The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิมพิกา พิมพ์สอน, 2019-12-09 09:42:59

หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ ม.ปลาย AP-MAW

M4-M6-AP

47

ว๓๑๑๐๒ เคมีพ้ืนฐาน รายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ้ืนฐาน ๑.๕ หนว ยกิต
ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑
๓ ช่วั โมง/สัปดาห/ภาค

คําอธิบายรายวิชา

ศกึ ษา วิเคราะหแนวคิดแบบจําลองอะตอม โครงสรางอะตอม และสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ การ
จัดเรียงอเิ ล็กตรอนในอะตอม ความสมั พนั ธระหวา งอิเลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานนอกสุดกับสมบตั ขิ องธาตุ และ
การเกิดปฏิกิริยา การจัดเรียงธาตุและทํานายแนวโนมสมบัติของธาตุในตารางธาตุ การเกิดพันธะเคมีในโครง
ผลึกและในโมเลกุลของสาร ความสัมพันธระหวางจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะของสารกับแรงยึด
เหน่ียวระหวางอนุภาคของสาร เขียนสมการของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปท่พี บในชีวิตประจําวัน ผลของสารเคมีที่มี
ตอสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดลอม อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและนํา
ความรูไปใชประโยชน การเกิดปโตรเลียม กระบวนการแยกแกสธรรมชาติและการกล่ันลําดับสวนน้ํามันดิบ
การนําผลิตภณั ฑท่ไี ดจากการแยกแกส ธรรมชาติและการกล่ันลาํ ดับสว นนํา้ มนั ดิบไปใชป ระโยชน ผลติ ภณั ฑต อ
สิ่งมีชีวิตและส่งิ แวดลอม การเกิดพอลิเมอร สมบัติของพอลิเมอร การนําพอลิเมอรไปใชประโยชน การผลิต
และใชพอลเิ มอรตอ สงิ่ มีชีวิตและสิ่งแวดลอม องคประกอบ ประโยชนและปฏกิ ริ ิยาบางชนิดของคารโ บไฮเดรต
องคประกอบประโยชน และปฏิกิริยาบงชนิดของไขมันและนํ้ามัน องคประกอบ ประโยชนและปฏิกิริยาบาง
ชนดิ ของโปรตีนและกรดนวิ คลอี ิก

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล
การอภปิ ราย และการอธบิ าย

เพอื่ ใหเกิดความรู ความคิด ความขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่เี รยี นรู มีความสามารถในการตดั สินใจ นาํ
ความรไู ปใชในชวี ิตประจําวนั มีจิตวิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา นิยมท่เี หมาะสม

ตวั ช้วี ัด
ว 2.1 ม. 5/๑, ว 2.๑ ม. 5/๒, ว 2.๑ ม. 5/๓, ว 2.๑ ม. 5/๔, ว 2.๑ ม. 5/๕
ว 2.1 ม. 5/๑4, ว 2.1 ม. 5/15, ว 2.1 ม. 5/18, ว 2.1 ม. 5/19, ว 2.1 ม. 5/20

จาํ นวน ๑0 ตัวชว้ี ดั

48

ว๓๑๑๐๓ ชีววิทยาพ้ืนฐาน รายวชิ าวิทยาศาสตรพน้ื ฐาน ๑.๕ หนว ยกติ
ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑
๓ ชวั่ โมง/สัปดาห/ ภาค

คาํ อธิบายรายวิชา

ศกึ ษาการเคล่ือนที่ของสารเขา-ออกเซลล เซลลมีการลําเลยี งสารผา นเซลลโ ดยวธิ ีการแพร การ
ออสโมซิส การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต การลําเลียงแบบใชพลังงานและการลําเลียงสารขนาดใหญ สิ่งมีชีวิต
เซลลเดียว มีการลาํ เลยี งสารเกิดขึ้นภายในเซลล เพียงหน่ึงเซลลแตส่ิงมีชีวิตหลายเซลลตองอาศัยการทํางาน
ประสานกันของเซลลจํานวนมาก การรักษาดุลยภาพของพืช ส่ิงมีชีวิตเซลลเ ดียวและหลายเซลล กลไกการ
สรางภมู ิคุมกนั ระบบภูมคิ มุ กันมคี วามสําคัญยิง่ ตอรา งกายมนุษย

ศกึ ษาการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม มิวเทชันและ การแปรผันทางพันธุกรรมทําใหส่ิงมีชีวิตที่
เกิดใหมมีลักษณะที่แตกตางกันหลากหลายชนิดกอใหเกิดเปนความหลากหลายทางชีวภาพ การนําความรู
ทางเทคโนโลยีชีวภาพดานพันธุวิศวกรรมการโคลนและการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือ มาใชในการพัฒนา ใหเกิด
ความกาวหนาในดานตางๆมากขึ้นและแพรหลาย การใชเทคโนโลยีชีวภาพทสี่ รางสิ่งมีชีวิตใหมเกิดขึ้น หรือ
ส่ิงมีชวี ิตที่มกี ารดัดแปลงพันธุกรรมสงผลกระทบทงั้ ทางดานที่เปนประโยชนและโทษ ตอ ส่ิงแวดลอ ม เศรษฐกิจ
และสงั คม

ศกึ ษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ การคดั เลือกตามธรรมชาติ สง ผลทาํ ให ลักษณะพันธกุ รรม
ของประชากรในกลุมยอยแตละกลุมแตกตางกันไป จนกลายเปน สปชีสใหม ทําใหเกิดเปนความหลากหลาย
ของส่ิงมชี ีวติ

ศึกษาระบบนิเวศ ดลุ ยภาพของระบบนิเวศ กระบวนการเปลยี่ นแปลงแทนท่ีของส่ิงมชี ีวิตความสาํ คัญ
ของความหลากหลายทางชวี ภาพและการอนุรกั ษ

เพ่ืออธิบาย อภิปราย วิเคราะหเนื้อหาสาระตาง สามารถสืบคนขอมูล นําความรูไปใชประโยชนใน
ชีวิตประจําวนั วางแผน และดาํ เนนิ การ นําเสนอแนวทางการปฏบิ ัติ มจี ิตวิทยาศาสตร

ตัวชีว้ ัด
ว๑.๑ ม.๔/๑, ว๑.๑ ม.๔/๒, ว๑.๑ ม.๔/๓, ว๑.๑ ม.๔/๔,
ว๑.๒ ม.๔/๑,
ว๑.๓ ม.๔/๓, ว๑.๓ ม.๔/๔, ว๑.๓ ม.๔/๕, ว๑.๓ ม.๔/๖
ว๔.๑ ม.๔/๑, ว๑.๓ ม.๔/๒, ว๑.๓ ม.๔/๓, ว๑.๓ ม.๔/๔, ว๑.๓ ม.๔/๕

จํานวน ๑๔ ตัวชีว้ ดั

49

ว๓๑๑๐๔ ดาราศาสตรพ นื้ ฐาน รายวิชาวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน ๑.๕ หนว ยกติ
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๒
๓ ชว่ั โมง/สัปดาห/ ภาค

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาวิเคราะห หลักการในการแบงโครงสรางโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคของโลก
กระบวนการเกิดภูเขา รอยเลื่อน รอยคดโคง แผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ปรากฏการณทางธรณี
แผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด การลําดับช้ันหิน การหาอายุของหิน ลักษณะและอายุของซากดึกดําบรรพ
เปรียบเทียบลําดับชน้ั หินและอายุของหิน โครงสรางทางธรณีวทิ ยา เพื่อศกึ ษาความเปนมาของโลก การเกิด
และวิวฒั นาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ พลังงานของดาวฤกษ ปฏิกิริยาฟวชัน ตําแหนง ของ
โลกในระบบสุริยะ กาแล็กซี และเอกภพ การใชเทคโนโลยีอวกาศในการศึกษาปรากฏการณตางๆบนโลก
และในอวกาศ

โดยใชกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล
การอธิบาย การวิเคราะหและการอภิปราย เพ่ือใหเกิดความรู ความคดิ ความเขาใจ สามารถส่ือสารสงิ่ ที่เรียนรู
มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ นําความรไู ปใชในชวี ิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และ
คา นิยมทเี่ หมาะสม

ตัวช้ีวดั
ว๓.๒ ม.๖/๑, ว๓.๒ ม.๖/๒, ว๓.๒ ม.๖/๓, ว๓.๒ ม.๖/๔, ว๓.๒ ม.๖/๕
ว๔.๑ ม.๔/๑, ว๑.๓ ม.๔/๒, ว๑.๓ ม.๔/๓, ว๑.๓ ม.๔/๔, ว๑.๓ ม.๔/๕

จาํ นวน ๑๐ ตัวช้ีวดั

50

ว๓๑๒๐๑ ฟส กิ ส ๑ (เพ่มิ เตมิ ) รายวิชาวิทยาศาสตรเพมิ่ เตมิ ๑.๕ หนวยกิต
ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี ๔ ภาคเรยี นท่ี ๒
๓ ช่ัวโมง/สัปดาห/ ภาค

คําอธบิ ายรายวิชา

ศกึ ษา วิเคราะห สงั เกต สํารวจตรวจสอบ ทดลองและอธบิ าย อภิปรายความสัมพนั ธร ะหวางงาน
และพลังงาน โมเมนตัมและการดล การเคลอ่ื นที่แบบหมนุ สภาพสมดลุ และสภาพยืดหยนุ โดยใช
กระบวนการสืบเสาะหาความรู ส่อื สารสงิ่ ทเ่ี รียนรู และนําความรูไปใชประโยชนอยางถกู ตองและมคี ณุ ธรรม

ผลการเรยี นรู
๑. สบื คนและอธิบายเกี่ยวกับงาน กําลัง พรอมท้ังคาํ นวณหาปริมาณทเี่ กี่ยวของ
๒. ทดลองและอภิปรายเกี่ยวกับผลรวมของพลงั งานจลนแ ละพลงั งานศักยของวตั ถุในสนามโนม ถว ง

ซงึ่ เปนไปตามกฎการอนุรักษพลงั งานกล และขยายไปถึงกฎการอนุรกั ษพลงั งานท่วั ไป
๓. คํานวณหาพลังงานจลน พลงั งานศกั ยโนมถว ง พลงั งานศกั ยยดื หยุน ของสปริงและการนํากฎการ

อนุรักษพลังงานไปใชประโยชน
๔.สืบคน และอธบิ ายความหมายของโมเมนตัมและทดลองหาความสมั พันธระหวา งแรงกับการ

เปลีย่ นแปลงโมเมนตมั
๕. สืบคนและอธบิ ายความหมายของการดลและแรงดลพรอมทั้งคํานวณหาปริมาณท่เี กีย่ วของ
๖. สํารวจตรวจสอบและทดลองการชนแบบยืดหยนุ และไมย ดื หยนุ พรอมท้งั คาํ นวณหาปรมิ าณที่

เก่ยี วของ
๗. สบื คน และอธบิ ายความหมายของการกระจัดเชงิ มุม ความเรว็ เชงิ มมุ ความเรง เชิงมุม ทอรก
๘. สบื คนและอธิบายความหมายของโมเมนตความเฉื่อย พลงั งานจลนของการหมุน
๙. สบื คนและอธบิ ายความหมายของโมเมนตัมเชิงมุมและอตั ราการเปลี่ยนโมเมนตมั
๑๐. อธิบายความหมายของพลงั งานจลนร วมของวัตถทุ ่ีมีการเคลอ่ื นทีท่ ัง้ แบบเลือ่ นตําแหนงและ

แบบหมุน
๑๑. สํารวจตรวจสอบ วิเคราะหและอธิบายความหมายของสภาพสมดลุ
๑๒. สํารวจตรวจสอบและอธิบายโมเมนตข องแรงหรือทอรก โมเมนตข องแรงคูควบ

รวม 12 ผลการเรยี นรู

51

ว๓๒๒๐๒ ฟส กิ ส ๒ (เพ่ิมเตมิ ) รายวชิ าวิทยาศาสตรเพิม่ เตมิ ๑.๕ หนวยกติ
ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑
๓ ชว่ั โมง/สัปดาห/ภาค

คาํ อธบิ ายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะห สังเกต สํารวจตรวจสอบและอธิบายสมบัติเชิงกลของสาร ความหนาแนน ความดัน
แรงลอยตัว ความตงึ ผวิ ความหนืด เคร่ืองวัดความดันของไหล พลศาสตรของไหล ความรอน สมบัติของแกส
และทฤษฎีจลน คลื่นกล โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู และนําความรูไปใช
ประโยชนอยางถูกตองและมคี ณุ ธรรม

