The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัฒนธรรมวิถีชีวิตและภูมิปัญญา
สำหรับหนังสือ "วัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญา” เป็นหนังสือที่บันทึกองค์ความรู้ของวัฒนธรรม วิถีชีวิต และภูมิปัญญาที่มีความหลากหลายของคนไทยไว้ จำนวน ๒๐๓ หน้า พร้อมภาพประกอบสวยงาม โดยเนื้อหาภายในเล่มแบ่งเป็น ๖ ตอน ดังนี้
๑. ปฐมบท สร้างความรู้ความเข้าใจในความหมายแห่งวัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญา มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนไทย ๔ ภาค
๒. ล้ำค่าประเพณี วิถีชน บอกเล่าเรื่องราวของประเพณีต่าง ๆ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ลอยกระทง พิธีไหว้ครู ทำขวัญข้าว สารทเดือนสิบ และบุญบั้งไฟ
๓. ศิลปะการแสดง สื่อแห่งจิตวิญญาณ ได้แก่ พิณเปี๊ยะ โนรา หมอลำ ละครชาตรี ลิเก และหุ่นไทย
๔. ศาสตร์และศิลป์งานช่างไทย ได้แก่ เรือนไทย ผ้าทอมือ เครื่องจักสานไม้ไผ่ งานดอกไม้สด โคมล้านนา และงานช่างแทงหยวก
๕. อาหาร วิถีถิ่น กินอย่างไทย ได้แก่ สำรับอาหารไทย น้ำพริก ต้มยำ ส้มตำ ข้าวยำ และกระยาสารท
๖. กีฬาภูมิปัญญาไทย ได้แก่ ตะกร้อลอดห่วง กระบี่กระบอง มวยไทย ซีละ ว่าวไทย และการเล่นพื้นบ้านไทย
ซึ่งในแต่ละตอนได้หยิบยกเรื่องราวที่โดดเด่นและกระจายไปทุกภูมิภาค เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้เห็นถึงความสำคัญ และความแตกต่างหลากหลายดังกล่าว และเนื้อหาภายในเล่มทั้งหมดได้รับการประกาศขึ้นบัญชีเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติแล้ว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วัฒนธรรมวิถีชีวิตและภูมิปัญญา

วัฒนธรรมวิถีชีวิตและภูมิปัญญา
สำหรับหนังสือ "วัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญา” เป็นหนังสือที่บันทึกองค์ความรู้ของวัฒนธรรม วิถีชีวิต และภูมิปัญญาที่มีความหลากหลายของคนไทยไว้ จำนวน ๒๐๓ หน้า พร้อมภาพประกอบสวยงาม โดยเนื้อหาภายในเล่มแบ่งเป็น ๖ ตอน ดังนี้
๑. ปฐมบท สร้างความรู้ความเข้าใจในความหมายแห่งวัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญา มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนไทย ๔ ภาค
๒. ล้ำค่าประเพณี วิถีชน บอกเล่าเรื่องราวของประเพณีต่าง ๆ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ลอยกระทง พิธีไหว้ครู ทำขวัญข้าว สารทเดือนสิบ และบุญบั้งไฟ
๓. ศิลปะการแสดง สื่อแห่งจิตวิญญาณ ได้แก่ พิณเปี๊ยะ โนรา หมอลำ ละครชาตรี ลิเก และหุ่นไทย
๔. ศาสตร์และศิลป์งานช่างไทย ได้แก่ เรือนไทย ผ้าทอมือ เครื่องจักสานไม้ไผ่ งานดอกไม้สด โคมล้านนา และงานช่างแทงหยวก
๕. อาหาร วิถีถิ่น กินอย่างไทย ได้แก่ สำรับอาหารไทย น้ำพริก ต้มยำ ส้มตำ ข้าวยำ และกระยาสารท
๖. กีฬาภูมิปัญญาไทย ได้แก่ ตะกร้อลอดห่วง กระบี่กระบอง มวยไทย ซีละ ว่าวไทย และการเล่นพื้นบ้านไทย
ซึ่งในแต่ละตอนได้หยิบยกเรื่องราวที่โดดเด่นและกระจายไปทุกภูมิภาค เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้เห็นถึงความสำคัญ และความแตกต่างหลากหลายดังกล่าว และเนื้อหาภายในเล่มทั้งหมดได้รับการประกาศขึ้นบัญชีเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติแล้ว

Keywords: วัฒนธรรมวิถีชีวิตและภูมิปัญญา

บทท�ำขวญั ข้าว

เปน็ บทร้องประกอบพิธที ำ� ขวัญขา้ วของชาวนา แมร้ าย
ละเอยี ดจะแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ แตส่ ว่ นทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั
คือ ส่วนกล่าวเชิญขวัญหรือเรียกขวัญแม่โพสพ และส่วนที่
เปน็ การขอพรหรอื การขอรอ้ งแมโ่ พสพดลบนั ดาลใหข้ า้ วงอกงาม
ดี บททำ� ขวญั ขา้ วท่ีมกั ได้ยนิ เมอื่ มกี ารท�ำขวัญข้าว ได้แก่ “แม่
โพสี แม่โพสพ แม่นพดารา แม่จันเทวี แมศ่ รโี สดา เชิญแม่
มาสงั เวยเครื่องกระยาบวช อย่บู ้านนา อย่เู ขาคชิ ฌกูฏ ขอ
เชญิ ใหแ้ มม่ าแพท้ อ้ งแพไ้ ส้ อยากกนิ เปรยี้ วกนิ หวาน กนิ มนั
กินเค็ม นานอกนาใน นาซ้ายนาขวา ขอเชิญแม่มาเสวย
เคร่ืองกระยาบวช ขอใหข้ ้าวงามดี ไมม่ ภี ัยเบียดเบียน ขอ
ให้ต้นเท่ากระบองท้องเท่ากระบุง รวงเท่าดอกข่า ให้ดี
ทัว่ ไรท่ ่วั นา”

������������� ����� �  |  49



• “หฺมฺรับ” ที่จัดเตรยี มขน้ึ ส�ำหรบั ถวาย
พระภิกษุเพื่ออทุ ิศสว่ นกศุ ลแก่บรรพบุรุษ

ในประเพณสี ารทเดือนสบิ

ประเพณสี ารทเดอื นสบิ

ส่งบญุ แก่บรรพบรุ ุษ

ประเทศไทยมีประเพณีที่แสดงให้เห็นถึงความกตัญญูรู้คุณอันเป็นพ้ืนฐานของคุณธรรมไทยมาแต่โบราณ
โดยเฉพาะตอ่ บรรพบรุ ษุ และผมู้ พี ระคณุ ซงึ่ แมจ้ ะลว่ งลบั ไปแลว้ หากแตล่ กู หลานยงั คงใหค้ วามสำ� คญั และใหก้ ารระลกึ ถงึ
อยเู่ สมอ ดงั เชน่ ประเพณสี ารทเดอื นสบิ ของชาวไทยพทุ ธภาคใต้ เปน็ ประเพณที ถี่ อื ปฏบิ ตั สิ บื ตอ่ กนั มาเปน็ ประจำ� ทกุ ปี
มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ท�ำบญุ อทุ ิศสว่ นกศุ ลใหแ้ ก่บรรพบุรษุ ทล่ี ่วงลบั ไปแลว้

จากคตคิ วามเชอ่ื ของพทุ ธศาสนกิ ชนทว่ี า่ บรรพบรุ ษุ ทล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ หากทำ� ความดไี วเ้ มอ่ื ครงั้ ยงั มชี วี ติ อยู่ จะไดไ้ ป
เกดิ ในสรวงสวรรค์ แตห่ ากทำ� ความชว่ั จะตกนรกกลายเปน็ สตั วน์ รกหรอื อาจไปเกดิ เปน็ เปรต ตอ้ งทกุ ขท์ รมาน และอาศยั
เพยี งผลบญุ ทล่ี กู หลานอทุ ศิ กศุ ลไปใหใ้ นแตล่ ะปมี ายงั ชพี เทา่ นนั้ มเี พยี งในวนั แรม ๑ คำ่� เดอื น ๑๐ ทเ่ี ปรตจะถกู ปลอ่ ยตวั
กลับมายงั โลกมนุษย์เพ่ือมาขอสว่ นบุญจากลูกหลาน ในวันดังกล่าวชาวไทยพุทธภาคใต้จงึ จดั ให้มี พธิ ีวันหฺมรฺ ับเล็ก
(หมฺ ฺรับ อา่ นออกเสยี ง ม ควบ ร เป็นค�ำภาษาไทยถิ่นใต)้ หรือ วนั รบั ตายาย เพอ่ื ให้ลูกหลานได้ทำ� บุญอุทศิ ส่วนกุศล
ใหญ้ าติทอี่ าจไปเกิดเปน็ เปรต จากน้ันในวนั แรม ๑๕ คำ�่ เดือน ๑๐ ถอื เปน็ วนั สารทเรียกว่า วนั หฺมรฺ ับใหญ่ หรอื
วนั ฉลองหมฺ รฺ บั มกี ารยกหมฺ รฺ บั โดยนำ� เครอ่ื งอปุ โภคและเครอ่ื งบรโิ ภคไปถวายวดั ทำ� บญุ เลย้ี งพระและบงั สกุ ลุ เพอ่ื อทุ ศิ
สว่ นกศุ ลสง่ ใหบ้ รรพบรุ ุษและญาติพี่น้อง เชอ่ื กันวา่ การทำ� บุญในวนั นมี้ คี วามสำ� คญั ยง่ิ หากไมไ่ ด้ท�ำพิธกี รรมในวนั น้ี
บรรพบุรุษและญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปจะไม่ได้รับส่วนบุญส่วนกุศล ท�ำให้เกิดทุกขเวทนาด้วยความอดอยาก
และลกู หลานทยี่ งั มีชีวติ อยกู่ จ็ ะกลายเปน็ คนอกตัญญไู ป

�������������������  |  51

อีกนัยหน่ึงนอกเหนือจากวัตถุประสงค์ในการท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ “ฤดฝู นของภาคใตน้ ั้นจะเริ่มข้ึ นใน�
ญาติพี่น้องแล้ว ในช่วงเดือนสิบน้ันยังเป็นช่วงฤดูฝนท่ีพืชผลทางการเกษตรเร่ิมผลิดอก ราวปลายเดอื นสบิ เป็นช่วงทพ่ี ระสงฆ์
ออกผล การท�ำบุญด้วยการน�ำพืชผลไปถวายพระสงฆ์จึงถือเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและ ออกบิณฑบาตล�ำบาก ชาวบ้านจึงจดั
ครอบครวั เปน็ อยา่ งย่งิ และยงั เปน็ การอ�ำนวยประโยชน์ในด้านปจั จัยอาหารแก่พระภิกษุ ภัตตาหารไปถวายในรปู ของ ‘หฺมรฺ ับ’
สงฆ์ ซึง่ ไมส่ ะดวกออกบณิ ฑบาตในช่วงฤดฝู นไดอ้ ีกดว้ ย ”เพอ่ื ใหท้ างวดั เกบ็ รกั ษาเปน็ เสบียง
สำ� หรบั พระภิกษใุ นฤดฝู นนน่ั เอง
นอกจากความกตญั ญูร้คู ณุ ในบรรพบุรษุ ของตนเองแล้ว คุณธรรมอันดีงามเหล่าน้ี
ยงั เผ่อื แผไ่ ปส่วู ญิ ญาณท่ัวไปใหไ้ ดร้ ับบุญกุศลร่วมกนั ดงั เชน่ การตงั้ เปรต-ชิงเปรต ทจ่ี ดั ขนึ้
หลงั จากฉลองหมฺ รฺ บั และถวายภตั ตาหารเสรจ็ ชาวบา้ นจะแบง่ ขนมอกี สว่ นหนง่ึ ไปวางไวท้ ี่
ลานวดั โคนตน้ ไมใ้ หญห่ รอื กำ� แพงวดั เรยี กวา่ การตงั้ เปรต เมอื่ ถงึ เวลาทกี่ ำ� หนดชาวบา้ นจะ
แย่งชงิ ขนมทตี่ ้งั เปรตไว้ เรียกวา่ ชงิ เปรต โดยเชื่อกนั ว่าผู้ทีไ่ ดก้ นิ ขนมจะไดบ้ ญุ ไปด้วย

ปจั จบุ นั ประเพณสี ารทเดอื นสบิ ถอื เปน็ ประเพณใี หญท่ สี่ ำ� คญั ของชาวไทยพทุ ธภาค
ใต้ ที่จะได้กลับไปแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพบุรุษเป็นประจ�ำทุกปี การจัดงานมี
ศนู ยก์ ลางอยทู่ เ่ี มอื งนครศรธี รรมราช ซงึ่ ถอื เปน็ อาณาจกั รทพ่ี ระพทุ ธศาสนารงุ่ เรอื งมาแต่
เดิมและยงั คงอนุรักษป์ ระเพณดี งั กล่าวไดอ้ ยา่ งดียิง่

