The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิมพิกา พิมพ์สอน, 2019-12-09 09:39:30

หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ ม.ต้น (2561-2563)

M1-M3-AP

97

ศ ๒๓๑๐๒ ศิลปะ 6 รายวิชาศิลปะ 0.5 หนวยกิต
ภาคเรียนท่ี ๒
ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี ๓ ๑ ชั่วโมง/สัปดาห/ ภาค

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาความรูเก่ียวกับแหลงกําเนิดเสียง คณุ สมบัติของเสียง บทบาทหนาท่ี ความหมาย
ความสําคัญของบทเพลงใกลตัวที่ไดยิน ประวัติดนตรีในยุคสมัยตางๆ การแตงบทกลอนรองเพลง
เคาะจังหวะ เคลื่อนไหวรา งกายใหสอดคลองกับบทเพลง อานเขียนและใชสญั ลักษณแทนเสียงและ
เคาะจังหวะ อิทธิพลของดนตรีตอบุคคล ตอสังคม ตอการแสดงออกในการขับรองและศิลปะแขนง
อื่นๆ การประพนั ธเพลงในอตั ราจังหวะ ๒/๔ และ ๔/๔ องคป ระกอบของบทละคร องคป ระกอบของ
นาฏศิลป ภาษาทา รูปแบบการแสดง ความสําคัญ บทบาทของนาฏศิลปและการละครใน
ชีวิตประจําวัน การละเลนของเด็กไทย นาฏศิลปทองถ่ิน ลักษณะเดน และเอกลักษณข องนาฏศิลป
ไทย สรางสรรคการเคล่อื นไหวรูปแบบตา งๆ แสดงทาทางประกอบจังหวะตามรูปแบบของนาฏศิลป
ออกแบบและสรางสรรคอ ุปกรณและเคร่ืองแตงกายเพื่อการแสดงนาฏศิลป อธิบายความสําคัญและ
บทบาทนาฏศิลปและการละครในชวี ิตประจําวัน

สามารถจําแนก อธิบาย บอก ทองบทกลอน รองเพลง เคาะจงั หวะเกย่ี วกับดนตรีได และ
สามารถสรางสรรค ออกแบบ แสดงออก เคลอื่ นไหวรางกาย ใชส ัญลักษณ บอกองคประกอบ ภาษา
ทา รูปแบบ ความสาํ คญั บทบาท ลักษณะเดนของนาฏศิลปไ ทยได

แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับดนตรี เสียงขับรองตนเอง มีสวนรวมกับกิจกรรมดนตรีใน
ชีวิตประจําวัน มีความชื่นชมและเห็นคุณคา ความสําคัญประโยชนของดนตรีตอการดําเนินชีวิตของ
คนในทองถ่ิน แสดงออกถึงความชื่นชมและภาคภูมิใจในการละเลน พ้ืนบานและเชื่อมโยงส่ิงท่ีพบเห็น
ในการละเลนพ้ืนบา นกับการดาํ รงชวี ิตของคนไทย

ตวั ชีว้ ดั
ศ ๒.๑ ม.๓/๑, ศ ๒.๑ ม๓/๒, ศ ๒.๑ ม.๓/๓, ศ ๒.๑ ม.๓/๔, ศ ๒.๑ ม.๓/๕,
ศ ๒.๑ ม.๓/๖, ศ ๒.๑ ม.๓/๗, ศ ๒.๒ ม.๓/๑, ศ ๒.๒ ม.๓/๒, ศ ๓.๑ ม.๓/๑,
ศ ๓.๑ ม๓/๒, ศ ๓.๑ ม.๓/๓, ศ ๓.๑ ม.๓/๔, ศ ๓.๑ ม.๓/๕, ศ ๓.๑ ม.๓/๖,
ศ ๓.๑ ม.๓/๗, ศ ๓.๒ ม.๓/๑, ศ ๓.๒ ม.๓/๒, ศ ๓.๒ ม.๓/๓

จาํ นวน ๑๙ ตัวชี้วดั

กลมุ สาระการเรียนรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี

โครงสรางรายวิชากลุม สาระการเรียนรกู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนมวงสามสบิ อมั พวนั วิทยา

วิชาพน้ื ฐาน เรียนวชิ าพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี จํานวน 6.0
หนวยกติ ไดแ ก รายวิชาตอ ไปนี้

ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 การงานอาชพี และเทคโนโลย1ี 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห 1.0 หนว ยกิต
ง2๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี2 2 ช่ัวโมง/สัปดาห 1.0 หนวยกิต
ง21๑๐๒

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 การงานอาชพี และเทคโนโลย3ี 2 ช่วั โมง/สัปดาห 1.0 หนว ยกิต
ง22๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลย4ี 2 ช่ัวโมง/สัปดาห 1.0 หนว ยกิต
ง221๑๐๒

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 การงานอาชีพและเทคโนโลย5ี 2 ชว่ั โมง/สัปดาห 1.0 หนว ยกิต
ง23๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลย6ี 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห 1.0 หนวยกิต
ง23๑๐๒

99

คําอธบิ ายรายวชิ างานอาชีพและเทคโนโลยพี ้นื ฐาน

ง๒๑๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี1 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค ๑.๐ หนว ยกติ

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ ภาคเรียนท่ี 1

คาํ อธบิ ายรายวิชา

ศึกษา คนควา สังเกตหลกั การทํางานของคอมพิวเตอร บทบาทของคอมพวิ เตอรในการชวย
อํานวยความสะดวกในการดาํ เนินกิจกรรมตาง ๆ และประโยชนของคอมพิวเตอรท่ีใชเ ปนเคร่อื งมอื ใน
การทํางาน วิเคราะหลักษณะสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีผลกระทบในดานตาง ๆ เชน
คุณภาพชีวติ สงั คม การเรยี นการสอน

โดยใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสืบคนขอมูล กระบวนการแกปญหา การ
เรียนรูฝกปฏิบัติ เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจในการทํางานใหรวดเร็วและถูกตอง แมนยํา อํานวย
ความสะดวกในชีวิตประจําวัน ทําใหเห็นคณุ คาในการนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนตอการทํางาน
ทํางานเปนขั้นตอนและมปี ระสิทธิภาพ มจี ิตสํานึกและความรบั ผิดชอบในการทํางาน และมีคุณภาพ
ชวี ติ ทด่ี ขี ้นึ

ตัวชีว้ ัด
ง ๓.๑ ม.๑/๑, ง ๓.๑ ม.๑/๒, ง ๓.๑ ม.๑/๓

จาํ นวน ๓ ตวั ชี้วดั

100

คําอธบิ ายรายวชิ างานอาชีพและเทคโนโลยีพ้นื ฐาน

ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี2 2 ช่ัวโมง/สัปดาห/ภาค ๑.๐ หนว ยกิต

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒

คําอธบิ ายรายวิชา

ศึกษา สังเกต ฝก ฝน วิเคราะหอธิบายขน้ั ตอนการวางแผนการทํางาน การใชอ ุปกรณอ ํานวย
ความสะดวกในการทํางานบานและการจัดตกแตงบาน ใชกระบวนการกลมุ ในการทํางาน การเตรียม
ประกอบ จัดแตง และบริการอาหาร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรทีม่ ีในทองถ่ิน การประดิษฐ
ซอมแซม เคร่ืองมือเครื่องใช ประดิษฐของใช ของตกแตงจากเศษวัสดุทองถ่ิน และแนวทางในการ
เลอื กอาชพี

โดยใชกระบวนการทํางาน กระบวนการกลุม กระบวนการแกปญหา การฝกปฏิบัติ การ
อภิปราย และการแสวงหาความรู เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถทาํ งานตามลําดับ
ข้ันตอนที่วางแผน ใชกระบวนการกลุมเปนวิธีการทํางาน มีการแกปญหาเพื่อใหเกิดความคิดหาวิธี
แกปญหาตาง ๆ เพื่อใหมนี ิสัยในการทํางานท่ีดี เปนผูมีความซ่ือสัตย มีความเสียสละเปนลักษณะ
นสิ ยั ในการทํางาน มีความประหยัด เห็นความสําคัญในการสรา งอาชีพ มเี จตคติที่ดีตอ การประกอบ
อาชพี โดยยดึ หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีจติ สาธารณะ

