The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิมพิกา พิมพ์สอน, 2019-12-09 09:42:59

หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ ม.ปลาย AP-MAW

M4-M6-AP

หลักสูตรหอ งเรียนอัจฉรยิ ภาพทางวทิ ยาศาสตรและคณิตศาสตร
(Advanced Program)
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

(ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551)

ปการศึกษา 2561 – 2563

โรงเรยี นมว งสามสิบอัมพวันวิทยา
อําเภอมวงสามสิบ จงั หวัดอุบลราชธานี
สํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 29
สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

คํานํา

โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 ได
จัดทําโครงสรางหลักสูตรหองเรียนอัจฉริยะวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร (AP) โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวัน
วิทยา พุทธศักราช 2561 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ซ่ึงสอดคลองตามหลักการ จุดหมาย โครงสรางการจัดหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
โดยคณะกรรมการจัดทําหลักสูตรและกลุมงานวิชาการไดร วมกันดําเนินงานจัดทําหลักสตู รสถานศึกษาทกุ กลุม
สาระการเรียนรูคือ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรู
วิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพล
ศึกษา กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรู
ภาษาตางประเทศ และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ในการจัดทําโครงสรา งหลักสูตรหองเรียนอจั ฉริยะวิทยาศาสตร
และคณิตศาสตร (AP) โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช 2561 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
โรงเรยี นไดนําวิสยั ทัศน จดุ หมาย สมรรถนะสาํ คัญของผูเรียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรยี นรู
และตวั ช้ีวัดที่ชดั เจน เพื่อใชเ ปน ทิศทางในการจัดทําหลกั สูตรการเรยี นการสอนในแตละระดับ นอกจากนั้นได
กําหนดโครงสรางของเวลาเรียนขั้นต่าํ ของแตละกลมุ สาระการเรยี นรูในแตละชน้ั ปไ วในหลักสตู รแกนกลางและ
เปดโอกาสใหส ถานศกึ ษาจัดทําสาระการเรียนรเู พม่ิ เติมไดตามความพรอ มและจุดเนน ของโรงเรียน สอดคลอง
กับความตองการของชุมชนและทองถิ่น อีกท้ังไดปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผูเรียน เกณฑการจบ
การศึกษาในแตละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานการศึกษาใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู
กอนจะนําหลักสูตรสถานศึกษามาใชโรงเรียนตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน ซ่ึงคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไดรวมพิจารณาใหขอเสนอแนะในการจัดทําหลักสูตร
สถานศึกษาเปน อยา งดียงิ่ โรงเรียนมว งสามสิบอัมพวนั วทิ ยาจงึ ขอขอบคุณผูมีสวนเกีย่ วของมา ณ โอกาสน้ี

(นายสรุ พล ภสู ิธานันท)
ผูอ าํ นวยการโรงเรยี นมว งสามสิบอมั พวันวิทยา

สารบัญ

หนา

ความหมาย ความสําคญั ของหลักสตู หอ งเรยี นพิเศษอัจฉริยภาพวิทยาศาสตร 1
และคณติ ศาสตร 3
ลักษณะของหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนมวงสามสิบอมั พวนั วทิ ยา 5
วิสยั ทัศน 5
หลกั การ 6
เปา ประสงคจ ุดหมาย 7
สมรรถนะพ้ืนฐาน 5 ประการ 7
สมรรถนะสําคัญของผเู รียน 8
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
โครงสรา งหลกั สูตรหอ งเรยี นอัจฉริยะวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร (AP) 9
โรงเรียนมว งสามสบิ อัมพวันวทิ ยา พทุ ธศักราช 2561 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
คาํ อธิบายรายวชิ า 18
29
กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย 44
กลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร 71
กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร 78
กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 91
กลุมสาระการเรียนรูสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 98
กลุมสาระการเรยี นรูศ ลิ ปะ 105
กลุมสาระการเรยี นรูก ารงานอาชพี และเทคโนโลยี 120
กลุมสาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ 121
กจิ กรรมพัฒนาผูเ รียน 122
การจัดการเรยี นรู 123
สือ่ การเรยี นรู 124
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู 126
เกณฑการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น 127
เอกสารหลักฐานการศึกษา 127
การเทียบโอนผลการเรยี น
การบริหารจดั การหลักสูตร

ประกาศโรงเรยี นมว งสามสิบอมั พวนั วิทยา
เรื่อง การใชห ลักสูตรหองเรียนอจั ฉรยิ ะวิทยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร (AP)
โรงเรียนมว งสามสบิ อัมพวันวิทยา พทุ ธศกั ราช 2561 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

หลักสูตรโรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยาไดจัดทําข้ึนเพ่ือใชในการจัดการศึกษาตามโครงสราง
หลกั สูตรหองเรยี นอัจฉริยะวทิ ยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร (AP) โรงเรยี นมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช
2561 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นั้น บัดนี้ทางโรงเรียนไดดาํ เนนิ การ จัดทําหลักสตู รฉบับดังกลา ว และจะ
ไดน าํ มาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปการศึกษา 2561 – 2563 เพ่ือใหผูเรียนมีศักยภาพใน
การพัฒนาตนเองทัง้ ดานความรูและความสามารถ ตลอดจนการ สรางจิตสํานึกในความเปนไทยและสามารถ
ดํารงชีวติ อยรู ว มกนั ในสงั คมไดอ ยางมคี วามสุข

ท้งั น้ี หลักสตู รโรงเรียนมวงสามสิบอมั พวนั วิทยา ไดร ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้ันพน้ื ฐาน เม่ือวันท่ี 16 พฤษภาคม 2561 จึงประกาศใหใ ชหลักสตู รโรงเรียนต้งั แต บดั น้ีเปน ตน ไป
ประกาศ ณ วันท่ี 16 พฤษภาคม 2561

(นายสรุ พล ภูสธิ านนั ท)
ผูอ ํานวยการโรงเรยี นมวงสามสิบอมั พวนั วทิ ยา

บทที่ ๑

สว นนาํ

ความหมาย

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบ
อัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ (ปรับปรุงพุทธศักราช ๒560) เปนแผนหรอื แนวทางหรือขอกําหนดของการจัดการศกึ ษา
ของโรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา ที่จะใชในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมี
คุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มคี วามสุข มีศักยภาพใน
การศึกษาตอ และประกอบอาชีพ โดยมุงหวังใหมีความสมบูรณท้ังดานรางกาย จิตใจ และ
สติปญ ญา อีกท้ังมคี วามรแู ละทกั ษะที่จําเปน สําหรับการดํารงชวี ิตและมคี ุณภาพไดม าตรฐานสากล
เพื่อการแขงขันในยุคปจจุบัน ดังนั้นหลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและ
คณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) จึงประกอบดวย
สาระสําคญั ของหลักสตู รแกนกลาง สาระความรูท่ีเก่ียวของกับชุมชนทอ งถิ่น และสาระสําคัญท่ี
สถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเตมิ โดยจัดเปนสาระการเรียนรูร ายวิชาพื้นฐานตามมาตรฐานการเรียนรู
และตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรูรายวชิ าเพม่ิ เติม จดั กจิ กรรมพัฒนาผูเรียนเปนเปนรายภาค และ
กําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษาตามคุณลักษณะอันพึงประสงคของหลักสูตร
แกนการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ความสาํ คัญ

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศกั ราช ๒๕60) มีความสําคญั ในการพัฒนาผเู รยี นใหมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู
ตัวช้ีวัด และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามที่กําหนดไวเปนแนวทางใหผูบริหารสถานศึกษา ครู
ตลอดจนผูเกี่ยวของกับการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ในการจัดมวลประสบการณใ หแกผูเรียนได
พัฒนาใหบรรลุถึงคุณภาพตามมาตรฐานในการพัฒนาเยาวชนของชาติ นอกเหนือจากการใชเปน
แนวทาง หรือขอกําหนดในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาใหบรรลุตามจุดหมายของการจัด
การศกึ ษาแลว หลักสตู รหอ งเรยี นอัจฉริยภาพทางวทิ ยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสบิ
อัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพทุ ธศักราช ๒๕60) ทพ่ี ัฒนาข้ึนยังเปนหลักสตู รที่มีจุดมุงหมายใหค รอบครวั ชมุ ชน องคก ร

2

ในทองถิ่น ทั้งภาครัฐและเอกชนเขารวมจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีแนวทางสําคัญที่
สถานศึกษากําหนดไวใ นหลักสูตรสถานศึกษา ดังน้ี

๑. หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบ
อัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) มุงพัฒนาใหผูเรียนเกิดความสนุกสนาน และความเพลิดเพลินในการ
เรียนรูเปรียบเสมอื นเปน วิธสี รา งกําลังใจ และเราใหเกิดความกาวหนาแกผูเรียนใหมากท่ีสุด มีความรู
สูงสุด ผูเรียนทุกคนมีความเขมแข็ง ความสนใจ มีประสบการณ และความมั่นใจ เรียนและทํางาน
อยางเปนอิสระและรวมใจกัน มีทักษะในการอานออกเขียนได คิดเลขเปน รูขอมูลสารสนเทศ และ
เทคโนโลยีสื่อสาร สงเสริมจิตใจท่ีอยากรูอยากเห็น มีกระบวนการคิดอยางมีเหตุผล และมี
ความสามารถพเิ ศษทางดา นวิทยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร

๒. หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบ
อัมพวันวิทยา พุทธศกั ราช ๒๕61 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) สงเสริมการพัฒนาดานจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคม และวัฒนธรรม
พัฒนาหลักการในการจําแนกระหวางถูกและผิด เขาใจและศรัทธาในความเช่ือของตน ความเช่ือและ
วัฒนธรรมท่ีแตกตางกัน พัฒนาหลักคณุ ธรรมและความอิสระของผูเรยี น และชวยใหเปน พลเมืองท่ีมี
ความรบั ผิดชอบ สามารถชว ยพัฒนาสังคมใหเ ปนธรรมขึน้ มคี วามเสมอภาค พัฒนาความตระหนัก
เขาใจ และยอมรับสภาพแวดลอ มที่ตนดาํ รงชวี ิตอยู ยึดมัน่ ในขอ ตกลงรวมกนั ตอการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืนท้งั
ในระดับสวนตน ระดับทองถิน่ ระดับชาติ และระดับโลก สรา งใหผูเรียนมีความพรอมในการเปน
ผูบริโภคทตี่ ดั สินใจแบบมขี อมลู เปน อสิ ระ และมคี วามรับผดิ ชอบ

3

ลักษณะของหลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
โรงเรียนมว งสามสิบอัมพวนั วทิ ยา พุทธศักราช ๒๕61

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) เปนหลักสูตรท่ีสถานศึกษาไดพัฒนาขึ้นเพ่ือพัฒนาผูเรียนในระดับ
มัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยยึดองคประกอบหลักสําคญั ๓ สวนคือ หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาระการเรียนรูทองถ่ิน และสาระสําคัญที่
สถานศกึ ษาพัฒนาเพิ่มเตมิ เปนกรอบในการจัดทํารายละเอียดเพื่อใหเปน ไปตามมาตรฐานการศึกษา
ขนั้ พน้ื ฐานที่กาํ หนด เหมาะสมกับสภาพชมุ ชนและทองถิ่นและจุดเนน ของสถานศึกษา โดยหลักสตู ร
หองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา
พุทธศักราช ๒๕61 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๕๗) ทีพ่ ัฒนาข้ึนมลี ักษณะของหลกั สตู ร ดังน้ี

๑. เปนหลักสูตรเฉพาะของสถานศึกษาโรงเรียน มวงสามสิบอัมพวันวิทยา สําหรับจัด
การศึกษาในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดระดับการศึกษาเปน ๒ ระดับ คือ ระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนตน (ช้นั มัธยมศึกษาปที่ 1 – 3) และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี
๔ – ๖)

๒. มีความเปนเอกภาพ หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) เปนหลกั สูตรของสถานศึกษาสาํ หรับใหครูผูสอน
นาํ ไปจัดการเรยี นรูไดอยางหลากหลาย โดยกาํ หนดให

๒.๑ มสี าระการเรียนรทู ีส่ ถานศึกษาใชเปนหลกั เพื่อสรา งพนื้ ฐานการคดิ การเรียนรู
และการแกปญหา ประกอบดวย ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสังคมศกึ ษา ศาสนา
และวัฒนธรรม

๒.๒ มีสาระการเรียนรูที่เสริมสรางความเปนมนุษย ศักยภาพการคิดและการ
ทาํ งาน ประกอบดวย สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ศลิ ปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาองั กฤษ

๒.๓ มีสาระการเรียนรูเพ่ิมเติม โดยจัดทําเปนรายวิชาเพิ่มเติมตามความเหมาะสม
และสอดคลองกับโครงสรางเวลาเรียน สาระการเรียนรูทองถ่ิน ความตองการของผูเรียน และบรบิ ท
ของสถานศกึ ษา

๒.๓ มีกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เพ่ือพัฒนาผูเรียนท้ังดานรางกาย จิตใจ สติปญญา
อารมณ และ สังคม เสริมสรางการเรียนรูนอกจากสาระการเรียนรู ๘ กลุม และการพัฒนาตนตาม
ศกั ยภาพ

๒.๔ มีการกําหนดมาตรฐานของสถานศกึ ษาท่ีสอดคลองกับมาตรฐานระดับตา ง ๆ
เพ่ือเปนเปาหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จัดทํารายละเอียดสาระการ
เรียนรู และจัดกระบวนการเรียนรใู หส อดคลอ งกับสภาพในชมุ ชน สังคม และภมู ปิ ญญาทองถ่ิน

๓. มีมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสําคัญของการพัฒนาคุณภาพผูเรียน หลักสูตร
หองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา

4

พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑(ปรับปรุง
พุทธศักราช ๒๕60) เปน หลักสูตรที่มีมาตรฐานเปนตัวกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงคของ
ผูเ รียน เพือ่ เปนแนวทางในการประกนั คณุ ภาพการศึกษา โดยมีการกําหนดมาตรฐานไวด ังน้ี

๓.๑ มาตรฐานหลักสูตร เปนมาตรฐานดานผูเรียนหรือผลผลิตของหลักสูตร
สถานศกึ ษา อนั เกิดจากการไดรบั การอบรมสั่งสอนตามโครงสรา งของหลกั สูตรทั้งหมดใชเปน แนวทาง
ในการตรวจสอบคุณภาพโดยรวมของการจัดการศึกษาตามหลักสูตรในทกุ ระดับ และสถานศึกษาตอ ง
ใชสําหรับการประเมินตนเองเพื่อจัดทํารายงานประจําปตามบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการศึกษา
นอกจากน้ียังเปนแนวทางในการกําหนดแนวปฏิบัติในการสงเสริม กํากับ ติดตาม ดูแล และปรับปรุง
คณุ ภาพ เพือ่ ใหไดต ามมาตรฐานทกี่ าํ หนด