• พธิ ีต้ังเปรต-ชิงเปรต เกดิ ข้นึ ตามความเช่อื ในพุทธศาสนาว่า เปรตคอื คนที่
ท�ำกรรมชัว่ เมอ่ื ลว่ งลบั เปน็ วิญญาณจะตกนรกและกลายเป็นเปรต ดำ� รงชีวิต
อยู่ได้ด้วยสว่ นบญุ ท่ีมีผ้ทู ำ� อทุ ศิ ให้ แต่ละปีในวันแรม ๑ ค่�ำ เดอื นสบิ เปรตจะ
มีโอกาสได้กลบั มายังโลกมนษุ ย์เพ่ือขอส่วนบุญจากลกู หลานญาตพิ ่นี ้อง และ
กลับไปนรกในวนั แรม ๑๕ ค�่ำ เดอื น ๑๐

52  |  วัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปญั ญา



ขนมสารทเดือนสิบ ขนมกง ขนมดซี ำ�
ขนมลา
ท�ำจากแป้งข้าวเหนียวปั้นเป็นรูปกงล้อ วิธีท�ำคล้ายขนมบ้า เพียงเปลี่ยนไปใช้
เสน้ สายของแปง้ ขา้ วกบั นำ้� ตาลทผี่ า่ นกรรมวธิ ี แล้วจึงน�ำไปทอดเป็นสีเหลืองทอง เป็นเสมือน แป้งข้าวเจ้า เมื่อปั้นเป็นลูกแล้วกดกลางให้ทะลุ
การโรยเสน้ ทอดสานกนั เปน็ ตาขา่ ย สอื่ ความหมาย เครอ่ื งประดบั ที่ใชต้ กแต่งร่างกาย เป็นวง ทอดในน้�ำมันจะเป็นสีขาว เหลือง หรือ
แทนแพรพรรณเคร่ืองนุ่งห่ม และอีกนัยหนึ่งว่า สนี ำ้� ตาลออ่ นๆ เปน็ เหมอื นเงนิ ตราไวใ้ หใ้ ชส้ อย
วิญญาณบรรพบุรุษที่ไปเป็นเปรตนั้นปากเล็ก
เทา่ รเู ขม็ ไม่อาจกินอาหารเปน็ ชิ้นเป็นค�ำได้ ก็จะ
ได้กินขนมที่เป็นเสน้ เล็กๆ แบบน้ี

ขนมพอง ขนมบา้ “หัวใจของการท�ำบญุ ใน
ประเพณีสารทเดอื นสิบคอื
ทำ� จากขา้ วเหนยี วนง่ึ กดลงแมพ่ มิ พร์ ปู วงกลม ใช้แป้งข้าวเหนียวคลุกกับน้�ำเชื่อมปั้นเป็น ขนมสำ� คัญ ๕ ชนิด�
รูปพระจันทร์เส้ียว รูปข้าวหลามตัด ตากจนแห้ง รปู แบนๆ เหมอื นลูกสะบ้า ทอดแลว้ มีนำ้� มนั เกาะ ”ทแี่ ต่ละอย่างแฝงความหมาย�
แลว้ ทอดในนำ้� มนั รอ้ นๆ จนพองฟู เปน็ เสมอื นแพ เปน็ มนั เปน็ เสมือนลูกสะบา้ ท่บี รรพชนในปรโลก ทม่ี ีนัยส�ำคัญรวมอยู่
ทจ่ี ะพาวญิ ญาณบรรพบุรุษข้ามห้วงมหรรณพ จะได้ใช้เลน่ กันในวันสงกรานต์

54  |  วัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปญั ญา

การจดั หฺมฺรับ
การจดั หมฺ รฺ บั หรอื การจดั สำ� รบั สำ� หรบั ประเพณี
สารทเดอื นสิบมกั ทำ� กันในครอบครัว หรอื จดั ร่วมกนั
ในหมญู่ าติ โดยมีโอกาสในภาชนะ เช่น กระบุงหรือ
เข่งสานด้วยตอกไม้ไผ่ ประดับประดาด้วยส่ิงของ
และอาหารขนมเดือนสิบซึ่งจะท่ีเตรียมไว้เป็นชั้นๆ
เร่ิมจากช้ันล่างสุด บรรจุอาหารแห้ง ชั้นที่สองเป็น
อาหารประเภทพืชผักท่ีเก็บได้นาน ส่วนช้ันสามเป็น
ของใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ช้ันบนสุดหรือช้ันสี่ถือเป็น
หวั ใจของหมฺ รฺ บั จะบรรจแุ ละประดบั ประดาดว้ ยขนม
อนั เปน็ สญั ลกั ษณข์ องสารทเดอื นสบิ ไดแ้ ก่ ขนมพอง
ขนมลา ขนมกง (ขนมไขป่ ลา) ขนมบา้ และขนมดซี ำ�
ซึ่งเป็นขนมท่ีขาดไม่ได้ และเชื่อว่าบรรพบุรุษและ
ผู้ลว่ งลับไปแล้วจะน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ 

����� ������������� �  |  55



ประเพณีบญุ บ้ังไฟ

ส่งไฟขอฝน

สายฝนอนั ชมุ่ ฉำ่� ทตี่ กตอ้ งตามฤดกู าลเปรยี บเหมอื นของขวญั จากทอ้ งฟา้ ทสี่ ง่ ลงมา “ประเพณีบุญบ้ังไฟถือเป็นหนง่ึ ในพิธี
แก่เกษตรกร แต่หากหยาดฝนทิ้งช่วงไป ผลผลิตท่ีก�ำลังงอกงามดีอาจมีอันต้องล้มเหลว ขอฝนจากเทวดาบนฟา้ โดยคติความเชอื่ �
ประเพณีบุญบั้งไฟจึงถือเป็นหน่ึงในพิธีขอฝนจากเทวดาบนฟ้าโดยคติความเชื่อของชาว ของชาวอสี านทีม่ กี ารด�ำเนินชีวิต�
อสี านที่ยังคงอยู่จวบจนปัจจุบนั ดว้ ยการประกอบอาชีพเกษตรกร �
ซง่ึ ตอ้ งอาศยั ความอุดมสมบูรณ์ของ�
ดว้ ยวถิ ชี วี ติ ซงึ่ ผกู พนั กบั ธรรมชาตแิ ละอาศยั นำ้� ฝนในการเพาะปลกู พชื ผล ชาวอสี าน ผนื ดินและปริมาณน�้ำจากสายฝนท่ี�
จงึ มีความเชือ่ สบื ทอดตอ่ กนั วา่ เทพเจ้าที่ประทานน้ำ� ให้แกม่ นุษยค์ ือ “แถน” ซง่ึ มาจาก ตกต้องตามฤดกู าลมาใช้ในการ�
ตำ� นานเรอื่ ง พญาคนั คาก หรอื พญาคางคกผทู้ รี่ บชนะพญาแถน ทกุ ครงั้ ทโ่ี ลกตอ้ งการนำ�้ เพาะปลกู หากมีสงิ่ ใดบกพร่องหรือ
ให้จุดบ้งั ไฟหรอื ดอกไม้ไฟขนึ้ ฟ้า เพอ่ื เปน็ สญั ญาณให้พญาแถนสง่ ฝนลงมาให้ ดงั นนั้ เม่ือ ”ผดิ พลาด ผลผลิตท่ีก�ำลงั งอกงามดี
ถึงฤดทู ำ� นา ชาวอสี านจึงจัดงานบุญบง้ั ไฟขึน้ ทกุ คร้งั อาจมีอันตอ้ งลม้ เหลว

ประเพณบี ญุ บงั้ ไฟหรอื บญุ เดอื นหกนนั้ ถอื เปน็ ประเพณอี นั สำ� คญั ยง่ิ สำ� หรบั ชาวอสี าน
ทปี่ ฏบิ ตั สิ บื ทอดกนั มาตงั้ แตส่ มยั โบราณ จนไดม้ กี ารกำ� หนดไวใ้ น “ฮตี สบิ สอง คองสบิ ส”ี่
หรือประเพณี ๑๒ เดือน และธรรมเนียมปฏิบตั ิ ๑๔ ขอ้ ทถ่ี ือเป็นหัวใจในการด�ำเนนิ ชวี ติ
ของคนทกุ ชนช้ันในบ้านเมืองนบั ต้งั แตพ่ ระมหากษตั ริย์ไปจนถงึ คนธรรมดาสามญั

เม่ือเข้าสู่ช่วงของการท�ำนา เร่ิมตกกล้าหว่านไถ ผู้คนในชุมชนใกล้เคียงกันจะ
นดั หมายทำ� บง้ั ไฟเพอื่ เปน็ ตวั แทนของหมบู่ า้ น และบอกบญุ เพอื่ รว่ มกนั แหข่ บวนบง้ั ไฟของ
ท้องถ่นิ ตนเองไปยงั วดั ในหมูบ่ ้านท่ีเปน็ เจ้าภาพ ประเพณีดังกล่าวนบั เป็นการเชอ่ื มความ
สัมพันธ์ของคนในชุมชน ให้มีโอกาสได้ใช้เวลาสนุกสนานร่วมกันก่อนเข้าสู่ช่วงฤดูท�ำนา
ซง่ึ จะกนิ เวลายาวนานตอ่ ไปอีกหลายเดือน

������������� ��� ���  |  57

• เมือ่ แห่บั้งไฟเสร็จแล้ว ชาวบ้านจะรวม
บง้ั ไฟจากหมบู า้ นต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
แล้วจดั งานฉลองในคนื วันนน้ั ร่งุ ขนึ้ จงึ จดุ
“บ้ังไฟเส่ียง” เพื่อท�ำนายว่าปีนี้ฝนจะตก
ตามฤดูกาลหรอื ไม่ ถา้ บงั้ ไฟข้นึ ดแี สดงวา่
ฝนและน�้ำจะอุดมสมบูรณ์

ขบวนแห่ นอกเหนือจากบั้งไฟท่ีประดิษฐ์ไว้อย่างงดงามอันแสดงถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นแล้ว
ยงั มกี ารเซง้ิ บงั้ ไฟ รอ้ งกาพยเ์ ซงิ้ บง้ั ไฟประกอบการฟอ้ นตามจงั หวะกลองตมุ้ และการละเลน่ ตา่ งๆ ทแี่ สดง
ถงึ วิถชี ีวิตของคนในสังคม เช่น การทอดแหหาปลา การสักส่มุ แตเ่ ดมิ ในขบวนเซิ้งจะมีผูเ้ ขา้ รว่ มเฉพาะ
เพศชาย บ้างก็แต่งตัวเป็นหญิง น�ำหุ่นชายหญิงแสดงท่าการร่วมเพศไปตลอดทาง อีกทั้งค�ำเซ้ิงยังมี
แต่เร่ืองเพศและเรื่องตลกหยาบโลนเพื่อขอฝนจากเทวดา บางขบวนจะมีการเล่นตลกเชิงเพศสัมพันธ์
เพอื่ สรา้ งสสี นั ใหก้ บั ขบวนแหโ่ ดยทไ่ี มม่ ใี ครถอื สา ในสมยั ตอ่ มาเมอื่ การเซงิ้ บง้ั ไฟกลายเปน็ งานประเพณขี อง
ชุมชน มีการประกวดแขง่ ขันกันระหว่างหมู่ จึงมีการเปลย่ี นแปลงรปู แบบและเนือ้ หาของการเซ้งิ บัง้ ไฟ
ผ้เู ข้าขบวนมที ง้ั ชายจริงหญงิ แท้ และมีการประดิษฐ์ท่าฟ้อนร�ำใหส้ วยงาม ในส่วนของหมบู่ า้ นเจ้าภาพ
จะจัดเตรียมข้าวปลาอาหารไวร้ อตอ้ นรบั เชน่ ขา้ วป้นุ (ขนมจนี ) น�้ำยาปลายา่ ง (ปลากรอบ) พร้อมสุรา
ยาสบู (ยาเส้นมวนใบตองแหง้ )

โดยปกติประเพณีบุญบั้งไฟจะจัดเพียงสองวัน ในวันแรกท่ีแห่ขบวนบ้ังไฟจะเรียกว่า วันโฮม
สว่ นในวันรุ่งขนึ้ ชาวบ้านจะพากนั แตง่ ตวั สวยงาม นำ� อาหารคาวหวานทจี่ ัดท�ำขึ้น อย่างดที สี่ ดุ ไปถวาย
วดั หลงั จากทำ� บญุ และรว่ มกนิ อาหารกลางวนั กนั เรยี บรอ้ ย ชว่ งบา่ ยจะพรอ้ มใจกนั นำ� บงั้ ไฟไปทล่ี านจดุ
ซ่งึ ทำ� เปน็ ร้านบัง้ ไฟเตรียมไว้ เพื่อทยอยจุดบงั้ ไฟไปตามล�ำดับ ซง่ึ การจดุ บง้ั ไฟนนั้ นบั เปน็ การเสยี่ งทาย
ชนิดหนึ่งอีกด้วย ถ้าบ้ังไฟขึ้นสูง จะท�ำนายว่าฝนจะตกดี ข้าวปลาอาหารอุดมสมบูรณ์ หากจุดบ้ังไฟ
ไม่ขนึ้ หรอื บั้งไฟแตก ท�ำนายว่าฝนจะแลง้ จากความเช่ือดังกลา่ ว แต่ละชมุ ชนจงึ ตอ้ งใช้ความพยายาม
อย่างสุดความสามารถในการประดิษฐบ์ ้ังไฟใหพ้ งุ่ ข้นึ ฟ้าไปได้ไกลทสี่ ดุ
58  |  วฒั นธรรม วิถีชีวิตและภมู ิปัญญา