ตวั ช้ีวดั
ง ๑.๑ ม.๑/๑ , ง ๑.๑ ม.๑/๒, ง ๑.๑ ม.๑/๓, ง ๔.๑ ม.๑/๑, ง. ๔.๑ ม.๑/๒, ง ๔.๑ ม.๑/๓

จํานวน 6 ตัวช้ีวดั

101

คาํ อธิบายรายวิชางานอาชพี และเทคโนโลยีพ้ืนฐาน

ง๒๒๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี3 2 ชัว่ โมง/สัปดาห/ ภาค ๑.๐ หนว ยกิต

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑

คําอธิบายรายวิชา

ศกึ ษา วิเคราะห ฝกปฏบิ ัติหลักการเบอ้ื งตนของการสอ่ื สารขอมูลและเครอื ขายคอมพวิ เตอร
การสื่อสาร การแลกเปล่ียนขอมูล อุปกรณสอ่ื สารเชื่อมโยงเครอื ขายคอมพิวเตอร ชนดิ ของเครอื ขาย
คอมพิวเตอร เทคโนโลยีการรับ-สงขอมูลในเครือขายคอมพิวเตอร ประโยชนของเครือขาย
คอมพิวเตอร ใชวิธีการแกปญหาอยางเปนขั้นตอนดวยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
รวบรวมขอมูล ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ประมวลผลเพื่อใหไดสารสนเทศทนี่ าํ ไปใชในการ
ตัดสินใจ การเผยแพรสารสนเทศ การใชค อมพิวเตอรในการแกปญหาโดยการใชซอฟตแ วรประยุกต
หรือการเขียนโปรแกรม อธิบายกระบวนการเทคโนโลยี สรางส่ิงของเครื่องใชหรือวิธีการ ตาม
กระบวนการเทคโนโลยี อยา งปลอดภัย ออกแบบโดยถายทอดความคิดเปนภาพรา ง ๓ มิติ หรอื ภาพ
ฉาย เพ่ือนําไปสูการสรางตนแบบของสิ่งของเคร่ืองใช หรือถายทอดความคิดของวิธีการเปน
แบบจําลองความคิดและ การรายงานผล เพ่ือนําเสนอวิธีการมีความคิดสรางสรรคใน การแกปญหา
หรือสนองความตองการ ในงานที่ผลิตเอง เลือกใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม
สิ่งแวดลอม และมี การจัดการเทคโนโลยีดวยการลดการใชทรัพยากรหรือเลือกใชเทคโนโลยี ท่ีไมมี
ผลกระทบตอ ส่ิงแวดลอม

โดยใชวิธีการแกปญหาอยางเปนข้ันตอนดวยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝกฝน
ปฏิบัติ และการอภิปรายเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจววิ ัฒนาการของเทคโนโลยี สามารถนําเสนอ
ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรูใหผูอ่ืนเขาใจ มีทกั ษะในการใชคอมพิวเตอรสื่อสาร เห็นคุณคาของการนําทักษะ
ความรูไปใชในการทํางานดานการสื่อสารดวยคอมพิวเตอร มีจิตสํานึกและเห็นประโยชนเครือขาย
คอมพวิ เตอร การเขยี นโปรแกรมและทํางานอยางมีประสทิ ธิภาพ เห็นคุณคา ของการนําความรูไปใช
ใหเ กดิ ประโยชนในการทํางานในชวี ิตประจาํ วนั

รหสั ตัวชี้วัด
ง.๒.๑ ม.๒/๑-๔, ง ๓.๑ ม.๒/๑-๔

รวม ๘ ตัวช้ีวัด

102

คาํ อธบิ ายรายวิชางานอาชพี และเทคโนโลยพี ้ืนฐาน

ง๒๒๑๐๒ การงานอาชพี และเทคโนโลยี4 2 ช่วั โมง/สปั ดาห/ภาค ๑.๐ หนวยกติ

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒

คําอธบิ ายรายวชิ า

ศึกษา สังเกต วิเคราะห อธิบาย ขั้นตอนการทํางานตามกระบวนการทํางาน การใชอุปกรณ
อํานวยความสะดวก ในการทาํ งานบาน การจัดและตกแตงหอ ง การเลอื กซ้ือสินคา ในรานคา ปลีก
คา สง รา นสะดวกซ้อื และหางสรรพสินคา การทาํ งานโดยใชกระบวนการกลุม เชน การเตรียม
ประกอบ จดั ตกแตง และบริการอาหาร การแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตร การประดษิ ฐข องใช
ของตกแตง จากวัสดุในทองถ่ิน การแกปญหาในการทํางาน เชนการจัดสวนในภาชนะการ
ซอมแซม วัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือ /เคร่ืองใช การทํางานโดยใชกระบวนการกลุม เชน การ
เตรียม ประกอบ จดั ตกแตง และบรกิ ารอาหาร การแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตร การประดิษฐ
ของใช ของตกแตง จากวัสดุในทองถิ่น การแกปญหาในการทํางาน เชน การจัดสวนในภาชนะ
การซอมแซม วัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือ /เคร่ืองใช การเสริมสรางประสบการณอ าชีพการเตรียม
ตัวเขา สอู าชีพ มีทกั ษะพน้ื ฐานทีจ่ ําเปนสาํ หรับการประกอบอาชีพทส่ี นใจ

โดยใชทักษะกระบวนการทํางาน กระบวนการกลุมในการทํางาน ดวยความเสียสละ
กระบวนการแกปญหา การจัดการ ในการทํางานอยางมีเหตุผล มีทักษะในการใชเครื่องมือ
เครื่องใช ในการทํางานเห็นคุณคาของการทํางาน มีความคิดสรางสรรค ทํางานเปนขั้นตอน และ
เพ่ือใหมีจิตสํานึกในการทํางานและใชทรัพยากรในการปฏิบัติงานอยางประหยัดและคุมคา ซึ่งเปน
คณุ ธรรมในการทาํ งานทท่ี ุกคนควรมี

รหัสตวั ช้ีวัด
ง ๑.๑ ม.๒/๑-๓, ง ๔.๑ ม.๒/๑-๓

รวม ๖ ตัวช้ีวดั

103

คาํ อธบิ ายรายวิชางานอาชพี และเทคโนโลยีพ้นื ฐาน

ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี5 2 ช่วั โมง/สปั ดาห/ภาค ๑.๐ หนวยกติ

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๑

คาํ อธิบายรายวิชา

ศึกษา สังเกต ฝกฝน อธิบายระดับของเทคโนโลยี การสรางส่ิงของเคร่ืองใชหรือวิธีการ
ตามกระบวนการเทคโนโลยี อยางปลอดภัยออกแบบโดยถายทอดความคิดเปนภาพฉาย เพ่ือนําไปสู
การสรางตนแบบและแบบจําลองของสิ่งของเคร่ืองใช หรือถายทอดความคิดของวิธีการเปน
แบบจําลองความคิดและ การรายงานผล อธิบายหลักการทําโครงงานที่มีการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ เขียนโปรแกรมภาษาข้ันพื้นฐานใชเทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานในรูปแบบท่ี
เหมาะสมกับลกั ษณะงานใชคอมพิวเตอรชว ยสรา งชิ้นงานจากจนิ ตนาการหรอื งานทที่ ําในชีวติ ประจําวัน
ตามหลกั การทาํ โครงงานอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ

โดยใชก ระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การฝก ปฏิบัติ และการอภิปรายใหเ กิดความรู
ความเขา ใจ เพื่อใหนําไปใชในการฝกปฏิบัติ แกปญหา ทํางานไดรวดเร็ว อํานวยความสะดวก เกิด
ประโยชนเกิดทักษะในการทํางานมจี ติ สํานกึ และความรบั ผดิ ชอบ

