“ต้มยำ� น้�ำใสทีถ่ ือเปน็ ต้นตำ� รบั ของต้มยำ�
เป็นอาหารของชาวภาคกลาง หากเปน็
ภาคอสี านจะเรยี กวา่ ตม้ แซบ่ ซงึ่ มสี ว่ นผสม
ตา่ งกนั เลก็ นอ้ ย เชน่ การใสพ่ รกิ แหง้
และขา้ วคว่ั ลงไปในนำ�้ แกง
สว่ นประกอบหลักท่เี ป็นเน้อื สัตว์นน้ั
”นอกจากปลา ยังมีกบและไก่บา้ นดว้ ย
วิธีการท�ำต้มย�ำกุ้งของ ม.ร.ว.กิตินัดดาน้ัน ใช้กุ้งทะเลปอกเปลือก
ลา้ ง ผา่ สันหลังชักเสน้ ด�ำออก น�ำเปลือกและหวั กงุ้ ไปต้มทำ� นำ�้ ซปุ พร้อมกับ
น้�ำปลา ตะไคร้ ใบมะกรูด แล้วกรองเอาแตน่ ้�ำซุปมาตงั้ ไฟไวใ้ ห้เดอื ดพลา่ น
เวลารบั ประทานจงึ เอากุ้งทปี่ อกแล้วใส่ตะกรา้ ลวกในน�้ำรอ้ น แล้วน�ำใสช่ าม
ตักน�้ำซุปที่ท�ำเตรียมไว้เติมลงไป ปรุงรสด้วยน้�ำมะนาว พริกขี้หนูต�ำ
และนำ�้ ปลา ใหไ้ ดร้ สตามชอบ
อาหาร วถิ ถี ิ่น กินอยา่ งไทย | 149
• ต้มยำ� กุ้งน้ำ� ขน้
• ตม้ แซบ่ (บน)
• ต้มยำ� ไก่ (ล่าง)
ต้มย�ำมีการดัดแปลงสูตรที่เปล่ียนไปตามยุคสมัย เช่น
การใสก่ ะทหิ รอื นม เรยี กวา่ ตม้ ยำ� นำ้� ขน้ การใสน่ ำ้� พรกิ เผาควบคกู่ บั
การใสพ่ รกิ สด เพอื่ สรา้ งสรรคร์ สชาตทิ ถี่ กู ปากผบู้ รโิ ภค นอกจากนี้
ยังมีการใส่เครื่องสมุนไพรที่นอกเหนือจากสูตรด้ังเดิม เช่น
ผักชีฝรง่ั หอมแดง เหด็ ฟาง และการโรยหนา้ ดว้ ยผกั ชี
ไม่ว่าวิธีการท�ำต้มย�ำจะเปล่ียนแปลงไปเพียงใด
แต่ส่ิงทแ่ี ฝงอยูใ่ นสูตรการท�ำตม้ ย�ำแต่โบราณไดแ้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ
ภูมิปัญญาของคนไทยในการใช้วัตถุดิบท่ีหาได้ง่ายในท้องถ่ิน
มาปรุงเป็นอาหารรสชาติถูกปาก ในขณะเดียวกันยังคิดค้น
กรรมวิธีการท�ำอาหารท่ีเหมาะสมเพื่อให้ได้รสชาติกลมกล่อม
เช่น การใส่ใบมะกรูด ตะไคร้ และข่า ผสานกัน เพ่ือดับ
กลนิ่ คาวของเนอ้ื ปลาทนี่ ำ� มาเปน็ สว่ นผสมหลกั และการปรงุ รส
ด้วยมะนาว น้�ำปลา และน�้ำตาลเพื่อกลบรสเฝื่อนท่ีเกิดจาก
นำ�้ ตม้ สมนุ ไพร นอกจากนยี้ งั เปย่ี มดว้ ยคณุ คา่ ทางโภชนาการและ
มปี ระโยชนต์ ่อสุขภาพ
อาหาร วถิ ีถ่ิน กนิ อยา่ งไทย | 151
• สม้ ตำ� ไทย สม้ ต�ำ
วถิ ีแหง่ รสยำ�
แมม้ ะละกอจะไมใ่ ชพ่ ชื พนื้ ถน่ิ ของเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เชน่ เดยี วกบั พรกิ ทม่ี ตี น้ กำ� เนดิ มาจากทวปี อเมรกิ า
แต่พืชท้ังสองชนิดกลับกลายเป็นวัตถุดิบในการปรุงอาหารที่ได้รับความนิยมจากคนไทยมาเนิ่นนาน โดยเฉพาะ
“ส้มต�ำ” อะไรคือเสน่ห์ที่ท�ำให้อาหารประเภทย�ำชนิดนี้ครองใจคนไทยมาโดยตลอด อาจต้องย้อนดูตั้งแต่
ความอรอ่ ยของข้าวมันส้มต�ำเลยทีเดยี ว
“ขา้ วมนั สม้ ตำ� ” เปน็ อาหารทถ่ี อื กำ� เนดิ ในภาคกลาง มาจากสำ� รบั อาหารชาววงั ทมี่ กั รบั ประทานคกู่ นั กบั ของ
ทอดอยา่ งเนอ้ื เคม็ ฉกี ฝอยผดั นำ�้ มนั โรยหอมเจยี ว สนั นษิ ฐานวา่ มาจากฝา่ ยในหรอื เจา้ จอมทม่ี เี ชอื้ สายแขก เพราะวธิ ี
การหุงขา้ วใส่น้�ำกะทหิ รอื หุงข้าวมนั เปน็ วธิ ีการหงุ ข้าวแบบมุสลมิ
ต�ำรับข้าวมันส้มต�ำท่ีเก่าแก่ท่ีสุดท่ีบันทึกไว้เป็นหลักฐานอยู่ในต�ำราอาหาร ต�ำรับสายเยาวภา ของพระเจ้า
บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ เยาวภาพงศส์ นทิ สว่ นประกอบสำ� คญั ไดแ้ ก่ ขา้ วมนั หรอื ขา้ วทห่ี งุ ดว้ ยกะทิ และสม้ ตำ� ซง่ึ กค็ อื
มะละกอสบั เปน็ เส้นคลุกกับกงุ้ แหง้ ปน่ กระเทยี ม พริกขหี้ นู ปรุงรสด้วยน้ำ� มะขามเปยี ก มะนาว น้ำ� ปลาดี น้ำ� ตาล
กนิ กบั ผกั ดบิ เชน่ ใบทองหลาง ใบมะยมออ่ น และผกั ทอด เชน่ ใบเลบ็ ครฑุ ทอด ดอกไมช้ บุ แปง้ ทอด สตู รทม่ี กี งุ้ แหง้ กบั
ถวั่ ลสิ งปน่ ผสมอยแู่ ละปรงุ รสชาตแิ บบนมุ่ นวล คอ่ นขา้ งไปทางหวานนำ� เปน็ สตู รทแ่ี ตกตา่ งจากสม้ ตำ� ของคนอสี าน
อาหาร วถิ ถี น่ิ กนิ อยา่ งไทย | 153
ส่วนสูตรส้มต�ำที่แพร่หลายและได้รับความนิยมกันใน • ต�ำซัว่
ปัจจุบัน เป็นอาหารที่ชาวอีสานเรียกว่า “ต�ำบักหุ่ง” ส่วน
ชาวภาคเหนือเรียก “ต�ำส้ม” จุดเด่นของส้มต�ำสูตรนี้คือ
รสชาติอันจัดจ้านตามความนิยมของคนในท้องถิ่น วัตถุดิบหลัก
ยังคงเป็นมะละกอสับซอย กระเทียม และพริก แต่มีการ
ปรับเปลี่ยนเครื่องปรุงเสริมและกรรมวิธีในการปรุงท่ีแตกต่างไป
เช่น ในภาคอีสานนิยมกินส้มต�ำปลาร้าใส่มะกอกสุก เนื่องจากรสชาติ
เปรี้ยวอมหวานแกมฝาดของมะกอกช่วยลดความเผ็ดและความเค็ม
ของส้มตำ� ลงได้ ส่วนส้มต�ำของคนอัมพวา จงั หวัดสมุทรสงคราม จะใส่
ลูกยอดิบ กลว้ ยดิบ ปลาทูน่ึง พริกข้ีหนู หอมแดง น้�ำมะนาว น้ำ� ปลา
น�้ำตาลปี๊บ ต�ำให้เข้ากันแล้วหั่นมะนาวทั้งผิวใส่ลงไปเป็นช้ิน กินกับ
ใบมะยมอ่อน ใบขนุน
สม้ ตำ� ทแี่ พรห่ ลายในปจั จบุ นั มี ๓ แบบ ไดแ้ ก่ สม้ ตำ� ไทย ใสก่ งุ้ แหง้
ถ่ัวลิสงค่ัว ออกรสเปร้ียวหวานเผ็ด ส้มต�ำปู ใส่ปูเค็มหรือปูดอง
ออกรสเค็ม เผ็ด และ ส้มต�ำลาว หรือส้มต�ำปลาร้า ใส่น�้ำปลาร้า
ออกรสเค็มเผ็ด นอกจากน้ียังมีการสร้างสรรค์ส้มต�ำแบบใหม่ เช่น
ส้มต�ำปูม้า ส้มต�ำไข่เค็ม บ้างใส่เส้นขนมจีนคลุกเคล้ากับส้มต�ำเรียกว่า
ตำ� ซั่ว
• ส้มต�ำปมู ้า • ส้มตำ� ปู
154 | วัฒนธรรม วิถีชีวติ และภูมปิ ญั ญา
• ส้มตำ� ไข่เคม็
“โภชนาการในจานสม้ ต�ำ • ส้มต�ำไทย และ
จุดเด่นทางโภชนาการของสม้ ตำ� ข้าวเหนียวไก่ยา่ ง
คอื มพี ลงั งานและไขมนั ต่ำ� และมี ไม่ว่าสูตรส้มต�ำจะมีพัฒนาการไปอย่างไร แต่หากกล่าวถึงคุณค่าทางโภชนาการที่อยู่ในส้มต�ำ
ซงึ่ มีมะละกอดิบเปน็ ส่วนประกอบแล้ว จัดว่าเปน็ อาหารสขุ ภาพโดยแท้ เน่ืองจากมีไขมันตำ�่ มเี สน้ ใย
ใยอาหาร โดยส้มตำ� ไทย ๑ จาน สูง และยงั อุดมดว้ ยวติ ามินหลายชนิด นอกจากนี้ส้มต�ำยังมสี รรพคุณทางยา มคี ุณค่าจากพืชสมนุ ไพร
ทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบในสม้ ตำ� อกี มาก เชน่ มะละกอเปน็ ยาบำ� รงุ นำ้� นม ขบั พยาธิ แกบ้ ดิ แกเ้ ลอื ดออกตาม
”จะใหพ้ ลงั งานแกร่ ่างกาย ๖๒.๒๓ ไรฟัน ช่วยยอ่ ยอาหาร สว่ นมะเขือเทศซ่งึ มรี สเปรีย้ ว เป็นผักทใ่ี ชแ้ ต่งสีและกลน่ิ อาหาร มสี รรพคณุ ช่วย
ระบายและบำ� รุงผิว พรกิ ขีห้ นูรสเผด็ รอ้ นช่วยเจริญอาหาร ขับลม ชว่ ยยอ่ ย กระเทียมมีรสเผด็ รอ้ นจงึ
กิโลแคลอร่ี ช่วยขับลมในลำ� ไส้ แก้ไอ ขับเสมหะ ช่วยยอ่ ยอาหาร ช่วยลดน�ำ้ ตาลในเลอื ด ลดไขมนั ในหลอดเลือด
สว่ นมะนาว เปลอื กผลทม่ี รี สขมชว่ ยขบั ลมไดด้ ี นำ้� มะนาวในลกู มรี สเปรย้ี วชว่ ยแกเ้ สมหะ แกไ้ อ แกเ้ ลอื ดออก