๓.๒ มีตัวช้ีวัดชั้นปเปนเปาหมายระบุสิ่งท่ีนักเรยี นพึงรูและปฏิบัติได รวมทั้ง
คุณลักษณะของผเู รียนในแตละระดับช้ันซึ่งสะทอนถึงมาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจง และมี
ความเปนรูปธรรม นําไปใชใ นการกําหนดเนื้อหา จัดทําหนวยการเรยี นรู จัดการเรียนการสอน และเปน
เกณฑสําคัญสําหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผูเรียน ตรวจสอบพัฒนาการผูเรียน
ความรู ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและคานิยมอันพึงประสงค และเปนหลักในการ
เทยี บโอนความรแู ละประสบการณจ ากการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย

๓.๓ มีความเปนสากล ความเปนสากลของหลักสูตรสถานศึกษา คือมุงใหผูเรียนมี
ความรู ความสามารถในเร่ืองเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาอังกฤษ การจัดการสิ่งแวดลอ ม ภมู ิปญญา
ทองถนิ่ มคี ุณลักษณะทจ่ี ําเปนในการอยูในสังคมไดแ ก ความซอื่ สัตย ความรับผิดชอบ การตรงตอเวลา
การเสียสละ การเอ้ือเฟอ โดยอยูบ นพ้ืนฐานของความพอดรี ะหวางการเปน ผนู าํ และผูตาม
การทํางานเปนทมี และการทํางานตามลําพังการแขงขัน การรูจักพอ และการรวมมือกันเพื่อสังคม
วิทยาการสมัยใหม และภูมิปญ ญาทองถ่ิน การรับวัฒนธรรมตา งประเทศ และการอนรุ ักษวฒั นธรรม
ไทยการฝกฝนทกั ษะเฉพาะทาง และการบูรณาการในลักษณะท่เี ปน องคร วม

๔. มีความยืดหยุน หลากหลาย หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและ
คณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) เปนหลักสูตรทสี่ ถานศึกษา
จัดทํารายละเอียดตา ง ๆ ขึ้นเอง โดยยึดโครงสรางหลักทก่ี ําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปนขอบขายในการจัดทํา จึงทําใหหลักสตู รของสถานศึกษามีความ
ยืดหยุน หลากหลาย สอดคลอ งกับสภาพปญ หา และความตองการของทอ งถ่ิน โดยเฉพาะอยา งยิ่งมี
ความเหมาะสมกบั ตวั ผูเรยี น

๕. การวัดและประเมินผลเนนหลักการพ้ืนฐานสองประการคือ หน่ึง การประเมินเพื่อพัฒนา
ผูเรียน และสองเพื่อตัดสินผลการเรียน โดยผูเรียนตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด
เพ่ือใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของ
ผูเรียนเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรูในทุกระดับไมวาจะเปนระดับช้ันเรียน
ระดบั สถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปน
กระบวนการพัฒนาคุณภาพผเู รียน และใชผลการประเมินเปนขอ มูลและสารสนเทศท่แี สดงพัฒนาการ

5

ความกาวหนา และความสําเร็จทางการเรียนของผูเรียน ตลอดจนขอมูลท่ีเปนประโยชนตอการ
สง เสรมิ ใหผเู รยี นเกดิ การพฒั นาและเรยี นรอู ยา งเตม็ ตามศักยภาพ

วสิ ยั ทศั น

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพทุ ธศกั ราช ๒๕60) มุงพฒั นาผเู รยี นสคู วามเปนเลิศทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และกาวสู
ความเปนสากลอยางเตม็ ศักยภาพของบุคคล

หลักการ

หลักการของหลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวง
สามสบิ อัมพวนั วทิ ยา มหี ลกั การท่ีสําคญั ดังน้ี

3.1 เปนหลักสูตรท่ีมุงเนนการพัฒนานักเรียนใหมีความโดดเดนในดานทักษะความรู
กระบวนการคดิ วิเคราะหสตปิ ญ ญา คณุ ธรรมและจริยธรรม

3.2 ครอบคลุมตามหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
3.3 เพ่ิมเติมความเขมขนของรายวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร เทียบเคียงไดกับ
หลกั สูตรของ
3.4 เพ่ิมเติมเนอื้ หาสาระของรายวชิ า ตามความโดดเดนทางวชิ าการของแตละมหาวทิ ยาลัย
และบริบทของทองถ่นิ
3.5 เนนการจัดสาระการเรียนรูใหหลากหลายและมีความยืดหยุน เพื่อใหผูเรียนได
พัฒนาการเรยี นรเู ต็มความสามารถตามความถนดั และความสนใจของตนเอง
3.6 จดั ใหมีกิจกรรมพฒั นาผเู รียนที่หลากหลายทั้งภายในและภายนอกหอ งเรียนทั้งในและ
ตางประเทศ เพื่อพัฒนานักเรียนใหม ีคุณลักษณะอันพึงประสงคต ามอุดมการณและเปาหมาย
ของการพัฒนานักเรียน
3.7 สงเสริมการประดิษฐคิดคน ความคิดริเริ่มสรางสรรคแ ละการทําโครงงานวิทยาศาสตร
เพื่อกระตุนใหนักเรียนตระหนักรใู นกระบวนการวิจยั และเปา หมายของการวิจัยทม่ี ตี อ ทอ งถน่ิ ผานองค
รวมของความรู
3.8 มุงเนนไปสูการตอยอดในการผลิตบัณฑิต ที่มุงเนนการวิจัยทางวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีที่มคี ณุ ภาพมาตรฐานระดบั นานาชาติ (World Class)

6

จุดหมาย

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบ
อัมพวันวิทยา พุทธศกั ราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพใน
การศกึ ษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเปนจุดหมายเพื่อใหเกิดกับผูเรียน เมื่อจบการศึกษา
ตามหลักสตู ร ดงั น้ี

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

๒. มีความรู ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และมี
ทักษะชวี ติ

๓. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทด่ี ี มสี ขุ นิสยั และรกั การออกกําลงั กาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข
๕. มีจิตสํานึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนา
สิ่งแวดลอม มีจิตสาธารณะที่มุงทําประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกันในสังคม
อยางมีความสุข

7

สมรรถนะสําคญั ของผเู รียน และคุณลักษณะอนั พึงประสงค

ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร
โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) มุงเนนพัฒนาผเู รยี นใหมคี ุณภาพตามมาตรฐาน
ทกี่ ําหนด ซง่ึ จะชว ยใหผ ูเ รียนเกดิ สมรรถนะสาํ คัญและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค ดังนี้

สมรรถนะสาํ คญั ของผูเ รียน

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมว งสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรบั ปรุงพุทธศกั ราช ๒๕60) มุง ใหผูเรียนเกดิ สมรรถนะสําคัญ ๕ ประการ ดังน้ี

๑. ความสามารถในการส่อื สาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มวี ฒั นธรรมในการ
ใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรสู ึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูล
ขา วสารและประสบการณอ ันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทั้งการเจรจาตอ รอง
เพ่ือขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรบั หรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและ
ความถกู ตอ ง ตลอดจนการเลอื กใชว ธิ กี ารส่ือสาร ทีม่ ีประสิทธภิ าพโดยคาํ นึงถึงผลกระทบท่ีมีตอตนเอง
และสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การ
คิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองค
ความรูห รอื สารสนเทศเพอ่ื การตัดสนิ ใจเกยี่ วกับตนเองและสงั คมไดอยางเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกปญหา เปน ความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตา ง ๆ
ท่ีเผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ
ความสัมพันธและการเปล่ียนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรมู า
ใชในการปองกนั และแกไขปญหา และมีการตัดสินใจทมี่ ีประสิทธิภาพโดยคํานงึ ถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึน
ตอ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ ม

๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตา ง ๆ ไปใช
ในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอ ยา งตอเน่ือง การทํางาน และการอยู
รวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอนั ดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยง
ตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการ
รจู กั หลกี เลี่ยงพฤตกิ รรมไมพึงประสงคท ่ีสงผลกระทบตอตนเองและผอู ่ืน

8

๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดาน
ตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การ
สอื่ สาร การทาํ งาน การแกป ญหาอยา งสรางสรรค ถูกตอ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร โรงเรียนมว งสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพ่ือใหสามารถอยู
รวมกบั ผูอ น่ื ในสังคมไดอ ยา งมคี วามสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี

๑. รักชาติ ศาสน กษตั รยิ 
๒. ซอ่ื สัตย สุจรติ
๓. มวี ินยั
๔. ใฝเรยี นรู
๕. อยูอยางพอเพียง
๖. มงุ มน่ั ในการทาํ งาน
๗. รกั ความเปนไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ

9

บทท่ี ๒

โครงสรา งหลกั สตู รหองเรียนอจั ฉริยภาพทางวทิ ยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร
โรงเรยี นมวงสามสบิ อมั พวนั วิทยา พทุ ธศกั ราช ๒๕61

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
(ปรบั ปรุงพุทธศกั ราช ๒๕60)

หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพ
วันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ปรบั ปรุงพุทธศักราช ๒๕60) ไดก ําหนดโครงสรางของหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือใหผูสอน และผูท่ี
เกีย่ วของในการจดั การเรยี นรูตามหลักสตู รของสถานศกึ ษามีแนวปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

๑. ระดับการศึกษา กําหนดหลักสูตรเปน ๒ ระดับ ตามโครงสรางของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และตามภารกิจหลักของการจัดการเรียนการสอนใน
มธั ยมศกึ ษาตอนตน และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ของสถานศึกษา ดังน้ี

๑.๑ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ – ๓) เปนชวงสุดทายของ
การศึกษาภาคบังคับ มุงเนนใหผูเรียนไดสํารวจความถนัดและความสนใจของตนเอง สงเสริมการ
พัฒนาบุคลิกภาพสวนตน มีทักษะในการคิดวิจารณญาณ คิดสรางสรรค และคิดแกปญหา มีทักษะใน
การดําเนินชีวิต มที ักษะการใชเทคโนโลยีเพ่ือเปนเครื่องมือในการเรียนรู มคี วามรับผิดชอบตอสังคม มี
ความสมดุลท้งั ดานความรู ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเปนไทย ตลอดจนใชเปน
พ้นื ฐานในการประกอบอาชพี หรือการศึกษาตอ

๑.๑ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๔ – ๖) การศกึ ษาระดับนเี้ นน
การเพิ่มพูนความรูและทักษะเฉพาะดาน สนองตอบความสามารถ ความถนัดและความสนใจของ
ผูเรียนแตละคนท้ังดานวิชาการและวิชาชีพมีทักษะในการใชวิทยาการ และเทคโนโลยี ทักษะ
กระบวนการคิดข้ันสูง สามารถนําความรูไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนในการศึกษาตอและการ
ประกอบอาชีพ มุงพฒั นาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเปนผูน ํา และผูใหบรกิ ารชมุ ชน
ในดา นตางๆ

๒. สาระการเรยี นรู สาระการเรียนรูในหลักสตู รหองเรียนอัจฉรยิ ภาพทางวิทยาศาสตรและ
คณิตศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) ไดกําหนดไวในหลักสูตร
ประกอบดวยองคความรู ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู และคุณลักษณะ หรือคานิยม คุณธรรม
จรยิ ธรรมของผเู รยี น ๘ กลมุ คือ

๒.๑ ภาษาไทย
๒.๒ คณติ ศาสตร
๒.๓ วทิ ยาศาสตร

10

๒.๔ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๒.๕ สุขศกึ ษาและพลศึกษา
๒.๖ ศลิ ปะ
๒.๗ การงานอาชพี และเทคโนโลยี
๒.๘ ภาษาอังกฤษ
๓. กิจกรรมพัฒนาผูเ รียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน มุงใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามศักยภาพ
พัฒนาอยางรอบดานเพ่ือความเปนมนุษยที่สมบูรณ ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม
เสริมสรางใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝงและสรางจิตสํานึกของการทํา
ประโยชนเพ่ือสังคม สามารถจัดการตนเองได และอยูรวมกับผูอ่ืนอยางมีความสุข แบงเปน ๓
ลกั ษณะ ดังนี้
๓.๑ กิจกรรมแนะแนว เปนกจิ กรรมทสี่ ง เสริมและพฒั นาผูเรียนใหร ูจกั ตนเอง
รูรักษส่ิงแวดลอม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแกปญหา กําหนดเปาหมาย วางแผนชีวิตท้ังดานการเรียน
และอาชีพ สามารถปรับตนไดอยางเหมาะสม นอกจากน้ียงั ชวยใหครรู ูจักและเขา ใจผูเรียน ทั้งยังเปน
กจิ กรรมทช่ี ว ยเหลือและใหค ําปรกึ ษาแกผ ูปกครองในการมสี ว นรว มพัฒนาผูเรยี น
๓.๒ กิจกรรมนกั เรียน เปนกิจกรรมที่มงุ พัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเปนผูนําผู
ตามท่ีดี ความรับผิดชอบ การทํางานรวมกัน การรจู ักแกปญหา การตัดสินใจทเ่ี หมาะสม ความมีเหตผุ ล
การชวยเหลือแบงปนกัน เอ้ืออาทร และสมานฉันท โดยจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด
และความสนใจของผูเรียน ใหไดปฏิบัติดวยตนเองในทุกข้ันตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะหวางแผน
ปฏบิ ัตติ ามแผน ประเมินและปรบั ปรุงการทํางาน เนนการทํางานรว มกันเปนกลุม ตามความเหมาะสม
และสอดคลองกับวุฒิภาวะของผูเรียน บริบทของสถานศึกษาและทองถิ่น กิจกรรมนักเรียนใน
หลักสูตรหองเรียนอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวันวิทยา
พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุง
พทุ ธศักราช ๒๕60) ประกอบดวย

๓.๒.๑ กจิ กรรมลูกเสอื - เนตรนารี
๓.๒.๒ กิจกรรมชุมนุม
๓.๓ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมใหผูเรียน
บําเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอสังคม ชุมชน และทองถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อ
แสดงถงึ ความรบั ผิดชอบ ความดงี าม ความเสียสละตอ สังคม มจี ิตสาธารณะ
๔. เวลาเรียน หลกั สตู รหองเรียนอจั ฉรยิ ภาพทางวิทยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร โรงเรยี นมว ง
สามสบิ อัมพวันวิทยา พุทธศักราช ๒๕61 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑ (ปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕60) ไดก ําหนดกรอบโครงสรางเวลาเรียนข้ันตํ่าสําหรับกลมุ สาระการ
เรียนรู ๘ กลุม และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ซึ่งผูสอนสามารถเพ่ิมเติมไดตามความพรอมและจุดเนน ของ
สถานศกึ ษา โดยสามารถปรับใหเ หมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาและสภาพของผเู รียน ดังนี้

11

๑. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ – ๓) ใหจัดเวลาเรียนเปน รายภาค มีเวลา
เรียนวันละไมตํ่ากวา ๗ ช่ัวโมง คิดนํ้าหนักของรายวิชาที่เรียนเปนหนวยกิต ใชเกณฑ ๔๐ ชั่วโมงตอภาค
เรยี นมีคา นํ้าหนกั วิชา เทากบั ๑ หนว ยกติ (นก.)

