The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัฒนธรรมวิถีชีวิตและภูมิปัญญา
สำหรับหนังสือ "วัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญา” เป็นหนังสือที่บันทึกองค์ความรู้ของวัฒนธรรม วิถีชีวิต และภูมิปัญญาที่มีความหลากหลายของคนไทยไว้ จำนวน ๒๐๓ หน้า พร้อมภาพประกอบสวยงาม โดยเนื้อหาภายในเล่มแบ่งเป็น ๖ ตอน ดังนี้
๑. ปฐมบท สร้างความรู้ความเข้าใจในความหมายแห่งวัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญา มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนไทย ๔ ภาค
๒. ล้ำค่าประเพณี วิถีชน บอกเล่าเรื่องราวของประเพณีต่าง ๆ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ลอยกระทง พิธีไหว้ครู ทำขวัญข้าว สารทเดือนสิบ และบุญบั้งไฟ
๓. ศิลปะการแสดง สื่อแห่งจิตวิญญาณ ได้แก่ พิณเปี๊ยะ โนรา หมอลำ ละครชาตรี ลิเก และหุ่นไทย
๔. ศาสตร์และศิลป์งานช่างไทย ได้แก่ เรือนไทย ผ้าทอมือ เครื่องจักสานไม้ไผ่ งานดอกไม้สด โคมล้านนา และงานช่างแทงหยวก
๕. อาหาร วิถีถิ่น กินอย่างไทย ได้แก่ สำรับอาหารไทย น้ำพริก ต้มยำ ส้มตำ ข้าวยำ และกระยาสารท
๖. กีฬาภูมิปัญญาไทย ได้แก่ ตะกร้อลอดห่วง กระบี่กระบอง มวยไทย ซีละ ว่าวไทย และการเล่นพื้นบ้านไทย
ซึ่งในแต่ละตอนได้หยิบยกเรื่องราวที่โดดเด่นและกระจายไปทุกภูมิภาค เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้เห็นถึงความสำคัญ และความแตกต่างหลากหลายดังกล่าว และเนื้อหาภายในเล่มทั้งหมดได้รับการประกาศขึ้นบัญชีเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติแล้ว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วัฒนธรรมวิถีชีวิตและภูมิปัญญา

วัฒนธรรมวิถีชีวิตและภูมิปัญญา
สำหรับหนังสือ "วัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญา” เป็นหนังสือที่บันทึกองค์ความรู้ของวัฒนธรรม วิถีชีวิต และภูมิปัญญาที่มีความหลากหลายของคนไทยไว้ จำนวน ๒๐๓ หน้า พร้อมภาพประกอบสวยงาม โดยเนื้อหาภายในเล่มแบ่งเป็น ๖ ตอน ดังนี้
๑. ปฐมบท สร้างความรู้ความเข้าใจในความหมายแห่งวัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญา มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนไทย ๔ ภาค
๒. ล้ำค่าประเพณี วิถีชน บอกเล่าเรื่องราวของประเพณีต่าง ๆ ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ลอยกระทง พิธีไหว้ครู ทำขวัญข้าว สารทเดือนสิบ และบุญบั้งไฟ
๓. ศิลปะการแสดง สื่อแห่งจิตวิญญาณ ได้แก่ พิณเปี๊ยะ โนรา หมอลำ ละครชาตรี ลิเก และหุ่นไทย
๔. ศาสตร์และศิลป์งานช่างไทย ได้แก่ เรือนไทย ผ้าทอมือ เครื่องจักสานไม้ไผ่ งานดอกไม้สด โคมล้านนา และงานช่างแทงหยวก
๕. อาหาร วิถีถิ่น กินอย่างไทย ได้แก่ สำรับอาหารไทย น้ำพริก ต้มยำ ส้มตำ ข้าวยำ และกระยาสารท
๖. กีฬาภูมิปัญญาไทย ได้แก่ ตะกร้อลอดห่วง กระบี่กระบอง มวยไทย ซีละ ว่าวไทย และการเล่นพื้นบ้านไทย
ซึ่งในแต่ละตอนได้หยิบยกเรื่องราวที่โดดเด่นและกระจายไปทุกภูมิภาค เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้เห็นถึงความสำคัญ และความแตกต่างหลากหลายดังกล่าว และเนื้อหาภายในเล่มทั้งหมดได้รับการประกาศขึ้นบัญชีเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติแล้ว