ตามไรฟัน เรยี กวา่ นอกจากมีรสชาตทิ ี่ถูกปากแลว้ ยังแฝงประโยชนไ์ ว้อย่างมากมายอกี ดว้ ย
อาหาร วิถถี ่นิ กินอย่างไทย | 155
• สม้ ต�ำผลไม้
พระราชนพิ นธ์เพลง “สม้ ตำ� ” ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
เป็นบทเพลงที่บรรยายวิธีการท�ำส้มต�ำไว้อย่างละเอียด ทรงใช้ค�ำง่ายๆ ที่ให้ภาพและเสียง
ทไี่ พเราะ บรรเลงครงั้ แรกโดย วง อ.ส. วนั ศกุ ร์ ปี พ.ศ. ๒๕๑๓ โดยทรงขบั รอ้ งดว้ ยพระองคเ์ อง
อาหาร วิถถี ิ่น กินอย่างไทย | 157
ขา้ วย�ำ
สีสันยำ� ปักษ์ใต้
สสี นั ชวนรบั ประทานของขา้ วยำ� ปกั ษใ์ ตเ้ ปน็ อาหารตาทมี่ คี ณุ คา่ เชน่ เดยี วกบั คณุ ประโยชนท์ แี่ ฝงอยใู่ นทกุ สว่ น
ประกอบด้วยรสชาติอันเหมาะเจาะ เปรี้ยว เค็ม หวานก�ำลังดี มีส่วนผสมของข้าวและผักหลากสีสันเป็นตัวชูโรง
รวมทัง้ ความพเิ ศษของรสนำ้� บูดู ทำ� ให้ขา้ วยำ� กลายเปน็ อาหารที่ใช้ศาสตรใ์ นการปรุงรสและมีศิลปใ์ นการจัดวางท่นี า่
รับประทาน
นาซกิ าบู (นาซิ = ขา้ ว กาบู = ยำ� ) คอื ชอื่ เรยี กภาษามลายขู องขา้ วยำ� ซง่ึ เปน็ อาหารพน้ื ถน่ิ ของชาวไทยภาคใต้
สว่ นประกอบหลักของข้าวยำ� ประกอบด้วยขา้ วสวยหุงไมแ่ ฉะ มะพร้าวคั่ว ปลาป่นหรอื ก้งุ แหง้ ป่น ผักสดและผลไม้
หลายชนิดห่ันปนกันลงไป เรียกว่า “หมวดข้าวย�ำ” ราดด้วยน�้ำบูดู (บางถิ่นเรียกน้�ำเคย) แล้วคลุกเคล้าให้เข้ากัน
เป็นอาหารจานเดียวทนี่ ยิ มกินเป็นอาหารเช้าหรอื อาหารกลางวนั
นอกจากสีสันของเครื่องปรุงท่ีหลากหลาย ความพิเศษของข้าวย�ำยังอยู่ที่สีสันของข้าว สูตรข้าวย�ำดั้งเดิม
ขา้ วตอ้ งมี ๒ สี แตล่ ะสมี สี รรพคณุ ทางยาตา่ งกนั เชน่ สดี ำ� จากนำ�้ คน้ั ใบยอ สฟี า้ จากดอกอญั ชนั มสี รรพคณุ ชว่ ยตอ่ ตา้ น
อนมุ ลู อสิ ระ สเี ขยี วจากใบเตยหอม (ชนดิ เลก็ ) ชว่ ยขบั ปสั สาวะและบำ� รงุ หวั ใจ สเี หลอื งจากนำ�้ คนั้ ขมนิ้ ชว่ ยแกท้ อ้ งอดื
เพราะมีรสฝาดและสมานแผลภายในล�ำไส้ ส่วนข้าวย�ำสูตรจังหวัดปัตตานีนิยมใช้ข้าวห้าสี หรือข้าวเบญจรงค์
เรียกในภาษามลายปู ตั ตานวี ่า “นาซกิ าบู ลิมอจายอ”
158 | วฒั นธรรม วถิ ีชวี ติ และภูมปิ ัญญา
ผกั และผลไมท้ นี่ ยิ มใสใ่ นหมวดขา้ วยำ� สามารถปรบั เปลย่ี นได้
ตามทอ้ งถนิ่ และฤดูกาล เชน่ เมล็ดกระถิน สะตอห่ันฝอย ถ่วั งอก
เดด็ ราก ถ่วั ฝักยาวหั่นฝอย แตงกวา ผกั กูด ใบชะมวง สม้ โอ หรือ
มะขามดิบ มะม่วงเบาห่นั ฝอย มะนาว ใบพาโหม (ใบกระพงั โหม
ชนิดเถา) ดอกดาหลา ดอกล�ำพู ดอกชมพู่ห่ันฝอย มะเขือพวง
ขมนิ้ ขาว พริกไทยสด แตล่ ะชนดิ ให้รสชาติท่แี ตกตา่ งกนั แต่หนึ่ง
ในน้ันจำ� ต้องมีรสเปร้ียวเพื่อตัดรสเค็มและหวานของน�้ำบูดู จึงจะ
ไดร้ สขา้ วย�ำทกี่ ลมกลอ่ ม
ปัจจัยที่ท�ำให้ข้าวย�ำหนึ่งจานอร่อยถูกปากไม่ได้มีเพียงแต่
ขา้ วสวยและผกั ผลไมส้ ดเทา่ นนั้ แตเ่ ครอื่ งปรงุ รสสำ� คญั อยา่ งนำ้� บดู ู
ก็จ�ำต้องเลือกที่รสดี น�ำมาต้มกับหอมแดง ขิงชิ้นเล็กและข่าทุบ
พอแตก ตะไครห้ น่ั เปน็ ทอ่ น ใบมะกรดู ฉกี ใสน่ ำ�้ ตาลปบ๊ี หรอื นำ้� ตาลแวน่
ลงเคี่ยวพอเดือด มกี ลิ่นหอมและนำ�้ ข้นเล็กน้อยจึงยกลง รสน้�ำบูดู
จะมรี สเคม็ นำ� รสหวาน
160 | วัฒนธรรม วิถชี ีวิตและภูมิปัญญา
“น�้ำบูดูท่มี ชี ื่อเสยี งของภาคใต้
คอื น้ำ� บดู ูสายบุรี เปน็ ผลติ ภณั ฑ์
ของกลมุ่ อาชพี ทำ� นำ�้ บดู ู
ปะเสยะวอ อำ� เภอสายบุรี
จงั หวดั ปตั ตานี วตั ถดุ บิ ในการทำ�
ใช้ปลาไส้ตนั ผสมเกลือใน
อตั ราสว่ นที่เหมาะสม และ
ใชเ้ วลาท่ีพอเหมาะ จงึ ทำ� ให้ได้
”น�้ำบูดูที่มรี สชาตอิ ร่อย
วิธีทำ� นำ�้ บดู ู
• นำ� น�ำ้ บดู ู นำ้� สะอาด ตะไคร้ ขา่ หอมแดง
และน�้ำมะขามเปียก ใส่หม้อต้ังไฟ เค่ียว
จนเดอื ด
• ราไฟออ่ นๆ เคี่ยวต่อสักพักจนไดท้ ่ี น�ำไป
กรองเอากากออก
• นำ� นำ้� บดู ทู ก่ี รองแลว้ ตง้ั ไฟอกี ครง้ั ใสน่ ำ�้ ตาลปบ๊ี
นำ้� ตาลทราย และใบมะกรดู ลงเคยี่ วไฟออ่ น
จนงวด ชมิ ใหม้ รี สออกเคม็ หวานเลก็ นอ้ ย
อาหาร วถิ ถี ิ่น กนิ อย่างไทย | 161
ที่มาของน�้ำบูดูเกิดจากความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรที่ท�ำให้คนภาคใต้ไม่เคย
ขาดแคลนอาหารทะเล เมอื่ มมี ากเกนิ บรโิ ภคหมดในคราวเดยี วจงึ นำ� มาแปรรปู เพอื่ ถนอม
อาหารไว้ใช้บริโภคได้เป็นเวลานาน น้�ำบูดูเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาท้องถ่ินของชาวปักษ์ใต้
ทน่ี ำ� ปลาทะเลซงึ่ เหลอื จากการจำ� หนา่ ยหรอื การบรโิ ภค เชน่ ปลากะตกั ปลาไสต้ นั มาหมกั
กบั เกลอื ผลลัพธ์ที่ไดม้ ีลกั ษณะคล้ายน้ำ� ปลาแตน่ ้ำ� ข้นกว่านำ้� ปลา ใช้ผสมในอาหารตา่ ง ๆ
ของชาวใตแ้ ละเปน็ เครอ่ื งปรุงรสเช่นเดียวกับปลาร้าในถิ่นอีสาน
รสชาตขิ องขา้ วยำ� สามารถปรบั เปลยี่ นไดต้ ามความนยิ มของผบู้ รโิ ภค เมอื่ ผสมขา้ ว
มะพร้าวคว่ั กุ้งแหง้ ปน่ และผกั ต่าง ๆ ลงในจาน หากชอบรสจัด เมือ่ ราดนำ้� บดู ูลงผสมแล้ว
อาจบีบมะนาวและใส่พริกป่นเติมเข้าไป แต่ส่วนใหญ่ในผักและผลไม้ท่ีรวมอยู่ในหมวด
ข้าวย�ำมักมีผลไม้รสเปรี้ยว เช่น ส้มโอหรือมะม่วงผสมอยู่ ให้รสชาติกลมกล่อมดีแล้ว
จงึ ไม่จำ� เป็นตอ้ งเติมมะนาว บางต�ำรับอาจใสข่ ้าวพองเพิ่ม หรือรบั ประทานคกู่ บั ไข่ต้ม
ข้าวย�ำได้สะท้อนให้เห็นถึงความชาญฉลาดด้านโภชนาการของบรรพบุรุษท่ีค้น
ข้าวย�ำให้มีคุณค่าทางโภชนาการครบ ๕ หมู่ในจานเดียว เพราะมีทั้งโปรตีนจาก
เนอื้ ปลาป่นและกุ้งปน่ คารโ์ บไฮเดรตจากข้าว ไขมันจากมะพร้าวคว่ั วิตามนิ และแร่ธาตุ
ต่างๆ จากผักสดนานาชนิดท่ีน�ำมาแนมมีสรรพคุณแก้ไขข้อ นับเป็นอาหาร
เพ่ือสุขภาพ มีไขมันต�่ำ อุดมด้วยใยอาหารจากผักหลายชนิด มีสารต่อต้านอนุมูล
อสิ ระ ถา้ เปน็ สตู รดง้ั เดมิ จะเพมิ่ สว่ นผสมทม่ี สี รรพคณุ ทางยาเขา้ ไปอกี เชน่ ใบมะมว่ งหมิ พานต์
ซงึ่ มีรสฝาด ชว่ ยแกท้ ้องรว่ ง จนั ทร์หอม หรือภาคใตบ้ ้านเราเรยี ก กะเสม ช่วยแกท้ ้องอืด
และเจริญอาหาร เพราะมกี ล่ินหอมชวนกินและชว่ ยบำ� รุงหัวใจ
“น�้ำบูดูมคี ุณค่าทางอาหารท่มี ีประโยชน์
ตอ่ รา่ งกาย ไดแ้ ก่ โปรตีน ไขมัน
คาร์โบไฮเดรต และวิตามนิ รวมทัง้
แร่ธาตอุ นื่ ๆ เชน่ แคลเซยี ม ฟอสฟอรัส
และเหลก็ น�้ำบดู เู ป็นผลิตภัณฑป์ ลาหมัก
ของคนใตค้ ล้ายกบั “ปลาร้า” ของคน
อีสาน ตา่ งกันตรงวตั ถุดิบทใ่ี ช้
แต่เหมือนกนั ทีค่ ุณคา่ ของภมู ปิ ัญญา
”ท้องถิน่ ท่ถี า่ ยทอดจากรนุ่ สูร่ นุ่ จากอดตี