รหัสตวั ช้ีวัด
ง.๒.๑ ม.๓/๑-๒, ง ๓.๑ ม.๓/๑-๔

รวม ๖ ตัวชีว้ ัด

104

คาํ อธิบายรายวชิ างานอาชพี และเทคโนโลยีพื้นฐาน

ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี6 2 ช่ัวโมง/สัปดาห/ภาค 1.0 หนวยกติ

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๒

คาํ อธิบายรายวิชา

ศึกษา สังเกต ฝกฝน วิเคราะห และอภิปรายเก่ียวกับข้ันตอนการทาํ งานท่ีมีประสิทธิภาพ
ปฏิบัตติ ามกระบวนการทํางาน ทํางานเสร็จตามเปาหมายท่ีวางไว เชน การซัก ตาก พับ เก็บเส้ือผา
การใชทักษะในการทํางานรวมกันอยางมีคุณธรรม การเตรียม ประกอบอาหารประเภทสํารับ การ
ประดิษฐบรรจุภัณฑจากวัสดุธรรมชาติท่ีมีอยูในทองถ่ิน ทักษะการจัดการ การจัดระบบงานและ
ระบบคนเพื่อใหงานสําเร็จตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ อภิปรายการหางานดวยวิธีท่ี
หลากหลาย

วเิ คราะหแนวทางเขาสูอาชีพ ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพทีส่ อดคลอ งกับความรู
ความถนัดและความสนใจของตนเอง

โดยใชก ระบวนการทํางาน การจดั การ การทาํ งานรว มกัน กระบวนการแกป ญหา การฝก
ปฏิบตั ิ การอภิปราย และการแสวงหาความรู สามารถทาํ งานตามข้ันตอนกระบวนการทํางาน มีทักษะ
การจัดการการทํางานอยางมีระบบ เห็นคุณคาของการทํางาน ทํางานเปนข้ันตอนและเกิดทักษะ
กระบวนการที่จําเปนตอการประกอบอาชีพ นําความรูความเขาใจไปประยุกตใชในการทํางานใน
ชวี ติ ประจําวนั ได

รหัสตวั ช้ีวดั
ง ๑.๑ ม.๓/๑-3, ง ๔.๑ ม.๓/๑-๓

รวม ๖ ตัวชวี้ ดั

กลุม สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ

โครงสรา งรายวิชากลมุ สาระการเรียนรภู าษาตา งประเทศ
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรยี นมวงสามสิบอมั พวนั วิทยา

วชิ าพนื้ ฐาน เรียนวชิ าพ้นื ฐานในกลมุ สาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ จํานวน 9.๐ หนว ยกติ
ไดแก รายวิชาดงั ตอไปนี้

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 1 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน1 จํานวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนวยกติ
อ21101 ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน2 จํานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว ยกิต
อ21102
ภาษาองั กฤษพื้นฐาน3 จาํ นวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว ยกิต
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน4 จาํ นวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว ยกิต
อ22101
อ22102 ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน5 จํานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนวยกิต
ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน6 จาํ นวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนวยกิต
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3
อ23101
อ23102

106

คําอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

กลุม สาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑

อ ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน1 จาํ นวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนว ยกิต

คําอธิบายรายวิชา

สงั เกต ศกึ ษา คาํ สง่ั ฟงคําส่ัง คาํ ขอรอ ง คาํ แนะนํา คาํ ชี้แจงงา ย ๆ แลวปฏบิ ัตติ ามและฟง
บทสนทนา เร่อื งราวตาง ๆ แลวสรุปสาระสําคญั ได

ศกึ ษาคําแนะนาํ คาํ ชี้แจง การใชคาํ ในการขอความชว ยเหลือ ขอความที่เปนการตอบรับ และ
ตอบปฏิเสธ แลวพูดพรอมแสดงกิริยาทาทางโดยใชภาษา นํ้าเสียง กริยาทาทางเหมาะสมตาม
มารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษาในการขอรอ ง ใหคําแนะนํา คําชี้แจง ขอความ
ชว ยเหลือ ตอบรับและปฏเิ สธในการใหค วามชว ยเหลอื ในสถานการณตา ง ๆ

ศึกษาคนควาเนื้อหาสาระจาก กลุมสาระการเรียนรูอ่ืนจากแหลงการเรียนรู ขาว และ
เหตุการณที่อยูในความสนใจของสังคม แลววิเคราะหขาว หรือ เหตุการณที่อยูในความสนใจของ
สงั คม แลว พูดสรุปใหผ ูอ ื่นเขาใจได

ศึกษาความเหมือนและแตกตางระหวางการออกเสียง ประโยคชนิดตาง ๆ การใช
เครื่องหมายวรรคตอน การลําดับคํา ตามโครงสรางประโยคของภาษาไทยและภาษาตางประเทศ
ตลอดจนการแลกเปล่ียนขอมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรม และสถานการณในชีวิตประจําวัน แลวพูด
และเขยี นสรุปใหคนอน่ื เขา ใจได

อานคําส่ัง คําแนะนํา คําชี้แจงและปฏิบัติตาม ตลอดจนอานออกเสียงขอความ นิทาน
และบทรอยกรองส้นั ๆ ตามหลักการอา น

เขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวตั รประจําวัน ประสบการณแ ละสิ่งแวดลอ มใกลต ัว สรุป
ใจความสําคัญท่ีไดจากการวิเคราะหเร่ือง เหตกุ ารณที่อยูในความสนใจของสังคม แลวสรุปขอมูล
ขอ เท็จจริงท่เี ก่ียวกบั กลมุ สาระการเรียนรอู ่นื จากแหลง การเรยี นรอู ื่นทไ่ี ดจากการศกึ ษาคนควา

เพื่อใหผูเรียนใชภาษาอังกฤษไดในชีวิตประจําวันอยางเหมาะสมท้ังกิริยาทาทางและการใช
ภาษาตามวฒั นธรรมของเจาของภาษา

รหสั ตวั ชี้วัด
ต ๑.๑ ม.๑/๑, ต ๑.๑ ม.๑/๒, ต ๑.๑ ม.๑/๓, ต ๑.๑ ม.๑/๔, ต ๑.๒ ม.๑/๑,
ต ๑.๒ ม.๑/๒, ต ๑.๒ ม.๑/๓, ต ๑.๒ ม.๑/๔, ต ๑.๒ ม.๑/๕, ต ๑.๓ ม.๑/๑,
ต ๑.๓ ม๑/๒, ต ๑.๓ ม.๑/๓, ต ๒.๑ ม.๑/๑, ต ๒.๑ ม.๑/๒, ต ๒.๑ ม.๑/๓,
ต ๒.๒ ม.๑/๑, ต ๒.๒ ม๑/๒, ต ๒.๒ ม.๑/๓, ต ๓.๑ ม.๑/๑, ต ๔.๑ ม.๑/๑,
ต ๔.๒ ม.๑/๑

รวม 21 ตัวช้ีวัด

107

คําอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

กลุม สาระการเรยี นรูภาษาตา งประเทศ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒

อ ๒1๑๐๒ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน2 จํานวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนวยกติ

คําอธิบายรายวชิ า

สงั เกต ศึกษา คําส่ัง ฟง คาํ สั่ง คาํ ขอรอ ง คําแนะนํา คําชี้แจงงา ยๆ แลวปฏิบัตติ ามและฟง
บทสนทนา เร่อื งราวตา ง ๆ แลวสรปุ สาระสําคญั ได

ศกึ ษาคาํ แนะนํา คําชี้แจง การใชคาํ ในการขอความชว ยเหลือ ขอ ความท่ีเปน การตอบรับ และ
ตอบปฏิเสธ แลวพูดพรอมแสดงกิริยาทาทางโดยใชภาษา นํ้าเสียง กริยาทาทางเหมาะสมตาม
มารยาททางสงั คมและวัฒนธรรมของเจาของภาษาในการขอรอง ใหคําแนะนํา คําชี้แจง ขอความ
ชวยเหลอื ตอบรบั และปฏเิ สธในการใหค วามชวยเหลอื ในสถานการณตางๆ

