการใช้ภาษา มมี ารยาท ในการฟงั ดู อา่ น เขียน มนี สิ ยั รักการอ่าน การเขียน มีระเบยี บวินัยในการทำงาน

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ หน่วยการจัดการเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
รหสั วชิ า ท ๑๕๑๐๑ เรอื่ ง ครอบครวั พอเพยี ง
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ รายชอ่ื วิชา ภาษาไทย
ระยะเวลาการสอน 7 ชว่ั โมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท ๑.๑ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดเพอื่ นำไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการ
ดำเนินชีวิต

ตัวชีว้ ดั

๑. ท ๑.๑ ป.๕/๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง
๒. ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และข้อความท่เี ปน็ การบรรยายและ

พรรณนา
๔. ท ๑.๑ ป.๕/๔ แยกข้อเท็จจริง และข้อคดิ เห็นจากเรื่องทอ่ี า่ น
๕. ท ๑.๑ ป.๕/๕ วเิ คราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั เรือ่ งทีอ่ ่านเพ่ือนำไปใชใ้ นการ

ดำเนินชีวติ
๗. ท ๑.๑ ป.๕/๘ มมี ารยาทในการอา่ น

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวในรปู แบบตา่ ง
ๆ เขยี นรายงาน เขยี นข้อมลู สารสนเท ศ และรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

ตัวชว้ี ดั
๑. ท ๒.๑ ป.๕/๑ คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและคร่งึ บรรทดั

๒. ท ๒.๑ ป.๕/๒ เขียนสื่อสารโดยใช้คำไดถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจน และเหมาะสม
๓. ท ๒.๑ ป.๕/๓ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคดิ เพือ่ ใช้พัฒนางานเขยี น

๒๐

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอยา่ งมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรู้สึกใน
โอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วดั

๑. ท ๓.๑ ป.๕/๑ พูดแสดงความรู้ ความคดิ เห็น และความรสู ึกจากเร่ืองทีฟ่ ังและดู
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตวั ช้วี ัด

1. ท 4.1 ป.5/2 แต่งบทร้อยกรอง
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณคา่ และ

นำมาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
ตวั ชวี้ ดั

๑. ท ๕.๑ ป.๕/๑ สรปุ เรื่องจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมทีอ่ ่าน
๒. ท ๕.๑ ป.๕/๒ ระบุความรูแ้ ละขอ้ คิดจากการอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่สามารถ

นำไปใช้ในชวี ติ จริง
๓. ท ๕.๑ ป.๕/๓ อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดี และวรรณกรรม
๔. ท ๕.๑ ป.๕/๔ ทอ่ งจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองทม่ี คี ุณค่าตามความสนใจ
สาระสำคัญ

๑. การอ่านออกเสยี งเป็นการอา่ นท่ผี อู้ นื่ สามารถได้ยนิ และรู้เรอื่ งราว ผู้อ่านจะตอ้ งอ่านออกเสียง
ให้ถูกต้อง ชัดเจนตามอักขระและออกเสียงตามอารมณ์ตัวละคร เน้นจังหวะหนักเบาเหมือนเสียงพูด
และอา่ นให้คล่องแคล่ว จงึ จะสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

๒. การอ่านจับใจความ เป็นการอ่านในใจผ้อู ่านควรมีสมาธิ มีสตใิ นการอา่ น พิจารณา
จับสาระสำคญั และข้อคิด ลำดับเหตุการณ์ของเร่อื งทอ่ี ่าน และนำไปเขียนเป็นแผนภาพโครงเรอื่ งได้ นำไป
เล่าเร่ืองได้

๓. การทำแผนภาพโครงเรอ่ื ง เป็นการวิเคราะหโ์ ครงเรอื่ งทอี่ า่ นแล้วทำโครงเรือ่ งจะช่วยให้
นักเรยี นเข้าใจเรื่อง และจำเรอื่ งลำดับเหตกุ ารณ์ของเรอื่ งไดด้ ีขน้ึ

๔. การใช้พจนานุกรม ควรศึกษาการเรียงลำดับพยัญชนะ สระ ตวั สะกด ของคำให้เขา้ ใจ
รหู้ ลกั เกณฑก์ ารใชจ้ ะทำให้สามารถใชพ้ จนานุกรมไดอ้ ย่างคล่องและทราบความหมายของคำได้อยา่ งกวา้ งขวาง
ใช้ภาษาไทยไดถ้ กู ต้อง เปน็ การอนุรักษภ์ าษาอีกสว่ นหนึง่

5. การแตง่ กาพย์ยานี ๑๑ เปน็ การนำคำมารอ้ ยเรยี งใหม้ สี มั ผัสคล้องจองตามฉันทลกั ษณ์ของ
กาพยย์ านี ๑๑ เช่น วรรคหน้า ๕ คำ วรรคหลงั ๖ คำ ผู้เขียนจะตอ้ งเข้าใจฉนั ทลักษณ์ก่อนจึงจะแต่งกาพยย์ านี
๑๑ ไดถ้ ูกต้อง ไพเราะ มีความหมายตอ่ เนอ่ื งเป็นเร่ืองเดยี วกนั

สาระการเรยี นรู้/ความรู้
๑. การอ่านออกเสยี ง
๒. การอ่านจบั ใจความ

๒๑

๓. การอ่านทำนองเสนาะ
๔. การแตง่ กาพยย์ านี 11
๕. พยางค์ คำ (คำนาม คำสรรพนาม) วลี กลมุ่ คำ
๖. การใชค้ ำใหถ้ กู ตอ้ งกับความหมาย
๗. การเขียนนิทาน ขอ้ คิด คำคลอ้ งจอง
๘. การเขียนวิเคราะห์ เรือ่ งท่อี า่ น
๙. นิทานสภุ าษติ

จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. อ่านกาพยย์ านี ๑๑ ได้
๒. บอกรูปแบบของกาพย์ยานี ๑๑ ได้
๓. อา่ นและบอกใจความของบทรอ้ ยกรองได้
๔. บอกลกั ษณะของความพอเพียงได้
๕. อธบิ ายหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงได้
๖. อา่ นออกเสียงบทเรียนได้
๗. เก็บใจความสำคญั ของเร่ืองที่อา่ นได้
๘. บอกเนอ้ื หาสาระในบทเรยี นได้
๙.วิเคราะหแ์ ละแสดงความคดิ เห็นในบทเรียนได้
๑๐. นำข้อคิดจากเรือ่ งมาใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้
๑๑. อ่าน เขียนสะกดคำในบทเรียนได้
๑๒. บอกความหมายของคำได้
๑๓. นำคำไปใช้ได้ถกู ตอ้ งตามสถานการณ์
๑๔. อา่ นและเก็บใจความสำคญั ของเรอื่ งได้
๑๕. คิด วเิ คราะหส์ รุปเรอ่ื งราวทอ่ี า่ นได้
๑๖. ตั้งคำถาม – ตอบคำถามเร่อื งท่ีอา่ นได้
๑๗. อ่านและสรปุ ใจความสำคญั ได้
๑๘. พูดแสดงความรู้สกึ ได้
๑๙. เขยี นแสดงความรูส้ ึกได้

สมรรถนะสำคัญ

๑. ความสามารถในการส่อื สาร

๒. ความสามารถในการคิด

๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์

๒๒

๒. ซ่อื สัตยส์ ุจรติ

๓. มวี ินยั

๔. ใฝ่เรยี นรู้

๕. อย่อู ยา่ งพอเพียง

๖. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

๗. รักความเปน็ ไทย

๘. มจี ติ สาธารณะ

กจิ กรรมการเรยี นรู้
๑. การเตรยี มการอ่าน ศกึ ษาคำศัพท์
๒. ฝึกอา่ นคำ ฝึกอา่ นออกเสียงเป็นกลุม่ และรายบคุ คล
๓. เขยี นต้ังคำถามตอบคำถาม
๔. อภิปรายเรือ่ งท่อี ่าน วเิ คราะห์โครงเรอ่ื ง ตามลำดบั เหตกุ ารณ์
๕. ศึกษาคน้ คว้า หาความรู้หลกั เกณฑท์ างภาษา เรือ่ ง พยางค์ คำ วลี
๖. อา่ นในใจโดยฝึกอา่ นอย่างรอบคอบโดยอ่านสำรวจเรื่อง ฝกึ อา่ นเร็ว อ่านขา้ มและกวาดสายตาเพ่ือ
จับประเด็นสำคัญ
๗. อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นตามหัวข้อท่ีครเู ตรียมมา เชน่ เศรษฐกิจพอเพียง มีความหมายอย่างไร
นกั เรยี นจะดำเนินชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งอยา่ งไร
๘. การนำเสนอรายงานผลจากการทำกิจกรรมกลุ่ม จับคู่กันฝึกอ่านออกเสียงและประเมินการอ่าน
ตามแบบสังเกตการณ์อา่ น
๙. เขียนคำยากตามคำบอก ตรวจ เฉลย นำคำยาก แต่งนิทาน ประโยคทำแบบทดสอบ แบบฝึกหัด
เรอื่ งพยางค์ คำ วลี
๑๐.การคดั ลายมือ
๑๑.การใช้คำให้ถูกต้องตามความหมายอ่านเรือ่ งการใช้คำให้ถูกต้องตามความหมายจากใบงานท่ีครู
เตรียมให้
๑๒.การเลา่ นทิ านและเขียนนิทานศึกษาหลักการเลา่ นทิ าน และการเขียนนิทานเพือ่ ฝึกเขยี นนิทาน
๑๓. ศกึ ษาคำคล้องจอง แบ่งเป็นกล่มุ คำขวัญ สุภาษิต คติเตอื นใจ คำคลอ้ งจอง
๑๔.การแต่งบทร้อยกรองกาพยย์ านี 11