ถึงปจั จุบัน
อาหาร วิถีถน่ิ กินอย่างไทย | 163
กระยาสารท
ขนมในประเพณีท�ำบญุ แดบ่ รรพบุรษุ
กระยาสารท หรอื อาหารทที่ ำ� ขน้ึ ในเทศกาลสารท เดมิ เปน็ อาหารทท่ี ำ� เฉพาะเทศกาล มไิ ดท้ ำ� แพรห่ ลายทว่ั ไป
เหมอื นดงั ปจั จบุ นั แตเ่ ปน็ อาหารหวานทเ่ี กดิ มาจากความตง้ั ใจในการทำ� บญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหแ้ กญ่ าตพิ น่ี อ้ งผลู้ ว่ งลบั
ชว่ งปลายฤดฝู นย่างเขา้ ตน้ ฤดูหนาวในเดอื น ๑๐ เป็นฤดูกาลท่ีผลผลติ ทางดา้ นการเกษตรใหผ้ ลผลติ ครง้ั แรก
ของปี ด้วยวถิ ีชีวิตที่ผูกพนั กับธรรมชาตแิ ละยึดหลกั ความกตญั ญูรคู้ ุณ จงึ เกดิ ประเพณวี นั สารทไทยขึน้ โดยถอื เอา
วนั แรม ๑๕ ค่ำ� เดือน ๑๐ เปน็ วนั แหง่ การท�ำบญุ แดผ่ ลู้ ว่ งลบั เช่ือกันว่าในวนั เวลาดงั กลา่ วนั้นผีมีญาติและผีไม่มญี าติ
จะมาคอยรับอาหารและสว่ นบุญท่ญี าติพีน่ อ้ งอุทิศให้ผา่ นการท�ำบุญถวายอาหารแด่พระสงฆ์ และกรวดนำ้� อทุ ศิ สง่
ให้บรรพบรุ ษุ
นอกจากความกตัญญรู ู้คุณต่อผู้มพี ระคณุ ของครอบครวั แล้ว คนไทยยังมคี วามเชื่อว่าการทำ� บุญดว้ ยผลผลิต
แรกจากนาขา้ วทไ่ี ดใ้ นฤดเู กบ็ เกย่ี วถอื เปน็ อานสิ งสอ์ ยา่ งยง่ิ ทง้ั เพอื่ ความเปน็ สริ มิ งคลแกข่ า้ วในนาและพชื ผลทางการ
เกษตรให้เจริญงอกงามและอุดมสมบูรณ์ ในอดีตคนไทยภาคกลางและภาคใต้จึงนิยมกวนกระยาสารทไปถวาย
พระภกิ ษทุ ว่ี ดั และนำ� ไปมอบใหก้ บั ผหู้ ลกั ผใู้ หญท่ น่ี บั ถอื เพอื่ เปน็ การแสดงความเคารพ เนอ่ื งจากกระยาสารทถอื เปน็ ขนม
ชนั้ ดที ท่ี ำ� จากวตั ถดุ บิ สดใหมซ่ งึ่ คดั สรรแล้วดว้ ยความตั้งใจ
อาหาร วถิ ีถนิ่ กนิ อยา่ งไทย | 165
ขั้นตอนการท�ำกระยาสารทเร่ิมจากการน�ำข้าวมาท�ำเป็นข้าวเม่า
ข้าวตอก ค่ัวผสมกับถ่ัวและงา จากนั้นน�ำมากวนกับน้�ำอ้อยด้วยไฟอ่อนๆ
อาจเตมิ นำ�้ ผง้ึ และนำ้� ตาลเขา้ ไป ขนึ้ อยกู่ บั สตู รของทอ้ งถนิ่ นนั้ ๆ กวนจนเหนยี ว
กรอบเกาะกันเป็นปึก รับประทานเป็นก้อนๆ หรือน�ำไปใส่พิมพ์แล้วตัด
เปน็ ชิ้น ๆ บางครง้ั อาจกินคกู่ ับกล้วยไข่สกุ เน่ืองจากเป็นชว่ งเวลาท่ีกล้วยไข่
ออกมาก หรอื โรยดว้ ยมะพรา้ วขูดเพ่มิ ความหอมมนั
“เช่อื กนั วา่ การท�ำกระยาสารท
มาจากการท�ำขา้ วมธปุ ายาส
ที่คนไทยรับผ่านมาจาก
ต�ำนานพทุ ธประวัติกล่าววา่
นางสุชาดาหงุ ขา้ วมธปุ ายาส
”ถวายพระพุทธเจา้ โดยใช้
ข้าว น�้ำตาล น�ำ้ นมผสมกนั
166 | วฒั นธรรม วถิ ีชวี ิตและภมู ิปัญญา
แตล่ ะปชี าวบา้ นจะเตรยี มปลกู พชื พนั ธเ์ุ พอื่ นำ� ผลผลติ สดใหมม่ าใชเ้ ปน็
สว่ นประกอบของกระยาสารท เชน่ การปลกู ออ้ ยในเดอื น ๓ เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลผลติ
ในเดอื น ๘ - ๙ ปลูกถัว่ ลสิ งและงาในช่วงเดือน ๒ - ๓ เพือ่ จะได้ผลผลิต
ราวเดือน ๖ - ๗ จากน้นั ก่อนวันสารท ๑ วนั ญาติพน่ี ้องจะกลับมารวมกัน
ที่บ้านเพ่ือช่วยกันท�ำกระยาสารท รวมทั้งเตรียมขนมอ่ืนๆ ตามความนิยม
ของท้องถ่ิน
เมอื่ ถงึ วนั สารท คนไทยจะนำ� ขา้ วปลาอาหารและกระยาสารทไปทำ� บญุ
ตกั บาตรในตอนเชา้ เมอื่ ถวายพระสงฆแ์ ละกรวดนำ�้ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหแ้ กบ่ รรพบรุ ษุ
ทลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ กระยาสารทสว่ นทเ่ี หลอื จะนำ� ไปแจกจา่ ยแบง่ ปนั กนั ระหวา่ ง
เพ่ือนบ้านกับญาติมิตรเพ่ือแสดงความเอ้ือเฟื้อซึ่งกันและกัน บางท้องถิ่น
อาจมีการท�ำขนมส�ำหรับบูชาสิ่งศักด์ิสิทธิ์ แม่โพสพ และผีนาผีไร่ด้วย
เมอ่ื ถวายพระสงฆเ์ สรจ็ แลว้ จะนำ� ไปบูชาตามไรน่ า โดยวางไว้ตามกงิ่ ไม้ หรอื
ต้นไม้
ประเพณีสารทเป็นวัฒนธรรมอันดีงามในการแสดงความกตัญญู
กตเวทีต่อบรรพชนผู้มีพระคุณ ส่วนการท�ำกระยาสารท นอกจากท�ำข้ึน
เพ่ือท�ำบุญและเพื่อความเป็นสิริมงคลต่อการเพาะปลูกแล้ว ยังได้
แสดงความเอื้อเฟื้อให้แก่เพื่อนบ้าน เป็นการผูกมิตรไมตรีกันไว้เพื่อการ
อยรู่ ่วมกันอย่างสมคั รสมานในชุมชน
อาหาร วิถถี ่นิ กนิ อยา่ งไทย | 167
กีฬาภูมปิ ญั ญาไทย
หนึ่งในวิธีที่ช่วยเสริมสร้างความสามัคคีคือการท�ำกิจกรรมร่วมกันของคน
ในชุมชน นอกเหนือจากได้ใช้เวลาอยู่ร่วมกันแล้ว ยังเป็นการออกกำ� ลังกายท่ีมี
ประโยชน์ต่อสุขภาพ กิจกรรมบางประเภทเป็นกีฬาท่ีดัดแปลงมาจากการใช้ชีวิต
ในสังคมโบราณ เชน่ กระบ่ีกระบอง มวยไทย และซลี ะ ถือเปน็ ศาสตรใ์ นการตอ่ สู้
ปอ้ งกนั ตวั แตป่ ัจจบุ นั น�ำมาใช้เพอ่ื การออกกำ� ลงั กาย บางกิจกรรมเป็นเอกลกั ษณ์
ของไทยโดยแท้ ไม่ว่าจะเป็นการเล่นว่าว การเตะตะกร้อลอดห่วง ตลอดจน
การละเล่นพื้นบ้าน ท่ีมุ่งเน้นเรื่องความสนุกสนานเพลิดเพลินและความสามัคคี
ของคนในชุมชน
กีฬาภูมิปัญญาไทย | 169
“หว่ งสำ� หรบั ทำ� คะแนนในกีฬาตะกรอ้ ลอดหว่ ง เรยี กวา่
‘ห่วงชยั ’ ซง่ึ ประกอบดว้ ยวงกลมสามห่วงขนาดเท่ากนั
เส้นผ่านศนู ยก์ ลางวดั ภายในประมาณ ๔๐ เซนตเิ มตร
”ท�ำด้วยโลหะ หวาย หรือไม้ วงกลมทงั้ สามวงตอ้ งผูกตดิ
กันใหแ้ น่นเปน็ รปู สามเสา้ โดยทุกห่วงมถี ุงตาข่ายผกู รอบ
170 | วัฒนธรรม วิถชี วี ติ และภมู ปิ ัญญา
ตะกรอ้ ลอดห่วง
กฬี าลูกหวายไทย
ลลี าการเตะสง่ ลกู ตะกรอ้ หวายใหล้ อดเขา้ หว่ งซงึ่ แขวนอยสู่ งู เหนอื พน้ื ดนิ ดว้ ยทา่ ทาง
พลกิ แพลงตา่ งๆ เปน็ เอกลกั ษณข์ องตะกรอ้ ลอดหว่ ง กฬี าพน้ื เมอื งของไทยทค่ี ดิ สรา้ งสรรค์
ข้นึ โดยคนไทยอยา่ งแทจ้ รงิ
ความนิยมในการล้อมวงเตะลูกตะกร้อท่ีสานจากหวายเพ่ือความผ่อนคลายของ
คนไทยตงั้ แตใ่ นอดตี ทำ� ใหม้ กี ารดดั แปลงกตกิ าการเลน่ ออกไปเปน็ หลายประเภทเพอ่ื เพมิ่
ความสนกุ สนานมากยงิ่ ขน้ึ เชน่ ตะกรอ้ เตะวง ตะกรอ้ พลกิ แพลง ตะกรอ้ ชงิ ธง ตะกรอ้ เตะทน
ตะกรอ้ ขา้ มตาขา่ ย และตะกรอ้ ลอดหว่ ง ซง่ึ เปน็ หนงึ่ ในกฬี าทเ่ี กดิ จากภมู ปิ ญั ญาไทยมอี ายุ
ยาวนานกวา่ ๘๘ ปี
จุดเรม่ิ ต้นของตะกร้อลอดห่วงปรากฏหลกั ฐานชดั เจนวา่ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๗๐ -
๒๔๗๒ หลวงมงคลแมน (สงั ข์ บรู ณะศิริ) ได้ริเรมิ่ การเลน่ ตะกร้อลอดหว่ งขน้ึ ในกรงุ เทพฯ
โดยน�ำวิธีการเล่นตะกร้อวงมาผสานกับท่าเตะต่างๆ ของการเล่นตะกร้อพลิกแพลง
และเพม่ิ การแขวนหว่ งทคี่ ดิ ประดษิ ฐข์ นึ้ ไวส้ งู จากพนื้ ตรงกลางสนามเลน่ ใหผ้ เู้ ลน่ เตะปอ้ นลกู
ตะกร้อกันไปมาโดยมีจุดมุ่งหมายให้ลูกตะกร้อลอดเข้าห่วงท่ีแขวนไว้ การให้คะแนนคิด
