The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิมพิกา พิมพ์สอน, 2019-12-09 09:39:30

หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ ม.ต้น (2561-2563)

M1-M3-AP

หลักสูตรหองเรยี นอัจฉรยิ ภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
(Advanced Program)
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

(ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551)

ปการศึกษา 2561 – 2563

โรงเรียนมวงสามสิบอมั พวันวิทยา
อําเภอมวงสามสิบ จงั หวัดอุบลราชธานี
สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คํานาํ

โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 ได
จัดทําโครงสรางหลักสูตรหองเรียนอัจฉริยะวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร (AP) โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวัน
วิทยา พุทธศักราช 2561 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ซ่ึงสอดคลองตามหลักการ จุดหมาย โครงสรางการจัดหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
โดยคณะกรรมการจัดทําหลักสูตรและกลุมงานวิชาการไดร วมกันดาํ เนินงานจัดทําหลักสตู รสถานศกึ ษาทกุ กลุม
สาระการเรียนรูคือ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรู
วิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพล
ศึกษา กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรู
ภาษาตางประเทศ และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ในการจัดทําโครงสรา งหลักสูตรหองเรียนอจั ฉริยะวิทยาศาสตร
และคณิตศาสตร (AP) โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช 2561 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
โรงเรยี นไดนําวิสยั ทัศน จดุ หมาย สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรยี นรู
และตวั ช้ีวัดที่ชดั เจน เพอ่ื ใชเ ปน ทิศทางในการจัดทาํ หลกั สูตรการเรียนการสอนในแตละระดบั นอกจากนั้นได
กําหนดโครงสรางของเวลาเรียนขั้นต่าํ ของแตละกลมุ สาระการเรยี นรูในแตละชน้ั ปไ วในหลักสูตรแกนกลางและ
เปดโอกาสใหส ถานศกึ ษาจัดทําสาระการเรียนรเู พม่ิ เติมไดตามความพรอ มและจุดเนน ของโรงเรียน สอดคลอง
กับความตองการของชุมชนและทองถิ่น อีกท้ังไดปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผูเรียน เกณฑการจบ
การศึกษาในแตละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานการศึกษาใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู
กอนจะนําหลักสูตรสถานศึกษามาใชโรงเรียนตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน ซ่ึงคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไดรวมพิจารณาใหขอเสนอแนะในการจัดทําหลักสูตร
สถานศึกษาเปน อยา งดียงิ่ โรงเรียนมว งสามสิบอัมพวนั วิทยาจงึ ขอขอบคุณผูมีสวนเกีย่ วของมา ณ โอกาสน้ี

(นายสรุ พล ภสู ธิ านันท)
ผูอ าํ นวยการโรงเรยี นมว งสามสบิ อมั พวันวทิ ยา

สารบัญ

หนา

ความหมาย ความสาํ คัญของหลกั สตู หอ งเรยี นพเิ ศษอัจฉริยภาพวทิ ยาศาสตร 1
และคณิตศาสตร 3
ลักษณะของหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนมว งสามสิบอมั พวันวทิ ยา 5
วสิ ยั ทศั น 5
หลักการ 6
เปาประสงคจ ดุ หมาย 7
สมรรถนะพ้ืนฐาน 5 ประการ 7
สมรรถนะสําคัญของผเู รียน 8
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค
โครงสรา งหลักสูตรหองเรยี นอัจฉริยะวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร (AP) 9
โรงเรียนมว งสามสบิ อมั พวนั วิทยา พทุ ธศักราช 2561 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน
คาํ อธบิ ายรายวิชา 19
26
กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย 46
กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร 65
กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร 78
กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 91
กลุมสาระการเรยี นรูสขุ ศึกษาและพลศึกษา 98
กลมุ สาระการเรยี นรศู ิลปะ 105
กลุมสาระการเรียนรกู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี 112
กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ 113
กิจกรรมพฒั นาผูเรียน 114
การจัดการเรยี นรู 115
สือ่ การเรยี นรู 116
การวดั และประเมินผลการเรียนรู 118
เกณฑการวดั และประเมนิ ผลการเรียน 119
เอกสารหลกั ฐานการศึกษา 119
การเทียบโอนผลการเรียน
การบรหิ ารจัดการหลกั สูตร

ประกาศโรงเรยี นมว งสามสิบอมั พวันวิทยา
เรื่อง การใชห ลักสูตรหองเรียนอจั ฉรยิ ะวทิ ยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร (AP)
โรงเรยี นมว งสามสิบอัมพวนั วทิ ยา พทุ ธศักราช 2561 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน

หลักสูตรโรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยาไดจัดทําขึ้นเพ่ือใชในการจัดการศึกษาตามโครงสราง
หลักสูตรหองเรยี นอัจฉริยะวทิ ยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร (AP) โรงเรยี นมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช
2561 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน น้ัน บัดน้ีทางโรงเรียนไดด ําเนินการ จัดทําหลักสูตรฉบับดังกลาว และจะได
นาํ มาใชในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนในปการศกึ ษา 2561 – 2563 เพื่อใหผูเ รียนมศี ักยภาพในการ
พัฒนาตนเองท้ังดานความรูและความสามารถ ตลอดจนการ สรางจิตสํานึกในความเปนไทยและสามารถ
ดํารงชวี ติ อยรู ว มกันในสังคมไดอยา งมีความสุข

ทั้งนี้ หลกั สูตรโรงเรยี นมว งสามสบิ อมั พวันวิทยา ไดรับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา
ขัน้ พืน้ ฐาน เม่ือวนั ที่ 16 พฤษภาคม 2561 จึงประกาศใหใชห ลักสตู รโรงเรยี นตัง้ แต บัดนี้เปนตน ไป
ประกาศ ณ วนั ที่ 16 พฤษภาคม 2561

(นายสุรพล ภูสิธานันท)
ผอู าํ นวยการโรงเรยี นมว งสามสบิ อัมพวนั วิทยา

บทที่ ๑

สว นนํา

ความหมาย

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบ
อัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ (ปรับปรุงพุทธศักราช ๒560) เปนแผนหรือแนวทางหรือขอกําหนดของการจัดการศกึ ษา
ของโรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา ที่จะใชในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมี
คุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพใน
การศึกษาตอ และประกอบอาชีพ โดยมุงหวังใหมีความสมบูรณทั้งดานรางกาย จิตใจ และ
สติปญ ญา อีกท้ังมคี วามรแู ละทกั ษะที่จําเปน สาํ หรบั การดํารงชีวติ และมคี ณุ ภาพไดม าตรฐานสากล
เพื่อการแขงขันในยุคปจจุบัน ดังนั้นหลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและ
คณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) จึงประกอบดวย
สาระสําคญั ของหลักสตู รแกนกลาง สาระความรูท่ีเก่ียวขอ งกับชุมชนทองถ่ิน และสาระสําคัญที่
สถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเตมิ โดยจัดเปนสาระการเรียนรูร ายวิชาพื้นฐานตามมาตรฐานการเรียนรู
และตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรูรายวชิ าเพม่ิ เติม จดั กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี นเปนเปนรายภาค และ
กําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษาตามคุณลักษณะอันพึงประสงคของหลักสูตร
แกนการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ความสาํ คัญ

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศกั ราช ๒๕60) มีความสําคญั ในการพัฒนาผูเ รยี นใหมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู
ตัวช้ีวัด และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามท่ีกําหนดไวเปนแนวทางใหผูบริหารสถานศึกษา ครู
ตลอดจนผูเกี่ยวของกับการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ในการจัดมวลประสบการณใหแกผูเรียนได
พัฒนาใหบรรลุถึงคุณภาพตามมาตรฐานในการพัฒนาเยาวชนของชาติ นอกเหนือจากการใชเปน
แนวทาง หรือขอกําหนดในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาใหบรรลุตามจุดหมายของการจัด
การศกึ ษาแลว หลักสูตรหอ งเรยี นอัจฉริยภาพทางวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร โรงเรยี นมว งสามสบิ
อัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพทุ ธศักราช ๒๕60) ทพ่ี ัฒนาข้ึนยังเปน หลักสูตรที่มจี ุดมุงหมายใหครอบครัว ชมุ ชน องคก ร

2

ในทองถิ่น ท้ังภาครัฐและเอกชนเขารวมจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีแนวทางสําคัญที่
สถานศึกษากาํ หนดไวใ นหลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้

๑. หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบ
อัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) มุงพัฒนาใหผูเรียนเกิดความสนุกสนาน และความเพลิดเพลินในการ
เรียนรูเปรียบเสมอื นเปน วิธสี รา งกําลังใจ และเราใหเกิดความกาวหนาแกผูเรียนใหมากท่ีสุด มีความรู
สูงสุด ผูเรียนทุกคนมีความเขมแข็ง ความสนใจ มีประสบการณ และความมั่นใจ เรียนและทํางาน
อยางเปนอิสระและรวมใจกัน มีทักษะในการอานออกเขียนได คิดเลขเปน รูขอมูลสารสนเทศ และ
เทคโนโลยีสื่อสาร สงเสริมจิตใจท่ีอยากรูอยากเห็น มีกระบวนการคิดอยางมีเหตุผล และมี
ความสามารถพเิ ศษทางดา นวิทยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร

๒. หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบ
อัมพวันวิทยา พทุ ธศกั ราช ๒๕61 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) สงเสริมการพัฒนาดานจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคม และวัฒนธรรม
พัฒนาหลักการในการจําแนกระหวางถูกและผิด เขาใจและศรัทธาในความเช่ือของตน ความเช่ือและ
วัฒนธรรมท่ีแตกตางกัน พัฒนาหลักคณุ ธรรมและความอิสระของผูเรยี น และชวยใหเปน พลเมืองท่ีมี
ความรบั ผิดชอบ สามารถชว ยพัฒนาสังคมใหเ ปนธรรมข้ึน มคี วามเสมอภาค พัฒนาความตระหนัก
เขาใจ และยอมรับสภาพแวดลอ มที่ตนดาํ รงชวี ิตอยู ยึดมน่ั ในขอตกลงรวมกนั ตอการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืนท้งั
ในระดับสวนตน ระดับทองถิน่ ระดับชาติ และระดับโลก สรา งใหผูเรียนมีความพรอมในการเปน
ผูบริโภคทต่ี ดั สนิ ใจแบบมขี อมลู เปนอสิ ระ และมคี วามรบั ผิดชอบ

3

ลักษณะของหลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
โรงเรยี นมว งสามสิบอัมพวนั วทิ ยา พทุ ธศักราช ๒๕61

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) เปนหลักสูตรที่สถานศึกษาไดพัฒนาข้ึนเพ่ือพัฒนาผูเรียนในระดับ
มัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยยึดองคประกอบหลักสําคญั ๓ สวนคือ หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาระการเรียนรูทองถ่ิน และสาระสําคัญที่
สถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเตมิ เปน กรอบในการจัดทํารายละเอียดเพ่ือใหเปน ไปตามมาตรฐานการศึกษา
ข้ันพน้ื ฐานที่กาํ หนด เหมาะสมกับสภาพชมุ ชนและทองถิ่นและจุดเนน ของสถานศึกษา โดยหลักสตู ร
หองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา
พทุ ธศกั ราช ๒๕61 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕60) ท่พี ัฒนาขึ้นมลี กั ษณะของหลกั สตู ร ดังน้ี

๑. เปนหลักสูตรเฉพาะของสถานศึกษาโรงเรียน มวงสามสิบอัมพวันวิทยา สําหรับจัด
การศึกษาในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จัดระดับการศึกษาเปน ๒ ระดับ คือ ระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนตน (ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 1 – 3) และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี
๔ – ๖)

๒. มีความเปนเอกภาพ หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) เปนหลกั สูตรของสถานศึกษาสาํ หรับใหครูผูสอน
นาํ ไปจัดการเรยี นรูไดอ ยางหลากหลาย โดยกาํ หนดให

๒.๑ มสี าระการเรียนรูท่ีสถานศึกษาใชเปน หลกั เพอ่ื สรา งพนื้ ฐานการคดิ การเรียนรู
และการแกปญหา ประกอบดวย ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสังคมศกึ ษา ศาสนา
และวัฒนธรรม

๒.๒ มีสาระการเรียนรูที่เสริมสรางความเปนมนุษย ศักยภาพการคิดและการ
ทํางาน ประกอบดวย สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาองั กฤษ

๒.๓ มีสาระการเรียนรูเพ่ิมเติม โดยจัดทาํ เปนรายวิชาเพิ่มเติมตามความเหมาะสม
และสอดคลองกับโครงสรางเวลาเรียน สาระการเรียนรูทองถิ่น ความตองการของผูเรียน และบรบิ ท
ของสถานศกึ ษา

๒.๓ มีกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เพ่ือพัฒนาผูเรียนท้ังดานรางกาย จิตใจ สติปญญา
อารมณ และ สังคม เสริมสรางการเรียนรูนอกจากสาระการเรียนรู ๘ กลุม และการพัฒนาตนตาม
ศกั ยภาพ

๒.๔ มีการกําหนดมาตรฐานของสถานศึกษาท่ีสอดคลองกับมาตรฐานระดับตา ง ๆ
เพื่อเปนเปาหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จัดทํารายละเอียดสาระการ
เรยี นรู และจัดกระบวนการเรียนรใู หสอดคลอ งกับสภาพในชมุ ชน สงั คม และภมู ปิ ญญาทองถ่ิน

๓. มีมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสําคัญของการพัฒนาคุณภาพผูเรียน หลักสูตร
หองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา

4

พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑(ปรับปรุง
พุทธศักราช ๒๕60) เปน หลักสูตรท่ีมีมาตรฐานเปนตัวกําหนดเก่ียวกับคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของ
ผูเรียน เพอ่ื เปนแนวทางในการประกนั คุณภาพการศกึ ษา โดยมกี ารกาํ หนดมาตรฐานไวด ังน้ี

๓.๑ มาตรฐานหลักสูตร เปนมาตรฐานดานผูเรียนหรือผลผลิตของหลักสูตร
สถานศกึ ษา อนั เกิดจากการไดรับการอบรมส่ังสอนตามโครงสรา งของหลกั สตู รทั้งหมดใชเปนแนวทาง
ในการตรวจสอบคุณภาพโดยรวมของการจดั การศึกษาตามหลกั สูตรในทกุ ระดับ และสถานศึกษาตอ ง
ใชสําหรับการประเมินตนเองเพ่ือจัดทํารายงานประจําปตามบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการศึกษา
นอกจากนี้ยงั เปนแนวทางในการกําหนดแนวปฏิบัติในการสงเสริม กํากับ ติดตาม ดแู ล และปรับปรุง
คุณภาพ เพ่ือใหไดตามมาตรฐานทก่ี าํ หนด

