The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก, พระพุทธรูปปูนปั้น ศิลปะล้านช้าง, พระพุทธรูปปูนปั้น ฐานสิงห์, พระพุทธรูปปูนปั้น ประดับลวดลายบนผ้าสังฆาฏิ - จีวร, พระพุทธรูปปูนปั้น ศิลปะพื้นบ้าน พุทธศตวรรษที่ 25, พระพุทธรูปโลหะ, พระพุทธรูปไม้แกะสลัก, พระพุทธรูปปูนปั้น ฝีมือช่างเมืองน่าน, พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะพิเศษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirapa1070, 2024-01-09 03:24:44

พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก

พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก, พระพุทธรูปปูนปั้น ศิลปะล้านช้าง, พระพุทธรูปปูนปั้น ฐานสิงห์, พระพุทธรูปปูนปั้น ประดับลวดลายบนผ้าสังฆาฏิ - จีวร, พระพุทธรูปปูนปั้น ศิลปะพื้นบ้าน พุทธศตวรรษที่ 25, พระพุทธรูปโลหะ, พระพุทธรูปไม้แกะสลัก, พระพุทธรูปปูนปั้น ฝีมือช่างเมืองน่าน, พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะพิเศษ

Keywords: พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก

หนวยอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมทองถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ วัดท่ากกแก ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธีระวัฒน แสนค�ำ ในเขต พระพุทธรูป โบราณ เมืองหล่มสัก


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสัก ISBN : ๙๗๘ - ๙๗๔ - ๔๔๑ - ๐๗๕ - ๗ ผูเขียน : ผศ.ดร.ธีระวัฒน แสนค�ำ จ�ำนวนที่พิมพ : ๑,๐๐๐ เลม บรรณาธิการ : ผศ. จันทร์พิมพ์ มีเปี่ยม ผูอ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม กองบรรณาธิการ : ผศ.ขุนแผน ตุ้มทองค�ำ (รองผูอ�ำนวยการฝายอนุรักษ วิจัยศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น) ดร.สดุดี ค�ำมี (รองผูอ�ำนวยการฝายสงเสริมและเผยแพรศิลปวัฒนธรรม) ผศ. ปาริชาติ ลาจันนนท หัวหนางานบริหารและธุรการ อาจารยสมคิด ฤทธิ์เนติกุล หัวหนางานอนุรักษ วิจัยศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น อาจารยสมศักดิ์ ภูพรายงาม หัวหนางานสงเสริมและเผยแพรศิลปวัฒนธรรม อาจารยพีรวัฒน สุขเกษม หัวหนางานหอวัฒนธรรม นายวิโรจน หุนทอง นางสาวปวีณา บัวบาง นางสาวณัฐวดี แก้วบาง นางสาวสุพิชญา พูนมี นางสาวมัลลิกา อุฤทธิ์ นางสาวจิรภา เหมือนพิมทอง นางสาวกัญญาภัค ดีดาร์ กราฟก/ภาพ : นางสาวมนชยา คลายโศก นายพิทักษ จันทรจิระ คณะกรรมการอ�ำนวยการ : อาจารย์ใจสคราญ จารึกสมาน (รองผูอ�ำนวยการฝายบริหารและธุรการ) นางนิภา พิลาเกิด จัดพิมพและเผยแพรโดย : ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๘๓ หมู่ ๑๑ ถนนสระบุรี - หลมสัก ต�ำบลสะเดียง อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ ๖๗๐๐๐ โทรศัพท. ๐ ๕๖๗๑ ๗๑๔๐ โทรสาร. ๐ ๕๖๗๑ ๗๑๔๐ https://artculture.pcru.ac.th ธีระวัฒน แสนค�ำ. พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก.-- เพชรบูรณ์ : ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์, ๒๕๖๗. ๑๕๘ หน้า. ๑. พระพุทธรูป. I. ชื่อเรื่อง ๒๙๔.๓๑๘๗๓ ISBN ๙๗๘ - ๙๗๔ - ๔๔๑ - ๐๗๕ - ๗ ขอมูลบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแหงชาติ พิมพที่ : ร้านเก้าสิบ ๘๘ หมู่ ๖ ต�ำบลชอนไพร อ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ๖๗๐๐๐ โทร. ๐๘ ๙๖๔๑ ๓๕๓๓


ค�ำน�ำส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม หนังสือ “พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสัก” เลมนี้ สรางขึ้นเพื่อเผยแพรองคความรูเกี่ยวกับพระพุทธรูปโบราณที่พบ ในเขตพื้นที่อ�ำเภอหลมสัก และอ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ เมื่อครั้งอดีตเปนเมืองโบราณในวัฒนธรรมลานชาง และมีการพบ รองรอยของชุมชนโบราณ โบราณสถาน วิหาร สิมหรือโบสถ รวมถึง ซากเจดียหรือพระธาตุที่มีพระพุทธรูปเปนปูชนียวัตถุสถานที่ส�ำคัญ ในการยึดเหนี่ยวจิตใจของชุมชนจนกลายเปนประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อและมีการเกื้อกูลสืบเนื่องตอกันมาจนถึงปจจุบัน การจัดท�ำหนังสือเลมนี้มีการบูรณาการดานศิลปะและ วัฒนธรรมจากหลากหลายฝายรวมกันในรูปแบบบวร อันไดแก บาน ซึ่งเปนชาวบานในเขตอ�ำเภอหลมสักและอ�ำเภอหลมเกาที่อาศัยอยู และเปนผูสืบสานศาสนารวมถึงปฏิบัติตามหลักค�ำสอน สงเสริมสนับ สนุนใหพระพุทธศาสนาไดยั่งยืนยาวนานอยางถึงแกนแท วัด เปน แหลงที่พระสงฆไดศึกษาพระธรรมเพื่อเผยแผหลักพุทธศาสนา ใหชาวบานไดเขาใจถึงการด�ำรงชีวิตอยางสงบและเปนสุข โรงเรียน เปนแหลงที่ประสิทธิประสาทวิชาความรูใหการศึกษาแกทุกเพศทุกวัย นอกจากนั้นหนวยงานราชการก็มีบทบาทส�ำคัญยิ่งตอชุมชนที่ชวย เกื้อกูลสงเสริมชวยเหลือซึ่งกันและกันท�ำใหศิลปะและวัฒนธรรมไทย ไดคงอยูคูชาติไทย


โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณ พระครูสุภัทรพัชรเขต (ไพรศาล ภทฺรมุนี) เจาอาวาสวัดทากกแก ที่ใหการสนับสนุนขอมูลที่เปนประโยชน อยางมาก ขอขอบคุณ ทานผูชวยศาสตราจารย ดร.ธีระวัฒน แสนค�ำ ที่ไดเรียบเรียงหนังสือเลมนี้จนไดองคความรูที่มีคุณคายิ่ง และ ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ รวมถึงหนวยอนุรักษ สิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมทองถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ ที่ใหการ สนับสนุนในการจัดท�ำหนังสือเลมนี้ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


ค�ำน�ำเจ้าอาวาสวัดท่ากกแก เมืองหลมสักอัคคบุรี ซึ่งในปจจุบันไดแกพื้นที่อ�ำเภอหลมเกา และอ�ำเภอหลมสัก เปนแหลงที่อยูอาศัยของผูคนมายาวนาน ดวย สภาพภูมิประเทศที่อุดมสมบูรณ มีพื้นที่กวางขวางและเชื่อมตอกับ ดินแดนรอบขาง จึงท�ำใหเมืองหลมสักมีพัฒนาการจากชุมชนเล็ก ๆ ในระดับหมูบาน ขึ้นมาเปนชุมชนระดับเมือง และเปนที่ทราบกันอยู แลววา ในบริเวณเมืองหลมสักนั้นมีกลุมชนที่เคลื่อนยายลงมาจาก ดินแดนลานชาง และมีผูคนมากมายที่ขยับขยายมาอยูรวมกันดวย เหตุผลหลายประการ แตผูคนสวนมากลวนแลวแตมีวิถีชีวิต คานิยม และประเพณีที่สืบทอดกันมาจากดินแดนลานชางทั้งสิ้น โดยปรากฏ หลักฐานเปนโบราณสถานวัดวาอาราม และโบราณวัตถุมากมาย ซึ่งลวนแลวแตทรงคุณคาแกการศึกษาและอนุรักษ โดยเฉพาะพระพุทธรูป โบราณ ซึ่งถือเปนสิ่งส�ำคัญที่นาสนใจควรที่จะเก็บรวบรวมขอมูล เอาไวเพราะเปนสิ่งที่เกาแกและผุพังไดตามกาลเวลาหรือไมก็อาจ ถูกเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะใหผิดเพี้ยนไป