จากลูกที่เข้าห่วง และความยากง่ายของท่าเตะท่ีผู้เล่นสร้างสรรค์ข้ึนตามความสามารถ
ยิง่ ท่วงท่ายากเท่าไร ก็จะย่ิงไดค้ ะแนนมาก วธิ ีการเลน่ ตะกร้อลอดหว่ งไดร้ บั การเผยแพร่
ตอ่ มาจนเร่ิมจดั การแข่งขันครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ โดยสมาคมกฬี าสยามเป็นผู้จดั ขน้ึ
ต่อมาจึงเรม่ิ กระจายไปยังจังหวัดอืน่ ๆ ในภาคกลาง และแพร่หลายท่ัวประเทศ
“ตะกรอ้ ลอดหว่ งเปน็ กฬี าที่นบั คะแนนจากท่าทางทสี่ ง่ ลูกเขา้
หว่ ง ซงึ่ มคี วามยากง่ายแตกต่างกนั ถือเป็นกฬี าของ
ช้นั เชิงและประสบการณ์ทีฝ่ กึ ฝนมามากกว่าการใชพ้ ละกำ� ลงั
”ทำ� ให้ตะกร้อลอดห่วงเปน็ กฬี าทเี่ ลน่ ได้ทุกเพศทุกวยั
กีฬาภูมปิ ญั ญาไทย | 171
กติกาการเล่นตะกรอ้ ลอดหว่ ง หนงึ่ ทมี มผี ูเ้ ล่นได้ ๖ - ๗ คน ยนื ในสนามทเ่ี ขยี นพน้ื เป็นวงกลม
รศั มี ๒ เมตร กงึ่ กลางวงแขวนหว่ งโลหะสามเสา้ สงู จากพน้ื สนาม ๕.๗๐ เมตร ผเู้ ลน่ ในทมี จะเตะตะกรอ้
สง่ กนั ไปมา มงุ่ ใหต้ ะกรอ้ ลอดเขา้ หว่ งดว้ ยลลี าการเตะอนั เปย่ี มดว้ ยทกั ษะและทว่ งทา่ วจิ ติ รพสิ ดาร ระยะ
เวลาการเลน่ รวม ๔๐ นาที หรือลกู ตกพืน้ ครบกำ� หนด จากน้นั จงึ นำ� คะแนนของทุกคน ทุกทา่ ในทมี มา
รวมกนั ทมี ทีท่ ำ� คะแนนมากที่สุดเป็นผ้ชู นะ
การเลน่ ตะกรอ้ ลอดหว่ งเปน็ กฬี าทใ่ี ชอ้ วยั วะจากศรี ษะจรดปลายเทา้ อยา่ งครบเครอื่ ง สามารถออก
อาวธุ ไดท้ ง้ั เทา้ แขง้ เขา่ ไหล่ ศอก ศรี ษะ ทงั้ ทา่ เตะดา้ นหนา้ ดา้ นขา้ ง ดา้ นหลงั มที งั้ ยนื เตะ กระโดดเตะ
ไขวข้ าเตะ และเตะใหล้ อดบว่ งมอื ไปลอดหว่ งชยั โดยใชท้ า่ ตา่ งๆ มชี อื่ เรยี กตามลลี าการเตะ เชน่ พระราม
บ่วงมอื (โค้งหลงั ใสบ่ ่วง) ขึ้นมา้ (กระโดดไขว้) พบั เพยี บ มะนาวตัด รวมทงั้ ส้ิน ๓๒ ท่า หรอื ทใ่ี นวงการ
ตะกร้อเรียกว่า “ลกู ”
ลกั ษณะพเิ ศษของตะกรอ้ ลอดหว่ งทแี่ ตกตา่ งจากกฬี าประเภทอนื่ คอื นอกจากการประลองฝมี อื
กบั ฝ่ายตรงข้ามแล้ว ยงั เปน็ กฬี าทีผ่ ูเ้ ลน่ ต้องแขง่ ขนั กับตนเอง โดยอาศัยทักษะและการฝกึ ฝน ประกอบ
กบั ความแมน่ ยำ� ในการเคลอ่ื นไหวสง่ ลกู เขา้ หว่ งดว้ ยจงั หวะการเลน่ ทา่ ยาก นบั เปน็ กฬี าทส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ ลน่
ไดพ้ ฒั นาร่างกายให้มีความแขง็ แรง ความอ่อนตวั ความแมน่ ยำ� และความมจี ังหวะในการเคลือ่ นไหว
ร่างกาย รวมถึงพัฒนาสติปัญญาในการฝึกคิดเชิงวิทยาศาสตร์ เช่น การค�ำนวณมุมเตะ ค�ำนวณแรง
เตะ การตัดสินใจ ตลอดจนการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างดีเยี่ยม นอกจากนี้ตะกร้อลอดห่วงยัง
เปี่ยมด้วยคุณค่าทางภูมิปัญญา ไม่ว่าจะเป็นการน�ำหวาย พืชพ้ืนเมืองของไทยมาสานเป็นลูกตะกร้อ
รวมถึงการประดิษฐ์ห่วงสามเส้า และวิธีการเตะตะกร้อด้วยลีลาท่ีสวยงามโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของ
ไทยไมเ่ หมอื นชาติใดในโลก ตะกร้อไทยจัดเปน็ ในเกมบอล
ทเี่ ลน่ ดว้ ยเทา้ แขนงหนึง่ ใกลเ้ คียง
“การเลน่ ตะกรอ้ ของไทยมีวธิ ีเลน่ 5 ชนดิ ไดแ้ ก่
• ตะกร้อวง หรือตะกร้อเตะทน ผู้เล่นแต่ละทีมจะล้อมวงเตะลูกตะกร้อโต้กันไปมาเป็นคู่ ๆ ไม่ให้ และคลา้ ยคลงึ กบั เกมทเ่ี ลน่ กนั
ลูกตะกรอ้ ตกลงพ้นื นับจ�ำนวนคร้งั ท่ีแต่ละค่ใู นทมี เตะได้ก่อนลูกตก เม่ือเตะครบทกุ ค่ใู นทมี แล้วน�ำ ในภูมภิ าคเอเชีย เชน่
จ�ำนวนคร้งั ท่ที �ำไดข้ องทกุ คมู่ ารวมกนั เป็นคะแนนของทมี ‘เซปกั รากา’ ในมาเลเซยี สิงคโปร์
• ตะกร้อพลิกแพลง เป็นการเล่นส่วนบุคคล ผู้เล่นเตะหรือเดาะเล้ียงลูกตะกร้อด้วยท่าพลิกแพลง และอินโดนีเซีย
ตา่ งๆ ตอ่ เนอื่ งกนั โดยไม่ใหล้ กู ตะกรอ้ ตก ซ่งึ ผู้เลน่ ต้องพยายามเดาะลูกตะกร้อด้วยทา่ ที่พลกิ แพลง ‘ชินลง’ ในเมยี นมา ‘สิปา’
กว่า ยากกว่า สวยงามกวา่ และนานกวา่ คู่แข่งขนั ในฟิลิปปินส์ และ ‘กะตอ้ ’
ในลาว ลกู หวายทใ่ี ช้เล่นสว่ นใหญ่
• ตะกร้อลอดห่วง หรือตะกร้อลอดบ่วง เล่นเป็นทีมโดยการน�ำห่วงแขวนห้อยสูงจากพื้นไว้กลางวง ทำ� จากหวายตะค้าและหวาย
ใหผ้ เู้ ลน่ เตะลกู ตะกรอ้ โตก้ นั ไปมา เมอื่ เตะใหล้ อดหว่ งไดก้ จ็ ะไดค้ ะแนนตามความยากงา่ ยของทา่ กาหลง มีลักษณะการสานดว้ ย
วิธเี ดียวกนั แตกตา่ งกันท่ีขนาด
• ตะกร้อข้ามตาข่าย เป็นการเล่นโดยแบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ทีม อยู่คนละฝั่งของสนามส่ีเหล่ียมคล้าย แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมีเสน้ รอบวงราว
สนามกีฬาแบดมินตัน แข่งกนั เตะข้ามตาขา่ ยโตก้ นั ไปมา พยายามไมใ่ ห้ฝา่ ยตรงข้ามรับลกู ได้ โดยมี
กฎกติกาการเล่นคลา้ ยกีฬาแบดมนิ ตัน ”๑๕ - ๑๗ นิว้ หนัก ๑๕๐ -
• ตะกร้อชิงธง การเล่นคล้ายการแข่งขันว่ิงวัวหรือวิ่งเร็ว แต่เป็นการว่ิงไปพร้อมๆ กับเดาะเล้ียงลูก ๑๘๐ กรัมและมี ๑๒ รู
ตะกรอ้ ดว้ ยสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายยกเวน้ มอื จากเสน้ เรม่ิ ไปยงั เสน้ ชยั มรี ะยะทางประมาณ ๕๐ เมตร
โดยไม่ใหล้ ูกตะกร้อตกลงพื้น
172 | วัฒนธรรม วิถีชีวติ และภูมิปัญญา
ทว่ งทา่ ของ ตะกรอ้ ลอดหว่ ง ลกู ตัดไขว้
(มะนาวตัด)
ลูกขา้ งบ่วงมอื 30 คะแนน
15 คะแนน ลูกขึน้ มา้ บว่ งมอื
15 คะแนน
ลกู ไขวห้ นา้
ด้วยหลังเทา้ ลูกไขว้หน้า
30 คะแนน ดว้ ยเข่า
ลูกขา้ งหลังบว่ งมือ 40 คะแนน
30 คะแนน
กฬี าภูมิปญั ญาไทย | 173
• ทา่ ไหว้ครูเทพพนม • ท่าตีไลไ่ ปกลบั
กระบก่ี ระบอง
กีฬาเชงิ สัประยุทธ์
กระบวนท่าการต่อสู้ด้วยกระบี่กระบองนับเป็นศาสตร์การใช้อาวุธเพ่ือปกป้องชาติบ้านเมืองมาแต่โบราณ
ตอ่ มาเมอ่ื บา้ นเมอื งสงบรม่ เยน็ ไรก้ ารศกึ ดงั สมยั กอ่ น กระบก่ี ระบองจงึ กลายเปน็ การฝกึ และการเลน่ ตอ่ สใู้ นเชงิ กฬี าดว้ ย
อาวธุ โบราณของไทย เช่น กระบ่ี ดาบ พลอง งา้ ว ดัง้ เขน โล่ ไม้สั้น หอก โดยท�ำอาวธุ เลยี นแบบอาวธุ จรงิ ด้วยโลหะ
ไม้ หวาย หรือหนังสัตว์ เพ่ือไม่ให้เกิดอันตราย เดิมเรียกว่า การประลองดาบ การประลองหอก จนกระท่ังหลัง
รัชสมัยของรชั กาลที่ ๑ แหง่ กรุงรตั นโกสินทร์จงึ เรยี กวา่ “กระบกี่ ระบอง”
ค�ำวา่ “กระบีก่ ระบอง” เปน็ คำ� เรยี กรวมประเภทของอาวุธท่ใี ช้ในการต่อสู้ โดยกระบีห่ มายถึงอาวุธสน้ั
ท้ังหลาย เชน่ กระบี่ ดาบ โล่ เขน ด้งั ไม้ ศอกส้นั มดี สั้น ส่วนกระบองหมายถงึ อาวุธยาวทัง้ หมด เช่น พลอง ง้าว หอก