ศึกษาคนควาเน้ือหาสาระจาก กลุมสาระการเรียนรูอ่ืนจากแหลงการเรียนรู ขาว และ
เหตุการณท่ีอยูในความสนใจของสังคม แลววิเคราะหขาว หรือ เหตุการณท่ีอยูในความสนใจของ
สังคม แลว พูดสรุปใหผ ูอ่นื เขา ใจได

ศึกษาความเหมือนและแตกตางระหวางการออกเสียง ประโยคชนิดตางๆ การใช
เคร่ืองหมายวรรคตอน การลําดับคํา ตามโครงสรางประโยคของภาษาไทยและภาษาตางประเทศ
ตลอดจนการแลกเปล่ียนขอมูลเก่ียวกับตนเอง กิจกรรม และสถานการณในชีวิตประจําวัน แลวพูด
และเขยี นสรปุ ใหค นอืน่ เขา ใจได

อา นคําสงั่ คําแนะนํา คําชี้แจงและปฏบิ ัติตาม ตลอดจนอา นออกเสียงขอ ความ นิทาน และ
บทรอ ยกรองสนั้ ๆ ตามหลักการอาน

เขยี นบรรยายเก่ียวกับตนเอง กิจวัตรประจําวัน ประสบการณและสงิ่ แวดลอมใกลต ัว สรุป
ใจความสําคัญที่ไดจากการวิเคราะหเร่ือง เหตกุ ารณท่ีอยูในความสนใจของสังคม แลวสรุปขอมูล
ขอ เทจ็ จริงท่เี ก่ยี วกบั กลุม สาระการเรยี นรอู ่ืน จากแหลงการเรียนรูอน่ื ทไ่ี ดจ ากการศกึ ษาคน ควา

เพ่ือใหผูเรียนใชภาษาอังกฤษไดในชีวิตประจําวันอยางเหมาะสมท้ังกิริยาทาทางและการใช
ภาษาตามวฒั นธรรมของเจา ของภาษา

รหัสตวั ชี้วัด
ต ๑.๑ ม.๑/๑, ต ๑.๑ ม.๑/๒, ต ๑.๑ ม.๑/๓, ต ๑.๑ ม.๑/๔, ต ๑.๒ ม.๑/๑,
ต ๑.๒ ม.๑/๒, ต ๑.๒ ม.๑/๓, ต ๑.๒ ม.๑/๔, ต ๑.๒ ม.๑/๕, ต ๑.๓ ม.๑/๑,
ต ๑.๓ ม.๑/๒, ต ๑.๓ ม.๑/๓, ต ๒.๑ ม.๑/๑, ต ๒.๑ ม.๑/๒, ต ๒.๑ ม.๑/๓,
ต ๒.๒ ม.๑/๑, ต ๒.๒ ม.๑/๒, ต ๒.๒ ม.๑/๓, ต ๓.๑ ม.๑/๑, ต ๔.๑ ม.๑/๑,
ต ๔.๒ ม.๑/๑

รวม 21 ตัวชีว้ ัด

108

คาํ อธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตา งประเทศ ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑

อ ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน3 จํานวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนวยกติ

คาํ อธิบายรายวชิ า

ปฏิบัติตามคําขอรอง คําแนะนํา คําชี้แจง และคําอธิบายงาย ๆ ที่ฟงและอาน อานออก
เสียงขอความ ขาว ประกาศ และบทรอยกรองส้ันๆ ไดถูกตองตามหลักการอาน ระบุ/เขียนและ
ขอความใหสัมพันธกับสื่อที่ไมใชความเรยี ง รปู แบบตา งๆ ทอ่ี าน สนทนาแลกเปลีย่ นขอมูลเก่ียวกับตนเอง
เร่ืองราวตาง ๆ ใกลตัว และสถานการณตาง ๆในชีวิตประจําวันอยางเหมาะสม ใชคําขอรอง ให
คําแนะนํา คําช้ีแจง และคําอธิบายตามสถานการณ พูดและเขียนแสดงความตองการ เสนอและให
ความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือในสถานการณตางๆ อยางเหมาะสม พูดและ
เขียนแสดงความรูสึก และความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องตางๆ กิจกรรมและประสบการณ
พรอ มทั้งใหเหตผุ ลประกอบอยางเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจําวัน
ประสบการณ และขาว/เหตุการณที่อยูในความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรปุ ความสําคัญ/แกน
สาระ หัวขอเร่ืองท่ีไดจากการวิเคราะหเรื่อง/ขาว/เหตุการณที่อยูในความสนใจของสังคม ใชภาษา
น้ําเสียง และกิริยาทาทาง เหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจาของ
ภาษา เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิด
ตางๆ และการลําดับคําตามโครงสรางประโยคของภาษาอังกฤษและภาษาไทย เปรียบเทียบและ
อธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางชวี ิตความเปนอยูและวัฒนธรรมของเจาของภาษากับ
ของไทย ใชภ าษาส่อื สารในสถานการณจรงิ /สถานการณจาํ ลองทีเ่ กดิ ข้ึนในหองเรียน สถานศึกษา และ
ชมุ ชน

รหสั ตวั ชี้วดั
ต ๑.๑ ม.๒/๑ ต ๑.๑ ม.๒/๒ ต ๑.๑ ม.๒/๓ ต ๑.๒ ม.๒/๑ ต ๑.๒ ม.๒/๒
ต ๑.๒ ม.๒/๓ ต ๑.๒ ม.๒/๕ ต ๑.๓ ม.๒/๑ ต ๑.๓ ม.๒/๒ ต ๒.๑ ม.๒/๑
ต ๒.๒ ม.๒/๑ ต ๔.๑ ม.๒/๑

รวม 12 ตัวช้วี ดั

109

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๒

อ ๒๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษพ้นื ฐาน4 จํานวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนว ยกิต

คาํ อธบิ ายรายวิชา

เลือกหัวขอเรื่อง ใจความสําคญั บอกรายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับ
เรื่องท่ีฟงและอานพรอมท้ังใหเหตุผลและยกตัวอยางงาย ๆ ประกอบ พูดและเขียนเพ่ือขอและให
ขอมูล บรรยาย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟงหรืออานอยางเหมาะสม พูดและเขียนแสดง
ความคิดเห็นเก่ียวกับกิจกรรม เร่ืองตาง ๆ ใกลตัว และประสบการณ พรอมทั้งใหเหตุผลส้ัน ๆ
ประกอบ อธิบายเก่ียวกับเทศกาล วันสําคัญ ชีวิตความเปนอยู และประเพณีของเจาของภาษา เขา
รวม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ เปรียบเทียบและอธบิ ายความเหมือนและ
ความแตกตางระหวางชีวิตความเปนอยูและวฒั นธรรมของเจาของภาษากบั ของไทย คน ควา รวบรวม
และสรุปขอมูล/ ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรอู ื่นจากแหลงเรียนรู และนาํ เสนอดวย
การพูด/การเขียน ใชภาษาอังกฤษในการสบื คน /คนควา รวบรวม และสรุปความร/ู ขอมูลตางๆ จากส่ือ
และแหลงการเรียนรูตางๆในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ เผยแพร /ประชาสัมพันธขอมูล
ขา วสารของโรงเรียน เปนภาษาอังกฤษ

รหสั ตัวช้ีวัด
ต ๑.๑ ม.๒/๔ ต ๑.๒ ม.๒/๔ ต ๑.๓ ม.๒/๓ ต ๒.๑ ม.๒/๒ ต ๒.๑ ม.๒/๓
ต ๒.๒ ม.๒/๒ ต ๓.๑ ม.๒/๑ ต ๔.๒ ม.๒/๑ ต ๔.๒ ม.๒/๒