๒. ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๔-๖) ใหจัดเวลาเรยี นเปนรายภาค มเี วลา
เรียนวันละไมตํ่ากวา ๗ ชั่วโมง คิดน้ําหนักของรายวิชาท่ีเรียนเปนหนวยกิต ใชเกณฑ ๔๐ ชั่วโมงตอภาค
เรียนมคี า น้ําหนักวชิ า เทากบั ๑ หนว ยกิต (นก.)

12

โครงสรา งและอัตราเวลาการจัดการเรยี นรู

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนมวงสามสิบอัมพวนั วิทยา พทุ ธศักราช ๒๕๕๒
( ปรบั ปรงุ ๒๕60 )

ตามหลักสตู รแกนกลางสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

กลมุ สาระการเรยี นรู ม.4 ม.5 ม.6 รวม
ภาค1 ภาค2 ภาค1 ภาค2 ภาค1 ภาค2
1. ภาษาไทย 6.0
- รายวชิ าพื้นฐาน 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0
9.0
2. คณิตศาสตร 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 6.0
- รายวชิ าพน้ื ฐาน 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 6.0
- รายวชิ าเพ่ิมเติมกลมุ 1 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0
- รายวชิ าเพ่ิมเตมิ กลมุ 2 1.5
1.5 - -- -- 1.5
3. วิทยาศาสตร 1.5 - -- -- 1.5
- รายวชิ าพนื้ ฐาน 1.5 - -- -- 1.5
: ฟส ิกสพนื้ ฐาน 1.5 - -- --
: เคมพี น้ื ฐาน 7.5
: ชีววทิ ยาพ้ืนฐาน 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 7.5
: ดาราศาสตรพนื้ ฐาน 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 7.5
- รายวิชาเพิ่มเตมิ 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.0
: ฟส กิ สเ พิม่ เตมิ 1.0 - -- -- 1.0
: เคมเี พิ่มเตมิ - 1.0 -- -- 1.0
: ชวี วิทยาเพม่ิ เตมิ -- 1.0 - -- 1.0
: เทคนิคปฏิบัตกิ ารวทิ ย1 -- - 1.0 -- 1.0
: โครงงานวทิ ย1 -- -- 1.0 - 1.0
: เทคนิคปฏบิ ตั กิ ารวิทย2 -- -- - 1.0
: โครงงานวิทย2
: ระเบียบวิธวี ิจัยเบอื้ งตน
: โครงงานวิทย (พิเศษ)

13

กลุม สาระการเรยี นรู ม.4 ม.5 ม.6 รวม
ภาค1 ภาค2 ภาค1 ภาค2 ภาค1 ภาค2 0.5
4. สงั คมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม - - - 0.5 - - 6.0
- รายวชิ าพน้ื ฐาน 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0
6.0
: สังคมศกึ ษา 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 3.0
5. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 6.0
- รายวชิ าพน้ื ฐาน 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 0.5 9.0
6.0
: สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 98.0
6. ศิลปะ
- รายวชิ าพน้ื ฐาน 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5 1.5
1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 16.5 15.0 15.0 15.5 15.0 15.0
- รายวชิ าพนื้ ฐาน

8. ภาษาตา งประเทศ
- รายวิชาภาษาอังกฤษวิชาพื้นฐาน
- รายวิชาภาษาอังกฤษวิชาเพิ่มเติม
1
รวมรายวิชาพน้ื ฐานและเพ่ิมเติม

เกณฑก ารจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (แนบทา ยคาํ สัง่ สพฐ.ที่ ๑๑๐/๒๕๕๕ ลงวันท่ี ๑๓ ๒๕
มกราคม ๒๕๕๕)

๑. ผเู รยี นเรียนรายวชิ า พน้ื ฐานและวิชาเพม่ิ เตมิ โดยเปนรายวชิ าพน้ื ฐาน ๔๑ หนวยกติ
และรายวชิ าเพิม่ เตมิ ตามท่ีสถานศกึ ษากําหนด

๒. ผเู รยี นตอ งไดห นวยกติ ตลอดหลกั สูตรไมน อ ยกวา ๗๗ หนวยกติ เปน วชิ าพ้นื ฐาน ๔๑
หนวยกติ และวชิ าเพม่ิ เตมิ ไมน อยกวา ๓๖ หนว ยกิต

๓. ผูเรียนมผี ลการประเมนิ การอาน คิด วเิ คราะหและเขียน ในระดบั ผา นเกณฑการประเมิน
ตามท่ีสถานศึกษากําหนด

๔. ผเู รียนมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ในระดับผานเกณฑการประเมนิ ตามที่
สถานศึกษากาํ หนด

๕. ผูเรียนเขา รวมกิจกรรมพฒั นาผเู รียนและมผี ลการประเมินผา นเกณฑการประเมินตามที่
สถานศกึ ษากําหนด

โครงสรางหลักสูตร
อจั ฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร

(Advanced Program)
ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย
โรงเรียนมว งสามสบิ อมั พวนั วทิ ยา

ปการศกึ ษา 2561 – 2563

15

โครงสรางหลกั สตู รสถานศกึ ษา ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ปก ารศกึ ษา 2561 – 2563
โรงเรยี นมว งสามสิบอัมพวันวทิ ยา สาํ นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 29
หลักสูตรหองเรยี นอัจฉริยภาพวิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร (AP)

ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 4

ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2

รหสั วชิ า ชอื่ วชิ า นก. รหสั วชิ า ชื่อ วชิ า นก.

วิชาพ้ืนฐาน (26 ช.ม.) 13.0 วิชาพื้นฐาน (14 ช.ม.) 7.0

ท31101 ภาษาไทย1 1.0 ท31102 ภาษาไทย2 1.0

ค31101 คณติ ศาสตรพืน้ ฐาน1 1.5 ค31102 คณิตศาสตรพ้นื ฐาน2 1.5

ว31101 ฟสกิ สพ นื้ ฐาน 1.5 ส31102 สังคมศึกษา2 1.0

ว31102 เคมีพื้นฐาน 1.5 พ31102 สุขศึกษาและพลศึกษา2 1.0

ว31103 ชีววทิ ยาพนื้ ฐาน 1.5 ศ31102 ศลิ ปะ2 0.5

ว31104 โลกและดาราศาสตรพนื้ ฐาน 1.5 ง31102 การงานอาชีพและเทคโนโลย2ี 1.0

ส31101 สงั คมศึกษา1 1.0 อ31102 องั กฤษพนื้ ฐาน2 1.0

พ31101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา1 1.0

ศ31101 ศิลปะ1 0.5

ง31101 การงานอาชพี และเทคโนโลย1ี 1.0

อ31101 อังกฤษพ้ืนฐาน1 1.0

วิชาเพม่ิ เตมิ 1 (8 ชม.) 4.0 วิชาเพม่ิ เติม 1 (17 ชม.) 8.5

ค31201 คณติ ศาสตรเ พ่มิ เติม1 1.0 ค31202 คณติ ศาสตรเ พม่ิ เติม2 1.0

ค30201 คณติ ศาสตรเพมิ่ พูน1 1.0 ค3202 คณติ ศาสตรเ พม่ิ พูน2 1.0

อ31201 ภาษาอังกฤษอา น-เขียน1 1.0 ว31201 ฟสิกสเพ่ิมเตมิ 1 1.5

ว30201 เทคนิคปฏบิ ัตกิ ารวทิ ย1 1.0 ว31221 เคมีเพิ่มเตมิ 1 1.5

ว31241 ชวี วิทยาเพม่ิ เตมิ 1 1.5

ว30202 โครงงานวทิ ย1 1.0

อ31202 ภาษาองั กฤษอา น-เขียน2 1.0

กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน (3 ช.ม.) กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน (3 ช.ม.)

หนาทพี่ ลเมือง หนา ท่ีพลเมือง

แนะแนว แนะแนว

กจิ กรรมชมุ นมุ กจิ กรรมชุมนุม

ลูกเสือ-เนตรนาร,ี กิจกรรมเพื่อสงั คมฯ ลูกเสอื -เนตรนาร,ี กิจกรรมเพื่อสังคมฯ

รวม 17.0 รวม 15.5

16

โครงสรางหลักสตู รสถานศกึ ษา ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย ปก ารศกึ ษา 2561 – 2563
โรงเรียนมวงสามสิบอัมพวนั วิทยา สาํ นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 29
หลักสตู รหองเรยี นอจั ฉรยิ ภาพวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร (AP)

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 5

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2

รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า นก. รหัสวิชา ชอื่ วิชา นก.

วชิ าพื้นฐาน (15 ช.ม.) 7.5 วชิ าพน้ื ฐาน (15 ช.ม.) 7.5

ท32101 ภาษาไทย3 1.0 ท32102 ภาษาไทย4 1.0

ค32101 คณติ ศาสตรพ น้ื ฐาน3 1.5 ค32102 คณิตศาสตรพื้นฐาน4 1.5

ส32101 สงั คมศึกษาฯ3 1.0 ส32102 สงั คมศึกษาฯ4 1.0

ส32103 ประวตั ิศาสตร1 0.5 ส32104 ประวัติศาสตร2 0.5

พ32101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา3 1.0 พ32102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา4 1.0

ศ32101 ศิลปะ3 0.5 ศ32102 ศลิ ปะ4 0.5

ง32101 การงานอาชีพและเทคโนโลย3ี 1.0 ง22102 การงานอาชพี และเทคโนโลย4ี 1.0

อ32101 องั กฤษพืน้ ฐาน3 1.0 อ22102 องั กฤษพ้นื ฐาน4 1.0

วชิ าเพิม่ เตมิ 1 (17 ชม.) 8.5 วชิ าเพิ่มเติม 1 (17 ชม.) 8.5

ค32201 คณติ ศาสตรเพ่ิมเติม3 1.0 ค32212 คณติ ศาสตรเพม่ิ เติม4 1.0

ค30203 คณติ ศาสตรเพ่ิมพูน3 1.0 ค20204 คณติ ศาสตรเ พม่ิ พูน4 1.0

ว32202 ฟส ิกสเ พ่ิมเตมิ 2 1.5 ว32203 ฟส ิกสเพม่ิ เตมิ 3 1.5

ว32222 เคมเี พ่ิมเตมิ 2 1.5 ว32223 เคมีเพ่มิ เตมิ 3 1.5

ว32242 ชวี วิทยาเพิม่ เตมิ 2 1.5 ว32243 ชวี วิทยาเพ่ิมเติม3 1.5

ว30203 เทคนิคปฏิบัตกิ ารวิทย2 1.0 ว30204 โครงงานวิทย2 1.0

อ32201 องั กฤษอาน-เขยี น3 1.0 อ32202 อังกฤษอาน-เขียน4 1.0

กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน (3 ช.ม.) กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน (3 ช.ม.)

หนา ทพ่ี ลเมือง หนา ที่พลเมือง

แนะแนว แนะแนว

กจิ กรรมชมุ นุม กิจกรรมชุมนุม

ลกู เสือ-เนตรนาร,ี กจิ กรรมเพื่อสงั คมฯ ลกู เสอื -เนตรนาร,ี กจิ กรรมเพื่อสังคมฯ

รวม 16.5 รวม 17.0

17

โครงสรา งหลกั สตู รสถานศึกษา ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปก ารศกึ ษา 2561 – 2563
โรงเรยี นมว งสามสิบอัมพวนั วทิ ยา สํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 29
หลักสตู รหองเรยี นอัจฉรยิ ภาพวิทยาศาสตรแ ละคณิตศาสตร (AP)

ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 6

ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2

รหัสวิชา ชื่อ วชิ า นก. รหัสวชิ า ชอ่ื วชิ า นก.

วิชาพื้นฐาน (18 ช.ม.) 9.0 วชิ าพนื้ ฐาน (18 ช.ม.) 9.0

ท33101 ภาษาไทย5 1.0 ท33102 ภาษาไทย6 1.0

ค33101 คณิตศาสตรพน้ื ฐาน5 1.5 ค33102 คณติ ศาสตรพ้นื ฐาน6 1.5

ส33101 สังคมศึกษา5 1.0 ส33102 สังคมศกึ ษา6 1.0

ส33103 ประวตั ิศาสตร3 0.5 ส33104 ประวตั ิศาสตร4 0.5

พ33101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา5 1.0 พ33102 สุขศกึ ษาและพลศึกษา6 1.0

ศ33101 ศิลปะ5 0.5 ศ33102 ศิลปะ6 0.5

ง33101 การงานอาชพี และเทคโนโลย5ี 1.0 ง33102 การงานอาชพี และเทคโนโลย6ี 1.0

อ33101 องั กฤษพ้นื ฐาน5 1.0 อ33102 องั กฤษพน้ื ฐาน6 1.0

วิชาเพิ่มเตมิ 1 (18 ชม.) 9.0 วิชาเพม่ิ เติม 1 (18 ชม.) 9.0

ค33201 คณติ ศาสตรเพ่มิ เติม5 1.0 ค23202 คณติ ศาสตรเพิ่มเติม6 1.0

ค20205 คณติ ศาสตรเ พิ่มพูน5 1.0 ค23232 คณิตศาสตรเพม่ิ พูน6 1.0

ว32204 ฟส กิ สเพม่ิ เตมิ 4 1.5 ว32205 ฟส ิกสเพิม่ เตมิ 5 1.5

ว32224 เคมเี พ่มิ เติม4 1.5 ว32225 เคมเี พิ่มเตมิ 5 1.5

ว32244 ชวี วทิ ยาเพิ่มเติม4 1.5 ว32245 ชีววทิ ยาเพิม่ เติม5 1.5

ว30205 ระเบยี บวิจัยเบือ้ งตน 1.0 ว30206 โครงงานวิทยาศาสตร(พิเศษ) 1.0

อ23201 อังกฤษอาน-เขยี น5 1.5 อ33202 อังกฤษอาน-เขยี น6 1.5

กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น( 3 ช.ม.) กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น( 3 ช.ม.)