๓.๒ มีตัวชี้วัดช้ันปเปนเปาหมายระบุส่ิงที่นักเรยี นพึงรูและปฏิบัติได รวมทั้ง
คุณลักษณะของผูเ รียนในแตละระดับชั้นซึ่งสะทอนถึงมาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจง และมี
ความเปนรูปธรรม นําไปใชใ นการกําหนดเนื้อหา จัดทําหนวยการเรียนรู จัดการเรียนการสอน และเปน
เกณฑสําคัญสําหรับการวัดประเมินผลเพ่ือตรวจสอบคุณภาพผูเรียน ตรวจสอบพัฒนาการผูเรียน
ความรู ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและคานิยมอันพึงประสงค และเปนหลักในการ
เทยี บโอนความรแู ละประสบการณจ ากการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย

๓.๓ มีความเปนสากล ความเปนสากลของหลักสูตรสถานศึกษา คือมุงใหผูเรียนมี
ความรู ความสามารถในเรือ่ งเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาอังกฤษ การจัดการสิ่งแวดลอม ภูมิปญญา
ทองถิน่ มคี ณุ ลักษณะทีจ่ าํ เปน ในการอยใู นสังคมไดแ ก ความซอื่ สตั ย ความรบั ผดิ ชอบ การตรงตอ เวลา
การเสียสละ การเออื้ เฟอ โดยอยบู นพน้ื ฐานของความพอดีระหวา งการเปน ผนู าํ และผตู าม
การทํางานเปนทมี และการทํางานตามลําพังการแขงขัน การรูจักพอ และการรวมมือกันเพ่ือสังคม
วิทยาการสมยั ใหม และภูมิปญ ญาทองถิ่น การรับวัฒนธรรมตางประเทศ และการอนุรักษวฒั นธรรม
ไทยการฝกฝนทักษะเฉพาะทาง และการบรู ณาการในลกั ษณะทีเ่ ปนองคร วม

๔. มีความยืดหยุน หลากหลาย หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและ
คณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) เปนหลักสตู รที่สถานศึกษา
จดั ทํารายละเอียดตาง ๆ ขนึ้ เอง โดยยึดโครงสรางหลักท่ีกําหนดไวในหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น
พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปนขอบขายในการจัดทํา จึงทําใหหลักสูตรของสถานศึกษามีความ
ยืดหยุน หลากหลาย สอดคลอ งกับสภาพปญ หา และความตองการของทอ งถิ่น โดยเฉพาะอยา งย่งิ มี
ความเหมาะสมกบั ตวั ผเู รยี น

๕. การวัดและประเมินผลเนนหลักการพื้นฐานสองประการคือ หนึ่ง การประเมินเพื่อพัฒนา
ผูเรียน และสองเพื่อตัดสินผลการเรียน โดยผูเรียนตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัด
เพื่อใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของ
ผูเรียนเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรูในทุกระดับไมวาจะเปนระดับชั้นเรียน
ระดบั สถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปน
กระบวนการพัฒนาคณุ ภาพผูเ รียน และใชผลการประเมินเปนขอมูลและสารสนเทศท่แี สดงพัฒนาการ

5

ความกาวหนา และความสําเร็จทางการเรียนของผูเรียน ตลอดจนขอมูลท่ีเปนประโยชนตอการ
สง เสรมิ ใหผ เู รยี นเกดิ การพฒั นาและเรียนรอู ยา งเต็มตามศักยภาพ

วิสัยทศั น

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศกั ราช ๒๕60) มุงพัฒนาผเู รียนสูความเปน เลิศทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และกาวสู
ความเปนสากลอยางเต็มศักยภาพของบคุ คล

หลักการ

หลักการของหลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวง
สามสิบอมั พวันวทิ ยา มหี ลกั การท่ีสําคญั ดังน้ี

3.1 เปนหลักสูตรท่ีมุงเนนการพัฒนานักเรียนใหมีความโดดเดนในดานทักษะความรู
กระบวนการคดิ วิเคราะหส ตปิ ญ ญา คุณธรรมและจรยิ ธรรม

3.2 ครอบคลุมตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
3.3 เพ่ิมเติมความเขมขนของรายวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร เทียบเคียงไดกับ
หลักสูตรของ สสวท.
3.4 เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวชิ า ตามความโดดเดนทางวิชาการของแตละมหาวทิ ยาลัย
และบริบทของทอ งถ่นิ
3.5 เนนการจัดสาระการเรียนรูใหหลากหลายและมีความยืดหยุน เพ่ือใหผูเรียนได
พฒั นาการเรียนรเู ต็มความสามารถตามความถนัดและความสนใจของตนเอง
3.6 จดั ใหม ีกิจกรรมพัฒนาผูเรียนทหี่ ลากหลายทัง้ ภายในและภายนอกหองเรยี นทงั้ ในและ
ตา งประเทศ เพ่ือพัฒนานักเรียนใหมีคณุ ลักษณะอันพึงประสงคตามอดุ มการณแ ละเปาหมาย
ของการพัฒนานกั เรยี น
3.7 สงเสริมการประดิษฐคดิ คน ความคดิ ริเริ่มสรางสรรคแ ละการทําโครงงานวิทยาศาสตร
เพือ่ กระตุนใหน ักเรยี นตระหนักรูใ นกระบวนการวิจัยและเปา หมายของการวจิ ัยท่มี ตี อ ทอ งถ่นิ ผานองค
รวมของความรู
3.8 มุงเนนไปสูการตอยอดในการผลิตบัณฑิต ที่มุงเนนการวิจัยทางวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีทมี่ ีคณุ ภาพมาตรฐานระดับนานาชาติ (World Class)

6

จุดหมาย

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบ
อัมพวันวิทยา พุทธศกั ราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพใน
การศกึ ษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเปนจุดหมายเพื่อใหเกิดกับผูเรียน เมื่อจบการศึกษา
ตามหลักสตู ร ดงั น้ี

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

๒. มีความรู ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และมี
ทักษะชวี ติ

๓. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทด่ี ี มสี ขุ นิสยั และรกั การออกกําลงั กาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข
๕. มีจิตสํานึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนา
สิ่งแวดลอม มีจิตสาธารณะที่มุงทําประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกันในสังคม
อยางมีความสุข

7

สมรรถนะสําคัญของผูเรียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค

ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรบั ปรุงพุทธศกั ราช ๒๕60) มุงเนนพัฒนาผูเรียนใหมคี ุณภาพตามมาตรฐาน
ทก่ี ําหนด ซึง่ จะชว ยใหผ ูเรยี นเกดิ สมรรถนะสาํ คญั และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค ดงั น้ี

สมรรถนะสําคัญของผูเรยี น

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมว งสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕60) มงุ ใหผูเรยี นเกดิ สมรรถนะสําคญั ๕ ประการ ดงั น้ี

๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร เปนความสามารถในการรบั และสงสาร มวี ัฒนธรรมในการ
ใชภาษาถายทอดความคิด ความรคู วามเขาใจ ความรูสกึ และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนขอมูล
ขาวสารและประสบการณอ ันจะเปนประโยชนตอ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทง้ั การเจรจาตอรอง
เพ่ือขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรบั หรือไมรับขอมลู ขาวสารดวยหลักเหตุผลและ
ความถูกตอ ง ตลอดจนการเลือกใชวธิ ีการสื่อสาร ท่ีมีประสิทธภิ าพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเอง
และสงั คม

๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การ
คิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพ่ือนําไปสูการสรางองค
ความรหู รอื สารสนเทศเพ่ือการตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมไดอ ยางเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกปญ หา เปน ความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ
ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ
ความสมั พันธและการเปล่ียนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรมู า
ใชในการปองกนั และแกไขปญหา และมีการตัดสินใจทีม่ ีประสิทธิภาพโดยคํานงึ ถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้น
ตอตนเอง สงั คมและสิ่งแวดลอ ม

๔. ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆ ไปใช
ในการดําเนินชวี ิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรยี นรูอยา งตอเนื่อง การทาํ งาน และการอยู
รวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอนั ดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยง
ตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการ
รจู กั หลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมไมพึงประสงคท ส่ี งผลกระทบตอตนเองและผอู น่ื

8

๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดาน
ตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การ
สอื่ สาร การทาํ งาน การแกป ญหาอยา งสรางสรรค ถูกตอ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมว งสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพ่ือใหสามารถอยู
รวมกบั ผูอ น่ื ในสังคมไดอ ยา งมคี วามสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี

๑. รักชาติ ศาสน กษตั รยิ 
๒. ซอ่ื สัตย สุจรติ
๓. มวี ินยั
๔. ใฝเรยี นรู
๕. อยูอยางพอเพียง
๖. มงุ มน่ั ในการทาํ งาน
๗. รกั ความเปนไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ

9

บทท่ี ๒

โครงสรา งหลักสตู รหองเรียนอัจฉรยิ ภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
โรงเรยี นมวงสามสิบอมั พวันวทิ ยา พุทธศักราช ๒๕61

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
(ปรบั ปรุงพทุ ธศักราช ๒๕60)

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรบั ปรุงพุทธศักราช ๒๕60) ไดก ําหนดโครงสรา งของหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อใหผูสอน และผูที่
เกี่ยวขอ งในการจัดการเรียนรูตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษามีแนวปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

๑. ระดบั การศึกษา กําหนดหลักสตู รเปน ๒ ระดับ ตามโครงสรางของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และตามภารกิจหลักของการจัดการเรียนการสอนใน
มธั ยมศกึ ษาตอนตน และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ของสถานศกึ ษา ดังน้ี

๑.๑ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๑ – ๓) เปนชวงสุดทายของ
การศึกษาภาคบังคับ มุงเนนใหผูเรียนไดสํารวจความถนัดและความสนใจของตนเอง สงเสริมการ
พัฒนาบุคลิกภาพสวนตน มีทักษะในการคิดวิจารณญาณ คิดสรางสรรค และคิดแกปญหา มีทักษะใน
การดําเนินชีวิต มที ักษะการใชเทคโนโลยีเพื่อเปนเคร่อื งมอื ในการเรยี นรู มีความรับผิดชอบตอสังคม มี
ความสมดุลทง้ั ดานความรู ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเปนไทย ตลอดจนใชเปน
พนื้ ฐานในการประกอบอาชีพหรือการศกึ ษาตอ

๑.๑ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๔ – ๖) การศกึ ษาระดับน้ีเนน
การเพิ่มพูนความรูและทักษะเฉพาะดาน สนองตอบความสามารถ ความถนัดและความสนใจของ
ผูเรียนแตละคนท้ังดานวิชาการและวิชาชีพมีทักษะในการใชวิทยาการ และเทคโนโลยี ทักษะ
กระบวนการคิดข้ันสูง สามารถนําความรูไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนในการศึกษาตอและการ
ประกอบอาชพี มุงพฒั นาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเปนผูน ํา และผูใหบริการชมุ ชน
ในดานตางๆ

๒. สาระการเรยี นรู สาระการเรียนรูในหลักสตู รหองเรียนอัจฉรยิ ภาพทางวิทยาศาสตรและ
คณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ปรบั ปรุงพุทธศักราช ๒๕60) ไดกําหนดไวในหลักสูตร
ประกอบดวยองคความรู ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู และคุณลักษณะ หรือคานิยม คุณธรรม
จรยิ ธรรมของผูเรียน ๘ กลมุ คือ

๒.๑ ภาษาไทย
๒.๒ คณติ ศาสตร
๒.๓ วทิ ยาศาสตร

10

๒.๔ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๒.๕ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
๒.๖ ศลิ ปะ
๒.๗ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๒.๘ ภาษาอังกฤษ
๓. กิจกรรมพัฒนาผเู รียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน มุงใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามศักยภาพ
พัฒนาอยางรอบดานเพ่ือความเปนมนุษยท่ีสมบูรณ ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม
เสริมสรางใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝงและสรางจิตสํานึกของการทํา
ประโยชนเพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได และอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข แบงเปน ๓
ลักษณะ ดังน้ี
๓.๑ กิจกรรมแนะแนว เปนกจิ กรรมที่สง เสรมิ และพัฒนาผเู รยี นใหรจู ักตนเอง
รูรักษสิ่งแวดลอม สามารถคดิ ตัดสินใจ คิดแกปญหา กําหนดเปาหมาย วางแผนชวี ิตทั้งดานการเรียน
และอาชีพ สามารถปรับตนไดอยางเหมาะสม นอกจากน้ียงั ชวยใหครรู ูจักและเขาใจผูเรียน ทั้งยังเปน
กิจกรรมทชี่ วยเหลือและใหค าํ ปรกึ ษาแกผูป กครองในการมีสวนรว มพัฒนาผเู รียน
๓.๒ กิจกรรมนกั เรียน เปนกิจกรรมที่มุงพัฒนาความมีระเบียบวนิ ัย ความเปนผูนาํ ผู
ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทํางานรวมกัน การรจู ักแกปญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตผุ ล
การชวยเหลือแบงปนกัน เอ้ืออาทร และสมานฉันท โดยจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด
และความสนใจของผูเรียน ใหไดปฏิบัติดวยตนเองในทุกขั้นตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะหวางแผน
ปฏิบัตติ ามแผน ประเมินและปรบั ปรงุ การทํางาน เนนการทํางานรว มกันเปนกลุม ตามความเหมาะสม
และสอดคลองกับวุฒิภาวะของผูเรียน บริบทของสถานศึกษาและทองถ่ิน กิจกรรมนักเรียนใน
หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา
พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑(ปรับปรุง
พทุ ธศักราช ๒๕60) ประกอบดว ย

๓.๒.๑ กจิ กรรมลูกเสือ - เนตรนารี
๓.๒.๒ กจิ กรรมชมุ นมุ
๓.๓ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมใหผูเรียน
บําเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอสังคม ชุมชน และทองถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อ
แสดงถึงความรบั ผิดชอบ ความดีงาม ความเสยี สละตอสังคม มีจิตสาธารณะ
๔. เวลาเรียน หลกั สตู รหอ งเรยี นอจั ฉรยิ ภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรยี นมว ง
สามสิบอัมพวันวทิ ยา พุทธศกั ราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑(ปรบั ปรุงพุทธศักราช ๒๕60) ไดกําหนดกรอบโครงสรางเวลาเรียนขั้นตํ่าสําหรับกลุมสาระการ
เรียนรู ๘ กลุม และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ซ่ึงผูสอนสามารถเพ่ิมเติมไดตามความพรอมและจุดเนนของ
สถานศกึ ษา โดยสามารถปรับใหเ หมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาและสภาพของผเู รียน ดังนี้

11

๑. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ – ๓) ใหจัดเวลาเรียนเปน รายภาค มีเวลา
เรียนวันละไมตํ่ากวา ๗ ช่ัวโมง คิดนํ้าหนักของรายวิชาที่เรียนเปนหนวยกิต ใชเกณฑ ๔๐ ชั่วโมงตอภาค
เรยี นมีคา นํ้าหนกั วิชา เทากบั ๑ หนว ยกติ (นก.)