นับได้ว่างานบุญบ้ังไฟน้ันใช่เพียงแต่สะท้อนให้เห็นถึงปรัชญาในการ จากไมไ้ ผ่สู่บั้งไฟตระการ
ด�ำเนินชีวิตของชาวอีสาน แต่ยังแสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาอันชาญฉลาด
ทส่ี ามารถสรา้ งความผกู พนั ระหวา่ งผคู้ นในชมุ ชนไวไ้ ดอ้ ยา่ งแยบยล โดยอาศยั ในสมยั กอ่ นการทำ� บงั้ ไฟจะใชไ้ มไ้ ผล่ ำ� ขนาดใหญท่ สี่ ดุ ทะลวงปลอ้ ง
ประเพณบี ญุ บง้ั ไฟเปน็ สอ่ื กลาง เมอ่ื ทกุ คนมนี ำ�้ หนง่ึ ใจเดยี วกนั มคี วามสมคั ร ให้ถึงกัน ภายนอกจะใช้ตอกไม้ไผ่ถักเป็นเชือกมัดรอบล�ำไผ่ให้แน่น
สมานสามัคคีกจ็ ะสามารถอยู่รว่ มกันได้อย่างเป็นสุข  เพอ่ื ไมใ่ หล้ ำ� ไผแ่ ตก สว่ นหวั ปลอ้ งสดุ ทา้ ยจะถกู อดุ ดว้ ยแผน่ ไมห้ นาพอควร
แลว้ ทำ� การอดั บรรจหุ มอื่ (ดนิ ปนื ) ใหแ้ นน่ ดว้ ยการตำ� หรอื ใชค้ านดดี คาน
งดั การทำ� บง้ั ไฟนน้ั เปน็ เทคโนโลยพี น้ื บา้ นทส่ี บื ทอดและสง่ั สมภมู ปิ ญั ญา
ต่อๆกันมา นอกจากน้ันการตกแต่งบั้งไฟให้งดงามยังต้องอาศัยความ
สามารถในเชิงศลิ ปะควบค่กู นั ไปด้วย

ประเภทของบง้ั ไฟปกตจิ ะมี๓ขนาดคอื บง้ั ไฟธรรมดาซง่ึ จะใชด้ นิ ประสวิ
ไมเ่ กนิ ๑๒ กโิ ลกรมั บง้ั ไฟหมน่ื จะใชด้ นิ ประสวิ ๑๒-๑๑๙ กโิ ลกรมั บงั้ ไฟแสน
จะใช้ดินประสิว ๑๒๐ กิโลกรัม ส่วนบ้ังไฟล้านต้องใช้ดินประสิวถึง
๑,๒๐๐ กิโลกรมั

เมอ่ื ทำ� บงั้ ไฟเสรจ็ แลว้ จะมกี ารตกแตง่ ประดบั ประดาดว้ ยกระดาษ
สีอย่างสวยงามซ่ึงเรียกเป็นภาษาพ้ืนบ้านว่า เอ้ส่วนท่อนหัวและท่อน
หางของบั้งไฟจะประกอบเปน็ รปู ตา่ งๆ ตามทีต่ อ้ งการ ส่วนมากจะทำ�
เป็นรปู หวั พญานาค

“บุญบงั้ ไฟนิยมทำ� กนั ในเดือน ๖ �
หรอื เดอื น ๗ ซึ่งเปน็ ช่วงฤดูฝน�
เขา้ สกู่ ารท�ำนา ตกกลา้ หว่าน ไถ �
เพื่อเป็นการบชู าแถนขอฝนให้ตกตอ้ ง
”ตามฤดกู าล คล้ายกับการแห่นางแมว
ของคนภาคกลาง



ศิลปะการแสดง
สื่อแห่งจติ วิญญาณ

ศิลปะการแสดงของไทยไม่ว่าจะเป็นการแสดงดนตรี การร�ำ หรือการแสดง
ละครเป็นเรื่องราว ล้วนเป็นการแสดงถึงวัฒนธรรมท่ีมีคุณค่า อันแฝงไว้ซ่ึง
ความงดงามของภูมิปัญญาชาวไทย แต่ละการแสดงมีจุดมุ่งหมายเพื่อความงาม
และความบันเทิง โดยอาจก่อให้เกิดการคิด วิพากษ์ ท่ีน�ำไปสู่การพัฒนาและ
เปลี่ยนแปลงสังคมได้ ในขณะเดียวกันยังเป็นการถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก
และวิถีชีวิตของคนแต่ละท้องถ่ินด้วยเช่นกัน อาทิ โนราของภาคใต้ ละครชาตรี
และลเิ กในภาคกลาง หมอลำ� ของภาคอีสาน และพิณเปีย๊ ะของภาคเหนือ

ศิลปะการแสดง สื่อแหง่ จติ วญิ ญาณ  |  63

พณิ เปย๊ี ะ

เครื่องดดี แห่งลา้ นนา

ในบรรดาเครื่องดนตรีเพชรน้�ำเอกแห่งล้านนา พิณเปี๊ยะ จัดเป็นเคร่ืองดีดท่ีมี
คณุ ลกั ษณะพเิ ศษแตกตา่ งไปจากเครอ่ื งดดี ชนดิ อนื่ ๆ ดว้ ยเสยี งกอ้ งกงั วานและทว่ งทำ� นอง
สงู ต่ำ� ท่ีดงั ออกมาจากพิณซง่ึ แนบอยูบ่ นแผน่ อกหรอื หน้าทอ้ งทเี่ ปลือยเปล่าของผู้บรรเลง
สามารถตรงึ ความรสู้ กึ ของผู้ฟังใหส้ งบน่ิง ดำ� ดงิ่ ไปกบั มนตร์ขลังของเสียงอนั ไพเราะ

เสน้ ทางความเปน็ มาของพณิ เปย๊ี ะสบื ยอ้ นกลบั ไปไดถ้ งึ เครอ่ื งดนตรขี องชาวอนิ เดยี
จดั อยูใ่ นตระกลู ของวีณา หรอื พณิ ส่วนค�ำวา่ เปี๊ยะ เชอ่ื ว่ามาจากการเรียกชอ่ื ท่ีต่างกันไป
ในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ เชน่ เพยี เพย้ี เพยี ะ เพลย้ี คำ� วา่ พณิ เพยี ะ หรอื พณิ เปย๊ี ะ กเ็ ชน่ เดยี วกนั

เอกลักษณ์ของพิณเปี๊ยะอยู่ที่โครงสร้างของพิณ ประกอบด้วยส่วนกะโหลก • เทคนคิ การเล่นเป๊ียะ ผู้เลน่ ตอ้ งครอบกล่องเสียงไว้ทห่ี น้าอกและ
หรือกะโหล้ง ท�ำจากกะลามะพร้าวหรือน้�ำเต้าผ่าซีก คันพิณท�ำจากไม้แก่นขนาดกลม ดดี ด้วยเทคนิคเฉพาะท่ีเรยี กว่า ป๊อก โดยใช้นิว้ ก้อยหรือน้วิ นางดดี สาย
ยาว วดั จากปลายดา้ นใหญไ่ ปยงั ดา้ นเลก็ ประมาณ ๗๐ - ๘๐ เซนตเิ มตร ไมท้ ใี่ ชท้ ำ� คนั เปย๊ี ะ และใช้โคนนว้ิ ชี้ของมือนั้นแตะสายท่ีจุดเสยี งจึงจะไดเ้ สียงดังสดใส
เป็นไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้ประดู่ ไม้ชิงชัน ไม้แดง ไม้มะเกลือ ส่วนปลายคันเปี๊ยะจะมี กงั วานคล้ายเสียงระฆัง
ลูกบิดตามจ�ำนวนสายลวด เริ่มตั้งแต่ ๒ - ๗ สาย ปลายสุดตอนบนของคันเปี๊ยะสวม
ด้วยหัวเปี๊ยะซ่ึงประดิษฐ์จากส�ำริดหรือทองเหลือง เป็นรูปนกหัสดีลิงค์ พญานาค
นกยูง ช้าง ตามความเช่อื ของสตั ว์ในป่าหมิ พานต์

เสน่ห์ของพิณเปี๊ยะไม่ได้อยู่ที่รูปลักษณ์อันงดงามเท่านั้น หากแต่อยู่ที่เทคนิคการ “สันนษิ ฐานกันว่า ชื่อ ‘พิณเปย๊ี ะ’
เลน่ และความชำ� นาญทผ่ี บู้ รรเลงสามารถสรา้ งความสน่ั พลวิ้ จากการดดี สายเปย๊ี ะไดอ้ ยา่ ง มาจากการทใี่ นอดตี ชาวลา้ นนา
เหมาะเจาะ วธิ กี ารเลน่ เปย๊ี ะจะคลา้ ยกบั พณิ ชนดิ อนื่ ๆ คอื ใชม้ อื ซา้ ยกดสายและถอื คนั พณิ เรียกพิณเปยี๊ ะสน้ั ๆ วา่ “เปี๊ยะ”
เฉียงกับลำ� ตัวของผ้เู ลน่ ดดี สายดว้ ยมอื ขวา โดยใชน้ ว้ิ ในการปาด เขยี่ และป๊อกสายเป๊ียะ ซง่ึ แปลว่า อวด หรือ เทยี บเชงิ
ใหเ้ กดิ เสยี งไพเราะ เชอ่ื มโยงกบั การบงั คบั จงั หวะเปดิ ปดิ ของกะโหลง้ ทแ่ี นบอยกู่ บั กลา้ มเนอ้ื (ในภาษาเหนือ) คนทีเ่ ล่นเป๊ยี ะได้
บนหน้าอกหรือหน้าท้องเพ่ือปรับแต่งเสียงตามต้องการ จนเกิดเป็นบทเพลงท่ีเปี่ยม จะดูโก้มากกว่าคนทเี่ ล่นสะล้อ ซอ
ไปดว้ ยอารมณ์ความรูส้ ึกลึกซึง้ กนิ ใจ ซึง ดงั นั้น การเลน่ พิณเปีย๊ ะแต่ละ
”ครั้งจงึ เหมือนเล่นอวดกนั เป็นการ
ในอดีต เปี๊ยะเป็นเครื่องดนตรีท่ีนิยมเล่นกันแต่ในราชส�ำนักฝ่ายเหนือ ต่อมาได้ ประชนั ขนั แขง่ กันนั่นเอง
แพร่ออกมาสู่กลุ่มชาวบ้านที่พอมีฐานะและมีฝีมือทางดนตรี เพราะหัวเปี๊ยะซึ่งเป็น
ส่วนประกอบที่ส�ำคัญนั้นหายากและมีราคาแพง ประกอบกับเป็นเครื่องดนตรีที่เล่นยาก
แตม่ เี สยี งไพเราะมาก ดงั นน้ั คนทเ่ี ลน่ เปย๊ี ะไดจ้ งึ เปน็ ทยี่ กยอ่ งชนื่ ชมเปน็ พเิ ศษ ทำ� ใหห้ นมุ่ ๆ
ลา้ นนาสมยั กอ่ นนยิ มเสาะแสวงหาเปย๊ี ะมาเลน่ กนั เพราะจะไดเ้ ปรยี บเครอ่ื งดนตรชี นดิ อนื่ ๆ
ในเวลาไปแอ่วสาวยามค่�ำคนื

64  |  วัฒนธรรม วถิ ชี วี ติ และภมู ิปัญญา



• พณิ เปย๊ี ะมพี ฒั นาการมาจากพณิ ธนู หลกั การเกดิ เสยี งและการดดี คลา้ ยพณิ นำ�้ เตา้ โดยใชก้ ะลามะพรา้ วซกี เปน็ กลอ่ งเสยี ง คนั เปย๊ี ะทำ� มาจาก
ไม้เนือ้ แขง็ เพ่อื ความแข็งแรงและเสยี งอนั ไพเราะ

66  |  วัฒนธรรม วิถชี ีวติ และภูมิปัญญา

บทเพลงทม่ี กั นำ� มาใชบ้ รรเลงกบั พณิ เปย๊ี ะมกั เนน้ เพลงทว่ งทำ� นองออ่ นหวาน เนบิ ชา้ เพอ่ื สอื่ อารมณท์ ศ่ี ลิ ปนิ
ต้องการแสดงออกได้มากกว่า เปน็ บทเพลงของทางลา้ นนาทย่ี งั คงสบื ทอดมาจนถงึ ปจั จบุ นั เชน่ เพลงปราสาทไหว
เพลงจกไหล เพลงซอพม่า เพลงมวย เพลงลกู กุยเวย เพลงฤๅษหี ลงถำ้� เพลงแหย่งหลวง เพลงละม้าย เพลงล่องนา่ น
และเพลงพนื้ บา้ นอน่ื ๆ สว่ นเพลงไทยในแบบแผนของภาคกลางนนั้ กส็ ามารถนำ� มาดดี ไดเ้ ชน่ กนั เปน็ ตน้ วา่ เพลงเตย้ โขง
เพลงเขมรไทรโยค เพลงสรอ้ ยล�ำปาง