ส่ือการเรยี นรู้
๑. หนังสือเรยี น
๒. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
๓. ใบความรู้
๔. อนิ เตอร์เนต็ คอมพิวเตอร์
๕. หนงั สือนทิ าน
๖. ใบกจิ กรรมการอา่ น
๗. มมุ หนังสือในหอ้ งเรียน
๘. ปา้ ยนิเทศบรเิ วณโรงเรียน
9. ส่อื วดี ีทัศน์

๒๓

ภาระงาน/ชน้ิ งาน

๑. ใบงาน

๒. แผนผังโครงเรื่อง

๓. แต่งกาพย์ยานี 11

๔. แผนผงั ความคดิ

๕. แบบฝึกหดั

การประเมินผล
๑. สังเกตการอ่านออกเสียงจากแบบบนั ทกึ การสังเกตการอ่าน
๒. สังเกตการณพ์ ฤตกิ รรมการฟัง การเขยี น การพดู
๓. สงั เกตการณ์พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมของนักเรยี น
๔. สงั เกตการณ์เลา่ นิทานและการเขยี นนทิ าน เขยี นคำคล้องจอง
๕. ตรวจแบบฝกึ หัด
๖. การตอบขอ้ ซกั ถาม ความหมายของคำ วลี พยางค์
๗. ตรวจสอบการเขียนแผนภาพโครงเรอ่ื ง
๘. สงั เกตมารยาท การพดู การฟัง การอา่ น การเขียน ของนกั เรียน
๙. สังเกตการการอ่านทำนองเสนาะ
10. ตรวจการแต่งกาพย์ยาณี 11

๒๔

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๗ ช่ัวโมง
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๒ เรอื่ ง คนละไม้คนละมือ

คำอธบิ ายประจำหนว่ ย
ศึกษาคำ วลี ข้อความ อ่านออกสียง และบอกความหมายของบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง อ่านจับ

ใจความ พูดแสดงความรู้ ความคิดในเร่ืองที่ฟังและดูจากส่ือต่าง แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ และ
แสดงความคิดเห็น เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ คัดลายมือ ปฏิบัติตนให้ถูกต้องในการเขียนสื่อสาร

แตง่ นทิ าน การใชพ้ จนานุกรม มีมารยาท ในการฟงั การดู การพูด การอา่ น
โดยใช้กระบวนการกลุ่ม การอ่านออกเสียง บทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง วิเคราะห์แยกแยะข้อเท็จจริง

ข้อคิดเห็น การเขียนคัดลายมือ การเขียนส่ือสาร เข้าใจหลักการใช้ภาษา มีทักษะการฟัง การดู การพูด

นำหลกั ภาษาใชพ้ ฒั นาความรู้ และประยกุ ตใ์ ช้กบั ชวี ิตจริงได้

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๒ หนว่ ยการจัดการเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
รหสั วิชา ท ๑๕๑๐๑ เรือ่ ง คนละไมค้ นละมอื
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ รายชอ่ื วชิ า ภาษาไทย

ระยะเวลาการสอน ๗ ชว่ั โมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นำไปใชต้ ดั สินใจ แก้ปัญหาในการ
ดำเนินชีวติ

ตัวช้วี ดั
๑. ท ๑.๑ ป.๕/๑ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง
๒. ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธิบายความหมายของคำ ประโยค และขอ้ ความทเี่ ป็นการบรรยายและ

พรรณนา
๓. ท ๑.๑ ป.๕/๓ อธิบายความหมายโดยนัยจากเรือ่ งท่ีอ่านอยา่ งหลากหลาย
๔. ท ๑.๑ ป.๕/๔ แยกข้อเท็จจรงิ และข้อคดิ เห็นจากเรือ่ งทีอ่ า่ น
๕. ท ๑.๑ ป.๕/๕ วิเคราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับเรื่องที่อ่านเพื่อนำไปใชใ้ นการ

ดำเนนิ ชีวติ

๖. ท ๑.๑ ป.๕/๖ อ่านงานเขียนเชงิ อธบิ าย คำสง่ั ขอ้ แนะนำ และปฏบิ ตั ิตาม
๗. ท ๑.๑ ป.๕/๘ อา่ นงานเขยี นเชงิ อธิบาย คำส่งั ขอ้ แนะนำ และปฏบิ ัติตาม

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๒.๑ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรื่องราวในรปู แบบ

ตา่ ง ๆ เขียนรายงาน เขียนข้อมูลสารสนเท ศ และรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมี

ประสทิ ธิภาพ

๒๕

ตวั ช้ีวดั

๑. ท ๒.๑ ป.๕/๑ คดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั และคร่งึ บรรทัด
๒. ท ๒.๑ ป.๕/๒ เขียนส่ือสารโดยใช้คำไดถ้ ูกต้อง ชดั เจน และเหมาะสม

๓. ท ๒.๑ ป.๕/๘ เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ
๔. ท ๒.๑ ป.๕/๙ มมี ารยาท ในการเขียน
มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณและพดู แสดงความรู้ ความคดิ และความร้สู กึ ใน
โอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

ตัวชวี้ ดั
๑. ท ๓.๑ ป.๕/๑ พดู แสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรูสกึ จากเรอื่ งทฟี่ ังและดู

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ

ตวั ชี้วัด
๑. ท ๔.๑ ป.๕/๑ ระบุชนดิ และหน้าท่ีของคำในประโยค

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไท ยอย่างเหน็ คณุ ค่า และ

นำมาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั
ตัวช้ีวดั

๑. ท ๕.๑ ป.๕/๑ สรุปเร่ืองจากวรรณคดี หรอื วรรณกรรมท่ีอา่ น
๒. ท ๕.๑ ป.๕/๒ ระบคุ วามรู้และขอ้ คิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมทส่ี ามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจรงิ

๓. ท ๕.๑ ป.๕/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรม

สาระสำคัญ
๑. การอ่านออกเสียง เปน็ การอา่ นท่ผี ู้อ่ืนสามารถรับรูเ้ ร่ืองราว ผ้อู ่านจะตอ้ งอา่ นออกเสยี งให้

ถูกต้องชัดเจนตามอักขระการออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้คลอ่ งและรวดเร็วถูกต้องตามลักษณะ
คำประพนั ธ์และอักขระวธิ ี ทำให้มเี สน่หใ์ นการพดู เมื่อนำบทรอ้ ยกรองท่ีมีคณุ ค่ามาอา้ งอิงได้อย่างสอดคลอ้ ง

๒. การเรยี นร้คู ำ คำยาก ข้อความ สำนวนภาษาเป็นการพัฒนาทกั ษะทางภาษาของผู้เรียนได้เป็น

อย่างดี ผู้เรียนจะต้องขยนั ฝกึ ฝน เรียนรู้ภาษาและนำมาใช้ในชีวิตประจำวนั ก็จะทำใหส้ ามารถสื่อสารกับผู้อืน่ ได้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๓. การอ่านจบั ใจความ เป็นการอา่ นในใจผ้อู า่ นควรมีสมาธิ มสี ติในการอา่ น พิจารณา
จับสาระสำคัญและข้อคิด ลำดับเหตุการณ์ของเร่ืองที่อ่าน และนำไปเขียนเป็นแผนภาพโครงเรื่องได้ นำไปเล่า
ต่อได้

๔. การคัดลายมือ ผเู้ ขยี นจะศึกษาหลกั เกณฑ์การเขียนทถ่ี กู ต้อง สวยงาม เชน่ ตัวตรง หัวกลม
ช่องไฟ เท่ากัน ตัวหนังสือไมอ่ ว้ นหรอื ผอมเกนิ ไป

๕. การแต่งนิทานหรือเขยี นเรือ่ งราวเพ่อื สือ่ สารใหค้ นอ่ืนรบั รู้ เป็นทักษะการเขยี นทเ่ี กดิ จาก

๒๖

จินตนาการ ประกอบความรู้ ประสบการณ์ แล้วนำมาเขียนเรียบเรียงเป็นเร่ืองราวสามารถส่ือสารให้คนอ่ืน
เข้าใจได้ การเขียนนิทานหรือเรอื่ งราวทดี่ จี ะต้องเข้าใจหลักการเขยี น

๖. การใชพ้ จนานุกรม ควรศึกษาและทำความเข้าใจเกีย่ วกบั หลักการใชพ้ จนานุกรมให้เข้าใจ
และเหน็ ความสำคัญของการใช้พจนานกุ รมก็จะทำใหส้ ามารถใชพ้ จนานุกรมไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว

6. เครื่องหมายวรรคตอนคอื สญั ลักษณ์ท่ใี ช้เพื่อเนน้ เช่ือม ละเวน้ ข้อความหรอื ประโยคในภาษาไทย
ใหเ้ กดิ ความเข้าใจตามเจตนารมณ์ของผ้ใู ช้ ในภาษาไทยของเรามเี ครอ่ื งหมายตา่ ง ๆ ใชเ้ ขียนกำกบั ขอ้ ความ
ประโยคมากมาย ผู้เรยี นต้องศกึ ษาหลกั และวธิ ีการนำไปใชใ้ ห้ถกู ต้องตามบริบท

7. คำบพุ บท คือ คำท่เี ขยี นหรอื พดู นำหน้าคำนาม คำสรรพนาม หรอื คำกรยิ า เพ่อื เช่อื มคำหรอื
ขยายคำทอ่ี ยูข่ า้ งหน้า เพอ่ื บอกสถานที่ บอกความเป็นผรู้ ับ บอกความเปน็ เครื่องใช้หรอื กระทำรว่ มกัน บอก
ความเปน็ เจ้าของ และบอกเวลา