ผลการเรยี นรู
๑. อธิบายความหมายของความหนาแนนและคาํ นวณปรมิ าณทเ่ี กีย่ วของ
๒. อธบิ ายความหมายของความดันและทดลองหาความสมั พันธร ะหวา งความดันกบั ความลึกและความ
ดนั กับความหนาแนน พรอ มท้ังคํานวณหาปริมาณทเี่ กยี่ วขอ ง
๓. สบื คนเก่ียวกบั กฎของพาสคัลและเครื่องอัดไฮดรอลิก
๔. ทดลองและอธิบายความสัมพันธของแรงลอยตวั และหลกั ของอารคมิ ดี สี พรอ มท้ังคาํ นวณหาปรมิ าณท่ี
เกย่ี วของ
๕. สบื คน ทดลองและอธบิ ายเกี่ยวกบั ความตึงผวิ และความหนืดพรอ มทงั้ คํานวณหาปริมาณทเ่ี กีย่ วของ
๖. สืบคนเกี่ยวกับสมบตั ขิ องของไหลพรอ มท้งั อธบิ ายขหลักของแบรนูลลีและคํานวณปริมาณทีเ่ ก่ยี วของ
๗. สบื คน และอธิบายผลของความรอ นที่มตี อสาร การถา ยโอนความรอนและการแผรังสคี วามรอนพรอม
ทง้ั คาํ นวณหาปริมาณที่เก่ยี วของ
๘. ทดลองและอธิบายกฎของบอยล กฎของชารล กฎของแกส พรอ มท้งั คํานวณหาปริมาณท่ีเกี่ยวของ
๙. สบื คน และอธบิ ายทฤษฎีจลนของแกส และคํานวณหาปรมิ าณทเี่ กีย่ วของ
๑๐.สบื คน เก่ยี วกบั พลังงานภายในระบบของแกสและการทํางานของระบบ
๑๑.อธิบายหลกั การขยายตัวและการหดตวั ของแกสเมอื่ ไดรบั หรือคายความรอ นไปอธบิ ายการทํางานของ
เครือ่ งยนตตางๆ
๑๒.สาํ รวจ ตรวจสอบและอธิบายสมบตั ิของคลนื่ กล
๑๓.อธิบายองคประกอบของคล่นื นํา้
๑๔.ทํากิจกรรมเพื่อศึกษาปรากฏการณคล่นื ผวิ นาํ้
๑๕.อธิบายการซอนทับของคล่นื และผลทีเ่ กิดจากการซอ นทบั
๑๖.ทดลองและอธิบายสมบัติของคลนื่
๑๗.ทดลองและอธิบายการเกิดคลื่นน่งิ และการส่นั พอ งพรอมท้ังคํานวณหาปริมาณทเ่ี กี่ยวของ

รวม 17 ผลการเรยี นรู

52

ว๓๒๒๐๓ ฟสกิ ส ๓ (เพ่ิมเตมิ ) รายวชิ าวิทยาศาสตรเพ่ิมเตมิ ๑.๕ หนว ยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ ภาคเรยี นที่ ๒
๓ ชว่ั โมง/สัปดาห/ ภาค

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศึกษา วิเคราะห สงั เกต สํารวจตรวจสอบ อภิปรายเกย่ี วกับธรรมชาตแิ ละสมบัติของคลื่นเสียง การ
เกิดบตี ส และคลืน่ นงิ่ ของเสียง การส่ันพองของเสยี ง ปรากฏการณด อปเพลอรและคล่ืนกระแทกสืบคนขอ มูล
และอภปิ รายเกีย่ วกับความเขมเสียงและระดบั ความเขม เสียงการไดย ินระดับเสียง คณุ ภาพของเสียง มลภาวะ
ของเสียงและการนาํ ความรูไปใชประโยชน

อธบิ ายสมบัติของแสง เชน การแรกสอด การเลย้ี วเบน คาํ นวณหาปริมาณที่เก่ยี วขอ งกบั สมบตั ิของ
แสง การกระจายของแสง การกระเจงิ แสง และการนําความรไู ปอธบิ ายปรากฏการณทางธรรมชาตบิ างอยา ง
อภิปรายความเขมของแสง ความสวางและคํานวณปริมาณทเี่ ก่ียวของ ทดลองและอภิปรายเกีย่ วกับการเกดิ
ภาพจากกระจกเลนสและจากทศั นอุปกรณ รวมท้งั คาํ นวณปรมิ าณทเ่ี ก่ียวของ และนําความรูไปใชประโยชน
อยา งถูกตองและมีคุณธรรม

ผลการเรยี นรู
๑.สํารวจตรวจสอบ อภิปรายเกีย่ วกับคล่ืนเสียง
๒.สาํ รวจตรวจสอบ อภิปรายเกีย่ วกับธรรมชาตแิ ละสมบัติของคล่นื เสยี ง
๓.สํารวจตรวจสอบ เกย่ี วกับการเกดิ บตี สแ ละคลน่ื น่งิ ของเสียง
๔.สาํ รวจตรวจสอบอภปิ รายเก่ียวกับการสน่ั พองของเสียงปรากฏการณด อปเพลอรแ ละคล่ืนกระแทก
๕.สบื คน ขอมลู และอภปิ รายเก่ียวกบั ความเขม เสียงและระดับความเขมเสยี ง
๖.สบื คน ขอ มลู และอภปิ รายเกีย่ วกับการไดย ิน ระดับเสยี ง คุณภาพของเสยี ง
๗.สืบคน ขอ มลู สาํ รวจตรวจสอบและอภปิ รายเกีย่ วกับ มลภาวะของเสยี งและการนําความรไู ปใช

ประโยชน
๘.สํารวจตรวจสอบ อภิปรายเก่ยี วกบั สมบัติของแสง เชน การแรกสอด การเลย้ี วเบน
๙.คํานวณหาปริมาณทเี่ ก่ียวของกับสมบัติของแสง
๑๐.สบื คน ขอมูล สาํ รวจตรวจสอบการกระจายของแสง การกระเจิงแสง และการนาํ ความรูไ ปอธิบาย

ปรากฏการณทางธรรมชาติบางอยางได
๑๑.สาํ รวจตรวจสอบ อภปิ รายความเขมของแสง ความสวา งและคาํ นวณปริมาณทเ่ี ก่ียวของ
๑๒.ทดลองและอภปิ รายเกย่ี วกับการเกิดภาพจากกระจกเลนสแ ละจากทัศนอปุ กรณ รวมท้ังคาํ นวณ

ปริมาณทเ่ี กี่ยวของ
รวม 12 ผลการเรียนรู

53

ว๓๓๒๐๔ ฟส กิ ส ๔ (เพิ่มเตมิ ) รายวชิ าวทิ ยาศาสตรเพิม่ เตมิ ๑.๕ หนวยกิต
ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรยี นที่ ๑
๓ ช่วั โมง/สัปดาห/ ภาค

คําอธิบายรายวิชา

ศกึ ษา วิเคราะห สังเกต สํารวจตรวจสอบ และอธบิ ายไฟฟาสถิต ไฟฟากระแสตรง ไฟฟาแมเหล็ก
ไฟฟากระแสสลับ ความสัมพันธระหวางมวล แรง การเคลื่อนที่ของอนุภาค หรือวัตถุในสนามไฟฟา
สนามแมเหล็ก เพ่ือสืบเสาะหาความรู สํารวจตรวจสอบการสืบคนขอมูล และการอภิปราย เพ่ือใหความรู
ความเขาใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรูมีความสามารถในการตัดสินใจนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิต
วิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรมและคา นิยมทเ่ี หมาะสม

ผลการเรยี นรู
๑.สบื คน ขอมูลสํารวจตรวจสอบ อภิปรายเก่ยี วกบั ไฟฟาสถิต
๒.สบื คน ขอ มูลสํารวจตรวจสอบ อภิปรายเกีย่ วกบั ไฟฟากระแสตรง
๓.สืบคนขอมูลสาํ รวจตรวจสอบ อภปิ รายเกย่ี วกับไฟฟาแมเหลก็
๔.สืบคนขอมูลสํารวจตรวจสอบ อภิปรายเกย่ี วกบั ไฟฟา กระแสสลบั
๕.สบื คนขอ มูลสํารวจตรวจสอบ อธิบายความสัมพันธร ะหวางมวล แรง การเคลื่อนที่ของอนภุ าค หรือ

วัตถใุ นสนามไฟฟา และสนามแมเหลก็
๖.สามารถสอื่ สารสง่ิ ท่เี รยี นรูมีความสามารถในการตดั สนิ ใจนําความรูไ ปใชในชีวติ ประจําวันได
๗.มีจิตวทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม

รวม 7 ผลการเรียนรู

54

ว๓๓๒๐๕ ฟส ิกส 5 (เพ่ิมเติม) รายวิชาวทิ ยาศาสตรเพิ่มเติม ๑.๕ หนวยกิต
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๖ ภาคเรียนที่ ๒
๓ ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ศกึ ษา วิเคราะห สังเกต สํารวจตรวจสอบ และอธิบายเก่ียวกับคลนื่ แมเหล็กไฟฟา ฟสิกสอะตอม
ฟสกิ สน ิวเคลียร ปฏกิ ิริยานิวเคลียร และการเกดิ กัมมนั ตภาพรังสี เพื่อสืบเสาะหาความรู การสาํ รวจตรวจสอบ
การสืบคนขอมลู และการอภิปราย เพ่ือใหเ กดิ ความรู ความเขาใจ สามารถส่ือสารส่งิ ที่เรียนรู มคี วามสามารถใน
การตัดสินใจนาํ ความรูไ ปใชในชวี ิตประจําวนั มจี ติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคา นิยมทเี่ หมาะสม

ผลการเรียนรู
๑. สืบคนขอมลู สาํ รวจตรวจสอบ อธิบายเก่ียวกับคลน่ื แมเ หลก็ ไฟฟา
๒. สืบคน ขอมูลสาํ รวจตรวจสอบ อภิปรายเก่ยี วกับฟสกิ สอ ะตอม
๓. สืบคน ขอ มลู สํารวจตรวจสอบ อภปิ รายเก่ียวกับฟสกิ สนิวเคลียร
๔. สบื คนขอมลู สํารวจตรวจสอบ อธิบายเกี่ยวกับ การเกิดกมั มนั ตภาพรังสี
๕. สามารถสอื่ สารสง่ิ ทีเ่ รยี นรูมคี วามสามารถในการตัดสินใจนาํ ความรไู ปใชใ นชวี ติ ประจําวันได
๖. มจี ิตวทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคา นิยมทเี่ หมาะสม

รวม 6 ผลการเรียนรู

55

ว๓๑๒๒๑ เคมี ๑ รายวชิ าวิทยาศาสตรเพ่ิมเติม ๑.๕ หนว ยกติ
ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๒
๓ ช่ัวโมง/สัปดาห/ ภาค

คําอธิบายรายวชิ า

ศกึ ษาและทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ผลของความเขมขน พื้นทีผ่ ิว อุณหภูมิ ตวั เรง และตวั
ยับยง้ั ปฏิกิริยาตออัตราการเกิดปฏกิ ิริยา เคมีศกึ ษาพลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยา การใชทฤษฏีจลน
อธิบายผลของปจ จยั ตา งๆ ทม่ี ตี ออตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี

ศึกษาสูตรเคมี ฝกคํานวณหาสูตรอยางงาย และสูตรโมเลกุล ศึกษาองคประกอบและสมบัติของ
สารละลาย หนวยของความเขมขน และทดลองเตรียมสารละลาย ศึกษาและทดลองปฏิกิริยาเคมีของกาซตาม
กฎของเกยล ุสแซก และ อาโวกาโดร ศกึ ษาและฝกคํานวณหาปริมาณของสารในสมการเคมี

ศึกษาแหลงกําเนิดและองคประกอบของปโตรเลียม วิธีแยกน้ํามันและกาซธรรมชาติ กระบวนการ
ผลิตและประโยชนของผลติ ภัณฑปโตรเคมบี างชนิด ชนดิ และปฏิกิริยาของพอลิเมอร ศกึ ษาชนิด สมบัตแิ ละ
ประโยชนของพลาสติก เสนใย ยาง ซิลิโคน รวมท้ังมลพิษท่ีอาจเกิดขึ้น และแนวทางในการปองกัน ศึกษา
ความกา วหนาของผลติ ภณั ฑพ อลเิ มอรส ังเคราะห

มาตรฐานที่ ว 3.1 , ว 3.2

จํานวนผลการเรียนรู 10 ขอ

56

ว๓๒๒๒๒ เคมี ๒ รายวิชาวิทยาศาสตรเพิม่ เติม ๑.๕ หนวยกิต
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
๓ ช่วั โมง/สัปดาห/ภาค

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาและทดลองหาอัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี ผลของความเขมขน พน้ื ทผ่ี ิว อุณหภูมิ ตวั เรง และตวั
ยบั ยงั้ ปฏิกิริยาตออัตราการเกิดปฏกิ ิริยา เคมีศึกษาพลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยา การใชทฤษฏีจลน
อธิบายผลของปจ จัยตา งๆ ทีม่ ตี อ อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี

ศกึ ษาสถานะของสารกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ศึกษาและทดลองการแพรข องกาซ ทดลอง และ
ฝกคํานวณหาความสัมพันธของอุณหภูมิ ความดัน และปริมาตรของกาซ ศึกษาการระเหย การเดือดและ
ทดลองเปรียบเทียบความดันไอของของเหลว ศึกษาการหลอมเหลว การระเหิด การจัดเรียงอนุภาคของ
ของแข็งและทดลองเตรียมผลึกของสาร ศึกษาทฤษฎีจลนของกาซ และการนําไปใชอธิบายสมบัติตางๆ ของ
สารทัง้ ๓ สถานะ เทคโนโลยี ทเ่ี กยี่ วของกับกบั กาซ ของเหลว และ ของแข็ง

ศึกษาสูตรเคมี ฝกคํานวณหาสูตรอยางงาย และ สูตรโมเลกุล ศึกษาองคประกอบและสมบัติของ
สารละลาย หนวยของความเขมขน และทดลองเตรียมสารละลาย ศึกษาและทดลองปฏิกิริยาเคมีของกาซตาม
กฎของเกยล ุสแซก และ อาโวกาโดร ศกึ ษาและฝกคํานวณหาปรมิ าณของสารในสมการเคมี

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจ ตรวจสอบ การสืบคน ขอมูล
และผลการอภปิ รายเพ่ือใหเกดิ ความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู มีความสามารถในการ
ตดั สินใจ นาํ ความรไู ปใชในชวี ติ ประจาํ วัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานยิ มท่ีเหมาะสม

มาตรฐานท่ี ว 3.2

จาํ นวนผลการเรยี นรู 8 ขอ

57

ว๓๒๒๒๓ เคมี ๓ รายวิชาวทิ ยาศาสตรเพ่มิ เติม ๑.๕ หนว ยกิต
ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๒
๓ ช่ัวโมง/สัปดาห/ ภาค

คําอธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาชนิดของพันธะระหวางคารบอน สูตรเคมี ไอโซเมอรของสารประกอบไฮโดรคารบอน และ
ทดลองการจัดตวั ของคารบอนในสารประกอบ ศึกษาและทดลองสมบัติของสารประกอบไฮโดรคารบ อน แบบ
สายตรง แบบวงแหวน อะโรมาติก มลพิษที่อาจเกิดขึ้นและการแกไข ศึกษาหมูฟงกชัน สูตรเคมี ของสาร
ประกอบคารบอน ศึกษาและทดลอง สมบัติ ปฏิกิรยิ าของแอลกอฮอล อัลดีไฮด คีโตน กรดอินทรีย เอสเทอร
เอไมด และเอมนี

ศึกษาความสําคัญของอาหารตอชีวติ และสุขภาพ อาหารกับสารชีวโมเลกุล ซึ่งไดแกไขมันและน้ํามัน
โปรตีน คารโบไฮเดรต ศึกษาองคประกอบ โครงสราง แหลงท่ีเกิดในธรรมชาติของสารชีวโมเลกุล ศกึ ษาและ
ทดลองสมบัติ ปฏิกิริยาเคมีบางประเภทของไขมัน และนํ้ามัน โปรตีน คารโบไฮเดรต ศึกษาสมบัติและการ
ทาํ งานของเอมไซม ความกา วหนา ทางเทคโนโลยที เี่ กยี่ วของกบั สารชีวโมเลกุล

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจ ตรวจสอบ การสืบคน ขอมูล
และผลการอภปิ รายเพ่ือใหเกดิ ความรู ความคดิ ความเขาใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู มีความสามารถในการ
ตัดสนิ ใจ นาํ ความรูไปใชในชวี ติ ประจาํ วนั มจี ติ วิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา นยิ มท่ีเหมาะสม

มาตรฐานท่ี ว 3.1 , ว 3.2 , ว 8.1

จาํ นวนผลการเรียนรู 12 ขอ

58

ว๓๓๒๒๔ เคมี ๔ รายวิชาวิทยาศาสตรเพม่ิ เตมิ ๑.๕ หนวยกติ
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ ๖ ภาคเรยี นที่ ๑
๓ ช่ัวโมง/สัปดาห/ภาค

คําอธิบายรายวชิ า

ศึกษาวิเคราะหความหมายของสารอินทรีย การสรา งพันธะคารบอนในสารประกอบคารบอน การ
เขียนสูตรโครงสรางแบบเสน แบบยอ ของสารประกอบคารบอน ประเภทของสารประกอบคารบอน เชน
ไฮโดรคารบ อน แอลกอฮอล อีเทอร กรดอินทรียเอสเทอร แอลดีไฮด คโี ตน เอมีน เอไมต แอลคิสเฮไลด
อะโรมาติก โดยท่ีแตละประเภทจะมีโครงสรางโมเลกุล สมบัติทั้งทางเคมีและกายภาพ การเกิดปฏิกิริยา
รวมถึงการนําไปใชประโยชนแตกตางกัน ศึกษาเกี่ยวกับพอลิเมอร ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน การจัดประเภท
พอลิเมอร โครงสรางและสมบัตพิ อลเิ มอร ผลิตภัณฑพอลิเมอร เชน พลาสติก เสน ใย ยาง การนําพอลเิ มอร
ไปใชประโยชน รวมทั้งผลเสียที่เกิดจากพอลิเมอรดวย ศึกษาเก่ียวกับสารชีวโมเลกุล ไดแกคารโบไฮเดรต
ไขมันและน้ํามัน โปรตีน กรดนิวคลีอิก เอนไซมและฮอรโมน ซ่ึงเปนสารที่มีความสําคัญตอการดํารงชีวิต
สารแตละชนิดมีสมบัติโครงสราง และการเกิดปฏิกิริยาที่แตกตา งกัน ศึกษาเกี่ยวกับธาตุและสารประกอบใน
อุตสาหกรรมตางๆ ไดแกอุตสาหกรรมแร อุตสาหกรรมเซรามิกส อุตสาหกรรมการผลิตและการใชประโยชน
จากโซเดยี มคลอไรด และอุตสาหกรรมปุย ในแงการผลติ ประโยชนและโทษจากอุตสาหกรรมนน้ั ๆ

มาตรฐานที่ ว 3.1 , ว 3.2 , ว 8.1
จํานวนผลการเรียนรู 15 ขอ

59

ว๓๓๒๒๕ เคมี ๕ รายวิชาวทิ ยาศาสตรเพ่มิ เตมิ ๑.๕ หนวยกติ
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
๓ ชว่ั โมง/สัปดาห/ ภาค

คาํ อธบิ ายรายวิชา

ศึกษาปฏิกิริยาท่ีเกิดจากการถายโอนอิเล็กตรอนระหวางโลหะกับโลหะไอออนในสารละลายเพื่อ
นําไปสูการอธิบายความหมายของปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน ปฏิกิริยารีดอกซ ตัวรีดิวซและ
ตัวออกซิไดสท้ังในดานการถายโอนอิเลคตรอนและการเปล่ียนแปลงเลขออกซิเดชัน รวมท้ังการดุลสมการ
รีดอกซ โดยการใชเลขออกซิเดชัน ศึกษาสวนประกอบหลักการทํางานและปฏิกิริยาที่เกิดในเซลลกัลวานิก
การเขียนแผนภาพเซลลกลั วานกิ การวัดศกั ยไฟฟาของเซลลก ัลวานิก การหาคา ตางศักยไฟฟามาตรฐานของ
ครึ่งเซลล การใชคาศักยไฟฟาของเซลลทํานายทิศทางการเกิดปฏิกิริยาศึกษาเซลลกัลวานิก ชนิดปฐมภูมแิ ละ
ทุติยภูมิ ไดแกถานไฟฉายเซลลเลคาไลน เซลลปรอท เซลลเงนิ เซลลนเิ กิล-แคดเมียม เซลลสะสมไฟฟาแบบ
ตะกั่ว ศึกษาสวนประกอบและหลักการทาํ งานรวมทงั้ ปฏิกิริยาทเี่ กิดขึน้ ในเซลลอีเลคโทรไลตมาใชใ นการแยก
สารละลายดว ยกระแสไฟฟา การชุบโลหะและการทาํ โลหะใหบริสุทธิ์ การผลิตโลหะอลูมิเนียม และโลหะแมก
นีเชียม ศึกษาการผุกรอนของโลหะและวิธปี องกัน ความกาวหนาทางเทคโนโลยเี ก่ียวของกับเซลลไฟฟา เชน
การทาํ อเิ ล็กโทรไดอะลิสน้ําทะเล การผลิตกระแสไฟฟา จากเซลลเชอื้ เพลงิ และแบตเตอรีอิเล็กโทรไลตแ ข็ง

มาตรฐานท่ี ว 3.1 , ว 3.2 , ว 8.1

จาํ นวนผลการเรยี นรู 17 ขอ

60

ว๓๑๒๔๑ ชีววิทยา 1 รายวิชาวทิ ยาศาสตรเพิม่ เติม ๑.๕ หนวยกติ
ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ ๔ ภาคเรียนท่ี 2
๓ ชั่วโมง/สัปดาห/ ภาค

คาํ อธบิ ายรายวิชา

ศกึ ษา การยอ ยอาหารของจุลนิ ทรียและส่ิงมชี ีวติ เซลลเดยี ว การยอยอาหารของสัตวการยอยอาหาร
ของคน การสลายสารอาหารระดับเซลล ไดแ ก การสลายโมเลกลุ ของสารอาหารแบบใชออกซิเจน การ
สลายโมเลกลุ ของสารแบบไมใชออกซิเจน ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพ ระบบขับถา ยกับการรักษาดลุ ย
ภาพของรางกาย การขับถายของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว การขับถายของสัตว การขับถายของคน คนมีไตและ
ผิวหนังเปนอวัยวะขับถายที่ทําหนาท่ีเกี่ยวกับการขับถายและการรักษาสมดุลของสารในรางกาย ระบบ
หมุนเวยี นเลอื ดกับการรักษาดุลยภาพของรา งกาย การลําเลียงสารในรางกายของสงิ่ มชีวิตเซลลเ ดียวและของ
สัตวการเลียงสารในรางกายของคน ระบบหมุนเวียนเลือดของคน หมูเลือดระบบ ABO ระบบ Rh ระบบ
น้ําเหลอื งกลไกการสรา งภูมคิ ุมกนั

เพ่ืออธิบาย อภิปราย วิเคราะหเนื้อหาสาระตาง สามารถสืบคนขอมูล นําความรูไปใชประโยชนใน
ชีวติ ประจําวัน วางแผน และดําเนนิ การ นําเสนอแนวทางการปฏิบัติ มีจิตวิทยาศาสตร

มาตรฐานที่ ว 1.1 , ว 1.2 , ว 2.2 , ว 2.2

จาํ นวนผลการเรยี นรู 5 ขอ

61

ว๓๒๒๔๒ ชวี วิทยา 2 รายวชิ าวทิ ยาศาสตรเพิม่ เตมิ ๑.๕ หนวยกิต
ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑
๓ ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค

คําอธิบายรายวชิ า

ศึกษาโครงสรา งและการทํางานของอวยั วะท่ีใชใ นการเคล่ือนไหวของสตั วม ีกระดูกสันหลงั และไมมี
กระดูกสันหลงั และโพรทสิ ต การทํางานของเสนใยประสาท รา งแหประสาท ปมประสาท เซลลป ระสาท การ
เคล่อื นท่ีของกระแสประสาทโครงสรางการทาํ งานของสมอง ไขสนั หลัง ระบบประสาท และอวยั ะรับสมั ผัส
ศึกษาชนิดของฮอรโ มนจากตอ มไรท อ ตอ มมีทอ การทาํ งานของฮอรโ มน กลไกการควบคมุ การหล่ังฮอรโมน ฟ
โรโมน การใชป ระโยชนข องฮอรโมนในทางเกษตร

ศกึ ษาการสบื พนั ธขุ องคน การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต กระบวนการสรางการเจรญิ เตบิ โต ศกึ ษา
รปู แบบและตวั อยา งพฤติกรรมทม่ี มี าแตก ําเนิด และพฤตกิ รรมการเรยี นรูของคน สัตว ศึกษาและปฎบิ ตั กิ าร
เก่ียวกับพฤตกิ รรมการตอบสนองตอส่ิงเรา ของสัตวช น้ั ต่ํา และโพรทสี ต การแสดงพฤติกรรมและการสอื่ สารใน
กลมุ สตั วช นิดเดียวกัน ความสมั พันธร ะหวางระบบประสาท พันธุกรรม และสิ่งแวดลอมตอ การแสดงพฤติกรรม
มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู และจติ วทิ ยาศาสตร ส่ือสารสงิ่ ทเี่ รียนรู และนําความรไู ปใชประโยชน โดย
กระบวนการทางวิทยาศาสตร การสบื เสาะหาความรู การสาํ รวจ ตรวจสอบ การสบื คน ขอมลู และการอภิปราย
เพ่อื ใหเกิดความรู ความคดิ ความเขา ใจ สามารถสื่อสารส่งิ ท่ีเรยี นรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นาํ ความรูไป
ใชใ นชวี ติ ประจําวัน มจี ติ วิทยาศาสตร จรยิ ธรรม และคานยิ มท่ีเหมาะสม

มาตรฐานที่ ว 1.1 , ว 1.2 , ว 2.1 , ว 2.2

จาํ นวนผลการเรยี นรู 15 ขอ

62

ว๓๒๒๔๓ ชวี วิทยา 3 รายวชิ าวทิ ยาศาสตรเพม่ิ เตมิ ๑.๕ หนว ยกิต
ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ ๕ ภาคเรยี นท่ี ๒
๓ ชั่วโมง/สัปดาห/ ภาค

คาํ อธิบายรายวิชา

ศึกษาโครงสรา ง หนา ทีข่ องราก ลาํ ตน ใบ ดอก ผล ของพชื ดอก การลาํ เลียงนํ้า เกลือแร ศกึ ษา
ผลงานของนักวทิ ยาศาสตรในอดตี ทเ่ี ก่ยี วของกับการสงั เคราะหแสง ศึกษาปฎิกริ ยิ า ผลผลติ และทาํ ปฏบิ ัตกิ าร
การสงั เคราะหแ สง ปจ จัยทม่ี ีผลตอ การสังเคราะหแสง พืชC3 พชื C4 พชื CAM การปรบั ตัวของพืชเพื่อรบั แสง

การสบื พันธแุ บบอาศยั เพศของพืชดอก การสืบพันธแุ บบไมอาศัยเพศของพชื ดอก การงอก การเจริญเตบิ โตของ
พืช สารควบคุมการเจรญิ เตบิ โตของพชื การตอบสนองของพืชตอ ส่งิ แวดลอ ม

โดยใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคน ขอ มลู
และการอภิปรายเพ่ือใหเ กิดความรู ความคิด ความเขา ใจ สามารถสอ่ื สารสง่ิ ที่เรยี นรู มีความสามารถในการ
ตัดสนิ ใจ นาํ ความรูไ ปใชในชีวิตประจําวัน มจี ิตวทิ ยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคา นิยมท่ีเหมาะสม

มาตรฐานท่ี ว 1.1 , ว 1.2 , ว 2.1 , ว 2.2

จาํ นวนผลการเรยี นรู 13 ขอ

63

ว๓๓๒๔๔ ชวี วิทยา ๔ รายวชิ าวทิ ยาศาสตรเพิม่ เติม ๑.๕ หนว ยกติ
ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
๓ ชัว่ โมง/สัปดาห/ภาค

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศกึ ษา วิเคราะห และสืบคนขอมูลการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ตามหลักของเมนเดล ฝกทํา
กิจกรรมเกี่ยวกับสัดสวนของจีโนไทป ฟโนไทปของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะทาง
พนั ธุกรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับเพศ มัลตเิ ปลอัลลลี โปโลยีน โครงสรางและการทํางานของยีน มิวเทชัน ความรู
เรอ่ื งพันธุวศิ วกรรมและการนาํ ไปใช