การฝกึ ฝนพณิ เปย๊ี ะใหส้ ามารถบรรเลงเพลงไดอ้ ยา่ งไพเราะและถา่ ยทอดอารมณค์ วามรสู้ กึ ของผบู้ รรเลงออก
มาได้อยา่ งชดั เจนนั้นตอ้ งอาศัยความอดทนในการฝกึ ปรอื เป็นเวลานาน หากแต่ความงดงามของบทเพลงก็ถือเปน็
รางวัลอันคุ้มค่าต่อความมุ่งม่ันที่ได้ฝึกฝน เอกลักษณ์และความไพเราะของเสียงพิณเปี๊ยะนั้นเปี่ยมไปด้วยคุณค่า
ทางวฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาของชาวลา้ นนาทส่ี ะทอ้ นผา่ นบทเพลงจากเปย๊ี ะทน่ี ำ� ไปใชใ้ นโอกาสตา่ งๆ เชน่ ใชป้ ระกอบ
พธิ ีกรรมทางศาสนา เพอ่ื ความบันเทิง เพ่อื ใช้แสดงถงึ ฐานะและสถานภาพในสังคม และใชเ้ ปน็ เครื่องมอื ในการหา
คคู่ รอง

ศิลปะการแสดง สือ่ แห่งจิตวญิ ญาณ  |  67

“หัวเปีย๊ ะทใ่ี ชป้ ระดบั ปลายบนสุดของคันเป๊ยี ะ
มกั ทำ� เปน็ รปู นกหสั ดลี งิ ค์ สตั วห์ มิ พานตท์ ม่ี สี ว่ นหวั
เหมอื นช้าง สว่ นล�ำตวั เป็นนก ตามความเชื่อของ
ชาวลา้ นนาถอื เปน็ สัตว์ท่มี ีพละก�ำลังมาก
”เทยี บเทา่ กบั ชา้ ง ๕ เชอื ก และมหี นา้ ทพี่ าดวงวญิ ญาณ
ของผมู้ ีบญุ ไปสู่สวรรค์

เนื่องจากลักษณะการเล่นท่ีต้องแนบกะโหล้งไว้กับอกที่เปลือยเปล่า
จึงเชื่อกันว่าเคร่ืองดนตรีชนิดน้ีเหมาะส�ำหรับศิลปินชายเท่าน้ัน แต่เคยมี
หลกั ฐานวา่ สตรกี ส็ ามารถเลน่ พณิ เปย๊ี ะไดจ้ ากภาพจำ� หลกั อารยธรรมทวารวดี
บ้านคูบัว จังหวัดราชบุรี ท่ีก�ำลังดีดเครื่องดนตรีที่มีลักษณะเดียวกับเปี๊ยะ
นอกจากนหี้ ากไมส่ ะดวกจะแนบเครอ่ื งดนตรกี บั อก กส็ ามารถเปลยี่ นมาแนบ
กับหน้าท้องแทนได้เชน่ เดยี วกัน

ในปจั จบุ นั การเล่นเปยี๊ ะนั้นนยิ มเลน่ เปน็ เปยี๊ ะจุม คือน�ำเอาเป๊ยี ะ
ตัง้ แต่ ๒ - ๗ คนั มาเลน่ รวมกันเปน็ วง หรือใชเ้ ปี๊ยะเลน่ ร่วมกบั เคร่ืองดนตรี
ท่มี ีเสยี งเบาชนดิ อน่ื เช่น ซึง สะล้อ หรอื ขล่ยุ เรียกวา่ แม้จ�ำนวนผ้เู ลน่ เป๊ยี ะ
จะไม่ได้มีมากดังเดิม แต่ก็ยังสามารถยืนหยัดและสานต่อความไพเราะ
ได้อย่างงดงาม 

“เคยมคี �ำกลา่ ววา่ พิณเป๊ียะเป็นเคร่ืองดดี ตระกูลพิณทไี่ พเราะ เสยี งเบา และเป็นหน่ึง
ในเครือ่ งดนตรีที่เล่นยากท่ีสุดในบรรดาเคร่ืองดนตรลี า้ นนา มกั มคี �ำพดู เปรยี บเปรย
จากช่างดนตรีชาวเหนือวา่ “หัดเปีย๊ ะ 3 ปี หัดป่ี 3 เดอื น” แสดงใหเ้ ห็นว่าการจะ
”บรรเลงพิณเป๊ียะให้ไพเราะได้นน้ั ต้องใชเ้ ทคนิค ความช�ำนาญและการฝกึ ฝนเป็น
เวลานานอย่างมาก

68  |  วัฒนธรรม วถิ ีชวี ิตและภมู ปิ ญั ญา





โนรา

วิจติ รแหง่ การแสดง

ทว่ งทา่ อนั ออ่ นชอ้ ยแตก่ ลบั เปย่ี มไปดว้ ยพลงั ของทา่ รำ� ผสานกบั เสยี งดนตรหี นกั แนน่ “เอกลักษณข์ องการรำ� โนราคอื
จากทับ (หรือโทน) ที่ให้จังหวะในลีลา ประกอบกับเคร่ืองแต่งกายอันเป็นเอกลักษณ์ การร�ำผสมท่าต่าง ๆ เข้าด้วยกันอยา่ ง
ที่ประดับลูกปัดนานาสี คือเสน่ห์อันยากจะหาใครเปรียบของโนรา การแสดงพื้นเมือง ต่อเน่ืองกลมกลนื มีความคลอ่ งแคล่ว
ซงึ่ เป็นที่นยิ มของคนในภาคใตม้ าแตโ่ บราณ ชำ� นาญท่ีจะเปลีย่ นลีลาให้เข้ากับ
จงั หวะดนตรี และตอ้ งรำ� ให้สวยงาม
โนราเป็นการแสดงพื้นเมืองท่ีสืบทอดกันมายาวนานแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา ออ่ นชอ้ ย บางครง้ั ยงั เพมิ่ ความสามารถ
เชอ่ื กนั วา่ โนราเกิดข้นึ ครั้งแรกที่หวั เมืองพทั ลุง ปจั จบุ ันคอื ต�ำบลบางแก้ว จงั หวัดพัทลงุ ในเชิงร�ำเฉพาะด้าน เช่น
แลว้ แพรข่ ยายไปยงั หัวเมืองอืน่ ๆ ของภาคใต้ จวบจนเม่ือไปถึงภาคกลางจึงกลายเป็นตน้ ”การเล่นแขน การท�ำให้ตัวออ่ น
ก�ำเนิดของละครชาตรี โดยการน�ำเร่ือง “พระสุธน-มโนราห์” มาแสดงและเรียกชื่อว่า การรำ� ทา่ พลิกแพลง
มโนราห์ หรอื มโนหร์ า

สว่ นจดุ เดน่ ทที่ ำ� ใหโ้ นราเปน็ ศลิ ปะการแสดงทแ่ี ตกตา่ งจากการแสดงอน่ื ๆ คอื เครอื่ ง
แตง่ กายและเครอ่ื งดนตรที ถี่ อื เปน็ องคป์ ระกอบหลกั ของโนรา ไมว่ า่ จะเปน็ ความวจิ ติ รบรรจง
ของ เทรดิ (อ่านว่า เซิด) ซึง่ เปน็ เครอ่ื งประดับศรี ษะของตวั นายโรงหรอื โนราใหญ่ รวมถงึ
เคร่ืองลูกปัดที่ร้อยด้วยลูกปัดสีเป็นลายดอกดวง ใช้ส�ำหรับสวมล�ำตัวท่อนบนแทนเสื้อ
ประดบั ดว้ ยปกี นกแอน่ หรอื ปกี เหนง่ ทบั ทรวงปกี หรอื หางหงส์ ผา้ นงุ่ สนบั เพลา ผา้ หอ้ ยหนา้
ผ้าห้อยข้าง ก�ำไลต้นแขน-ปลายแขน และเล็บ ซ่ึงจัดได้ว่าเป็นอีกหนึ่งงานศิลปะท่ีต้อง
อาศัยความอุตสาหะในการสร้างสรรค์ ทั้งหมดที่กล่าวมาน้ีเป็นเพียงเครื่องแต่งกายของ
โนราใหญห่ รอื โนรายนื เครอื่ งเทา่ นนั้ สว่ นเครอื่ งแตง่ กายของตวั นางหรอื นางรำ� จะเรยี กวา่
เคร่ืองนาง แมไ้ มม่ กี ำ� ไลตน้ แขน ทับทรวง และปกี นกแอน่ แต่ความงดงามของลายลูกปัด
ก็มไิ ดอ้ อ่ นดอ้ ยไปกว่ากัน

ศิลปะการแสดง สื่อแหง่ จิตวญิ ญาณ  |  71

เนอื่ งจากดนตรขี องโนราจะเปลย่ี นจงั หวะทำ� นองตามแตท่ า่ รำ� ของผรู้ ำ�
ดงั นนั้ เครอ่ื งดนตรขี องโนราสว่ นใหญจ่ งึ เปน็ เครอื่ งตสี ำ� หรบั ใหจ้ งั หวะ ประกอบ
ดว้ ย ทบั หนง่ึ คู่ (โทนหรอื ทบั โนรา) เปน็ เครอื่ งตที ส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ เพราะทำ� หนา้ ที่
คมุ จงั หวะและเปน็ ตวั นำ� ในการเปลยี่ นจงั หวะทำ� นองตามผรู้ ำ� ใชผ้ ตู้ เี พยี งคน
เดียว เสรมิ เนน้ จงั หวะดว้ ยกลองทบั ปี่ โหมง่ หรอื ฆอ้ งคู่ ฉง่ิ และแตร

องค์ประกอบส�ำคัญของการแสดงโนรานั้นคือการผสานกันอย่าง
กลมกลืนระหว่างการร้องกับการร�ำ แต่ในบางโอกาสยังแสดงเป็นเร่ือง
และในบางสว่ นจดั เปน็ การประกอบพธิ ตี ามคตคิ วามเชอื่ เรอ่ื งการไหวค้ รอู กี ดว้ ย
การแสดงของโนราสามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ ๒ รูปแบบหลกั ที่มีความแตกต่างกนั
หนึ่งคือ โนราประกอบพธิ กี รรม หรอื ท่ีเรียกว่า โนราโรงครู สองคือ โนรา
เพ่ือความบันเทิง โนราโรงครู เป็นพิธีที่มีความส�ำคัญของวงการโนรา
ใชเ้ พอื่ แสดงความเคารพนบนอบตอ่ ครแู ละบรรพบรุ ษุ อกี ทงั้ ยงั สรา้ งความเปน็
อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั ในสงั คม จากศรทั ธาและความเชอ่ื ทม่ี รี ว่ มกนั โนราโรงครู
เปน็ พธิ กี รรมเพอื่ เชญิ ครหู รอื บรรพบรุ ษุ ของโนรามายงั โรงพธิ ี หรอื มาเขา้ ทรง
(โนราลงโรง) เพื่อไหว้ครูหรือไหว้ตายายโนรา เพื่อรับของแก้บนและ
เพอื่ ครอบเทรดิ หรอื ผกู ผา้ แกผ่ แู้ สดงโนรารนุ่ ใหมซ่ ง่ึ ถอื เปน็ พธิ กี รรมอนั ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ
และมีสริ ิมงคลยิ่ง

สว่ นโนราเพอ่ื ความบนั เทงิ เปน็ การแสดงเพอ่ื ใหค้ วามบนั เทงิ โดยตรง
และมสี ว่ นสำ� คญั ในวถิ ชี วี ติ ของคนในชมุ ชน เนอ่ื งจากโนราประเภทนมี้ กั จดั ขน้ึ
ในงานวดั เพอ่ื หารายไดบ้ ำ� รงุ ศาสนา งานประเพณสี ำ� คญั ตามนกั ขตั ฤกษ์ งาน
พธิ เี ฉลมิ ฉลองตา่ งๆ ทชี่ าวบา้ น วดั หรอื หนว่ ยราชการ จดั ขน้ึ ในโอกาสพเิ ศษ
การแสดงของโนราประกอบดว้ ย การรำ� ทตี่ อ้ งรำ� อวดความชำ� นาญและความสามารถ
เฉพาะตน โดยการร�ำผสมท่าตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกันอยา่ งต่อเน่อื งกลมกลนื หรือ
การเลน่ แขน การทำ� ตวั อ่อน ผนวกกบั การร้อง เชน่ ขบั บทกลอนทต่ี อ้ งอาศยั
ปฏิภาณในการต่อกลอน มีความคมคายทางภาษา นอกจากนี้ยังอาจมกี าร
ทำ� บท ซงึ่ เปน็ การอวดความสามารถในการตคี วามหมายของบทรอ้ งเปน็ ทา่ รำ�
ใหค้ ำ� ร้องและท่าร�ำสมั พนั ธก์ นั ตอ้ งตีท่าให้พิสดารหลากหลายและครบถ้วน
กลมกลนื กบั จงั หวะและลลี าของดนตรอี ยา่ งเหมาะเจาะ ดว้ ยความยากในการ
แสดงการทำ� บทจงึ ถอื เปน็ ศลิ ปะสดุ ยอดของโนรา และหากมเี วลาในการแสดง
มากพอ มกั แสดงเปน็ เรอื่ งราวเพอื่ ใหเ้ กดิ ความสนกุ สนาน เนน้ ความตลกและ
การขับบทกลอนแบบโนราให้ได้เนือ้ หาตามทอ้ งเรอ่ื ง