สาระการเรียนร/ู้ ความรู้
๑. คำศัพท์ใหม่
๒. อ่านออกเสยี ง
๓. การอ่านในใจ
๔. การอา่ นจบั ใจความ
๕. แผนผังความคดิ
๖. การทำแผนภาพความคิด
๗. การเขียนคำยาก
๘. การต้ังคำถาม คำตอบ
๙. การเขียนนิทาน
๑๐. การเขียนคำคลอ้ งจอง
๑๑. การคัดลายมือ
๑๒. การใช้พจนานกุ รม
๑๓. การอ่านบทรอ้ ยกรอง และบทเสริม
16. คำบุพบท เครื่องหมายวรรคตอน ข้อความเชิงบรรยายและเชิงพรรณนา ข้อความเชิงอธบิ าย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

๑. บอกความหมายของคาศัพท์ในบทเรยี นได้ถูกตอ้ ง

๒. อา่ นและเขียนคาศัพท์ในบทเรยี นได้ถกู ตอ้ ง

๓. แต่งประโยคโดยใชค้ าในบทเรยี นได้

๔. มีความกระตอื รือรน้ ในการเรียน

๕. จับใจความเรื่องท่ีอ่านในใจได้ และอ่านบทร้อยกรองได้

๖. เขยี นแผนผังความคิด คาคลอ้ งจอง

๗. คัดลายมอื ได้สวยงาม

๘. ใช้พจนานุกรมไดถ้ กู ตอ้ ง

๙. สามารถบอกและใช้คาบพุ บท เครื่องหมายวรรคตอน

๒๗

๑๐. เขียนข้อความเชงิ บรรยาย เชิงพรรณนานา และเชิงอธบิ ายได้

สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒. ซ่ือสตั ย์สุจรติ
๓. มีวินัย
๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพยี ง
๖. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ

กิจกรรมการเรียนรู้

๑. การอ่านคำศพั ท์ใหม่ อา่ นออกเสียง การอา่ นในใจ การอา่ นจับใจความ
๒. การทำแผนผังความคดิ การทำแผนภาพความคิด
๓. การเขียนคำยาก การตั้งคำถาม คำตอบ
๔. การเขยี นคำคลอ้ งจอง การคดั ลายมอื
๕. การใช้พจนานกุ รมใหร้ วดเรว็ และถกู ตอ้ ง
๖. การอ่านบทรอ้ ยกรอง และบทเสริม ให้มีความเขา้ ใจ มีความไพเราะ
๗. การอ่าน เขยี น คำบุพบท เครือ่ งหมายวรรคตอน ข้อความเชิงบรรยายและเชงิ พรรณนา ข้อความ

เชงิ อธิบาย

สอ่ื การเรียนรู้
๑. หนงั สอื เรียน
๒. พจนานกุ รม

๓. บตั รคำ
๔. นิทานพนื้ บา้ น

๕. ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน

๒๘

๖. หอ้ งสมดุ
๗. แหล่งเรยี นรู้ในโรงเรียน
8. สอื่ มลั ติมเี ดยี วีดีทัศน์ อนิ เทอร์เนต

ภาระงาน/ชิน้ งาน
๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการอา่ นออกเสียง
๒. แบบสงั เกตการอา่ นในใจ
๓. ใบกิจกรรมการอ่าน การเขยี น
๔. แบบฝกึ หัด

การประเมินผล
๑. สงั เกตการอ่านออกเสียง
๒. สงั เกตการอ่านในใจ
๓. สงั เกตการทำงานกลมุ่
๔. สงั เกตการณ์ใช้ห้องสมุด
๕. สังเกตมารยาท การพดู การฟัง การอา่ น การเขยี น ขณะรว่ มกจิ กรรม
๖. ตรวจผลงานหลงั เรียน ขณะเรียน (ใบงาน ใบกจิ กรรม)

๒๙

กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๓
เร่อื ง ภัยเงียบ เวลา ๙ ช่ัวโมง

คำอธิบายประจำหนว่ ย

ศึกษาการฝึกปฏิบัติมารยาท ที่ดี ในการฟัง การดูและการพูด การอ่าน การเขียน วิเคราะห์ความ
น่าเช่ือถือจากเรื่องท่ีฟังและดอู ยา่ งมีเหตุผล ฝึกพูดแสดงความรู้ ความคดิ เห็นและความรูส้ กึ จากเรื่องท่ีฟงั และ
ดู การอ่านต้ังคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรอ่ื งท่ีฟังและดูสอ่ื ต่าง ๆ เช่น เร่ืองเล่า บทความ ข่าวและ

เหตุการณ์ประจำวัน ส่ือโฆษณา ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ พูดรายงาน ได้ตามลำดับเหตุการณ์ เขียน วิเคราะห์ และ
แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองท่ีอ่านเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตและเขียนสรุปเรื่องที่อ่านเป็นแผนภาพ

โครงเรื่อง เขียนย่อเร่ืองท่ีอ่าน ฝึกอ่าน เขียน ประโยคและส่วนประกอบของประโยค สำนวนไทย
ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย และฝกึ เขียนโครงงาน

โดยใช้กระบวนการอา่ น การเขียนจับใจความ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ เขยี นคัดลายมือ การเขียน

สื่อสาร มนี ิสัยรกั การอ่าน การเขยี น การพดู นำเสนอ อยา่ งมีเหตุผล

หนว่ ยการจดั การเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ เรอื่ ง ภยั เงยี บ

รหัสวชิ า ท ๑๕๑๐๑ รายชือ่ วิชา ภาษาไทย

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ระยะเวลาการสอน ๙ ช่วั โมง

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิดเพ่อื นำไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ญั หาในการ

ดำเนินชีวติ
ตัวช้ีวดั

๑. ท ๑.๑ ป.๕/๑ อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง
๒. ท ๑.๑ ป.๕/๔ แยกข้อเทจ็ จริง และขอ้ คดิ เห็นจากเรื่องทีอ่ า่ น
๓. ท ๑.๑ ป.๕/๕ วเิ คราะหแ์ ละแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับเร่อื งทอ่ี า่ นเพ่ือนำไปใชใ้ นการ

ดำเนินชีวติ
๔. ท ๑.๑ ป.๕/๖ อา่ นงานเขยี นเชงิ อธบิ าย คำสงั่ ขอ้ แนะนำ และปฏบิ ตั ติ าม

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสือ่ สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเร่อื งราวในรูปแบบ

๓๐

ต่าง ๆ เขียนรายงาน เขียนขอ้ มูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ
ตวั ชว้ี ดั
๑. ท ๒.๑ ป.๕/๑ คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครึง่ บรรทัด
๒. ท ๒.๑ ป.๕/๒ เขยี นส่ือสารโดยใชค้ ำไดถ้ กู ตอ้ ง ชดั เจน และเหมาะสม
๓. ท ๒.๑ ป.๕/๓ เขียนแผนภาพโครงเรือ่ งและแผนภาพความคิดเพ่อื ใชพ้ ฒั นางานเขยี น

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๓.๑สามารถเลอื กฟงั และดอู ย่างมีวิจารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ

ความรู้สกึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชว้ี ัด

1. ท 3.1 ป.5/1 พดู แสดงความรู้ ความเข้าใจ จุดประสงคข์ องเร่อื งทฟี่ ังและดู
๑. ท ๓.๑ ป.๕/๔ วเิ คราะห์ความนา่ เชอื่ ถือจากเร่อื งที่ฟังและดูอย่างมีเหตผุ ล

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ
ตัวช้วี ัด

๑. ท ๔.๑ ป.๕/๓ เขยี นแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพเพ่อื ใช้พฒั นางานเขียน

๒. ท ๔.๑ ป.๕/๗ ใช้สำนวนได้ถกู ต้อง

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไท ยอย่างเห็นคุณคา่ และ
นำมาประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั
ตัวชีว้ ดั

๑. ท ๕.๑ ป.๕/๑ สรุปเรือ่ งจากวรรณคดี หรือวรรณกรรมท่ีอา่ น
๒. ท ๕.๑ ป.๕/๔ ท่องบทอาขยานตามทีก่ ำหนดและบทร้อยกรองทีม่ คี ุณค่าตามความสนใจ

สาระสำคัญ
๑. การอ่านออกเสียง เปน็ การอา่ นท่ผี ้อู น่ื สามารถไดย้ ินและร้เู รอื่ งราว ผูอ้ ่านจะตอ้ งอา่ นออกเสียงให้

ถกู ตอ้ ง ชัดเจน ตามอกั ขระและออกเสยี งตามอารมณต์ ัวละคร เน้นจังหวะ หนกั เบา เหมือนพดู และอา่ นให้
คล่องแคล่ว จึงจะสามารถส่ือสารได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

๒. การอา่ นบทอา่ นเสริม “ การดูแลบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์”อ่านเพมิ่ เตมิ ความหมาย เป็น
การอ่านจับใจความ เป็นการอ่านในใจผู้อ่านควรมีสมาธิ มีสติในการอ่าน พิจารณาจบั สาระสำคัญ และข้อคิด
ลำดับเหตุการณ์ของเร่อื งที่อา่ น และนำไปเขียนเปน็ แผนภาพโครงเร่ืองได้ นำไปเล่าตอ่ ได้

๓. การคดั ลายมอื ผูเ้ ขียนจะศึกษาหลกั เกณฑ์การเขียนที่ถูกตอ้ ง สวยงาม เชน่ ตัวตรง หวั กลม
ช่องไฟ เท่ากัน ตัวหนังสือไมอ่ ้วนหรือผอมเกนิ ไป

๔. การแต่งนิทานหรือเขียนเรื่องราวเพื่อสอ่ื สารใหค้ นอื่นรบั รู้ เป็นทกั ษะการเขยี นทีเ่ กิดจาก
จินตนาการ ประกอบความรู้ ประสบการณ์ แล้วนำมาเขียนเรียบเรียงเป็นเร่ืองราวสามารถสื่อสารให้คนอื่น
เข้าใจได้ การเขียนนทิ านหรอื เรื่องราวท่ีดีจะตอ้ งเขา้ ใจหลกั การเขียน