๒. ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๔-๖) ใหจัดเวลาเรยี นเปนรายภาค มเี วลา
เรียนวันละไมตํ่ากวา ๗ ชั่วโมง คิดน้ําหนักของรายวิชาท่ีเรียนเปนหนวยกิต ใชเกณฑ ๔๐ ชั่วโมงตอภาค
เรียนมคี า น้ําหนักวชิ า เทากบั ๑ หนว ยกิต (นก.)

12

โครงสรา งและอตั ราเวลาการจัดการเรียนรู

หลกั สตู รหองเรียนอจั ฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและ พุทธศักราช ๒๕61
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑(ปรับปรุงพุทธศกั ราช ๒๕60)

ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน

กลุมสาระการเรียนรู ม.1 ม.2 ม.3 รวม
ภาค1 ภาค2 ภาค1 ภาค2 ภาค1 ภาค2
1. ภาษาไทย 9.0
- รายวิชาพื้นฐาน 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5
9.0
2. คณติ ศาสตร 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 6.0
- รายวชิ าพื้นฐาน 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 6.0
- รายวชิ าเพมิ่ เตมิ กลมุ 1 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0
- รายวิชาเพิ่มเตมิ กลมุ 2 9.0
1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 6.0
3. วทิ ยาศาสตร 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0
- รายวชิ าพืน้ ฐาน 1.0
- รายวิชาเพ่มิ เตมิ กลมุ 1 1.0 - - - - - 1.0
- รายวชิ าเพิ่มเติมกลุม2 - 1.0 - - - -
: การสบื เสาะแบบวิทยาศาสตร 1.0
: สนกุ กบั โครงงาน - - 1.0 - - - 1.0
: พลังงานทดแทนกับการใช - - - 1.0 - - 1.0
ประโยชน - - - - 1.0 - 1.0
: เคมนี ารู - - - - - 1.0
: นาโนเทคโนโลยีเบอ้ื งตน
: สิ่งมชี วี ิตกับการดํารงชีวิต

13

กลุม สาระการเรยี นรู ม.1 ม.2 ม.3 รวม
ภาค1 ภาค2 ภาค1 ภาค2 ภาค1 ภาค2
4. สังคมศกึ ษา ศาสนา และ 9.0
วฒั นธรรม 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 3.0
- รายวชิ าพื้นฐาน 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5
6.0
: สังคมศกึ ษา 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 3.0
: ประวัติศาสตรไทย 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 6.0
5. สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 9.0
- รายวิชาพื้นฐาน 87.0
1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5
: สขุ ศึกษาและพลศึกษา 14.5 14.5 14.5 14.5 14.5 14.5

6. ศิลปะ
- รายวิชาพน้ื ฐาน

7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- รายวชิ าพืน้ ฐาน

8. ภาษาตางประเทศ
- รายวิชาพ้นื ฐาน
: ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน
รวมรายวชิ าพ้ืนฐาน
และเพม่ิ เติม

เกณฑการจบระดับมัธยมศึกษาตอนตน ( แนบทา ยคําส่งั สพฐ.ท่ี ๑๑๐/๒๕๕๕ลงวนั ท่ี ๒๕
มกราคม ๒๕๕๕ )

๑. ผเู รียนเรยี นรายวชิ า พื้นฐานและ เพิ่มเติม โดยเปน รายวชิ าพื้นฐาน ๖๖ หนวยกติ และ
รายวิชาเพมิ่ เติมตามทสี่ ถานศึกษากําหนด

๒. ผูเรียนตองไดหนว ยกิต ตลอดหลกั สตู รไมน อ ยกวา ๗๗ หนว ยกติ เปน วิชาพืน้ ฐาน ๖๖
หนวยกติ และวชิ าเพม่ิ เติมไมนอยกวา ๑๑ หนวย

๓. ผูเรยี นมีผลการประเมิน การอาน คิด วิเคราะหและเขียน ในระดบั ผานเกณฑการประเมนิ
ตามท่ีสถานศึกษากาํ หนด

๔. ผูเรียนมผี ลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ในระดบั ผานเกณฑการประเมินตามท่ี
สถานศึกษากําหนด

๕. ผูเรยี นเขา รว มกจิ กรรมพฒั นาผเู รียนและมผี ลการประเมินผานเกณฑการประเมนิ ตามท่ี
สถานศึกษากําหนด

14

6. ผูเรยี นท่ีเรียนแผนการเรยี นอัจฉรยิ ภาพทางวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร (AP) ตองผาน
การทดสอบดว ยแบบทดสอบเทียบเคยี งกับแบบทดสอบของ สสวท. และผานเกณฑ รอ ยละ 50 ขน้ึ
ไป

15

โครงสรา งหลักสูตร
อัจฉรยิ ภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร

(Advanced Program)
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน
โรงเรียนมวงสามสิบอมั พวนั วทิ ยา
ปการศึกษา 2561 – 2563

16

โครงสรา งหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ปก ารศึกษา 2561 – 2563
โรงเรยี นมวงสามสิบอัมพวันวทิ ยา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29
หลกั สูตร พัฒนาอจั ฉริยภาพวิทยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร (AP)

ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 1

ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2

รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า นก. รหัสวิชา ชอ่ื วิชา นก.

วชิ าพ้นื ฐาน (21 ช.ม.) 10.5 วชิ าพนื้ ฐาน (22 ช.ม.) 11.0

ท21101 ภาษาไทย1 1.5 ท21102 ภาษาไทย2 1.5

ค21101 คณติ ศาสตรพนื้ ฐาน1 1.5 ค21102 คณิตศาสตรพ ้นื ฐาน2 1.5

ว21101 วทิ ยาศาสตรพ ้นื ฐาน1 1.5 ว21102 วทิ ยาศาสตรพ ื้นฐาน2 1.5

ส21101 สังคมศึกษา1 1.5 ส21102 สงั คมศึกษา2 1.5

ส21103 ประวตั ิศาสตร1 0.5 ส21104 ประวัตศิ าสตร2 0.5

พ21101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา1 1.0 พ21102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา2 1.0

ศ21101 ศิลปะ1 0.5 ศ21102 ศิลปะ2 0.5

ง21101 การงานอาชพี และเทคโนโลย1ี 1.0 ง21102 การงานอาชีพและเทคโนโลย2ี 1.0

อ21101 องั กฤษพน้ื ฐาน1 1.5 อ21102 องั กฤษพนื้ ฐาน2 1.5

วิชาเพมิ่ เติม 1 (8 ชม.) 4.0 วิชาเพ่ิมเติม 1 (8 ชม.) 4.0

ค21201 คณิตศาสตรเ พ่ิมเติม1 1.0 ค21202 คณติ ศาสตรเ พมิ่ เติม1 1.0

ค20201 คณติ ศาสตรเขมขน1 1.0 ค2202 คณิตศาสตรเ ขม ขน 2 1.0

ว21201 ของเลน เชงิ วิทยาศาสตร 1.0 ว21202 วิทยาศาสตรก บั ความงาม 1.0

ว20201 การสบื เสาะอยางวทิ ยาศาสตร 1.0 ว20202 สนกุ กับโครงงาน 1.0

กจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น (3 ช.ม.) กจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี น (3 ช.ม.)

หนา ทพี่ ลเมือง หนา ทพี่ ลเมอื ง

แนะแนว แนะแนว

กจิ กรรมชมุ นุม กจิ กรรมชุมนุม

ลกู เสือ-เนตรนาร,ี กจิ กรรมเพ่ือสงั คมฯ ลูกเสือ-เนตรนาร,ี กิจกรรมเพ่ือสังคมฯ

รวม 15.0 รวม 16.5

17

โครงสรา งหลกั สูตรสถานศึกษา ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน ปการศกึ ษา 2561 – 2563
โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา สาํ นักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 29
หลักสตู รอจั ฉริยภาพวทิ ยาศาสตรและคณิตศาสตร (AP)

ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 2

ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2

รหสั วิชา ชือ่ วชิ า นก. รหสั วชิ า ช่อื วิชา นก.

วิชาพ้นื ฐาน (22 ช.ม.) 11.0 วิชาพ้นื ฐาน (22 ช.ม.) 11.0

ท22101 ภาษาไทย3 1.5 ท22102 ภาษาไทย4 1.5

ค22101 คณติ ศาสตรพ้นื ฐาน3 1.5 ค22102 คณติ ศาสตรพน้ื ฐาน4 1.5

ว22101 วิทยาศาสตร3 1.5 ว22102 วิทยาศาสตร4 1.5

ส22101 สงั คมศึกษาฯ3 1.5 ส22102 สังคมศึกษาฯ4 1.5

ส22103 ประวตั ศิ าสตร3 0.5 ส22104 ประวัติศาสตร4 0.5

พ22101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา3 1.0 พ22102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา4 1.0

ศ22101 ศิลปะ3 1.0 ศ22102 ศลิ ปะ4 1.0

ง22101 การงานอาชีพและเทคโนโลย3ี 1.0 ง22102 การงานอาชพี และเทคโนโลย3ี 1.0

อ22101 องั กฤษพ้ืนฐาน3 1.5 อ22102 อังกฤษพน้ื ฐาน4 1.5

วิชาเพ่มิ เติม 1 (8 ชม.) 4.0 วิชาเพม่ิ เติม 1 (8 ชม.) 4.0

ค22201 คณติ ศาสตรเพ่ิมเติม3 1.0 ค22212 คณิตศาสตรเพิม่ เติม4 1.0

ค20203 คณติ ศาสตรเขมขน3 1.0 ค20204 คณติ ศาสตรเ ขมขน4 1.0

ว22201 เริม่ ตน กับโครงงานวทิ ย 1.0 ว22202 วทิ ยาศาสตรกับการแกปญหา 1.0

ว20203 พลังงานทดแทน 1.0 ว20204 เคมนี า รู 1.0

กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น (3 ช.ม.) กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น (3 ช.ม.)

หนา ท่พี ลเมือง หนาท่พี ลเมือง

แนะแนว แนะแนว

กจิ กรรมชุมนมุ กจิ กรรมชุมนุม

ลูกเสือ-เนตรนาร,ี กิจกรรมเพ่ือสังคมฯ ลูกเสอื -เนตรนาร,ี กจิ กรรมเพื่อสังคมฯ

รวม 15.0 รวม 15.0

18

โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา ระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน ปก ารศกึ ษา 2561 – 2563
โรงเรยี นมวงสามสบิ อัมพวนั วทิ ยา สาํ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 29
หลักสูตรอัจฉริยภาพวิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร (AP)

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 3

ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2

รหัสวิชา ช่อื วิชา นก. รหสั วิชา ช่อื วิชา นก.

วิชาพื้นฐาน (22 ช.ม.) 11.0 วชิ าพ้ืนฐาน (22 ช.ม.) 11.0

ท23101 ภาษาไทย5 1.5 ท23102 ภาษาไทย6 1.5

ค23101 คณติ ศาสตรพ น้ื ฐาน5 1.5 ค23102 คณติ ศาสตรพืน้ ฐาน6 1.5

ว23101 วิทยาศาสตร5 1.5 ว23102 วทิ ยาศาสตร6 1.5

ส23101 สงั คมศึกษา5 1.5 ส23102 สงั คมศึกษา6 1.5

ส23103 ประวัตศิ าสตร5 0.5 ส23104 ประวัติศาสตร6 0.5

พ23101 สุขศึกษาและพลศึกษา5 0.5 พ23102 สขุ ศึกษาและพลศึกษา6 0.5

ศ23101 ศิลปะ5 1.0 ศ23102 ศิลปะ6 1.0

ง23101 การงานอาชพี และเทคโนโลย5ี 1.0 ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลย6ี 1.0

อ23101 องั กฤษพ้ืนฐาน5 1.5 อ23102 อังกฤษพน้ื ฐาน6 1.5

วชิ าเพม่ิ เติม 1 (8 ชม.) 4.0 วิชาเพิ่มเติม 1 (8 ชม.) 4.0

ค23201 คณิตศาสตรเพิม่ เติม5 1.0 ค23202 คณิตศาสตรเ พ่มิ เติม6 1.0

ค23231 คณติ ศาสตรเ ขมขน5 1.0 ค23232 คณิตศาสตรเ ขมขน6 1.0

ว23201 โครงงานวิทยเ พ่ือคุณภาพฯ 1.0 ว23202 สนกุ กับอิเลก็ ทรอนิกส 1.0

320205 นาโนเทคโนโลยเี บอื้ งตน 1.0 ว20206 สง่ิ มชี วี ติ กบั กระบวนการฯ 1.0

กิจกรรมพฒั นาผูเรียน(4 ช.ม.) กิจกรรมพัฒนาผเู รียน(4 ช.ม.)