สืบคนขอ มลู ผลของเทคโนโลยีชวี ภาพ ท่ีมีตอมนษุ ยแ ละสิ่งแวดลอมละนาํ ความรูไปใชประโยชน
สืบคนขอมูลกระบวนการคัดเลือกตามธรรมชาติ และผลของการคัดเลือกตามธรรมชาติตอความ
หลากหลายของส่งิ มชี วี ิต
เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชใน
ชวี ติ ประจาํ วนั มีจติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

มาตรฐานที่ ว 1.2

จํานวนผลการเรยี นรู 18 ขอ

64

ว๓๓๒๔๕ ชีววิทยา ๕ รายวชิ าวทิ ยาศาสตรเพิ่มเติม ๑.๕ หนวยกิต
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๒
๓ ชวั่ โมง/สัปดาห/ภาค

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศึกษา วิเคราะห และสืบคนขอมูลดุลยภาพของระบบนิเวศ กระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ
ส่ิงมีชีวิต ความสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และการเสนอแนะ แนวทางในการดูแลและรักษา
วิเคราะหส ภาพปญหาสาเหตุ ของปญหาส่งิ แวดลอ ม และทรพั ยากรธรรมชาติ ในระดับทองถ่ิน ระดับประเทศ
ระดบั โลก แนวทางในการปอ งกนั แกไขปญหาสง่ิ แวดลอมและทรพั ยากรธรรมชาติ วางแผนและดําเนินการเฝา
ระวงั อนรุ กั ษ และพฒั นาสิ่งแวดลอม และทรพั ยากรธรรมชาติ

เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชใน
ชีวติ ประจําวัน มจี ิตวทิ ยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคา นยิ มท่เี หมาะสม

มาตรฐานท่ี ว 1.2

จํานวนผลการเรยี นรู 22 ขอ

65

รายวชิ าวทิ ยาศาสตรเพม่ิ เติม ๑.๐ หนวยกิต
ภาคเรยี นท่ี ๑
ว30201 เทคนคิ ปฏิบตั กิ ารวิทย๑ ๒ ชวั่ โมง/สัปดาห/ภาค
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ ๔

คําอธบิ ายรายวชิ า

ศกึ ษากระบวนการแกปญหาและสืบคนขอมูลเกี่ยวกับเทคนิคปฏิบัติการพ้ืนฐานทางชีววิทยาเกี่ยวกับ
ระบบนเิ วศ เนื้อเย่อื พชื และสตั ว เทคนคิ ทางจุลชีววทิ ยาและเทคนิคการสกดั ดเี อน็ เอจากพชื

ศกึ ษาวิธีการแกปญหาทางเคมีเกี่ยวกับการวิเคราะหหาปริมาณของวิตามินซีในผักและผลไม สมบัติ
ของแรยิปซัมท่ีใชในอุตสาหกรรม ภาวะและปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก ผลของสารประกอบแฮไลดที่มีตอ
สุขภาพ

เพ่อื ฝกใหนักเรียนเปนผูใฝร ู มีความกระตือรอื รนในกระบวนการคนควา มีทกั ษะในการใชเครื่องมือที่
เกี่ยวของกับปฏิบัติการพื้นฐานทางชีววิทยาและเคมี มีจิตวิทยาศาสตร คุณธรรม จริยธรรมและคานิยมท่ีพึง
ประสงค

ผลการเรียนรู
๑. มคี วามรูเกย่ี วกบั วิธีการคนควาหาขอมูลในเรื่องท่สี นใจ รวมทั้งวธิ กี ารทดลองและเทคนคิ ท่ี

เก่ยี วของ
๒. มีทักษะในการใชว ัสดุอปุ กรณ เลอื กใชหรอื ดัดแปลงอปุ กรณแ ละวัสดทุ างชวี วิทยาเพ่ือใชในการ

ทดลองไดอ ยา งถูกตอ งเหมาะสม
๓. สามารถนําทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและความรทู างชีววทิ ยามาประยุกตใชแกปญ หา

พ้ืนฐานทางชีววิทยา
๔. มคี วามสามารถในการสืบเสาะหาความรแู ละมที กั ษะปฏบิ ัติการเบื้องตน ทางเคมี
๕. มคี วามรใู นเทคนิคการไทเทรตและสามารถปฏิบตั ิการการทดลอง วิเคราะหห าปริมาณวติ ามินซีใน

ผักและผลไม
๖. มีทกั ษะในการแกป ญ หาและสามารถแสวงหาความรูดว ยวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร
๗. มคี วามรแู ละความคดิ รเิ รม่ิ ในการสรา งสรรคผลงานทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
๘. มเี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตรแ ละความสามารถในการตัดสนิ ใจ

จาํ นวนผลการเรยี นรู ๘ ขอ

66

ว30202 โครงงานวิทย๑ รายวิชาวิทยาศาสตรเพิ่มเติม ๑.๐ หนวยกิต
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒
๒ ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค

คําอธิบายรายวิชา

ศกึ ษา สืบคน วิเคราะห อภิปราย และทดลอง เก่ียวกับเร่ืองท่ีสนใจจากแหลงเรียนรูตาง ๆ หรือภูมิ
ปญญาทองถิ่นนํามาจัดทาํ โครงงานวิทยาศาสตรประเภทสํารวจ ประเภททดลอง ประเภททฤษฎี และประเภท
ประดิษฐ หรือทั้งส่ีประเภท การเขียนเคาโครงของโครงงาน การวางแผนการทดลอง และดําเนินการตามตาม
เคาโครงการนําเสนอผลงานไดอยางเหมาะสม และสามารถวิเคราะหโครงงานวิทยาศาสตรอยางงายตาม
รูปแบบได

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ มที ักษะ/กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร เจตคติทางวทิ ยาศาสตร
สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ผานกิจกรรมการเรียนรูท่ีเนนกระบวนการทางวิทยาศาสตร
กระบวนการสืบเสาะหาความรู การทดลอง การปฏิบัติจริง การใชกระบวนการกลุมในการเรียนรู การใช
แหลงการเรียนรูและเทคโนโลยี การวัดและประเมินผลใชวิธีการท่ีหลากหลายตามสภาพจริงใหสอดคลองกับ
สาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค และความสามารถดานการอา น คดิ วเิ คราะห และเขียน ที่
ตอ งการวัด

ผลการเรยี นรู
๑. ใชท ักษะทางวทิ ยาศาสตรในการแสวงหาความรูเ บ้ืองตน ได
๒. อธิบาย นาํ เสนอวิธกี ารแกปญ หาจากสถานการณท่ีกาํ หนดใหด ว ยวิธีการทางวทิ ยาศาสตร
๓. ใชเครื่องมือพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตรและวิธีการทางวิทยาศาสตรแกปญหาที่กําหนดใหไดถูกตอง

เหมาะสมตามขั้นตอนและปลอดภยั
๔. คดิ และเลือกเร่อื งโครงงานไดอยา งเหมาะสม
๕. ศึกษาปญหาทางวทิ ยาศาสตรที่ตนเองสนใจโดยใชก ระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท ่ีเหมาะสม
๖. ทําโครงงานโดยอาศัยทักษะทางวทิ ยาศาสตรไ ดเหมาะสม

จํานวนผลการเรียนรู ๖ ขอ

67

รายวิชาวิทยาศาสตรเพิม่ เติม ๑.๐ หนวยกิต
ภาคเรียนท่ี ๑
ว30203 เทคนิคปฏบิ ัติการวิทย๒ ๒ ช่วั โมง/สัปดาห/ ภาค
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕

คาํ อธิบายรายวิชา

ฝกกระบวนการคิดและการทดลองแกปญหาทางฟสิกสเกี่ยวกับการวัดระยะทาง เวลา อุณหภูมิ ใน
ระดบั ขนาดท่ีแตกตางกันจากการใชในชีวิตประจําวัน การวัดปริมาณทางไฟฟา ความผิดพลาดและขอบเขต
ของการวัด

ศกึ ษาวิธกี ารและลงมือปฏิบัติการ คน ควาความรูท่ีตองการผานเครือขายคอมพิวเตอร ศึกษาการวัด
และประมวลผลขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับวงจรควบคุม การเขียน
โปรแกรม

เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจที่เก่ียวของกับปฏิบัติการพื้นฐานทางฟสิกส เพ่ิมทักษะความชํานาญ
และความรูในการใชโปรแกรมสําเร็จรูปดวยตนเองผานตัวชวยเหลือในโปรแกรมคอมพิวเตอร และใชวงจร
ควบคุมรวมกับโปรแกรมคอมพิวเตอรในการอานคา และประมวลผลขอมูลในการทาํ โครงงาน การทดลองตาง
ๆ และมจี ติ วิทยาศาสตร คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา นยิ มทีพ่ งึ ประสงค

ผลการเรยี นรู
๑. มคี วามรูและความเขาใจหลักการเบือ้ งตน เกย่ี วกบั การวัด
๒. มีทกั ษะในการใชเคร่อื งมือวัดตาง ๆ
๓. มีความละเอยี ดรอบคอบและระมดั ระวงั ในการใชเคร่ืองมอื วัด
๔. ปฏิบัตกิ าร คนควาความรูท ตี่ อ งการผา นเครือขายคอมพิวเตอร
๕. ประกอบเครื่องคอมพวิ เตอรแ ละแกไขปญหาเบ้ืองตน
๖. ใชโ ปรแกรมสําเร็จดวยตนเองผานตัวชวยเหลือในโปรแกรมคอมพวิ เตอรต า ง ๆ
๗. ใชวงจรควบคุมในการวัดผลและการประมวลผลขอมลู ดวยโปรแกรมคอมพวิ เตอร
๘. ออกแบบและทําการทดลองเล็ก ๆ ทีใ่ ชวงจรควบคุมรวมกับโปรแกรมคอมพิวเตอรใ นการอา นคา

และประมวลผลขอมลู

จาํ นวนผลการเรียนรู ๘ ขอ

ว30204 โครงงานวทิ ย๒ 68 ๑.๐ หนวยกิต
ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรียนที่ ๒
รายวชิ าวทิ ยาศาสตรเพ่มิ เตมิ

๒ ชัว่ โมง/สัปดาห/ ภาค

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศกึ ษา สืบคน วิเคราะห อภิปราย และทดลอง เกี่ยวกับเร่อื งท่ีสนใจจากแหลงเรียนรูตาง ๆ หรือภูมิ
ปญญาทองถิ่นนํามาจัดทําโครงงานวิทยาศาสตรป ระเภทตา ง ๆ ศึกษาบทบาทหนาที่ของสมาชิกกลุมโครงงาน
วิทยาศาสตร เรียนรูการปฏิบัติงานรวมกันเปนกลุม การวางแผนเพ่ือศึกษาตามขั้นตอนกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร การออกแบบการทดลองที่เหมาะสมกับโครงงาน การเก็บขอมูลเพ่ือนํามาวิเคราะหขอมูล สรุป
และการเขียนรายงานผลการปฏบิ ัตใิ นรูปแบบรายงาน 5 บท นาํ เสนอผลรายงานกลมุ เพื่อเผยแพรแกผูท่สี นใจ

เพื่อใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ มีทักษะ/กระบวนการทางวิทยาศาสตรและเจตคติทาง
วทิ ยาศาสตร เห็นคุณคาของวิทยาศาสตร สามารถนาํ ไปประยกุ ตใชในชวี ติ ประจําวัน ผา นกจิ กรรมการเรียนรูท่ี
เนนกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู การทดลอง การปฏิบัติจริง การใช
กระบวนการกลุมในการเรียนรู การใชแหลงการเรียนรูและเทคโนโลยี การวัดและประเมินผลใชวิธีการที่
หลากหลายตามสภาพจริงใหสอดคลองกับสาระ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค และ
ความสามารถดานการอา น คิดวิเคราะห และเขยี น ท่ตี อ งการวัด

ผลการเรยี นรู
๑. ดาํ เนินการทาํ โครงงานวิทยาศาสตร ตามแผนการปฏบิ ัติงาน
๒. เขียนรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร
๓. เสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตรในโรงเรยี น หรอื ชุมชน

จํานวนผลการเรยี นรู ๓ ขอ

69

รายวชิ าวทิ ยาศาสตรเพม่ิ เติม ๑.๐ หนว ยกิต
ภาคเรียนที่ ๑
ว30205 ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั เบื้องตน ๒ ชว่ั โมง/สัปดาห/ ภาค
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๖

คําอธบิ ายรายวิชา

ศึกษาผลงานวิจัยดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี จากแหลงเรียนรู
โดยมีการสืบคนขอมูล วิเคราะห นําเสนอ อภิปรายและสรุปผล ศึกษาสถิติเพื่อการวิจัย รูปแบบการเขียน
งานวจิ ยั เขียนเคาโครงงานวจิ ยั และนาํ เสนอเคาโครงงานวิจยั

เพ่ือใหเกิดการเรียนรูกระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตร จากความรูความเขาใจในงานวิจัยที่ศึกษา
ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู มีคุณสมบัติและจรรยาบรรณของนักวิทยาศาสตร มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจิต
วิทยาศาสตร คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา นิยมทพ่ี งึ ประสงค

ผลการเรยี นรู
๑. อธบิ ายระเบียบวิธวี จิ ยั
๒. สืบคนขอ มูลงานวิจัยทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตรแ ละเทคโนโลยี
๓. เขียนและนําเสนอเคา โครงงานวิจัยของตนเองในสาขาท่ีสนใจ

จาํ นวนผลการเรยี นรู ๓ ขอ

70

ว30206 โครงงานวิทย( พิเศษ) รายวิชาวทิ ยาศาสตร ๑.๐ หนว ยกิต
ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี ๖ ภาคเรียนที่ ๒
๒ ช่วั โมง/สัปดาห/ ภาค