หนา ท่ีพลเมอื ง หนาทพี่ ลเมือง

แนะแนว แนะแนว

กจิ กรรมชมุ นมุ กจิ กรรมชุมนมุ

ลกู เสือ-เนตรนาร,ี กจิ กรรมเพ่ือสงั คมฯ ลกู เสอื -เนตรนาร,ี กิจกรรมเพื่อสังคมฯ

รวม 18.0 รวม 18.0

กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย

โครงสรางรายวิชากลุมสาระการเรียนรูภ าษาไทย
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นมวงสามสบิ อมั พวันวทิ ยา

วชิ าพ้นื ฐาน เรยี นวิชาพนื้ ฐานในกลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย จาํ นวน 6.0 หนวยกิต ไดแ ก
รายวชิ าตอไปน้ี

ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ๔ี่ ภาษาไทย1 ๒ ชัว่ โมง/สัปดาห ๑.๐ หนวยกิต
ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย2 ๒ ชั่วโมง/สัปดาห ๑.๐ หนว ยกติ
ท๓๑๑๐๒

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ๕่ี ภาษาไทย3 ๒ ช่วั โมง/สัปดาห ๑.๐ หนวยกติ
ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย4 ๒ ชัว่ โมง/สปั ดาห ๑.๐ หนวยกิต
ท๓๒๑๐๒

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท๖่ี ภาษาไทย5 ๒ ช่ัวโมง/สปั ดาห ๑.๐ หนวยกติ
ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย6 ๒ ชั่วโมง/สัปดาห ๑.๐ หนว ยกิต
ท๓๓๑๐๒

วิชาเพิ่มเติม
ท๓

19

ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย1 คาํ อธิบายรายวิชาภาษาไทยพ้นื ฐาน ๑.๐ หนว ยกิต
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ ๔ 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห/ภาค ภาคเรียนที่ ๑

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศึกษาวิเคราะห ฝกทักษะทางภาษา ฟง ดู พดู อานและเขยี น บทรอยแกว และรอยกรอง
รับสารดวยการอานจากสือ่ ตางๆ เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนเรียงความ ยอความ สารคดี เขียน
รายงาน เขียนบันทึกความรูตลอดจนประเมินคางานเขียน พูดสรุปแนวคิดและการแสดงความ
คิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู วิเคราะหแนวคิดการใชภาษาไทยและความนาเช่ือถือ เลือกเรื่องท่ีฟง
และดูอยา งมีวิจารณญาณ ประเมินเรอื่ งที่ฟงและดูเพื่อกําหนดแนวทางนําไปประยุกตใช พูดในโอกาส
ตางๆ ออกเสียงคาํ เขียนสะกดคาํ สรางคําในภาษาไทย ประเมนิ การใชภาษาจากส่ือสงิ่ พมิ พและส่ือ
อิเล็กทรอนิกส แตงบทรอยกรองประเภทกาพย วิเคราะหและวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรม
เบ้ืองตน ประเมินคา สังเคราะหวรรณคดแี ละวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรมพน้ื บานและภูมิปญ ญา
ทางภาษา ทอ งบทอาขยานและบทรอ ยกรองท่ีมีคุณคา

โดยใชกระบวนการเรียนทางภาษา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสรางความรู-ความ
เขา ใจ กระบวนการกลมุ กระบวนการคิดอยา งมีวิจารณญาณ และกระบวนการสราง
ความตระหนัก

เพ่ือใหเกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู การศึกษาคนควา เกิดทักษะทางภาษา นํา
ความคิดไปใชในการตัดสินใจแกไขปญหา เขาใจและเห็นคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย
สามารถนํามาประยุกตใชในชีวิตจริงได มีมารยาทในการอาน การเขียน การพัง ดูและการพูด มีนิสัย
รักการอาน การเขยี น โดยนําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรบั ใชใ นชวี ิตประจาํ วนั

รหสั ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๕,
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๙, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑,
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖,
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓,
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓,
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒,
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖

จํานวน 34 ตวั ชีว้ ัด

20

ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย2 คาํ อธบิ ายรายวิชาภาษาไทยพน้ื ฐาน ๑.๐ หนวยกติ
ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ ๔ 2 ชวั่ โมง/สัปดาห/ภาค ภาคเรยี นท่ี ๒

คําอธิบายรายวชิ า

ศกึ ษาวิเคราะห ฝก ทกั ษะทางภาษา ฟง ดู พูด อา นและเขยี น บทรอยแกว และรอยกรอง
รับสารดวยการอานจากสื่อตางๆ เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนเรียงความ ยอความ สารคดี เขียน
รายงาน เขียนบันทึกความรูตลอดจนประเมินคางานเขียน พูดสรุปแนวคิดและการแสดงความ
คิดเห็นจากเร่ืองที่ฟงและดู วิเคราะหแนวคิดการใชภาษาไทยและความนาเชื่อถือ เลือกเรื่องท่ีฟง
และดูอยา งมีวิจารณญาณ ประเมินเร่อื งท่ีฟงและดูเพื่อกําหนดแนวทางนําไปประยุกตใช พูดในโอกาส
ตา งๆ ออกเสียงคาํ เขียนสะกดคํา สรา งคําในภาษาไทย ประเมนิ การใชภ าษาจากสื่อส่งิ พมิ พแ ละส่ือ
อิเล็กทรอนิกส แตงบทรอยกรองประเภทโคลง วิเคราะหและวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรม
เบื้องตน ประเมนิ คา สังเคราะหวรรณคดแี ละวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรมพืน้ บา นและภมู ิปญญา
ทางภาษา ทอ งบทอาขยานและบทรอ ยกรองท่ีมีคณุ คา

โดยใชก ระบวนการเรียนทางภาษา กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการสรา งความรู
ความเขา ใจ กระบวนการกลมุ กระบวนการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ และกระบวนการสราง
ความตระหนกั

เพ่ือใหเกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู การศึกษาคนควา เกิดทักษะทางภาษา นํา
ความคิดไปใชในการตัดสินใจแกไขปญหา เขาใจและเห็นคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย
สามารถนํามาประยุกตใชในชีวติ จริงได มีมารยาทในการอาน การเขียน การพัง ดแู ละการพูด มีนิสัย
รักการอา น การเขยี น โดยนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชใ นชีวติ ประจําวัน

รหสั ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕,
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗ ,ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘, ท ๑.๑ ม.4-๖/๙, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑,
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ ,ท ๒.๑ม.๔-๖/๓, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔ , ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖,
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓,
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓,
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒,
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖

จํานวน 34 ตัวชีว้ ัด

21

ท ๓๒๑๐๑ ภาษาไทย3 คาํ อธิบายรายวิชาภาษาไทยพน้ื ฐาน ๑.๐ หนว ยกติ
ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 5 2 ช่วั โมง/สัปดาห/ภาค ภาคเรยี นที่ 1

คําอธิบายรายวิชา

อานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง ตีความ แปลความ และขยายความ วิเคราะห วิจารณ
คาดคะเนเหตุการณ ประเมินคา แสดงความคิดเห็น โตแยง เสนอความคิด ตอบคําถาม
เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึกยอความและรายงาน สังเคราะหความรูจากการอานเพื่อ
พัฒนาตน พัฒนาการเรียนและพัฒนาความรูทางอาชีพ เขียนส่ือสาร เขียนเชิญชวน ประกาศ
จดหมาย กิจธุระ รายงานการประชมุ เขียนกรอกแบบรายการ เขียนเรียงความ ยอความจาก
ส่ือตางๆ ผลิตงานเขียนในรูปแบบทั้งสารคดี และบันเทิงคดี ประเมินงานเขียน นํามาพัฒนา
ตนเอง เขียนรายงาน ใชขอมูลสารสนเทศอางอิง บันทึกการศึกษาคนควา และมีมารยาทในการ
เขียน สรปุ แนวคดิ และแสดงความคิดเหน็ วิเคราะห แนวคดิ การใชภาษา ความนา เชอ่ื ถอื ประเมนิ
และมีวิจารณญาณในการฟง ดู พูด ตอ ท่ีประชุมชน พดู อภิปราย และมมี ารยาทในการฟง ดู และการ
พดู อธิบายลกั ษณะของภาษา เสียงในภาษา สว นประกอบของภาษา องคประกอบของพยางคและ
คําใชคําและสํานวน การรอยเรียงประโยค แตงราย วิเคราะห และประเมินการใชภาษาจาก
สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส วิเคราะห วิจารณ ประเมินคา สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดี
และวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรมพื้นบานและภูมิปญญาทางภาษา ทองจําและบอกคุณคา
บทอาขยานและบทรอยกรองท่ีมีคณุ คาตามความสนใจ

เพื่อ วิเคราะห สังเคราะห วิจารณ ประเมินคา ทักษะทางภาษา สามารถนําไปพัฒนา
ตนเองพัฒนาการเรียน และประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตอง เหมาะสม และเห็นคุณคา
ของภาษาไทยโดยนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาปรับใชใ นชวี ติ ประจําวนั

รหัสตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ม.๕/๑, ท ๑.๑ ม.๕/๒, ท ๑.๑ ม.๕/๓, ท ๑.๑ ม.๕/๔, ท ๑.๑ ม.๕/๕,
ท ๑.๑ ม.๕/๖, ท ๑.๑ ม.๕/๗, ท ๑.๑ ม.๕/๘, ท ๑.๑ ม.๕/๙, ท ๒.๑ ม.๕/๑,
ท ๒.๑ ม.๕/๒, ท ๒.๑ ม.๕/๓, ท ๒.๑ ม.๕/๔, ท ๒.๑ ม.๕/๕, ท ๒.๑ ม.๕/๖,
ท ๒.๑ ม.๕/๗, ท ๓.๑ ม.๕/๑, ท ๓.๑ ม.๕/๒, ท ๓.๑ ม.๕/๓, ท ๓.๑ ม.๕/๔,
ท ๓.๑ ม.๕/๕, ท ๓.๑ ม.๕/๖, ท ๔.๑ ม.๕/๑, ท ๔.๑ ม.๕/๒, ท ๔.๑ ม.๕/๓,
ท ๔.๑ ม.๕/๔, ท ๔.๑ ม.๕/๕, ท ๔.๑ ม.๕/๖, ท ๔.๑ ม.๕/๗, ท ๕.๑ ม.๕/๑,
ท ๕.๑ ม.๕/๒, ท ๕.๑ ม.๕/๓, ท ๕.๑ ม.๕/๔, ท ๕.๑ ม.๕/๕, ท ๕.๑ ม.๕/๖

จํานวน 35 ตัวชว้ี ัด

22

ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย4 คําอธิบายรายวชิ าภาษาไทยพน้ื ฐาน ๑.๐ หนว ยกิต
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ ๕ 2 ช่ัวโมง/สัปดาห/ ภาค ภาคเรียนที่ ๒

คําอธบิ ายรายวชิ า

อานออกเสียงรอยแกวรอยกรอง ตีความ แปลความ และขยายความ วิเคราะห วิจารณ
คาดคะเนเหตุการณ ประเมินคา แสดงความคิดเห็น โตแยง เสนอความคิด ตอบคําถาม เขียน
กรอบแนวคดิ ผงั ความคิด บันทกึ ยอความและรายงาน สังเคราะหความรจู ากการอานเพื่อพัฒนาตน
พัฒนาการเรยี นและพัฒนาความรูทางอาชีพ เขียนส่ือสาร เขียนเชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจ
ธุระ รายงานการประชุม เขียนกรอกแบบรายการ เขียนเรยี งความ ยอความจากสอื่ ตาง ๆ ผลิต
งานเขียนในรปู แบบท้ังสารคดี และบันเทิงคดี ประเมินงานเขยี น นาํ มาพัฒนาตนเอง เขียนรายงาน
ใชขอมูลสารสนเทศอางอิง บันทึกการศึกษาคนควา และมีมารยาทในการเขียน สรุปแนวคิด และ
แสดงความคิดเห็น วิเคราะห แนวคิดการใชภาษา ความนาเช่ือถือ ประเมินและมีวิจารณญาณใน
การฟง ดู พูด ตอ ท่ีประชุมชน พูดอภปิ ราย และมีมารยาทในการฟง ดู และการพูด อธิบายลักษณะ
ของภาษา เสียงในภาษา สวนประกอบของภาษา องคป ระกอบของพยางคและคําใชคําและสํานวน
การรอยเรียงประโยค แตงราย วิเคราะห และประเมินการใชภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ และสื่อ
อิเล็กทรอนิกส วิเคราะห วิจารณ ประเมินคา สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรม
รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบานและภูมิปญญาทางภาษา ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยาน และบท
รอ ยกรองทมี่ ีคณุ คาตามความสนใจ

เพ่ือ วิเคราะห สังเคราะห วิจารณ ประเมินคา ทักษะทางภาษา สามารถนําไปพัฒนา
ตนเองพัฒนาการเรียน และประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตอง เหมาะสม และเห็นคุณคา
ของภาษาไทยโดยนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรบั ใชในชีวติ ประจาํ วนั

รหัสตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ม.๕/๑, ท ๑.๑ ม.๕/๒, ท ๑.๑ ม.๕/๓, ท ๑.๑ ม.๕/๔, ท ๑.๑ ม.๕/๕,
ท ๑.๑ ม.๕/๖, ท ๑.๑ ม.๕/๗, ท ๑.๑ ม.๕/๘, ท ๑.๑ ม.๕/๙, ท ๒.๑ ม.๕/๑,
ท ๒.๑ ม.๕/๒, ท ๒.๑ ม.๕/๓, ท ๒.๑ ม.๕/๔, ท ๒.๑ ม.๕/๕, ท ๒.๑ ม.๕/๖,
ท ๒.๑ ม.๕/๗, ท ๓.๑ ม.๕/๑, ท ๓.๑ ม.๕/๒, ท ๓.๑ ม.๕/๓, ท ๓.๑ ม.๕/๔,
ท ๓.๑ ม.๕/๕, ท ๓.๑ ม.๕/๖, ท ๔.๑ ม.๕/๑, ท ๔.๑ ม.๕/๒, ท ๔.๑ ม.๕/๓,
ท ๔.๑ ม.5/๔, ท ๔.๑ ม.๕/๕, ท ๔.๑ ม.๕/๖, ท ๔.๑ ม.๕/๗, ท ๕.๑ ม.๕/๑,
ท ๕.๑ ม.๕/๒, ท ๕.๑ ม.๕/๓, ท ๕.๑ ม.๕/๔, ท ๕.๑ ม.๕/๕, ท ๕.๑ ม.๕/๖

จาํ นวน 35 ตวั ชี้วัด

23

ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย5 คาํ อธิบายรายวชิ าภาษาไทยพ้นื ฐาน ๑.๐ หนว ยกิต
ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 6 2 ช่ัวโมง/สัปดาห/ภาค ภาคเรยี นที่ 1