รวม 9 ตัวชว้ี ดั

110

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

กลุม สาระการเรียนรูภ าษาตางประเทศ มัธยมศกึ ษาปที่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๑
๑.๕ หนว ยกิต
อ ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน5 จาํ นวน ๖๐ ชว่ั โมง

คําอธิบายรายวิชา

เลอื กหวั ขอเรือ่ ง ใจความสําคัญ บอกรายละเอยี ดสนบั สนุน และแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับ
เรื่องทีฟ่ งและอา นพรอมทง้ั ใหเหตุผลและยกตวั อยางงา ย ๆ ประกอบ พูดและเขียนเพื่อขอและให
ขอ มลู บรรยาย และแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกับเรอ่ื งท่ฟี ง หรืออานอยางเหมาะสม พดู และเขียนแสดง
ความคดิ เหน็ เก่ียวกบั กจิ กรรมเรอื่ งตา งๆ ใกลตัว และประสบการณ พรอมทง้ั ใหเหตผุ ลสนั้ ๆ ประกอบ
อธบิ ายเก่ยี วกับเทศกาล วันสําคญั ชีวติ ความเปนอยู และประเพณีของเจาของภาษา เขา รว ม/จัด
กจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ เปรียบเทียบและอธบิ ายความเหมือนและความ
แตกตา งระหวา งชวี ติ ความเปนอยแู ละวฒั นธรรมของเจา ของภาษากบั ของไทย คน ควา รวบรวม และ
สรปุ ขอ มูล/ ขอ เท็จจรงิ ทเ่ี กยี่ วของกับกลุม สาระการเรียนรูอนื่ จากแหลง เรยี นรู และนําเสนอดวยการ
พูด/การเขียน ใชภ าษาองั กฤษในการสืบคน /คนควา รวบรวม และสรุปความร/ู ขอ มูลตา งๆ จากสื่อและ
แหลง การเรียนรตู า งๆในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ เผยแพร /ประชาสมั พนั ธขอมลู ขาวสาร
ของโรงเรยี น เปน ภาษาองั กฤษ

รหสั ตวั ชี้วัด

ต ๑.๑ ม.๒/๔ ต ๑.๒ ม.๒/๔ ต ๑.๓ ม.๒/๓ ต ๒.๑ ม.๒/๒ ต ๒.๑ ม.๒/๓

ต ๒.๒ ม.๒/๒ ต ๓.๑ ม.๒/๑ ต ๔.๒ ม.๒/๑ ต ๔.๒ ม.๒/๒
รวม 9 ตัวชี้วัด

111

คําอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒

อ ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน6 จํานวน ๖๐ ช่วั โมง ๑.๕ หนว ยกิต

คําอธบิ ายรายวชิ า

เลือก/ระบุหัวขอเรื่อง ใจความสําคัญ รายละเอียดสนับสนุน แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ
เรื่องท่ฟี งและอานจากสือ่ ประเภทตางๆ พรอมทัง้ ใหเหตุผล ยกตัวอยางประกอบ พูด เขียนเพ่ือขอ
และใหข อมูล อธบิ าย เปรียบเทียบ แสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับเร่อื งทีฟ่ งหรอื อา นอยา งเหมาะสม พูด
เขียนแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับกิจกรรม ประสบการณ และเหตุการณ พรอ มทั้งใหเหตุผลประกอบ
อธบิ ายเก่ียวกับชีวิตความเปนอยู ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจาของภาษา เขารวม/จัดกิจกรรม
ทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ เปรียบเทียบ อธิบายความเหมือน ความแตกตางระหวาง
ชีวิตความเปนอยูและวัฒนธรรมของเจาของภาษากับของไทย ตลอดจนนําไปใชอยางเหมาะสม
คน ควา รวบรวม สรปุ ขอมูล/ ขอเท็จจริงท่ีเก่ียวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นจากแหลงเรยี นรู แลว
สามารถนําเสนอดวยการพูดและการเขียน ใชภาษาอังกฤษในการสืบคน/คนควา รวบรวม และสรุป
ความรู/ขอมูลตางๆ จากส่ือแหลงการเรียนรูตางๆในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ เผยแพร /
ประชาสัมพันธขอมลู ขาวสารของโรงเรยี น ชมุ ชน และทองถิ่น โดยใชภาษาอังกฤษ

รหัสตวั ช้ีวัด

ต ๑.๑ ม.๓/๔ ต ๑.๒ ม.๓/๔ ต ๑.๓ ม.๓/๓ ต ๒.๑ ม.๓/๒ ต ๒.๑ ม.๓/๓
ต ๒.๒ ม.๓/๒ ต ๓.๑ ม.๓/๑ ต ๔.๒ ม.๓/๑ ต ๔.๒ ม.๓/๒
รวม 9 ตัวชว้ี ดั

112

กจิ กรรมพัฒนาผูเ รียน

รายวชิ า แนะแนว ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน

คาํ อธบิ ายรายวิชา

ศึกษาวิเคราะห ความหมาย ความสําคัญ และประโยชนการเรียนรูในเชิงพหุปญญา
ตรวจสอบความถนัด ความสนใจ และความสามารถของตนเอง ศึกษาวิธีการแสวงหาความรูจาก
ขอมูลขาวสาร แหลงเรียนรูท้ังดานการศึกษาและอาชพี สวนตัว และสงั คม วเิ คราะหและเรียนรู
วิธีการ แกปญหาดวยตนเอง การวางแผนเลือกแนวทางศึกษาหรือประกอบอาชีพท่ีสอดคลองกับ
ศักยภาพของตนเอง การเตรียมตัวเขาสูโลกอาชีพ การสรางวุฒิภาวะทางอารมณ เรียนรูวิธีดําเนิน
ชีวิตและการปรับตัวในสังคม การสงเสริมอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย และการรักษาสิ่งแวดลอมใน
ทองถ่นิ

โดยใชกระบวนการ การจัดการ การวางแผนและลงมือปฏิบัติ การสรางรปู แบบการ
ทํางานที่หลากหลาย กระบวนการสรางความตระหนัก กระบวนการเสริมสรางเจตคติ และ
กระบวนการเสรมิ สรางคณุ ลกั ษณะอนั พงึ่ ประสงค

เพื่อใหเกิด ความเขาใจ รักและเห็นคุณคาในตนเองและผูอื่น สามารถสื่อสารความคิด
ความรสู ึกและทัศนะของตนเอง รจู ักใชเทคโนโลยีในการแสวงหาขอมูลขาวสารและสารสนเทศเพ่ือให
สามารถพัฒนาบุคลิกภาพ และการปรับตัวใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข มีทักษะในการ
แกป ญ หาชีวติ มเี จตคตทิ ี่ดตี อ อาชพี สจุ ริต มีวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม มีคานยิ มท่เี หมาะสม มีจิต
สาธารณะ และสํานกึ รับผิดชอบตอตนเองและครอบครวั สังคมและประเทศชาติ

113

การจัดการเรยี นรู

การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการสําคัญในการนําหลักสูตรสูการปฏิบัติ หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เปนหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญของผูเรียน และ
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค เปนเปา หมายสาํ หรบั พัฒนาเด็กและเยาวชน

1. หลักการจัดการเรยี นรู

การจัดการเรียนรเู พอ่ื ใหผ เู รยี นมีความรูค วามสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามที่กําหนดไวในหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช โดยยึด
หลักวา ผูเรยี นมีความสําคัญที่สุด เชื่อวาทกุ คนมีความสามารถเรียนรแู ละพัฒนาตนเองได ยึดประโยชนท่ี
เกิดกับผูเรียน กระบวนการจัดการเรียนรูตองสงเสริมใหผูเรยี น สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตาม
ศักยภาพ คํานึงถึงความแตกตางระหวางบคุ คลและพัฒนาการทางสมอง เนนใหความสําคัญท้ังความรู และ
คุณธรรม