คําอธบิ ายรายวชิ า

ศึกษา สืบคน วิเคราะห อภิปราย และทดลอง เก่ียวกับเรื่องที่สนใจจากแหลงเรียนรูตางๆ หรือภูมิ
ปญญาทองถิ่นนํามาจดั ทําผลงานวิจัยทางดา นวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี ประเภทตาง ๆ ศึกษา
บทบาทหนาที่ของสมาชิกในกลุม เรียนรูการปฏิบัติงานตามแผน วางแผนเพ่ือศึกษาตามขั้นตอนกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร การออกแบบการทดลองท่ีเหมาะสมกับโครงงาน การเก็บขอมูลเพ่ือนํามาวิเคราะหขอมูล
สรปุ และการเขียนรายงานผลการปฏิบัติในรูปแบบรายงาน 5 บท นําเสนอผลรายงานโครงงานวิทยาศาสตรใน
โรงเรยี นหรือชมุ ชน เพือ่ เผยแพรแกผ ทู ส่ี นใจ

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ มีทักษะ/กระบวนการทางวิทยาศาสตรและเจตคติทาง
วทิ ยาศาสตร เห็นคณุ คา ของวิทยาศาสตร สามารถนําไปประยุกตใ ชในชีวิตประจาํ วนั

ผลการเรยี นรู
๑. ดําเนินการทําโครงงานวิทยาศาสตร ตามแผนการปฏบิ ัตงิ าน
๒. เขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร ตามระเบียบวิจยั
๓. นาํ เสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตรในโรงเรยี น หรอื ชุมชน

จาํ นวนผลการเรียนรู ๓ ขอ

กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

โครงสรา งรายวิชากลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนมว งสามสิบอมั พวนั วทิ ยา

วชิ าพ้นื ฐาน เรียนวิชาพนื้ ฐานในกลุมสาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จํานวน 9.๐
หนวยกิต ไดแก รายวิชาดังตอ ไปนี้

รหสั วชิ า รายวิชา หนวยกติ ชั่วโมง
ส3๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ๑ ๑.0 40
ส3๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ ๑.0 40
ส3๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ๑.0 40
ส3๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ ๑.0 40
ส3๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ๕ ๑.0 40
ส๓3๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ ๑.0 40

72

คําอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

กลุมสาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑

ส๓๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา1 ๒ ชัว่ โมง/สปั ดาห/ภาค ๑.๐ หนวยกิต

คําอธบิ ายรายวิชา

อธิบาย และวิเคราะหลักษณะของสังคมชมพูทวีปและคติความเช่ือทางศาสนา สมัยพระพุทธเจา
พุทธประวัติ ดา นการตรัสรู การกอต้ัง การเผยแผ การบริหาร การธํารงรักษาศาสนา ทฤษฎีและวิธีการสากล
ขอปฏิการบัติทางสายกลาง การพัฒนาศรัทธาและปญญาที่ถูกตอง ประวัติสาวก และศาสนิกชนตัวอยาง
ตลอดจนวิเคราะหคุณคา ของพระไตรปฎ กและชาดกเพื่อนาํ ขอคิดไปใชใ นการดําเนนิ ชีวิตประจําวนั หลักธรรม
ที่เกี่ยวกับวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาและเทศกาลสําคัญ การปฏิบัติตนตามหลักธรรมและประเพณี
พธิ กี รรมตามวนั สาํ คัญของศาสนา การปฏบิ ัตติ นในฐานะเปน พทุ ธศาสนิกชน ศกึ ษา กฎหมายท่เี กี่ยวของกับ
ตนเอง ครอบครวั ชุมชน และประเทศชาติ ความสําคัญของโครงสรางทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และ
การเปล่ียนแปลงทางสังคม การปฏิบัติตนและสงเสริมสนับสนุนใหผูอื่นปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีของ
ประเทศชาติ วิเคราะหความจําเปนท่ีตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษวัฒนธรรมไทยและเลือกรับ
วฒั นธรรมสากล

เพ่ืออธิบาย วิเคราะห เนื้อหาสาระตาง ๆ สามารถปฏิบัติตนตามไดอยางถูกตองและเหมาะสม
เหน็ คณุ คา ของการนาํ ความรูไปพฒั นาตนเองในชีวติ ประจําวัน

ตัวชว้ี ดั
ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๒, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๓, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๔, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๕,
ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๔, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๕, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๖, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๒๐,
ส ๑.๑ ม.๔-๖/๒๑, ส ๑.๒ ม.๔-๖/๑, ส ๑.๒ ม.๔-๖/๒, ส ๑.๒ ม.๔-๖/๓,
ส ๑.๒ ม.๔-๖/๔,ส ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ส ๒.๑ ม.๔-๖/๒, ส ๒.๑ ม.๔-๖/๓, ส ๒.๑ ม.๔-๖/๕

รวม 18 ตัวช้วี ดั

73

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน

กลุมสาระการเรียนรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๔ ภาคเรียนที่ 2

ส๓๑๑๐๒ สงั คมศึกษา2 ๒ ชวั่ โมง/สัปดาห/ภาค ๑.๐ หนวยกติ

คําอธิบายรายวชิ า

ศึกษา อธิบาย วิเคราะหระบบเศรษฐกิจของโลก ผลดีและผลเสียของระบบเศรษฐกิจ ปจจัยท่ี

เก่ียวของกับการกําหนดอัตราคาจาง กฎหมายที่เกี่ยวกับอัตราคาจางแรงงาน ความหมายและประเภทของ

ตลาด ขอดีขอเสียของตลาด ตระหนักถึงความสําคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีตอเศรษฐกิจ สังคมของ

และระบบสหกรณในการพัฒนาและแกไ ขปญ หาทางเศรษฐกิจชุมชนและประเทศไทย ตลอดจนการเสนอแนว

ทางการแกไ ข
ศึกษา การใชเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรในการสืบคนขอมูล เพื่อวิเคราะหอิทธิพลของลักษณะทาง

กายภาพทีท่ ําใหเกิดปญหาการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติหรอื ภัยพบิ ัติของประเทศไทย วิเคราะหสถานการณ
และวิกฤติการณดานทรัพยากรและส่ิงแวดลอมของประเทศไทย บอกบทบาทขององคการตาง ๆ และการ
ประสานความรวมมือ ในการปองกันและแกไขปญหา ตลอดจนระบุแนวทางการอนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดลอ มในประเทศไทย

เพ่ืออธิบาย วิเคราะหเ นื้อหาตาง ๆ และสามารถนําไปใชใ นการปฏิบัติตน ไดอยางถูกตองเหมาะสม
และเห็นคุณคา ความสําคัญ

ตัวชีว้ ดั
ส ๓.๑ ม ๔-๖/๑, ส ๓.๑ ม ๔-๖/๒, ส ๓.๑ ม ๔-๖/๓, ส ๓.๑ ม ๔-๖/๔
ส ๕.๑ ม ๔-๖/๑, ส ๕.๑ ม ๔-๖/๒, ส ๕.๑ ม ๔-๖/๓
ส ๕.๒ ม ๔-๖/๑, ส ๕.๒ ม ๔-๖/๒, ส ๕.๒ ม ๔-๖/๓

รวม 10 ตัวช้ีวัด

74

คําอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน

กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 5 ภาคเรยี นที่ ๑

ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา3 ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห/ภาค ๑.๐ หนวยกิต

คาํ อธิบายรายวิชา

ศึกษาลักษณะประชาธิปไตยพระพุทธศาสนา หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตรและ
วิธกี ารคดิ ตามแนวพระพุทธศาสนาตามเหตปุ จจัยกับวิธกี ารแกปญ หาประวัตสิ าวกและศาสนิกชนตัวอยางและชาดก
เพ่ือนําขอคิดไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวนั หลักธรรมท่ีเกี่ยวกับวันสําคญั ทางพระพุทธศาสนาและเทศกาลสําคัญ
การปฏิบัติตนตามหลักธรรมและประเพณี พิธีกรรมตามวันสําคัญของศาสนา การปฏิบัติตนในฐานะเปน
พุทธศาสนิกชน การฝกปฏิบัติพัฒนาจิตและเจริญปญญา การสัมมนาและเสนอแนวทางในการธํารงรักษาศาสนา
เพื่อแกป ญหาและพัฒนาตนเองและสังคม

ศึกษา วิเคราะหบทบัญญัติของกฎหมายรัฐธรรมไทยแหงราชอาณาจักรไทย แนวคิดและ หลักการ
ของสิทธิมนุษยชน ปญหาสิทธิมนุษยชนและการแกปญหาและพัฒนา วิเคราะหความสําคญั และความจําเปนท่ีตอง
ธํารงรักษาไวซ่ึงการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ตลอดจนการความ
รว มมอื ประสานประโยชนระหวางประเทศของไทย

เพือ่ อธิบาย วเิ คราะหเนื้อหาสาระตา งๆ สามารถปฏิบัติตนไดอยางถูกตองเหมาะสม เห็นคณุ คาของการ
นาํ ความรูไ ปพัฒนาตนเองในชีวติ ประจาํ วัน

ตัวชีว้ ัด
ส ๑.๑ ม.๔-๖/๖, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๗, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๙, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๔,
ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๕, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๖, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๙, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๒๐,
ส ๑.๑ ม.๔-๖/๒๑,ส ๑.๒ ม.๔-๖/๑, ส ๑.๒ ม.๔-๖/๒, ส ๑.๒ ม.๔-๖/๓,
ส ๑.๒ ม.๔-๖/๔, ส ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ส ๒.๑ ม.๔-๖/๕, ส ๒.๒ ม.๔-๖/๒, ส ๒/๒ ม.๔-๖/๓

รวม 16 ตัวช้ีวัด

75

คําอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

กลุม สาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 2

ส๓๒๑๐๒ สงั คมศกึ ษา4 ๒ ช่วั โมง/สปั ดาห/ภาค ๑.๐ หนว ยกิต

คําอธิบายรายวชิ า

ศึกษา วิเคราะหปญหาเศรษฐกิจของชุมชน และประเทศ บทบาทของรัฐเกี่ยวกับนโยบาย
การเงินการคลัง การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติโดยการ
นําเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศและการเปดเสรี
ทางเศรษฐกจิ ในยคุ โลกาภวิ ฒั นท ม่ี ตี อ สงั คมไทย

ศึกษา เครื่องมือทางภูมิศาสตร ลักษณะทางกายภาพและสังคมของภูมิภาคตาง ๆ โลก วิเคราะห
อิทธิพลของสภาพการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ การประสานความรวมมือเกี่ยวกับการใชกฎหมาย
สิ่งแวดลอม ตลอดจนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การใชประโยชนจากส่ิงแวดลอมเพื่อ
สรรคสรา งวฒั นธรรมอันเปน เอกลกั ษณข องไทย

เพ่ือเขาใจ และเสนอทางเลือกใหรูเทาทันสถานการณทางเศรษฐกิจทั้งในและตางประเทศ และ
ป ฏิ สั มพั น ธระห วางมนุ ษ ยและสิ่ งแวดล อม เพื่ อการพั ฒ น าที่ ยั่งยืน สาม ารถดํารงชีวิต อยูได
อยางพอเพยี งและมีดลุ ยภาพ

ตัวชีว้ ัด
ส ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ,ส ๓.๑ ม. ๔-๖/๔ ,
ส ๓.๒ ม. ๔-๖/๑ ,ส ๓.๒ ม. ๔-๖/๒, ส ๓.๒ ม. ๔-๖/๓
ส ๕.๑ม.๔-๖/๑ ,ส ๕.๑ ม.๔-๖/๒ ,ส ๕.๒ ม.๔-๖/๓ ,
ส ๕.๒ ม.๔-๖/๑ , ส ๕.๒ ม.๔-๖/๒, ส ๕.๒ ม.๔-๖/๔

รวม 11 ตวั ช้ีวัด

76

คําอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

กลุม สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรยี นที่ 1

ส๓๓๑๐๑ สงั คมศึกษา5 ๒ ช่ัวโมง/สปั ดาห/ภาค ๑.๐ หนว ยกิต

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ศึกษา ชาดก หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เศรษฐกิจพอเพียงกับพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัย พุทธ
ศาสนสุภาษิต ประวัติศาสดาของศาสนาอื่น ๆ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา หนาที่ชาวพุทธ มารยาท ชาว
พทุ ธและชาวพทุ ธตัวอยาง นาํ แบบอยา งการประพฤติปฏิบัตมิ าพัฒนาตนเองในการดําเนินชวี ิต การปฏิบัติตนท่ี
เหมาะสมตอพระสงฆในสถานการณตาง ๆ ท้ังทางกาย ทางวาจาและทางใจ คําศัพททางพระพุทธศาสนา บท
สวดมนตที่ใชในศาสนพิธีตาง ๆ การปฏิบัติตนตามหลักธรรมและประเพณพี ิธีกรรมตามวันสําคัญ ทางศาสนา
และเทศกาลท่ีสําคัญ การปฏิบัติตนตามมารยาทชาวพุทธ วันสําคญั ทางพระพุทธศาสนาและเทศกาลที่สําคัญ
สมั มนาพระพุทธศาสนากับการแกปญหาและการพัฒนาแบบย่งั ยืน วิเคราะหเนื้อหาสาระตางๆ สามารถปฏิบัติ
ตนไดอยางถูกตองและเหมาะสมในการดําเนินชีวิตในสังคมปจจุบัน ตระหนักถึงความสําคัญของ
พระพุทธศาสนา เห็นคุณคาของการนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปใชในการพัฒนาตนเอง อยูรวมกับ
บุคคลอนื่ ในสังคมไดอยา งปกติสุข