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศึกษา วเิ คราะห ฝกทักษะทางภาษา ฟง ดู พดู อา นและเขยี น บทรอยแกวและบท
รอ ยกรองประเภทกาพย รบั สารดวยการอานจากสอ่ื ตางๆ เขยี นกรอบแนวคดิ ผงั ความคดิ รายงาน
จากสิ่งที่อาน เขียนส่ือสารในรูปแบบตางๆ เชนอธิบาย บรรยาย พรรณนา ยอความจากสื่อที่มี
รูปแบบและเน้ือหาที่หลากหลาย เขียนเรียงความจากจินตนาการโดยใชโวหารตางๆ เขียนบันทึก
เขียนโครงการและรายงานการดําเนินโครงการโดยใชขอมูลสารสนเทศในการอางอิงรวมทั้งประเมิน
งานเขียนของผูอื่นแลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง ตั้งคําถามและแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับ
เร่ืองท่ีฟงและดู มีวจิ ารณญาณในการเลือกเร่ืองที่ฟงและดู วิเคราะหวัตถุประสงค แนวคดิ การใช
ภาษา ความนาเชื่อถือของเร่อื งทฟี่ งและดู ประเมินสง่ิ ทีฟ่ ง และดู มีทกั ษะการพูดในโอกาสตางๆทง้ั ท่ี
เปนทางการและไมเ ปน ทางการ โดยใชภาษาที่ถูกตอง พดู แสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาว และเสนอ
แนวคิดใหมอยางมีเหตุผล เขาใจธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ระดับภาษา ใชภาษาได
เหมาะสมกับกาลเทศะ และใช คําราชาศัพทไดอยางถูกตอง วิเคราะห และประเมินการใช
ภาษาจากส่ือสง่ิ พิมพ และส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส วิเคราะห วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการ
วจิ ารณวรรณคดีเบื้องตน รแู ละเขา ใจลักษณะเดน ของวรรณคดี ภูมิปญญาทางภาษา และวรรณคดี
พ้นื บาน เชื่อมโยงกบั การเรียนรทู างประวตั ศิ าสตรและวิถีไทย

โดยใชกระบวนการเรียนทางภาษา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสรางความรูความ
เขาใจ กระบวนการกลมุ กระบวนการคดิ อยา งมีวจิ ารญาณ และ กระบวนการสรา งความตระหนกั

เพ่ือใหเกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู การศึกษาคนควา เกิดทักษะทางภาษา นํา
ความคิดไปใชในการตัดสินใจแกไขปญหา เขาใจและเห็นคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย
สามารถนําไปประยุกตใ ชในชีวิตจริงได มมี ารยาทในการอาน เขียน การฟง ดู และพูด มนี ิสัยรัก
การอานและ การเขียน โดยนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาปรับใชในชวี ติ ประจาํ วัน

รหสั ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕,
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๙, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑,
ท ๒.๑ ม.๔- ๖/๒, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖,
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓,
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓,
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๕.๑ ม.๔- ๖/๑, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔,
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖

จํานวน 35 ตวั ช้ีวดั

24

ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย6 คาํ อธบิ ายรายวชิ าภาษาไทยพ้นื ฐาน ๑.๐ หนว ยกิต
ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ ๖ 2 ช่วั โมง/สัปดาห/ ภาค ภาคเรียนท่ี ๒

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศึกษา วิเคราะห ฝกทักษะทางภาษา ฟง ดู พูด อาน และเขียนบทรอยแกวและบทรอย
กรอง ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องท่ีอานได วิเคราะหวิจารณเ ร่ืองที่อาน แสดงความ
คิดเห็นโตแ ยงและเสนอความคดิ ใหมจากการอานอยา งมเี หตุผล คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน
เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอความ และเขียนรายงานจากสิ่งท่ีอาน สังเคราะห
ประเมินคา เขียนส่ือสารในรูปแบบตางๆโดยใชภาษาไดถูกตองตรงตามวัตถุประสงค ยอความ
จากสื่อท่ีมีรปู แบบและเนือ้ หาท่ีหลากหลาย เรียงความแสดงแนวคดิ เชงิ สรา งสรรคโดยใชโวหารตา งๆ
เขียนบันทึกรายงานการศึกษาคนควาตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใชขอมูลสารสนเทศในการ
อางอิง ผลิตผลงานตนเองในรูปแบบตางๆ ท้ังสารคดีและบันเทงิ คดี รวมท้ังประเมินงานเขียนของ
ผอู ่ืนและนาํ มาพัฒนางานเขยี นของตนเอง ต้ังคําถามและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองที่ฟงและดู
ประเมินส่ิงท่ฟี งและดู มที ักษะการพูดในโอกาสตางๆทัง้ ทเี่ ปน ทางการและไมเ ปนทางการโดยใชภาษา
ท่ีถูกตอ ง พูดแสดงทรรศนะ โตแ ยง โนม นา ว และเสนอความคดิ ใหมอยา งมเี หตุผล เขาใจอทิ ธพิ ล
ของภาษาตางประเทศในภาษาไทยและภาษาถ่ิน วิเคราะหและประเมินการใชภาษาจากส่ือส่ิงพิมพ
และส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส แตงคําประพันธประเภทฉันท วิเคราะหวิจารณวรรณคดแี ละวรรณกรรมตาม
หลักการวิจารณวรรณคดีเบ้ืองตน รูและเขาใจลักษณะเดน ของวรรณคดี ภูมิปญญาทางภาษาและ
วรรณกรรมพน้ื บา น เชอื่ มโยงกับการเรยี นรทู างประวตั ศิ าสตรแ ละวถิ ไี ทย

โดยใชกระบวนการเรียนทางภาษา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสรางความรูความ
เขาใจ กระบวนการกลุม การะบวนการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณและกระบวนการสรางความตระหนัก

เพื่อใหเกิดการพัฒนาสมรรถภาพการเรียนรู การศึกษาคนควา เกิดทักษะทางภาษา นํา
ความคิดไปใชในการตัดสินใจแกไขปญหา เขาใจและเห็นคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย
สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตจริงได มมี ารยาทในการอาน เขียน การฟง ดู และพูด มีนิสัยรัก
การอา นและการเขียนโดยนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับใชในชีวิตประจําวัน
รหสั ตัวช้ีวัด

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๑.๑ ม.๔- ๖/๓, ท ๑.๑ ม.๔-๖, ท ๑.๑ ม๔-๖/๕,
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๑.๑ ม.๔- ๖/๘, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๙, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑,
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖,
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓,
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕,
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔,
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖
จาํ นวน 32 ตวั ช้ีวดั

กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร

โครงสรางรายวิชากลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนมว งสามสิบอมั พวันวทิ ยา

วชิ าพน้ื ฐาน เรยี นวิชาพ้ืนฐานในกลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร จาํ นวน 9.0 หนว ยกติ ไดแ ก รายวชิ าตอไปน้ี

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 คณิตศาสตรพน้ื ฐาน1 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห ๑.5 หนวยกติ
ค31101 คณิตศาสตรพ ื้นฐาน2 3 ชว่ั โมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกติ
ค31102

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 คณติ ศาสตรพน้ื ฐาน3 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห ๑.5 หนวยกิต
ค3๒๑๐๑ คณติ ศาสตรพ ้นื ฐาน4 3 ชว่ั โมง/สัปดาห ๑.5 หนวยกติ
ค3๒๑๐๒

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 6 คณติ ศาสตรพ น้ื ฐาน5 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห ๑.5 หนว ยกติ
ค33๑๐๑ คณติ ศาสตรพ นื้ ฐาน6 3 ช่ัวโมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกติ
ค3๓๑๐๒

วิชาเพมิ่ เตมิ ในกลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตรจ าํ นวน 12.๐ หนวยกิต ไดแก รายวิชาดงั ตอไปนี้

ค31201 คณติ ศาสตรเพมิ่ เติม1 จาํ นวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนวยกติ
ค31202 คณติ ศาสตรเพม่ิ เติม2 จาํ นวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว ยกติ
ค32201 คณิตศาสตรเพม่ิ เตมิ 3 จาํ นวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนวยกิต
ค32202 คณิตศาสตรเพม่ิ เตมิ 4 จาํ นวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว ยกิต
ค33201 คณิตศาสตรเพิ่มเติม5 จาํ นวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว ยกิต
ค33202 คณิตศาสตรเ พิ่มเติม6 จาํ นวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว ยกิต
ค30201 คณิตศาสตรเ พิ่มพนู 1 จาํ นวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนวยกิต
ค30202 คณติ ศาสตรเ พ่มิ พูน2 จํานวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว ยกติ
ค30203 คณติ ศาสตรเ พิ่มพนู 3 จํานวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หนวยกติ
ค30204 คณิตศาสตรเพ่มิ พนู 4 จํานวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หนวยกิต
ค30205 คณติ ศาสตรเพ่ิมพนู 5 จํานวน 40 ช่วั โมง 1.0 หนวยกิต
ค30206 คณิตศาสตรเ พ่มิ พูน6 จํานวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนวยกิต

26

คาํ อธบิ ายรายวชิ าคณติ ศาสตรพ น้ื ฐาน

รหสั วิชา ค 31101 คณิตศาสตรพ ื้นฐาน1 กลุม สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร

ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จาํ นวน 1.5 หนว ยกิต

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรเู กี่ยวกับเรอ่ื งเซตและการดําเนนิ การของเซต แผนภาพเวนน – ออยเลอร แสดงเซต
และนําไปใชแกปญหา การใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย ความสมเหตุสมผลการใหเหตุผลโดยใช
แผนภาพเวนน – ออยเลอร ความสมั พันธข องจาํ นวนตา ง ๆ ในระบบจาํ นวนจรงิ
คาสัมบูรณของจํานวนจริง ความหมายและการหาผลลัพธท่ีเกิดจากการบวก การลบ การคูณ และ
การหารจํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริงเก่ียวกับการบวก การคูณ การเทากัน การไมเทากัน
การแกส มการและอสมการตัวแปรเดียวดกี รไี มเ กินสอง

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร การสื่อ
ความหมาย และการนําเสนอ

เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงมั่นในการ
ทํางานอยางมีระบบ ประหยดั ซือ่ สตั ย มีวิจารณญาณ รจู ักนําความรูไปประยุกตใชในการดํารงชีวิตได
อยางพอเพียง รวมทงั้ มเี จตคติทีด่ ีตอ คณติ ศาสตร

รหสั ตวั ชี้วัด
ค 1.1 ม.4/1, ค 1.1 ม.4/2, ค 1.2 ม.4/1, ค 1.4 ม.4/1,
ค 4.1 ม.4/1, ค 4.1 ม.4/2, ค 4.2 ม.4/1, ค 4.2 ม.4/2,
ค 4.2 ม.4/3,
ค 6.1 ม.4/1, ค 6.1 ม.4/2, ค 6.1 ม.4/3,
ค 6.1 ม.4/4, ค 6.1 ม.4/5, ค 6.1 ม.4/6

รวม 15 ตัวช้ีวัด

27

คาํ อธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตรพืน้ ฐาน

รหัสวชิ า ค 31102 คณติ ศาสตรพ นื้ ฐาน2 กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ชัว่ โมง จาํ นวน 1.5 หนวยกติ

คาํ อธิบายรายวิชา

ศึกษาความรูเก่ียวกับเรื่องความสัมพันธและฟงกชัน กราฟของสมการ อสมการ และ ฟงกชัน
การแกป ญ หาโดยการใชก ราฟของสมการ อสมการ และ ฟง กช นั

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และการนําเสนอ

เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงม่ันในการ
ทํางานอยา งมีระบบ ประหยดั ซือ่ สัตย มีวิจารณญาณ รูจักนําความรูไปประยุกตใชใ นการดํารงชีวิตได
อยางพอเพียง รวมท้ังมเี จตคติทีด่ ตี อ คณิตศาสตร

รหัสตัวช้ีวดั
ค 4.1 ม.4/3, ค 4.2 ม.4/4, ค 4.2 ม.4/5,
ค 6.1 ม.4/1, ค 6.1 ม.4/2, ค 6.1 ม.4/3,
ค 6.1 ม.4/4, ค 6.1 ม.4/5, ค 6.1 ม.4/ 6

รวม 9 ตวั ชี้วดั

28

คําอธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตรพ นื้ ฐาน

รหัสวิชา ค 32101 คณิตศาสตรพ น้ื ฐาน3 กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร

ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จาํ นวน 1.5 หนว ยกติ

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรูเกี่ยวกับเร่ืองจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขช้ีกําลังเปนจํานวนตรรกยะและ
จํานวนจริงท่ีอยูในรูปกรณฑ การหาผลลัพธท่เี กดิ จากการบวก การลบ การคณู การหาร จํานวนจริง
ท่ีอยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะและจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ การหา
คาประมาณของจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ อัตราสวนตรีโกณมิติของมุม การใชอัตราสวนตรีโกณมิติ
คาดคะเนหาระยะทางและความสงู การแกโ จทยป ญหาเกย่ี วกับระยะทางและความสูงโดยใชตรโี กณมิติ

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร การส่ือ
ความหมาย การนําเสนอ และ การใชเ ทคโนโลยี

เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงมั่นในการ
ทาํ งานอยา งมรี ะบบ ประหยัด ซอ่ื สัตย มีวิจารณญาณ รูจักนําความรไู ปประยกุ ตใชใ นการดํารงชีวติ ได
อยางพอเพยี ง รวมท้ังมเี จตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร

รหัสตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.5/3, ค 1.2 ม.5/1, ค 1.3 ม.5/1,
ค 2.1 ม.5/1, ค 2.2 ม.5/1,
ค 6.1 ม.5/1, ค 6.1 ม.5/2, ค 6.1 ม.5/3,
ค 6.1 ม.5/4, ค 6.1 ม.5/5, ค 6.1 ม.5/6

รวม 11 ตัวชีว้ ดั

29

คาํ อธิบายรายวชิ าคณติ ศาสตรพืน้ ฐาน

รหสั วิชา ค 32102 คณิตศาสตรพ น้ื ฐาน4 กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร
ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง จาํ นวน 1.5 หนวยกิต

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรูเก่ียวกับเร่ืองสถิติ การสํารวจความคิดเห็นอยางงาย การหาคาเฉล่ียเลขคณิต
มัธยฐาน ฐานนิยม สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปอรเซ็นไทลของขอมูล การนําผลจากการสํารวจ
ขอมลู ขา วสารและคาสถติ ไิ ปใชใ นการคาดการณและการตัดสินใจ

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การสื่อสาร การส่ือ
ความหมาย และการนาํ เสนอ

เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงมั่นในการ
ทาํ งานอยางมีระบบ ประหยดั ซอ่ื สตั ย มวี ิจารณญาณ รูจักนําความรูไปประยุกตใชใ นการดํารงชีวิตได
อยางพอเพยี ง รวมท้ังมเี จตคติทด่ี ตี อคณติ ศาสตร

รหัสตัวชี้วัด
ค 5.1 ม.5/1, ค 5.1 ม.5/2, ค 5.1 ม.5/3,
ค 5.2 ม.5/1, ค 5.3 ม.5/1,
ค 6.1 ม.5/1, ค 6.1 ม.5/2, ค 6.1 ม.5/3,
ค 6.1 ม.5/4, ค 6.1 ม.5/5, ค 6.1 ม.5/6

รวม 11 ตัวชี้วัด

30

คาํ อธบิ ายรายวชิ าคณิตศาสตรพ้ืนฐาน

รหัสวชิ า ค 33101 คณิตศาสตรพ้นื ฐาน5 กลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร

ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 60 ชวั่ โมง จํานวน 1.5 หนวยกิต