ดังนั้นอาตมภาพรวมกับผูชวยศาสตราจารย ดร. ธีระวัฒน แสนค�ำ ไดออกส�ำรวจถายภาพและเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับพระพุทธรูป โบราณในเมืองหลมสัก พรอมไดรับความอุปถัมภจากส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ในการลงพื้นที่เก็บขอมูลนั้น เราไดพบหลักฐานใหม ๆ และไดพบกับพระพุทธรูปส�ำคัญที่มีความ เกาแก มีความทรงคุณคาทางศิลปะที่ถูกเก็บซอนเอาไวแลวเราได ท�ำการขออนุญาตทานเจาอาวาสที่ทานไดเก็บรักษาพระพุทธรูปเหลานั้น ไวเปนอยางดี ในการเก็บขอมูลในครั้งนี้ จึงขอกราบขอบพระคุณ ทานเจาอาวาสทุกวัดทุกสถานที่เปนอยางยิ่ง และหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือพระพุทธรูปโบราณในเมืองหลมสักเลมนี้ จะเปนประโยชนแก ผูสนใจในการศึกษาเกี่ยวกับพุทธศิลปที่ปรากฏในทองถิ่นของเมือง หลมสักและเชื่อมโยงถึงประวัติศาสตรบานเมือง พัฒนาการทางดาน ศิลปะและการรับอิทธิพลทางศิลปะในระหวางบานเมืองมายังทองถิ่น เมืองหลมสักส�ำหรับผูที่สนใจไดไมมากก็นอย พระครูสุภัทรพัชรเขต (ไพรศาล ภทฺรมุนี) วัดทากกแก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


ค�ำน�ำผู้เขียน บริเวณพื้นที่อ�ำเภอหลมสัก และอ�ำเภอหลมเกา จังหวัด เพชรบูรณ เคยเปนสวนหนึ่งในอาณาเขตของเมืองหลมสัก ซึ่งเปน เมืองโบราณในวัฒนธรรมลานชาง กอนที่จะถูกผนวกเปนสวนหนึ่ง ในความปกครองของกรุงเทพมหานครในปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ จากการส�ำรวจของผูเขียนพบวาตามที่ราบลุมใกลกับแมน�้ำปาสัก แมน�้ำพุงและล�ำหวยสาขานอยใหญมักจะมีรองรอยของชุมชนโบราณ ซึ่งมีชุมชนในปจจุบันตั้งซอนทับอยู และตามชุมชนเหลานั้นก็มักจะมี ซากโบราณสถาน เชน ซากวิหาร ซากสิมหรือโบสถ ซากเจดียหรือ พระธาตุ และมีพระพุทธรูปโบราณ โดยเฉพาะอยางยิ่งพระพุทธรูป ปูนปนที่ตอมาไดกลายเปนพระพุทธรูปส�ำคัญ เปนปูชนียวัตถุสถานที่ ยึดเหนี่ยวจิตใจของผูคนในทองถิ่นนั้น ๆ จนท�ำใหเกิดความเชื่อ วัฒนธรรมและประเพณีที่สืบเนื่องจากการสักการบูชาพระพุทธรูปส�ำคัญ ที่แตกตางกันไปตามคติชน หนังสือเลมนี้จึงเปนผลที่เกิดจากการส�ำรวจ ศึกษาและน�ำ ขอมูลทางดานประวัติศาสตร พุทธศิลปและวัฒนธรรมที่เกี่ยวของ กับพระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสัก ซึ่งไดรับการสนับสนุนการ ศึกษาจากส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ปงบประมาณ ๒๕๖๑ มาเรียบเรียงเปนหนังสือภายใตชื่อหนังสือวา “พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสัก” การเรียบเรียงหนังสือเลมนี้ ผูเขียนไดน�ำภาพประกอบที่ เกี่ยวของกับเนื้อหามาประกอบตามสมควร ทั้งนี้ เพื่อความสะดวกและ


เขาใจงายของผูอานบนพื้นฐานงานทางวิชาการ ทั้งภาพประกอบ ยังจะเปนสื่อประชาสัมพันธเชิญชวนพุทธศาสนิกชนและนักทองเที่ยว โดยทั่วไปไดเดินทางไปสักการะขอพรพระพุทธรูปโบราณในเขต เมืองหลมสักที่ประดิษฐานอยูตามสถานที่ตาง ๆ อีกทางหนึ่ง แตอยางไรก็ดี เนื่องจากความขาดแคลนของหลักฐาน ประวัติศาสตรและโบราณคดี ตลอดจนรูปแบบทางพุทธศิลปที่มี ความเปนทองถิ่นสูง และพระพุทธรูปโบราณหลายองคไดผานการ บูรณปฏิสังขรณมาหลายครั้ง ผลการศึกษาของผูเขียนที่ปรากฏใน หนังสือเลมนี้จึงยังไมใชเปนขอยุติทางวิชาการ และจ�ำเปนที่จะตอง ศึกษาคนควาตอไป ทั้งนี้ก็เพื่อความกาวหนาในการศึกษาประวัติศาสตร พระพุทธศาสนา ประวัติศาสตรทองถิ่น และศิลปกรรมของจังหวัด เพชรบูรณ หากหนังสือเลมนี้สามารถท�ำใหผูอานน�ำไปใชเปนฐานขอมูล เพื่อตอยอดของการศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร พุทธศิลป วัฒนธรรม ความเชื่อและบทบาทของชุมชนโบราณเมืองหลมสักอยางละเอียด ลุมลึกและเปนระบบระเบียบได ผูเขียนจักมีความยินดีเปนอยางยิ่ง และเต็มใจที่จะใหหนังสือเลมนี้เปนสะพานหรือบันไดส�ำหรับการ สรางสรรคผลงานทางวิชาการที่ถือวา “ขาดแคลน” อยางยิ่งในชุมชน ทองถิ่นปจจุบัน เพื่อสรางความยั่งยืนทางสังคมและวัฒนธรรมของ ทองถิ่นเมืองหลมสักแหงลุมแมน�้ำปาสัก จังหวัดเพชรบูรณ ใหมั่นคง สืบตอไป ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธีระวัฒน แสนค�ำ


ค�ำขอบคุณ กวาหนังสือเรื่อง “พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสัก” จะส�ำเร็จลงไดดวยดี ผูเขียนไดรับความเมตตากรุณาจากบุคคลหลาย ฝายในการชวยเหลือและใหก�ำลังใจ ใครขอเอยขอบคุณไว ณ ที่นี้ กราบขอบพระคุณ พระสมุหไพรศาล ภทฺทมุนี เจาคณะ ต�ำบลปากชอง เขต ๒ เจาอาวาสวัดทากกแก อ�ำเภอหลมสัก ผูที่เล็ง เห็นความส�ำคัญของการศึกษาประวัติศาสตรและศิลปวัฒนธรรม ทองถิ่นเมืองหลมสัก เอื้อเฟอขอมูลเบื้องตน ประสานงาน อานจารึก เบื้องตน น�ำทางลงพื้นที่ส�ำรวจและใหความอนุเคราะหในหลายประการ ระหวางจัดท�ำหนังสือ ตลอดจนพระสังฆาธิการ และพระเถรานุเถระ วัดตาง ๆ ในเขตอ�ำเภอหลมสักและอ�ำเภอหลมเกาที่อนุเคราะหขอมูล สัมภาษณและอ�ำนวยความสะดวกในระหวางการส�ำรวจเก็บขอมูล ขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารยจันทรพิมพ มีเป ยม ผูอ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูชวยศาสตราจารยกมล บุญเขต อดีตผูอ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ และคณะผูบริหารส�ำนัก ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ที่เล็งเห็นคุณคา ของการศึกษาประวัติศาสตรและรูปแบบศิลปกรรมในทองถิ่นเมือง หลมสัก โดยใหโอกาสผูเขียนในการศึกษา สนับสนุนงบประมาณใน การลงพื้นที่ส�ำรวจจัดท�ำตนฉบับและสนับสนุนการจัดพิมพเผยแพร หนังสือเลมนี้


ขอบคุณ เจาหนาที่ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบูรณ ที่ใหการตอนรับ ประสานงาน ใหความอนุเคราะห ขอมูล ทั้งยังกรุณาจัดท�ำรูปเลม ออกแบบปก พิสูจนอักษร และเปน กองบรรณาธิการ โดยเฉพาะคุณวิโรจน หุนทอง นักวิชาการวัฒนธรรม ผูเปนทั้งรุนนองและลูกศิษยของผูเขียน ที่รวมลงพื้นที่ส�ำรวจและ คอยติดตอประสานงานในเรื่องตาง ๆ จนหนังสือเลมนี้ปรากฏโฉมใน บรรณพิภพอยางภาคภูมิ ตลอดจนชาวอ�ำเภอหลมสักและอ�ำเภอหลมเกา กัลยาณมิตร ในสายวิชาการดานประวัติศาสตรและศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น และ กัลยาณมิตรทุกคนที่คอยใหความชวยเหลือและใหก�ำลังใจ ที่ขาด ไมไดเลยก็คือ คุณชลธิชา แถวบุญตา และเด็กชายธีระศานติ์ แสนค�ำ ภรรยาและบุตรชายของผูเขียนที่คอยใหก�ำลังใจ เปนหวงเปนใยและ คอยเปนเพื่อนรวมลงพื้นที่ส�ำรวจเก็บขอมูลและจัดท�ำตนฉบับไม เคยหาง อยางไรก็ตาม ความตื้นเขินของผลงานทั้งในเรื่องเนื้อหาและ การเรียบเรียงที่เกิดขึ้นจากขอจ�ำกัดดานตาง ๆ ในการเก็บขอมูลและ การจัดท�ำตนฉบับที่ยังมีอยูมาก ผูเขียนพรอมที่จะนอมรับค�ำชี้แนะดวย เมตตาธรรมจากทานผูรูทั้งหลายเพื่อปรับปรุงงานใหดีขึ้นในโอกาส ตอไป ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธีระวัฒน แสนค�ำ เฮือนสวนนาซ�ำ บานนาสี เชียงคาน วันที่ ๑๕ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๖๖