2. กระบวนการเรียนรู

การจัดการเรยี นรูทีเ่ นน ผูเรยี นเปนสําคญั ผูเรยี นจะตอ งอาศัยกระบวนการเรียนรูทห่ี ลากหลาย
เปนเครือ่ งมือท่ีจะนําพาตนเองไปสูเปาหมายของหลกั สูตร กระบวนการเรียนรูทจี่ ําเปนสําหรับผูเรียน อาทิ
กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ กระบวนการสรางความรู กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม
กระบวนการเผชิญสถานการณ และแกปญหา กระบวนการเรียนรูจากประสบการณจริง การะบวนการ
ปฏิบัติ ลงมือทําจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรูการเรียนรูของตนเอง
กระบวนการพฒั นาลักษณะนิสยั

3. การออกแบบการจดั การเรยี นรู

ผูสอนตองศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาใหเขาใจถึงมาตรฐานการเรยี นรู ตัวช้ีวดั สมรรถนะ
สําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และสาระการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียน แลวจึงพิจารณา
ออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเลือกใชวิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหลงการเรียนรู การวัดและ
ประเมินผล เพ่ือใหผ เู รยี นไดพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลุตามเปาหมายทกี่ าํ หนด

4. บทบาทของผูสอนและผเู รยี น

การจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนมีคุณภาพตามเปาหมายของหลักสูตร ท้ังผูสอนและผูเรียน
ควรมีบทบาท ดังนี้

4.1. บทบาทของผสู อน

1. ศึกษาวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคล แลวนําขอมูลมาใชในการวางแผนการ
จัดการเรยี นรูท่ที าทายความสามารถของผูเรียน

2. กําหนดเปาหมายท่ีตองการใหเกิดกับผูเรียน ดานความรูและทักษะ
กระบวนการที่เปนความคดิ รวบยอด หลกั การและความสัมพนั ธ รวมท้ังคณุ ลักษณะอันพึงประสงค

114

3. ออกแบบการเรียนรูและจัดการเรียนรูที่ตอบสนองความแตกตางระหวาง
บคุ คลและพัฒนาการทางสมอง เพอ่ื นําผูเรียนไปสูเปาหมาย

4. จัดบรรยากาศทเี่ อ้อื ตอ การเรยี นรู และดแู ลชว ยเหลอื ผูเรยี นใหเ กิดการเรียนรู
5. จัดเตรียมและเลือกใชส่ือใหเหมาะสมกับกิจกรรม นําภูมิปญญาทองถ่ิน
เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมมาประยุกตใชในการจดั การเรียนการสอน
6. ประเมินความกาวหนาของผูเรียนดวยวิธีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับ
ธรรมชาตขิ องวิชาและระดับพัฒนาการของผเู รียน
7. วิเคราะหผลการประเมินมาใชในการซอมเสริมและพัฒนาผูเรียน รวมทั้ง
ปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นการสอนของตนเอง

4.2. บทบาทของผเู รยี น

1. กาํ หนดเปา หมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรยี นรูข องตนเอง
2. เสาะแสวงหาความรู เขาถึงแหลงเรียนรู วิเคราะห สังเคราะหขอความรู
ตั้งคาํ ถาม คดิ หาคําตอบ หรือหาแนวทางแกป ญหาดว ยวิธกี ารตา งๆ
3. ลงมือปฏิบัติจริง สรุปส่งิ ทไี่ ดเรียนรดู วยตนเอง และนําความรไู ปประยุกตใน
ในสถานการณตา งๆ
4. มปี ฏสิ มั พันธ ทํางาน ทํากิจกรรมรวมกบั กลมุ และครู
5. ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรียนรตู นเองอยา งตอ เน่ือง

สือ่ การเรียนรู

สื่อการเรียนรูเปนเครื่องมือสงเสริมสนับสนุนการจัดระบบการเรียนรู ใหผูเ รียนเขาถึงความรู ทักษะ
กระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรไดอยางมีประสิทธิภาพ ส่ือการเรียนรูมี
หลากหลายประเภททั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ สื่อเทคโนโลยี และเครือขายการเรียนรูตางๆ ที่มีใน
ทองถิ่น การเลือกใชส่ือควรเลือกใหมีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรูท่ีหลากหลาย
ของผเู รยี น

การจัดหาสื่อการเรียนรู ผูเรียนและผูสอนสามารถจัดทําและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใช
อยางมีคุณภาพจากส่ือตางๆ ท่ีมีอยูรอบตัวเพื่อนํามาใชประกอบในการจัดใหมีอยางพอเพียง เพื่อพัฒนาให
ผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางแทจริง สถานศกึ ษา เขตพื้นท่ีการศึกษา หนวยงานท่ีเก่ียวของและผูมีหนาที่จัด
การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ดาํ เนนิ การดงั นี้

1. จัดใหมีแหลงการเรียนรู ศูนยส่ือการเรียนรู ระบบสารสนเทศการเรียนรู และเครือขายการ
เรยี นรูทีม่ ี

ประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาคนควา และการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ

การเรยี นรู ระหวางสถานศกึ ษา ทอ งถิ่น ชมุ ชน สงั คมโลก

115

2. จัดทําและจัดหาสื่อการเรียนรูสําหรับการศึกษาคนควาของผูเรียน เสริมความรูใหผูสอน
รวมทั้งจดั หา

สิ่งทมี่ ีอยูใ นทอ งถ่นิ มาประยุกตใชเปน สื่อการเรยี นรู
3. เลือกและใชส อื่ การเรียนรูที่มปี ระสิทธิภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอ ง
กับวธิ ีการ

เรยี นรู ธรรมชาติของสาระการเรียนรู และความแตกตางระหวา งบคุ คลของผูเรยี น
4. ประเมนิ คุณภาพของส่ือการเรียนรูทเี่ ลอื กใชอยางเปน ระบบ
5. ศกึ ษาคน ควา วจิ ัย เพ่อื พฒั นาสอ่ื การเรยี นรูใ หสอดคลอ งกับกระบวนการเรียนรขู องผูเ รยี น
6. จัดใหมีการกํากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเก่ียวกับส่ือและการใชสื่อการ
เรยี นรเู ปน

ระยะๆ และสมํา่ เสมอ
ในการจัดทํา การเลอื กใช และการประเมินคณุ ภาพส่อื การเรยี นรทู ่ใี ชใ นสถานศกึ ษา ควรคํานงึ ถึง
หลักการสําคัญของส่ือการเรียนรู เชน ความสอดคลองกับหลักสูตร วัตถุประสงคการเรียนรู การออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู การจัดประสบการณใหผูเรียน เน้ือหามีความถูกตองและทันสมัย ไมกระทบความม่ันคง
ของชาติ ไมขดั ตอ ศีลธรรม มีการใชภ าษาที่ถกู ตอ ง รปู แบบการนาํ เสนอที่เขา ใจงาย และนา สนใจ

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรขู องผูเรียนตองอยบู นหลักการพ้ืนฐานสองประการคอื การประเมิน
เพ่ือพฒั นาผูเรียนและเพือ่ ตัดสินผลการเรยี น ในการพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรูใหประสบผลสําเรจ็ นัน้ ผเู รียน
จะตอ งไดรับการพฒั นาและประเมินตามตัวชี้วัดเพ่ือบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะสําคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนซ่ึงเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรูในทุก
ระดับไมวาจะเปนระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับชาติ การวัดและ
ประเมินผลการเรยี นรู เปนกระบวนการพัฒนาคณุ ภาพผูเรียน โดยใชผลการประเมินเปนขอมูลและสารสม
เทศที่แสดงพัฒนาการ ความกาวหนา และความสําเร็จทางการเรียนของผูเรียน ตลอดจนขอมูลท่ีเปน
ประโยชนตอ การสงเสริมใหผูเ รียนเกิดการพฒั นาและเรยี นรูอยา ง
เต็มตามศักยภาพ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู แบงออกเปน 4 ระดับ ไดแก ระดับช้ันเรียน ระดับ
สถานศกึ ษา ระดบั เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังนี้