๓๑

๕. บทรอ้ ยกรองของไทยได้แทรกซมึ ไปในทกุ วงการ ไมว่ ่าจะเป็นการประกาศ
โฆษณา การต้ังคำขวัญของจงั หวดั การบันทกึ ข้อความ การเขียนคตเิ ตือนใจ สำนวน ภาษติ ล้วนใชบ้ ท
รอ้ ยกรองทง้ั สิน้ เนือ่ งจากบทร้อยกรองทำให้ผ้อู ่านหรือผู้ฟังเกดิ ความซาบซงึ้ ประทับใจ และสามารถจดจำได้
เร็ว

๖. การเรียนรู้คำ นอกจากเรยี นรูเ้ พือ่ สื่อความหมายแลว้ ยังต้องเรยี นรู้ในด้านประเภท
และชนิดของคำ หน้าท่ขี องคำ และนำคำนัน้ ไปใชใ้ หถ้ ูกตอ้ งตามบรบิ ท

๗. ประโยค หมายถงึ ถอ้ ยคำหลายคำท่ีนำมาเรยี งกนั แล้วเกิดใจความสมบูรณ์ ซ่ึงประกอบด้วยภาค
ประธานและภาคแสดง ใช้สื่อสารกันได้ทั้งภาษาเขียนและภาษาพูด แต่การใช้ภาษาพูดในสถานการณ์
ตา่ งๆกนั อาจละเว้นส่วนหนง่ึ ส่วนใดได้ ในฐานทเ่ี ขา้ ใจกนั ระหว่างผพู้ ดู และผู้ฟงั

๘. การรู้หลกั เกณฑท์ างภาษาเร่ืองคำและสำนวน ชว่ ยทำใหก้ ารใช้ภาษาในการสอ่ื สารไดอ้ ย่างถกู ต้อง
และมีประสิทธิภาพ และให้อารมณ์ ความรู้สึกเป็นพ้ืนฐานท่ีสำคัญในการใช้ภาษาไทยทั้งในการพูดและการ
เขียน

๙. ภาษาไทยเป็นภาษาทย่ี ืดหยุ่น มวี ธิ ีการสร้างคำขนึ้ มาใช้อยา่ งหลากหลาย โดยวธิ กี ารของตนเอง
มีท้ังการยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้ คำเหล่านี้สะท้อนใหเ้ หน็ ความเจรญิ ทางด้านภาษาที่เกดิ ข้ึนมาควบค่ไู ป
กบั ความเจริญดา้ นศิลปวัฒนธรรมและความเจริญทางด้านวิทยาการตา่ งๆ ของคนไทย

๑๐. การเขยี นโครงงานคือการวางแผนงานและบริหารจดั การการเรียนรู้ไปสู่การลงมือปฏบิ ตั ิจริง
ทดลองจรงิ จากสภาพความเป็นจริงเพ่ือให้สามารถดำเนนิ งานทุกขั้นตอนให้ลุล่วงไปด้วยความเรียบร้อย เกิด
ผลสำเร็จตามเป้าหมายท่ีวางไว้วิธใี ช้สิ่งของต่างๆ การอ่านต้องอา่ นอย่างละเอียดทุกขั้นตอนเพื่อการปฏิบัติให้
ถกู ต้อง

สาระการเรยี นรู้/ความรู้
1. การอา่ นบทรอ้ ยกรอง
2. การอา่ นออกเสียง
3. การอา่ นบทอา่ นเสรมิ “ การดูแลบำรุงรักษาเครื่องคอมพวิ เตอร์”
4. อา่ นเพม่ิ เติมความหมาย
5. ประโยคและส่วนประกอบของประโยค
6. สำนวนไทย
7. ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
8. การเขียนโครงงาน

จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. บอกความสำคญั ของบทร้อยกรองได้
๒. อ่านและบอกใจความของบทร้อยกรองได้
๓. บอกคำคลอ้ งจองได้
๔. อา่ นออกเสยี งเนอื้ หาในบทเรยี นได้
๕. สรุปเร่ืองราวทอ่ี ่านได้
๖. บอกความหมายของคำยากในบทอ่านได้
๗. อา่ นและเก็บใจความสำคญั ของเรื่องได้

๓๒

๘. คดิ วิเคราะหส์ รุปเรอื่ งราวท่ีอ่าน
๙. ตั้งคำถาม – ตอบคำถามเรอ่ื งทอี่ า่ นได้
๑๐. อา่ น เขยี นสะกดคำในบทเรยี นได้
๑๑. อ่าน เขยี นสะกดคำในบทเรยี นได้
๑๒. บอกความหมายของคำได้
๑๓. นำคำไปใช้ไดถ้ กู ตอ้ งตามสถานการณ์
๑๔. บอกสว่ นประกอบของประโยคได้
๑๕. แต่งประโยคได้
๑๖. บอกความหมายของสำนวนไทยได้
๑๗. ใช้สำนวนไทยไดถ้ กู ต้อง
๑๘. บอกคำท่ีมาจากภาษาต่างประเทศได้
๑๙. บอกความหมายของคำทม่ี าจากภาษาอ่นื ได้
๒๐. บอกองคป์ ระกอบของโครงงานได้
๒๑. เขยี นโครงงานได้

สมรรถนะสำคญั

๑. ความสามารถในการส่ือสาร

๒. ความสามารถในการคิด

๓.ความสามารถในการแกป้ ญั หา

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
๕.ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ

๓. มีวินัย

๔. ใฝเ่ รียนรู้

๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

๖. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
๗. รักความเป็นไทย

๘. มจี ิตสาธารณะ
กิจกรรมการเรียนรู้

๑. กระบวนการอา่ น
๒. การเขียนจบั ใจความ คดิ วิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์
๓. เขยี นคดั ลายมอื การเขียนสือ่ สาร มนี สิ ัยรกั การอ่าน
๔. การเขียน การพูด นำเสนอ อย่างมีเหตุผล ฝึกพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกจาก

เร่ืองท่ฟี งั และดู

๓๓

๕. การอา่ นตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรอ่ื งที่ฟงั และดสู อื่ ต่าง ๆ เช่น เรื่องเล่า บทความ
ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน ส่ือโฆษณา สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พดู รายงาน ได้ตามลำดบั เหตกุ ารณ์

๖. เขยี น วเิ คราะห์ และแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับเรือ่ งทีอ่ ่านเพอ่ื นำไปใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ
๗. เขียนสรุปเร่ืองที่อ่านเป็นแผนภาพโครงเร่ือง เขียนย่อเรื่องท่ีอ่าน ฝึกอ่าน เขียน ประโยคและ

ส่วนประกอบของประโยค
๘. บอกสำนวนไทย ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
๙. ฝกึ เขียนโครงงาน

ส่ือ/แหล่งเรียนรู้
1. หนงั สือเรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชวี ิต ภาษาพาที ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕

๒. แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอ่ื ง ภยั เงียบ
๓. ใบงาน เรื่อง คาศัพท์ ภัยเงียบ

๔. บัตรพลงั วเิ ศษ
๕. เกม สานวนภาษาไทย

๖. บตั รคาศพั ท์ – บัตรประโยค
7. หอ้ งสมุด
๗. แหล่งเรียนรูใ้ นโรงเรยี น
8. สือ่ มลั ตมิ ีเดยี วดี ที ัศน์ อินเทอร์เนต

ภาระงาน/ชนิ้ งาน
๑. บนั ทึกการอ่าน การพดู การฟัง การเขยี น
๒. แบบบนั ทึกการอา่ น
๓. แบบทดสอบ แบบฝกึ หดั
๔. สมดุ เลม่ เลม็ สำนวนไทย
๕. ผลงานนกั เรยี น โครงงาน
๖. การเขยี นสรุปเรื่อง

การประเมนิ ผล
๑. สงั เกตการณอ์ า่ นฝึกอ่านคำศพั ท์ การอภปิ รายชอ่ื เร่อื ง
๒. สังเกตการณอ์ ่านออกเสียงทั้งกลุม่ และรายบคุ คล
๓. สังเกตการการพดู นำเสนองาน
๔. สังเกตการเขียนแผนภาพโครงเรอื่ ง
๕. สงั เกตการอภิปราย แสดงความคดิ เห็น
๖. สงั เกตการอา่ นร้อยกรอง
๗. ตรวจผลงาน การเขียนบนั ทึกความรู้
๘. สังเกตการคัดลายมือ
๙. สงั เกตการทำแบบฝกึ หัด

๓๔

๑๐. สงั เกตการเขยี นสรปุ ยอ่ เร่อื ง
๑๑. ตรวจแบบทดสอบ

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ เวลา 8 ชั่วโมง
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง ประชาธปิ ไตยใบกลาง

คำอธบิ ายประจำหน่วย
ศึกษาการอา่ นจับใจความจากส่อื ต่าง ๆ เช่น วรรณคดีในบทเรียน บทความ บทโฆษณา งาน

เขยี นประเภท โน้มน้าวใจ ข่างเหตุการณ์ประจำวนั บทร้อยกรอง เช่อื มโยงความรูจ้ ากการอา่ นกบั ประสบการณ์
และชีวติ จรงิ แยกข้อเทจ็ จริงและข้อคิดเหน็ จากเร่ืองที่อ่าน วเิ คราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับเร่อื งทีอ่ า่ น

เพ่ือนำไปใชใ้ นการดำเนินชวี ิต เขียนบันทึกประจำวัน เขยี นเรอื่ งตามจินตนาการ การคัดลายมือ เขียนยอ่ ความ
จากสื่อต่าง ๆ เช่น นิทาน การอ่านบทร้อยกรอง การอ่านออกเสียง การอ่านบทอ่านเสริม“ จิตท่ีควรพัฒนา :
จิต สาธารณะ อ่านเพ่ิม เติมความหมาย คำบุพบทเครื่องหมายวรรคตอน ข้อความเชิงบรรยายและเชิง

พรรณนา ขอ้ ความเชิงอธิบาย
โดยใช้กระบวนการอ่าน การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น การเขียน