สารบัญ ค�ำน�ำส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม ๔ ค�ำน�ำเจ้าอาวาสวัดท่ากกแก ๖ ค�ำน�ำผูเขียน ๘ ค�ำขอบคุณ ๑๐ บทน�ำ ๑๔ ประวัติศาสตรเมืองหลมสัก ๑๙ ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับเมืองหลมสัก ๒๐ การกอรูปเมืองของเมืองหลมสัก ๒๓ ความสัมพันธดานการเมืองการปกครองระหวาง - เมืองหลมสักกับราชส�ำนักลานชาง ๒๙ ความสัมพันธดานศิลปกรรมระหวางเมืองหลมสักกับลานชาง ๓๓ พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสัก ๓๙ กลุมที่ ๑ พระพุทธรูปปูนปน ศิลปะลานชาง พุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ ๔๐ กลุมที่ ๒ พระพุทธรูปปูนปน ฐานสิงห พุทธศตวรรษที่ ๒๔ ๖๒


กลุมที่ ๓ พระพุทธรูปปูนปน ประดับลวดลายบนผาสังฆาฏิ - จีวร ๗๙ กลุมที่ ๔ พระพุทธรูปปูนปน ศิลปะพื้นบาน พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ๘๖ กลุมที่ ๕ พระพุทธรูปโลหะ ๑๐๔ กลุมที่ ๖ พระพุทธรูปไมแกะสลัก ๑๑๙ กลุมที่ ๗ พระพุทธรูปปูนปน ฝมือชางเมืองนาน ๑๓๓ กลุมที่ ๘ พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะพิเศษ ๑๓๘ บทสงทาย ๑๔๐ บรรณานุกรม ๑๔๔ ประวัติผูเขียน ๑๕๔


14 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เมืองหลมสักเปนชุมชนโบราณที่อยูในพื้นที่ลุมแมน�้ำปาสัก ตอนบน สันนิษฐานวาอาณาเขตของเมืองครอบคลุมพื้นที่ในเขตอ�ำเภอ หลมเกาและอ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ภายในพื้นที่ราบลุม ของชุมชนโบราณไดมีการพบหลักฐานทางโบราณคดีและสถาปตยกรรม ที่แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธกันกับวัฒนธรรมลานชางในลุมแมน�้ำโขง เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน แมแตวิถีชีวิต ภาษา และวัฒนธรรมของชาวหลมสัก - หลมเกาในปจจุบันก็ยังคลายกับผูคน ในภาคอีสานและผูคนในประเทศลาว โดยเฉพาะอยางยิ่งชาวเมือง หลวงพระบางและเวียงจันทน จึงท�ำใหมีนักวิชาการและผูสนใจ จ�ำนวนหนึ่งตั้งขอสังเกตและพยายามศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร ของชาวหลมสัก - หลมเกา การที่บริเวณเมืองหลมสักเปนพื้นที่ที่มีผูคนเขามาตั้งถิ่นฐาน บานเรือนชานาน สันนิษฐานวาผูคนในยุคแรก ๆ ที่เขามาสรางบาน แปงเมืองนั้นเปนชาวลานชางที่พากันอพยพหนีภัยจากลุมแมน�้ำโขง ขามเขามาตั้งถิ่นฐานอยูในเขตลุมแมน�้ำพุงซึ่งเปนล�ำน�้ำสาขาส�ำคัญ ของแมน�้ำปาสัก ตลอดจนพื้นที่ลุมแมน�้ำปาสักตอนบน เนื่องจาก เปนพื้นที่รอยตอของอาณาจักรลานชางกับอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ท�ำใหมีการพบรองรอยโบราณสถานและศิลปวัตถุทางพระพุทธศาสนา เชน สิม (โบสถ) วิหาร ธรรมาสน พระพุทธรูป และเจดียโบราณซึ่ง ไดรับอิทธิพลศิลปะลานชางกระจายอยูตามพื้นที่ราบลุมซึ่งเคยเปน บริเวณชุมชนโบราณระดับหมูบานมากอน บทน�ำ


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 15 พระพุทธรูปหรือที่คนทองถิ่นในอ�ำเภอหลมสักและอ�ำเภอ หลมเกาเรียกวา “พระเจา”, “รูปพระเจา”, “หลวงพอ” หรือ “หลวงปู” เปนสิ่งที่ถูกสรางขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูเปน ศาสดาของพระพุทธศาสนา พระพุทธรูปสรางขึ้นจากวัสดุหลายประเภท อาทิ ศิลา ไม โลหะ อิฐ ปูน ดินเผา เขาสัตว เปนตน ตามความนิยม และทรัพยากรทางธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่นนั้น ๆ มารังสรรคใหเกิด เปนงานพุทธศิลปที่มีความงดงามและเปนเอกลักษณเฉพาะของ ฝมือชาง (ศักดิ์ชัย สายสิงห, ๒๕๕๖ ก: ๒ - ๖) ขอมูลจากแผนลานดิบจารดวยอักษรธรรมเรื่อง “สองพะเคือ” หรือ “ฉลองพระเครือ” ที่สมัยโบราณชาวลานชางนิยมใชเทศนาใน งานท�ำบุญฉลองพระพุทธรูป ซึ่งปรากฏเนื้อความพรรณนาถึงอานิสงส ของการสรางพระพุทธรูปขึ้นดวยวัสดุตาง ๆ มีเนื้อหากลาวโดยสรุป สาระส�ำคัญประกอบดวยวัสดุ ๑๔ อยาง แตละอยางใหอานิสงส มากนอยตางกัน ไดแก เขียนดวยใบไม ยังอานิสงส ๕ กัป, เขียนดวย ผา (พระบฏ) ยังอานิสงส ๑๐ กัป, สรางดวยดินจี่, ดินเหนียว (มติกมย)ํ ยังอานิสงส ๑๕ กัป, สรางดวยครั่ง (ชตุกาย) ยังอานิสงส ๒๐ กัป, สรางดวยไม (รุกขมยํ) ยังอานิสงส ๒๕ กัป, สรางดวยกระดูก, เขา, นอ, งา (ทนฺตมย) ยังอานิสงส ๓๐ กัป, สรางดวยปูนสทาย (สทายมย ํ )ํ ยังอานิสงส ๓๕ กัป, สรางดวยหิน (สิลมยํ) ยังอานิสงส ๔๐ กัป, สรางดวยกั่ว, ชืน (แรดีบุก) (ติปุกมย) ยังอานิสงส ๔๕ กัป, สรางดวย ํ ทอง (กสมยํ ) ยังอานิสงส ๕๐ กัป, สรางดวยเงิน (รชฺชฎามย ํ ) ยังอานิสงส ํ ๕๕ กัป, สรางดวยแกว (รตฺตนมย) ยังอานิสงส ๖๐ กัป, สรางดวยค� ํำ (สุวณฺณมยํ) ยังอานิสงส ๖๕ กัป และสรางจากการผสมวัสดุหลาย ๆ


16 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ อยางเขากัน ยังอานิสงส ๗๐ กัป (จังหวัดสกลนคร, ๒๕๕๙ : ๘๔ - ๘๕) ท�ำใหเห็นถึงความศรัทธาและความนิยมของชาวลานชางที่มีตอการ สรางพระพุทธรูปไดเปนอยางดี จากการส�ำรวจเบื้องตนของผูเขียนเมื่อคราวลงพื้นที่ศึกษา ภาคสนามในพื้นที่อ�ำเภอหลมสักและอ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ เพื่อจัดท�ำตนฉบับหนังสือเรื่อง “เมืองเพชรบูรณและเมืองหลมสักกับ ศึกเจาอนุวงศ” เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๖ และไดรับการจัดพิมพเผยแพรโดย ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ในปเดียวกัน  ท�ำใหทราบวาภายในพื้นที่ดังกลาวมีพระพุทธรูปโบราณกระจายอยู เปนจ�ำนวนมาก ซึ่งมีคุณคาในดานประวัติศาสตร พุทธศิลป ความเชื่อ ประเพณีและสังคมวัฒนธรรมของทองถิ่น จึงใหความสนใจและ พยายามศึกษารวบรวมขอมูลอยางตอเนื่องจนกระทั่งไดรับการ สนับสนุนงบประมาณในการเก็บขอมูลจากส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ปงบประมาณ ๒๕๖๑ และเก็บขอมูล เพิ่มเติมอีกครั้งในชวงเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๖ พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสักแตละองคตางก็มี ความส�ำคัญที่แตกตางกัน เปนพระพุทธรูปที่มีคุณคาทางประวัติศาสตร และพุทธศิลป เปนศูนยรวมศรัทธาของชาวบานในชุมชนหรือทองถิ่น ดังจะเห็นไดวาพระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสักหลายองค ลวนแตมีวัฒนธรรมทองถิ่นที่เกี่ยวของ เชน การท�ำพิธีกรรมบวงสรวง สมโภช การอัญเชิญสรงน�้ำประจ�ำป วิธีการขอพร เสี่ยงทาย และ การสักการบูชา เปนตน ซึ่งมีความนาสนใจในมิติทางดานสังคมและ วัฒนธรรมทองถิ่น