72  |  วฒั นธรรม วถิ ีชวี ติ และภูมปิ ญั ญา

แมจ้ ะถอื เปน็ การแสดงชน้ั ครอู นั มคี วามละเอยี ดออ่ นและตอ้ งอาศยั เวลาในการฝกึ ปรอื
จนเช่ียวชาญ แต่ปัจจุบันการแสดงโนรายังคงมีอยู่ท้ัง ๒ รูปแบบ ไม่ได้สูญหายไปตาม
กาลเวลาดงั เชน่ การแสดงชนดิ อน่ื เพราะนอกจากความงดงามของทา่ รำ� และเครอ่ื งแตง่ กาย
อนั เปน็ เอกลกั ษณ์ โนรายงั สามารถเขา้ ถงึ วถิ ชี วี ติ ความเปน็ อยขู่ องคนในชมุ ชนไดอ้ ยา่ งตรงใจ
บางครั้งยังสามารถทำ� หน้าทเ่ี ป็น “สือ่ ” เผยแพร่ใหข้ ้อมลู ขา่ วสารตา่ งๆ แกป่ ระชาชนได้
รับทราบอย่างท่ัวถึง ในขณะเดียวกันโนรายังถือเป็นพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ท่ีจะขาดไม่ได้
นบั เปน็ ศลิ ปวฒั นธรรมพน้ื บา้ นทสี่ บื ทอดกนั มาอยา่ งยาวนาน และยงั คงรกั ษาแกน่ ความเชอ่ื
และขนบทางการแสดงได้อย่างน่าชน่ื ชม 

พธิ ีโนราโรงครู

การประกอบพิธีโนราโรงครูนั้นแบ่งได้เป็นสองลักษณะ หน่ึงคือ โนราโรงครูใหญ่
หมายถึง การร�ำโนราโรงครอู ยา่ งเตม็ รปู แบบ ซึง่ จะต้องกระท�ำตอ่ เนื่องกัน ๓ วนั ๒ คนื
ในชว่ งเดอื น ๓ เดือน ๖ เดอื น ๙ หรอื ช่วงเดอื นมนี าคมถงึ กันยายน โดยจะเริม่ ในวันพุธ
ไปสิน้ สุดในวนั ศกุ ร์ และจะตอ้ งกระท�ำเปน็ ประจ�ำทุกปี หรือทกุ สามปี หรือทกุ ห้าปี ทง้ั น้ี
ขนึ้ อยกู่ บั การถอื ปฏบิ ตั ขิ องโนราแตล่ ะสาย สำ� หรบั โนราโรงครเู ลก็ ใชเ้ วลาหนง่ึ วนั กบั หนง่ึ คนื
โดยปกตินยิ มเริ่มในตอนเย็นวันพุธ แล้วไปส้ินสุดในวนั พฤหสั บดี

ศลิ ปะการแสดง ส่อื แห่งจติ วิญญาณ  |  73

ครูหมอโนรา

ครูหมอโนราคือบรรพบรุ ษุ ของโนรา บางคร้งั เรียกว่าครูหมอตายาย เปน็ ทน่ี บั ถือของคนในทอ้ งถนิ่ และเปน็ ที่
ยึดเหนย่ี วจติ ใจในยามตกทุกข์ได้ยาก หรือหากถึงคราวเจบ็ ปว่ ยโดยไมท่ ราบสาเหตุก็จะมีการเชิญครูหมอมาประทบั
ทรงเพ่ือหาวิธีการรักษา ในขณะเดียวกันครูหมอโนรายังเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านด้านความเช่ือท่ีมีส่วนในการสร้าง
ความม่ันคงในชมุ ชน และเป็นกลไกอนั แยบยลในการควบคมุ ดแู ลคนในชมุ ชนใหป้ ระพฤตติ นโดยต้ังอยใู่ นคณุ ธรรม
ความดงี าม ถกู ท�ำนองคลองธรรม เพราะหากท�ำส่ิงใดผดิ จารตี ครูหมอกส็ ามารถดลบนั ดาลให้มอี ันเปน็ ไปได้

โนราเพอ่ื ความบันเทิง

การแสดงโนราเพอื่ ความบนั เทงิ ในแตล่ ะครง้ั จะมลี ำ� ดบั การแสดงทถ่ี อื เปน็ ขนบนยิ ม โดยเรม่ิ จากการปลอ่ ยตวั นางรำ�
ออกร�ำ (อาจมผี ้แู สดงจ�ำนวน ๒ - ๕ คน) ซึ่งมีขั้นตอนคอื เกีย้ วมา่ น หรือขับหนา้ ม่าน เป็นการขบั รอ้ งบทกลอนอยใู่ น
มา่ นกน้ั โดยไมใ่ หเ้ หน็ ตวั จากนนั้ ออกรา่ ยรำ� แสดงความชำ� นาญและความสามารถในเชงิ รำ� เฉพาะตวั ตอ่ ดว้ ยการทำ� บท
และวา่ กลอนเพอื่ เปน็ การแสดงความสามารถเชงิ บทกลอน และรำ� อวดมอื อกี ครง้ั กอ่ นเขา้ โรง จากนนั้ จะถงึ เวลาของการ
ออกพราน คอื ออกตวั ตลก ซงึ่ เปน็ ผมู้ คี วามสำ� คญั ในการสรา้ งบรรยากาศใหค้ รกึ ครน้ื ปดิ ทา้ ยดว้ ยการออกตวั นายโรง
หรือโนราใหญ่ นายโรงจะอวดท่าร�ำและขับบทกลอนเปน็ พิเศษให้สมแกฐ่ านะทเ่ี ปน็ นายโรง ในกรณที ่ีเป็นการแสดง
ประชันโรง โนราใหญ่จะท�ำพิธีเฆ่ียนพราย และเหยียบลูกนาว เพ่ือเป็นการตัดไม้ข่มนามคู่ต่อสู้ และเป็นก�ำลังใจ
แกผ่ รู้ ว่ มคณะของตนออกพรานอกี ครง้ั เพอื่ บอกวา่ ตอ่ ไปจะเลน่ เปน็ เรอื่ ง และจะเลน่ เรอ่ื งอะไร จากนนั้ จงึ เรม่ิ แสดง
74  |  วฒั นธรรม วถิ ีชีวติ และภูมปิ ัญญา





หมอล�ำ

ล�ำน�ำแห่งวถิ ชี น

ววิ ฒั นาการของการแสดงหมอลำ� จากหมอลำ� พนื้ หรอื หมอลำ� เรอื่ งซง่ึ ถา่ ยทอดเรอื่ งราวตา่ งๆ อยา่ งมอี รรถรส
คลอไปกบั เสียงเป่าแคนในจังหวะสงู ตำ่� เป็นทว่ งทำ� นองอนั ไพเราะ จนถงึ การเปล่ยี นแปลงเปน็ การแสดงหมอลำ� ซ่งิ ท่ี
ประกอบด้วยนักรอ้ งหมอลำ� และหางเครอ่ื ง สะท้อนให้เห็นถงึ การเปล่ียนแปลงในสงั คม ในขณะเดียวกันกเ็ ปรียบได้
ดงั่ วิถชี วี ิตของคนอีสานท่ีแตกตา่ งกนั ในแต่ละยุคสมัย

ศลิ ปะการแสดงหมอล�ำน้นั อยู่คู่กบั ชาวอสี านมาตัง้ แต่อดีต คำ� วา่ “หมอล�ำ” มาจากค�ำ ๒ ค�ำรวมกัน ได้แก่
“หมอ” หมายถงึ ผู้มีความช�ำนาญ และ “ลำ� ” หมายถงึ การบรรยายเร่ืองราวตา่ งๆ ด้วยท�ำนองอนั ไพเราะ หมอล�ำ
จึงหมายถึง ผู้ที่มีความชำ� นาญในการบรรยายเร่ืองราวต่างๆ ด้วยทำ� นองเพลง หรืออีกนัยหน่ึงคือการนำ� เอาเร่ือง
ในวรรณคดีอีสานมาขับร้องโดยการท่องจ�ำค�ำกลอน หรือการเล่านิทานด้วยภาษาถ่ินอีสานประกอบเสียงดนตรี
พน้ื บา้ นแคน

หมอลำ� ในถนิ่ อสี านสามารถแบง่ ออกเปน็ สองประเภทใหญ่ ไดแ้ ก่ หมอลำ� เพอื่ ความบนั เทงิ และหมอลำ� ทแี่ สดง
ในพธิ ีกรรม โดยหมอลำ� เพ่อื ความบันเทิง เชน่ หมอล�ำเรือ่ ง หมอลำ� กลอน หมอลำ� หมู่ หมอลำ� เพลนิ ลว้ นเปน็ การ
แสดงที่อาศัยการเล่าเรื่องราวผ่านวิธีการแสดง เครื่องดนตรีและจ�ำนวนผู้แสดงท่ีแตกต่างกันไป บ้างร้องเป็นคู่
บ้างร้องเป็นหมู่คณะ บ้างใช้เพียงเสียงแคน หรือบางคร้ังมีการน�ำเสียงพิณและกลองชุดมาเพ่ิมความสนุกสนาน
สว่ นหมอลำ� ทแี่ สดงในพธิ กี รรมนน้ั คอื หมอลำ� ผฟี า้ หมอลำ� จะทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ สอ่ื ตดิ ตอ่ กบั ผฟี า้ ตามความเชอื่ เรอื่ งผฟี า้
และแถนของชาวอสี าน สามารถพยากรณด์ นิ ฟา้ อากาศหรอื ชว่ ยรกั ษาคนปว่ ย รวมถงึ เปน็ การใหก้ ำ� ลงั ใจในการตอ่ สกู้ บั
โรคภยั ตา่ งๆ อกี ด้วย

“แคนเปน็ เครื่องดนตรเี พียง
ชนิดเดยี วทีใ่ ช้ประกอบการแสดง
หมอลำ� กลอนของชาวอสี าน
”โดยมีหมอแคนเป็นผู้เปา่ แคน
ประกอบการลำ� กลอน

ศลิ ปะการแสดง ส่ือแห่งจติ วิญญาณ  |  77



• ในงานบุญตามประเพณฮี ีตสบิ สองคองสิบสีข่ องชาวไทยอสี านมักจะมีหมอลำ� กลอนเป็นตัวชโู รงของมหรสพสมโภชงาน

ด้วยวิถีชีวิตอันเรียบง่ายและใกล้ชิดกับธรรมชาติ หมอล�ำถือเป็น เฉพาะหน้าบนเวทีได้อย่างทันท่วงที ในอดีตที่การส่ือสารยังไม่พัฒนา
การแสดงพ้ืนเมืองท่ีมีคุณค่าและมีความส�ำคัญยิ่งต่อชาวอีสานในอดีต ดังเช่นทุกวันน้ี หมอล�ำได้ท�ำหน้าท่ีถ่ายทอดเร่ืองราวความเป็นไปต่างๆ
เพราะนอกจากจะเป็นการแสดงที่ให้ความบันเทิง ความสนุกสนาน และในสมัยหน่ึงหมอล�ำยังช่วยเผยแพร่ความรู้ด้านลัทธิการเมือง ช้ีแนะ
เพลิดเพลินในงานร่ืนเริงหรือเทศกาลต่างๆ แล้ว ยังสอดแทรกความรู้ ใหป้ ระชาชนเขา้ ใจในการปกครองระบบประชาธปิ ไตย รวมถงึ ใหค้ วามรตู้ า่ งๆ
ความคิด คติธรรม ความเชื่อ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ เชน่ การวางแผนครอบครวั การคุมก�ำเนดิ การกินทถี่ ูกสุขลักษณะ
ที่ท�ำให้คนฟังเกิดความเฉลียวฉลาด มีความประพฤติอันดีงาม และมี
สว่ นรว่ มในการช่วยสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมรวมถงึ การรักษาบรรทัดฐาน หากโจทยข์ องการแสดงคอื ความบนั เทงิ ทต่ี รงใจผชู้ ม หมอลำ� กน็ บั เปน็
ของสงั คมไว้ไดอ้ ยา่ งแยบยล ความบันเทิงอันเปี่ยมไปด้วยอรรถรสและจิตวิญญาณของคนพื้นถิ่นอีสาน
แฝงไว้ด้วยคติธรรมที่คอยขัดเกลาคนในสังคมให้เป็นคนดี ระลึกถึงบาปบุญ
ความเรียบง่ายที่สามารถเข้าถึงชาวบ้านได้ทุกหมู่เหล่าเป็น คุณโทษ ในขณะเดียวกันก็มีพัฒนาการที่เปล่ียนแปลงไปตามยุคสมัย
ข้อได้เปรียบของหมอล�ำท่ีท�ำให้ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย หมอล�ำ จากการเล่าเร่ืองคนเดียวในยุคเร่ิมแรกของหมอล�ำพ้ืน ต่อมาจึงเพ่ิมผู้แสดง
ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปน็ ปราชญข์ องสงั คม เพราะเปน็ ผสู้ บื ทอดและถา่ ยทอด เปน็ คเู่ พอื่ เตมิ ความสนกุ ใหร้ อ้ งรบั สง่ กนั ไดข้ องหมอลำ� กลอน แลว้ เปลย่ี นเปน็
ภูมิปัญญา ตลอดจนวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นควบคู่กับวัด ท้ังน้ีเพราะผู้ท่ี การแสดงแบบหมู่คณะของหมอล�ำหมู่ หมอล�ำเพลิน จวบจนตั้งเป็นวง
จะเป็นหมอล�ำที่ดีได้น้ันจะต้องเป็นผู้มีความรอบรู้หลากหลายไม่ว่าจะเป็น ที่น�ำการแสดงดนตรีมาผนวกกับการแสดงหมอล�ำของหมอล�ำกลอนซิ่ง
เรื่องประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ การท�ำมาหากินเล้ียงชีพ ขนบธรรมเนียม ไมว่ า่ จะเปลยี่ นไปอยา่ งไร แตส่ ง่ิ หนง่ึ ทยี่ งั คงมรี ว่ มกนั ของหมอลำ� ทกุ ประเภท
ประเพณี บาปบุญคุณโทษ ข้อธรรมไปจนถึงนิทานชาดก และข่าวสาร คอื การเขา้ ถงึ ใจผชู้ ม ซงึ่ ถอื เปน็ สว่ นสำ� คญั ใหก้ ารแสดงหมอลำ� ยงั คงสบื เนอ่ื ง
บ้านเมือง อีกท้ังต้องมีปฏิภาณไหวพริบในการโต้ตอบและแก้ปัญหา มาจนถึงทกุ วนั นี ้