หนา ทีพ่ ลเมือง หนาท่ีพลเมอื ง

แนะแนว แนะแนว

กจิ กรรมชุมนุม กจิ กรรมชุมนุม

ลูกเสอื -เนตรนาร,ี กจิ กรรมเพ่ือสังคมฯ ลกู เสอื -เนตรนาร,ี กิจกรรมเพ่ือสงั คมฯ

รวม 15.0 รวม 15.0

กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย

โครงสรางรายวิชากลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนมว งสามสบิ อมั พวนั วทิ ยา

วิชาพืน้ ฐาน เรียนวิชาพื้นฐานในกลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทย จาํ นวน 9.0 หนว ยกติ ไดแ ก
รายวิชาตอ ไปน้ี

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 1 ภาษาไทย1 3 ช่วั โมง/สัปดาห ๑.5 หนวยกติ
ท2๑๑๐๑ ภาษาไทย2 3 ชวั่ โมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกิต
ท2๑๑๐๒

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 2 ภาษาไทย3 3 ชั่วโมง/สปั ดาห ๑.5 หนวยกิต
ท2๒๑๐๑ ภาษาไทย4 3 ชั่วโมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกิต
ท2๒๑๐๒

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 3 ภาษาไทย5 3 ช่ัวโมง/สัปดาห ๑.5 หนวยกิต
ท2๓๑๐๑ ภาษาไทย6 3 ชั่วโมง/สปั ดาห ๑.5 หนว ยกิต
ท2๓๑๐๒

วิชาเพิม่ เติม วิชาเพิม่ เตมิ ในกลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทย จํานวน 0.5 หนวยกติ ไดแ ก

รายวิชาตอไปนี้

วิชาเพ่ิมเติม

I2๐๒14 การส่อื สารและการนําเสนอ ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห ๑.๐ หนวยกิต

ท๒๐๒๐๑ เสริมทักษะภาษา ๑ 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห 0.5 หนวยกิต

20

ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย1 คาํ อธบิ ายรายวชิ าภาษาไทยพนื้ ฐาน ๑.๕ หนว ยกิต
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๑ ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห/ภาค ภาคเรียนท่ี ๑

คาํ อธิบายรายวิชา

ศึกษาหนังสอื นทิ าน เร่ืองเลา บทความ เอกสารทางวิชาการ งานเขียน เรอื่ งท่ี
ฟงและดู เสียงในภาษาไทย ชนิดและหนาท่ีของคํา สํานวนท่ีเปนคาํ พังเพยและสุภาษิต วรรณคดี
และวรรณกรรมท่ีเกยี่ วกับบันทึกการเดินทาง ศาสนา ประเพณี พิธีกรรม

ฝกอานออกเสียงรอยแกว รอยกรอง อานจับใจความสําคัญ อานและปฏิบัติตามเอกสาร
คมู ือ คัดลายมอื ตวั บรรจงคร่ึงบรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนรยี งความเชงิ พรรณนา เขียนยอ ความ
เขียนจดหมายสว นตัว จดหมายกจิ ธรุ ะ เขียนรายงาน พดู สรุปใจความสําคัญ พูดแสดงความคิดเห็น
ทองจาํ บทอาขยานและบทรอยกรองทม่ี คี ุณคา

โดยนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ืออธิบาย ตีความ วิเคราะห ประเมินคา
วรรณคดี วรรณกรรม และส่ือตางๆ ฝกอาน เขียน ฟง ดู พูดไดอยางถูกตองเหมาะสม อยางมี
มารยาทและมนี ิสัยรักการอา น

เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถอธิบาย ตีความ วิเคราะห ประเมินคา
วรรณคดี วรรณกรรม และส่ือตางๆ สามารถอาน เขียน ฟง ดู พูดไดอยางถูกตองเหมาะสม
อยา งมีมารยาทและมีนสิ ัยรักการอาน เชดิ ชวู ฒั นธรรมไทยและภมู ิใจในความเปนไทย

รหัสตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๑/๓-๔, ท ๑.๑ ม.๑/๕, ท ๑.๑ ม.๑/๖, ท ๓.๑ ม.๑/๒, ท ๔.๑ ม.๑/๑,
ท ๔.๑ ม.๑/๓, ท ๔.๑ ม.๑/๖, ท ๕.๑ ม.๑/๑-๔, ท ๑.๑ ม.๑/๒, ท ๑.๑ ม.๑/๗,
ท ๑.๑ ม.๑/๘, ท ๒.๑ ม.๑/๑, ท ๒.๑ ม.๑/๒, ท ๒.๑ ม.๑/๔, ท ๒.๑ ม.๑/๕,
ท ๒.๑ ม.๑/๗, ท ๒.๑ ม.๑/๘, ท ๓.๑ ม.๑/๑,๓, ท ๕.๑ ม.๑/๕, ท ๑.๑ ม.๑/๙,
ท ๒.๑ ม.๑/๙, ท ๓.๑ ม.๑/๖

จํานวน 27 ตวั ช้ีวดั

21

ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย2 คาํ อธิบายรายวิชาภาษาไทยพ้ืนฐาน ๑.๕ หนว ยกิต
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี๑ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห/ภาค ภาคเรยี นที่ ๒

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาหนังสือ เรื่องสั้น บทสนทนา งานเขียนเชิงสรางสรรค บทความ เอกสารทาง
วิชาการ งานเขียน สื่อตางๆ การสรางคํา วิเคราะหความแตกตางของภาษาพูดและภาษาเขียน
วรรณคดีและวรรณกรรมท่ีเก่ียวกับ บันเทิงคดี สุภาษิตคําสอน เหตุการณประวัติศาสตร
วรรณกรรมทองถิน่

ฝกการอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง อานจับใจความสําคัญ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่ง
บรรทัด เขียนบรรยายประสบการณ เขียนเรียงความเชิงพรรณนา เขียนแสดงความคิดเห็นจากสื่อ
ตางๆ เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนรายงาน แตงบทรอยกรองประเภทกาพยยานี ๑๑ ทองจําบท
อาขยานและบทรอ ยกรองที่มีคุณคา

โดยนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออธิบาย ตีความ วิเคราะห ประเมินคา
วรรณคดี วรรณกรรม และสื่อตางๆ ฝกอาน เขียน ฟง ดู พูดไดอยางถูกตองเหมาะสม อยางมี
มารยาทและมีนิสยั รักการอาน

รหสั ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๑/๓-๔, ท ๑.๑ ม.๑/๕, ท ๑.๑ ม.๑/๖, ท ๓.๑ ม.๑/๔, ท ๔.๑ ม.๑/๒,
ท ๔.๑ ม.๑/๔, ท ๕.๑ ม.๑/๑-๔, ท ๑.๑ ม.๑/๒, ท ๑.๑ ม.๑/๘, ท ๒.๑ ม.๑/๑,
ท ๒.๑ ม.๑/๓, ท ๒.๑ ม.๑/๔, ท ๒.๑ ม.๑/๖, ท ๒.๑ ม.๑/๗, ท ๒.๑ ม.๑/๘,
ท ๓.๑ ม.๑/๕, ท ๔.๑ ม.๑/๕, ท ๕.๑ ม.๑/๕, ท ๑.๑ ม.๑/๙, ท ๒.๑ ม.๑/๙,
ท ๓.๑ ม.๑/๖

จาํ นวน 24 ตัวช้ีวดั

22

ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย3 คาํ อธิบายรายวชิ าภาษาไทยพ้นื ฐาน ๑.๕ หนวยกิต
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒ ๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห/ภาค ภาคเรียนท่ี ๑

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศกึ ษาหลักการอานออกเสียงรอยแกวรอ ยกรอง ประเมินคาจากเรื่องท่ีอาน บอกมารยาทใน
การอาน หลักการเขียนบรรยายและพรรณนา หลกั การเขียนเรยี งความ ยอความ การเขยี นรายงาน
จดหมายกิจธุระ มารยาทในการเขียน มารยาทในการพูด วิธีสรางคําในภาษาไทย ลักษณะของคํา
ภาษาตางประเทศในภาษาไทย อธิบายฉันทลักษณ กลอนสุภาพ คุณคาของวรรณกรรมและ
วรรณคดีท่อี าน

ฝก ปฏิบัตกิ ารอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง อานจบั ใจความ เขียนผังความคิดจากเรื่องท่ี
อาน อานอยางมีมารยาท คัดลายมือตัวบรรจงครงึ่ บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตวั อักษรไทย การ
เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรียงความ เขียนยอความ รายงาน จดหมายกิจธุระ เขียน
วเิ คราะหวจิ ารณ แสดงความคิดเห็น เขยี นอยา งมีมารยาท พดู สรปุ ใจความสําคญั การพูดวิเคราะห
ขอเท็จจริงขอคดิ เห็น ความนาเชื่อถือของขาวสาร การพูดรายงาน การฟงและพูดอยา งมีมารยาท
การรวบรวมศึกษาภาษาตางประเทศในภาษาไทย วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรม การ
ทอ งจาํ บทอาขยานตามกาํ หนด

โดยนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออธิบายคุณคาการใชภาษาไทย การวิจารณ
โตแยง มีมารยาทในการอาน การเขยี น การฟง การดแู ละการพูด เห็นคณุ คาในวรรณคดีและ
วรรณกรรม ตดั สินใจยอมรบั และนําไปประยุกตใ ชใ นชวี ิตประจาํ วัน

รหสั ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ท ๑.๑ ม.๒/๒, ท ๑.๑ ม.๒/๓, ท ๑.๑ ม.๒/๗, ท ๑.๑ ม.๒/๘,
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ท ๒.๑ ม.๒/๒, ท ๒.๑ ม.๒/๓, ท ๒.๑ ม.๒/๔, ท ๒.๑ ม.๒/๕,
ท ๒.๑ ม.๒/๖, ท ๒.๑ ม.๒/๗, ท ๒.๑ ม.๒/๘, ท ๓.๑ ม.๒/๑, ท ๓.๑ ม.๒/๒,
ท ๓.๑ ม.๒/๕, ท ๓.๑ ม.๒/๖, ท ๔.๑ ม.๒/๑, ท ๔.๑ ม.๒/๓, ท ๔.๑ ม.๒/๕,
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ท ๕.๑ ม.๒/๒, ท ๕.๑ ม.๒/๓, ท ๕.๑ ม.๒/๔, ท ๕.๑ ม.๒/๕

จาํ นวน 25 ตัวชวี้ ัด

23

ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย4 คําอธิบายรายวิชาภาษาไทยพน้ื ฐาน ๑.๕ หนว ยกิต
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๒ ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห/ ภาค ภาคเรยี นท่ี 2

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศกึ ษาหลักการอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง มารยาทในการอาน การเขียนบรรยายและ
พรรณนา เรยี งความ ยอความ มารยาทในการเขียน หลักการพูดในโอกาสตางๆ มารยาทในการพูด
หลกั การใชคาํ ราชาศัพท อภิปรายแสดงความคิดเห็นจากเร่ืองที่อาน วิเคราะหและจําแนกขอเท็จจริง
จากเรื่องท่ีอาน ระบุขอสังเกตจากการอาน วิจารณเรื่องท่ีฟงและดู อธิบายวิธีการเขียนรายงาน
โครงสรางประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยคซอน คุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน
ความรแู ละขอคิดจากเรื่องทอี่ า นและนําไปใช

ฝกอานออกเสียงรอยแกว รอยกรอง มีมารยาทในการอาน คัดลายมือดวยตัวบรรจงคร่ึง
บรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนาเรียงความ ยอ ความ รายงาน เขียนวิเคราะหวิจารณแ สดงความ
คิดเห็นอยางมีมารยาท พูดในโอกาสตางๆ ฟงดูและพูดอยางมีมารยาท ใชคําราชาศัพท วิเคราะห
วจิ ารณว รรณคดแี ละวรรณกรรม ทอ งศึกษาบทอาขยาน

โดยนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อเห็นคุณคา มารยาทการอาน การเขียน วจิ ารณ
โตแยง มารยาทการฟงการดูและพูด ตัดสินใจยอมรับและเห็นคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม
นําไปประยกุ ตใชใ นชีวิตประจําวนั

รหัสตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ท ๑.๑ ม.๒/๔, ท ๑.๑ ม.๒/๕, ท ๑.๑ ม.๒/๖, ท ๑.๑ ม.๒/๗,
ท ๑.๑ ม.๒/๘, ท ๒.๑ ม.๒/๒, ท ๒.๑ ม.๒/๓, ท ๒.๑ ม.๒/๔, ท ๒.๑ ม.๒/๕,
ท ๒.๑ ม.๒/๘, ท ๓.๑ ม.๒/๔, ท ๓.๑ ม.๒/๖, ท ๔.๑ ม.๒/๒, ท ๔.๑ ม.๒/๔,
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ท ๕.๑ ม.๒/๒, ท ๕.๑ ม.๒/๓, ท ๕.๑ ม.๒/๔, ท ๑.๑ ม.๒/๑,
ท ๑.๑ ม.๒/๘, ท ๒.๑ ม.๒/๑, ท ๒.๑ ม.๒/๒, ท ๒.๑ ม.๒/๓, ท ๒.๑ ม.๒/๔,
ท ๒.๑ ม.๒/๕, ท ๒.๑ ม.๒/๖, ท ๒.๑ ม.๒/๗, ท ๒.๑ ม.๒/๘, ท ๓.๑ ม.๒/๔,
ท ๓.๑ ม.๒/๖, ท ๔.๑ ม.๒/๔, ท ๕.๑ ม.๒/๕, ท ๑.๑ ม.๒/๗, ท ๑.๑ ม.๒/๘,
ท ๒.๑ ม.๒/๗, ท ๒.๑ ม.๒/๘, ท ๓.๑ ม.๒/๓, ท ๓.๑ ม.๒/๖, ท ๔.๑ ม.๒/๔,
ท ๕.๑ ม.๒/๓, ท ๕.๑ ม.๒/๔, ท ๕.๑ ม.๒/๕

จาํ นวน 43 ตัวช้ีวัด

24

ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย5 คาํ อธิบายรายวชิ าภาษาไทยพ้นื ฐาน ๑.๕ หนวยกติ
ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓ ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห/ ภาค ภาคเรียนที่ ๑

คาํ อธบิ ายรายวิชา

ฝกอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง ระบุความแตกตางของคําท่ีมีความหมายโดยตรงและ
โดยนัย ใจความสําคัญ และรายละเอียดของขอมูล วิเคราะหวิจารณ ประเมินคาเร่ืองที่อาน
เปรียบเทียบ ประเมนิ ความถกู ตอง วจิ ารณความสมเหตสุ มผล วิเคราะหเพอ่ื แสดงความคดิ เห็น โตแยง
ตีความ และประเมินคุณคาจากเร่ืองราว ประสบการณจากการอาน เพื่อนําไปใชในการแกปญหาใน
ชีวิต และมีมารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือ เขียนขอความ โดยใชถอยคําถูกตองตามระดับภาษา
เขียนชีวประวัติ หรืออัตชีวประวัติ เลาเหตุการณ ขอคิดเห็น และทศั นคติ เขียนยอความ จดหมายกิจ
ธุระ อธิบาย ชแี้ จง แสดงความคดิ เห็น และโตแยง วิเคราะหวิจารณ แสดงความรูความคิดเหน็ โตแยง
กรอกแบบสมัครงาน เขียนบรรยายเกี่ยวกับความรู และทักษะที่เหมาะสมกับตนเองและงาน เขียน
รายงานการศึกษาคนควา และโครงงานจากเรื่องราวตาง ๆ เหตุการณ ประสบการณ และมีมารยาท
ในการเขียน ฝกแสดงความคิดเห็น และประเมินเร่ือง วิเคราะหและวิจารณ พูดรายงาน ประเด็นที่
ศึกษา พูดในโอกาสตาง ๆ ไดตรงวัตถุประสงค พูดโนมนาว ลําดับเน้ือหาอยางมเี หตุมีผล จากเร่ืองที่
ฟง และดู และมมี ารยาทในการฟงและการดู และการพูด ศึกษาจําแนกการใชคําภาษาตางประเทศใน
ภาษาไทย แตงบทรอยกรองประเภทโคลงส่ีสุภาพ ทองจําและบอกคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรม
บทรอยกรองท่มี ีคณุ คา ตามความสนใจ และนําไปใชอางอิง

โดยนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ืออาน เขียน ฟง ดู พูด ใชภาษาถูกตองตาม
หลักเกณฑ เห็นคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรมทองถ่ิน มีมารยาทในการใชภาษา นํา
ความรู ประสบการณไปใชพ ัฒนาตนเองในชีวติ ประจําวนั ไดอ ยางมีคุณภาพ

รหัสตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ท ๑.๑ ม.๓/๒, ท ๑.๑ ม.๓/๓, ท ๑.๑ ม.๓/๕, ท ๑.๑ ม.๓/๖,

ท ๑.๑ ม.๓/๗, ท ๑.๑ ม.๓/๘, ท ๑.๑ ม.๓/๙, ท ๑.๑ ม.๓/๑๐, ท ๒.๒ ม.๓/๑,

ท ๒.๒ ม.๓/๒, ท ๒.๒ ม.๓/๓, ท ๒.๒ ม.๓/๔, ท ๒.๒ ม.๓/๕, ท ๒.๒ ม.๓/๗,
ท ๒.๒ ม.๓/๙, ท ๒.๒ ม.๓/๑๐, ท ๓.๓ ม.๓/๑, ท ๓.๓ ม.๓/๒, ท ๓.๓ ม.๓/๓,
ท ๓.๓ ม.๓/๔, ท ๓.๓ ม.๓/๖, ท ๔.๔ ม.๓/๑, ท ๔.๔ ม.๓/๖, ท ๕.๕ ม.๓/๒,
ท ๕.๕ ม.๓/๔
จาํ นวน 26 ตัวชี้วดั

25

ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย6 คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ๑.๕ หนวยกิต
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓ ๓ ชวั่ โมง/สัปดาห/ภาค ภาคเรียนที่ ๒

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ฝกอานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง ระบุความแตกตางของคําท่ีมีความหมายโดยตรง
และโดยนัย สรุปใจความสําคัญ เขยี นกรอบแนวคิด ผงั ความคดิ บันทึกยอ ความ และรายงานจากเร่อื ง
ท่ีอาน ตีความ ประเมนิ คาแนวคิดจากเรือ่ งที่อาน และมีมารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือตัวบรรจง
ครึ่งบรรทัด เขียนคําอวยพรในโอกาสตางๆ เขียนยอความ พระราชดํารัส พระบรมราโชวาท
จดหมายราชการ เขียนอธิบายช้ีแจง แสดงความคิดเห็น และโตแยงในเรื่องตาง ๆ กรอกแบบสมัคร
งาน บรรยายความรูและทักษะของตนเอง มีมารยาทในการเขียน ฝกพูดแสดงความคดิ เห็น พูด
วิเคราะหวิจารณเร่ืองท่ีฟงและดู พูดรายงาน พูดโตวาที พูดอภิปราย ยอวาที โนมนาวใจ และมี
มารยาทในการฟง การดู การพูด ศกึ ษาประโยคท่ีซบั ซอ นระดับภาษา วิเคราะหคํา ทับศัพท คาํ ศัพท
บัญญัติ ศัพทวิชาการและวิชาชีพ แตงโคลงสี่สุภาพ อานวรรณคดีวรรณกรรม วรรณกรรมทองถ่ิน
วิเคราะหคุณคาจากเร่ืองทอ่ี า น ทองบทอาขยาน และบทรอยกรองทมี่ ีคณุ คา

โดยนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ืออาน เขียน ฟง ดู พูด ใชภาษาไทยได
ถูกตองตามหลักเกณฑ เห็นคุณคา ของวรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรมทองถ่ิน และใชภาษาอยางมี
มารยาท นําความรูไปใชพ ฒั นาตนเอง ในชีวิตประจําวันไดอ ยางมคี ุณภาพ

รหสั ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ท ๑.๑ ม.๓/๒, ท ๑.๑ ม.๓/๓, ท ๑.๑ ม.๓/๔, ท ๑.๑ ม.๓/๙,
ท ๑.๑ ม.๓/๑๐, ท ๒.๒ ม.๓/๑, ท ๒.๒ ม.๓/๒, ท ๒.๒ ม.๓/๔, ท ๒.๒ ม.๓/๖,
ท ๒.๒ ม.๓/๘, ท ๒.๒ ม.๓/๑๐ ท ๓.๓ ม.๓/๑, ท ๓.๓ ม.๓/๒, ท ๓.๓ ม.๓/๓,
ท ๓.๓ ม.๓/๔, ท ๓.๓ ม.๓/๕, ท ๓.๓ ม.๓/๖, ท ๔.๔ ม.๓/๒, ท ๔.๔ ม.๓/๓,
ท ๔.๔ ม.๓/๔, ท ๔.๔ ม.๓/๕, ท ๔.๔ ม.๓/๖, ท ๕.๕ ม.๓/๒, ท ๕.๕ ม.๓/๔

จาํ นวน 25 ตวั ชีว้ ดั

26

กลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร

โครงสรางรายวิชากลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน โรงเรยี นมวงสามสบิ อมั พวนั วทิ ยา

วชิ าพน้ื ฐาน เรยี นวิชาพ้ืนฐานในกลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร จาํ นวน 9.0 หนว ยกติ ไดแก รายวชิ าตอไปน้ี

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 คณิตศาสตรพ น้ื ฐาน1 3 ชั่วโมง/สปั ดาห ๑.5 หนว ยกติ
ค21101 คณิตศาสตรพน้ื ฐาน2 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห ๑.5 หนวยกิต
ค21102

ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 คณติ ศาสตรพ้นื ฐาน3 3 ช่วั โมง/สัปดาห ๑.5 หนวยกติ
ค2๒๑๐๑ คณติ ศาสตรพ ื้นฐาน4 3 ชว่ั โมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกิต
ค2๒๑๐๒

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 คณติ ศาสตรพน้ื ฐาน5 3 ช่วั โมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกติ
ค23๑๐๑ คณติ ศาสตรพ น้ื ฐาน6 3 ช่วั โมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกติ
ค2๓๑๐๒

วิชาเพม่ิ เตมิ ในกลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตรจ ํานวน 12.๐ หนวยกิต ไดแ ก รายวิชาดงั ตอ ไปนี้

ค21201 คณิตศาสตรเพ่มิ เตมิ 1 จํานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว ยกติ
ค21202 คณิตศาสตรเ พ่มิ เติม2 จํานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว ยกิต
ค22201 คณิตศาสตรเ พ่มิ เตมิ 3 จํานวน 40 ชัว่ โมง 1.0 หนวยกติ
ค22202 คณิตศาสตรเ พิม่ เตมิ 4 จาํ นวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว ยกติ
ค23201 คณิตศาสตรเ พมิ่ เตมิ 5 จํานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว ยกติ
ค23202 คณิตศาสตรเพมิ่ เตมิ 6 จํานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนวยกติ
ค20201 คณติ ศาสตรเ ขมขน 1 จาํ นวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนวยกติ
ค20202 คณติ ศาสตรเขม ขน 2 จาํ นวน 40 ช่วั โมง 1.0 หนวยกิต
ค20203 คณติ ศาสตรเ ขมขน 3 จาํ นวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว ยกิต
ค20204 คณติ ศาสตรเขมขน4 จํานวน 40 ช่วั โมง 1.0 หนวยกติ
ค20205 คณติ ศาสตรเขมขน5 จาํ นวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว ยกติ
ค20206 คณติ ศาสตรเ ขมขน 6 จาํ นวน 40 ชวั่ โมง 1.0 หนวยกิต

27

คาํ อธิบายรายวชิ าคณติ ศาสตรพืน้ ฐาน

รหัสวชิ า ค 21101 คณิตศาสตรพ้นื ฐาน1 กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หนวยกติ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรูเก่ียวกับเรื่องการเปรียบเทียบจํานวนเต็ม เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปน
จํานวนเต็ม การเขียนแสดงจํานวนใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร การบวก การลบ การคูณ
การหารจํานวนเตม็ การแกโ จทยปญหาเกยี่ วกับการบวก การลบ การคูณ การหารจํานวนเต็ม
การตรวจสอบคําตอบความสมเหตสุ มผลท่ีเกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหารของจาํ นวน
เต็ม ความสัมพันธของการบวกกับการลบ การคูณกับการหารจํานวนเต็ม ความหมายและ
การหาผลลัพธท ี่เกดิ จากการคณู และการหารเลขยกกําลังที่มีเลขช้ีกาํ ลังเปนจาํ นวนเต็ม การหา ห.ร.
ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับ สมบัติของจํานวนเต็มและการนําไปใชในการแกโจทยปญหา
พื้นฐานทางเรขาคณิตเกยี่ วกับการสรางมมุ การแบงสวนของเสนตรง การสรางรูปทางเรขาคณิต
สองมติ ิ และ สมบตั ทิ างเรขาคณติ ความรเู บ้ืองตน เกยี่ วกับความนา จะเปน ของเหตุการณ

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรในการคิดคาํ นวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การสื่อสาร
การส่อื ความหมาย และการนําเสนอ

เพื่อใหเกิดความรูความเขา ใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงมัน่ ใน
การทาํ งานอยา งมรี ะบบ ประหยัด ซื่อสตั ย มีวจิ ารณญาณ รูจกั นาํ ความรูไปประยกุ ตใชในการ
ดาํ รงชวี ติ ไดอยา งพอเพียง รวมทัง้ มเี จตคติที่ดีตอ คณิตศาสตร

รหัสตัวชี้วดั
ค 1.1 ม.1/1, ค 1.1 ม.1/2
ค 1.2 ม.1/1, ค 1.2 ม.1/3, ค 1.2 ม.1/4
ค 1.4 ม.1/1
ค 3.1 ม.1/1, ค 3.1 ม.1/2, ค 3.1 ม.1/3
ค 5.2 ม.1/1
ค 6.1 ม.1/1, ค 6.1 ม.1/2, ค 6.1 ม.1/3, ค 6.1 ม.1/4, ค 6.1 ม.1/5, ค 6.1 ม.1/6

รวม 16 ตัวช้ีวัด

28

คาํ อธบิ ายรายวชิ าคณิตศาสตรพนื้ ฐาน

รหัสวิชา ค 21102 คณติ ศาสตรพ้นื ฐาน2 กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 60 ชั่วโมง จาํ นวน 1.5 หนวยกิต

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาความรูเกีย่ วกบั เร่อื งการเปรียบเทียบเศษสวนและทศนิยม การบวก การลบ การ
คูณ การหารเศษสวนและทศนิยม การแกโ จทยป ญหาเก่ียวกบั เศษสวนและทศนยิ ม การตรวจ
คําตอบ ความสมเหตุสมผลที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหารเศษสวนและทศนิยม
ความสมั พันธของการบวกกบั การลบ การคูณกับการหารของเศษสวนและทศนิยม การประมาณ
คา และการนําไปใช รูปเรขาคณติ สามมิติ การมองภาพเรขาคณติ ดานหนา ดานขาง ดา นบน
การสรางรูปเรขาคณิตสามมิติจากรูปลูกบาศก สมการตัวแปรเดียวดกี รีหนง่ึ การแกสมการเชงิ เสนตัว
แปรเดียวและการแกโจทยป ญ หา กราฟเสนตรงในระบบพกิ ดั ฉาก

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาท่ีสงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรในการคิดคาํ นวณ การใหเ หตุผล การวเิ คราะห การแกปญหา การส่ือสาร การสื่อ
ความหมาย และการนาํ เสนอ

เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงม่ันในการ
ทํางานอยางมีระบบ ประหยัด ซื่อสัตย มีวิจารณญาณ รูจักนําความรูไปประยุกตใชในการ
ดาํ รงชวี ติ ไดอ ยางพอเพยี ง รวมท้ังมเี จตคติทีด่ ตี อ คณติ ศาสตร

รหัสตัวช้ีวดั
ค 1.1 ม.1/1
ค 1.2 ม.1/2, ค 1.2 ม.1/3
ค 1.3 ม.1/1
ค 3.1 ม.1/4, ค 3.1 ม.1/5, ค 3.1 ม.1/6
ค 4.1 ม.1/1
ค 4.2 ม.1/1, ค 4.2 ม.1/2, ค 4.2 ม.1/3, ค 4.2 ม.1/4, ค 4.2 ม.1/5
ค 6.1 ม.1/1, ค 6.1 ม.1/2, ค 6.1 ม.1/3
ค 6.1 ม.1/4, ค 6.1 ม.1/5, ค 6.1 ม.1/6

รวม 19 ตัวช้ีวดั

29

คาํ อธบิ ายรายวชิ าคณติ ศาสตรพ ้นื ฐาน

รหัสวิชา ค 22101 คณิตศาสตรพ้นื ฐาน3 กลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จํานวน 1.5 หนว ยกติ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรูเก่ียวกับเรื่องอัตราสวน สัดสวน รอยละ การแกโจทยปญหาเก่ียวกับ
อัตราสวน สัดสวน รอยละ การเปรียบเทียบหนวยความยาว พ้ืนที่ การคาดคะเนเวลา
ระยะทาง พ้ืนที่ ปริมาตร นํา้ หนัก การแกปญหาและการนําไปใช ความเทากันทุกประการของ
รูปสามเหล่ียม การแปลงทางเรขาคณิต การสรางรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการเลื่อนขนาน การ
สะทอน และการหมุนบนระนาบในระบบพิกดั ฉาก การอานและการนาํ เสนอขอมูลโดยใชแผนภมู ิ

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรอื โจทยปญหาที่สงเสรมิ การพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร
การส่อื ความหมาย และการนําเสนอ

เพอ่ื ใหเกิดความรคู วามเขาใจ ความคดิ รวบยอด ใฝรูใฝเรียน มรี ะเบยี บวนิ ัยมงุ ม่ันใน
การทํางานอยา งมีระบบ ประหยดั ซ่ือสตั ย มีวจิ ารณญาณ รูจักนาํ ความรไู ปประยกุ ตใชใ นการ
ดํารงชวี ติ ไดอยางพอเพยี ง รวมทงั้ มเี จตคติที่ดตี อ คณติ ศาสตร

รหสั ตัวช้ีวดั
ค 1.1 ม.2/4
ค 2.1 ม.2/1, ค 2.1 ม.2/2, ค 2.1 ม.2/3
ค 2.2 ม.2/1
ค 3.2 ม.2/1, ค 3.2 ม.2/3, ค 3.2 ม.2/4
ค 4.2 ม.2/2
ค 5.1 ม.2/1, ค 5.2 ม.2/1
ค 6.1 ม.2/1, ค 6.1 ม.2/2, ค 6.1 ม.2/3
ค 6.1 ม.2/4, ค 6.1 ม.2/5, ค 6.1 ม.2/6