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 17 ดังนั้น การรวบรวมขอมูลเบื้องตนที่เกี่ยวกับพระพุทธรูป โบราณในเขตเมืองหลมสักจึงอาศัยเกณฑขอใดขอหนึ่งที่สอดคลอง กับการจ�ำกัดความค�ำวา “พระพุทธรูปส�ำคัญ” ตามส�ำนักวรรณกรรม และประวัติศาสตร กรมศิลปากร (๒๕๔๓) ซึ่งก�ำหนดไววา (๑) มี คุณคาทางศิลปกรรมอยางสูง คือมีความงามเปนเลิศตามลักษณะ ศิลปกรรมในยุคสมัยที่สรางหรือถิ่นก�ำเนิดของพระพุทธรูปนั้น, (๒) มี ความส�ำคัญดานประวัติศาสตรการสรางและอายุ คือเปนพระพุทธรูปที่ พระมหากษัตริย พระราชวงศหรือบุคคลส�ำคัญของบานเมืองสรางขึ้น หรือเปนพระพุทธรูปที่มีมาตั้งแตโบราณ และ (๓) พระพุทธรูปที่มีชื่อ เสียง เปนที่เคารพสักการะ เลื่อมใสและศรัทธาของพุทธศาสนิกชน ในทองถิ่นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปและชุมชนใกลเคียงอยางสูง โดยผูเขียนไดก�ำหนดขอบเขตของพระพุทธรูปโบราณในเขต เมืองหลมสักไววา ตองเปนพระพุทธรูปที่มีขอมูลระบุอายุการสราง มากกวา ๘๐ ปขึ้นไปหรือมีขอมูลในทองถิ่นที่เชื่อถือไดวามีการสราง ขึ้นมาชานานกวา ๘๐ ปมาแลว อยูในสภาพคอนขางสมบูรณ เปน พระพุทธรูปที่มีความส�ำคัญทางดานประวัติศาสตรทองถิ่น มีคุณคา ทางดานพุทธศิลป และมีความส�ำคัญทางดานวัฒนธรรมประเพณี ของคนในชุมชนนั้น ๆ ซึ่งอยูภายในบริเวณอ�ำเภอหลมเกาและอ�ำเภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ การจัดท�ำหนังสือในครั้งนี้มีเพื่อรวบรวมขอมูลดานประวัติ- ศาสตร พุทธศิลปและวัฒนธรรมทองถิ่นที่เกี่ยวของกับพระพุทธรูป โบราณที่มีความส�ำคัญในเขตเมืองหลมสัก อันเปนการเผยแพรองค- ความรูทางดานประวัติศาสตรและศิลปกรรมทองถิ่นใหพี่นอง


18 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ชาวจังหวัดเพชรบูรณและประชาชนทั่วไปไดศึกษาเรียนรู อันจะน�ำ ไปสูความกาวหนาทางวิชาการดานประวัติศาสตรและศิลปวัฒนธรรม ของทองถิ่นจังหวัดเพชรบูรณตอไป ทั้งยังสามารถใชเปนคูมือในการ ประชาสัมพันธการทองเที่ยวเชิงพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตรและ ศิลปวัฒนธรรมในจังหวัดเพชรบูรณไดอีกดวย แตอยางไรก็ดี ในการเก็บขอมูลยังมีขอจ�ำกัดหลายอยาง เชน พระพุทธรูปหลายองคไดรับการบูรณปฏิสังขรณจากพุทธศาสนิกชน หลายครั้ง ยากตอการพิจารณาลักษณะทางพุทธศิลปในอดีตเพื่อ ก�ำหนดอายุ พระพุทธรูปส�ำคัญบางองคมีการสรางหรือการบูรณปฏิสังขรณโดยฝมือชางพื้นบาน ท�ำใหลักษณะทางพุทธศิลปอาจมี ความแตกตางไปจากลักษณะทางพุทธศิลปของพระพุทธรูปที่สราง ขึ้นรวมสมัยในเมืองหลวงหรือถิ่นก�ำเนิดลักษณะพุทธศิลปนั้นได สวนหนึ่งไมสามารถสืบคนประวัติความเปนมาของพระพุทธรูปได ชัดเจน เนื่องจากเปนพระพุทธรูปที่มีความเกาแก มีอายุการสรางมา ชานาน รวมไปถึงความขาดแคลนของเอกสารหลักฐานประวัติศาสตร ขอมูลทางดานโบราณคดีและความชัดเจนทางดานศิลปกรรม


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 19 เมืองหลมสักเปนชุมชนโบราณที่ส�ำคัญแหงหนึ่งในจังหวัด เพชรบูรณ ไมปรากฏหลักฐานชัดเจนวามีพัฒนาการทางประวัติศาสตร ในยุคแรกหรือในชวงการกอตั้งอยางไร ในหนังสือประวัติศาสตรอีสาน ของเติม วิภาคยพจนกิจ (๒๕๔๒ : ๓๑๒) ไดระบุวาเมืองหลมสักถูกยก ฐานะขึ้นเปนเมืองเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ สมัยกรุงธนบุรี ซึ่งไมทราบเหมือน กันวาเดิมไดขอมูลหรือหลักฐานมาจากแหลงใด เนื่องจากไมมีการ อางอิงที่มาของขอมูล อาจจะเปนการสันนิษฐานของเดิมเองก็เปนได เนื่องจากขอมูลดังกลาวมีความขัดแยงกับหลักฐานชั้นตนหลายฉบับ นักวิชาการสวนใหญลวนมีความเห็นวาชาวอ�ำเภอหลมสัก - หลมเกาในปจจุบันที่มีวิถีวัฒนธรรมคลายกับชาวเมืองหลวงพระบาง และเวียงจันทนนั้น นาจะเปนเพราะวาบรรพบุรุษของชาวหลมสัก - หลมเกาถูกกวาดตอนมาจากเมืองหลวงพระบางและเวียงจันทน หลังศึกเจาอนุวงศ (พ.ศ. ๒๓๖๙ - ๒๓๗๑) แตแทบจะไมมีผูใดศึกษา เรื่องราวพัฒนาการทางประวัติศาสตรของเมืองหลมสักยอนลึกขึ้นไป มากกวาศึกเจาอนุวงศ โดยใชหลักฐานทางประวัติศาสตร โบราณคดี และสถาปตยกรรมที่มีอยูทั้งในทองถิ่นและสวนกลางประกอบการศึกษา ทั้งยังยึดติดอยูกับการศึกษาประวัติศาสตรแบบรัฐชาติที่ใชอาณาเขต ของประเทศไทยในปจจุบันเปนกรอบของการศึกษา จนท�ำใหไมเขาใจ ลักษณะทางการเมืองการปกครองในยุคจารีตของอาณาจักรโบราณ ในภูมิภาคอุษาคเนย *ปรับปรุงจากบทความของผู้เขียนเรื่อง “เมืองหล่มสัก : ชุมชนโบราณ วัฒนธรรมลานช้ างที่ถูกลืม” ใน ไพโรจน ้ ไชยเมืองชื่น และภูเดช แสนสา (บรรณาธิการ), ์ หมุดหมายประวัติศาสตรล์านนา, ้ (กรุงเทพฯ : โรงพิมพตะวันออก), หน ์า ๑๙๕ - ๒๑๖. ้ ประวัติศาสตรเมืองหลมสัก*