ศลิ ปะการแสดง สือ่ แหง่ จติ วิญญาณ  |  79

หมอล�ำเพอ่ื ความบันเทงิ สามารถแบง่ ประเภทไดต้ ามยคุ สมัย วธิ ีการเลา่ เรื่อง และลกั ษณะการแสดง เร่มิ จาก
หมอล�ำพน้ื ล�ำ หมอล�ำกลอน หมอล�ำหมู่ หมอล�ำเพลิน และหมอล�ำซ่งิ
•• หมอล�ำพื้น

หมอล�ำพื้น เป็นหมอล�ำท่ีเก่าแก่ที่สุดในประเภทหมอล�ำท่ีใช้เพื่อความบันเทิง บางทีเรียกว่า “ล�ำเร่ือง”
เลา่ นทิ านหรอื เรอ่ื งราวจากชาดกตา่ งๆ เชน่ ทา้ วการะเกด ทา้ วสที น นางแตงออ่ น และนางสบิ สอง และทา้ วหมาหยยุ
ดนตรที ่ใี ช้ประกอบล�ำพ้นื คือ แคน มีทว่ งท�ำนองสองจงั หวะ คอื ช้าและเศรา้ กบั จังหวะเรว็ และเร่งรอ้ น เพอื่ ให้เขา้
กบั การดำ� เนินเรือ่ งทกี่ �ำลงั เล่า
•• หมอล�ำกลอน

หมอลำ� กลอนเปน็ การลำ� ทใี่ ชบ้ ทกลอนโตต้ อบกนั เชน่ โคลง รา่ ย หรอื กาพยก์ ลอน หมอลำ� กลอนจะลำ� เปน็ คู่
บางคร้ังจงึ มกี ารสอดแทรกการลำ� เกี้ยว ซึง่ เปน็ การลำ� ในทำ� นองเก้ียวพาราสีระหว่างหญงิ -ชายไว้ในการแสดง
•• หมอลำ� หมู่

หมอล�ำหมเู่ ป็นการแสดงของกลุ่มศลิ ปินหมอลำ� ไดแ้ บบอยา่ งการแต่งกายมาจากลเิ ก และไดแ้ บบอยา่ งการ
ล�ำมาจากการล�ำพื้นและล�ำกลอน คณะหมอล�ำหมู่ประกอบด้วยคน ๑๕ - ๓๐ คน แสดงบทบาทตามนิทานหรือ
ชาดกของอีสาน ประกอบดว้ ย พระราชา พระราชนิ ี เจา้ ชาย เจ้าหญงิ คนใช้ พ่อ แม่ ลูกชาย ลกู สาว ฤๅษี เทวดา
และภตู ผี จุดเดน่ คอื ในฉากทม่ี ีการฟ้อนร�ำ หรือสนุกสนาน หมอลำ� หมูจ่ ะลำ� เต้ยซง่ึ เปน็ เพลงรกั ส้นั ๆ หมอแคนกจ็ ะ
เปา่ ลาย “ลำ� เต้ย” ซงึ่ ไดแ้ ก่ เตย้ โขง เต้ยพม่า เตย้ ธรรมดา และเตย้ หวั โนนตาล

80  |  วฒั นธรรม วิถีชวี ติ และภมู ปิ ัญญา

“การแสดงพ้นื เมอื งของชาวไทยอสี าน •• หมอล�ำเพลนิ
อยา่ ง ‘การล�ำ’ มวี ิวฒั นาการอย่าง หมอล�ำเพลินเป็นหมอล�ำหมู่อีกประเภทหน่ึง เป็นการแสดงท่ีแสดงเป็นคณะ
ตอ่ เน่อื ง เริ่มจากการล�ำพื้นเมือง
โดยใชเ้ น้อื หาของนิทานพนื้ บา้ น เช่น เรอ่ื งทแ่ี สดงเปน็ เรอ่ื งอะไรกไ็ ดร้ วมทงั้ เรอื่ งทห่ี มอลำ� หมแู่ สดง สว่ นขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งหมอลำ�
การะเกด สนิ ไช นางแตงอ่อน ลำ� โดยใช้ หมู่กับหมอล�ำเพลิน คือในหมอล�ำหมู่ ผู้แสดงฝ่ายหญิงทุกคนจะแต่งชุดด้วยผ้าซ่ินแบบ
หมอล�ำ 1 คน และหมอแคน 1 คน พ้ืนบา้ นอีสานหรือชดุ ไทย แต่ลำ� เพลินฝา่ ยหญิงจะนงุ่ กระโปรงสนั้ อวดทรวดทรง ท�ำนอง
ผ้ลู ำ� สมมติคนเป็นตวั ละครทุกตวั ของล�ำเพลินจะเน้นความโลดโผน ตื่นเตน้ เรา้ ใจ ใชเ้ ครอ่ื งดนตรที ้ังแคน พณิ และกลองชดุ
ในเรือ่ งและล�ำตลอดคนื ถือเปน็ ท�ำใหเ้ ปน็ ที่ตนื่ ตาต่นื ใจแก่ผูช้ ม
”ต้นก�ำเนิดของการลำ� ทุกประเภท •• หมอลำ� ซิ่ง

หมอลำ� ซง่ิ เปน็ การรอ้ งรำ� ทำ� นองหมอลำ� ประยกุ ตก์ บั เพลงทส่ี นกุ โดยมหี มอลำ� ฝา่ ย
ชายคอยร้องแก้กับหมอล�ำฝ่ายหญิง พร้อมกับการโชว์ลีลาร่ายร�ำท่ีอ่อนช้อยงดงาม
มหี มอแคนเปา่ แคนคลออยขู่ า้ งๆ และมกี ารใชเ้ ครอื่ งดนตรสี ากลเขา้ รว่ มใหจ้ งั หวะเหมอื น
ล�ำเพลิน มีหางเคร่ืองเหมือนดนตรลี ูกทงุ่ เนน้ กลอนล�ำสนุกสนานมีจงั หวะอนั เร้าใจ

ศิลปะการแสดง สอื่ แห่งจิตวิญญาณ  |  81

ละครชาตรี

มรดกแห่งการรอ้ งรำ�

ละครชาตรีเป็นหน่ึงในการแสดงเก่าแก่ของไทยท่ีเช่ือมโยงการแสดงระหว่างละครภาคกลาง
กับการแสดงโนราภาคใต้ไว้ด้วยกัน ทั้งยังแฝงความเช่ือเร่ืองโชคเคราะห์และส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ ซ่ึงมีอิทธิพล
ต่อความเป็นอยู่และการด�ำเนินชวี ติ ของคนไทย

ที่มาของค�ำว่า “ชาตร”ี มผี สู้ นั นษิ ฐานไว้หลายทาง เช่น หมายถึงผู้รู้วธิ ีปอ้ งกนั ภยนั ตรายจาก
ศาสตราวธุ หรอื เปน็ การออกเสยี งเพยี้ นจากคำ� ในภาษาสนั สกฤตวา่ “กษตั รยี ะ” ทอ่ี อกเสยี งวา่ “ฉตั รยี ะ”
เม่ือเข้ามาในประเทศไทยจึงออกเสียงเพ้ียนไปเป็น “ชาตรี” เน่ืองจากเป็นการแสดงท่ีเป็นเร่ืองราว
ของกษตั รยิ ห์ รอื มเี ครอ่ื งแตง่ กายคลา้ ยเครอื่ งทรงของกษตั รยิ โ์ บราณ อกี ดา้ นหนงึ่ เชอื่ วา่ เพย้ี นมาจากคำ�
“ยาตร”ี หรือ “ยาตรา” ซง่ึ แปลว่าเดินทางทอ่ งเที่ยวไป พ้องกบั ละครเรช่ าตรใี นประเทศอนิ เดยี

เดิมละครชาตรีแพร่หลายอยู่ในภาคใต้ จากนนั้ เรมิ่ เขา้ สกู่ รงุ เทพฯ ครง้ั แรกในปี พ.ศ. ๒๓๑๒
เมอ่ื สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี เสดจ็ กรธี าทพั ไปปราบเจา้ นครศรธี รรมราชและกวาดตอ้ นผคู้ นมาเมอื งหลวง
พร้อมด้วยพวกละคร จากนั้นในปี พ.ศ. ๒๓๒๓ ในงานฉลองพระแก้วมรกต ยังโปรดให้ละครของ
เจา้ นครศรธี รรมราชขึ้นมาแสดงทก่ี รงุ เทพฯ ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๓๗๕ สมยั รชั กาลที่ ๓ สมเดจ็ เจา้ พระยา
บรมมหาประยรู วงศ์ (ดศิ บุนนาค) สมยั ด�ำรงต�ำแหน่งเปน็ เจา้ พระยาพระคลงั ได้กรีธาทัพลงไประงับ
เหตุการณ์ทางหัวเมืองภาคใต้ ขากลับกรุงเทพฯ มีผู้ที่มีความสามารถในการแสดงละครชาตรีอพยพ
กลับมาด้วย และได้รวบรวมกันต้ังเป็นคณะละครรับเหมา แสดงในงานต่างๆ จนเป็นที่ขึ้นชื่อ ท�ำให้
ละครชาตรไี ด้รบั ความนิยมสบื ต่อมา

“การอนญุ าตให้ผ้หู ญงิ สามารถแสดงละครไดท้ ่วั ไป
ในสมัยรชั กาลที่ ๔ มิได้จำ� กดั เฉพาะผ้ชู าย นักแสดง
ละครชาตรีจงึ เปล่ียนมาสวมเสือ้ แบบละครนอก
และเปลีย่ นจากสวมเทรดิ เป็นชฎา เนื่องจากมีรปู ทรง
”ที่เพรยี วกวา่ และรับกบั ใบหน้าของผู้หญงิ
ทำ� ให้ดูงดงาม