ทวน นอกจากนใ้ี นการเลน่ กระบ่ีกระบองยงั แบ่งอาวุธจ�ำลองออกเป็น ๒ ชนดิ คอื เครื่องไม้รำ� ใชร้ ะหว่างการไหว้ครู
ในช่วงตน้ ของการเลน่ จึงมีการลงรักปดิ ทองประดับกระจกอยา่ งสวยงาม และเคร่ืองไมต้ ี ส�ำหรับการประลองฝีมือ
จงึ ไมน่ ิยมตกแต่งดว้ ยเคร่ืองประดับใดๆ
174 | วฒั นธรรม วิถชี ีวติ และภูมิปญั ญา
• ทา่ เตรยี มก่อนการต่อส้มู อื กระบี่ • ท่าเตรยี มกอ่ นการตอ่ สมู้ ือกระบอง
• ทา่ ขนึ้ ลอย การเล่นกระบ่ีกระบองจะจัดขึ้นในลานกว้างเพ่ือให้มีพ้ืนท่ีในการเคลื่อนไหวได้โดยสะดวก
ธรรมเนียมปฏิบัติก่อนการเล่นต้องมีการไหว้ครูก่อนทุกคร้ัง โดยเริ่มจากการร�ำอาวุธด้วยเครื่องไม้ร�ำ
“ในสมัยโบราณชาตไิ ทยเรามกั ที่ผสมกันระหว่างแบบนาฏศิลป์กับแบบเฉพาะของแต่ละคณะหรือแต่ละส�ำนัก ถือเป็นการอวดความ
มีศกึ สงครามอยู่เนอื งๆ การตอ่ สู้ สวยงามในท่วงท่าการร�ำท่ีแตกต่างกันไป ท่าร�ำท่ีถือเป็นแบบอย่างของกระบ่ีกระบองเร่ิมจากท่า
แบบประชดิ ตวั ตะลมุ บอนดว้ ย “ขนึ้ พรหม” เปน็ การรำ� โดยหนั ไปสท่ี ศิ แลว้ จงึ ถงึ ทา่ “คมุ ” ตามแบบฉบบั คอื รำ� ลองเชงิ กนั โดยตา่ งฝา่ ย
ดาบ กระบ่ี โล่ ทำ� ใหท้ หารไทย ตา่ งรกุ ลำ�้ เขา้ ไปยงั อกี ฝา่ ยหนงึ่ จากนน้ั กเ็ ปน็ ทา่ “เดนิ แปลง” โดยการสงั เกตดเู ชงิ กนั และกนั แลว้ จำ� ไวว้ า่
มกี ารฝึกฝนเพื่อให้เกดิ ความ ใครมีจดุ อ่อนทใี่ ดบา้ ง แล้วจงึ คกุ เข่า “ถวายบงั คม” คอื กราบ ๓ ครั้ง จากน้นั จงึ เปลย่ี นเครือ่ งไม้ร�ำมา
ชำ� นาญ กระบ่กี ระบองซึ่งทำ� จาก เป็นเคร่อื งไม้ตเี พ่อื เริ่มประลองฝีมือกนั จริง
ไม้ หวาย หนงั ววั หนงั ควาย
จึงถูกน�ำมาใชเ้ ป็นเครอื่ งมอื สำ� คัญ นอกเหนือจากการประลองฝีมือด้านทักษะในการต่อสู้และใช้อาวุธของผู้เล่น ในปัจจุบันกระบ่ี
ในการฝกึ ซอ้ มแทนอาวุธจริง กระบองยังนับเป็นการแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทย ท่ีน�ำเสียงดนตรีจากวงปี่ชวาและกลองแขก
”เพ่อื ป้องกนั การพลาดพลั้งบาดเจบ็ (เครอ่ื งดนตรใี นวงประกอบดว้ ยปช่ี วา ๑ เลา กลองแขก ๒ ลกู ฉง่ิ ๑ ค)ู่ มาบรรเลงประกอบเพอื่ ใหเ้ กดิ ความ
หรอื เสียชวี ติ คึกคักขนึ้ ทง้ั ผู้เล่นและผ้ดู ู
การแตง่ กายของนกั กระบ่กี ระบองจะองิ จากเครอ่ื งแต่งกายของทหารในสมยั โบราณ เช่น นุ่งโจง
กระเบนแบบหยักรั้ง คาดผ้าประเจียด ตะกรุด หรือนุ่งกางเกงขาสั้นแต่ข้อส�ำคัญคือ ต้องสวมมงคล
ท่ีท�ำด้วยด้ายดิบพนั เป็นเกลยี ว ขนาดใหญเ่ ท่าเชอื กมนิลา ใช้ผา้ เยบ็ หุ้มอีกชนั้ หนึง่ ปล่อยปลายทงั้ สอง
ยื่นออก
กีฬาภูมปิ ญั ญาไทย | 177
“กระบกี่ ระบองของไทยนบั วา่ เปน็ ศาสตรท์ าง
ศิลปะอย่างแท้จรงิ เนือ่ งจากการเลน่ การต่อสู้
ต้งั แตต่ ้นจนจบเป็นไปอย่างมรี ะเบยี บแบบแผน
ขั้นตอนเรมิ่ ต้งั แต่การทำ� พธิ ีไหว้ครู การใช้
ทักษะความเขา้ ใจถงึ หลักการเคลอ่ื นไหวที่
ถูกต้องสมั พนั ธก์ นั ของมือและเทา้ ทีจ่ ะท�ำให้
”เคลอ่ื นไหวได้อยา่ งนุม่ นวล พลวิ้ ไหว และมี
ประสิทธภิ าพ
• ทา่ ไหวค้ รพู รหมนั่ง-พรหมยนื
• ทา่ ตไี ล่ไปกลับ
178 | วฒั นธรรม วิถชี วี ติ และภูมิปัญญา
• ทา่ ตไี ล่ไปกลบั การเลน่ กระบก่ี ระบองสว่ นใหญม่ กั จบั อาวธุ ตอ่ สกู้ นั เปน็ คๆู่ เชน่ กระบี่
กับกระบี่ พลองกบั พลอง งา้ วกับง้าว พลองกบั ไม้สัน้ จากนน้ั อาจเพม่ิ เปน็
“คำ� ว่า กระบี่ – กระบอง มขี อ้ สันนษิ ฐานวา่ มา การต่อสู้แบบตะลุมบอนหรือหลายคู่ หรือการต่อสู้แบบ “สามบาน” คือ
จากเร่ือง รามเกยี รติ์ โดยคำ� กระบ่ี หมายถงึ คนหนงึ่ ตอ่ สกู้ บั อกี ๒ คน ความสนกุ สนานจากการชมกระบกี่ ระบองนอกจาก
หวั หนา้ ฝา่ ยลิง (หนมุ าน) ถือตรีหรอื สามง่าม ความเรา้ ใจของการตอ่ สแู้ ลว้ จงั หวะเพลงบรรเลงทใี่ ชร้ ะหวา่ งการแสดงยงั เลอื ก
สน้ั ๆ เปน็ อาวธุ ลงิ รูปรา่ งเลก็ เคลอ่ื นไหวเร็ว ใหเ้ ขา้ กบั การรา่ ยรำ� อาวธุ แตล่ ะอยา่ ง เชน่ กระบใ่ี ชเ้ พลงกระบลี่ ลี า ดาบสองมอื
แคลว่ คล่องวอ่ งไว ลกู นอ้ งพลลงิ ทงั้ หลาย ใชเ้ พลงจำ� ปาเทศหรอื ขอมทรงเครอื่ ง งา้ วใชเ้ พลงขน้ึ มา้ พลองใชเ้ พลงลงสรง
บางตวั กใ็ ช้พระขรรคเ์ ปน็ อาวธุ สว่ น กระบอง หรอื ขนึ้ พลบั พลา การตอ่ สสู้ ามบาน ใชเ้ พลงกราวนอกหรอื เพลงฝรง่ั รำ� เทา้
หมายถงึ พวกยักษท์ พี่ กกระบองเป็นอาวธุ
ฉะน้นั คำ� ว่า “กระบ”ี่ จงึ ถูกนำ� มาเปน็ ค�ำเรียก การฝึกศิลปะการต่อสู้เพ่ือป้องกันตัวที่เป็นเอกลักษณ์ของไทย
แยกให้ร้วู ่าอาวธุ สั้นทงั้ หลาย เช่น กระบี่ อย่างกระบ่ีกระบอง มีประโยชน์ท้ังในด้านร่างกายและสมอง กล่าวคือ
ดาบ โล่ ด้งั เขน ไมศ้ อกสั้น ส่วน “กระบอง” เปน็ การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ พฒั นาสมรรถภาพทางกาย ฝกึ ความแข็งแรงของ
เปน็ อาวธุ ยาวท่ีใช้แสดงทงั้ หมด เช่น พลอง กลา้ มเนอ้ื การทรงตวั การเคลอ่ื นไหวทคี่ ลอ่ งแคล่วในการหลบหลีกปัดป้อง
กระบอง งา้ วทุกชนดิ โตมร ทวน หอก ฝึกการสังเกต การสร้างไหวพริบด้วยการรู้จักวิธีศึกษาชัยภูมิ ส่ิงแวดล้อม
การเรียกกระบก่ี ระบองยงั มหี ลักฐานใหเ้ ห็นชัดใน พร้อมทั้งสังเกตอากัปกิริยาท่าทางของคู่ต่อสู้ นอกจากน้ียังมีประโยชน์ด้าน
เรื่องอาวุธที่นยิ มใช้แสดงและเล่นกัน คือ การฝึกจติ ใจใหม้ นั่ คง เข้มแข็งและอดทน สมกับเป็นวชิ าความรู้ท่อี ดตี เคยใช้
คู่ของไมศ้ อกส้ัน (กระบ่)ี กบั พลอง (กระบอง) ในการปกป้องเอกราชบา้ นเมอื งมาแล้ว
”ตวั แทนของอาวุธทใ่ี ชส้ กู้ ันระหวา่ งลงิ กับยกั ษ์
• ทา่ ตีไล่ไปกลบั
กฬี าภูมิปญั ญาไทย | 179
มวยไทย
ศาสตร์และศิลป์แหง่ หมัดมวย
มวยไทยเปน็ มรดกทางวฒั นธรรมของคนไทยทสี่ บื ทอดกนั มานาน ถอื เปน็ ศลิ ปะการตอ่ สปู้ อ้ งกนั
ตัวที่มีกลวิธใี นการใชส้ ว่ นต่างๆ ของร่างกาย ๙ ส่วน ไดแ้ ก่ มือ เทา้ เขา่ ศอก อย่างละ ๒ และศีรษะ
อีก ๑ รวมเรียกวา่ นวอาวธุ อยา่ งผสมกลมกลนื และมีช้นั เชงิ จงึ จะถือเปน็ การตอ่ สูท้ ่ีครบเครอื่ งและ
มีพษิ สงรอบดา้ น
ในอดตี มวยไทยมบี ทบาทสำ� คญั ในการดำ� รงเอกราชของชาติ ชายฉกรรจไ์ ทยแทบทกุ คนจะไดร้ บั
การฝึกฝนมวยไทยนอกเหนือจากเรยี นการใชอ้ าวธุ เช่น กระบ่ี กระบอง พลอง ดาบ งา้ ว ทวน ปัจจัย
สำ� คญั ในการฝกึ มวยไทยคอื เพ่ือใหก้ ารใช้อาวธุ นน้ั เกิดประสิทธิภาพสูงสดุ และมคี วามสามารถในการ
ตอ่ สปู้ อ้ งกนั ตวั ระยะประชดิ ในปจั จบุ นั มวยไทยเปน็ ศลิ ปะการตอ่ สทู้ ใ่ี ชฝ้ กึ ฝนเพอื่ การกฬี าเปน็ สำ� คญั