20 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับเมืองหลมสัก เมืองหลมสักที่จะกลาวถึงตอไปนี้ ผูเขียนหมายถึงชุมชน โบราณที่ตั้งอยูในลุมแมน�้ำพุงและลุมแมน�้ำปาสักตอนบนบริเวณ อ�ำเภอหลมเกาและอ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ในปจจุบัน อันเปนที่ตั้งของเมืองโบราณที่มีชื่อวา “เมืองหลมสัก” ซึ่งแตเดิม สันนิษฐานวาศูนยกลางของเมืองหลมสักตั้งอยูริมสองฝงแมน�้ำพุง ซึ่งเปนล�ำน�้ำสาขาของแมน�้ำปาสัก ในเขตต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา และภายหลังเสร็จศึกเจาอนุวงศในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ จึง มีการยายศูนยกลางของเมืองมาอยูที่บริเวณศูนยกลางของอ�ำเภอ หลมสักในปจจุบัน เมืองหลมสักตั้งอยูในพื้นที่ที่มีลักษณะทางกายภาพเปนแอง ที่ราบลุม มีภูเขาสูงทอดตัวยาวในแนวเหนือ - ใต ดานทิศเหนือเปนทิว เขาสูง ตอนกลางเปนพื้นที่ราบและมีเทือกเขาขนาบกันไปทั้งสองขาง มีลักษณะเปนรูปเกือกมา เทือกเขาทางทิศตะวันตกติดตอกับเขต จังหวัดพิษณุโลก เทือกเขาทางทิศเหนือติดตอกับเขตจังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดเลย สวนเทือกเขาทางทิศตะวันออกติดตอกับจังหวัดเลย และจังหวัดขอนแกน ท�ำใหพื้นที่เมืองหลมสักมีลักษณะเปนที่ราบลุม หุบเขาคลายแองกระทะ ลาดเอียงจากทิศเหนือลงสูทิศใต คลายรูป ตัว U คว�่ำ ตอนกลางของแองมีแมน�้ำพุงและแมน�้ำปาสักไหลผาน บริเวณที่ตั้งของตัวเมืองหลมสักในยุคแรก สันนิษฐานวา ปจจุบันคือบริเวณที่ตั้งชุมชนริมสองฝงแมน�้ำพุง ในเขตต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งมีวัดตาลและวัดทุงธงไชยเปน ศูนยกลางของสองฝง เนื่องจากวามีรองรอยวัดโบราณและเศษภาชนะ 


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 21 ดินเผาอยูหนาแนนกวาบริเวณอื่น แตพื้นที่อาณาเขตหรือเขตปกครอง ของเมืองนาจะครอบคลุมพื้นที่อ�ำเภอหลมเกา และอ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณในปจจุบันเกือบทั้งหมด มีการพบรองรอยชุมชน โบราณขนาดเล็กหรือระดับหมูบานกระจายอยูหลายแหงในพื้นที่ ราบลุมริมแมน�้ำพุงและแมน�้ำปาสักตอนบนในพื้นที่ดังกลาว เชน ชุมชน โบราณบานติ้ว บานหวาย บานหินกลิ้ง บานหวยโปรง บานนาทราย บานน�้ำครั่ง บานวังบาล บานนาแซง เปนตน สภาพแมน�้ำพุงชวงที่ไหลผานบริเวณหนาวัดทุงธงไชย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งสันนิษฐานวาเปนบริเวณ ศูนยกลางเมืองหลมสักกอนเกิดศึกเจาอนุวงศ


22 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ความเปลี่ยนแปลงของที่ตั้งเมืองหลมสักไดเกิดขึ้นครั้งหนึ่ง ภายหลังจากเสร็จศึกเจาอนุวงศ โดยมีการยายที่ตั้งเมืองจากทางเหนือ ริมฝงแมน�้ ำพุงลงมาทางใตริมฝงแมน�้ ำปาสัก บริเวณบานโพธิ์หรือบาน ทากกโพธิ์อันเปนที่ตั้งของอ�ำเภอหลมสักปจจุบัน ในสมัยพระสุริยวงษา (คง) เปนเจาเมืองหลมสัก (กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา, ๒๕๔๘ : ๑๙) การยายที่ตั้งเมืองหลมสักไมทราบสาเหตุชัดเจน แตสมเด็จ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ (๒๕๔๓ : ๑๓๖) ทรงสันนิษฐานวาเพื่อ จะใหสะดวกแกการคมนาคม ทั้งนี้คงเพราะเมืองหลมสักในชวงหลัง ศึกเจาอนุวงศนั้นตองเปนเมืองขึ้นของเมืองเพชรบูรณและตอง สงสวยใหแกราชส�ำนักกรุงเทพมหานครดวย การยายเมืองลงมาอยู ริมแมน�้ำปาสักทางใตซึ่งจะเปนเสนทางไปยังเมืองเพชรบูรณและ กรุงเทพฯ นั้นจะท�ำใหเดินทางดวยเรือสะดวก และบริเวณที่ตั้งใหม ก็เปนแองที่อุดมสมบูรณใกลเคียงกับที่ตั้งเดิมซึ่งถูกกองทัพเวียงจันทน เผาท�ำลายบานเรือนจนเสียหายอยางมากดวย (ธีระวัฒน แสนค�ำ, ๒๕๕๖ ก : ๑๔๓ - ๑๔๔) เมื่อยายศูนยกลางเมืองหลมสักลงมาทางใต ก็มีการเรียก ชุมชนบริเวณที่ตั้งเมืองเดิมวา “เมืองหลมเกา” สวนที่ตั้งเมืองใหม ก็เรียกวา “เมืองหลมสัก” ตามชื่อเมืองแตเดิมที่มีการยายมา และ อันเนื่องมาจากสาเหตุขางตนเกี่ยวกับการยายเมืองหลมสัก อาจท�ำให บางคนเขาใจผิดเมื่อกลาวถึงเมืองหลมสักกอนหนาศึกเจาอนุวงศวา คือบริเวณอ�ำเภอหลมสักในปจจุบัน


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 23 การกอรูปเมืองของเมืองหลมสัก เมืองหลมสักไมปรากฏหลักฐานชัดเจนวามีพัฒนาการทาง ประวัติศาสตรในชวงแรกหรือชวงการกอตั้งอยางไร ที่ผานมา ไมวา นักวิชาการหรือชาวบานในทองถิ่นจังหวัดเพชรบูรณตางก็เชื่อกันวา เมืองหลมสักนี้ถูกตั้งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจา อยูหัว (รัชกาลที่ ๓) แตจากหลักฐานชั้นตนที่ผูเขียนศึกษากลับพบวา เมืองนี้นาจะกอตัวขึ้นตั้งแตประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ เปน อยางนอย เนื่องจากในเอกสารพรรณนาภูมิสถานพระนครศรีอยุธยา เอกสารจากหอหลวง (ฉบับความสมบูรณ) ซึ่งสันนิษฐานวา ตนฉบับ เดิมอาจไดบันทึกขึ้นตามพระกระแสรับสั่งของพระมหากษัตริยหรือ รับสั่งของเจานายพระองคใดพระองคหนึ่งในสมัยตนกรุงรัตนโกสินทร ที่กลาวถึงสภาพบานเมืองของกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยของพระเจา อยูหัวบรมโกศ ไดมีความตอนหนึ่งกลาวถึงเรือสินคาจากหัวเมือง ฝายเหนือที่น�ำสินคาลงไปขายที่กรุงศรีอยุธยา วา “อนึ่ง เรือระแหงแขวงเมืองตาก แลเรือหางเหยี่ยวเมือง เพชรบูรณนายมบรรทุกครั่ง ก�ำยาน เหลกหางกุง เหลกลมเลย เหลก น�้ำภี้ ใต หวาย ชัน น�้ำมันยาง ยาสูบ เขา หนัง หนองา อนึ่ง เรือ ใหญทายแกวงชาวเมืองสวรรคโลกยแลหัวเมืองฝายเหนือบันทุกสินคา ตาง ๆ ฝายเหนือมาจอดเรือฃายริมแมน�้ำแลในคลองใหญวัดมหาธาตุ ในเทศกาลนาน�้ำ ๑ ...” (วินัย พงศศรีเพียร, ๒๕๔๗ : ๙๐)


24 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ค�ำวา “เหลกลมเลย” ในเอกสารขางตนนั้น หมายถึง เหล็ก ที่น�ำมาจากเมืองหลมซึ่งก็คือเมืองหลมสัก และเมืองเลย ที่เรียกชื่อ ตอกันนั้นเนื่องจากเมืองหลมสักและเมืองเลยอยูใกลกัน เวลาที่น�ำ สินคาลงไปขายที่กรุงศรีอยุธยาก็จะน�ำสินคาลงไปทางเดียวกันคือ ลองเรือไปตามแมน�้ำปาสัก นอกจากนี้ ขอความในค�ำใหการชาวกรุงเกา ซึ่งเปนค�ำใหการของชาวกรุงศรีอยุธยาหลังเหตุการณเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๑๐ ก็ปรากฏชื่อเมืองหลมสักอยูในรายชื่อกลุมเมือง ตาง ๆ ในหัวเมืองฝายเหนือดวย (กรมศิลปากร, ๒๕๐๗ : ๒๐๑ - ๒๐๒) ขณะเดียวกัน ชัยวัฒน โกพลรัตน นักวิชาการดานลานชาง ศึกษายังไดคนพบส�ำเนาเอกสารใบลานที่หอพิพิธภัณฑเมืองหลวง พระบาง มีการกลาวถึงชื่อ “มหาราชเจาในหลมสักอัคคบุรี” เปน ผูสรางคัมภีรใบลาน “หนังสือบอกตัวอักขระใหถืกหนักเบา” และยัง ปรากฏชื่อวัดตาล วัดหินกลิ้งและวัดภู ซึ่งเปนชื่อวัดโบราณในเขต เมืองหลมสักดวย สันนิษฐานวาใบลานดังกลาวนาจะถูกจารขึ้นที่เมือง หลมสักเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๒๒ - ๒๓ ภายหลังจึงถูกเคลื่อนยาย ไปอยูที่เมืองหลวงพระบาง ชื่อเมืองหลมสักในเอกสารใบลานที่พบที่เมืองหลวงพระบาง (ที่มาภาพ : ชัยวัฒน โกพลรัตน)