Keywords: วัฒนธรรมวิถีชีวิตและภูมิปัญญา

การเลน่ พืน้ บา้ นไทย

การเลน่ แหง่ ความสนกุ

คนไทยมวี ถิ ชี วี ติ ทผี่ กู พนั กบั ธรรมชาติ การเลน่ พนื้ บา้ นของไทยแตโ่ บราณจงึ หลอม • เดินกะลา
รวมสงิ่ แวดลอ้ มตา่ ง ๆ รอบตวั มาดดั แปลงเปน็ กจิ กรรมการเลน่ ทอี่ งิ กบั ธรรมชาตเิ ปน็ หลกั
โดยมงุ่ เนน้ ทค่ี วามสนกุ สนานและความเพลดิ เพลนิ นอกจากนสี้ ภาพสงั คมยงั เปน็ อกี ปจั จยั ท่ี
ก�ำหนดลักษณะรูปแบบการเลน่ เพ่อื ใหส้ อดคล้องกับวิถชี ีวติ ประจ�ำวนั และความนยิ มของ
ท้องถน่ิ บางครง้ั นอกเหนอื จากเรือ่ งความสนุกทไ่ี ด้รบั แล้ว การเลน่ ยังเป็นการเสริมทกั ษะ
ของผูเ้ ล่นในด้านใดดา้ นหนงึ่ ด้วย

ความหมายของ “การเล่นพ้ืนบ้าน” หมายถึง กิจกรรมที่ท�ำด้วยความสมัครใจ
ตามลกั ษณะเฉพาะของท้องถิ่น เพอื่ ให้เกดิ ความสนกุ สนาน ความรัก และความสามคั คี
ในหมู่คณะ การเล่นพื้นบ้านไทยมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวท่ีต่างจากค�ำว่า “การเล่น”
ในภาษาองั กฤษทง้ั คำ� วา่ Play และ Game (Play หมายความถงึ การเลน่ สนกุ จะเปน็ การเลน่
คนเดียวหรือหลายคนก็ได้ เล่นโดยสมัครใจไม่มีใครบังคับ ส่วนค�ำว่า Game หมายถึง
การเลน่ ทม่ี กี ฎเกณฑบ์ งั คบั ตายตวั ผเู้ ลน่ ตอ้ งเลน่ ตามกฎกตกิ าทก่ี ำ� หนดไว)้ เนอื่ งจากการเลน่
ของไทยมักเลน่ กันเปน็ กลุ่ม มีกติกาวธิ ีเลน่ บทรอ้ ง ทำ� นอง จังหวะประกอบกันบางครงั้
การเล่นกเ็ ลียนแบบชวี ิตจรงิ

การเล่นพ้ืนบ้านของไทยสามารถแบ่งออกเป็นการเล่นของเด็ก ที่มุ่งเน้นการเสริม
ทกั ษะและพฒั นาการดา้ นตา่ ง ๆ การเลน่ ของเดก็ และผใู้ หญ่ เพอื่ ความสนกุ สนานสามคั คี
และการเลน่ ในเทศกาลเพือ่ สืบทอดวัฒนธรรมประเพณีในท้องถ่ิน

• หมากเกบ็ กฬี าภมู ปิ ัญญาไทย  |  199



• ม้ากา้ นกล้วย (บน) การเล่นพ้ืนบ้านของเด็กมรี ปู แบบทหี่ ลากหลายและแตกตา่ งกันไปใน
ภาพจติ รกรรมฝาผนงั บรเิ วณระเบียงคด แตล่ ะภาค เชน่ การเลน่ ไลจ่ บั ภาคใตม้ กี ารเลน่ เสอื กนิ ววั ภาคกลางมกี ารเลน่
รอบพระอโุ บสถวัดพระศรีรตั นศาสดาราม หมาไล่ห่าน ส่วนภาคเหนือมีการเล่นแมวกินน้�ำมัน การเล่นบางประเภท
ชว่ ยฝึกความช่างสังเกตและความคิด เชน่ การเลน่ สซี อ หมากเก็บ ในขณะที่
• งูกนิ หาง (ล่าง) บางประเภทฝกึ ความพรอ้ มเพรยี ง ความอดทน เชน่ ลงิ ชงิ หลกั และขายแตงโม
• รีรขี า้ วสาร (ซา้ ย) นอกจากน้ยี ังมีการเล่นเลยี นแบบผูใ้ หญ่ เชน่ หม้อขา้ วหมอ้ แกง ซึง่ เป็นการ
ฝึกบทบาทสมมตขิ องความเป็นผใู้ หญ่ให้กบั เดก็ การเล่นที่นำ� วัสดุในทอ้ งถิน่
มาดัดแปลงตามความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการให้เป็นรูปทรงต่างๆ
เชน่ ขม่ี า้ กา้ นกลว้ ย ทน่ี ำ� กา้ นกลว้ ยมาตดั เปน็ รปู มา้ หรอื ปต่ี อซงั ทน่ี ำ� ตอซงั ขา้ ว
มาเปา่ เลน่ เปน็ เสยี งสงู ตำ่� การเลน่ มบี ทรอ้ งประกอบอนั ไพเราะ เชน่ บทรอ้ งเลน่
จันทร์เจา้ ฝนตกฟ้ารอ้ ง และการเลน่ ทฝ่ี ึกความรู้รอบตวั ต่างๆ อยา่ งปรศิ นา
ค�ำทายท่ีได้รับความนิยมในทุกภาค เรียกได้ว่าการเล่นพื้นบ้านของเด็กไทย
เปน็ การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ มสี ว่ นชว่ ยในการพฒั นารา่ งกาย อารมณ์
สติปัญญา รวมถึงความสามัคคีและความเห็นอกเหน็ ใจผอู้ น่ื