เอกลักษณเ์ ฉพาะตวั ของศลิ ปะมวยไทย คือพืน้ ฐานและทักษะการต่อสู้ท่ีจดั ไว้เป็นระดบั ต่าง ๆ
ในการเรียนการสอน ไดแ้ ก่ ท่าร่าง เชงิ มวย ไมม้ วย และเพลงมวย เมือ่ นำ� มาใชผ้ สมผสานกนั จงึ จะมี
ประสิทธิภาพสูงสุด ท้ังการรุกและการรับ “ท่าร่าง” คือการเคลื่อนตัวและการเคล่ือนที่ “เชิงมวย”
คอื ทา่ ทางของการใช้นวอาวธุ ในการตอ่ สู้ แบ่งออกเปน็ เชิงรุก ไดแ้ ก่ เชิงหมดั เชิงเตะ เชงิ ถบี เชิงเข่า
เชงิ ศอก และเชงิ หวั สว่ นเชงิ รบั คอื การปอ้ ง ปดั ปดิ เปดิ ประกบ จบั รง้ั “ไมม้ วย” คอื การผสมผสานทา่ รา่ ง
และเชิงมวยเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในการต่อสู้ ถ้าใช้เพื่อการรับเรียกว่า “ไม้รับ” ถ้าใช้เพื่อการรุก
เรยี กวา่ “ไมร้ กุ ” ซงึ่ ในกระบวนทา่ ของไมม้ วยยงั แบง่ ออกเปน็ แมไ่ ม้ ลกู ไม้ และไมเ้ กรด็ แมไ่ มค้ อื แมบ่ ท
ของการรุกและรับ ซึ่งน�ำองค์ประกอบ ๓ ประการ คือ ก�ำลัง พ้ืนที่ และจังหวะเวลาในการใช้ก�ำลัง
สว่ นลกู ไมค้ อื ปฏบิ ตั กิ ารรองทแี่ ตกยอ่ ยมาจากแมไ่ ม้ แปรผนั แยกยอ่ ยไปตามการพลกิ แพลงของทา่ รา่ งและ
เชงิ มวยทน่ี �ำมาประยกุ ต์ใช้ และไม้เกรด็ คอื เคลด็ ลับตา่ งๆ ท่ีน�ำมาปรงุ ท�ำให้แมไ่ ม้และลกู ไม้ทป่ี ฏิบตั มิ ี
ช้นั เชิงย่ิงข้ึน ในขณะท่ี “เพลงมวย” หมายถงึ การแปรเปลี่ยนพลิกแพลงไม้มวยต่างๆ ต่อเนอ่ื งสลับ
กนั ไปอย่างพิสดารและงดงามในระหวา่ งการตอ่ สู้
• ไตเ่ ขาพระสุเมรุ “ทว่ งทา่ ของ ‘แม่ไมม้ วยไทย’ นนั้ สามารถคดิ คน้ ขน้ึ ได้มากมาย
• ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่อง “รามเกียรติ์” บรเิ วณระเบียงคด หลายกระบวนท่าจากการผสมผสานเพลงหมัด เทา้ เข่า ศอก
เข้าดว้ ยกัน แล้วตั้งชอื่ ใหจ้ ดจำ� ไดง้ า่ ย ซึง่ มกั อิงจากเร่อื งราว
รอบพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ”ที่สัมพันธก์ บั วรรณคดหี รือสง่ิ รอบตวั เชน่ มณโฑนัง่ แท่น
กวางเหลียวหลัง เป็นตน้
กฬี าภูมปิ ัญญาไทย | 181
• การสวมมงคล “ • การคาดเชอื ก หรือถักหมัด
• การคาดผ้าประเจยี ดเพอ่ื เปน็ เคร่อื งรางคุ้มกนั ตัว มวยไทยน้นั นอกจากจะมอี าวุธเด็ดอยา่ ง
หมัด เท้า เขา่ และศอกแล้ว การใช้ผ้าดบิ
182 | วัฒนธรรม วถิ ีชีวิตและภูมิปญั ญา หรอื เชือกชบุ แป้งใหแ้ ห้งแข็งแลว้ น�ำมาพัน
รอบหมดั ใหเ้ กดิ เปน็ ปมุ่ คมแขง็ ทเี่ รยี กกนั วา่
‘คาดเชือก’ ก็ถือเป็นการเพิม่ พษิ สง
ของเพลงมวย เพราะเพยี งแคห่ มดั เฉยี ดใกล้
”คตู่ ่อสเู้ พียงนดิ เดยี วกอ็ าจทำ� ให้เลอื ดตก
ยางออกได้
• อเิ หนาแทงกรชิ รายละเอยี ดของมวยไทยถอื เปน็ ศาสตรแ์ ละศลิ ปใ์ นการตอ่ สทู้ ตี่ อ้ งอาศยั
• หิรัญม้วนแผ่นดนิ การฝกึ ฝนไหวพรบิ และทกั ษะในการประยกุ ตท์ กุ ชน้ั เชงิ เขา้ ดว้ ยกนั นอกจากเปน็ การ
ตอ่ สปู้ อ้ งกนั ตวั แลว้ ยงั สอดแทรกศลิ ปวฒั นธรรมของไทยไวด้ ว้ ย สงั เกตไดจ้ ากชอ่ื
และลลี าของไม้มวยตา่ งๆ ทีต่ ัง้ ใหไ้ พเราะ เขา้ ใจและจดจ�ำได้ง่ายโดยเทยี บเคยี ง
ลกั ษณะทา่ ทางของการตอ่ สกู้ บั ชอ่ื หรอื ลลี าของตวั ละคร เหตกุ ารณ์ หรอื สตั วใ์ น
วรรณคดี เชน่ เอราวณั เสยงา หนมุ านถวายแหวน มณโฑนงั่ แทน่ อเิ หนาแทงกรชิ
ในขณะท่ีไม้มวยบางไม้เรียกช่ือตามส่ิงที่คุ้นเคยในวิถีชีวิตของคนไทย เช่น
เถรกวาดลาน คลน่ื กระทบฝัง่ หนูไตร่ าว มอญยนั หลัก ญวนทอดแห
ลักษณะเด่นที่ส�ำคัญของมวยไทยคือ เป็นการต่อสู้ท่ีไม่ได้มุ่งเน้น
การใชพ้ ละกำ� ลงั เปน็ หลกั แตเ่ ปรยี บกนั ดว้ ยชนั้ เชงิ และไหวพรบิ ในการรบั และรกุ
มากกว่า ในอดีตมวยไทยชกกันด้วยมือเปล่าหรือใช้ด้ายดิบพันมือ เรียกกันว่า
“คาดเชอื ก” จงึ สามารถใชม้ ือในการจับ หกั บดิ ทุ่มคู่ต่อส้ไู ด้ แม้พน้ื ฐานของ
มวยไทยในแต่ละภูมิภาคจะมีหลักคล้ายกัน แต่วิธีการชกจะเป็นแบบฉบับของ
แตล่ ะทอ้ งถน่ิ ทำ� ใหเ้ กดิ มวยรปู แบบตา่ งๆ ทมี่ ชี อ่ื เสยี ง เชน่ มวยไชยาจากจงั หวดั
สรุ าษฎร์ธานี มวยโคราช และมวยลพบรุ ี
• หักงวงไอยรา
กฬี าภมู ปิ ญั ญาไทย | 183
“การไหวค้ รูมวยไทย ทา่ ทางรา่ ยรำ� ในการไหวค้ รไู ทย
การไหว้ครูเป็นประเพณอี นั ดงี ามของ
คนไทย เปน็ การระลกึ ถงึ พระคุณของ • การกราบ: นัง่ คุกเข่าพนมมอื แล้วกราบลงพนื้ 3 ครงั้
ครูบาอาจารยผ์ ้ถู ่ายทอดวิชาให้ พระคณุ • กอบพระแม่ธรณี: กางมอื ทั้งสองออกกวาดพระแม่ธรณี
ของบดิ ามารดา พระพุทธคุณ พระคณุ
ของเทพยดาและส่ิงศกั ดิ์สิทธิ์ท้ังหลาย (กอบพนื้ ) ให้สุดมอื เม่อื มือชิดกนั ให้หงายฝา่ มือแล้วดึงมอื
ทา่ ทางทรี่ ่ายรำ� ต้องฝกึ ใหถ้ ูกตอ้ งสวยงาม ท้งั สองยกขน้ึ สอู่ ก
กอ่ นเรมิ่ การแข่งขันจะตอ้ งไหวค้ รทู ุกครั้ง • ถวายบังคม: เหยยี ดมือท้งั สองออกไปด้านหน้าใหต้ งึ
โดยมดี นตรบี รรเลงประกอบ เคร่อื งดนตรี แลว้ ยกมือขนึ้ สูงระดับหน้าผากพร้อมเงยหนา้ ข้นึ มองมอื
ประกอบด้วยปีช่ วา กลองแขก และฉงิ่ ทั้งสอง ลดมือลงสู่หน้าผากให้หลังฝ่ามอื แตะที่หน้า
ในระหว่างการชกดนตรกี ย็ ังบรรเลงอยู่ แลว้ ยกมอื ทงั้ สองขน้ึ ให้แขนเหยียดตงึ แลว้ ลดมือลง
เพื่อเร้าใจผู้ชกให้ฮกึ เหิม การร่ายร�ำและ • ท่าพรหมส่หี นา้ นัง่ : ร่ายร�ำทา่ สอดสร้อยมาลา (ควงหมดั
การต่อสโู้ ดยมดี นตรีประกอบ นอกจาก 3 รอบ) แลว้ พลกิ ตวั หนั หลงั กลบั ไปทศิ เบอื้ งหลงั เบอ้ื งซา้ ย
จะถือว่ามีศิลปะแลว้ ยังเปน็ ประเพณอี นั และเบอ้ื งขวา ด้วยการรำ� ทา่ สอดสรอ้ ยมาลาเชน่ กนั
”ดีงามของคนไทยแตโ่ บราณ ไม่ควรให้ • ท่ายา่ งสามขมุ : ยืนตรงพนมมือท่าเทพนิมติ ยกเขา่ ซ้ายขน้ึ
สูญหายไป ให้สูงตัง้ ฉากกับพืน้ มือซ้ายวางลงบนหนา้ ขาซา้ ย มอื ขวา
แมก้ ารฝกึ มวยจะมจี ดุ ประสงคห์ ลกั เพอ่ื ใชเ้ ปน็ อาวธุ ในการปอ้ งกนั ตวั แตก่ ารทมี่ วยเปน็ ศาสตร์ ยกข้นึ งอแขน กำ� หมัดยกขึ้นอยรู่ ะดับแก้มปดิ ปลายคางแลว้
ซงึ่ สามารถเอาชีวติ คตู่ ่อส้ไู ด้ ไมว่ า่ จะในอดตี ที่ใชร้ ักษาชวี ิตของตนและประเทศชาติ หรอื ในปจั จบุ นั ที่ วางเท้าซา้ ยลง กา้ วเท้าขวาเฉยี งไปทางขวา มอื ซา้ ยงอยก
เป็นการแข่งขนั ในเชิงกีฬา พนื้ ฐานของการฝกึ มวยไทยจึงต้องแฝงไว้ดว้ ยหลกั คุณธรรมและจรยิ ธรรม ขน้ึ ระดับแก้มปดิ ปลายคาง มือขวาวางลงบนหนา้ ขาซ้าย
ความมรี ะเบยี บวนิ ยั ความอดทน ความสามคั คตี อ่ พวกพอ้ ง และความมนี ำ้� ใจเปน็ นกั กฬี า นอกจากนี้ สลับมายกเทา้ ซา้ ยกา้ วย่างเฉยี งไปทางซา้ ย ยกมือสลบั