คาํ อธบิ ายรายวิชา

ศึกษาความรูเกี่ยวกับเรื่องความหมายของลําดับ ลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต การหา
พจนทั่วไปของลําดับจํากัด ลําดับเลขคณิต ลําดับเรขาคณิต การหาพจนตาง ๆ ของลําดับเลขคณิต
ลําดับเรขาคณิต และการนําไปใช อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต ความหมายของผลบวก n

พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต และ อนุกรมเรขาคณิต การหาผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต

และ อนุกรมเรขาคณิตโดยใชสูตรและการนาํ ไปใช
โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง

คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร การสื่อ
ความหมาย และการนําเสนอ

เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงมั่นในการ
ทาํ งานอยา งมรี ะบบ ประหยัด ซ่อื สัตย มวี ิจารณญาณ รูจักนาํ ความรูไปประยุกตใชใ นการดํารงชีวิตได
อยางพอเพยี ง รวมทั้งมีเจตคตทิ ดี่ ตี อคณิตศาสตร

รหสั ตวั ชี้วัด
ค 4.1 ม.6/4, ค 4.1 ม.6/5, ค 4.2 ม.6/6,
ค 6.1 ม.6/1, ค 6.1 ม.6/2, ค 6.1 ม.6/3,
ค 6.1 ม.6/4, ค 6.1 ม.6/5, ค 6.1 ม.6/6

รวม 9 ตัวช้วี ัด

31

คําอธบิ ายรายวชิ าคณิตศาสตรพ้ืนฐาน

รหัสวิชา ค 33102 คณิตศาสตรพนื้ ฐาน6 กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร

ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชัว่ โมง จาํ นวน 1.5 หนวยกิต

คําอธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาความรูเกี่ยวกับเร่ืองความนาจะเปน การทดลองสุมเหตุการณ ความนาจะเปนของ
เหตกุ ารณ การนําผลทไ่ี ดไ ปใชค าดการณ การแกป ญ หาและการตัดสนิ ใจ

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาท่ีสงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร การสื่อ
ความหมาย และการนาํ เสนอ

เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงมั่นในการ
ทาํ งานอยางมรี ะบบ ประหยดั ซอื่ สตั ย มีวิจารณญาณ รจู ักนําความรูไปประยุกตใชใ นการดํารงชีวิตได
อยา งพอเพยี ง รวมทั้งมีเจตคติทด่ี ีตอคณติ ศาสตร

รหสั ตวั ช้ีวัด
ค 5.2 ม.6/2, ค 5.3 ม.6/2,
ค 6.1 ม.6/1, ค 6.1 ม.6/2, ค 6.1 ม.6/3,
ค 6.1 ม.6/4, ค 6.1 ม.6/5, ค 6.1 ม.6/6

รวม 8 ตวั ชวี้ ัด

32

คําอธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตรเพมิ่ เตมิ

รหสั วิชา ค 31201 คณิตศาสตรเพม่ิ เตมิ 1 กลมุ สาระการเรียนรูค ณิตศาสตร

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จํานวน 1.5 หนว ยกติ

คาํ อธิบายรายวิชา

ศกึ ษาความรเู กยี่ วกบั เร่อื งตรรกศาสตรเบ้ืองตน ประพจน การเช่ือมประพจน และการหาคาความ
จริงของประพจน การสรางตารางคา ความจริง สัจนริ นั ดร รูปแบบของประพจนที่สมมูลกัน ขอความท่ีมี
ตัวบงปริมาณ และคาความจริงของประโยคท่ีมีตัวบงปรมิ าณ สมมูลและนิเสธของประโยคท่ีมีตวั บงปริมาณ
การอางเหตุผล ระบบจํานวนจริง จํานวนจริง การเทากัน การบวก การลบ การคณู และการหารใน
ระบบจํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแกสมการพหุนามตัวแปรเดียว สมการการไมเทากัน ชวงและ
การแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกสมการและอสมการในรูปคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบ้ืองตน สมบัติ
ของจํานวนเต็ม สมบัตกิ ารหารลงตัว การจําแนกจํานวนเต็มโดยใชสมบัติการหารลงตัว การจําแนกจํานวน
เต็มโดยสมบตั กิ ารหารลงตัว ขัน้ ตอนวิธกี ารหาร จาํ นวนเฉพาะ การหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และการนําเสนอ

เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงม่ันในการ
ทาํ งานอยา งมีระบบ ประหยดั ซือ่ สัตย มีวจิ ารณญาณ รูจักนําความรูไปประยุกตใชใ นการดํารงชีวิตได
อยา งพอเพียง รวมทง้ั มเี จตคตทิ ี่ดตี อ คณติ ศาสตร

ผลการเรยี นรู
๑. หาคา ความจรงิ ของประพจนได
๒. หารปู แบบของประพจนท่ีสมมูลได
๓. บอกไดว า การอา งเหตุผลท่ีกาํ หนดใหสมเหตสุ มผลหรอื ไม
๔. มคี วามคดิ รวบยอดเกย่ี วกับ จํานวนจริง
๕. นาํ สมบัตติ า งๆเก่ียวกบั จํานวนจรงิ และการดาํ เนินการไปใชได
๖. แกสมการพหุนามตัวแปรเดยี วดีกรไี มเกินสไ่ี ด
๗. แกสมการและอสมการในรปู คาสัมบูรณไ ด
๘. แกสมการพหนุ ามตัวแปรเดยี วทม่ี สี ัมประสิทธเ์ิ ปน จาํ นวนเต็มดีกรีไมเกนิ สาม
๙. เขา ใจสมบัติของจํานวนเต็ม
๑๐.นาํ สมบัติของจาํ นวนเต็มไปใชในการใหเหตผุ ลเกย่ี วกับการหารลงตวั ได

รวมท้ังหมด 10 ผลการเรียนรู

33

คําอธบิ ายรายวชิ าคณติ ศาสตรเพิ่มเติม

รหัสวชิ า ค 31202 คณติ ศาสตรเ พิ่มเตมิ 2 กลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร

ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ชวั่ โมง จาํ นวน 1.5 หนวยกิต

คาํ อธิบายรายวิชา

ศึกษาความรูเกี่ยวกับเร่ืองฟงกชัน ฟงกชันคอมโพสิท ฟงกชันอินเวอรส พีชคณิตของฟงกชัน
เมทริกซและดีเทอรมินันต สัญลักษณของเมทริกซ สมบัติของเมทริกซ ดีเทอรมินันต การใชเมทริกซแก
ระบบสมการเชิงเสน โดยวิธีดีเทอรม ินันต โดยวิธีการดําเนินการตามแถวเบ้ืองตน เรขาคณิตวิเคราะห
เสนตรง ระยะระหวางจุดสองจุด จุดกึ่งกลางระหวางจุดสองจุด ความชันของเสนตรง เสนขนาน เสนตั้ง
ฉาก ความสัมพันธซ่ึงมีกราฟเปนเสนตรง ระยะหางระหวางเสนตงั้ ฉากกับจุด ภาคตัดกรวย วงกลม
พาราโบลา วงรี ไฮเพอรโ บลา

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร การสื่อ
ความหมาย และการนําเสนอ

เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงม่ันในการ
ทํางานอยางมีระบบ ประหยัด ซ่อื สัตย มวี จิ ารณญาณ รจู ักนําความรูไปประยุกตใชใ นการดํารงชีวติ ได
อยางพอเพียง รวมท้ังมเี จตคติทด่ี ตี อ คณิตศาสตร

ผลการเรยี นรู
1. มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับเมทรกิ ซ และการดาํ เนินการของเมทรกิ ซห าระยะหางระหวา งจดุ สองจดุ
จดุ ก่งึ กลาง ระยะระหวา งเสนตรงกับจุดได
2. หาดีเทอรมนิ ันตของเมทรกิ ซ n × n เมื่อ n เปนจํานวนเต็มไมเกินสไ่ี ด
3. วเิ คราะห และหาคําตอบของระบบสมการเชิงเสน ได
4. หาความชันของเสนตรง สมการเสน ตรง เสน ขนาน เสน ตง้ั ฉาก และนําไปใชในการแกปญหาได
5. เขยี นความสมั พันธทม่ี ีกราฟเปน ภาคตัดกรวย เมื่อกาํ หนดสว นตางๆของภาคตดั กรวยใหและเขยี น
กราฟของความสัมพนั ธน น้ั ได
6. นําความรเู ร่อื งการเลอื่ นแกนทางขนานไปใชใน การเขยี นกราฟได
7. นาํ ความรเู ร่ืองเรขาคณิตวเิ คราะหไ ปใชแ กปญหาได
8. มคี วามคิดรวบยอดเก่ยี วกับฟงกชัน และสรางฟง กชันจากโจทยปญ หาท่กี ําหนดใหได
9. นาํ ความรเู ร่ืองฟงกชันไปใชแกป ญ หาได

รวมท้ังหมด 9 ผลการเรยี นรู

34

คําอธิบายรายวิชาคณติ ศาสตรเ พิ่มเติม

รหสั วิชา ค 32201 คณิตศาสตรเ พมิ่ เตมิ 3 กลุม สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชัว่ โมง จาํ นวน 1.5 หนว ยกิต

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศึกษาความรูเกี่ยวกับเรื่องเวกเตอรในสามมิติ เวกเตอรการบวกและการลบเวกเตอร การคูณ
เวกเตอรด ว ยสเกลาร ผลคณู เชงิ สเกลาร ผลคณู เชงิ เวกเตอร ฟงกชนั ตรีโกณมิตแิ ละการประยุกต ฟงกชัน
ไซนและโคไซน ฟงกชันตรีโกณมิติอื่นๆ กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติของผลบวกและ
ผลตางของจํานวนจริงหรือมุม อินเวอรสของฟงกชันตรีโกณมิติ เอกลักษณและสมการตรีโกณมิติ กฎของ
ไซนและโคไซน ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล และฟงกชันลอกการิทึม ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล
ฟงกช นั ลอกการทึ มึ การคาํ นวณคาโดยประมาณโดยใชลอกการิทึม สมการเอกซโ พเนนเชียลและสมการ
ลอการทิ ึม

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร การส่ือ
ความหมาย และการนําเสนอ

เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงม่ันในการ
ทาํ งานอยา งมีระบบ ประหยดั ซอ่ื สตั ย มีวิจารณญาณ รูจ ักนําความรูไปประยุกตใชใ นการดํารงชีวติ ได
อยางพอเพยี ง รวมทัง้ มเี จตคตทิ ี่ดีตอ คณติ ศาสตร

ผลการเรยี นรู
1. มีความคดิ รวบยอดเก่ยี วกับฟงกช นั ตรโี กณมิติ และเขียนกราฟของฟง กชันท่ีกาํ หนดใหได
2. นําความรูเ ร่ืองฟงกช ันตรีโกณมิติและการประยุกตไ ปใชแกป ญหาได
3. มีความคิดรวบยอดเกีย่ วกบั ฟงกชนั เอกซโ พเนนเชียล
4. นําความรเู รอ่ื งฟงกช ันเอกซโ พเนนเชียลและฟงกล อการทิ ึมไปใชแ กป ญหาไดม ี
5. ความคิดรวบยอดเก่ียวกบั เวกเตอรในสามมติ ิ
6. หาผลบวกเวกเตอร ผลคณู เวกเตอรด วยสเกลารและผลคูณเชิงเวกเตอรได
7. หาขนาดและทิศทางของ เวกเตอรที่กําหนดใหไ ด

รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู

35

คาํ อธิบายรายวชิ าคณิตศาสตรเ พมิ่ เติม

รหัสวิชา ค 32202 คณติ ศาสตรเ พม่ิ เติม4 กลุมสาระการเรียนรูค ณิตศาสตร

ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ช่วั โมง จํานวน 1.5 หนวยกติ

คําอธบิ ายรายวิชา

ศึกษาความรูเก่ียวกับเร่ืองจํานวนเชิงซอน กราฟและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน จํานวน
เชิงซอนในรูปเชิงขั้ว สมการพหุนาม กราฟเบ้ืองตน กราฟ กราฟออยเลอร การประยุกตของกราฟการ
วิเคราะหขอมูลเบ้ืองตน โดยใชคากลางของขอมูล และการวัดการกระจายของขอมูล การแจกแจงปกติ
คามาตรฐาน การแจกแจงปกติและเสนโคงปกติ พ้ืนที่ใตเสนโคงปกติ ความสัมพันธเชิงฟงกชันระหวาง
ขอมูล แผนภาพการกระจาย ความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูลที่ประกอบดวยสองตัวแปร ความสัมพันธ
เชิงฟงกชันของขอมูลท่อี ยูในรปู อนุกรมเวลา การใชความสมั พันธข องขอมูลทํานายคา ตวั แปรตาม เมือ่ กําหนด
ตวั แปรอิสระ โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยป ญหาที่สงเสรมิ การพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และการนําเสนอ

เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงม่ันในการ
ทาํ งานอยางมีระบบ ประหยัด ซ่อื สตั ย มีวจิ ารณญาณ รจู ักนาํ ความรูไปประยุกตใชใ นการดํารงชีวิตได
อยา งพอเพียง รวมทั้งมเี จตคตทิ ่ดี ีตอคณิตศาสตร

ผลการเรียนรู
1. มคี วามคิดรวบยอดเก่ยี วกบั จํานวนเชิงซอ น
2. นาํ สมบัติตางๆเก่ียวกบั จํานวนเชงิ ซอน การดาํ เนนิ การไปใชแกปญหาได
3. หารากท่ี n ของจาํ นวนเชิงซอ น เม่ือ n เปนจํานวนเต็มบวกได
4. เขยี นกราฟเมื่อกาํ หนดจุด ( vertex ) และเสน ( edge ) ให และระบุไดว า กราฟท่ีกาํ หนดใหเปน
กราฟออยเลอรหรือไม
5. ความรูเรื่องกราฟไปใชใ นการแกป ญหาบางประการได
6. สรางแบบจําลองทางคณติ ศาสตรและใชวธิ กี ารของกาํ หนดการเชิงเสน ที่ใชก ราฟของสมการและ
อสมการทม่ี ีสองตวั แปรในการแกป ญ หาได
7. เลือกวธิ ีวเิ คราะหข อมูลเบ้ืองตน และอธิบายผลการวเิ คราะหขอมูลไดอ ยางถูกตอง
8. นําความรเู ร่อื งการวิเคราะหข อมลู ไปใชแกป ญหาบางประการได
9. นาํ ความรูเรือ่ งคา มาตรฐานไปใชในการเปรยี บเทยี บขอ มลู ได
10.หาพ้นื ทใ่ี ตเสนโคงปกติ และนําความรูเ กย่ี วกับพื้นท่ีใตเ สนโคง ปกติไปใชไ ด
11.เลอื กวิธีวเิ คราะหข อมลู เบ้ืองตนและอธิบายผลการวเิ คราะห ขอ มูลได