การเลน่ ของเดก็ และผใู้ หญถ่ อื เปน็ การเลน่ เพอ่ื ความสนกุ ทเี่ ดก็ เลน่ ได้
ผ้ใู หญก่ เ็ ล่นดี เช่น การชกั เยอ่ ลูกช่วง งูกนิ หาง โค้งตีนเกวยี น (อีสาน) ตง้ั เต
ไม้หึง่ รีรขี า้ วสาร มอญซ่อนผา้ สะบ้า แม่ศรี คล้องช้าง และว่าว ส่วนการเลน่
ส�ำหรับผู้ใหญ่โดยเฉพาะมักเป็นการเล่นที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ
ซ่ึงส่วนมากเป็นเกษตรกร โดยเฉพาะในภาคกลางจะเกี่ยวกับการท�ำนา
เปน็ ส่วนใหญ่ นอกจากเป็นการเล่นเพอ่ื ผอ่ นคลายความเครียดแล้ว ยงั เปน็
โอกาสให้หนุ่มสาวได้หยอกล้อสนิทสนมกันตามวัฒนธรรมอันดี การเล่นจึง
มักมีการร้องเพลงพ้ืนเมือง ซึ่งมีการโต้ตอบกันเป็นเพลง ใช้ปฏิภาณในทาง
ภาษา เชน่ เพลงเก่ยี วข้าว เพลงร้อยชง่ั เพลงเต้นก�ำร�ำเคียว เพลงสงฟาง

“‘การเลน่ ’ แตกตา่ งจาก ‘การละเล่น’ ท่เี ปน็
การแสดงให้ผ้อู ่ืนชม โดยแยกผ้เู ล่นและผู้ดู
”ออกจากกนั ดว้ ยการจ�ำกัดเขตผดู้ ูหรือการสร้าง
เวทีส�ำหรบั ผู้เล่น

กฬี าภมู ิปัญญาไทย  |  201

• มอญซอ่ นผ้า การเลน่ พน้ื บา้ นในเทศกาลตา่ งๆ มจี ดุ ประสงคห์ ลกั เพอ่ื สรา้ งความเปน็
นำ้� หนง่ึ ใจเดยี วกนั ของคนในชมุ ชน สบื สานวฒั นธรรมอนั ดงี ามตามประเพณี
• จ�้ำจี้ ทจี่ ดั ข้นึ รวมถงึ สรา้ งความเพลิดเพลินให้กจิ กรรมในเทศกาลต่างๆ ดว้ ย เชน่
ในเทศกาลสงกรานต์ ซงึ่ ถอื เปน็ วนั ขนึ้ ปใี หมข่ องไทย การมารว่ มทำ� บญุ สนุ ทาน
202  |  วัฒนธรรม วิถีชวี ิตและภมู ปิ ญั ญา ในวดั ท�ำใหค้ นในชมุ ชนได้พบปะสงั สรรคก์ นั อาจมีกจิ กรรมการเลน่ ของเด็ก
และหนุ่มสาว เช่น งกู ินหาง รรี ีข้าวสาร การเล่นแม่ศรี หรือการเล่นประเภท
แขง่ ขนั เชน่ การเล่นชกั ชา ชว่ งร�ำ สะบา้ ร�ำ หรือการเลน่ ท่มี ีบทร้องประกอบ
เชน่ การเล่นโยนชิงช้า หรอื ชา้ นางหงส์ ร�ำโทนการเล่นพื้นบา้ นไทยถอื เป็น
สมบัติทางวัฒนธรรมไทยท่ีมีคุณค่าทางศิลปะทั้งด้านท่าทางการเคลื่อนไหว
วิธีการ รูปแบบช้ันเชิงการใช้ภาษา นอกจากน้ียังช่วยเสริมสร้างพลานามัย
ประเทอื งปญั ญา ชว่ ยใหอ้ ารมณแ์ จม่ ใส และมงุ่ เนน้ ทคี่ วามรกั ใครก่ ลมเกลยี ว
ในขณะเดยี วกนั การเลน่ ประเภทตา่ งๆ กส็ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ภมู ปิ ญั ญาในเรอ่ื ง
การดำ� รงชวี ติ ของคนไทยในสมยั กอ่ น ซง่ึ มคี วามแตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะของ
ทอ้ งถน่ิ และประเพณี 