1. การประเมินระดับช้ันเรียน เปนการวัดและประเมินผลที่อยูในกระบวนการจัดการ

เรียนรู ผูสอนดําเนินการเปนปกติและสมํ่าเสมอในการจัดการเรียนการสอน ใชเทคนิคการประเมินอยาง
หลากหลาย เชน การซักถาม การสงั เกต การตรวจการบาน การประเมินโครงงาน การประเมินช้ินงาน/
ภาระงาน แฟมสะสมงาน การใชแบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูสอนเปนผูประเมินเองเปดโอกาสใหผูเรียน
ประเมนิ ตนเอง เพอื่ ประเมนิ เพื่อน ผูปกครองรว มประเมิน

การประเมินระดับช้ันเรียนเปนการตรวจสอบวาผูเรียนมีพัฒนาการความกาวหนาในการเรียนรูอัน
เปนผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรอื ไม และมากนอยเพียงใด มีส่ิงทจี่ ะตองไดรับการพัฒนา
ปรับปรุงและสงเสริมในดานใด นอกจากนี้ยังเปนขอมูลใหผูสอนใชปรับปรุงการเรียนการสอนของตนดวย
ท้ังน้ีโดยสอดคลอ งกบั มาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ช้ีวัด

116

2. การประเมินระดับสถานศกึ ษา เปนการตรวจสอบผลการเรียนของผูเรยี นเปน รายป/ ราย

ภาค ผลการประเมนิ การอาน คดิ วเิ คราะหแ ละเขียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น
และเปนการประเมินเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วาสงผลตอการเรียนรูของผูเรียนตาม
เปาหมายหรือไม ผูเรียนมีส่ิงที่ตองการพัฒนาในดานใด รวมทั้งสามารถนําผลการเรียนของผูเรียนใน
สถานศึกษาเปรยี บเทียบกับเกณฑระดับชาติและระดับเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา ผลการประเมินระดับสถานศึกษา
จะเปนขอมลู และสารสนเทศ เพือ่ การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรอื วิธีการจดั การเรยี นการสอน
ตลอดจนเพ่ือจัดทําแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศกึ ษา
และการรายงานผลการจัดการศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ผปู กครองและชมุ ชน

3. การประเมินระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับเขต

พ้ืนท่ีการศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือใชเปนขอมูล
พื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตามภาระความรับผิดชอบ สามารถ
ดาํ เนินการโดยประเมินคุณภาพผูเรยี นดวยวธิ ีการและเคร่ืองมอื ที่เปนมาตรฐานทจี่ ัดทําและดาํ เนินการโดยเขต
พ้ืนที่การศึกษา หรอื ดว ยความรวมมือกับหนวยงานตน สงั กัดหรอื หนวยงานท่ีเก่ียวของ นอกจากนี้ยังไดจ าก
การตรวจสอบทบทวนขอ มลู จากการประเมนิ ระดับสถานศกึ ษาในเขตพืน้ ที่การศึกษา

4. การประเมินระดับชาติ เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการ

เรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนท่ีเรียน ชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 3 และ ช้นั มัธยมศึกษาปที่ 6 เขารับการประเมิน ผลจากการประเมินใชเปนขอมูลในการ
เทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับตางๆ เพื่อนําไปใชในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา
ตลอดจนเปน ขอ มลู สนับสนุนการตดั สินใจในระดับนโยบายของประเทศ

เกณฑก ารวัดและประเมนิ ผลการเรียน

1. การตัดสิน การใหร ะดบั และการรายงานผลการเรียน

1.1 การตดั สินผลการเรยี น

ในการตัดสนิ ผลการเรยี นของกลมุ สาระการเรียนรู การอา น คดิ วิเคราะหและเขยี น
คุณลักษณะอันพึงประสงค และกจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี นนั้น ผูสอนตองคาํ นึงถึงการพัฒนาผูเรียนแตล ะคนเปน
หลัก และตองเก็บขอมูลของผูเรียนทุกดานอยางสม่ําเสมอและตอเน่ืองในแตละภาคเรียน รวมท้ังสอนซอม
เสริมผเู รียนใหพ ฒั นาจนเต็มตามศกั ยภาพ

ระดับมธั ยมศึกษา

1. ตัดสินผลการเรียนเปน รายวิชา ผูเรียนตองมเี วลาเรยี นตลอดภาคเรยี นไมน อ ยกวา
รอ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทั้งหมดในรายวชิ านนั้ ๆ

2. ผเู รียนตองไดร ับการประเมินทกุ ตวั ชี้วัด และผา นตามเกณฑท ส่ี ถานศกึ ษากําหนด

117

3. ผเู รียนตองไดรบั การตัดสนิ ผลการเรยี นทุกรายวิชา
4. ผูเ รียนตอ งไดร บั การประเมิน และมีผลการประเมนิ ผานตามเกณฑท ี่สถานศกึ ษา
กําหนดในการอาน คดิ วิเคราะหและเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น
การพิจารณาเลื่อนชั้น ถาผูเรยี นมีขอบกพรองเพียงเล็กนอยและสถานศึกษาพิจารณาเห็น
วาสามารถพัฒนาและสอนซอมเสริมได ใหอยใู นดุลยพนิ ิจของสถานศึกษาท่ีจะผอ นผันใหเล่ือนช้นั ได แตห าก
ผูเรียนไมผานรายวิชาจํานวนมาก และมีแนวโนมวาจะเปนปญหาตอการเรียนในระดับชั้นท่ีสูงขึ้น
สถานศกึ ษา
อาจตัง้ คณะกรรมการพิจารณาพิจารณาใหเรียนซาํ้ ช้ันได ทั้งนี้ใหคํานึงถึงวุฒิภาวะและความรูความสามารถ
ของผเู รยี นเปนสําคญั

1.2. การใหระดบั ผลการเรยี น

ระดบั มัธยมศกึ ษา ในการตดั สินเพือ่ ใหร ะดับผลการเรยี นรายวชิ า ใหใชตวั เลขแสดงระดบั

ผลการเรียนเปน 8 ระดับ
การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคนั้น ใหมี

ระดับผลการประเมินเปนดเี ยยี่ ม ดี ผาน ไมผ าน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตอ งพิจารณาท้ังเวลาการเขา รวมกจิ กรรม การปฏิบัติ

กจิ กรรมและผลงานของผเู รยี น ตามเกณฑท สี่ ถานศึกษากําหนด และใหผ ลการเขารวมกิจกรรมเปนผานและ
ไมผาน

1.3. การรายงานผลการเรยี น

การรายงานผลการเรยี นเปนการสอื่ สารใหผูปกครองและผูเรียนทราบความกาวหนา ในการเรียนของ
ผูเรียน ซึ่งสถานศกึ ษาตองสรุปผลการประเมินและจัดทําเอกสารรายงานใหผูปกครองทราบเปนระยะๆหรือ
อยา งนอยภาคเรยี นละ 1 ครั้ง

การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเปน ระดับคณุ ภาพการปฏิบัติของผเู รียนท่ีสะทอนมาตรฐาน
การเรียนรกู ลุม สาระการเรยี นรู

2. เกณฑก ารจบการศึกษา

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช พทุ ธศกั ราช 2551 กําหนดเกณฑกลาง
สาํ หรบั การจบการศกึ ษาเปน 2 ระดบั คอื ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

2.1 เกณฑก ารจบระดบั มัธยมศึกษาตอนตน

1. ผูเรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติมไมเกิน 81 หนวยกิต โดยรายวิชา
พื้นฐาน 63 หนว ยกิต และรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ตามท่ีสถานศึกษากําหนด

2. ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 77 หนวยกิต โดยเปน
รายวิชาพ้นื ฐาน 63 หนวยกิต และรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ไมน อ ยกวา 14 หนว ยกิต

3. ผูเรียนมีผลการประเมิน การอาน คิดวิเคราะหและเขียน ในระดับผานเกณฑ
การประเมินตามทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด

4. ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ในระดับผานเกณฑการ
ประเมินตามที่สถานศกึ ษากําหนด