82  |  วฒั นธรรม วิถีชวี ติ และภมู ปิ ญั ญา



84  |  วฒั นธรรม วถิ ีชวี ติ และภูมปิ ญั ญา

“คณะละครชาตรีท่ีแสดงในปัจจุบัน จุดเด่นของละครชาตรีคือ เป็นการแสดงท่ีน�ำวรรณคดีหรือวรรณกรรมพ้ืนบ้านท่ีมีเร่ืองราว
บางคณะสบื ทอดการแสดงมาจาก สนุกสนานมาเลน่ เชน่ สงั ข์ทอง ไชยเชษฐ์ พระรถ-เมรี แกว้ หนา้ มา้ โมง่ ป่า สวุ รรณหงส์ บางคร้งั คณะ
คณะละครด้ังเดมิ เชน่ ละครจะผกู บทขน้ึ เอง สว่ นบทรอ้ งมที งั้ จดจำ� บทกลอน ดน้ สด หรอื บอกบท เมอื่ ถงึ ชว่ งเจรจาจะใชถ้ อ้ ยคำ�
คณะสรอ้ ยทองหริ ญั (คณะบญุ ชู เรียบง่าย ส่ือสารตรงไปตรงมา มีวงปี่พาทย์ชาตรีบรรเลงดนตรี และเน้นท่าร่ายร�ำที่งดงาม ในอดีต
ลูกสร้อยทอง) คณะอดุ มศิลป์ มกั ใชเ้ ปน็ มหรสพฉลองกนั ทวั่ ไป และยงั ใชเ้ ปน็ เครอื่ งแกบ้ น สบื เนอ่ื งจากความเชอ่ื ทว่ี า่ ผแู้ สดงละครชาตรี
กระจา่ งโชติ บางคณะแยกจาก มคี าถาอาคมและสามารถตดิ ตอ่ กบั เทพเจา้ หรอื สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธไ์ิ ด้ หากประสงคใ์ หเ้ ทพยดาหรอื สง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ
คณะดั้งเดมิ เปลยี่ นมาใช้ช่อื คณะ ช่วยดลบันดาลให้ได้ส่ิงท่ีต้องการ เม่ือได้รับความช่วยเหลือแล้วก็ต้องตอบแทนต่อองค์เทพเจ้าหรือ
ใหม่ มีการปรบั รปู แบบการแสดง ส่ิงศกั ดสิ์ ทิ ธิ์นน้ั ด้วยการหาละครมาแก้บน การแสดงละครชาตรีในอดีตเพียงใชเ้ สา ๔ ตน้ ปัก ๔ มมุ
ใหท้ ันสมัยเปน็ ท่ีนิยมแก่ผูช้ ม เชน่ เปน็ ส่เี หลี่ยมจตั ุรัส มีเตียง ๑ เตียง และเสากลาง ซงึ่ ถอื เปน็ เสามหาชัยอกี ๑ เสา เพอ่ื ทำ� เปน็ โรงละคร
คณะธิดา ณ บางไทร คณะจเดจ็ นกั แสดงทเ่ี ดมิ มแี ตผ่ ชู้ ายจะไมส่ วมเสอื้ มเี พยี งตวั ยนื เครอื่ งทรี่ บั บทเดน่ เทา่ นน้ั ทแี่ ตง่ กายดี นงุ่ สนบั เพลา
”ดาวเด่น และคณะศรจี นั ทรา นุ่งผ้า คาดเจียรบาด มีห้อยหน้า ห้อยข้าง สวมสังวาล ทับทรวง กรองคอ และสวมเทริดบนศีรษะ
ตอ่ มาเมอื่ มผี ้หู ญงิ รว่ มแสดงด้วยจึงสวมเสอ้ื อย่างละครนอก

ศิลปะการแสดง ส่ือแหง่ จติ วญิ ญาณ  |  85

• เคร่ืองดนตรที ใ่ี ช้ในการแสดงละครชาตรี ประกอบด้วย ระนาดเอก ตะโพน กลองต๊กุ
โทนชาตรี ฉ่งิ ฉาบเลก็ และกรบั ไมไ้ ผ่

รปู แบบของการแสดงเรม่ิ ตน้ ดว้ ยการทำ� พธิ บี ชู าครเู บกิ โรง ปพ่ี าทยโ์ หมโรงชาตรี รอ้ งประกาศหนา้ บท
จากนนั้ ตวั ยนื เครอื่ งจะออกมารำ� ซดั หนา้ บทตามเพลงโดยการรำ� เวยี นซา้ ย ในสมยั โบราณขณะทรี่ ำ� ซดั
ตัวละครต้องว่าอาคมไปด้วยเพ่ือป้องกันเสนียดจัญไร เรียกว่า “ชักยันต์” จากน้ันจึงเริ่มเข้าเรื่อง
ตัวละครข้นึ นง่ั เตยี งแสดง ร้องบทร้อง โดยมีตัวละครตวั อืน่ ๆ รอ้ งรับเป็นลูกคู่ และเมอื่ การแสดงจบลง
จะรำ� ซดั อกี ครง้ั หนงึ่ แตค่ รง้ั นเ้ี ปน็ การวา่ อาคมถอยหลงั และรำ� เวยี นขวา เรยี กวา่ “คลายยนั ต”์ เปน็ การ
ถอนอาถรรพณท์ งั้ ปวง

ยคุ สมยั ทเี่ ปลย่ี นไปทำ� ใหล้ ะครชาตรเี ปลย่ี นแปลงเชน่ กนั การรอ้ งดำ� เนนิ เรอ่ื ง จากเดมิ ทเ่ี ปน็ ทำ� นอง
ของโนรา เชน่ เพลงหนา้ แตระ เพลงร่ายชาตรี เปลีย่ นมารอ้ งเพลงไทยภาคกลางท�ำนอง ๒ ช้ันง่ายๆ
มกี ารเพมิ่ ระนาดเอกเขา้ มา เพอ่ื บรรเลงใหต้ วั ละครรำ� ไดด้ ขี นึ้ และไมม่ กี ารรำ� ซดั แตใ่ ชก้ ระบวนรำ� เพลงชา้
เพลงเรว็ และเพลงลา ซง่ึ เรยี กวา่ “รำ� ถวายมอื ”แทน สว่ นโรงละครนำ� ฉากและอปุ กรณอ์ น่ื ๆ เชน่ แสง สี
มาประยุกต์ ตกแต่งให้มีสีสันมากข้ึน มีการแต่งกายแบบยืนเครื่องที่เลียนแบบเครื่องสูงเคร่ืองต้นของ
กษัตริยเ์ ปน็ เอกลกั ษณ์ อยา่ งไรกต็ าม แม้เพลงและการร�ำของละครชาตรจี ะเปลี่ยนแปลงไป แตป่ จั จบุ ัน
ละครชาตรียังคงถกู น�ำมาใชเ้ ปน็ เคร่ืองแก้บนส่งิ ศักด์ิสิทธ์ิด้วยความเช่ือท่ไี ม่ตา่ งจากอดีต 

86  |  วฒั นธรรม วถิ ีชวี ติ และภมู ิปัญญา

ศลิ ปะการแสดง ส่อื แหง่ จติ วญิ ญาณ | 87



ลิเก

นาฏกรรมพ้นื ถนิ่ ไทย

จดุ เรม่ิ ตน้ ของลเิ กในประเทศไทยมาจากการสวดบชู าในศาสนาอสิ ลาม
ด้วยเพลงแขกให้เข้ากับจังหวะร�ำมะนาเมื่อร้อยกว่าปีก่อน จนพัฒนาสู่การ
แสดงท่ีน�ำการพูด ร้อง ร�ำ ผสานกับดนตรีจากวงปี่พาทย์ และด�ำเนินเรื่อง
แบบละครพน้ื บา้ นทสี่ รา้ งความสนกุ สนานใหก้ บั ผชู้ มในแตล่ ะยคุ สมยั นบั เปน็
เสนห่ เ์ ฉพาะตวั ของลเิ กทห่ี ยบิ เอาเรอื่ งใกลต้ วั จากสภาพสงั คมหรอื เหตกุ ารณ์
บ้านเมือง มาถา่ ยทอดในรูปแบบของความบันเทงิ

เช่ือกันว่า ลิเก เพี้ยนมาจากคำ� วา่ ซเิ กร์ ในภาษาเปอรเ์ ซีย หมายถึง
การอ่านบทสรรเสริญเพ่ือร�ำลึกถึงอัลลอฮ์พระเจ้าในศาสนาอิสลาม ลิเกใน
ยคุ แรกเรยี กวา่ ลเิ กสวดแขก เกดิ ขนึ้ ในยคุ ทชี่ าวไทยมสุ ลมิ เดนิ ทางจากภาคใต้
มาต้ังถิ่นฐานในกรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลท่ี ๓ และน�ำการสวดสรรเสริญ
พระเจ้าประกอบการตรี ำ� มะนาเขา้ มาดว้ ย ตอ่ มาในสมยั รัชกาลที่ ๕ จงึ เรม่ิ
มีการแสดงลิเกสวดแขก น�ำโดยการสวดสรรเสริญพระเจ้าเป็นภาษามลายู
แลว้ รอ้ งเพลงดน้ กลอนภาษามลายตู อนใต้ เรยี กวา่ ปนั ตนุ หรอื ลเิ กบนั ตน ตอ่ มา
ลิเกเร่ิมน�ำเพลงออกภาษาของการบรรเลงปี่พาทย์ ล้อเลียนชาวต่างชาติท่ี
เข้ามาอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ ในขณะน้ันมาแสดงอย่างสนุกสนาน ท้ังการ
แตง่ กาย นำ้� เสยี งการพดู ภาษาไทยปนกบั ภาษาตา่ งชาติ รวมถงึ เพลงทขี่ บั รอ้ งใน
หมชู่ าวตา่ งชาตนิ ัน้ เรม่ิ จากสวดแขกกอ่ นแลว้ จึงต่อดว้ ยภาษาอ่นื เช่น มอญ
จีน ลาว ญวน พมา่ เขมร ญป่ี ่นุ ฝร่ัง ชวา อนิ เดีย ตะลุง (ปักษใ์ ต้) ตอ่ ด้วย
การแสดงตลกชุดสน้ั ๆ ตดิ ตอ่ กันไป

“เครอื่ งแตง่ กายลเิ กตัวพระในยคุ ปัจจุบัน
เน้นท่คี วามหรูหราของการปักประดบั
เพชร สวมสนับเพลา แล้วนุ่งผา้ โจงทบั
อยา่ งตวั พระของละครรำ� นอกจากนี้
”ยังสวมถงุ นอ่ งสขี าวและประดบั ศรี ษะ
ดว้ ยขนนกสขี าวเหมือนลเิ กทรงเคร่ือง

ศิลปะการแสดง ส่อื แหง่ จิตวิญญาณ  |  89

การแสดงลเิ กทรี่ จู้ กั กนั ทกุ วนั นี้ มาจากลเิ กทรงเครอื่ ง ซง่ึ ถอื เปน็ การแสดงพน้ื บา้ น • เสยี งดนตรีในการแสดงลิเกนน้ั มาจากการบรรเลงดว้ ยวงปพ่ี าทย์
ของภาคกลาง เรม่ิ ขนึ้ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั  ราวปี พ.ศ. ๒๔๔๐ ๒ แบบ คือ วงป่พี าทย์ไทย และวงปี่พาทยม์ อญ โดยบรรเลงเพลง
โดยพระยาเพชรปาณีจัดแสดงขึ้นเป็นคร้ังแรกท่ีโรง (หรือเรียกว่า วิก) ใกล้ป้อมพระกาฬ ในอัตราสองชั้นท่ใี ชก้ บั ละครรำ� ของไทยและเพลงลกู ทงุ่ ทีผ่ ู้แสดง
ริมคลองโอ่งอ่าง เป็นการแสดงท่ีผสมระหว่างการพูด การร้อง การร�ำ และการแสดง ลเิ กนำ� มาร้องเพ่อื เรยี กความสนใจจากผูช้ ม
กิริยาท่าทางตามธรรมชาติ โดยมีวงปี่พาทย์บรรเลงประกอบการแสดง แต่งตัวคล้าย
ละครร�ำ แสดงเป็นเรื่องยาวอย่างละคร เร่ิมด้วยโหมโรงและบรรเลงเพลงภาษาต่างๆ
เรยี กวา่ “ออกภาษา” หรอื “ออกสบิ สองภาษา” เพลงสดุ ทา้ ยเปน็ เพลงแขก พอปพ่ี าทยห์ ยดุ
พวกตรี ำ� มะนากร็ อ้ งเพลงบนั ตน แลว้ แสดงชดุ แขก เปน็ การคำ� นบั ครู ใชป้ พ่ี าทยร์ บั ตอ่ จากนนั้
จึงแสดงตามเนื้อเรื่อง โดยเรื่องท่ีแสดงนิยมใช้เรื่องจากละครนอก ละครใน ตลอดจน
พงศาวดารจนี มอญ ญวน เช่น สามก๊ก ราชาธิราช การด�ำเนนิ เรอ่ื งจะสอดแทรกบทพดู
ทอี่ งิ กบั เรื่องราวในแต่ละยุคสมัยและท้องถ่นิ ของผ้ชู มเพื่อสร้างความบันเทิง

90  |  วัฒนธรรม วิถชี วี ติ และภมู ิปญั ญา



“การรำ� ของลเิ กตา่ งกบั ละครร�ำ
จากคำ� กลา่ วท่วี ่า ‘ละครรำ� เป็นท่า
แต่ลิเกร�ำเปน็ ท’ี หมายถงึ ผู้รำ� ละคร
จะร�ำตง้ั แตท่ า่ เรม่ิ ตน้ จนจบกระบวนท่า
แต่การรำ� ลเิ ก ผู้แสดงจะรำ� เลียนแบบ
ท่าของละคร แตไ่ ม่ร�ำเต็มกระบวนรำ�
”มาตรฐาน เพื่อความกระชบั ฉับไว
ตามการดำ� เนนิ เร่อื ง