ศึกษา วิเคราะหและปญหาและสถานการณการเมืองการปกครองของไทย ตลอดจนอิทธิพลของ
การเมืองการปกครองที่มีผลตอการดํารงชีวิตของคนในสังคมไทย และเสนอแนงทางการมีสวนรวมในการ
ตรวจสอบการใชอ ํานาจของรัฐตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ วิเคราะหขอมูลในเรื่องตาง ๆ สามารถปฏิบัติตนตามไดอยางถูกตอง
และเหมาะสม เห็นคุณคาของการนําความรูไปพัฒนาตนเองในชีวิตประจําวันตลอดจนนําไปสูความเขาใจ
ประสานประโยชนร ว มกนั

รหัสตวั ชี้วัด
ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๒, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๓, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๔, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๖, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๗
ส ๑.๑ม.๔-๖/๑๘, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๙, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๒๒
ส ๑.๒ม.๔-๖/๑, ส ๑.๒ ม.๔-๖/๒, ส ๑.๒ ม.๔-๖/๕
ส ๒.๒ม.๔-๖/๑, ส ๒.๒ ม.๔-๖/๔

รวม 13 ตัวช้ีวดั

77

คําอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

กลุม สาระการเรยี นรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา วัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2

ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา6 ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห/ภาค ๑.๐ หนว ยกติ

คําอธบิ ายรายวิชา

ศึ ก ษ า วิเค ราะห ป ญ ห าท างเศ รษ ฐกิ จ ใน ชุ ม ช น แ ล ะแ น วท างแ กป ญ ห า ตระห นั ก ถึง
ความสําคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีตอเศรษฐกิจสังคมของประเทศ ตลอดจนการประยุกตใช
เศรษฐกิจพอเพียงในภาคสวนตา ง ๆ ผลดผี ลเสยี ของความรว มมือทางเศรษฐกจิ ระหวา งประเทศในรูปแบบตา ง
ๆ บทบาทองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจท่สี าํ คญั ในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกในระดับตาง ๆ และอธิบายถึง
ปจจัยตาง ๆ และผลกระทบจากการดาํ เนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

ศึกษา วิเคราะหอิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร ซึ่งทําใหเกิดปญหาทางกายภาพหรือภัยวิบัติ
ทางธรรมชาติการเปล่ียนแปลงของพื้นท่ีซ่ึงไดรับอิทธิพลจากปจจัยทางภูมิศาสตร ส่ิงแวดลอม การจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของโลก บทบาทองคการและการประสานความรวมมือระหวางประเทศ
ตลอดจนแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม การใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมในการ
สรางสรรควัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณของทอ งถิ่นในประเทศไทยและภูมิภาคตา งๆของโลก ใชเครื่องมือทาง
ภูมศิ าสตรใ นการรวบรวมวเิ คราะหและนําเสนอขอมูลภูมิสารสนเทศอยา งมีประสทิ ธิภาพและมีสวนรวมในการ
แกปญหาการดําเนินชีวิตตามแนวทาง การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยาง
ย่ังยืน

รหสั ตัวช้ีวัด
ส ๓.๑ ม.๔-๖/๒ ส ๓.๑ ม.๔-๖/๔
ส ๓.๒ ม.๔-๖/๓
ส ๕.๑ ม.๔-๖/๒ ส ๕.๑ ม.๔-๖/๓ ส ๕.๑ ม.๔-๖/๔
ส ๕.๒ ม. ๔-๖/๑ ส ๕.๒ ม. ๔-๖/๒ ส ๕.๒ ม. ๔-๖/๓ ส ๕.๒ ม. ๔-๖/๔ ส ๕.๒ ม. ๔-๖/๕

รวม 11 ตวั ชี้วัด

กลุมสาระการเรียนรสู ุขศกึ ษาและพลศึกษา

โครงสรา งรายวิชากลุมสาระการเรยี นรสู ุขศกึ ษาและพลศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นมวงสามสบิ อมั พวนั วทิ ยา

วิชาพ้นื ฐาน เรียนวชิ าพนื้ ฐานในกลุม สาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา จํานวน 6.0 หนว ยกติ ไดแ ก
รายวชิ าตอไปน้ี

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 สุขศึกษา1 1 ชั่วโมง/สัปดาห 0.5 หนว ยกติ
พ3๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษา2 1 ชว่ั โมง/สัปดาห 0.5 หนวยกิต
พ31๑๐๒ พลศกึ ษา1 1 ชว่ั โมง/สัปดาห 0.5 หนว ยกิต
พ3๑๑๐3 พลศกึ ษา2 1 ชวั่ โมง/สัปดาห 0.5 หนว ยกิต
พ31๑๐4

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 สุขศึกษา3 1 ชัว่ โมง/สปั ดาห 0.5 หนว ยกิต
พ32๑๐๑ สขุ ศึกษา4 1 ชั่วโมง/สัปดาห 0.5 หนว ยกิต
พ32๑๐๒ พลศกึ ษา3 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห 0.5 หนวยกิต
พ32๑๐3 พลศกึ ษา4 1 ช่ัวโมง/สัปดาห 0.5 หนว ยกิต
พ32๑๐4

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 6 สุขศกึ ษา5 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห 0.5 หนว ยกติ
พ33๑๐๑ สุขศึกษา6 1 ชว่ั โมง/สัปดาห 0.5 หนว ยกติ
พ33๑๐๒ พลศกึ ษา5 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห 0.5 หนวยกิต
พ33๑๐3 พลศกึ ษา6 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห 0.5 หนวยกติ
พ33๑๐4

79

พ ๓๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษา รายวิชาสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๐.๕ หนว ยกติ
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑
๑ ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค

คาํ อธิบายรายวิชา

ศึกษา อธิบาย กระบวนการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบ อวัยวะตาง ๆ
วางแผนดแู ลสุขภาพตามภาวการณเจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเอง และบุคคลในครอบครัว ใชทักษะที่
เหมาะสมในการปองกันลดความขัดแยงและแกปญหาเรื่องเพศและครอบครัว วิเคราะหคานิยมในเรื่องเพศ
ตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอ่ืน ๆ อิทธิพลของส่ือโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพเพื่อการเลือกบริโภคปฏิบัติ
ศึกษาและปฏบิ ัติทกั ษะกระบวนการเสริมสรางสมรรถภาพทาง ดานรา งกาย ตามสภาวะการเจริญเติบโต
และพฒั นาการของตนเอง ใชทักษะในการเคลือ่ นไหวปอ งกนั การบาดเจบ็ ในการออกกําลงั กาย

โดยใชกระบวนการคิดวิเคราะหและกระบวนการฝกจนเปนนิสัยเพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ เห็น
คุณคาในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว สรางเสริมดํารงสุขภาพ ปองกัน หลีกเลี่ยง ตลอดจนมี จิต
สาธารณะในการรวมสรา งเสริมชมุ ชนใหปลอดภยั มีทักษะในการเคลื่อนไหวและเลนกีฬาอยางสรางสรรค เขา
รว มกิจกรรมปรบั ปรุงพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของตนและสังคม

ตัวชว้ี ดั
พ ๓.๑ม.๔-๖/๑, พ ๓.๑ ม.๔-๖/๒, พ๓.๑ม.๔-๖/๓, พ ๓.๑ม.๔-๖/๔, พ ๓.๑ม.๔-๖/๕
พ ๑.๑ม.๔-๖/๑, พ ๑.๑ม.๔-๖/๒, พ ๒.๑ม.๔-๖/๒, พ ๒.๑ม.๔-๖/๓, พ ๔.๑ม.๔-๖/๒,
พ ๔.๑ม.๔-๖/๓

รวม ๑๑ ตวั ชี้วัด

80

พ ๓๑๑๐๒ สุขศึกษา รายวิชาสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๐.๕ หนวยกิต
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๒
๑ ชว่ั โมง/สัปดาห/ภาค

คําอธบิ ายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะห บทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลที่มีตอการสรางเสริมสุขภาพและ การ
ปองกันโรคในชมุ ชน โรคตดิ ตอ ทีเ่ ปนปญหาสาํ คัญของทอ งถ่ิน ผลกระทบท่เี กิดจาก การครอบครอง การใชและ
การจําหนายสารเสพติด มีสวนรว มในการปองกันความเสี่ยงตอการใชยา การใชสารเสพติดและความรุนแรง
เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครวั และสังคม การสรางเสรมิ ความปลอดภัยในชุมชน แสดงวิธีการชว ยฟนคืนชีพ
อยางถูกวิธี ปฏิบัติ ศึกษาและปฏิบัติทักษะกระบวนการเสริมสรางสมรรถภาพทางดานรางกาย ตามสภาวะ
การเจริญเติบโตและพฒั นาการของตนเอง ใชทักษะในการเคลื่อนไหวปอ งกนั การบาดเจบ็ ในการออกกําลงั กาย

โดยใชกระบวนการคิดวิเคราะหและกระบวนการฝกจนเปนนิสัยเพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ เห็น
คุณคาในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว สรางเสริมดํารงสุขภาพ ปองกัน หลีกเล่ียง ตลอดจนมี จิต
สาธารณะในการรวมสรา งเสริมชมุ ชนใหปลอดภัย มีทักษะในการเคลื่อนไหวและเลนกีฬาอยางสรางสรรค เขา
รว มกิจกรรมปรบั ปรงุ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของตนและสงั คม

ตัวชี้วดั
พ ๓.๑ม.๔-๖/๑, พ ๓.๑ ม.๔-๖/๒, พ๓.๑ม.๔-๖/๓, พ ๓.๑ม.๔-๖/๔, พ ๓.๑ม.๔-๖/๕
พ ๔.๑ม.๔-๖/๑, พ ๕.๑ม.๔-๖/๑, พ ๕.๑ม.๔-๖/๒, พ ๕.๑ม.๔-๖/๕, พ ๕.๑ม.๔-๖/๗,

รวม ๑๐ ตัวช้วี ัด

81

พ๓๒๑๐๑ สุขศกึ ษา รายวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๐.๕ หนว ยกติ
ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑
๑ ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค

คําอธิบายรายวิชา

วิเคราะหบทบาทความรับผิดชอบของบุคคลท่ีมีตอการสรางเสริมสุขภาพและการปองกันในชุมชน
อิทธิพลของสื่อโฆษณาเก่ียวกับสุขภาพเพื่อการเลือกบรโิ ภค โดยการตัดสนิ ใจปฏิบัติตนตามสิทธิของผูบริโภค
ตลอดจนหาสาเหตุและเสนอแนะแนวทางการปองกันการเจ็บปวยและการตายของคนไทยเพื่อนําไปวาง
แผนการปฏิบัตกิ ารพฒั นาสขุ ภาพของตนเองและครอบครัวดวยการมีสว นรว มในการสงเสรมิ และพัฒนาสขุ ภาพ
ของบุคคลในชุมชน วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพฒั นาสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางกลไก การ
ปอ งกันความเสยี่ งตอการใชย า การใชสารเสพติด และความรนุ แรง เพื่อสขุ ภาพของตนเอง ครอบครัว สังคม
วิเคราะหผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช และการจําหนายสารเสพติด ปจจัยท่ีมผี ลตอสุขภาพ
หรือความรุนแรงของคนไทยและเสนอแนวทางปองกัน ตระหนักและเห็นคุณคาของการวางแผนกําหนด
แนวทางในการลดอบุ ตั เิ หตุ และสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน

โดยใชทักษะการตัดสินใจแกปญหาในสถานการณเสี่ยงตอสุขภาพและความรุนแรง และ แสดงการ
ชวยฟน คนื ชีพอยา งถูกวิธี

ตัวชี้วดั
พ ๔.๑ ม.๔-๖/๑ , พ ๔.๑ ม.๔-๖/๒ , พ ๔.๑ ม.๔-๖/๓ , พ ๔.๑ ม.๔-๖/๔ , พ ๔.๑ ม๔-๖/๕ ,
พ๔๑.๑ ม.๔-๖/๖ ,พ ๔.๑ ม.๔-๖/๗, พ ๕.๑ ม.๔-๖/๑ , พ ๕.๑ ม.๔-๖/๒ , พ ๕.๑ ม.๔-๖/๓ ,
พ ๕.๑ ม.๔-๖/๔ , พ ๕.๑ ม.๔-๖/๕ , พ ๕.๑ ม.๔-๖/๖ , พ ๕.๑ ม.๔-๖/๗,

รวม ๑๔ ตวั ชว้ี ัด

82

รายวชิ าสุขศึกษาและพลศกึ ษา

พ๓๒๒๐๑ สขุ ศึกษา (เพมิ่ เติม) ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห/ภาค ๐.๕ หนวยกิต
ภาคเรียนท่ี ๒
ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี ๕

คําอธิบายรายวชิ า

อธิบาย และบอก หลักทั่วไปในการปฐมพยาบาล หลกั การพยาบาลผูปว ยท่ีพักฟนทบ่ี าน ประโยชน
ของการเคหพยาบาล ลักษณะอาการเจ็บปวยหรืออาการผิดปกติท่ีเกิดกับรางกาย หลกั สําคัญในการจัดอาหาร
ใหแกผูปว ย การใชย าดว ยวิธีการตางๆ เปรียบเทยี บลกั ษณะการหายใจที่ปกติและผดิ ปกติ เห็นความสาํ คัญ
ของการดูแลผปู วยทบ่ี าน

แสดง สาธิต การจับชีพจร การจัดอาหาร การทําเตยี งผูปวย การดูแลผูปวย โดยการเลือกวิธีการ
ดูแลผูปวยท่ีบานดวยโรคตดิ ตอหรือโรคไมต ิดตอ โรคเรื้อรัง ตามวิธีการท่ีถูกตอง เพื่อใหผูปวยท่ีบานมีอาการดี
ขึน้