118

5. ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการ
ประเมินตามท่สี ถานศกึ ษากําหนด

2.2. เกณฑก ารจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

1. ผูเรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม ไมนอยกวา 81 หนวยกิต โดยเปน
รายวชิ าพื้นฐาน 41 หนวยกติ และรายวชิ าเพมิ่ เติมตามท่ีสถานศึกษากําหนด

2. ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 77 หนวยกิต โดยเปน
รายวชิ าพื้นฐาน 41 หนว ยกติ และรายวชิ าเพิม่ เติมไมนอยกวา

3. ผูเ รยี นมีผลประเมินการอาน คิดวเิ คราะหแ ละเขยี น ในระดบั ผานเกณฑก าร
ประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษากําหนด

4.ผูเรยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ในระดับผา นเกณฑก าร
ประเมินตามที่สถานศกึ ษากําหนด

5. ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลประเมินผานเกณฑการประเมิน
ตามทส่ี ถานศึกษากําหนด

เอกสารหลักฐานการศึกษา

เอกสารหลักฐานการศึกษา เปนเอกสารสําคัญที่บันทึกผลการเรียน ขอมูลและสารสนเทศ
ทีเ่ ก่ยี วขอ งกับพฒั นาการของผเู รียนในดา นตางๆ แบง ออกเปน 2 ประเภท ดงั นี้

1. เอกสารหลักฐานการศึกษาทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารกาํ หนด

1.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน เปนเอกสารแสดงผลการเรียนและรบั รองผลการเรยี นของ
ผูเรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงคของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน สถานศึกษาจะตองบันทึกขอมูลและ
ออกเอกสารน้ีใหผูเรียนเปนรายบุคคล เม่ือผูเรียนจบการศึกษาภาคบังคับ ( ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ) จบ
การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ( ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 6 ) หรอื เมอ่ื ลาออกจากสถานศึกษาในทกุ กรณี

1.2. ประกาศนียบัตร เปนเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพ่ือรับรองศักดิ์ปละสิทธ์ิของผูจบ
การศึกษาที่สถานศึกษา ใหไวแกผูจบการศึกษาภาคบังคับ และผูจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

1.3. แบบรายงานผสู ําเร็จการศกึ ษา เปน เอกสารอนุมัตกิ ารจบหลกั สูตรโดยบนั ทึกรายชื่อและ
ขอมูลของผูจบการศกึ ษาภาคบังคบั ( ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 3 ) และผูจบการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ( ช้นั มัธยมศกึ ษา
ทที ี่ 6 )

3. เอกสาร หลักฐาน การศกึ ษาทีส่ ถานศกึ ษากําหนด

เปนเอกสารท่ีสถานศึกษาจัดทําขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการผลการเรียนรูและขอมูลสําคัญ
เกี่ยวกับผูเรียน เชน แบบรายงานปะจําตัวนักเรียน บันทึกผลการเรียนประจํารายวิชา ระเบียนสะสม
ใบรบั รองผลการเรียน และเอกสารอนื่ ๆ ตามวตั ถปุ ระสงคข องการนําเอกสารไปใช

119

การเทยี บโอนผลการเรียน

สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผูเรียนในกรณีตางๆ ไดแก การยาย
สถานศึกษา การเปลยี่ นรูปแบบการศึกษา การยายหลกั สตู ร การออกกลางคันและขอกลับเขารบั การศึกษา
ตอ การศึกษาจากตางประเทศและขอเขาศึกษาตอในประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถเทียบโอนความรู
ทักษะ ประสบการณจากแหลงการเรียนรูอื่นๆ เชน สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการ
ฝกอบรมอาชีพ การจัดการศกึ ษาโดยครอบครวั

การเทียบโอนผลการเรียนควรดําเนินการในชวงกอนเปดภาคเรียน หรือตนภาคเรียนท่ี
สถานศึกษารับผูขอเทียบโอนเปนผเู รียน ทัง้ นี้ ผูเรียนที่ไดรับการเทยี บโอนผลการเรียนตองศึกษาตอเน่ืองใน
สถานศึกษาที่รับเทียบโอนอยางนอย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผูเรียนจากการเทียบโอนควร
กาํ หนดรายวชิ า/จาํ นวนหนว ยกิต ที่จะรับเทยี บโอนตามความเหมาะสม

การพจิ ารณาการเทียบโอน สามารถดาํ เนนิ การได ดังน้ี

1. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่นๆท่ีใหขอมูลแสดงความรู ความสามารถของ
ผเู รยี น
2. พิจารณาความรู ความสามารถของผูเรยี นโดยการทดสอบดว ยวิธีการตางๆ ทงั้ ภาคความรูและ
ภาคปฏิบตั ิ
3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ตั ใิ นสภาพจรงิ
การเทียบโอนผลการเรียนใหเปน ไปตามประกาศ หรอื แนวปฏิบตั ิของกระทรวงศึกษาธกิ าร
สําหรับการเทียบโอนเขาสูการศึกษาในระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ใหดําเนินการตามแนวปฏิบัติ
เกย่ี วกับการเทยี บโอนผลการเรยี นเขา สูการศึกษาในระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

การบรหิ ารจดั การหลกั สูตร

ในระบบการศึกษาท่ีมีการกระจายอํานาจในทองถ่ินและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนา
หลักสูตรนั้นหนวยงานตางๆที่เก่ียวของในแตละระดับ ต้ังแตระดับชาติ ระดับทองถ่ิน จนถึงระดับ
สถานศึกษา มีบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน สงเสริม การใช และพัฒนา
หลักสูตรใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือใหการดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา และ การจัดการ
เรียนการสอนของสถานศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะสงผลให การพัฒนาคุณภาพผูเรียนบรรลุตาม
มาตรฐานการเรยี นรูทกี่ ําหนดไวใ นระดบั ชาติ

ระดบั ทอ งถนิ่ ไดแ ก สํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา หนว ยงานตน สงั กัดอ่นื ๆ เปนหนวยงานท่ีมี
บทบาทในการขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เปนตัวกลางท่ีจะเช่ือมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พื้นฐานที่กําหนดในระดับชาตใิ หสอดคลอ งกับสภาพและความตอ งการของทองถิ่น เพื่อนําไปสูการจัดทํา
หลกั สูตรของสถานศึกษา สง เสริมการใชแ ละพัฒนาหลักสูตรในระดบั สถานศกึ ษาใหประสบความสําเร็จ โดย
มีภารกิจสาํ คัญ คือ กาํ หนดเปาหมายและจุดเนน การพัฒนาคุณภาพผเู รียนในระดับทอ งถิ่น โดยพิจารณาให
สอดคลอ งกับสิง่ ทเ่ี ปนความตองการในระดับชาติ พัฒนาสาระการเรียนรูทองถิ่น ประเมินคุณภาพการศกึ ษา
ในระดับทองถ่ิน รวมท้ังเพิ่มพูนคุณภาพการใชหลักสูตรดวยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร
สนบั สนนุ สงเสริม ตดิ ตามผล ประเมินผล วเิ คราะห และรายงานผลคณุ ภาพของผูเรยี น

120

สถานศึกษามีหนาที่สําคัญในการพัฒนาหลักสูตร การวางแผนและดําเนินการใชหลักสูตร
การเพิ่มพูนคุณภาพการใชหลักสูตรดวยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร จัดทํา
ระเบียบการวัดและประเมินผลในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตองพิจารณาใหสอดคลองกับหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและรายละเอียดท่ีเขตพื้นที่การศกึ ษา หรือหนวยงาน ตนสังกัดอน่ื ๆ ในระดับ
ทองถิ่นไดจัดทําเพ่ิมเติม รวมทั้งสถานศึกษาสามารถเพ่ิมเติมในสวนที่เกี่ยวกับสภาพปญหาในชุมชนและ
สังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน และความตองการของผูเรียน โดยทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการพัฒนา
หลกั สตู รสถานศึกษา


Click to View FlipBook Version