ยังมีพิธีขึ้นครู ครอบครู และไหว้ครูเพื่อเตือนสติให้ผู้เรียนมีความประพฤติและจิตใจที่ต้ังอยู่ในศีล ซ้ายเปน็ ขวา ระยะกา้ วเท่าๆ กัน
และธรรม และไม่น�ำวิชามวยไปใช้ในทางทีผ่ ดิ • ทา่ พรหมสี่หนา้ ยนื : ย่างสามขุมไปและร่ายรำ� ท่าต่างๆ เช่น
สอดสร้อยมาลา พระรามแผลงศร หงส์เหริ
184 | วฒั นธรรม วถิ ีชวี ติ และภูมปิ ัญญา
ซลี ะ • ประตมิ ากรรมแกะสลักศลิ ปะการป้องกันตวั ของชาวมลายู ที่ Borobudur
ประเทศอนิ โดนเี ชยี
ยทุ ธศลิ ปข์ องภาคใต้
ศิลปะการต่อสู้เพ่ือป้องกันตัวเกิดขึ้นจากความต้องการที่จะอยู่รอดปลอดภัย
โดยองิ กบั วถิ ชี วี ติ ของคนในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ ซลี ะเปน็ หนงึ่ ในศลิ ปะการตอ่ สปู้ อ้ งกนั ตวั อนั เกา่ แก่
ทแี่ พรห่ ลายในกลมุ่ ชาวไทยมสุ ลมิ ทอ่ี าศยั อยทู่ างภาคใตบ้ รเิ วณจงั หวดั สตลู ปตั ตานี ยะลา
นราธิวาส และสงขลา โดยมีช่ือเรียกแตกต่างกันตามความนิยมของท้องถ่ิน เช่น สิละ
ศลิ ะ ดกี า บอื ดีกา หรอื ศีลทั
พื้นฐานการต่อสู้แบบซีละคือการร�ำต่อสู้ด้วยมือเปล่าซึ่งเน้นลีลาการเคล่ือนไหว
อยา่ งสงา่ งาม เดมิ ฝกึ ไวใ้ ชใ้ นการศกึ สงคราม จงึ มกี ารใชค้ วบคกู่ บั อาวธุ เชน่ กรชิ และกระบี่
ตอ่ มาเมอื่ วทิ ยาการดา้ นอาวธุ ยทุ โธปกรณเ์ จรญิ กา้ วหนา้ มากขน้ึ ความสำ� คญั ของวชิ าซลี ะ
ในการท�ำสงครามจึงลดน้อยลง จนกลายเป็นกีฬาที่เล่นกันเพ่ือเป็นการออกก�ำลังกาย
รวมถึงเป็นการแสดงศิลปะการป้องกันตัวในปัจจุบันที่เน้นกระบวนการต่อสู้ด้วยท่วงท่า
ทะมัดทะแมง สอดแทรกลีลาท่าร�ำที่อวดความแข็งแรงของกล้ามเน้ือแขน ขา และยังมี
การใช้ลีลานิ้วมือท่ีพล้ิวไหวสอดคล้องกับท่วงท�ำนองเพลงช้าเร็วที่บรรเลงประกอบ
การแสดง มักจัดให้มีการเล่นกันในงานฮารีรายอ (วนั รื่นเริงประจำ� ปีของชาวมสุ ลมิ ท่จี ะ
เดินทางกลับไปเย่ยี มเยียนพอ่ แม่ ญาตพิ ีน่ ้อง เพ่ือนบา้ น เพอื่ อภัยต่อกนั ในส่งิ ท่ผี ่านมา)
พิธเี ข้าสหุ นตั (พธิ กี ารขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายตามขอ้ ก�ำหนดในศาสนาอิสลาม)
การแต่งงาน งานประเพณีแหน่ ก งานประจำ� ปหี ลังฤดูเก็บเกย่ี ว รวมทั้งงานพิธีการตา่ งๆ
เช่น พิธีต้อนรบั แขกผูใ้ หญ่
“ซีละถือเปน็ ศลิ ปะการตอ่ สู้ป้องกนั ตัวทมี่ ี
เสน่หน์ ่าหลงใหล ด้วยทว่ งท่าทะมัดทะแมง
สอดแทรกดว้ ยลลี าทา่ รำ� ทเี่ ผยความแข็งแรง
ของกลา้ มเนอ้ื แขน ขา และลลี านวิ้ มอื ทพ่ี ลวิ้ ไหว
อีกท้ังผูแ้ สดงยงั มีความสงา่ งามจากการสวมใส่
”เครอื่ งแตง่ กายแบบทหารองครกั ษ์มลายู
ในอดีต
186 | วฒั นธรรม วิถชี วี ิตและภมู ปิ ญั ญา
• ผ้าโพกศรี ษะ: ใช้พบั เป็นรูปสามเหลี่ยม คำ� ว่าซีละ หรอื สิละ เปน็ คำ� ทีม่ าจากภาษามลายู หมายถึง การตอ่ สู้
ให้ปลายแหลมของผ้าอยตู่ รงกลาง ดว้ ยนำ�้ ใจนักกฬี า ผเู้ รยี นวชิ าน้ีต้องปฏญิ าณวา่ จะน�ำกลยทุ ธ์ซีละไปใชใ้ นการ
หรอื ด้านข้าง ป้องกันตนเองเท่าน้ัน ไม่ข่มเหงรังแกใครและไม่ไปท�ำร้ายผู้อ่ืนให้ได้รับ
ความเดือดร้อน ก่อนการฝึกซีละ ผู้เรียนต้องเตรียมข้าวของเพื่อ
• ผ้านงุ่ : มักเปน็ ผา้ โสรง่ พบั ให้มรี ะดับ ไหว้ครู อันประกอบด้วย ผ้าขาว ข้าวสมางัด ด้ายขาว และแหวน ๑ วง
เหนอื เขา่ สวมทบั บนกางเกง จะมี มามอบใหก้ บั ครฝู กึ โดยผเู้ รยี นจะตอ้ งมอี ายไุ มน่ อ้ ยกวา่ ๑๕ ปี และใชร้ ะยะเวลา
ชือ่ เรยี กแตกตา่ งกันไป เช่น ผ้าสลิ ินงั ในการเรียน ๑๐๐ วันจึงถือว่าจบหลกั สูตร
ผา้ ซอแกะ๊ เปน็ ต้น
แบบแผนในการเล่นซีละคือ ผู้เล่นจะแต่งกายแบบมลายูนุ่งกางเกง
ขายาว สวมเสอ้ื แขนสนั้ หรอื แขนยาว นงุ่ ผา้ ทบั บนเสอ้ื ปดิ ลงไปเหนอื เขา่ เลก็ นอ้ ย
สวมโสร่งทับกางเกง มีผ้าลือปักหรือเข็มขัดคาดเอว โพกศีรษะ สีสัน
อาจแตกตา่ งกนั ตามความนยิ ม เมอ่ื แตง่ กายเรยี บรอ้ ยแลว้ ผเู้ ลน่ จะยนื อยคู่ นละ
ฝ่ังของสนาม แล้วเดินเขา้ มาทำ� ความเคารพซงึ่ กนั และกัน เรียกวา่ สลามัต
ตา่ งฝา่ ยต่างสัมผัสมอื กนั แล้วมาแตะท่ีหนา้ ผากกับหนา้ อก
ก่อนการเล่นจะมีพิธีไหว้ครู โดยผู้เล่นผลัดกันร่ายร�ำตามรูปแบบ
ท่ีได้ร�่ำเรียนมาคนละคร้ัง พลางว่าคาถาประกอบเป็นภาษาอาหรับ
เพอ่ื ขอพร ๔ ประการ คอื ขอใหป้ ลอดภยั จากคตู่ อ่ สู้ ขออโหสใิ หค้ ตู่ อ่ สู้ ขอให้
เพอื่ นบ้านรกั และขอให้ผู้ชมสนใจ เมื่อไหว้ครูจบ ดนตรจี ะบรรเลงในจังหวะ
เร้าใจ ทั้งคู่จะเดินเข้าต่อสู้กัน โดยการใช้มือตี ฟาด ฟัน ผลัก หรือแทง
ใชเ้ ทา้ เตะหรอื ปดั จบั กนั ดงึ ดนั เพอื่ หาโอกาสทมุ่ หรอื ผลกั ใหฝ้ า่ ยตรงขา้ มลม้ ลง
หรือปล�ำ้ กอดรดั ใหแ้ ก้ไมอ่ อก การเลน่ จะตอ้ งผลดั กนั เป็นฝ่ายรุกและฝ่ายรบั
ใชเ้ วลาประมาณค่ลู ะ ๑๕ - ๒๐ นาที เมอ่ื หมดเวลา คตู่ ่อสจู้ ะออกมาสลามัต
ตอ่ กนั อกี ครั้งหนงึ่
กฬี าภมู ิปัญญาไทย | 189
ผลแพ้ชนะของการเล่นซีละขึ้นอยู่กับว่าฝ่ายใดจะล้มคู่ต่อสู้ “การตอ่ สโู้ ดยใช้กรชิ หรือ ‘ซีละกริช’ น้นั คู่ตอ่ สู้
ไดม้ ากครงั้ กวา่ หรอื ปลำ้� จบั จนคตู่ อ่ สแู้ กไ้ ขไมไ่ ด้ แตม่ ขี อ้ หา้ มของการเลน่ ทง้ั สองฝ่ายจะถือกรชิ คนละเลม่ มีการวางทา่
คือ ห้ามแทงตา บีบคอ หรือต่อยแบบมวย คือใช้สันหมัดต่อย แสดงการแทง การหลบหลกี ปัดป้อง ถีบ รับ
ห้ามใชเ้ ขา่ กระแทก รวมถงึ ห้ามเตะตดั ขาส่วนลา่ ง ”และทำ� ลายพลังกล้ามเนอ้ื ของคูต่ อ่ สู้เพ่ือให้กริช
หลุดจากมอื อกี ฝา่ ยให้ได้
การเลน่ ซลี ะเปน็ ลกั ษณะของการแสดงความสามารถเฉพาะตวั
ตงั้ แตก่ ารรำ� ทา่ ทางการตอ่ สู้ การสง่ เสรมิ ความกลา้ ในการแสดงออก
การตัดสินใจ และความเชื่อม่ันในตัวเอง นอกจากนั้นยังฝึกให้มี
ความอดทนต่อความเจ็บปวดและความเหน็ดเหน่ือยในการเล่น
ผู้เล่นจะต้องใช้ความสามารถและไหวพริบในการวางแผนการต่อสู้
รวมถึงการแก้ไขปัญหาตามสภาพการณ์ท่ีเกิดข้ึนโดยใช้ท่วงท่า
ในการรับและรุกที่ได้ร�่ำเรียนมา จึงนับว่าซีละเป็นกีฬาที่ใช้ศิลปะ
ในการเคลอ่ื นไหวผสานกบั ชน้ั เชงิ การตอ่ สดู้ ว้ ยมอื เปลา่ อนั ทรงคณุ คา่
ครบถ้วนท้ังศาสตรแ์ ละศลิ ปใ์ นการปอ้ งกันตัวอยา่ งแทจ้ รงิ
“ซลี ะเป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกนั ตวั ท่ีมดี นตรปี ระกอบ • กระบวนทา่ รา่ ยรำ� การตอ่ สแู้ บบมือเปลา่
เชน่ เดยี วกบั มวยไทย สว่ นใหญ่ใช้เครอื่ งดนตรี ๓ ชนิด และอาวธุ (กอลอ็ ค)