รวม 17 ตวั ชี้วัด

30

คําอธบิ ายรายวิชาคณติ ศาสตรพ ื้นฐาน

รหัสวิชา ค 22102 คณติ ศาสตรพ ้ืนฐาน4 กลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร
ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ชว่ั โมง จํานวน 1.5 หนวยกติ

คาํ อธบิ ายรายวิชา

ศกึ ษาความรเู กี่ยวกับเรอ่ื งเศษสวนและทศนิยม จํานวนตรรกยะและจาํ นวนอตรรกยะ การ
หารากท่สี องและรากท่ีสามของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบใชในการหารากท่ีสองและรากที่
สามของจาํ นวนจรงิ โจทยป ญ หาเกี่ยวกับการหาคา รากทส่ี องและรากที่สามของจาํ นวนเต็ม ความ
สมเหตุสมผล ความสัมพันธของการยกกําลังกับการหารากของจํานวนจริง ความสัมพันธของ
จํานวนจริง ตรรกยะและอตรรกยะ สมบัติของเสนขนาน การใหเหตุผล และ การแกปญหา
ทฤษฎีบทพที าโกรัส และการนาํ ไปใชแ กโจทยปญหา สมการเชงิ เสนตัวแปรเดียวและการแกป ญหา
ความนา จะเปนโอกาสของเหตุการณ

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรอื โจทยปญหาที่สงเสรมิ การพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรในการคดิ คํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนาํ เสนอ

เพือ่ ใหเกิดความรูค วามเขาใจ ความคดิ รวบยอด ใฝรูใ ฝเรียน มีระเบยี บวนิ ยั มุงมั่นใน
การทํางานอยางมีระบบ ประหยดั ซื่อสัตย มีวจิ ารณญาณ รจู กั นําความรูไ ปประยกุ ตใชใ นการ
ดาํ รงชวี ิตไดอ ยา งพอเพียง รวมท้งั มเี จตคติทีด่ ตี อคณติ ศาสตร

รหสั ตวั ชี้วัด
ค 1.1 ม.2/1, ค 1.1 ม.2/2, ค 1.1 ม.2/3
ค 1.2 ม.2/1, ค 1.2 ม.2/2
ค 1.3 ม.2/1
ค 1.4 ม.2/1
ค 3.2 ม.2/1, ค 3.2 ม.2/2
ค 4.2 ม.2/1
ค 5.2 ม.2/1
ค 6.1 ม.2/1, ค 6.1 ม.2/2, ค 6.1 ม.2/3
ค 6.1 ม.2/4, ค 6.1 ม.2/5 ค 6.1 ม.2/6

รวม 17 ตวั ช้ีวัด

31

คาํ อธบิ ายรายวิชาคณติ ศาสตรพื้นฐาน

รหัสวิชา ค 23101 คณิตศาสตรพื้นฐาน5 กลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จาํ นวน 1.5 หนวยกติ

คาํ อธิบายรายวิชา

ศึกษาความรูเกี่ยวกับเรื่องการหาพ้ืนท่ีผิวและปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด
ทรงกรวย และทรงกลม การใชความรูเก่ียวกับพ้ืนที่ และปริมาตรแกปญ หาในสถานการณต าง ๆ
กราฟ และ ระบบสมการเชิงเสน ความคลาย

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรอื โจทยปญหาท่ีสงเสรมิ การพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรในการคิดคาํ นวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การสื่อสาร
การส่อื ความหมาย และการนาํ เสนอ

เพอ่ื ใหเ กดิ ความรคู วามเขา ใจ ความคดิ รวบยอด ใฝร ูใ ฝเ รียน มีระเบยี บวินยั มุง มั่นในการ
ทํางานอยางมีระบบ ประหยัด ซื่อสัตย มีวิจารณญาณ รูจักนําความรูไปประยุกตใชในการ
ดาํ รงชีวิตไดอ ยา งพอเพยี ง รวมทัง้ มเี จตคติทดี่ ตี อคณิตศาสตร

รหสั ตวั ชี้วดั
ค 2.1 ม.3/1, ค 2.1 ม.3/2, ค 2.1 ม.3/3, ค 2.1 ม.3/4
ค 2.2 ม.3/1
ค 3.1 ม.3/1
ค 3.2 ม.3/1
ค 4.2 ม.3/2, ค 4.2 ม.3/3, ค 4.2 ม.3/4, ค 4.2 ม.3/5
ค 6.1 ม.3/1, ค 6.1 ม.3/2, ค 6.1 ม.3/3
ค 6.1 ม.3/4, ค 6.1 ม.3/5, ค 6.1 ม.3/6

รวม 17 ตวั ช้วี ัด

32

คาํ อธิบายรายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน

รหสั วชิ า ค 23102 คณิตศาสตรพื้นฐาน6 กลุมสาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร

ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หนว ยกิต

คาํ อธบิ ายรายวิชา

ศกึ ษาความรูเกี่ยวกับเร่ืองอสมการเชิงเสนตวั แปรเดยี วและการแกปญหา สถิติ วิธีการศกึ ษา
และการเก็บรวบรวมขอมูลที่เหมาะสม การหาคาเฉลี่ยเลขคณติ มัธยฐาน และ ฐานนิยมของขอมูล
ที่ไมไ ดแจกแจงความถ่ี การนาํ เสนอขอ มูล ความนา จะเปน ของเหตุการณจ ากการทดลองสุมที่ผล
แตล ะตวั มีโอกาสเกิดขน้ึ เทา ๆ กนั และ นําไปใชในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรอื โจทยปญหาท่ีสงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรในการคดิ คํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร
การสอ่ื ความหมาย และการนําเสนอ

เพ่ือใหเกิดความรคู วามเขาใจ ความคดิ รวบยอด ใฝรใู ฝเรยี น มรี ะเบยี บวินัยมุงม่ันใน
การทํางานอยางมรี ะบบ ประหยดั ซื่อสตั ย มีวิจารณญาณ รจู ักนําความรูไ ปประยุกตใชในการ
ดํารงชีวติ ไดอ ยา งพอเพยี ง รวมท้ังมีเจตคตทิ ่ีดีตอคณติ ศาสตร

รหสั ตัวช้ีวดั
ค 4.2 ม.3/1
ค 5.1 ม.3/1, ค 5.1 ม.3/2, ค 5.1 ม.3/3, ค 5.1 ม.3/4
ค 5.2 ม.3/1
ค 5.3 ม.3/1, ค 5.3 ม.3/2
ค 6.1 ม.3/1, ค 6.1 ม.3/2, ค 6.1 ม.3/3
ค 6.1 ม.3/4, ค 6.1 ม.3/5, ค 6.1 ม.3/6

รวม 14 ตัวช้ีวัด

33

คาํ อธบิ ายรายวชิ าคณิตศาสตรเพม่ิ เตมิ

รหัสวชิ า ค 21201 คณติ ศาสตรเ พิม่ เติม1 กลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ชว่ั โมง จาํ นวน 1.0 หนวยกิต

คําอธบิ ายรายวิชา

ศึกษาความรูเก่ยี วกับเร่อื งการประยุกตรูปเรขาคณิต จาํ นวนนับ รอยละในชวี ติ ประจําวัน
ปญ หาชวนคิด จํานวนและตัวเลข ระบบตวั เลขโรมัน ระบบตวั เลขฐานตางๆ การประยุกตของ
จาํ นวนเต็มและเลขยกกาํ ลงั โจทยปญหา การสรางมุมขนาดตาง ๆ การสรางรูปสามเหลย่ี มและ
รูปสเี่ หลยี่ มดานขนาน

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรอื โจทยปญหาท่ีสงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรใ นการคิดคาํ นวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร
การส่อื ความหมาย และการนาํ เสนอ

เพื่อใหเกิดความรคู วามเขา ใจ ความคดิ รวบยอด ใฝรใู ฝเรยี น มรี ะเบยี บวินยั มุงมน่ั ใน
การทาํ งานอยา งมรี ะบบ ประหยดั ซื่อสตั ย มีวิจารณญาณ รจู กั นําความรูไ ปประยุกตใชในการ
ดํารงชวี ติ ไดอยางพอเพยี ง รวมทั้งมเี จตคติท่ดี ีตอคณติ ศาสตร

ผลการเรยี นรู
1. ใชค วามรแู ละทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรแกป ญหาตาง ๆ ได
2. ตระหนักถึงความสมเหตสุ มผลของคําตอบได
3. อา นและเขียนตัวเลขโรมนั ได
4. บอกคาของเลขโดดในตวั เลขฐานตา ง ๆ ทก่ี ําหนดใหได
5. เขยี นตวั เลขฐานที่กาํ หนดใหเ ปน ตวั เลขฐานตา ง ๆ ได
6. ใชค วามรเู ก่ยี วกบั จาํ นวนเต็มและเลขยกกําลงั ในการแกป ญหาได
7. ตระหนักถึงความสมเหตสุ มผลของคําตอบได
8. ใชการสรางพนื้ ฐานสรางมุมขนาดตา ง ๆ ได
9. ใชการสรา งพ้ืนฐานสรา งรูปทีซ่ บั ซอ นข้นึ ได
10.ใชความรูและทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตรแกปญหาตาง ๆ ได

รวมท้ังหมด 10 ผลการเรียนรู

34

คําอธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตรเ พิม่ เติม

รหัสวิชา ค 21202 คณิตศาสตรเ พิม่ เตมิ 2 กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ช่ัวโมง จํานวน 1.0 หนวยกิต

คาํ อธิบายรายวิชา

ศกึ ษาความรูเกย่ี วกบั เรอ่ื งการใหเหตผุ ลทางเรขาคณติ พหุนาม เอกนาม การบวก การ
ลบ การคูณ การหาร เอกนาม การคูณ และ การหารพหุนามอยางงาย การเตรยี มความพรอม
ในการใหเ หตผุ ล การใหเหตุผลในชวี ติ ประจําวนั การใหเหตุผลทางคณติ ศาสตรอ ยางงาย

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรอื โจทยปญหาท่ีสงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรใ นการคิดคาํ นวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การสื่อสาร
การสอ่ื ความหมาย และการนาํ เสนอ

เพือ่ ใหเกิดความรูค วามเขา ใจ ความคิดรวบยอด ใฝรใู ฝเ รยี น มรี ะเบียบวินัยมงุ มัน่ ใน
การทาํ งานอยา งมีระบบ ประหยดั ซ่ือสัตย มีวิจารณญาณ รจู ักนําความรไู ปประยุกตใชใ นการ
ดาํ รงชีวติ ไดอยา งพอเพยี ง รวมท้ังมีเจตคติทด่ี ีตอ คณิตศาสตร

ผลการเรยี นรู
1. สังเกตขอ ความคาดการณและใหเหตผุ ลทางคณติ ศาสตรอ ยางงา ยได
2. หาผลบวกและผลลบของเอกนามและพหุนามได
3. หาผลคณู และผลหารของพหุนามอยางงายได
4. ใชวธิ กี ารท่ีหลากหลายแกปญ หาได
5. ใชค วามรู ทกั ษะ กระบวนการทางคณติ ศาสตร และ เทคโนโลยใี นการแกปญ หา
สถานการณต า งไดอยางเหมาะสม
6. สามารถแสดงเหตุผลโดยอางอิงความรูขอมูลหรอื ขอเทจ็ จริงหรอื การสรางแผนภาพ

รวมท้ังหมด 6 ผลการเรยี นรู

35

คําอธิบายรายวิชาคณิตศาสตรเพมิ่ เตมิ

รหัสวิชา ค 22201 คณิตศาสตรเ พ่ิมเติม3 กลุมสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร

ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ชวั่ โมง จาํ นวน 1.0 หนวยกิต

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาความรูเก่ียวกับเร่ืองสมบัติของเลขยกกําลัง บทนิยามและสมบัติอ่ืน ๆ ของเลขยก
กาํ ลัง การคณู และการหารเลขยกกําลังที่มเี ลขช้ีกําลังเปนจํานวนเต็มและการนําไปใชแ กปญหาหรอื
สถานการณต าง ๆ การใชเลขยกกําลังในการเขยี นแสดงจํานวนที่มีคานอย ๆ หรอื มาก ๆ ในรูปสัญ
กรณว ิทยาศาสตร การคํานวณเกี่ยวกับจํานวนท่ีอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร การประยุกตของ
อัตราสวนและรอยละ การแกปญหาหรือสถานการณโดยใชอัตราสวนและสัดสวน การแกปญหา
หรือสถานการณในชีวิตประจําวันโดยใชรอยละ การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต การ
สรางสรรคงานศิลปะโดยใชก ารแปลงทางเรขาคณิต การออกแบบโดยใชการแปลงทางเรขาคณิต
พหุนามและเศษสวนของพหุนามอยางงา ย การบวก การลบ การคูณ การหาร พหุนามดีกรไี มเ กิน
หนง่ึ และ เศษสว น

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรอื โจทยปญหาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร
การสือ่ ความหมาย และการนําเสนอ

เพื่อใหเกิดความรูความเขา ใจ ความคิดรวบยอด ใฝรใู ฝเ รียน มรี ะเบียบวินยั มงุ ม่ันใน
การทาํ งานอยา งมีระบบ ประหยัด ซื่อสัตย มีวจิ ารณญาณ รจู ักนําความรไู ปประยกุ ตใชในการ
ดํารงชวี ติ ไดอยา งพอเพียง รวมท้งั มเี จตคติท่ีดีตอคณติ ศาสตร

ผลการเรยี นรู
1. คูณและหารจํานวนท่ีเขียนอยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มโดยใชบท
นิยามและสมบตั ิของเลขยกกาํ ลงั และนาํ ไปใชใ นการแกปญหาได
2. คํานวณและใชเลขยกกาํ ลังในการเขยี นแสดงจํานวนทีม่ คี านอ ย ๆ หรือ มาก ๆ ในรปู
สัญกรณวิทยาศาสตรได
3. ตระหนักถงึ ความสมเหตุสมผลของคาํ ตอบได
4. ใชความรูเก่ยี วกับอตั ราสว น สดั สว นและรอ ยละแกป ญ หาหรอื สถานการณตา ง ๆ ได
5. ใชความรเู ก่ียวกับเล่ือนขนาน การสะทอน และ การหมุนในการสรา งสรรคง านศิลปะ
หรือออกแบบ
6. บวก ลบ คูณ หาร พหุนามได
7. บวก ลบ คูณ หาร เศษสวนของพหุนามดกี รีไมเกินหน่ึงได

รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู

36

คาํ อธบิ ายรายวชิ าคณติ ศาสตรเพ่มิ เติม

รหัสวชิ า ค 22202 คณติ ศาสตรเ พม่ิ เติม4 กลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ชัว่ โมง จาํ นวน 1.0 หนวยกิต

คําอธิบายรายวิชา

ศกึ ษาความรูเกี่ยวกับเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรสี องโดยใชสมบัติการแจกแจง
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีอยูในรูป ax2  bx  c เมื่อ a,b,c เปนคาคงตัวและ

a  0 การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รีสองทอ่ี ยใู นรปู คาสัมบูรณ การแยกตัวประกอบของพหุ
นามดีกรีสองท่ีอยูในรูปผลตางของกําลังสอง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว การแกสมการกําลัง
สองตัวแปรเดียวโดยใชการแยกตัวประกอบ การแกโจทยปญหาเก่ียวกับสมการกําลังสองตัวแปร
เดียวโดยใชการแยกตัวประกอบ การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใช สูตร

x b b2  4ac การแปรผัน การแปรผันโดยตรง การแปรผันแบบผกผัน การแปร
2a

ผันเกยี่ วเนอ่ื ง การนําไปใช กจิ กรรมเสริมทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรผานสาระการเรียนรู

จาํ นวนและการดําเนินการเรขาคณติ และพีชคณติ

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาที่สงเสรมิ การพัฒนาทักษะกระบวนการ

ทางคณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร

การส่อื ความหมาย และการนาํ เสนอ

เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ ความคดิ รวบยอด ใฝรใู ฝเ รียน มรี ะเบยี บวินัยมงุ ม่นั ใน

การทํางานอยา งมรี ะบบ ประหยดั ซื่อสัตย มีวิจารณญาณ รูจกั นาํ ความรูไ ปประยกุ ตใชใ นการ

ดาํ รงชีวิตไดอ ยางพอเพยี ง รวมท้ังมีเจตคติท่ดี ตี อ คณิตศาสตร

ผลการเรียนรู
1. แยกตัวประกอบของพหุนามดกี รสี องได
2. แกส มการกาํ ลังสองตัวแปรเดยี วโดยใชการแยกตวั ประกอบได
3. แกโจทยป ญ หาเก่ยี วกับสมการกาํ ลังสองตวั แปรเดยี วโดยใชการแยกตวั ประกอบได
4. ตระหนักถึงความสมเหตสุ มผลของคาํ ตอบได
5. เขยี นสมการแสดงการแปรผันระหวางปรมิ าณตา ง ๆ ท่แี ปรผันตอกันได
6. แกปญหาหรือสถานการณท ีก่ าํ หนดโดยใชความรเู กย่ี วกบั การแปรผนั ได
7. สบื เสาะ สังเกต ใหข อ ความคาดการณแ ละใหเหตุผลทางคณติ ศาสตรอยางงายได

รวมทงั้ หมด 7 ผลการเรียนรู

37

คาํ อธิบายรายวชิ าคณติ ศาสตรเพม่ิ เตมิ

รหัสวชิ า ค 23201 คณิตศาสตรเ พมิ่ เตมิ 5 กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร

ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จาํ นวน 1.0 หนว ยกิต

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศกึ ษาความรูเกยี่ วกบั เรอื่ งกรณฑท ส่ี อง การบวก การลบ การคณู และการหารจํานวน
จริงที่อยูในรูป a เม่ือ a  0 โดยใชสมบัติ (1) ab  a b เมื่อ a  0 และ

b0 (2) a  a เม่ือ a  0 และ b  0 ปริมาตรและพื้นที่ผิว การหาพ้ืนที่ผิว
b b

ของพีระมิด กรวย และ ทรงกลม การแกปญ หา หรือ สถานการณ โดยใชความรูเกี่ยวกับปริมาตร

และพ้นื ท่ผี ิว การแยกตวั ประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รสี องโดยวธิ กี าร

ทําเปนกําลงั สองสมบูรณ การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสองทมี่ ีสัมประสิทธ์ิเปนจํานวนเต็ม

โดยอาศัยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ หรือใชทฤษฎีเศษเหลือ สมการกําลงั สอง การแกสมการ

กําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชสูตร x b b2  4ac การแกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการ
2a

กําลังสองตัวแปรเดียว พาราโบลา สมการพาราโบลา กราฟของพาราโบลาท่ีอยูในรูป

y  ax2  bx  c เมอื่ a  0

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาท่ีสงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการ

ทางคณิตศาสตรใ นการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร
การสอ่ื ความหมาย และการนําเสนอ

เพือ่ ใหเกิดความรคู วามเขา ใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มรี ะเบียบวนิ ยั มงุ มั่นใน

การทาํ งานอยา งมรี ะบบ ประหยดั ซ่ือสตั ย มีวิจารณญาณ รูจักนําความรูไปประยุกตใชในการ
ดาํ รงชีวิตไดอยางพอเพียง รวมท้ังมีเจตคติที่ดตี อคณิตศาสตร

ผลการเรียนรู

1. บวก ลบ คูณ และหารจํานวนจริงท่ีอยูในรูป a เมื่อ a  0 และ b  0

a  a เม่อื a  0 และ b  0
b b

2. หาพ้นื ทีผ่ ิวของพรี ะมดิ กรวย และ ทรงกลมได

3. แกป ญหาหรือสถานการณท ก่ี ําหนดใหโดยใชความรเู กี่ยวกบั ปริมาตรและพื้นทผี่ ิวได

4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาํ ตอบได

5. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรสี องท่ีอยูในรูปคา สมบรู ณ

38

6. เปนกําลังสองสมบูรณห รือทฤษฎีเศษเหลือไดการแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดย

ใชส ตู ร x b b2  4ac ได
2a

7. แกโ จทยป ญหาเก่ยี วกับสมการกําลังสองตวั แปรเดียวได

8. เขียนกราฟของพาราโบลาท่ีกาํ หนดใหได

9. บอกลักษณะของกราฟพาราโบลาที่กาํ หนดใหได

รวมทั้งหมด 10 ผลการเรยี นรู

39

คาํ อธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตรเ พิม่ เตมิ

รหสั วชิ า ค 23202 คณิตศาสตรเพ่มิ เติม6 กลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร

ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ชว่ั โมง จํานวน 1.0 หนวยกติ

คําอธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาความรูเก่ียวกบั เร่อื งการใหเหตุผล สมบัติเกีย่ วกบั วงกลม การใหเหตผุ ลเกยี่ วกบั การ
สรางรูปเรขาคณิต ระบบสมการ การแกระบบสมการสองตัวแปรที่มีดีกรีไมเกินสอง การแก
โจทยปญหาเกี่ยวกับระบบสมการสองตัวแปรที่มีดีกรีไมเกินสอง เศษสวนของพหุนาม การบวก
การลบ การคูณ การหารเศษสวนของพหุนาม การแกสมการเศษสวนของพหุนาม การ
แกปญหาเกีย่ วกับเศษสว นพหนุ าม

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรอื โจทยปญหาที่สงเสรมิ การพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางคณิตศาสตรใ นการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การสื่อสาร
การส่อื ความหมาย และการนาํ เสนอ

เพ่ือใหเกิดความรคู วามเขา ใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใ ฝเรยี น มีระเบียบวินยั มงุ มั่นใน
การทํางานอยา งมีระบบ ประหยัด ซ่ือสตั ย มีวิจารณญาณ รูจักนาํ ความรไู ปประยกุ ตใชในการ
ดํารงชีวติ ไดอ ยา งพอเพยี ง รวมทง้ั มเี จตคตทิ ีด่ ีตอ คณิตศาสตร

ผลการเรียนรู
1. ใชสมบัตเิ กยี่ วกบั วงกลมในการใหเ หตผุ ลได
2. สรา งและใหเ หตผุ ลเก่ียวกบั การสรางรปู เหล่ยี มและรูปวงกลมท่ีกาํ หนดใหได
3. แกร ะบบสมการสองตวั แปรท่มี ดี ีกรีไมเกินสองได
4. แกโจทยป ญ หาเกย่ี วกบั ระบบสมการสองตัวแปรดีกรไี มเ กินสองได
5. ตระหนักถึงความสมเหตสุ มผลของคําตอบที่ได
6. การบวก การลบ การคณู การหารเศษสว นของพหนุ ามได
7. แกสมการเศษสว นของพหุนามได
8. แกปญ หาเกี่ยวกบั เศษสว นของพหุนามได
9. สืบเสาะ สังเกต ใหข อความคาดการณแ ละใหเหตุผลทางคณิตศาสตรอยางงายได

รวมทั้งหมด 9 ผลการเรียนรู

คําอธิบายรายวิชาคณติ ศาสตรเ ขมขน 1

รหัสวชิ า ค 20๒01 คณติ ศาสตรเ ขม ขน 1 กลุมสาระการเรียนรูค ณิตศาสตร
ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา ๒ ชว่ั โมง จํานวน 1.0 หนวยกิต

คําอธบิ ายรายวชิ า

การศกึ ษาเน้อื เรือ่ งและเทคนิคการทาํ โจทย สมบตั ขิ องจํานวนนับ ระบบจาํ นวนต็ม
เลขยกกําลัง พ้นื ฐานทางเรขาคณติ การประยกุ ต 1 จํานวนและตัวเลข การประยุกต
ของจํานวนเตม็ และเลขยกกาํ ลงั การสราง

โดยจดั ประสบการณ ศกึ ษาจากขอสอบจริงทเี่ คยออกสอบ ในการแขงขันระดับตางๆ
เชน ขอสอบ โรงเรียนเตรียมทหาร 4 เหลา โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา โรงเรียนมหิดล-
วิทยานุสรณ โรงเรียนรัฐบาลทัว่ ประเทศ สมาคมคณติ ศาสตร คณติ ศาสตร สสวท.
โครงการ พสวท. โครงการ สอวน. เตรียมวิศวกรรม-เทคโนฯ เตรียมสอบ ม.๑,ม.๒,ม.๓
โรงเรยี นชา งฝมือทหาร เตรียมศกึ ษาตอ สถาบนั ตางๆ

เพอื่ ชวยใหนกั เรียนมี ความพรอ ม และมีความมั่นใจในการทาํ ขอสอบ ซึง่ จะสอนวิธี
คดิ ตรงและวิธคี ิดลัด รวมไปถงึ การจบั เวลาในการทาํ โจทย ทั้งนีเ้ พ่ือสงเสรมิ การสอบศกึ ษา
และทํางานตอ ในหนว ยงานระดบั ตางๆ ซึ่งจะไดนาํ ความรไู ปประยุกตใชในการดาํ รงชวี ติ ได
อยา งมปี ระสิทธภิ าพ

ผลการเรยี นรู
๑. สามารถแกป ญ หาการทาํ โจทย สมบัตขิ องจาํ นวนนับ ระบบจํานวนตม็

เลขยกกาํ ลงั พนื้ ฐานทางเรขาคณติ การประยุกต 1 จาํ นวนและตัวเลข การประยกุ ต
ของจํานวนเตม็ และเลขยกกาํ ลงั การสรา ง เพ่ือการทาํ โจทยไดร วดเรว็ แมนยาํ และถูกตอง

๒. เขา ใจเน้อื หา เทคนิคในการทําโจทย ไดอยา งหลากหลาย ท้งั วธิ ีคิดตรงและ
วธิ ีการคิดลดั

๓. สรางความพรอม และมคี วามม่ันใจในการทําขอสอบ
๔. ไดนาํ ความรไู ปประยกุ ตใชใ นการดาํ รงชวี ิต ไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ

รวมทง้ั หมด ๔ ผลการเรียนรู

คําอธิบายรายวิชาคณิตศาสตรเ ขมขน 2

รหสั วิชา ค 2๐๒02 คณติ ศาสตรเขม ขน 2 กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 1 ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๒ ช่ัวโมง จาํ นวน 1.0 หนวยกิต

คําอธบิ ายรายวชิ า

การศึกษาเน้อื เรื่องและเทคนิคการทําโจทย ทศนยิ มและเศษสวน การประมาณคา
คอู นั ดับและกราฟ สมการเชิงเสน ตัวแปรเดียว ความสมั พันธร ะหวางรูปเรขาคณิตสองมติ ิ
และสามมติ ิ การเตรยี มความพรอ มในการใหเ หตผุ ล พหุนาม บทประยกุ ตของเศษสว น
และทศนยิ ม

โดยจดั ประสบการณ ศึกษาจากขอสอบจริงทเ่ี คยออกสอบ ในการแขงขนั ระดบั ตา งๆ
เชน ขอสอบ โรงเรียนเตรยี มทหาร 4 เหลา โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษา โรงเรียนมหดิ ล-
วทิ ยานุสรณ โรงเรยี นรฐั บาลทั่วประเทศ สมาคมคณติ ศาสตร คณติ ศาสตร สสวท.
โครงการ พสวท. โครงการ สอวน. เตรียมวิศวกรรม-เทคโนฯ เตรียมสอบ ม.๑,ม.๒,ม.๓
โรงเรยี นชา งฝมือทหาร เตรียมศึกษาตอ สถาบนั ตา งๆ

เพอื่ ชว ยใหน กั เรยี นมี ความพรอม และมีความม่นั ใจในการทาํ ขอสอบ ซง่ึ จะสอนวธิ ี
คดิ ตรงและวิธคี ดิ ลัด รวมไปถึงการจับเวลาในการทาํ โจทย ทงั้ น้เี พ่ือสงเสริมการสอบศึกษา
และทํางานตอ ในหนวยงานระดบั ตา งๆ ซึ่งจะไดนาํ ความรไู ปประยุกตใชใ นการดํารงชีวติ ได
อยางมีประสทิ ธิภาพ

ผลการเรยี นรู
๑. สามารถแกป ญหาการทําโจทย ทศนิยมและเศษสวน การประมาณคา

คอู ันดบั และกราฟ สมการเชงิ เสนตวั แปรเดยี ว ความสัมพันธร ะหวางรูปเรขาคณติ สองมติ ิ
และสามมติ ิ การเตรยี มความพรอ มในการใหเหตผุ ล พหนุ าม บทประยกุ ตของเศษสว น
และทศนยิ ม เพ่ือการทําโจทยไดร วดเร็ว แมนยํา และถูกตอง

๒. เขาใจเน้ือหา เทคนิคในการทําโจทย ไดอยางหลากหลาย ทงั้ วธิ คี ิดตรงและ
วิธกี ารคดิ ลัด

๓. สรางความพรอม และมีความมั่นใจในการทาํ ขอสอบ
๔. ไดน าํ ความรไู ปประยุกตใชในการดาํ รงชวี ติ ไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ

รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรยี นรู

คาํ อธิบายรายวิชาคณิตศาสตรเขมขน 3

รหสั วชิ า ค 20๒0๓ คณติ ศาสตรเขม ขน 1 กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา ๒ ชวั่ โมง จาํ นวน 1.0 หนว ยกิต

คาํ อธิบายรายวชิ า

การศกึ ษาเนอ้ื เรอ่ื งและเทคนิคการทาํ โจทย อัตราสวนและรอ ยละ การวัด แผนภูมิ
รปู วงกลม การแปลงทางเรขาคณติ ความเทากันทกุ ประการ สมบัตขิ องเลขยกกาํ ลัง
พหนุ ามและเศษสวนของพหุนาม การประยกุ ตเกีย่ วกบั อัตราสวนและรอยละ การประยกุ ต
ของการแปลงทางเรขาคณิต

โดยจดั ประสบการณ ศกึ ษาจากขอสอบจรงิ ท่เี คยออกสอบ ในการแขงขันระดับตางๆ
เชน ขอสอบ โรงเรยี นเตรียมทหาร 4 เหลา โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษา โรงเรียนมหิดล-
วิทยานุสรณ โรงเรียนรฐั บาลทว่ั ประเทศ สมาคมคณิตศาสตร คณติ ศาสตร สสวท.
โครงการ พสวท. โครงการ สอวน. เตรียมวิศวกรรม-เทคโนฯ เตรยี มสอบ ม.๑,ม.๒,ม.๓
โรงเรยี นชางฝม ือทหาร เตรียมศึกษาตอ สถาบันตางๆ

เพ่อื ชวยใหน ักเรียนมี ความพรอม และมีความมัน่ ใจในการทําขอสอบ ซึง่ จะสอนวธิ ี
คิดตรงและวิธีคิดลัด รวมไปถึงการจับเวลาในการทาํ โจทย ทั้งน้ีเพ่ือสงเสริมการสอบศกึ ษา
และทํางานตอ ในหนวยงานระดับตา งๆ ซึ่งจะไดนําความรไู ปประยุกตใชใ นการดาํ รงชีวิตได
อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ผลการเรียนรู
๑. สามารถแกปญ หาการทําโจทย อัตราสว นและรอยละ การวดั แผนภมู ิ

รปู วงกลม การแปลงทางเรขาคณติ ความเทากันทุกประการ สมบตั ิของเลขยกกําลัง
พหุนามและเศษสวนของพหนุ าม การประยกุ ตเกย่ี วกบั อตั ราสวนและรอยละ การประยุกต
ของการแปลงทางเรขาคณติ เพ่ือการทาํ โจทยไดรวดเร็ว แมนยาํ และถูกตอง

๒. เขา ใจเนือ้ หา เทคนิคในการทาํ โจทย ไดอ ยา งหลากหลาย ท้งั วธิ คี ดิ ตรงและ
วธิ กี ารคิดลดั

๓. สรางความพรอม และมคี วามม่นั ใจในการทําขอสอบ
๔. ไดนําความรไู ปประยกุ ตใชใ นการดาํ รงชีวิต ไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ

รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรียนรู

คาํ อธิบายรายวชิ าคณิตศาสตรเขม ขน 4

รหัสวิชา ค 20๒0๔ คณติ ศาสตรเขม ขน ๔ กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรียน ๒ เวลา ๒ ช่ัวโมง จาํ นวน 1.0 หนว ยกติ

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

การศึกษาเนื้อเร่ืองและเทคนิคการทําโจทย ทฤษฎบี ทพีทาโกรสั ความรเู บ้ืองตน
เกีย่ วกบั จํานวนจริง การประยกุ ตของสมการเชิงเสน ตวั แปรเดยี ว เสน ขนาน การแยก
ตวั ประกอบของพหุนามดกี รสี อง สมการกําลังสองตัวแปรเดียว การแปรผัน

โดยจดั ประสบการณ ศึกษาจากขอสอบจรงิ ทเ่ี คยออกสอบ ในการแขงขนั ระดบั ตางๆ
เชน ขอสอบ โรงเรยี นเตรียมทหาร 4 เหลา โรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษา โรงเรยี นมหิดล-
วทิ ยานสุ รณ โรงเรยี นรัฐบาลทว่ั ประเทศ สมาคมคณติ ศาสตร คณติ ศาสตร สสวท.
โครงการ พสวท. โครงการ สอวน. เตรยี มวิศวกรรม-เทคโนฯ เตรียมสอบ ม.๑,ม.๒,ม.๓
โรงเรยี นชา งฝมอื ทหาร เตรียมศกึ ษาตอสถาบนั ตา งๆ

เพอ่ื ชวยใหน ักเรยี นมี ความพรอ ม และมีความมัน่ ใจในการทําขอสอบ ซึง่ จะสอนวิธี
คิดตรงและวธิ คี ิดลดั รวมไปถงึ การจับเวลาในการทาํ โจทย ทง้ั นเ้ี พ่ือสงเสริมการสอบศึกษา
และทาํ งานตอ ในหนว ยงานระดับตางๆ ซ่ึงจะไดนาํ ความรไู ปประยุกตใชในการดาํ รงชีวติ ได
อยางมีประสิทธภิ าพ

ผลการเรยี นรู
๑. สามารถแกปญ หาการทําโจทย ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ความรเู บื้องตน เก่ยี ว

กับจํานวนจริง การประยกุ ตของสมการเชงิ เสนตัวแปรเดยี ว เสนขนาน การแยกตัว
ประกอบของพหนุ ามดีกรีสอง สมการกาํ ลงั สองตวั แปรเดยี ว การแปรผนั เพ่ือการทาํ
โจทยไ ดรวดเรว็ แมนยํา และถกู ตอง

๒. เขา ใจเน้ือหา เทคนิคในการทําโจทย ไดอยา งหลากหลาย ท้งั วิธีคดิ ตรงและ
วธิ ีการคดิ ลัด

๓. สรางความพรอม และมคี วามม่ันใจในการทาํ ขอสอบ
๔. ไดน าํ ความรไู ปประยุกตใชในการดํารงชีวติ ไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

รวมทั้งหมด ๔ ผลการเรียนรู

คาํ อธิบายรายวิชาคณติ ศาสตรเขม ขน 5

รหัสวิชา ค 2๓๒๓๑ คณิตศาสตรเ ขม ขน ๕ กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร
ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี 1 เวลา ๒ ช่ัวโมง จาํ นวน 1.0 หนวยกิต

คําอธบิ ายรายวิชา

การศกึ ษาเน้อื เรอ่ื งและเทคนคิ การทําโจทย พน้ื ที่ผวิ และปรมิ าตร กราฟ ระบบ
สมการเชงิ เสน ความคลา ย พ้นื ทผ่ี ิวและปริมาตร กรณฑท ี่สอง การแยกตวั ประกอบ
พหนุ าม สมการกําลังสอง พาราโบลา

โดยจดั ประสบการณ ศกึ ษาจากขอสอบจรงิ ที่เคยออกสอบ ในการแขงขนั ระดับตา งๆ
เชน ขอสอบ โรงเรยี นเตรยี มทหาร 4 เหลา โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา โรงเรยี นมหดิ ล-
วิทยานสุ รณ โรงเรยี นรฐั บาลท่ัวประเทศ สมาคมคณติ ศาสตร คณติ ศาสตร สสวท.
โครงการ พสวท. โครงการ สอวน. เตรยี มวิศวกรรม-เทคโนฯ เตรียมสอบ ม.๑,ม.๒,ม.๓
โรงเรียนชา งฝมอื ทหาร เตรยี มศึกษาตอ สถาบันตางๆ

เพ่ือชวยใหน กั เรยี นมี ความพรอม และมีความมน่ั ใจในการทําขอสอบ ซงึ่ จะสอนวธิ ี
คดิ ตรงและวิธีคิดลดั รวมไปถึงการจบั เวลาในการทาํ โจทย ท้ังนี้เพ่ือสง เสริมการสอบศึกษา
และทาํ งานตอ ในหนว ยงานระดบั ตา งๆ ซ่ึงจะไดนําความรไู ปประยุกตใชในการดาํ รงชีวิตได
อยางมีประสทิ ธิภาพ

ผลการเรยี นรู
๑. สามารถแกป ญหาการทําโจทย พื้นทผี่ วิ และปริมาตร กราฟ ระบบสมการ

เชิงเสน ความคลาย พนื้ ท่ผี ิวและปรมิ าตร กรณฑท่ีสอง การแยกตัวประกอบพหนุ าม
สมการกําลังสอง พาราโบลา เพอื่ การทาํ โจทยไดรวดเร็ว แมนยํา และถกู ตอง

๒. เขาใจเนือ้ หา เทคนิคในการทาํ โจทย ไดอ ยางหลากหลาย ท้ังวิธีคดิ ตรงและ
วธิ กี ารคิดลัด

๓. สรางความพรอม และมคี วามม่ันใจในการทาํ ขอสอบ
๔. ไดน ําความรไู ปประยุกตใชใ นการดํารงชวี ิต ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรียนรู

คาํ อธิบายรายวชิ าคณติ ศาสตรเขม ขน 6

รหัสวชิ า ค 2๓๒๓๒ คณติ ศาสตรเขมขน ๖ กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร
ช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี ๓ ภาคเรยี น ๒ เวลา ๒ ช่ัวโมง จํานวน 1.0 หนว ยกิต

คาํ อธิบายรายวชิ า

การศกึ ษาเนื้อเร่ืองและเทคนิคการทาํ โจทย อสมการ ความนา จะเปน สถิติ ทักษะ
กระบวนการทางคณติ ศาสาตร การใหเ หตผุ ลเก่ียวกบั รูปสามเหลยี่ ม และ รปู สี่เหลีย่ ม ระบบ
สมการ วงกลม เศษสว นของพหนุ าม

โดยจดั ประสบการณ ศกึ ษาจากขอสอบจริงที่เคยออกสอบ ในการแขงขันระดบั ตา งๆ
เชน ขอสอบ โรงเรียนเตรียมทหาร 4 เหลา โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา โรงเรยี นมหิดล-
วทิ ยานสุ รณ โรงเรียนรัฐบาลท่วั ประเทศ สมาคมคณติ ศาสตร คณติ ศาสตร สสวท.
โครงการ พสวท. โครงการ สอวน. เตรียมวศิ วกรรม-เทคโนฯ เตรียมสอบ ม.๑,ม.๒,ม.๓
โรงเรยี นชางฝมอื ทหาร เตรียมศึกษาตอ สถาบันตางๆ

เพื่อชวยใหน ักเรยี นมี ความพรอ ม และมีความม่นั ใจในการทาํ ขอสอบ ซง่ึ จะสอนวิธี
คิดตรงและวิธคี ิดลดั รวมไปถงึ การจับเวลาในการทาํ โจทย ทั้งน้ีเพ่ือสง เสริมการสอบศึกษา
และทํางานตอ ในหนว ยงานระดับตา งๆ ซึ่งจะไดนาํ ความรไู ปประยกุ ตใชในการดํารงชีวิตได
อยางมปี ระสิทธภิ าพ

ผลการเรียนรู
๑. สามารถแกปญ หาการทาํ โจทย อสมการ ความนาจะเปน สถิติ ทกั ษะกระบวน

การทางคณิตศาสาตร การใหเหตผุ ลเกย่ี วกบั รูปสามเหลย่ี ม และ รูปสเ่ี หล่ยี ม ระบบสมการ
วงกลม เศษสว นของพหุนาม เพื่อการทําโจทยไดร วดเรว็ แมนยํา และถูกตอง

๒. เขา ใจเนือ้ หา เทคนิคในการทาํ โจทย ไดอ ยางหลากหลาย ทั้งวิธีคิดตรงและ
วธิ กี ารคดิ ลดั

๓. สรา งความพรอม และมคี วามม่ันใจในการทําขอสอบ
๔. ไดน ําความรไู ปประยุกตใชในการดํารงชวี ิต ไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ

รวมทั้งหมด ๔ ผลการเรียนรู

กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร

โครงสรา งรายวิชากลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน โรงเรียนมวงสามสบิ อมั พวันวทิ ยา

วิชาพ้ืนฐาน เรียนวิชาพนื้ ฐานในกลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร จาํ นวน 9.0 หนว ยกติ ไดแก รายวิชา
ตอไปนี้

ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 วทิ ยาศาสตรพ ื้นฐาน1 3 ชัว่ โมง/สัปดาห ๑.5 หนวยกิต
ว21101 วิทยาศาสตรพ ้นื ฐาน2 3 ชั่วโมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกิต
ว21102

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 วทิ ยาศาสตรพ ืน้ ฐาน3 3 ชว่ั โมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกิต
ว2๒๑๐๑ วิทยาศาสตรพ้ืนฐาน4 3 ชั่วโมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกติ
ว2๒๑๐๒

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 วิทยาศาสตรพ้ืนฐาน5 3 ชั่วโมง/สปั ดาห ๑.5 หนว ยกิต
ว23๑๐๑ วทิ ยาศาสตรพืน้ ฐาน6 3 ช่ัวโมง/สัปดาห ๑.5 หนวยกิต
ว2๓๑๐๒

วชิ าเพ่มิ เตมิ ในกลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรจ ํานวน 12.๐ หนว ยกติ ไดแก รายวิชาดงั ตอ ไปน้ี

ว21201 ของเลนเชิงวทิ ยาศาสตร จํานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว ยกิต
ว21202 หนวยกติ
ว22201 วทิ ยาศาสตรกบั ความงาม จํานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนวยกิต
ว22202 หนว ยกิต
ว23201 เร่มิ ตน กับโครงงานวทิ ยาศาสตร จํานวน 40 ชวั่ โมง 1.0 หนว ยกิต
ว23202 หนวยกิต
ว20201 วทิ ยาศาสตรก บั การแกป ญ หา จาํ นวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว ยกิต
ว20202 หนว ยกติ
ว20203 โครงงานและคณุ ภาพชวี ิต จาํ นวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว ยกิต
ว20204 หนวยกติ
ว20205 สนุกกับอเิ ลก็ ทรอนิกส จาํ นวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว ยกติ
ว20206 หนว ยกิต
การสืบเสาะอยา งวิทยาศาสตร จํานวน 40 ชัว่ โมง 1.0

สนุกกับโครงงาน จาํ นวน 40 ชัว่ โมง 1.0

พลงั งานทดแทนกบั การใชป ระโยชน จํานวน 40 ชั่วโมง 1.0

เคมีนารู จาํ นวน 40 ชั่วโมง 1.0

นาโนเทคโนโลยเี บือ้ งตน จํานวน 40 ชั่วโมง 1.0

ส่งิ มีชีวิตกับกระบวนการดาํ รงชวี ติ จํานวน 40 ชั่วโมง 1.0


Click to View FlipBook Version