รวมท้ังหมด 11 ผลการเรยี นรู

36

คําอธบิ ายรายวชิ าคณติ ศาสตรเพ่ิมเติม

รหสั วชิ า ค 33201 คณิตศาสตรเ พมิ่ เตมิ 5 กลุม สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร

ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ช่วั โมง จํานวน 1.5 หนว ยกติ

คาํ อธิบายรายวิชา

ศึกษาความรูเกี่ยวกับเรื่อง ลําดับและอนุกรมอนันต ลิมิตของลําดับ ผลบวกของอนุกรมอนันต
แคลคูลัสเบื้องตน ลิมิตของฟงกชัน ความตอเนื่องของฟงกชัน อนุพันธของฟงกชัน ความชันของเสนโคง
การหาอนพุ ันธข องฟงกชนั พชี คณติ โดยใชสูตรอนพุ ันธของฟงกชันคอมโพสทิ อนพุ ันธอ นั ดบั สูง การประยกุ ต
อนพุ ันธป ริพันธไ มจํากดั เขต ปริพันธจํากัดเขต พื้นทป่ี ดลอ มดวยเสนโคง

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาที่สงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การสื่อสาร การส่ือ
ความหมาย และการนําเสนอ

เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงมั่นในการ
ทํางานอยางมรี ะบบ ประหยดั ซือ่ สัตย มวี จิ ารณญาณ รจู ักนําความรูไปประยุกตใชในการดํารงชีวิตได
อยา งพอเพยี ง รวมทงั้ มเี จตคตทิ ่ดี ีตอคณติ ศาสตร

ผลการเรียนรู
๑. หาลมิ ิตของลาํ ดับอนันตโ ดยอาศัยทฤษฎีเกย่ี วกบั ลิมติ ได
๒. หาผลบวกของอนกุ รมอนนั ตได และนําความรเู รอ่ื งลําดบั และอนุกรมไปใชแ กปญหาได
๓. หาลิมิตของฟง กช ันทก่ี าํ หนดได
๔. บอกไดวา ฟงกชนั ท่กี ําหนดใหเปนฟงกช นั ตอเนือ่ งหรอื ไม
๕. หาอนุพันธของฟง กช ันที่กาํ หนดได
๖. นําความรูเ ร่อื งอนพุ ันธข องฟงกชนั ไปประยุกตไ ด
๗. หาปริพันธไ มจ ํากดั เขตของฟงกชันที่กําหนดใหได
๘. หาปริพันธจาํ กัดเขตของฟงกชนั บนชวงทกี่ ําหนดใหแ ละหาพื้นทปี่ ดลอมดว ยเสนโคง บน
ชว งท่ีกาํ หนดใหไ ด

รวมทั้งหมด 8 ผลการเรยี นรู

37

คําอธิบายรายวชิ าคณติ ศาสตรเ พม่ิ เตมิ

รหัสวชิ า ค 33202 คณิตศาสตรเ พ่ิมเตมิ 6 กลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ช่ัวโมง จาํ นวน 1.5 หนวยกติ

คําอธบิ ายรายวิชา

ศึกษาความรูเก่ียวกับเร่ืองความนาจะเปน กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับแฟคทอเรียล n วิธี
เรียงสับเปลี่ยน วิธีจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม ความนาจะเปน และ กฎที่สําคัญบางประการของความ
นา จะเปน

โดยจัดประสบการณ กิจกรรม หรือ โจทยปญหาท่ีสงเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรในการคิดคํานวณ การใหเหตุผล การวิเคราะห การแกปญหา การส่ือสาร การส่ือ
ความหมาย และการนาํ เสนอ

เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ ความคิดรวบยอด ใฝรูใฝเรียน มีระเบียบวินัยมุงม่ันในการ
ทาํ งานอยา งมรี ะบบ ประหยดั ซื่อสัตย มวี จิ ารณญาณ รจู ักนาํ ความรูไปประยุกตใชใ นการดํารงชีวิตได
อยางพอเพยี ง รวมทัง้ มีเจตคตทิ ่ดี ตี อ คณติ ศาสตร

ผลการเรยี นรู
๑. แกโจทยปญ หาโดยใชก ฎเกณฑเ บื้องตน เก่ียวกับการนบั วธิ ีเรียงสบั เปลี่ยน และวิธจี ดั หมู
๒. นําความรูเรือ่ งทฤษฎบี ททวนิ ามไปใชได
๓. หาคา ความนาจะเปนของเหตุการณทก่ี าํ หนดใหได

รวมทั้งหมด 3 ผลการเรียนรู

38

คาํ อธบิ ายรายวชิ าเพ่มิ เติม

คณติ ศาสตรเ พมิ่ พนู ๑ (ค๓๐๒๐๑) กลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ๔่ี เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จํานวน ๑.๐ หนว ยกิต

คําอธิบายรายวชิ า

ศึกษาและฝกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอันไดแ กการแกปญ หาการใหเหตผุ ล การสอื่ สาร
การส่ือความหมายทางคณิตศาสตรแ ละการนําเสนอการเช่ือมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตร และเช่ือมโยง
คณิตศาสตรก ับศาสตรอนื่ ๆ และมีความคดิ ริเร่ิมสรา งสรรคใ นสาระตอ ไปนี้ ตรรกศาสตรเ บือ้ งตน ประพจน การ
เชื่อมประพจน การหาคาความจรงิ ของประพจน การสรางตารางคาความจริง รปู แบบของประพจนที่สมมลู กัน
สัจนิรันดร การอางเหตุผล ประโยคดาตัวบงปริมาณ คาความจริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณตัวเดียว สมมูล
และนิเสธของประโยคท่ีมีตัวบง ปริมาณ คาความจริงของประโยคท่ีมีตัวบงปริมาณสองตัว ระบบจํานวนจริง
จานวนจริง สมบัติของระบบจานวนจรงิ การแกสมการพหุนามตัวแปรเดียว สมบัตขิ องการไมเทากัน ชวงและ
การแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกสมการและอสมการในรูปคาสมั บูรณ ทฤษฎีจํานวนเบ้ืองตน การหารลงตัว
ขัน้ ตอนวิธกี ารหาร ตัวหารรว มมาก ตวั คูณรว มนอ ย

ผลการเรียนรู
๑. หาคา ความจรงิ ของประพจน
๒. รูปแบบของประพจนท่ีสมมลู กนั
๓. บอกไดว า การอางเหตผุ ลทก่ี ําหนดใหสมเหตสุ มผลหรอื ไม
๔. มคี วามคิดรวบยอดเก่ยี วกับระบบจาํ นวนจริง
๕. นําสมบัติตาง ๆ เกี่ยวกบั จํานวนจริง การดําเนนิ การไปใชได
๖. แกสมการพหุนามตัวแปรเดียวดกี รีไมเ กินสไ่ี ด
๗. แกสมการและอสมการในรปู คา สมั บูรณได
๘. เขา ใจสมบัตขิ องจํานวนเต็มและนาํ ไปใชในการใหเหตุผลเกย่ี วกับการหารลงตัวได

รวมท้ังหมด ๘ ผลการเรยี นรู

39

คาํ อธบิ ายรายวิชาเพิม่ เตมิ

คณิตศาสตรเพ่มิ พูน ๒ (ค๓๐๒๐๑) กลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร

ช้ันมัธยมศึกษาปท ๔่ี เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จํานวน ๑.๐ หนว ยกิต

คาํ อธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาและฝกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอนั ไดแ กการแกปญหาการใหเหตุผล การสอื่ สาร
การส่ือความหมายทางคณิตศาสตรแ ละการนําเสนอการเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตร และเชอ่ื มโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืนๆ และมีความคดิ ริเริ่มสรางสรรคในสาระตอไปน้ี ระบบสมการเชิงเสนและเมทริกซ
ระบบสมการเชิงเสน เมทริกซ อินเวอรสการคูณของเมทริกซ การหาอินเวอรสการคูณของเมทริกซ การใชเมท
ริกซแกระบบสมการเชิงเสน ฟงกชัน ผลคูณคารทีเซียน ความสัมพันธ โดเมนและเรนจของความสัมพันธตัว
ผกผันของ ความสมั พันธ ฟงกชัน ความหมายของฟงกชัน การดําเนินการของฟงกชัน ฟงกชันผกผัน เทคนิค
การเขียน กราฟ เรขาคณิตวิเคราะห ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะหไดแกระยะทางระหวางจุด
สองจุด จุดกึ่งกลางระหวางจุดสองจุด ความชันของเสนตรง เสนขนาน เสนต้ังฉาก ความสมพันธ ซ่ึงมีกราฟ
เปน เสนตรง และระยะหางระหวางเสนตรงกับจุด ภาคตัดกรวยไดแกวงกลม วงรี พาราโบลา ไฮเพอรโบลา
และการเล่ือนกราฟ

ผลการเรียนรู
๑. มีความคดิ รวบยอดเก่ียวกับเมทริกซ และการดําเนินการของเมทรกิ ซ
๒. หาดีเทอรม แิ นนตข องเมทรกิ ซ n × n เม่ือ n เปน จาํ นวนเตม็ ไมเ กนิ ส่ี
๓. วิเคราะหและหาคาตอบของระบบสมการเชิงเสนได
๔. มคี วามคดิ รวบยอดเกีย่ วกับฟงกชนั เขียนกราฟของฟงกชนั และสรางฟงกชนั จากโจทย ปญ หาที่

กําหนดใหได
๕. นาํ ความรูเร่ืองฟงกชนั ไปใชแกปญหาได
๖. หาระยะทางระหวางจุดสองจุด จุดก่ึงกลาง ระยะหางระหวา งเสนตรงกบั จดุ ได
๗. หาความชันของเสน ตรง สมการเสน ตรง เสน ขนาน เสน ต้งั ฉาก และนําไปใชไ ด
๘. เขยี นความสมั พนั ธท ี่มกี ราฟเปน ภาคตดั กรวย เมอ่ื กาํ หนดสว นตา ง ๆ ของภาคตัดกรวยให และ

เขยี นกราฟของความสัมพนั ธได
๙. นาํ ความรูเรอ่ื งการเล่ือนแกนทางขนานไปใชใ นการเขียนกราฟได
๑๐. นําความรเู รอ่ื งเรขาคณติ วิเคราะหไปใชแ กปญหาได

รวมทั้งหมด ๑๐ ผลการเรยี นรู

40

คาํ อธิบายรายวชิ าเพ่มิ เติม

คณิตศาสตรเ พ่ิมพูน ๓ (ค๓๐๒๐๓) กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๕ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จาํ นวน ๑.๐ หนว ยกติ

คาํ อธิบายรายวิชา

ศึกษา และฝก ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรอ นั ไดแ ก การแกป ญหา การใหเหตุผล
การสื่อสาร การส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร และการนําเสนอ การเชอ่ื มโยงความรตู างๆ ทางคณติ ศาสตร
และเช่อื มโยงคณติ ศาสตรก ับศาสตรอน่ื ๆ และมีความคิดรเิ ริ่มสรา งสรรค ในสาระตอไปนี้

ฟง กช นั เอกซโ พเนนเชียลและฟง กช นั ลอการิทึม เลขยกกําลงั ท่มี เี ลขชกี้ าํ ลังเปน จํานวนเตม็ รากที่ n
ในระบบจํานวนจรงิ และจํานวนจริงในรูปกรณฑ เลขยกกาํ ลงั ทม่ี เี ลขชีก้ ําลังเปนจาํ นวนตรรกยะ ฟงกชนั
เอกซโ พเนนเชียล ฟง กชันลอการทิ มึ การหาคาลอการิทึม การเปลยี่ นฐานของลอการทิ มึ สมการเอกซ
โพเนนเชยี ลและสมการลอการทิ มึ การประยกุ ตข องฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและฟงกช ันลอการทิ ึม

ฟง กช นั ตรโี กณมติ ิ ฟงกช ันไซนแ ละโคไซน คาของฟงกชันไซนแ ละโคไซน ฟงกช ันตรโี กณมติ ิ
อน่ื ๆ ฟง กชนั ตรโี กณมติ ิของมมุ การใชต ารางคา ฟงกช นั ตรีโกณมิติ กราฟของฟง กช ันตรโี กณมิติ ฟงกชัน
ตรีโกณมิตขิ องผลบวกและผลตา งของจาํ นวนจริงหรอื มมุ ตัวผกผนั ของฟง กชนั ตรีโกณมติ ิ เอกลักษณแ ละ
สมการตรโี กณมิติ กฎของโคไซนแ ละไซน การหาระยะทางและความสูง

เวกเตอรในสามมติ ิ ระบบพกิ ัดฉากสามมติ ิ เวกเตอร เวกเตอรในระบบพกิ ดั ฉาก ผลคณู เชงิ สเกลาร
ผลคณู เชงิ เวกเตอร

ผลการเรยี นรู
๑. มคี วามคิดรวบยอดเกี่ยวกับฟงกชันเอกซโพเนนเชียล ฟงกชันลอการิทึม และเขยี นกราฟ

ของฟง กชนั ที่กําหนดใหได
๒. นาํ ความรเู รื่องฟงกชันเอกซโพเนนเชียลและฟงกช นั ลอการทิ ึมไปใชแกปญหาได
๓. มีความคดิ รวบยอดเกี่ยวกับฟงกช ันตรโี กณมติ ิและเขียนกราฟของฟงกช นั ที่กําหนดใหได
๔. นาํ ความรูเ ร่อื งฟงกช นั ตรโี กณมิติและการประยุกตไปใชแ กปญหาได
๕. มคี วามคิดรวบยอดเกย่ี วกับเวกเตอรในสามมติ ิ
๖. หาผลบวกเวกเตอร ผลคณู เวกเตอรด ว ยสเกลาร ผลคูณเชงิ สเกลารและผลคณู เชิงเวกเตอรได
๗. หาขนาดและทิศทางของเวกเตอรที่กําหนดใหได

รวมทั้งหมด ๗ ผลการเรียนรู

41

คาํ อธิบายรายวิชาเพมิ่ เติม

คณิตศาสตรเพมิ่ พนู ๔ (ค๓๐๒๔๓) กลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร

ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ ๕ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จํานวน ๑.๐ หนวยกิต

คําอธิบายรายวชิ า

ศึกษา และฝกทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรอ ันไดแ ก การแกป ญหา การใหเ หตผุ ล
การสื่อสาร การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร และการนาํ เสนอ การเชอ่ื มโยงความรูตางๆ ทางคณติ ศาสตร
และเชอ่ื มโยงคณติ ศาสตรก บั ศาสตรอ ่นื ๆ และมีความคิดรเิ รม่ิ สรา งสรรค ในสาระตอ ไปนี้

จํานวนเชิงซอ น การสรา งจาํ นวนเชิงซอ น สมบัตเิ ชิงพีชคณติ ของจาํ นวนเชงิ ซอ น รากท่ีสองของ
จาํ นวนเชงิ ซอ น กราฟและคา สัมบรู ณข องจาํ นวนเชิงซอน จาํ นวนเชิงซอ นในรูปเชงิ ขว้ั รากท่ี n ของจํานวน
เชิงซอ น สมการพหุนาม