ในการแสดงคอื ฆือแน (กลองแขก) จ�ำนวน ๑ - ๒ ใบ
”ฆง (ฆ้อง) จ�ำนวน ๑ ใบ และซูนา (ปี่) จ�ำนวน ๑ เลา
190 | วัฒนธรรม วิถีชีวติ และภูมปิ ญั ญา
• กระบวนท่ารา่ ยรำ� การตอ่ ส้แู บบมอื เปลา่
ว่าวไทย
กีฬาแหง่ สายลม
ว่าวเปน็ การละเล่นเพือ่ ความบันเทงิ ของคนไทยมาแต่โบราณ มหี ลักฐานว่า คนไทยเล่นวา่ วกนั มาตัง้ แตส่ มยั
สุโขทัยสบื เนอ่ื งมาจนถึงปัจจุบัน โดยใช้ไม้ไผ่สีสกุ ที่หาไดง้ า่ ยในท้องถิ่นทำ� เป็นโครงว่าว เนือ่ งจากมีความยดื หยุน่ สูง
และสามารถเหลาใหไ้ ด้ทกุ ขนาดตามความต้องการ แลว้ นำ� มาประกอบกนั ใหเ้ ปน็ รูปทรงต่าง ๆ ผูกติดกนั ด้วยเชอื ก
ปิดด้วยกระดาษชนดิ บาง เหนียว เช่น กระดาษสา ตกแต่งลวดลายด้วยจดุ หรือดอกดวงเพ่ือปดิ ยดึ กระดาษกบั เชือก
ใหแ้ นน่
การเลน่ วา่ วเปน็ ทน่ี ยิ มของคนในทกุ ภาค ชว่ งเวลาในการเลน่ ขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั เรอื่ งลมเปน็ สำ� คญั คนในภาคเหนอื
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือนิยมเล่นว่าวในช่วงหน้าหนาว ประมาณเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์โดยอาศัย
ลมว่าวท่พี ดั มาจากทางทิศเหนือลงมายังลุม่ แม่น้�ำเจา้ พระยาลงไปทางทิศใต้ หรือจากผืนแผ่นดนิ ลงส่ทู ะเล สว่ นคน
ภาคกลาง ภาคตะวันตกและภาคใต้ นิยมเล่นว่าวประมาณเดือนมีนาคมถึงเมษายน โดยอาศัยลมตะเภาที่พัดจาก
ทศิ ตะวันตกเฉียงใต้จากทะเลส่ผู ืนแผ่นดนิ
แม้ลมจะเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของการเล่นว่าว แต่รูปแบบของว่าวและสายป่านท่ีเหนียวและสามารถ
ตา้ นแรงลมไดด้ กี ถ็ อื เปน็ อกี หนง่ึ ปจั จยั ในการเลน่ วา่ วใหส้ นกุ เพลดิ เพลนิ หากเปน็ วา่ วทเี่ ลน่ กนั เพอื่ ความบนั เทงิ จะไมใ่ ช้
สายป่านท่ียาวเกินไปจนมองไม่เห็นตัวว่าวในอากาศ ผิดกับการเล่นว่าวเพ่ือการแข่งขันท่ีใช้สายป่านยาวกว่า
เพอ่ื เป็นการประลองความสามารถในการบังคบั วา่ ว
กฬี าภมู ปิ ัญญาไทย | 193
การทำ� วา่ วยงั เปน็ ภมู ปิ ญั ญาทสี่ บื ทอดมาแตโ่ บราณ โดยเฉพาะรปู ทรง
ของวา่ วไทยทีม่ ีเอกลักษณ์แตกตา่ งจากประเทศอื่น ว่าวไทยท่ีนยิ มเลน่ กันมี
หลายชนิด มีชื่อเรียกต่างกันไปตามลักษณะเฉพาะของว่าว เช่น ว่าวอีลุ้ม
วา่ วดยุ๊ ดยุ่ วา่ วจฬุ า วา่ วปกั เปา้ สว่ นใหญเ่ ปน็ การเลน่ เพอื่ ความสนกุ สนาน จะมี
เพียงว่าวจุฬาและว่าวปักเป้าเท่าน้ันที่คนไทยน�ำมาแข่งขันต่อสู้กันจนกลาย
เป็นประเพณี นอกจากน้ยี งั มกี ารทำ� วา่ วประเภทอ่นื ๆ เพ่อื ความสวยงาม
เชน่ การท�ำวา่ วรปู สตั ว์ตา่ งๆ อยา่ งวา่ วงู และว่าวผเี สือ้
การแขง่ วา่ วถอื เปน็ กฬี าพน้ื บา้ นไทยทต่ี อ่ สโู้ ดยอาศยั ฝมี อื ในการเลน่ วา่ ว
เพื่อเอาชนะอีกฝ่ายหนึ่ง โดยการท�ำงานประสานกันเป็นกลุ่มเป็นพวก
ตอ้ งใชป้ ระสบการณแ์ ละชน้ั เชงิ ในการเขา้ โจมตแี ละหลบหลกี จากการโจมตขี องอกี
ฝา่ ยหนง่ึ สว่ นใหญเ่ ปน็ การแขง่ ขนั ระหวา่ งวา่ วจฬุ ากบั วา่ วปกั เปา้ ซงึ่ มลี กั ษณะ
และขอ้ ดเี ฉพาะตวั แตกตา่ งกนั วา่ วจฬุ ามรี ปู รา่ งคลา้ ยดาว ๕ แฉก มอี าวธุ คอื
“จำ� ปา” ซงึ่ เปน็ ไมเ้ ลก็ ๆ ทเี่ หลาโคง้ ๘ อนั รวมเปน็ ๑ ดอก จะใช้ ๒ - ๕ ดอก
ติดอยู่ต่อจากคอซุง เพื่อเป็นท่ีดักเชือกว่าวปักเป้าให้เข้าไปติด ส่วนว่าว
ปักเป้ามีรูปทรงส่ีเหลี่ยมขนมเปียกปูนวางแนวต้ัง มี “เหนียง” เป็นอาวุธ
ทำ� ดว้ ยสายปา่ นคมยาว ผกู เปน็ หว่ งสำ� หรบั คลอ้ งใหว้ า่ วจฬุ าเสยี การทรงตวั
การเล่นว่าวเป็นกีฬาพ้ืนเมืองท่ีให้ท้ังความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
และเป็นการฝกึ สมอง ชงิ ไหวชิงพริบ รวมถงึ ทักษะในการบงั คับว่าวให้ผสาน
กันกับลมในธรรมชาติ ส่วนการประดิษฐ์ว่าวเป็นภูมิปัญญาไทยท่ีสามารถ
นำ� วสั ดทุ ห่ี าไดง้ า่ ยในธรรมชาตมิ าประดษิ ฐเ์ ปน็ ของเลน่ เพอื่ ความบนั เทงิ ซงึ่ มี
รูปแบบอันเป็นเอกลักษณ์ แสดงให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ที่ต้องอาศัย
ความสามารถเชงิ ศลิ ปะของผู้ท�ำว่าวไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
194 | วฒั นธรรม วิถชี วี ติ และภมู ปิ ัญญา
กฬี าภูมปิ ญั ญาไทย | 195
รปู แบบวา่ วไทย • วา่ วจฬุ า
วา่ วจฬุ า เปน็ วา่ วเอกลกั ษณป์ ระจำ� ชาตไิ ทยมรี ปู รา่ งเหมอื นดาว ๕ แฉก หรอื มะเฟอื งผา่ ฝาน สามารถบงั คบั ใหเ้ คลอื่ นไหวในทา่ ตา่ ง ๆ
อย่างคล่องแคล่วและสงา่ งาม ในกฬี าวา่ วถอื วา่ วา่ วจุฬาเป็นว่าวตัวผู้ ใชเ้ ล่นตัดสินแพ้-ชนะกับว่าวปักเป้าซง่ึ ถือเป็นวา่ วตัวเมีย
ว่าวปักเป้า เป็นเอกลักษณ์ของว่าวภาคกลาง และเป็นว่าวประจำ� ชาติไทยเคียงคู่กับว่าวจุฬา มีโครงเป็นรูปส่ีเหล่ียมขนมเปียกปูน
คลา้ ยวา่ วอลี มุ้ แตโ่ ครงไมไ้ ผส่ ว่ นทเ่ี ปน็ ปกี จะแขง็ กวา่ ปกี ของวา่ วอลี มุ้ มาก ขณะลอยอยใู่ นอากาศจะสา่ ยไปสา่ ยมาโฉบเฉยี่ วในทา่ ตา่ ง ๆ
ได้อยา่ งฉบั ไวคล่องตัว
วา่ วอลี มุ้ มรี ปู แบบคลา้ ยวา่ วปกั เปา้ ตรงทมี่ รี ปู ทรงเปน็ รปู สเ่ี หลย่ี มขนมเปยี กปนู ทปี่ ลายปกี ๒ ขา้ งตดิ พกู่ ระดาษเพอื่ ชว่ ยการทรงตวั
ในอากาศ การเล่นว่าวอีลุ้มของทางภาคกลางได้พัฒนาเป็นการเล่นว่าวสายป่านคม โดยส่งว่าวอีลุ้มสายป่านคมให้ลอยไปตัดว่าว
ของผ้อู น่ื
ว่าวดุ๊ยดุ่ย หรือว่าวตุ๊ยตุ่ย มีรูปแบบคล้ายว่าวจุฬา ต่างกันที่ว่าวดุ๊ยดุ่ยมีปีกขนาดเล็กและท่ีส่วนหัวจะผูกธนู หรือสะนู หรืออูด
ทางภาคใตเ้ รยี กวา่ แอก ซง่ึ ทำ� จากไมไ้ ผด่ ดั โคง้ ผกู เชอื กทปี่ ลายทงั้ ๒ ขา้ ง คลา้ ยคนั ธนู บนเสน้ เชอื กตดิ แผน่ หวายบาง ๆ หรอื ใบลาน ทำ� ให้
เกิดเสยี งดงั ดุ๊ย ดยุ่ เมื่อลอยไปมาอยู่ในอากาศ
วา่ ววงเดอื น บางพน้ื ทเ่ี รยี ก วาบแู ล (ภาษายาว)ี เปน็ วา่ วพน้ื ถน่ิ ของภาคใตท้ มี่ รี ปู ดวงจนั ทร์ เปน็ สว่ นประกอบบรเิ วณลำ� ตวั และหาง
“การเลน่ วา่ วเปน็ ที่นิยมเล่นกนั ในหลายประเทศแถบเอเชีย เชน่ ประเทศญ่ปี ุ่น มาเลเซีย
อนิ โดนเี ซีย เกาหลใี ต้ จนี อินเดีย รวมถงึ ประเทศไทย ทก่ี ารเล่นว่าวได้รบั ความนยิ ม
ทัว่ ไป จนมีการนำ� ลักษณะของวา่ วมาใช้พูดเปน็ ส�ำนวนเพอ่ื เปรียบเทยี บกับคน เช่น
”“วา่ วขาดลอย” หมายถงึ การเคว้งควา้ งไร้ทย่ี ึดเหนย่ี ว “วา่ วติดลม” หมายถงึ วา่ วทล่ี อย
กินลมอยูก่ ลางอากาศ (สำ� นวน) เพลนิ จนลมื ตัว
196 | วฒั นธรรม วถิ ชี ีวิตและภูมิปญั ญา