บรรณานุกรม

กรมศลิ ปากร. หุน่ วังหน้า. กรงุ เทพฯ, ๒๕๕๑.
กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม, กระทรวงวัฒนธรรม. มรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม. กรงุ เทพฯ, ๒๕๕3.

. มรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรมของชาติ. กรงุ เทพฯ, ๒๕๕5.
. มรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาติ. กรงุ เทพฯ, ๒๕๕๖.
. มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของชาต.ิ กรงุ เทพฯ: สำ� นกั งานกจิ การโรงพมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ,์ ๒๕๕๗.
. ลอยกระทง. กรงุ เทพฯ: สำ� นักงานกิจการโรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ ในพระบรมราชูปถัมภ,์ ๒๕๕๗.
. วฒั นธรรม. ปที ่ี ๕๑, ฉบบั ท่ี ๑ (เมษายน - มถิ นุ ายน ๒๕๕๕). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๕.
. วฒั นธรรม. ปที ่ี ๕๑, ฉบบั ที่ ๒ (กรกฎาคม - กนั ยายน ๒๕๕๕). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๕.
. วัฒนธรรม. ปีที่ ๕๑, ฉบับท่ี ๓ (ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๕๕). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
ในพระบรมราชปู ถมั ภ,์ ๒๕๕๕.
. วัฒนธรรม. ปีท่ี ๕๒, ฉบับท่ี ๒ (เมษายน - มิถุนายน ๒๕๕๖). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
ในพระบรมราชปู ถมั ภ,์ ๒๕๕๖.
. วัฒนธรรม. ปีที่ ๕๒, ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม - กันยายน ๒๕๕๖). กรุงเทพฯ:ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
ในพระบรมราชปู ถมั ภ,์ ๒๕๕๖.
. วัฒนธรรม. ปีท่ี ๕๒, ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๕๖). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
ในพระบรมราชปู ถมั ภ,์ ๒๕๕๖.
. วัฒนธรรม. ปีท่ี ๕๓, ฉบับท่ี ๑ (มกราคม - มีนาคม ๒๕๕๗). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
ในพระบรมราชปู ถมั ภ,์ ๒๕๕๗.
. วัฒนธรรม. ปีที่ ๕๓, ฉบับที่ ๔ (ตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๕๗). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
ในพระบรมราชปู ถมั ภ,์ ๒๕๕๗.
. วฒั นธรรม. ปที ่ี ๕๔, ฉบบั ท่ี ๑ (มกราคม - มนี าคม ๒๕๕๘). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๘.
. วฒั นธรรม. ปที ่ี ๕๔, ฉบบั ท่ี ๓ (กรกฎาคม - กนั ยายน ๒๕๕๘). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๘.
.  สยามไทยมงุ มรดกวฒั นธรรม มรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรมของชาต.ิ  กรงุ เทพฯ, ๒๕๕4.
โครงการสารานุกรมไทยสำ� หรบั เยาวชน. สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั เล่มท่ี ๑๓. กรุงเทพฯ:
ส�ำนักงานกลาง หอรษั ฎากรพิพฒั น์ ในพระบรมมหาราชวัง, ๒๕๓๙.
บรรเทิง พาพจิ ติ ร. ประเพณี วัฒนธรรมไทย และคติความเชอื่ . กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร,์ ๒๕๓๒.
มูลนิธิสารานุกรมวฒั นธรรมไทย. สารานกุ รมวฒั นธรรมไทยภาคใต้ เลม่ ท่ี ๑๖. กรงุ เทพฯ, ๒๕๔๒.
สำ� นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ, กระทรวงวฒั นธรรม. มรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม. ๒๕๕2.
. วฒั นธรรมไทย. ปที ี่ ๔๗, ฉบับท่ี ๕ (พฤษภาคม ๒๕๕๑). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.
. วฒั นธรรมไทย. ปที ี่ ๔๗, ฉบบั ท่ี ๖ (มถิ ุนายน ๒๕๕๑). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.
. วัฒนธรรมไทย. ปที ี่ ๔๗, ฉบบั ท่ี ๑๑ (พฤศจกิ ายน ๒๕๕๑). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๑.
. วฒั นธรรมไทย. ปีที่ ๔๗, ฉบับท่ี ๑๒ (ธนั วาคม ๒๕๕๑). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๑.
. วฒั นธรรมไทย. ปที ่ี ๔๘, ฉบับท่ี ๘ (สงิ หาคม ๒๕๕๒). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๕๒.
. วัฒนธรรมไทย. ปที ี่ ๔๙, ฉบบั ท่ี ๒ (กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๓). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๓.
ส�ำนกั อนรุ กั ษแ์ ละตรวจสอบมาตรฐานหม่อนไหม, กรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ เอกลักษณ์ผา้ ไทยในแต่ละภูมิภาค.
สริ ิชัยชาญ ฟักจำ� รูญ. ดรุ ิยางคศิลปไ์ ทย. กรงุ เทพฯ: สถาบนั ไทยศกึ ษา จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๔๖.