สร้างสรรค์ การคัดลายมือ กระบวนการใช้ภาษา มีนิสัยรักการอ่าน การใช้คำถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทาง
ภาษา

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๔ หน่วยการจัดการเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
รหสั วิชา ท ๑๕๑๐๑ เรื่อง ประชาธปิ ไตยใบกลาง
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕
รายช่อื วชิ า ภาษาไทย
ระยะเวลาการสอน ๘ ช่ัวโมง

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคดิ เพ่อื นำไปใชต้ ดั สินใจ แก้ปญั หาในการ

ดำเนินชีวิต

ตัวชว้ี ัด
๑. ท ๑.๑ ป.๕/๑ อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถูกตอ้ ง

๒. ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธิบายความหมายของคำ ประโยค และข้อความที่เป็นการบรรยายและ
พรรณนา

๓. ท ๑.๑ ป.๕/๓ อธบิ ายความหมายโดยนัยจากเรอ่ื งทอี่ า่ นอย่างหลากหลาย

๔. ท ๑.๑ ป.๕/๔ แยกข้อเทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเห็นจากเรอื่ งทีอ่ ่าน

๓๕

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขยี นเขียนส่อื สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเร่อื งราวในรปู แบบ

ต่าง ๆ เขยี นรายงาน เขยี นขอ้ มลู สารสนเท ศ และรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
ตัวชี้วัด
๑. ท ๒.๑ ป.๕/๑ คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั และครึ่งบรรทัด
๒. ท ๒.๑ ป.๕/๒ เขียนส่ือสารโดยใชค้ ำไดถ้ กู ต้อง ชัดเจน และเหมาะสม
๓. ท ๒.๑ ป.๕/๔ เขียนย่อความจากเร่อื งท่อี ่าน

๔. ท ๒.๑ ป.๕/๙ มมี ารยาทในการเขียน

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๓.๑สามารถเลอื กฟงั และดอู ย่างมวี ิจารณญาณและพดู แสดงความรู้ ความคิดและ

ความรสู้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวช้วี ดั

๑. ท ๓.๑ ป.๕/๑ พดู แสดงความรู้ ความคดิ เห็นและความร้สู ึกจากเรือ่ งทฟี่ งั และดู

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ

๑. ท ๔.๑ ป.๕/๑ ระบุชนิดและหนา้ ที่ของคำในประโยค

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไท ยอยา่ งเห็นคุณค่า และ

นำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน
ตวั ชี้วัด

๑. ท ๕.๑ ป.๕/๑ สรปุ เร่อื งจากวรรณคดี หรอื วรรณกรรมที่อ่าน
๒. ท ๕.๑ ป.๕/๒ ระบคุ วามรู้และขอ้ คดิ จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมทสี่ ามารถ

นำไปใชใ้ นชีวิตจรงิ
๓. ท ๕.๑ ป.๕/๓ อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดี และวรรณกรรม

สาระสำคัญ
๑.บทรอ้ ยกรองของไทยได้แทรกซมึ ไปในทุกวงการ ไมว่ า่ จะเป็นการประกาศ

โฆษณา การต้ังคำขวญั ของจังหวัด การบันทกึ ขอ้ ความ การเขียนคติเตอื นใจ สำนวน ภาษิต ล้วนใช้บท
รอ้ ยกรองทง้ั สน้ิ เน่ืองจากบทร้อยกรองทำให้ผู้อ่านหรือผู้ฟงั เกดิ ความซาบซึง้ ประทับใจ และสามารถจดจำได้
เร็ว

๒. การอ่านออกเสียงเปน็ การอ่านทสี่ ามารถให้ผู้ฟังเข้าใจในเรือ่ งที่อ่านควรอา่ นออกเสยี งให้ถูกต้อง
และชัดเจนและปฏิบตั ิตนในการอ่านใหถ้ ูกตอ้ งตามหลักเกณฑจ์ ึงจะทำให้อ่านไดค้ ลอ่ งและมคี วามม่นั ใจ

๓. การอ่านเสรมิ บทเรียนเป็นการเพมิ่ ประสบการณ์ด้านการอ่าน ปลูกฝังใหผ้ เู้ รยี นรกั การอ่านและ
ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม ขยายขอบเขตการเรยี นรใู้ หผ้ ูเ้ รียนไดเ้ ปิดโลกทัศน์ท่ีกว้างไกล รจู้ ักคิดวิเคราะห์เรือ่ งที่
อ่านและนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวนั ได้

๓๖

๔. การเรยี นรู้คำ นอกจากเรยี นร้เู พ่อื สอ่ื ความหมายแล้วยงั ตอ้ งเรยี นรใู้ นด้าน
ประเภทและชนิดของคำ หน้าทีข่ องคำ และนำคำนนั้ ไปใช้ให้ถกู ต้องตามบริบท

๕. คำเชื่อมหรือคำสนั ธาน คือ คำท่ีใช้เชอ่ื มประโยคหรอื ขอ้ ความให้ตดิ กันเปน็ เรอ่ื ง
เดยี วกนั ประโยคหรือข้อความทไ่ี ด้อาจมีลกั ษณะเปน็ เหตุเป็นผลกัน ขดั แยง้ กันคล้อยตามกนั หรอื ใหเ้ ลือกเอา
อย่างใดอยา่ งหนง่ึ ไดแ้ ก่ กบั และ จึง ถ้า เพราะ เพราฉะนัน้ ....จงึ เพราะวา่ แต่ หรอื มฉิ ะน้ัน
ถงึ แม้ว่า เมือ่ ครนั้ ...จงึ ถงึ ...ก็ ดังนน้ั ...จึง รวมท้ังการใช้เครือ่ งหมายวรรคตอน ควรใช้ใหถ้ ูกตอ้ ง

๖. การย่อความคือ การเกบ็ เนือ้ ความหรอื ใจความสำคญั ของเรอื่ งแล้วนำมาเรียบเรียงใหม่ดว้ ย
สำนวนใหม่ ผูย้ ่อตอ้ งฝึกทักษะภาษาทางดา้ นการเขียน การสะกดคำ และ หลักภาษา จึงจะสามารถเขยี นยอ่
ความไดด้ มี ปี ระสทิ ธภิ าพ

๗. ภาษาทใี่ ชโ้ นม้ นา้ วสว่ นมากเปน็ ภาษาทีใ่ ชใ้ นการโฆษณาให้ผ้ฟู งั หรอื ผ้อู ่านสนใจในสินค้าหรือ
ผลติ ภัณฑ์น้ัน ๆ มกั ใชถ้ ้อยคำและศลิ ปะการพดู ท่ีเร้าใจจนผฟู้ ังเกิดความไวว้ างใจในตัวผู้พดู เกิดความเช่อื ถอื
และคดิ ใครค่ รวญถงึ ประโยชน์หรอื ผลทจ่ี ะไดร้ บั การซือ้ สินค้าหรอื ผลติ ภัณฑ์น้ัน ๆ จนตดั สนิ ใจซอ้ื สนิ คา้

๘. การพดู มอี ทิ ธิพลมากในการสื่อสาร ผ้พู ูดตอ้ งมีวจิ ารณญาณสถานการณท์ พ่ี ูด
ตอ้ งรู้จักเลือกใช้ถ้อยคำ สำนวนให้เหมาะสมกบั โอกาสและระดับของผู้ฟัง เพ่ือให้ผลการพูดออกมาในทางลบ
นอ้ ยทีส่ ดุ กระทบกระเทือนผฟู้ งั น้อยท่ีสดุ สรา้ งความประทับใจและเป็นประโยชนก์ ับผู้ฟัง

สาระการเรียนร/ู้ ความรู้
๑. การอา่ นจบั ใจความ อา่ นบทร้อยกรอง
๒. การอ่านออกเสยี ง
๓. การอา่ นบทอา่ นเสรมิ “ บทเพลงแห่งประชาธปิ ไตย
๔. การเขยี นยอ่ ความ
๕. คำบพุ บท
๖. ข้อความเชงิ บรรยาย และเชงิ พรรณนา
๗. เคร่ืองหมายวรรคตอน
๘. การฟงั งานเขยี นโนม้ นา้ วใจ
๙. การพูดโนม้ น้าวใจ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๑. บอกความสำคญั ของบทร้อยกรองได้
๒. อา่ นและบอกใจความของบทรอ้ ยกรองได้
๓. บอกคำคล้องจองได้
๔. อ่านออกเสยี งเนอื้ หาในบทเรียนได้
๕. สรปุ เร่อื งราวทอ่ี ่านได้
๖. บอกความหมายของคำยากในบทอา่ นได้
๗. อา่ นและเก็บใจความสำคัญของเรื่องได้
๘. คิด วเิ คราะห์สรปุ เรือ่ งราวทอี่ ่าน

๓๗

๙. ต้งั คำถาม – ตอบคำถามเรอื่ งที่อา่ นได้
๑๐. อ่าน เขียนสะกดคำในบทเรยี นได้
๑๑. อ่าน เขยี นสะกดคำในบทเรยี นได้
๑๒. บอกความหมายของคำได้
๑๓. นำคำไปใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ งตามสถานการณ์
๑๔. บอกความหมายของคำเช่ือม คำบพุ บท ได้ และใชเ้ ครอื่ งหมายวรรคตอนได้
๑๕. ใช้คำเชอื่ มไดถ้ ูกต้องตามบริบท
๑๖. บอกหลกั การเขยี นยอ่ ความได้
๑๗. เขยี นย่อความได้
๑๘. บอกความหมายของภาษาโนม้ นา้ วได้
๑๙. คดิ วเิ คราะหภ์ าษาที่ใชใ้ นการโนม้ นา้ วได้
๒๐. พูดสนทนาไดเ้ หมาะสม
๒๑. พูดโนม้ นา้ วและโต้แย้งได้