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 25 จากหลักฐานขางตนแสดงใหเห็นวา เมืองหลมสักมีอยูกอน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวแลว สวนที่มาของชื่อ เมืองหลมสักนั้น สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ (๒๕๔๓ : ๑๓๖) ทรงสันนิษฐานวา เนื่องจากที่ตั้งเมืองหลมตั้งอยูริมแมน�้ำปาสักหรือ “ล�ำน�้ำสัก” จึงเอาชื่อแมน�้ำปาสักเพิ่มเขามา เรียกวา “เมืองหลมสัก” ดวยเหตุที่เมืองหลมสักปรากฏชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “เมือง หลม” ท�ำใหสมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ (๒๕๔๓ : ๑๓๖) ทรง สันนิษฐานวา เมืองหลมสักนี้อาจเปนเมืองเดียวกับ “เมืองลุม” หรือ “เมืองลุมบาจาย” ที่ปรากฏในจารึกสมัยสุโขทัย แตชั้นหลังมีการ เรียกวา “เมืองหลม” ซึ่งก็หมายความอยางเดียวกัน ชื่อเมืองลุม ปรากฏชื่อเรียกคูกับ “เมืองราด” ของพอขุนผาเมืองในจารึกวัดศรีชุม (กรมศิลปากร, ๒๕๔๘ : ๑๐๔) ท�ำใหนักวิชาการบางคนเชื่อวาบริเวณนี้ ยังเปนที่ตั้งของเมืองราดดวย ดังปรากฏต�ำนานเรื่องเลาในทองถิ่น เกี่ยวกับพอขุนผาเมืองและพระนางสิขรเทวี (วัฒนชัย หมั่นยิ่ง, ๒๕๕๔ : ๘๕ - ๘๖) แตอยางไรก็ดี ขอสันนิษฐานนี้ยังไมถือวาเปนขอยุติทาง วิชาการ ยังมีความจ�ำเปนที่ตองศึกษาวิจัยอยางลุมลึกตอไป เมื่อพิจารณาจากหลักฐานประวัติศาสตร ประกอบกับหลัก ฐานทางโบราณคดีและประวัติศาสตรศิลปะ ผูเขียนสันนิษฐานวา เมือง หลมสักนาจะกอรูปเมืองขึ้นโดยการอพยพเขามาตั้งถิ่นฐานของชาว ลาวจากเมืองหลวงพระบางและเมืองเวียงจันทนในราวพุทธศตวรรษ ที่ ๒๓ ดวยภายในอาณาจักรลานชางไดเกิดความขัดแยง ท�ำให อาณาจักรถูกแบงออกเปน ๓ นครรัฐ คือ หลวงพระบาง เวียงจันทน และจ�ำปาศักดิ์


26 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ทั้งนี้ เงื่อนง�ำทางประวัติศาสตรการเมืองและสังคมของ ลานชางในชวงระหวาง พ.ศ. ๒๒๓๘ - ๒๒๙๓ ภายในราชส�ำนักเมือง เวียงจันทนไดเกิดความวุนวายและเกิดสงครามแยงชิงราชสมบัติ ระหวางขุนนางกับพระราชวงศ ท�ำใหเกิดการอพยพผูคนครั้งใหญ ลงไปทางใตตามล�ำแมน�้ำโขงโดยการน�ำของพระครูยอดแกวโพนสะเม็ก (ญาคูขี้หอม) และเกิดเปนนครรัฐจ�ำปาศักดิ์ขึ้นมา (สุรศักดิ์ ศรีส�ำอาง, ๒๕๔๕ : ๓๒๗ - ๓๒๘) ผลของความขัดแยงท�ำใหเจานายและไพรฟา พลเมืองลาวหนีความวุนวายไปตั้งหลักแหลงใหมในทองถิ่นตาง ๆ (สุจิตต วงษเทศ, ๒๕๔๓ : ๘๙) จึงมีความเปนไปไดที่จะมีเจานาย ขุนนางและ ชาวเมืองลาวกลุมหนึ่งอพยพหนีภัยมาทางเมืองซายขาว (ปจจุบันเปน ชุมชนโบราณอยูในเขตต�ำบลทรายขาว อ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย) ขามเขตเทือกเขาลงมายังที่ราบลุมแมน�้ำปาสักตอนบนเหนือเมือง เพชรบูรณ ซึ่งเปนพื้นที่สุญญากาศทางการเมืองการปกครอง เพราะ ชวงเวลานั้นเปนเขตตอแดนระหวางอาณาจักรกรุงศรีอยุธยากับ อาณาจักรลานชาง จึงท�ำใหชาวเมืองหลมสักมีวัฒนธรรมเหมือนกับ ชาวลานชางสองฝงโขงทุกประการ


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 27 ต�ำแหนงที่ตั้งเมืองหลมสักในแผนที่โบราณสมัยตนกรุงรัตนโกสินทร (ที่มาภาพ: Santanee Phasuk and Philip Stott, 2004 : 130)


28 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพก็ทรงมีขอสันนิษฐาน เกี่ยวกับความเปนมาของเมืองหลมเกาซึ่งเปนที่ตั้งของเมืองหลมสัก ในอดีตที่เกี่ยวของกับการอพยพหนีภัยสงครามเขามาของชาว ลานชางไวในพระนิพนธเรื่อง “ความไขเมืองเพชรบูรณ” ตอนหนึ่ง วา “...เมืองหลมเกาตั้งอยูในแองใหญภูเขาลอมรอบมีล�ำหวย ผานกลางเมืองมาตกล�ำน�้ำสักขางใตเมืองหลมสัก ทางที่เดินไปจาก เมืองหลมสักเปนที่สูง เมื่อใกลจะถึงเมืองหลมเกาเหมือนกับอยูบน ขอบกะทะแลลงไปเห็นเมืองหลมเกาเหมือนอยูในกนกะทะ แตเปน เรือกสวนไรนามีบานชองเต็มไปในแองนั้น นาพิศวง แตสังเกตดูไมมี ของโบราณอยางใดแสดงวาเปนเมืองรัฐบาลตั้งมา แตกอนสันนิษฐาน วาเหตุที่จะเกิดเมืองหลมเกา เห็นจะเปนดวยพวกราษฎรที่หลบหนี ภัยอันตรายในประเทศลานชาง มาตั้งซองมั่วสุมกันอยูกอน แตเปนที่ ดินดีมีน�้ำบริบูรณเหมาะแกการท�ำเรือกสวนไรนาและเลี้ยงโคกระบือ จึงมีผูคนตามมาอยูมากขึ้นโดยล�ำดับจนเปนเมือง...” (สมเด็จกรม พระยาด�ำรงราชานุภาพ, ๒๕๔๓ : ๑๓๕ - ๑๓๖) ในขณะที่ศรีศักร วัลลิโภดม (๒๕๔๖: ๒๕๗) สันนิษฐานวา ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแหงกรุงศรีอยุธยา (ซึ่งตรงกับสมัย สมเด็จพระเจาไชยเชษฐาธิราชแหงลานชาง) การขยายตัวของชุมชน ชาวลานชางคงมีมากขึ้น เพราะนอกจากผานเขามาทางเสนทางคมนาคม ระหวางสระหลวงสองแคว (พิษณุโลก) เวียงจันทนเวียงค�ำแลว ยังเขา ไปสูตอนบนของลุมแมน�้ำปาสักในเขตอ�ำเภอหลมเกา อ�ำเภอหลมสัก จนถึงอ�ำเภอเมืองเพชรบูรณดวย จนเปนเหตุใหมีการตกลงกันเรื่อง เขตแดน ณ ริมฝงแมน�้ ำหมันบริเวณพระธาตุศรีสองรัก ในทองที่ต�ำบล ดานซาย อ�ำเภอดานซาย จังหวัดเลย


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 29 ความสัมพันธดานการเมืองการปกครอง ระหวางเมืองหลมสักกับราชส�ำนักลานชาง ขอมูลในเอกสารจดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ ซึ่งเปนหลักฐานชั้น ตนในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ แสดงใหเห็นรูปแบบการปกครอง ของเมืองหลมสักที่เปนแบบ “อาญาสี่” ซึ่งเปนรูปแบบการปกครอง ของลานชาง กอนหนาที่จะเกิดศึกเจาอนุวงศ ดวยปรากฏชื่อต�ำแหนง ขุนนางกรมการเมือง นอกจากพระสุริยวงษา ซึ่งเปนเจาเมืองแลว ก็ พบชื่อขุนนางต�ำแหนงตาง ๆ เชน อุปฮาด (อุปราช) ราชบุตร ราชวงษ ทาวขัติยะ ทาวสุริยะ ทาวเพี้ยตาง ๆ เปนตน ซึ่งแสดงใหเห็นวากอน เกิดศึกเจาอนุวงศ เมืองหลมสักไดอยูภายใตการปกครองของอาณาจักร ลานชางเวียงจันทน แตดวยการที่เวียงจันทนไดตกเปนประเทศราช ของสยามมาตั้งแตสมัยธนบุรี จึงอาจท�ำใหเจาเมืองและกรมการเมือง หลมสักมีความสัมพันธกับทางฝายสยามดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งกับ เจาเมืองและกรมการเมืองเพชรบูรณซึ่งอยูใกลเคียงกัน ส�ำหรับรูปแบบการปกครองหัวเมืองของลาวนั้น ราชส�ำนักได ใหคนในทองถิ่นปกครองกันเอง แตผูที่จะเปนเจาเมืองและกรมการเมือง ผูใหญจะตองไดรับการแตงตั้งจากราชส�ำนัก ภายในเมืองจะมีกรม การเมืองผูใหญจ�ำนวน ๔ คนซึ่งเรียกวา “อาญาสี่” หรือ “อาชญาสี่” ประกอบดวยต�ำแหนงเจาเมือง, อุปฮาด, ราชวงศและราชบุตร อ�ำนาจ หนาที่ของคณะอาญาสี่ก็จะลดหลั่นกันลงไป (กองพิพิธภัณฑสถาน แหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๓๒ : ๓๔)