  |  203

วฒั นธรรม ทีป่ รกึ ษา รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงวฒั นธรรม
วถิ ชี วี ติ และภมู ิปัญญา ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำ� กระทรวงวฒั นธรรม
นายวรี ะ โรจน์พจนรัตน ์ อธบิ ดีกรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม
กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม  กระทรวงวฒั นธรรม นางฉวีรัตน์ เกษตรสุนทร รองอธิบดีกรมส่งเสริมวฒั นธรรม
พิมพค์ รงั้ ที่ ๑ พทุ ธศักราช ๒๕๕๙ นางพมิ พ์รวี วฒั นวรางกูร รองอธิบดกี รมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม
จำ� นวน ๗๐๐ เลม่ นายมานัส ทารตั นใ์ จ นกั วชิ าการวัฒนธรรมช�ำนาญการพิเศษ
ISBN : 978-616-543-387-7 นกั วชิ าการวัฒนธรรมช�ำนาญการ
ประธานคณะท�ำงาน นกั วชิ าการวัฒนธรรมชำ� นาญการ
นายชา่ งภาพช�ำนาญงาน
นางสนุ ันทา มิตรงาม นกั วิชาการวัฒนธรรมชำ� นาญการ
นิตกิ รชำ� นาญการพเิ ศษ
คณะท�ำงาน นิตกิ รปฏบิ ตั ิการ
นติ กิ รปฏิบัติการ
นางสาวกิตตพิ ร ใจบญุ นกั วิชาการพสั ดชุ ำ� นาญการพเิ ศษ
นางสุกัญญา เยน็ สขุ เจ้าพนักงานพสั ดปุ ฏิบัติงาน
นางสาวเบญ็ จรศั ม์ มาประณตี
นางสาวก่ิงทอง มหาพรไพศาล
นางสาววภิ า พงษ์พรต

ฝ่ายกฎหมาย

นางสาวสดใส จ�ำเนียรกุล
นายคมกริช ทรงแก้ว
นายอนพุ งษ์ โพธภิ์ กั ด ี

ฝ่ายพัสดุ

นางปนดั ดา นอ้ ยฉายา
นางสาวกนกพร ข�ำหินต้งั

ขอขอบคุณ

อาจารย์วริ ยิ ะ สสุ ทุ ธิ ชา่ งแทงหยวกสายเพชรบรุ ี
โรงเรียนเซนต์โยเซฟเพชรบุรี จงั หวดั เพชรบุรี
พิพธิ ภัณฑส์ กั ทอง วัดเทวราชกญุ ชร วรวหิ าร
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (โชติเวช)
สมาคมกีฬาไทยแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
โรงเรียนศรีเอ่ยี มอนุสรน์ ส�ำนกั งานเขตบางนา กรุงเทพมหานคร

พิมพท์ ี่

บรษิ ัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด



กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
๑๔ ถนนเทยี มร่วมมิตร เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐
โทรศพั ท์ ๐-๒๒๔๗-๐๐๑๓
www.culture.go.th


Click to View FlipBook Version