สมรรถนะสำคัญ
๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓.ความสามารถในการแก้ปญั หา
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
๕.ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซอื่ สตั ยส์ ุจริต
๓. มีวินยั
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยูอ่ ย่างพอเพียง
๖. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
๗. รกั ความเป็นไทย

๘. มีจิตสาธารณะ

กิจกรรมการเรียนรู้
๑. ศึกษา ค้นควา้ การอ่านจับใจความจากสื่อตา่ ง ๆ เชน่ วรรณคดีในบทเรยี น บทความ บทโฆษณา

งานเขยี นประเภท โน้มนา้ วใจ ข่างเหตกุ ารณป์ ระจำวัน บทรอ้ ยกรอง

๒. เช่ือมโยงความรจู้ ากการอา่ นกับประสบการณ์และชีวติ จริง
๓. แยกข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีอา่ น วเิ คราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเรือ่ งที่อ่าน

๓๘

เพอ่ื นำไปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ
๔. เขียนบันทึกประจำวนั
๕. เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการ
๖. การคดั ลายมือ
๗. เขียนยอ่ ความจากสอ่ื ต่าง ๆ เช่น นทิ าน
๘. การอ่านบทรอ้ ยกรอง
๙. การอา่ นออกเสียง
๑๐.การอา่ นบทอา่ นเสรมิ “ จติ ท่คี วรพัฒนา : จิต สาธารณะ อ่านเพ่มิ เติมความหมาย
๑๑.บอกคำบพุ บทเครอ่ื งหมายวรรคตอน
๑๒.อ่าน เขียน ขอ้ ความเชงิ บรรยายและเชิงพรรณนา ข้อความเชงิ
๑๓. การใชค้ ำถกู ต้องตามหลกั เกณฑท์ างภาษา และอภปิ รายมารยาทการพูด การฟงั และการดู

สื่อ/แหลง่ เรียนรู้
1. หนงั สอื เรยี น
๒. ใบกจิ กรรม
๓. บตั รคำ
๔. นทิ าน
๕. ห้องสมดุ
๖. มมุ หนงั สือ
7. สื่อมัลติมีเดีย วีดีทัศน์ อินเทอรเ์ นต

ภาระงาน/ชิ้นงาน
๑. แบบบันทกึ การอ่าน
๒. แบบทดสอบ
๓. แบบฝึกหดั
๔. ใบงาน
๕. งานกลมุ่
๖. การเขียนบันทกึ ประจำวัน การคดั ลายมอื การเขยี นเรยี งความ

การประเมนิ ผล
๑. สงั เกตการการอ่าน การเขยี น และทำงานกลุ่ม
๒. ตรวจผลงาน การเขยี นบันทกึ ประจำวนั การคัดลายมือ การเขยี นเรยี งความ
๓. ตรวจแบบฝกึ หัด จากเร่อื งท่ีเรียน
๔. ทำแบบทดสอบท้ายบทเรียน

๓๙

กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๕ เรื่อง รว่ มแรงรว่ มใจ เวลา ๙ ชวั่ โมง

คำอธบิ ายประจำหนว่ ย
ศึกษาการอ่านออกเสยี ง การอา่ นบทรอ้ ยกรอง อา่ นเพม่ิ เตมิ เสริมความหมาย ทง้ั บทร้อยแก้วและบท

ร้อยกรอง อธบิ าย คำสัง่ ข้อแนะนำและการปฏิบัติตาม เขียนแผนภาพโครงเร่ือง นำแผนภาพโครงเรอื่ งและ

แผนภาพความคิดไปพัฒนางาน คำอทุ าน สรุปเร่ืองจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่อี า่ น ระบขุ อ้ คดิ จากการอ่าน

วรรณคดีและวรรณกรรมสามารถนำไปใช้ในชวี ิตจริง
โดยใชก้ ระบวนการอ่านออกเสยี ง บทร้อยแกว้ บทรอ้ ยกรอง ทกั ษะการอ่านจบั ใจความสำคญั การ

อา่ นขา่ ว วเิ คราะห์ สรุป ความคดิ เห็น และ เข้าใจหลักการใช้ภาษาไทยอย่างถกู ต้อง

หนว่ ยการจัดการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๕ เรอ่ื ง ร่วมแรงรว่ มใจ

รหสั วชิ า ท ๑๕๑๐๑ รายช่อื วิชา ภาษาไทย

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ระยะเวลาการสอน ๙ ชั่วโมง

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นำไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ัญหาในการ
ดำเนินชวี ิต

ตัวชว้ี ัด
๑. ท ๑.๑ ป.๕/๑ อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ กู ต้อง
๒. ท ๑.๑ ป.๕/๖ อา่ นเขยี นอธิบาย คำสง่ั ขอ้ แนะนำและปฏบิ ตั ติ าม

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขียนเขยี นส่ือสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่อื งราวในรปู แบบ

ตา่ ง ๆ เขยี นรายงาน เขยี นขอ้ มลู สารสนเท ศ และรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ตัวชีว้ ดั

๑. ท ๒.๑ ป.๕/๒ เขยี นสอื่ สารโดยใช้คำไดถ้ ูกตอ้ ง ชัดเจน และเหมาะสม

๔๐

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอย่างมีวจิ ารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ
ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชีว้ ดั

๑. ท ๓.๑ ป.๕/๒. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตผุ ลจากเร่ืองท่ฟี งั และดู
๒. ท ๓.๑ ป.๕/๓ วเิ คราะหค์ วามนา่ เชื่อถอื จากเร่ือง ท่ีฟงั และดูอย่างมเี หตผุ ล

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของ
ภาษาภมู ิปญั ญาทางภาษา
ตัวช้ีวัด

๑. ท ๔.๑ ป.๕/๑ ระบุชนดิ และหนา้ ทข่ี องคำในประโยค
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไท ยอย่างเห็นคณุ ค่า และ

นำมาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั
ตวั ชว้ี ดั

๑. ท ๕.๑ ป.๕/๑ สรุปเร่อื งจากวรรณคดี หรอื วรรณกรรมทอ่ี ่าน
๒. ท ๕.๑ ป.๕/๒ ระบุความรูแ้ ละข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมทส่ี ามารถ

นำไปใช้ในชีวิตจริง
๓. ท ๕.๑ ป.๕/๓ อธบิ ายคณุ ค่าของวรรณคดี และวรรณกรรม

สาระสำคญั
๑. บทร้อยกรองของไทยไดแ้ ทรกซึมไปในทุกวงการ ไมว่ า่ จะเปน็ การประกาศ

โฆษณา การต้ังคำขวัญของจังหวดั การบนั ทึกข้อความ การเขียนคตเิ ตือนใจ สำนวน ภาษติ ล้วนใช้บท
รอ้ ยกรองท้งั สิน้ เนือ่ งจากบทร้อยกรองทำใหผ้ ู้อ่านหรอื ผู้ฟงั เกดิ ความซาบซงึ้ ประทับใจ และสามารถจดจำได้
เร็ว

๒. การอ่านออกเสียงเปน็ การอ่านทีส่ ามารถใหผ้ ฟู้ งั เข้าใจในเรอ่ื งท่ีอ่านควรอา่ นออกเสียงใหถ้ ูกตอ้ ง
และชดั เจนและปฏิบัติตนในการอ่านให้ถกู ต้องตามหลกั เกณฑ์จงึ จะทำใหอ้ ่านไดค้ ล่องและมีความม่ันใจ

๓. การอ่านเสริมบทเรียนเปน็ การเพม่ิ ประสบการณด์ ้านการอ่าน ปลูกฝงั ให้ผเู้ รยี นรกั การอ่านและ
ศึกษาหาความรเู้ พิ่มเตมิ ขยายขอบเขตการเรยี นรู้ให้ผู้เรียนได้เปดิ โลกทัศนท์ ี่กวา้ งไกล รจู้ กั คดิ วิเคราะหเ์ รอ่ื งที่
อา่ นและนำมาปรับใช้ในชวี ติ ประจำวันได้

๔. การเรยี นรูค้ ำ นอกจากเรียนรูเ้ พ่ือสอ่ื ความหมายแลว้ ยงั ต้องเรียนร้ใู นดา้ นประเภทและชนิด
ของคำ หน้าที่ของคำ และนำคำน้นั ไปใช้ให้ถูกต้องตามบรบิ ท

๕. คำอทุ านคือที่เปล่งออกมาเพ่อื แสดงอารมณแ์ ละความรู้สึกของผู้พดู ในช่วงขณะเดียวกนั
รา่ งกายอาจแสดงกริ ิยาออกมาในลกั ษณะใดลักษณะหน่งึ ท้ังในชว่ งภาวะทร่ี สู้ กึ ตวั และเผลอลืมตัว

๖. แผนภาพโครงเรอ่ื ง เป็นแผนภาพทป่ี ระกอบด้วยส่วนของคำถามเก่ยี วกับเรื่องบอกให้
ทราบวา่ ใคร ทำอะไร ท่ีไหน อยา่ งไร เพราะเหตุใด และข้อคิดจากเรอ่ื งแผนภาพโครงเรอื่ ง จะช่วยให้
สามารถบอกเหตุการณ์ของเรอ่ื งเปน็ ตอน ๆ โดยอาศัยการคดิ คำตอบจากคำถามในแผนภาพ และช่วยลำดับ
เรือ่ งได้อย่างต่อเน่ือง ทำใหส้ ามารถสรุปเรื่องทง้ั หมดได้

๔๑

๗. การอา่ น ฟงั ดู ขา่ ว เป็นการตดิ ตามเหตุการณ์ ความเคลือ่ นไหวของสังคมประเทศชาตใิ นเร่อื ง
ตา่ งๆ ในชีวติ ประจำวันของเราจะมีการดู การฟัง อยู่เปน็ ประจำ เรานกั เรยี นรูจ้ กั แยกแยะวจิ ารณ์ พจิ ารณา
ข่าวที่ดู ฟัง นั้นเพอื่ ให้ได้ความรแู้ ละขอ้ มลู ข่าวสาร
สาระการเรยี นรู้/ความรู้