ลเิ กทรงเครอื่ งแพรห่ ลายไปทวั่ ภาคกลางอยา่ งรวดเรว็ ทำ� ใหม้ วี กิ ลเิ กเกดิ ขน้ึ มากมาย ลเิ กทรงเครอื่ ง
จัดเป็นต้นแบบของการแสดงลิเกในยุคต่อมาเนื่องจากกระบวนท่าร�ำ การร้องเพลงไทยเดิม และ
ทางในการแสดง เปน็ กรอบและแบบแผนทใี่ ชส้ ำ� หรบั การแสดงลเิ ก โดยเฉพาะเพลงรานเิ กลงิ หรอื ราชนเิ กลงิ
ที่ครูดอกดิน เสือสง่า ครูลิเกในอดีตเป็นผู้คิดข้ึน และใช้เป็นท�ำนองเพลงหลักส�ำหรับด�ำเนินเร่ือง
สืบตอ่ มา

การแสดงลิเกทรงเครื่องเร่ิมขาดช่วงไปในสมัยสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ พ.ศ. ๒๔๘๔ เน่ืองจาก
ประสบปัญหาการขาดแคลนวัสดุเคร่ืองแต่งกายซ่ึงต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ เช่น ผ้าและเพชร
เทียม ท�ำให้การแต่งกายชุดลิเกทรงเครื่องหมดไป ส่วนวงร�ำมะนาท่ีใช้กับการออกแขกก็เปล่ียน
ไปใช้วงปี่พาทย์แทนเพ่ือเป็นการประหยัด เกิดเป็นลิเกลูกบทที่เป็นการแสดงผสมกับการขับร้อง
และบรรเลงเพลงลูกบท ร้องและร�ำไปตามกระบวนเพลง ใช้ปี่พาทย์ประกอบแทนร�ำมะนา แต่งกาย
ตามท่ีนิยมในสมัยนั้นๆ เน้นสีฉูดฉาด ผู้แสดงเป็นชายล้วน จวบจนเมื่อส้ินสงครามโลกคร้ังที่ ๒
การแสดงลิเกทรงเคร่ืองจึงเริ่มมีการฟื้นฟูอีกครั้ง และเพิ่มมิติทางสังคมเข้าไปมากข้ึน การแสดง
ลิเกยุคน้ีเร่ิมน�ำการแสดงประเภทอ่ืนๆ เข้ามาเสริมเพื่อสร้างความบันเทิงมากขึ้น เช่น เพลงลูกทุ่ง
เพลงจากภาพยนตรอ์ นิ เดยี เนน้ การทำ� ฉากใหด้ สู มจรงิ และปรบั เปลย่ี นเครอื่ งแตง่ กายใหม้ คี วามตระการตา
ขึ้น อรรถรสในการชมลิเกไม่ว่าจะเป็นประเภทใดส่วนหน่ึงขึ้นอยู่กับฝีมือของนักแสดงซึ่งต้องเป็นผู้มี
ปฏภิ าณในการรอ้ งและเจรจา สามารถจดจำ� บทไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ� ดน้ กลอนสดได้ และทสี่ ำ� คญั คอื มเี สยี งรอ้ ง
อนั ไพเราะจบั ใจผู้ชม

ลเิ กนบั เปน็ มหรสพทส่ี ะทอ้ นวถิ ชี วี ติ ความเปน็ ไทย แฝงไวด้ ว้ ยขนบประเพณี คา่ นยิ ม การใชภ้ าษา
นาฏศลิ ป์ ดนตรี จิตรกรรม และการปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ภูมปิ ัญญาดงั กลา่ วของการแสดงลเิ ก
เกิดขึน้ จากการเรยี นรู้ ฝึกฝน สัง่ สมประสบการณแ์ ละถา่ ยทอดสบื ตอ่ กันมาโดยทยี่ งั คงรักษาภูมปิ ัญญา
ดงั้ เดมิ ทเี่ หน็ วา่ ดงี ามเหมาะสมไว้ ขณะเดยี วกนั กป็ รบั เปลย่ี นพฒั นาภมู ปิ ญั ญาบางอยา่ งไปตามยคุ สมยั
เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพสังคมในปัจจบุ ัน ลิเกจงึ เป็นการแสดงท่ไี ดร้ บั ความนยิ มตลอดมา เนอ่ื งจาก
เนอื้ หาท่ีนำ� มาใช้แสดงสามารถให้ความบันเทงิ กับผชู้ มไดเ้ ป็นอยา่ งดี 

ลเิ กปา่

เป็นพัฒนาการของลิเกอีกสายหน่งึ ท่นี ิยมเลน่ กันในกล่มุ คนมุสลมิ ทางภาคใต้ ลเิ กป่า หรือ ลเิ ก
รำ� มะนา หรอื ลเิ กบก ใชเ้ ครื่องดนตรีประกอบดว้ ย กลองร�ำมะนา หรือโทน ๒ - ๓ ใบ ปี่ ๑ เลา ฉิ่ง ๑ คู่
กรบั ๑ คู่ บางคณะอาจจะมโี หมง่ และทบั ดว้ ย มนี ายโรงเชน่ เดยี วกบั หนงั ตะลงุ และมโนราห์ ผแู้ สดงลเิ กปา่
คณะหนงึ่ มีประมาณ ๖ - ๘ คน การแสดงจะเรม่ิ ดว้ ยการโหมโรงเกรนิ่ วง จากนนั้ แขกขาวกบั แขกแดง
จะออกมาเตน้ และรอ้ งประกอบ โดยมลี กู ครู่ อ้ งรบั ตอ่ ดว้ ยการบอกเรอื่ งราว แลว้ จงึ เรม่ิ ทำ� การแสดง

ศิลปะการแสดง สอื่ แห่งจิตวิญญาณ  |  93



• ภาพจติ รกรรมฝาผนงั เรอ่ื ง “รามเกยี รติ์” หุ่นไทย
บริเวณระเบยี งคดรอบพระอโุ บสถ
วดั พระศรีรัตนศาสดาราม ศาสตร์และศิลปแ์ หง่ การแสดง

การแสดงหนุ่ ไทยคอื ศลิ ปะแหง่ การชกั และเชดิ ทต่ี อ้ งอาศยั ฝมี อื และทกั ษะความรหู้ ลายแขนงของ
ผเู้ ชดิ บงั คบั ใหท้ ว่ งทา่ การเคลอื่ นไหวของหนุ่ มคี วามเหมอื นคนมากทส่ี ดุ ทง้ั ยงั ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั จงั หวะ
เพลงและการแสดงบทบาทตามเนอื้ เรอื่ งอกี ดว้ ย หนุ่ ไทยแบง่ ไดเ้ ปน็ ๔ ประเภทจากลกั ษณะของหนุ่ และ
วิธีการเชดิ ไดแ่ ก่ หุ่นหลวง หนุ่ วงั หนา้ หุ่นกระบอก และหนุ่ ละครเล็ก

ห่นุ หลวง
เป็นมหรสพของหลวงท่ีมีมาแต่สมัยอยุธยาตอนกลาง มีหลักฐานแสดงว่ามีการเล่นหุ่นปรากฏ
อยใู่ นบนั ทกึ ทงั้ ท่ีเป็นหมายรับสงั่ สมดุ ไทย วรรณกรรม และวรรณคดีเรอื่ งต่างๆ ต้งั แตแ่ ผน่ ดนิ สมเดจ็
พระนารายณม์ หาราช ลกั ษณะเดน่ ของหนุ่ หลวงอยทู่ ม่ี ขี นาดใหญ่ สงู ถงึ ๑ เมตร ตวั หนุ่ ทำ� ดว้ ยไม้ ควา้ น
ให้บางเบาเฉพาะท่ีสว่ นเอวของตัวหุ่น ใชเ้ ส้นหวายขดซ้อนกันเพอื่ ให้เคลื่อนไหวได้ นอกจากน้มี เี ชือก
รอ้ ยจากนิว้ มือผ่านตามลำ� แขนเขา้ สู่ล�ำตวั ของหนุ่ เพื่อให้มือและแขนขยบั ได้ ส่วนเทา้ ตดิ ไว้กับแขง้ และ
ขา กระดกิ ไมไ่ ดเ้ หมอื นมอื ดา้ นในลำ� ตวั หนุ่ มแี กนไมย้ าวยนื่ ออกมาจากสว่ นกน้ ของหนุ่ สำ� หรบั ใหค้ นเชดิ จบั
เครือ่ งแต่งกายและเคร่ืองประดับหุน่ หลวงคล้ายกบั เครื่องแตง่ กายของโขนและละคร

“บคุ ลิกลกั ษณะและรปู ลักษณข์ องตวั หุ่น
จะปรบั เปลีย่ นไปตามบุคลิกลักษณะ
ความนยิ มและศิลปวัฒนธรรมของผ้คู น
ในประเทศนั้น ๆ เชน่ เดียวกบั หุ่นไทย
ท่ถี า่ ยทอดทา่ ร�ำ เคร่ืองแต่งกาย และ
”การดำ� เนนิ เรอื่ งมาจากศลิ ปะการแสดงตา่ ง ๆ
ของไทย
ศลิ ปะการแสดง ส่อื แห่งจติ วิญญาณ  |  95

ห่นุ วงั หน้า
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
ไดท้ รงประดษิ ฐห์ นุ่ ทมี่ คี วามสงู ประมาณ ๕๐ เซนตเิ มตร เรยี กกนั วา่ หนุ่ เลก็ และเรยี กหนุ่ หลวง
ท่ีมีมาแต่เดิมวา่ ห่นุ ใหญ่ หนุ่ เล็กที่ทรงประดิษฐม์ ี ๒ แบบ คอื “หุ่นจนี ” เปน็ ห่นุ มือท่ีใช้
นวิ้ เชดิ บงั คบั ใหเ้ คลอื่ นไหว หวั และหนา้ เขยี นสี สวมเครอ่ื งแตง่ กายเหมอื นงว้ิ ใชส้ ำ� หรบั เลน่
เร่อื งวรรณคดีของจีน เช่น ซวยงกั สามกก๊ สว่ น “หุน่ ไทย” มคี วามสงู ประมาณ ๒๘ - ๓๐
เซนตเิ มตร สวมเครอ่ื งประดบั และเครอื่ งแตง่ กายอนั วจิ ติ รงดงาม มวี ธิ ชี กั เหมอื นหนุ่ หลวง 
ใชเ้ ล่นเรอ่ื งรามเกยี รต์ิ ตวั หุ่นแบง่ เปน็ ตัวพระ ตัวนาง ตัวยกั ษ์ และตัวลิง
96  |  วฒั นธรรม วถิ ีชวี ิตและภูมปิ ญั ญา

• การแสดงหุ่นกระบอก ต�ำนานสมเดจ็ พระนเรศวร หนุ่ กระบอก
เรือ่ ง “ตะเลงพ่าย” ณ มลู นธิ จิ ักรพนั ธ์ุ โปษยกฤต เป็นหุ่นที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ โดยเลียนแบบมาจากหุ่นจีนไหหล�ำท่ีใช้กระบอกไม้ไผ่
เป็นแกนตวั หุน่ ภายหลังจึงเรยี กกันว่า หุน่ กระบอก ลกั ษณะเด่นของห่นุ กระบอก คอื เป็นหุน่ ครึ่งตวั
มีสว่ นประกอบหลกั คือ ศรี ษะหนุ่ ซึง่ ท�ำเป็นตัวละครต่างๆ เชน่  พระ นาง ยกั ษ์ ลิง ตลก สตั ว์ มือหุน่ มี
ลกั ษณะต้ังวงร�ำเหมือนมอื ละครร�ำ หากเปน็ ตัวพระ ยกั ษ์ ตลก มกั ทำ� มือขวาส�ำหรับก�ำอาวุธ มือซา้ ย
ตงั้ วงร�ำ ส่วนตัวนางทำ� ท่าตงั้ วงท้งั สองข้าง มอื หนุ่ จะตอ่ ไมย้ าวลงมาเรยี กว่า ไมต้ ะเกยี บ ส�ำหรบั จับเชดิ
หนุ่ ใหร้ ่ายรำ� เสือ้ หุ่นเปน็ ถุงคลมุ จากไหล่ปดิ ลงมาครงึ่ ตวั ปกั เยบ็ อยา่ งงดงามตามลกั ษณะของตัวละคร
ตวั พระมีอนิ ทรธนู กรองคอ ตวั นางมผี า้ หม่ นาง กรองคอ วธิ ีการแสดงหนุ่ กระบอกปรับปรงุ มาจากการ
แสดงละครรำ� แตด่ ดั แปลงทา่ ทางให้หนุ่ รา่ ยรำ� เพ่ือเลยี นแบบคน เรอื่ งทนี่ ยิ มเลน่ หนุ่ กระบอกคอื เรอ่ื งที่
นำ� มาจากบทละครนอก เชน่ ลกั ษณวงศ์ สงั ข์ทอง ไกรทอง แกว้ หนา้ มา้ สวุ รรณหงส์ และพระอภยั มณี
การแสดงหุน่ กระบอกจะมกี ารสร้างโรงและฉากหนุ่ เพอ่ื ปดิ บังผ้เู ชดิ มซี ุม้ ประตสู องข้างเพื่อใหต้ ัวหนุ่ รำ�
เขา้ ออก และมบี งั มอื ด้านล่างเพ่อื บงั มือของผู้เชดิ

ศิลปะการแสดง สอื่ แหง่ จิตวิญญาณ  |  97


Click to View FlipBook Version