รวมผลการเรยี นรู ๑๒ ขอ

83

รายวิชาสุขศึกษาและพลศกึ ษา

พ ๓๓๒๐๑ สขุ ศกึ ษา (เพิ่มเติม) ๑ ช่วั โมง/สัปดาห/ ภาค ๐.๕ หนวยกติ
ภาคเรียนท่ี ๑
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๖

คาํ อธิบายรายวิชา

ศกึ ษาวางแผน กําหนดแนวทางลดอุบตั ิเหตแุ ละเสริมสรา งความปลอดภัยในชุมชน กจิ กรรมสรางเสริม
ความปลอดภยั ในชุมชน ทกั ษะการตดั สินใจแกปญ หาในสถานการณท ่ีเสยี งตอสุขภาพและความรนุ แรง วธิ กี าร
ชวยฟน คนื ชีพอยา งถกู วิธี โดยใชก ารศกึ ษาเปน รายกรณี การเรียนแบบมีสวนรว ม การนําเสนองานเพื่อให
ผเู รียนสามารถวางแผนกําหนดแนวทางลดอบุ ัติเหตุ และสรางเสรมิ ความปลอดภยั ในชุมชน มสี วนรวมในการ
สรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน

ใชท กั ษะการตัดสินใจทักษะการตดั สนิ ใจแกปญ หาในสถานการณท ่ีเสีย่ งตอสุขภาพและความรุนแรง
แสดงวิธีการชวยเหลอื อยางถูกวิธี

รวมผลการเรยี นรู ๙ ขอ

84

รายวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

พ๓๓๒๐๒ สุขศึกษา (เพิ่มเติม) ๑ ชัว่ โมง/สัปดาห/ ภาค ๐.๕ หนวยกิต
ภาคเรียนท่ี ๒
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๖

คําอธบิ ายรายวิชา

ศกึ ษา วิเคราะห อิทธิพลของครอบครวั เพ่ือน สังคม และวฒั นธรรมทม่ี ีตอพฤติกรรมทางเพศและการ
ดําเนินชีวติ ความขัดแยงท่ีอาจเกิดข้ึนระหวางนักเรยี นหรือเยาวชนในชุมชน สาเหตุของการเจ็บปวยและการ
ตายของคนไทย เชน โรคจากการประกอบอาชีพ โรคทางพันธุกรรม แนวทางการปองกันการเจ็บปวย โดยใช
วธิ กี ารบรรยาย การศึกษาคน ควาและการสืบคน ขอ มลู ดว ยตนเอง การแสดงบทบาทสมมติ การปฏิบตั ิและการ
นําเสนอเปนกลุมหรือทมี เพอ่ื ใหผูเ รยี นสามารถวเิ คราะหอิทธพิ ลของครอบครัว เพื่อน สงั คม และวัฒนธรรมท่ีมี
ตอพฤติกรรมทางเพศและการดําเนินชีวิต สาเหตุและผลของความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นระหวางนักเรียนหรือ
เยาวชนในชุมชน และเสนอแนวทางแกป ญหา สาเหตแุ ละแนวทาง การปองกนั การเจ็บปวยและการตายของ
คนไทย

ศกึ ษา วิเคราะห ความคิดรวบยอดเก่ียวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบตางๆ ในการเลนกีฬาและอธบิ าย
เกี่ยวกับสิทธิกฎ กติกา กลวิธีตาง ๆ ในระหวางการเลนการแขงขันกีฬากับผูอื่น เพื่อใหสามารถแสดงการ
เคล่ือนไหวไดอยางสรางสรรค วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว มีสวน
รวมในการสงเสริมและพัฒนาสุขภาพของบุคคลในชุมชน ตลอดจนวางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนา
สมรรถภาพทางการและสมรรถภาพทางกลไก ออกกําลังกาย เลนกีฬาไทย กีฬาสากลที่เหมาะสมกับตนเอง
อยางสม่ําเสมอ และใชความสามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทมี ปฏบิ ัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธตี าง
ๆ ในระหวางการเลน การแขงขันกฬี ากบั ผอู ่นื และนําไปสรปุ เปนแนวปฏบิ ัตแิ ละใชชีวิตประจําวันอยางตอเน่ือง

รวมผลการเรียนรู ๙ ขอ

85

รายวชิ าสุขศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕ หนว ยกิต
ภาคเรียนที่ ๑
พ ๓๑๑๐๓ พลศกึ ษา (ฟตุ ซอล ๑) ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห/ภาค
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๔

คาํ อธิบายรายวชิ า

เพ่ิมพูนสามารถใชเทคนิคและวิธีการเลนกีฬาฟุตซอลและกีฬาสากลที่เหมาะสมกับตนเองและทีม
ความรูและทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และการเลนกีฬาไปใชเปนระบบสราง
เสรมิ สุขภาพอยา งตอเน่ือง การจดั กิจกรรมนนั ทนาการแกผ อู ่ืน

โดยใชกระบวนการฝกปฏิบัติ เห็นคุณคาใชเทคนิคและวิธีการเลนกีฬาแบดมินตันและกีฬาสากลท่ี
เหมาะสมกับตนเองและทีม ความรแู ละทกั ษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และการกีฬา
ไปใชเปนระบบสรางเสริมสุขภาพอยางตอเนื่อง การจัดกิจกรรมนันทนาการแกผูอื่นเขารวมกิจกรรมทางกาย
สม่ําเสมอ มีนํ้าใจนักกีฬา เปนผูนําและผูตามที่ดี ช่ืนชมในสุนทรียภาพของกีฬา เอ้ืออาทร เสียสละและ
คํานงึ ถงึ สว นรวม มจี ติ วญิ ญาณในการแขง ขันและรว มมอื อยา งสันติ รบั ผดิ ชอบหนาทที่ ไ่ี ดรับมอบหมาย
มีจติ สํานึกในการใชเ วลาใหเปน ประโยชนแ ละสรา งสรรคและพยายามแกไ ขขอบกพรองของตนเอง

ตัวชี้วัด
พ ๓.๑ ม.๔-๖/๑, พ ๓.๑ ม.๔-๖/๒ ,พ ๓.๑ ม.๔-๖/๓,พ ๓.๑ ม.๔-๖/๔,พ ๓.๑ ม.๔-๖/๕

รวม ๕ ตวั ช้ีวดั

86

รายวชิ าสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕ หนว ยกิต
ภาคเรยี นที่ ๒
พ๓๑๑๐๔ พลศกึ ษา( ฟตุ ซอล ๒) ๑ ชัว่ โมง/สัปดาห/ภาค
ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี ๔

คําอธบิ ายรายวิชา

เพ่ิมพูนสามารถใชเทคนิคและวิธีการเลนกีฬาฟุตซอลและกีฬาสากลท่ีเหมาะสมกับตนเองและทีม
ความรูและทักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และการเลนกีฬาไปใชเปนระบบสราง
เสรมิ สขุ ภาพอยา งตอเนือ่ ง การจดั กจิ กรรมนนั ทนาการแกผ ูอ ่ืน

โดยใชก ระบวนการฝก ปฏบิ ตั ิ เห็นคณุ คาใชเทคนิคและวิธกี ารเลนกีฬาแบดมนิ ตันและกีฬาสากลท่ี
เหมาะสมกับตนเองและทีม ความรแู ละทกั ษะในการเคลอื่ นไหว กิจกรรมทางกาย การเลน เกม และการกีฬา
ไปใชเปน ระบบสรา งเสรมิ สุขภาพอยา งตอเน่ือง การจัดกจิ กรรมนันทนาการแกผ ูอ่นื เขารวมกจิ กรรมทางกาย
สม่ําเสมอ มีน้ําใจนักกีฬา เปนผนู ําและผตู ามท่ีดี ช่นื ชมในสุนทรียภาพของกีฬา เอ้ืออาทร เสยี สละและ
คาํ นงึ ถงึ สวนรวม มีจติ วญิ ญาณในการแขง ขันและรวมมอื อยา งสันติ รับผดิ ชอบหนาท่ีที่ไดรบั มอบหมาย มี
จติ สํานกึ ในการใชเวลาใหเปนประโยชนแ ละสรา งสรรคแ ละพยายามแกไขขอบกพรอ งของตนเอง

ตวั ช้วี ดั
พ ๓.๑ ม.๔-๖/๑, พ ๓.๑ ม.๔-๖/๒ ,พ ๓.๑ ม.๔-๖/๓,พ ๓.๑ ม.๔-๖/๔,พ ๓.๑ ม.๔-๖/๕

รวม ๕ ตวั ช้วี ดั

87

รายวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕ หนว ยกติ
ภาคเรยี นท่ี ๑
พ ๓๒๑๐๓ พลศกึ ษา (วอลเลยบ อล ๑) ๑ ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค
ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๕

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาเพ่อื ใหมคี วามรูค วามเขาใจ ความรูท่วั ไปของกีฬาวอลเลยบ อลประโยชนและความปลอดภัยของ
การเลน ตลอดจนการเกบ็ รกั ษาอปุ กรณ

มีทักษะในการเคล่ือนไหวเบื้องตน การเลน ลูกสองมอื ลาง การเลน ลูกสองมือบน การเสิรฟมือลาง การ
เสิรฟ มอื บน การตบลกู การเลนเปนทีมอยางมีความสขุ

เห็นความสาํ คัญในการมีมารยาท การมีนา้ํ ใจเปน นกั กฬี า การเปน ผูเลน และผูดทู ดี่ ี มจี ติ วิญญาณใน
การแขงขนั เสยี สละและคาํ นึงถึงประโยชนสวนรวม รบั ผดิ ชอบหนา ทท่ี ี่ไดร ับมอบหมาย เปนผูน าํ และผูต ามที่ดี
ช่ืนชมในสนุ ทรยี ภาพของกีฬาวอลเลยบ อล

ตวั ชี้วดั ที่
พ๓.๑ม.๔-๖/๑.พ๓.๑ม.๔-๖/๒,พ๓.๑ม.๔-๖/๓,พ๓.๑ม.๔-๖/๔,พ๓.๑ม.๔-๖/๕,

รวมท้ังหมด ๕ ตัวชว้ี ดั

88

รายวชิ าสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๐.๕ หนวยกิต
ภาคเรียนที่ ๒
พ ๓๒๒๐๒ พลศึกษา (วอลเลยบ อล ๒ ) ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห/ภาค
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี ๕

คําอธบิ ายรายวิชา

ศึกษาเพือ่ ใหมีความรคู วามเขาใจ ความรูทัว่ ไปของกีฬาวอลเลยบอลประโยชนและความปลอดภยั ของ
การเลน ตลอดจนการเกบ็ รักษาอปุ กรณ

มีทกั ษะในการเคล่ือนไหว การเลนลูกสองมือลาง การเลนลูกสองมอื บน การเสิรฟมือลาง การเสิรฟมือ
บน การตบลูก การสกัดกนั้ การเลนเปน ทมี อยางมีความสขุ

เหน็ ความสาํ คญั ในการมีมารยาท การมนี า้ํ ใจเปนนักกีฬา การเปนผเู ลนและผดู ทู ด่ี ี มีจติ วิญญาณใน
การแขงขัน เสยี สละและคาํ นึงถงึ ประโยชนสว นรวม รับผิดชอบหนา ทท่ี ่ีไดร ับมอบหมาย เปนผูน าํ และผตู ามท่ดี ี
ชนื่ ชมในสุนทรียภาพของกีฬาวอลเลยบอล

ผลการเรียนรู
๑. อธบิ ายถึงองคป ระกอบของสมรรถภาพทาง กาย แนวทางวิธกี าร ข้นั ตอนและกิจกรรมการทดสอบ

สมรรถภาพทางกายได
๒. บอกถงึ ความรทู ว่ั ไปเก่ียวกับกีฬาวอลเลยบอลได
๓. อธิบายถึงการบรหิ ารรา งกาย การอบอุนรา งกาย การเคล่อื นตัวและการสรางความคุนเคยกบั ลกู

วอลเลยบอลได
๔. อธิบายถึงขั้นตอนการฝก เลน ลกู สองมือลาง – มอื บนและการรับลูกตบได
๕. อธิบายถงึ ข้นั ตอน การเสิรฟมือบน การตบลกู ใกล - ลกู ไกลตาขาย และการสกัดกัน้ ได
๖. บอกถึงตาํ แหนง การเลน ของทีม และวธิ ีการเขา - ออกของตวั รบั อสิ ระได

รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรียนรู

89

รายวชิ าสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๐.๕ หนว ยกิต
ภาคเรียนท่ี ๑
พ๓๒๒๐๓ พลศกึ ษา ( มวยไทย ๓ ) ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห/ภาค
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ ๖

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาประวัตคิ วามเปนมาของศิลปะการตอสูป องกันแบบมวยไทย การบริหารรางกายท่ีเกี่ยวของกับ
ทกั ษะมวยไทย ทกั ษะพนื้ ฐานมวยไทย การใชศ ลิ ปะการตอสูปองกันมวยไทย เชน การใชห มัด เทา เขา ศอก

เพือ่ ใหความรู ตระหนัก และเห็นคุณคาของกีฬามวยไทย วฒั นธรรม ประเพณี และภูมิปญญาไทย
มีทักษะการเคล่ือนไหว การปองกันตัว มีสมรรถภาพทางกาย รักการออกกําลังกาย และการเลนกีฬา มี
น้ําใจนักกีฬา เปนผูนําและผูตามท่ีดี มีจิตสํานึกในการเวลาวางใหเกิดประโยชน และสามารถนํามา
ประยกุ ตใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน

ผลการเรยี นรู
๑. บอกประวตั คิ วามสาํ คัญของมวยไทยได
๒. ปฏิบตั ทิ ักษะมวยไทยได
๓. ตระหนกั ในคณุ คากีฬามวยไทย

รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรียนรู

90

พ ๓๓๒๐๔ พลศึกษา รายวิชาสุขศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕ หนวยกติ
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
๑ ชว่ั โมง/สัปดาห/ภาค