๑. การอ่านบทร้อยกรอง

๒. การอ่านออกเสียง

๓. การอา่ นบทอา่ นเสริม “ เร่ืองของมด”

๔. อา่ นเพิ่ม เติมความหมาย

๕. คำอุทาน

๖. การอา่ นงานเขยี นเชิงอธบิ าย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏบิ ตั ิตาม เชน่ การอา่ นคมู่ อื และเอกสาร

ของโรงเรยี นท่เี กยี่ วข้องกับนักเรียน ข่าวสารทางราชการ การประกาศ

๗. การเขียนแผนภาพโครงเรือ่ ง

๘. การนำแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดไปพฒั นางานเขยี น

๙. การอา่ นขา่ ว

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๑. บอกความสำคญั ของบทรอ้ ยกรองได้
๒. อ่านและบอกใจความของบทร้อยกรองได้
๓. บอกคำคลอ้ งจองได้
๔. อา่ นออกเสียงเนอ้ื หาในบทเรยี นได้
๕. สรปุ เรื่องราวท่อี า่ นได้
๖. บอกความหมายของคำยากในบทอา่ นได้
๗. อ่านและเก็บใจความสำคญั ของเรอื่ งได้
๘. คิด วเิ คราะห์สรปุ เรื่องราวท่อี า่ น
๙. ตง้ั คำถาม – ตอบคำถามเรอื่ งท่ีอา่ นได้
๑๐. อา่ น เขียนสะกดคำในบทเรียนได้
๑๑. อ่าน เขียนสะกดคำในบทเรียนได้
๑๒. บอกความหมายของคำได้
๑๓. นำคำไปใช้ได้ถูกตอ้ งตามสถานการณ์
๑๔. บอกความหมายของคำอทุ านได้
๑๕. ใช้คำอทุ านไดถ้ กู ต้องตามบริบท
๑๖. สรุปใจความสำคัญของเรือ่ งได้
๑๗. เขียนแผนภาพโครงเร่อื งได้
๑๘. บอกหลกั การฟงั ดู อ่าน ข่าวได้
๑๙. แสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั เรอ่ื งท่ีดู ฟงั

และขา่ วที่อา่ นได้

๔๒

สมรรถนะสำคัญ
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓.ความสามารถในการแกป้ ญั หา
๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
๕.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซอื่ สตั ยส์ ุจริต
๓. มวี ินยั
๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
๖. มุง่ ม่ันในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย

๘. มจี ิตสาธารณะ

กิจกรรมการเรียนรู้
๑. อ่านออกเสียง
๒. การอา่ นบทรอ้ ยกรอง อา่ นเพิ่มเตมิ เสริมความหมาย บอก อธบิ าย คำสัง่

ขอ้ แนะนำและการปฏิบัติตาม
๓. เขยี นแผนภาพโครงเรอ่ื ง นำแผนภาพโครงเรือ่ งและแผนภาพความคิดไปพัฒนางาน

๔. อา่ นคำอทุ าน
๕. เขยี นสรุปเรอ่ื งจากวรรณคดหี รอื วรรณกรรมทีอ่ า่ น ระบุขอ้ คดิ จากการอา่ นวรรณคดีและ
วรรณกรรมสามารถนำไปใช้ในชวี ติ จริง
๖. การอ่านจับใจความสำคญั การอ่านขา่ ว วิเคราะห์ สรุป ความคดิ เหน็ และ เข้าใจหลักการใช้
ภาษา

สื่อ /แหลง่ เรียนรู้
๑. หนงั สือเรยี น
๒. ใบกจิ กรรม
๓. บตั รคำ
๔. นิทาน
๕. ห้องสมุด
๖. มุมหนงั สอื

๔๓

7. สื่อมลั ติมีเดยี วีดีทศั น์ อินเทอร์เนต

ภาระงาน/ช้ินงาน
๑. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการอา่ น การพูด การฟงั การเขียน
๒. แบบบนั ทกึ การอา่ น
๓. แบบทดสอบ
๔. แบบฝึกหดั

การประเมินผล
๑. สังเกตการการอา่ น การเขียน และทำงานกล่มุ
๒. ตรวจผลงาน การเขยี นบันทกึ ประจำวัน การคัดลายมือ การเขียนเรยี งความ
๓. ตรวจแบบฝึกหดั จากเร่ืองที่เรียน
๔. ทำแบบทดสอบทา้ ยบทเรยี น

กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๖ เรอื่ ง จากคลองสู่ห้องแอร์ เวลา ๘ ชั่วโมง

คำอธบิ ายประจำหนว่ ย

ฝกึ ปฏบิ ตั ิการอา่ นออกเสยี ง อ่านบทร้อยกรอง อ่านในใจ อ่านทำนองเสนาะ อา่ นเพ่ิมเติมความหมาย
และอ่านเสริมบทเรียน การเขียนเรียงความ การเขียนเชงิ จินตนาการ การเขียนเล่าเรื่อง อ่านบทอาขยานและ

บทร้อยกรองตามความสนใจ
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิดวิเคราะห์ สรุปแสดงความคิดเห็น ศึกษาค้นคว้า นำเสนอ

ผลงาน และสามารถนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๖ หนว่ ยการจดั การเรยี นรู้กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
รหสั วิชา ท ๑๕๑๐๑
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เรอื่ ง จากคลองสูห่ อ้ งแอร์
รายช่ือวิชา ภาษาไทย
ระยะเวลาการสอน ๘ ชวั่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคดิ เพ่อื นำไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ัญหาในการ

ดำเนนิ ชีวิต
ตวั ช้ีวดั

๑. ท ๑.๑ ป.๕/๑ อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ตอ้ ง
๒. ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และข้อความทเ่ี ป็นการบรรยายและ
พรรณนา

มาตรฐานการเรยี นรู้

๔๔

มาตรฐาน ท ๒.๑ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสือ่ สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเรือ่ งราวในรปู แบบ
ตา่ ง ๆ เขียนรายงาน เขียนขอ้ มูลสารสนเท ศ และรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

ตวั ชีว้ ัด
๑. ท ๒.๑ ป.๕/๑ เขยี นแผนภาพโครงเรอื่ งและแผนภาพความคดิ เพื่อใช้พัฒนางานเขียน
๒. ท ๒.๑ ป.๕/๒ เขียนสอ่ื สารโดยใชค้ ำได้ถูกตอ้ งชดั เจน และเหมาะสม
๓. ท ๒.๑ ป.๕/๘ เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการ
๔. ท ๒.๑ ป.๕/๙ มมี ารยาทในการเขยี น
๕. ท ๒.๑ ป.๕/๒ เขยี นสือ่ สารโดยใช้คำไดถ้ ูกต้องชดั เจน และเหมาะสม

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรสู้ กึ ใน

โอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์
ตวั ชว้ี ัด

๑.ท ๓.๑ ป.๕/๑ พดู แสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรสู้ กึ จากเร่ืองที่ฟังและดู
๒.ท ๓.๑ ป.๕/๒ ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องท่ีฟงั และดู
๓.ท ๓.๑ ป.๕/๓ วิเคราะหค์ วามนา่ เช่อื ถอื จากเรอื่ ง ทฟ่ี งั และดูอย่างมเี หตุผล
๔.ท ๓.๑ ป.๕/๔ พูดรายงานเร่ืองหรือประเดน็ ทศ่ี ึกษาคน้ คว้าจากการฟงั การดู และการสนทนา
๕.ท ๓.๑ ป.๕/๕ มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ

ตวั ชว้ี ัด
๑.ท 4.๑ ป.๕/1 ระบชุ นิดและหน้าทข่ี องคาในประโยค

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณคา่
และนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจริง

ตวั ช้วี ดั
๑. ท๕.๑ ป ๕/๔ ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่ ตามความสนใจ

สาระสำคญั
๑. การอา่ นในใจคือการกวาดสายตาไปยงั ขอ้ ความจากหนงั สือ พุ่งความสนใจ

ไปยังสาระที่อ่าน แลว้ เก็บใจความสำคัญของเรื่องท่ีอ่าน สามารถถ่ายโอนสาระทอี่ า่ น

๔๕

ไปยังผูอ้ น่ื ได้ด้วยทง้ั พูดและการเขยี น
๒. การอ่านออกเสยี งเปน็ การอ่านท่ีสามารถใหผ้ ู้ฟังเข้าใจในเรอื่ งท่ีอา่ นควรอ่าน

ออกเสยี งให้ถูกต้องและชดั เจนและปฏบิ ตั ิตนในการอ่านใหถ้ ูกต้องตามหลกั เกณฑจ์ ึงจะทำใหอ้ า่ นได้คล่องและมี
ความมั่นใจ

๓. การอ่านเสรมิ บทเรียนเป็นการเพ่มิ ประสบการณ์ด้านการอา่ น ปลูกฝังให้
ผูเ้ รยี นรกั การอา่ นและศกึ ษาหาความร้เู พ่มิ เติม ขยายขอบเขตการเรยี นรู้ใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ ปิดโลกทศั น์ที่กว้างไกล
รจู้ กั คดิ วิเคราะหเ์ ร่อื งทีอ่ ่านและนำมาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวันได้

๔. การเรียนรู้คำ นอกจากเรยี นรูเ้ พ่อื สอื่ ความหมายแล้วยงั ตอ้ งเรียนรใู้ นด้าน
ประเภทและชนดิ ของคำ หน้าทีข่ องคำ และนำคำนนั้ ไปใช้ให้ถกู ตอ้ งตามบริบท

๕. การเขียนเรยี งความ เป็นการเขียนเพอื่ ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ หรอื
แสดงความคิด ความรู้สึก โดยใช้คำสำนวนภาษาท่ีถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องส่วนประกอบของเรียงความ
เรยี งความประกอบด้วยสว่ นสำคญั ๓ สว่ น คอื คำนำ เนือ้ เร่ือง และสรุป