ทฤษฎีกราฟเบื้องตน กราฟ ดีกรีของจุดยอด แนวเดนิ กราฟออยเลอร การประยุกตของกราฟ
ความนา จะเปน กฎเกณฑเ บือ้ งตนเก่ยี วกับการนับ วธิ ีเรียงสบั เปล่ยี น วธิ จี ัดหมู ทฤษฎีบททวนิ าม
ความนาจะเปน และกฎที่สาํ คัญบางประการของความนาจะเปน

ผลการเรียนรู
๑. มคี วามคิดรวบยอดเก่ยี วกับจาํ นวนเชิงซอน เขียนกราฟและหาคา สัมบูรณข องจาํ นวน

เชงิ ซอ นได
๒. หารากที่ n ของจาํ นวนเชิงซอน เมอื่ n เปน จาํ นวนเตม็ บวก
๓. แกส มการพหุนามตัวแปรเดยี วท่มี สี มั ประสทิ ธ์ิและดกี รีเปน จาํ นวนเต็ม
๔. เขยี นกราฟเมื่อกําหนดจดุ ยอด(vertex) และเสนเชอ่ื ม (edge) ใหไ ด
๕. ระบุไดวากราฟทีก่ าํ หนดใหเ ปน กราฟออยเลอรห รอื ไม
๖. นาํ ความรเู รื่องกราฟไปใชแกป ญ หาบางประการได
๗. แกโ จทยป ญ หาโดยใชก ฎเกณฑเ บ้ืองตนเกีย่ วกบั การนับ วธิ เี รยี งสบั เปล่ยี น และวธิ ีจดั หมู
๘. นําความรูเรอ่ื งทฤษฎบี ททวินามไปใชไ ด
๙. หาความนาจะเปนของเหตุการณท ่ีกาํ หนดใหได

รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรยี นรู

42

คาํ อธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม

คณิตศาสตรเ พมิ่ พูน ๕ (ค๓๐๒๐๕) กลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จาํ นวน ๑.๐ หนว ยกติ

คําอธิบายรายวชิ า

ศกึ ษา และฝก ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรอ นั ไดแ ก การแกป ญ หา การใหเหตผุ ล
การส่อื สาร การส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร และการนําเสนอ การเชอ่ื มโยงความรูต างๆ ทางคณติ ศาสตร
และเชื่อมโยงคณติ ศาสตรกบั ศาสตรอ ่นื ๆ และมคี วามคิดริเร่ิมสรา งสรรค ในสาระตอ ไปนี้

การวิเคราะหขอมูลเบ้ืองตน การวัดคากลางของขอ มูล ไดแก คา เฉลย่ี เลขคณติ มัธยฐาน ฐานนยิ ม
คาเฉล่ียเรขาคณติ และคา เฉลีย่ ฮารมอนกิ การวดั ตาํ แหนงท่ีหรือตาํ แหนง สัมพัทธข องขอมูล การวดั การ
กระจายของขอมูล ไดแก การวัดการกระจายสัมบูรณ การวดั การกระจายสมั พัทธ ความสมั พนั ธร ะหวางการ
แจกแจงความถี่ คากลาง และการกระจายของขอมลู

การแจกแจงปกติ คา มาตรฐาน การแจกแจงปกติและเสนโคงปกติ
ความสมั พนั ธเ ชงิ ฟง กช ันระหวางขอ มลู การวิเคราะหความสัมพันธเชิงฟงกชนั ระหวางขอ มูล
แผนภาพการกระจาย การประมาณคา ของคา คงตวั โดยใชว ิธีกาํ ลงั สองนอ ยทส่ี ดุ ความสัมพนั ธเชงิ ฟง กช ัน
ของขอมลู ทีอ่ ยูใ นรปู อนกุ รมเวลา

ผลการเรียนรู
๑. เลอื กวิธีวเิ คราะหขอมลู เบื้องตนและอธบิ ายผลการวิเคราะหข อมูลไดถกู ตอง
๒. นําความรูเรอ่ื งการวเิ คราะหขอ มูลไปใชไ ด
๓. นําความรเู ร่ืองคา มาตรฐานไปใชใ นการเปรียบเทียบขอมลู
๔. หาพื้นท่ีใตโคง ปกตแิ ละนาํ ความรเู กี่ยวกับพื้นทใี่ ตเ สนโคงปกตไิ ปใชไ ด
๕. เขาใจความหมายของการสรางความสัมพันธเชงิ ฟงกชนั ของขอมลู ที่ประกอบดว ยสองตวั แปร
๖. สรา งความสัมพนั ธเ ชงิ ฟง กชันของขอมลู ท่ีประกอบดว ยสองตวั แปรทอี่ ยใู นรูปอนกุ รม

เวลาโดยใชเ ครือ่ งคาํ นวณ
๗. ใชค วามสมั พนั ธเ ชงิ ฟง กช ันของขอ มูลพยากรณคาตัวแปรตามเมื่อกําหนดตวั แปรอสิ ระให

รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรยี นรู

43

คาํ อธิบายรายวชิ าเพม่ิ เติม

คณิตศาสตรเ พิ่มพนู ๖ (ค๓๐๒๐๖) กลุม สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๖ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จํานวน ๑.๐ หนวยกติ

คาํ อธิบายรายวิชา

ศกึ ษา และฝกทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรอ ันไดแ ก การแกป ญ หา การใหเ หตผุ ล
การสื่อสาร การสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร และการนาํ เสนอ การเช่ือมโยงความรตู างๆ ทางคณติ ศาสตร
และเช่อื มโยงคณติ ศาสตรกบั ศาสตรอ ่นื ๆ และมคี วามคดิ รเิ ร่ิมสรา งสรรค ในสาระตอ ไปน้ี

ลาํ ดบั อนันตและอนุกรมอนนั ต ลาํ ดับอนนั ต ไดแก ความหมายของลาํ ดบั รูปแบบการกาํ หนดลําดบั
ลาํ ดบั เลขคณติ ลาํ ดับเรขาคณติ และลมิ ติ ของลาํ ดบั อนุกรมอนนั ต ไดแ ก ผลบวกของอนุกรมอนนั ต และ
สญั ลักษณแ ทนการบวก

แคลคูลสั เบ้อื งตน ลิมติ ของฟง กชนั ความตอเนอ่ื งของฟง กชนั ความชันของเสนโคง อนุพนั ธของ
ฟงกช ัน การหาอนุพันธของฟงกช ันพชี คณติ โดยใชส ูตร อนุพันธของฟง กชันประกอบ อนพุ ันธอ ันดบั สูง
การประยกุ ตของอนพุ นั ธ ปฏิยานุพนั ธ ปรพิ ันธไมจํากดั เขต ปริพันธจาํ กัดเขต พืน้ ทีท่ ป่ี ดลอ มดว ยเสน โคง

กาํ หนดการเชิงเสน กราฟของอสมการเชงิ เสน กราฟของระบบอสมการเชิงเสน การแกป ญหา
กาํ หนดการเชงิ เสน โดยวิธีใชกราฟ

ผลการเรยี นรู
๑. หาลมิ ติ ของลาํ ดับอนันตโ ดยอาศยั ทฤษฎีบทเก่ยี วกบั ลิมิตได
๒. หาผลบวกของอนุกรมอนันตไ ด
๓. นาํ ความรเู รอื่ งลาํ ดับและอนกุ รมไปใชแ กปญหาได
๔. หาลมิ ิตของฟงกชนั ที่กาํ หนดใหได
๕. บอกไดว า ฟงกช นั ท่ีกาํ หนดใหเ ปนฟง กช นั ตอเนื่องหรือไม
๖. หาอนุพันธของฟง กชนั ได
๗. นําความรูเ รื่องอนุพันธของฟงกช นั ไปประยุกตใชไ ด
๘. หาปรพิ ันธไ มจ ํากดั เขตของฟง กช นั ท่ีกาํ หนดใหได
๙. หาปริพันธจํากดั เขตของฟงกช ันบนชวงท่ีกําหนดให และหาพน้ื ท่ีปด ลอมดวยเสน โคง

บนชวงทกี่ ําหนดใหได
๑๐. แกปญ หาโดยสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรแ ละใชวธิ ีการกําหนดการเชงิ เสนท่ใี ช

กราฟของสมการและอสมการทีม่ สี องตัวแปรได
รวมทั้งหมด ๑๐ ผลการเรยี นรู

กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร

โครงสรางรายวิชากลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนมวงสามสบิ อัมพวนั วทิ ยา

วิชาพื้นฐาน เรียนวชิ าพนื้ ฐานในกลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร จํานวน 6.0 หนว ยกติ ไดแ ก รายวชิ า
ตอ ไปนี้

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 ฟสิกสพ้ืนฐาน 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห ๑.5 หนว ยกิต
ว31101 เคมพี ื้นฐาน 3 ชัว่ โมง/สัปดาห ๑.5 หนวยกติ
ว31102 ชีววทิ ยาพืน้ ฐาน 3 ช่วั โมง/สปั ดาห ๑.5 หนว ยกิต
ว31103 ดาราศาสตรพ ้นื ฐาน 3 ชั่วโมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกิต
ว31104

วชิ าเพ่ิมเติม ในกลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรจ ํานวน 16.5 หนว ยกติ ไดแ ก รายวิชาดังตอ ไปนี้

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 ฟสิกสเ พิ่มเติม1 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห ๑.5 หนว ยกิต
ว31201 เคมีพืเ้ พิม่ เติม1 3 ชว่ั โมง/สัปดาห ๑.5 หนวยกิต
ว31221 ชวี วิทยาเพ่มิ เติม1 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห ๑.5 หนวยกิต
ว31241 เทคนิคปฏิบตั ิการ1 2 ชั่วโมง/สัปดาห 1.0 หนวยกติ
ว30201 โครงงานวทิ ย1 2 ช่ัวโมง/สัปดาห 1.0 หนว ยกติ
ว30202

ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 5 ฟส กิ สเ พ่ิมเติม2 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห ๑.5 หนว ยกิต
ว32202 ๑.5 หนวยกิต
ว32222 เคมเี พิ่มเติม2 3 ช่ัวโมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกิต
ว33242 ๑.5 หนว ยกติ
ว32203 ชวี วิทยาเพิ่มเตมิ 2 3 ช่วั โมง/สปั ดาห ๑.5 หนว ยกติ
ว32223 ๑.5 หนวยกติ
ว32243 ฟส กิ สเพ่ิมเติม3 3 ชั่วโมง/สปั ดาห 1.0 หนวยกติ
ว30203 1.0 หนวยกติ
ว30204 เคมีพเ้ื พิ่มเตมิ 3 3 ชว่ั โมง/สัปดาห

ชีววทิ ยาเพ่ิมเตมิ 3 3 ชั่วโมง/สัปดาห

เทคนิคปฏบิ ตั ิการวทิ ย2 2 ชวั่ โมง/สัปดาห

โครงงานวิทย2 2 ชัว่ โมง/สัปดาห

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 6 ฟส กิ สเ พ่ิมเตมิ 4 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห ๑.5 หนวยกติ
ว33204 เคมเี พ่ิมเติม4 3 ช่ัวโมง/สัปดาห ๑.5 หนวยกิต
ว33224 ชีววทิ ยาเพม่ิ เตมิ 4 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห ๑.5 หนวยกติ
ว33244 ฟสิกสเพ่ิมเติม5 3 ชั่วโมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกิต
ว33205

45

ว33225 เคมเี พิ่มเตมิ 5 3 ช่วั โมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกติ
ว33245 ชวี วทิ ยาเพม่ิ เตมิ 5 3 ช่ัวโมง/สัปดาห ๑.5 หนว ยกิต
ว30205 ระเบยี บวิจัยเบ้อื งตน 2 ชัว่ โมง/สัปดาห 1.0 หนว ยกิต
ว30206 โครงงานวิทย(พเิ ศษ) 2 ช่วั โมง/สัปดาห 1.0 หนวยกิต

46

ว๓๑๑๐๑ ฟสกิ สพ ้นื ฐาน รายวิชาวิทยาศาสตรพ้นื ฐาน ๑.๕ หนว ยกติ
ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑
๓ ช่วั โมง/สัปดาห/ภาค

คาํ อธิบายรายวชิ า

ศึกษา ความสัมพันธระหวา งแรงกบั การเคล่อื นที่ของวตั ถุในสนามโนม ถวง สนามไฟฟา สนามแมเ หล็ก
แรงนวิ เคลียรแ ละแรงไฟฟาระหวา งอนภุ าคในนวิ เคลียส ปริมาณตาง ๆ ที่เก่ียวกับการเคลอื่ นทีใ่ นแนวตรง การ
เคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล การเคล่ือนที่แบบวงกลม และการเคล่ือนท่ีแบบฮารโมนิกอยางงาย คลื่นกล
ความสมั พนั ธระหวางอัตราเร็ว ความถี่ และความยาวคลื่น การเกิดคล่นื เสียง บีตส ความเขมเสียง ระดับความ
เขม เสียง การไดยนิ คุณภาพเสียง มลพิษทางเสียง คลืน่ แมเหลก็ ไฟฟา สเปกตรมั คลื่นแมเ หล็กไฟฟา ประโยชน
และการปองกันอันตรายจากคลื่นแมเหล็กไฟฟา ปฏิกิริยานิวเคลียร ความสัมพันธระหวางมวลกับพลังงาน
พลังงานที่ไดจากปฏกิ ิริยานิวเคลียรแ ละผลตอสิ่งมีชวี ติ และสงิ่ แวดลอ ม โรงไฟฟานิวเคลยี ร ชนิดและสมบัติของ
รังสีจากธาตุกัมมันตรังสี การเกิดกัมมันตภาพรังสี วิธีตรวจสอบรังสีในสิ่งแวดลอม การใชประโยชนและ
ผลกระทบตอ สิง่ มีชีวติ และสง่ิ แวดลอม

เพื่ออธิบาย เปรียบเทียบ วิเคราะหเน้ือหาสาระตาง ๆ ใหเกิดความเขาใจ นําไปประยุกตใชใน
ชีวิตประจาํ วัน มจี ติ วิทยาศาสตรแ ละเจตคตทิ ี่ดีตอวิทยาศาสตร

ตัวชีว้ ดั
ว 2.1 ม.5/24, ว 2.1 ม.5/25, ว 2.2 ม. 5/๑, ว 2.2 ม. 5/3, ว 2.2 ม. 5/5, ว 2.2 ม. 5/6,
ว 2.2 ม. 5/7, ว 2.2 ม. 5/8, ว 2.2 ม. 5/9, ว 2.3 ม. 5/3, ว 2.3 ม. 5/4, ว 2.3 ม. 5/8,
ว 2.3 ม. 5/11

รวม ๑3 ตัวชี้วัด


Click to View FlipBook Version