คําอธบิ ายรายวิชา

ศกึ ษา วิเคราะห ทักษะการเคลอ่ื นไหว การออกกําลังกาย การเลนกีฬากีฬาไทย กีฬาสากล การเขา
รวมกิจกรรมทางกาย การเลนเกม เลนกฬี าตามความถนัด เขารวมกิจกรรมนันทนาการ การเลน กีฬาประเภท
บคุ คล ประเภททีม มีมารยาทในการเลน และดูกีฬาดวยความมีน้ําใจนักกีฬา ปฏิบัตติ ามกฎ กตกิ า ขอตกลงใน
การเลนแตละชนิดกีฬา นําไปพัฒนาคุณภาพชีวิตประยุกตใชกลวิธีการรุกการปองกัน ใหความรว มมือในการ
เลนการแขงขันและการทํางานเปนทมี จนประสบผลสําเรจ็ ตามเปาหมาย รูจกั การออกกําลงั กาย การพักผอน
การสรางเสรมิ สมรรถภาพทางกาย สขุ ภาพทางจติ มจี ิตใจ อารมณ สงั คม จติ สาธารณะทดี่ ี เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพ
ชีวิตของตนเอง ครอบครัวและชุมชน โดยใชทักษะชีวิตเพ่ือนําไปสูการตัดสินใจ การแกปญหาเม่ือเผชิญ
อนั ตรายในสถานการณทค่ี บั ขนั

ผลการเรียนรู
๑. บอกประวัติความสาํ คญั ของมวยไทยได
๒. ปฏบิ ัตทิ ักษะมวยไทยได
๓. ตระหนกั ในคณุ คา กีฬามวยไทย

รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรียนรู

กลุม สาระการเรียนรศู ลิ ปะ

โครงสรา งรายวิชากลุมสาระการเรียนรศู ลิ ปะ
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนมวงสามสิบอมั พวันวิทยา

วชิ าพื้นฐาน เรยี นวชิ าพนื้ ฐานในกลมุ สาระการเรยี นรศู ิลปะ จํานวน 3.0 หนวยกิต ไดแ ก
รายวชิ าตอไปน้ี

ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 ศลิ ปะ1 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห 0.5 หนวยกติ
ศ32๑๑๐๑ ศลิ ปะ2 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห 0.5 หนว ยกิต
ศ31๑๐๒

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 ศิลปะ3 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห 0.5 หนว ยกิต
ศ32๑๐๑ ศิลปะ4 1 ชั่วโมง/สัปดาห 0.5 หนว ยกติ
ศ321๑๐๒

ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 3 ศลิ ปะ5 1 ช่ัวโมง/สัปดาห 0.5 หนวยกติ
ศ33๑๐๑ ศลิ ปะ6 1 ชั่วโมง/สปั ดาห 0.5 หนวยกิต
ศ33๑๐๒

92

ศ ๓๑๑๐๑ ศลิ ปะ รายวชิ าศิลปะ 0.5 หนว ยกิต
ช้นั มัธยมศึกษาปที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
๑ ช่ัวโมง/สปั ดาห/ภาค

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศึกษาความรูในเร่ืองวเิ คราะหการใชท ัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมาย
ในรูปแบบตางๆ บรรยายจุดประสงคและเนื้อหาของงานทัศนศิลป โดยใชศัพททางทัศนศิลป
วิเคราะหและเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก เปรียบเทียบ
รปู แบบของบทเพลงและวงดนตรีแตล ะประเภทวิเคราะหรูปแบบของดนตรไี ทยและดนตรีสากลในยุค
สมัยตางๆ มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบท่ีช่ืนชอบ
เปรยี บเทยี บการนาํ การแสดงไปใชใ นโอกาสตา งๆ

ใชกิจกรรมการคิดวิเคราะห การออกแบบ การบรรยาย การเปรียบเทียบ ฝกทักษะ
สรางสรรคผลงานดา นทศั นศิลป ดนตรแี ละนาฏศิลป

เห็นคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสกึ ความคิดตองานศิลปะอยา งอิสระ ช่นื ชมและ
ประยกุ ตใชในชีวิตประจําวัน เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถิ่น
ภูมิปญญาไทยและสากล เห็นคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ช่ืนชม
และประยุกตใชใ นชีวติ ประจําวนั เหน็ คุณคา ของดนตรี ที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญ ญาทอ งถิ่น
ภูมิปญญาไทยและสากล เห็นคุณคานาฏศลิ ป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ชื่นชมและ
ประยุกตใชในชีวิตประจาํ วัน เห็นคุณคาชองนาฎศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน
ภูมปิ ญญาไทยและสากล

ตวั ช้วี ัด
ศ ๑.๑ ม.๔/๑ ศ ๑.๑ ม.๔/๒ ศ ๑.๒ ม.๔/๑ ศ ๒.๑ ม.๔/๑ ศ ๒.๒ ม.๔/๑
ศ ๓.๑ ม.๔/๑ ศ ๓.๒ ม.๔/๒ ศ ๓.๒ ม.๔/๑

จาํ นวน ๘ ตัวช้ีวัด

93

ศ๓๑๑๐๒ ศลิ ปะ รายวชิ าศลิ ปะ 0.5 หนว ยกิต
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๒
๑ ชัว่ โมง/สัปดาห/ ภาค

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาความรูเกี่ยวกับวิเคราะหการเลือกใชวัสดุ อุปกรณและเทคนิคของศิลปนในการ
แสดงออกทางทัศนศิลป มีทักษะและเทคนิคในการใชว ัสดุ อุปกรณแ ละกระบวนการท่ีสูงขึ้น ในการ
สรางงานทัศนศิลป จําแนกประเภทและรูปแบบของดนตรที ้ังไทยและสากล อธิบายเหตุผลทีค่ นตา ง
วัฒนธรรมสรางสรรคผลงานดนตรีแตกตางกันใชความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลปเปนคูและหมู
วิเคราะหสถานะทางสังคมของนักดนตรีในวัฒนธรรมตางๆ อธิบายความสําคัญและบทบาทของ
นาฏศลิ ปแ ละการละครในชีวิตประจําวัน

เพื่อใหเกิดความสามารถในการการวิเคราะห การแสดงออก ฝกทักษะ สรางงาน
จาํ แนก อธบิ าย สรางสรรค วิเคราะหผลงานดา นทศั นศลิ ป ดนตรแี ละนาฏศิลป

เห็นคณุ คางานทัศนศลิ ป ถายทอดความรูสึก ความคดิ ตองานศิลปะอยางอิสระ ชน่ื ชมและ
ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถ่ิน
ภูมิปญญาไทยและสากล เห็นคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรอี ยางอิสระ ชื่นชม
และประยุกตใชใ นชีวติ ประจําวนั เหน็ คุณคา ของดนตรี ทเี่ ปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญ ญาทอ งถ่ิน
ภูมิปญญาไทยและสากล เห็นคุณคานาฏศลิ ป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ช่ืนชมและ
ประยุกตใชในชีวิตประจาํ วัน เห็นคณุ คาของนาฎศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถ่ิน
ภมู ิปญญาไทยและสากล

ตัวชว้ี ัด

ศ ๑.๑ ม.๔/๓ ศ ๑.๑ ม.๔/๔ ศ ๒.๑ ม.๔/๒ ศ ๒.๑ ม.๔/๓
ศ ๒.๒ ม.๔/๒ ศ ๓.๑ ม.๔/๓ ศ ๓.๒ ม.๔/๒

จํานวน ๗ ตวั ชี้วดั

94

ศ ๓๒๑๐๑ ศิลปะ รายวิชาศิลปะ 0.5 หนวยกิต
ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑
๑ ชั่วโมง/สัปดาห/ภาค

คําอธิบายรายวชิ า

ศึกษาความรูเกี่ยวกับสรางสรรคงานทัศนศิลปดวยเทคโนโลยีตางๆโดยเนนหลักการ
ออกแบบและการจัดองคประกอบศิลป การออกแบบทัศนสิลปไดเหมาะสมกับโอกาสและสถานที่
ระบุงานทัศนศิลปของศิลปนท่ีมีชอื่ เสียงและบรรยายผลตอบรับของสังคม อา น เขียน โนต ดนตรไี ทย
และสากลในอัตราจังหวะตางๆ เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรีในวัฒนธรรมตางๆ วจิ ารณการ
แสดงนาฏศิลปและการละคร วิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลปและการละครท่ีตองการส่ือ
ความหมายในการแสดง อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลปและการละครของ
ประเทศไทยในยคุ สมยั ตา งๆ

เพื่อใหเกิดความสามารถในการสรางสรรค การออกแบบ ระบุ อาน เขียน เปรียบเทียบ
วิจารณ วเิ คราะห อภปิ รายผลงานดา นทศั นศลิ ป ดนตรแี ละนาฏศิลป

เห็นคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและ
ประยกุ ตใชในชีวิตประจําวัน เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถิ่น
ภูมิปญญาไทยและสากล เห็นคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม
และประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน เห็นคุณคา ของดนตรี ท่เี ปนมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน
ภูมิปญญาไทยและสากล เห็นคุณคานาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ชื่นชมและ
ประยุกตใชในชีวิตประจาํ วัน เห็นคณุ คาของนาฎศลิ ปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถิ่น
ภูมิปญ ญาไทยและสากล

ตัวชว้ี ัด ศ ๑.๑ ม.๕/๖ ศ ๑.๒ ม.๕/๒ ศ ๒.๑ ม.๕/๔
ศ ๑.๑ ม.๕/๕ ศ ๓.๑ ม.๕/๔ ศ ๓.๑ ม.๕/๕ ศ ๓.๒ ม.๕/๒
ศ ๒.๒ ม.๕/๓

จํานวน ๘ ตวั ชี้วัด

95

ศ ๓๒๑๐๒ ศลิ ปะ รายวิชาศลิ ปะ 0.5 หนว ยกิต
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๒
๑ ช่ัวโมง/สัปดาห/ภาค

คําอธิบายรายวิชา

ศกึ ษาความรเู กี่ยวกับวิเคราะหและอธบิ ายจุดมุงหมายของศลิ ปนในการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ
เทคนิคและเน้ือหา เพื่อสรางสรรคงานทัศนศิลป อธิบายบทบาทของดนตรีในการสะทอน
แนวความคิดและคานิยมที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม บรรยายและวิเคราะหอิทธิพลของเคร่ืองแตง
กาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ และสถานท่ี ที่มีผลตอการแสดง บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป
และการละครไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพการประพันธและ
การละเลนดนตรี ของตนเองผอู ื่นไดอยา งเหมาะสม ประเมินและวิจารณง านทัศนศิลปโดยใชทฤษฎี
การวจิ ารณศิลปะ

เพอื่ ใหเกิดความสามารถในการวเิ คราะห อธิบาย บรรยาย สรางเกณฑ ประเมินผลงานใน
ดา นทัศนศลิ ป ดนตรแี ละนาฏศิลป

เห็นคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ช่ืนชมและ
ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เห็นคุณคางานทัศนศิลปท่ีเปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทอ งถิ่น
ภูมิปญญาไทยและสากล เห็นคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม
และประยกุ ตใชใ นชีวิตประจําวนั เห็นคุณคา ของดนตรี ท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น
ภูมิปญญาไทยและสากล เห็นคุณคานาฏศลิ ป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ช่ืนชมและ
ประยุกตใชในชีวิตประจาํ วัน เห็นคณุ คาของนาฎศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถิ่น
ภูมิปญ ญาไทยและสากล

ตวั ชวี้ ัด ศ ๒.๒ ม.๕/๔ ศ ๓.๑ ม.๕/๖
ศ ๑.๑ ม.๕/๗ ศ ๑.๑ ม.๕/๘ ศ ๒.๑ ม.๕/๖
ศ ๓.๒ ม.๕/๓

จาํ นวน ๖ ตัวชีว้ ัด

96

ศ ๓๓๑๐๑ ศลิ ปะ รายวชิ าศลิ ปะ 0.5 หนวยกติ
ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี ๖ ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห/ ภาค ภาคเรยี นที่ ๑

คําอธบิ ายรายวิชา

ศกึ ษาความรเู ก่ียวกับสรา งสรรคง านทศั นศลิ ปไทย-สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการ
สรางงานของศลิ ปนทตี่ นช่นื ชอบ วาดภาพระบายสีเปนภาพลอเลียนหรือภาพการตนู เพ่อื แสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมในปจจุบัน นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืนๆ วิเคราะหทาทาง และการ
เคล่ือนไหวของผูคนในชีวิตประจําวัน และนํามาประยุกตใชในการแสดง นําเสนอแนวคิดในการ
อนรุ ักษน าฏศลิ ปไ ทย

เพื่อใหเกิดความสามารถในการสรางสรรค วาดภาพ แสดงความคิดเห็น วิเคราะห
นาํ เสนอแนวคดิ ผลงานดา นทศั นศิลป ดนตรีและนาฏศลิ ป

เห็นคณุ คางานทศั นศลิ ป ถายทอดความรสู ึก ความคดิ ตองานศิลปะอยา งอิสระ ช่ืนชมและ
ประยกุ ตใ ชในชีวิตประจําวนั เห็นคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสกึ ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่น
ชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เห็นคุณคานาฏศลิ ป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ
ชืน่ ชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เห็นคณุ คาของนาฎศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรมภมู ิปญ ญา
ทอ งถนิ่ ภูมิปญญาไทยและสากล

ตวั ช้วี ดั
ศ ๑.๑ ม.๖/๑๐ ศ ๑.๑ ม.๖/๑๑ ศ ๒.๑ ม.๖/๘ ศ ๓.๑ ม.๖/๘ ศ ๓.๒ ม.๖/๔

จํานวน ๕ ตัวช้วี ัด


Click to View FlipBook Version