๖. การเขยี นเชิงจินตนาการถือเปน็ ทักษะการเขียนท่ีผเู้ ขยี นต้องนำกระบวนการ
คิดทเ่ี ปน็ เอกลักษณะเฉพาะตัวของตนเองผนวกกับขอ้ มูล ความรู้ หรือเรื่องราวทต่ี อ้ งการให้คนอืน่ รูด้ ้วย มา
เขียน เรยี บเรียงเป็นเรื่องราว ตอ่ เนอื่ งให้สามารถสอ่ื สารให้คนอ่นื เขา้ ใจไดด้ ้วย คนที่จะเขียนเรอ่ื งราวไดด้ ี
จะต้องเขา้ ใจหลกั การเขียน และไดร้ บั การฝึกฝนอย่างต่อเนือ่ ง จงึ จะเขียนเรือ่ งไดด้ ี

๗. การเขยี นเลา่ เรือ่ ง และการเขียนบันทึกเปน็ การเขียนเร่ืองราวต่าง ๆ ท่ีผ่านมา
และเป็นการเพมิ่ ทักษะในการเขียนด้วย การเขยี นถือเปน็ ทักษะทีส่ ำคัญในการเรียนภาษา ท้ังนีเ้ พราะคนทจ่ี ะ
เขียนสอ่ื สารได้ดจี ะตอ้ งเป็นผู้ทีม่ คี วามรคู้ วามสามารถและเข้าใจหลกั การใชภ้ าษาได้ดีพอสมควร การเขียนเล่า
เรื่อง เล่าเหตุการณ์ถือว่าเป็นการเขียนเพื่อการสื่อสารชนิดหนึ่งที่ต้องใช้หลักการเขียน เช่นเดียวกับการเขียน
ทว่ั ไป

สาระการเรียนร้/ู ความรู้
๑. การอา่ นในใจ
๒. การอา่ นออกเสยี ง
๓. การอ่านบทอา่ นเสริม “ เจ้าชายแตงโท”
๔. อ่านเพ่มิ เติมความหมาย
๕. การเขียนเรียงความ
๖. การเขยี นเชิงจนิ ตนาการ
๗. การเขียนเล่าเร่ือง

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๑. อ่านในใจและเก็บใจความสำคัญของเรื่องได้
๒. ถา่ ยโอนสาระเรอื่ งราวที่อ่านไปยงั ผ้อู นื่ ได้
๓. บอกความหมายคำใหมใ่ นบทเรยี นได้
๔. อา่ นออกเสยี งเน้ือหาในบทเรียนได้
๕. สรปุ เรือ่ งราวที่อา่ นได้
๖. อ่านและเกบ็ ใจความสำคญั ของเร่ืองได้

๔๖

๗. คดิ วิเคราะห์สรุปเรือ่ งราวทีอ่ ่าน
๘. ตั้งคำถาม – ตอบคำถามเรอื่ งที่อ่านได้
๙. อ่าน เขยี นสะกดคำในบทเรยี นได้
๑๐. บอกความหมายของคำได้
๑๑. นำคำไปใชไ้ ดถ้ ูกต้องตามสถานการณ์
๑๒. บอกขน้ั ตอนการเขยี นเรียงความได้
๑๓. เขียนเรยี งความไดถ้ ูกตอ้ งตามข้นั ตอน
๑๖. ถ่ายทอดข้อมลู ด้วยการเขียนได้
๑๗. เขียนเร่ืองจากจินตนาการได้
๑๘. เขยี นแผนภาพความคิดได้
๑๙. พดู และเขยี นเลา่ เร่อื งได้

สมรรถนะสำคญั
๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓.ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
๕.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซื่อสตั ยส์ ุจรติ
๓. มีวนิ ยั
๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุง่ ม่ันในการทำงาน
๗. รักความเปน็ ไทย

๘. มีจิตสาธารณะ
กจิ กรรมการเรยี นรู้

๑. อา่ นในใจและเกบ็ ใจความสำคญั ของเร่อื งได้
๒. การอา่ นออกเสียง อ่านสรุปเรือ่ งราว
๓. การคดิ วิเคราะหส์ รปุ เรอ่ื งราวทีอ่ ่าน
๔. การตง้ั คำถาม – ตอบคำถามเร่ืองที่อ่านได้
๕. การอ่าน เขยี นสะกดคำในบทเรยี นได้
๖. การเขยี นเรยี งความ

๔๗

๗. การเขียนเรอื่ งจากจนิ ตนาการ เขียนแผนภาพความคดิ
๘. การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม พูด แลกเปล่ยี นความคดิ เห็น

สื่อการเรยี นรู้
๑. หนงั สือเรียน
๒. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
๓. ใบความรู้
๔. อนิ เตอร์เน็ต คอมพิวเตอร์
๕. หนงั สือนิทาน
๖. ใบกิจกรรมการอ่าน
๗. มุมหนังสอื ในหอ้ งเรียน
๘. ปา้ ยนิเทศบรเิ วณโรงเรียน
9. ส่อื วีดีทัศน์
๑๐. หอ้ งสมดุ

ภาระงาน/ชิน้ งาน
๑. แบบบนั ทกึ การอา่ น
๒. แบบทดสอบ
๓. แบบฝึกหดั
๔. ผลงานกลุม่
๕. การเสนอรายงาน
๖. การเขียนเรยี งความ

การประเมินผล
๑. สังเกตการณ์การอ่าน การเขียน และทำงานกลุ่ม
๒. ตรวจผลงาน การเขยี นบนั ทึกประจำวนั การคัดลายมือ การเขยี นเรียงความ
๓. ตรวจแบบฝกึ หดั จากเร่อื งท่ีเรียน
๔. ทำแบบทดสอบท้ายบทเรียน

๔๘

กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๗ เรือ่ ง ดัง่ น้ำทพิ ยช์ โลมใจ เวลา ๘ ชั่วโมง

คำอธบิ ายประจำหนว่ ย
คำอธิบายประจำหน่วย

ฝึกปฏิบัติการอ่านออกเสียง อ่านบทร้อยกรอง และอ่านเสริมบทเรียน อธิบายความหมายของราชา
ศพั ท์ คำราชาศพั ท์ การใชพ้ จนานกุ รมและเพลงพระราชนิพนธ์ จนสามารถนำมาใช้ในชวี ิตประจำวันได้

โดยใช้กระบวนการอ่าน การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น การเขียน
สร้างสรรค์ การคัดลายมือ กระบวนการใช้ภาษา กระบวนการกลุ่ม มีนิสัยรักการอ่าน การใช้คำถูกต้องตาม
หลักเกณฑ์ทางภาษา

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๗ หนว่ ยการจดั การเรยี นรู้กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
รหสั วิชา ท ๑๕๑๐๑ เรือ่ ง ดัง่ นำ้ ทพิ ยช์ โลมใจ
รายชอ่ื วชิ า ภาษาไทย
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕
ระยะเวลาการสอน ๘ ชว่ั โมง

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นำไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหาในการ

ดำเนินชีวิต
ตัวช้ีวัด

๑. ท ๑.๑ ป.๕/๑ อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ตอ้ ง
๒. ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธิบายความหมายของคำ ประโยค และข้อความทีเ่ ป็นการบรรยายและ

พรรณนา

๔๙

๔. ท ๑.๑ ป.๕/๔ แยกข้อเทจ็ จริง และข้อคดิ เหน็ จากเรื่องท่อี ่าน

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๒.๑ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสือ่ สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเรอ่ื งราวในรปู แบบ

ต่าง ๆ เขยี นรายงาน เขยี นข้อมลู สารสนเท ศ และรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
ตวั ชี้วดั
๑. ท ๒.๑ ป.๕/๑ คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครง่ึ บรรทดั
๒. ท ๒.๑ ป.๕/๒ เขยี นสื่อสารโดยใชค้ ำได้ถูกต้อง ชดั เจน และเหมาะสม
๓. ท ๒.๑ ป.๕/๓ เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ เพอ่ื ใช้พัฒนางานเขยี น

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอย่างมีวจิ ารณญาณและพูดแสดงความรู้ ความคิดและ
ความรูส้ ึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วดั

๑. ท ๓.๑ ป.๕/๑ พดู แสดงความรู้ ความคดิ เห็น และความรู้สึกจากเรื่องท่ีฟงั และดู
๒. ท ๓.๑ ป.๕/๒. ต้ังคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองทฟ่ี งั และดู
๓. ท ๓.๑ ป.๕/๓ วเิ คราะห์ความน่าเช่อื ถือจากเรื่อง ทฟ่ี ังและดอู ยา่ งมีเหตุผล
๔. ท ๓. ๑ ป.๕/๔ พดู รายงานเรอื่ ง หรอื ประเด็นทศ่ี กึ ษาค้นควา้ จากการฟงั การดูและการสนทนา
๕. ท ๓.๑ ป.๕/๔ มมี ารยาทในการฟงั การดูและการพดู

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลงั ของ

ภาษาภมู ปิ ัญญาทางภาษา
ตวั ชว้ี ัด

๑. ท ๔.๑ ป.๕/๔ ใช้คำราชาศัพท์
๒. ท ๔.๑ ป.๕/๖ แตง่ บทรอ้ ยกรอง

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไท ยอยา่ งเหน็ คุณคา่ และ

นำมาประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
ตัวชว้ี ัด

๑. ท ๕.๑ ป.๕/๑ สรุปเรื่องจากวรรณคดี หรอื วรรณกรรมทอี่ ่าน
๒. ท ๕.๑ ป.๕/๒ ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีสามารถ
นำไปใช้ในชีวิตจรงิ
๓. ท ๕.๑ ป.๕/๓ อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดี และวรรณกรรม

สาระสำคัญ


Click to View FlipBook Version