30 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ยังมีหลักฐานประวัติศาสตรในทองถิ่นเกี่ยวกับสมณศักดิ์ พระสงฆในพื้นที่อ�ำเภอหลมเกาและหลมสักในอดีต ซึ่งมีการเรียกชื่อ พระสงฆในประวัติศาสตรทองถิ่นหลายรูปที่มรณภาพไปแลว วา “หลวงพอหลักค�ำ” อยางเชน อดีตเจาอาวาสวัดทุงธงไชยและวัดไพร สณฑศักดาราม เปนตน อันเปนสมณศักดิ์ของพระสงฆในวัฒนธรรม ลานชาง ซึ่งก็เปนหลักฐานอยางหนึ่งที่สะทอนใหเห็นวา ฝายสงฆของ เมืองหลมสักก็นาจะสังกัดหรืออยูภายใตการปกครองของคณะสงฆทาง ฝายเวียงจันทน ไมไดสังกัดกับการปกครองคณะสงฆทางฝายสยาม มากอน เจดียบรรจุอัฐิ หลวงพอหลักค�ำ อดีตเจาอาวาส วัดไพรสณฑศักดาราม


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 31 และผลจากการศึกษาของขวัญเมือง จันทโรจนี (๒๕๓๔ : ๖๓) ยังไดพบหลักฐานชั้นตนที่สนับสนุนหลักฐานทางโบราณคดีและ สถาปตยกรรมวา ในสมัยตนกรุงรัตนโกสินทรอ�ำนาจของราชส�ำนัก ลานชางเวียงจันทนครอบคลุมการเก็บสวยถึงหัวเมืองที่ตั้งอยูบนเทือก เขาเพชรบูรณ เชน เมืองเลย เมืองภูเขียว และเมืองขึ้นของเมือง เพชรบูรณบางสวนอีกดวย ในเอกสารจดหมายเหตุสมัยรัชกาลที่ ๓ บางชิ้นเรียกชาวเมือง หลมสักวา “ลาวหลมสัก” หรือ “ลาวหลม” (จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เลม ๓, ๒๕๓๐ : ๑๖) ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงการรับรูของราชส�ำนัก สยามหรือชาวสยามวา ชาวเมืองหลมสักนั้นเปนชาวลาว “ลาวพุงขาว” (สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, ๒๕๔๓ : ๑๓๕) ที่แตกตางจาก ชาวเมืองเพชรบูรณและเมืองใกลเคียงในหัวเมืองฝายเหนือ สงครามระหวางราชส�ำนักเวียงจันทนในรัชกาลเจาอนุวงศกับ ราชส�ำนักกรุงเทพฯ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๙ - ๒๓๗๑ หรือที่คุนเคยกันในชื่อเหตุการณ “ศึกเจา อนุวงศ” เมืองหลมสักเปนอีกเมืองหนึ่งที่มีความเกี่ยวของและไดรับ ผลกระทบเปนอยางมาก ชาวเมืองถูกกวาดตอนและแตกฉานซานเซ็น บานเรือนถูกเจาราชวงศ (เหงา) แมทัพใหญของกองทัพเวียงจันทน สั่งเผาท�ำลาย (ธีระวัฒน แสนค�ำ, ๒๕๕๖ ก : ๑๑๓ - ๑๑๖) หลังจากเสร็จศึกเจาอนุวงศในป พ.ศ. ๒๓๗๑ แมวาเมือง หลมสักจะอยูภายใตการปกครองของกรุงเทพฯ อยางชัดเจนแลว แตเนื่องจากเมืองหลมสักเคยเปนหัวเมืองลาว มีชาวลาวเปนเจาเมือง กรมการเมือง และชาวเมืองจ�ำนวนมาก การติดตอราชการกับราชส�ำนัก


32 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ อยางเชนการสงเอกสารหนังสือใบบอกก็ยังคงใชอักษรลาว (อักษร ไทยนอย) สงลงไปกรุงเทพฯ จากนั้นขุนนางในราชส�ำนักก็จะท�ำการ แปลหนังสือเปนภาษาไทยกอนที่จะน�ำขึ้นทูลเกลาฯ ถวายรายงาน พระมหากษัตริย (ขวัญเมือง จันทโรจนี, ๒๕๓๔ : ๒๘๔) ซึ่งสะทอน ใหเห็นถึงความเปนหัวเมืองลาวของเมืองหลมสัก และความผอนปรน ของราชส�ำนักกรุงเทพฯ ที่มีตอเมืองที่เคยเปนหัวเมืองลาวมากอน ในลักษณะเดียวกัน รูปแบบการปกครองภายในเมืองหลมสัก หลังจากเสร็จศึกเจาอนุวงศนั้น ผูเขียนเชื่อวานาจะมีการปกครองแบบ เดิม โดยที่ขุนนางกรมการเมืองมีต�ำแหนงแบบที่เคยอยูภายใตการ ปกครองของราชส�ำนักเวียงจันทน เนื่องจากมีหลักฐานการแตงตั้ง ขุนนางกรมการเมืองหลมสักในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว ป พ.ศ. ๒๔๑๙ ที่โปรดเกลาฯ ใหตั้งทาวขัติยะเปนอุปฮาด เมืองหลมสักปรากฏอยู วา “ใหทาวขัติย เปนอุปฮาดเมืองหลมศักดิ์ จงชวยพระยาสุริยวงษา เจาเมืองหลมศักดิ์คิดอานราชการบานเมือง แลฟงบังคับบัญชาเจาเมืองหลมศักดิ์แตที่เปนยุติธรรมและชอบดวย ราชการ...” (กองหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๒๑ : ๔๔)


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 33 ความสัมพันธดานศิลปกรรม ระหวางเมืองหลมสักกับราชส�ำนักลานชาง ในเขตเมืองหลมสักมีการพบหลักฐานทางศิลปกรรมหลาย อยางที่สามารถใชเปนหลักฐานประกอบการศึกษาและพิจารณา เกี่ยวกับพัฒนาการทางประวัติศาสตรของเมืองหลมสักอันเกี่ยวของ กับการเมืองและสังคมวัฒนธรรมลานชาง การศึกษาดานประวัติศาสตรศิลปะลาวของสงวน รอดบุญ (๒๕๔๕ : ๑๓๕) ในพื้นที่อ�ำเภอหลมสักและอ�ำเภอหลมเกา จังหวัด เพชรบูรณ พบวา ในลุมแมน�้ำปาสักตอนบนนั้น มีชุมชนลาวตั้งถิ่นฐาน อยูมากมาย เขาใจวาคงจะตั้งหลักแหลงอยูนานแลว อยางนอยก็เปน ชวงในระยะสมัยอยุธยาตอนปลาย สืบเนื่องมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร ตอนตน โดยเฉพาะอยางยิ่งไดพบหลักฐานจากพระธาตุหลวงลาวรูป ทรงดอกบัวตูมแปดเหลี่ยมองคหนึ่ง จากวัดทุง อ�ำเภอหลมสัก ภายใน กรุพระธาตุพบจารึกบนแผนโลหะ จารึกสังกาด ๙๗ ตัว (ตรงกับ พ.ศ. ๒๒๗๘) พรอมทั้งพระพุทธรูปบุเงินค�ำขนาดเล็ก กระโถนและเตาปูน ส�ำริดซึ่งตรงกับสมัยอยุธยาตอนปลาย ดังนั้น วัดตาง ๆ ในอ�ำเภอ หลมเกาและอ�ำเภอหลมสักจึงปรากฏพระธาตุแบบลาวกอดวยอิฐ สอดินตามรูปทรงสถาปตยกรรมของลุมแมน�้ำโขงและลุมแมน�้ำชี เปนสถาปตยกรรมที่มีแตสมัยเวียงจันทนมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร


34 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เจดียวัดทุง ซึ่งเคยมีการคนพบจารึกบนแผนโลหะ ปจจุบันอยูภายในบริเวณโรงเรียนพอขุนผาเมืองอุปถัมภ ต�ำบลบานหวาย อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 35 ผลการศึกษารูปทรงสถาปตยกรรมของพระธาตุในอ�ำเภอ หลมสักและอ�ำเภอหลมเกาขางตนยังสอดคลองกับผลการศึกษาเรื่อง “ธาตุอีสาน” ของวิโรฒ ศรีสุโร (๒๕๓๙ : ๙ - ๑๐) ที่พบวาพระธาตุ วัดศรีวิชัย วัดโพนชัย วัดตูมค�ำมณี เขตอ�ำเภอหลมสัก พระธาตุวัด ศรีฐานปยาราม และวัดทุงธงไชย เขตอ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ มีรูปแบบศิลปะสถาปตยกรรมคลายกับพระธาตุในภาคอีสานและในวัด ตาง ๆ ของลาว และสอดคลองกับการศึกษาเรื่อง “ศิลปกรรมสะทอน ความเปนชุมชนลาวในเขตอ�ำเภอหลมสัก และอ�ำเภอหลมเกา จังหวัด เพชรบูรณ” ของมณฑล ประภากรเกียรติ (๒๕๕๖) ที่พบวาเขตอ�ำเภอ หลมสัก และอ�ำเภอหลมเกา มีพระธาตุ (เจดีย) สิม (โบสถ) พระพุทธรูป และฮูปแตม (จิตรกรรม) จ�ำนวนมากที่สรางในสมัยรัตนโกสินทรแต ไดรับแรงบันดาลใจหรืออิทธิพลงานชางลาวอยางปฏิเสธไมได ในท�ำนองเดียวกัน งานการศึกษาประวัติศาสตรศิลปะของ หลวงพอใหญวัดตาล พระพุทธรูปเกาแกและส�ำคัญของอ�ำเภอหลมสัก ของจินตนา สนามชัยกุล (๒๕๕๔ : ๓๖ - ๓๘) ก็พบวาเปนพระพุทธ รูปที่ไดรับอิทธิพลศิลปะจากลานชาง และนาจะสรางขึ้นในสมัยอยุธยา ตอนตนหรือราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ - ๒๑ หากขอสันนิษฐานขางตน เปนความจริงก็สะทอนใหเห็นวาเมืองหลมสักอาจมีชาวลาวเขามาตั้ง ถิ่นฐานชานานแลว เชนเดียวกับรายงานการส�ำรวจทางโบราณคดีของศรีศักร วัลลิโภดม (๒๕๕๒ : ๑๗๔) ในเขตลุมแมน�้ำปาสักตอนบนบริเวณ อ�ำเภอหลมเกาและอ�ำเภอหลมสัก พบวาลักษณะโบราณสถานวัตถุ ลวนเปนของที่สืบเนื่องในวัฒนธรรมของพวกลาวที่อพยพจากบริเวณ


36 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ลุมแมน�้ำโขงทั้งสิ้น ชุมชนที่พบบางแหงมีวัดและเจดียขนาดใหญ แต รูปแบบทางศิลปะสถาปตยกรรมนั้นกระเดียดไปทางศิลปะแบบลานชาง ในสมัยอยุธยาตั้งแตตอนกลางลงมาเกือบทั้งนั้น สิ่งที่นาจะสะทอนให เห็นถึงความจริงในเรื่องนี้เปนอยางดีก็คือ ตามผิวดินของบริเวณชุมชน โบราณและวัดโบราณในลุมแมน�้ำปาสักตอนนี้ไมพบเศษภาชนะดินเผา เคลือบแบบสังคโลก และแบบเผาแกรงที่เรียกวาไหหินที่ผลิตจากเตา แมน�้ำนานที่มีอายุตั้งแตสมัยอยุธยาตอนตนขึ้นไป ในท�ำนองตรงขาม จะพบเศษภาชนะดินเผาแบบธรรมดาที่ปะปนอยูกับเครื่องปนดินเผา แกรงสีด�ำบาง สีเทาบาง เปนแบบที่พบในเขตอีสานตอนบนโดยทั่วไป เจดียรายทรงบัวเหลี่ยม วัดทุงธงไชย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 37 เจดียฐานสูง องคระฆังคลายทรงบัวเหลี่ยม ที่ถูกเขียนอยูบนแผนอิฐโบราณ พบในเขตต�ำบลบานหวาย อ�ำเภอหลมสัก (ปจจุบันจัดแสดงอยูที่พิพิธภัณฑ อนุสรณสถานเมืองราด อ�ำเภอหลมสัก) จากหลักฐานและขอมูลที่ผูเขียนยกมาน�ำเสนอขางตนนั้น แสดงใหเห็นวาในพื้นที่ซึ่งเคยเปนอาณาบริเวณของเมืองหลมสัก คือ เขตอ�ำเภอหลมสักและอ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ไดมีการ พบโบราณสถานและโบราณวัตถุที่คลายคลึงหรือไดรับอิทธิพลทาง วัฒนธรรมจากอาณาจักรลานชางกระจายอยูเปนจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะ อยางยิ่งเจดียและพระพุทธรูปปูนปน ตลอดจนเศษภาชนะดินเผาและ ขาวของเครื่องใชอื่น ๆ ซึ่งสอดคลองกับหลักฐานทางประวัติศาสตร ที่พบภายในทองถิ่นและจากสวนกลาง ที่แสดงใหเห็นวาเมืองหลมสัก อยูภายใตอิทธิพลทางการเมืองการปกครองและวัฒนธรรมของ อาณาจักรลานชางอยางชัดเจน หากจะกลาววาเมืองหลมสักเปนชุมชน โบราณวัฒนธรรมลานชางก็ยอมได


38 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ดังนั้น พระพุทธรูปโบราณที่พบในเขตเมืองหลมสัก คือ พื้นที่ อ�ำเภอหลมสัก และอ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ จึงลวนแตเปน พระพุทธรูปศิลปะลานชางหรือไดรับอิทธิพลศิลปะลานชางอยาง ไมอาจปฏิเสธได แมวาจะถูกสรางขึ้นเมื่อเมืองหลมสักอยูภายใตการ ปกครองของราชส�ำนักกรุงเทพฯ หลังศึกเจาอนุวงศแลวก็ตาม ซาย : เจดียทรงแปดเหลี่ยม วัดตูมค�ำมณี ต�ำบลบานหวาย อ�ำเภอหลมสัก ขวา : เจดียทรงบัวเหลี่ยม วัดโพนชัย ต�ำบลบานหวาย อ�ำเภอหลมสัก


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 39 พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสัก ในการศึกษาเรื่อง “พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสัก” ในครั้งนี้ ผูเขียนไดก�ำหนดขอบเขตของพระพุทธรูปโบราณในเขต เมืองหลมสักไววา ตองเปนพระพุทธรูปที่มีขอมูลระบุอายุการสราง มากกวา ๘๐ ปขึ้นไปหรือมีขอมูลในทองถิ่นที่เชื่อถือไดวามีการ สรางขึ้นมานานกวา ๘๐ ปมาแลว อยูในสภาพคอนขางสมบูรณ เปน พระพุทธรูปที่มีความส�ำคัญทางดานประวัติศาสตรทองถิ่น มีคุณคา ทางดานพุทธศิลป และมีความส�ำคัญทางดานวัฒนธรรมประเพณีของ คนในชุมชนนั้น ๆ ซึ่งอยูภายในบริเวณอ�ำเภอหลมสักและอ�ำเภอ หลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ จากการส�ำรวจและศึกษาเบื้องตนสามารถแยกพระพุทธรูป โบราณในเขตเมืองหลมสักออกเปน ๘ กลุม ตามลักษณะทางพุทธศิลป และวัสดุในการสราง ไดแก กลุมที่ ๑ พระพุทธรูปปูนปน ศิลปะลานชาง พุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ กลุมที่ ๒ พระพุทธรูปปูนปน ฐานสิงห พุทธศตวรรษที่ ๒๔ กลุมที่ ๓ พระพุทธรูปปูนปน ประดับลวดลายบนผาสังฆาฏิ - จีวร กลุมที่ ๔ พระพุทธรูปปูนปน ศิลปะพื้นบาน พุทธศตวรรษที่ ๒๕ กลุมที่ ๕ พระพุทธรูปโลหะ กลุมที่ ๖ พระพุทธรูปไมแกะสลัก กลุมที่ ๗ พระพุทธรูปปูนปน ฝมือชางเมืองนาน กลุมที่ ๘ พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะพิเศษ


40 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ กลุมที่ ๑ พระพุทธรูปปูนปน ศิลปะลานชาง พุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ พระพุทธรูปปูนปน ศิลปะลานชาง พุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ ถือเปนกลุมพระพุทธรูปปูนปนที่มีขนาดใหญ และเปนกลุมพระพุทธรูป ที่มีอายุเกาแกมากที่สุดที่พบในเขตเมืองหลมสัก รูปแบบทางพุทธศิลปโดยรวมของพระพุทธรูปกลุมนี้ จาก การศึกษาของมณฑล ประภากรเกียรติ (๒๕๕๖ : ๑๕๐ - ๑๕๓) พบวา มีลักษณะบางประการคลายกับพระพุทธรูปศิลปะลานชางที่หลอดวย ส�ำริดที่พบในเขตลุมแมน�้ำโขง ซึ่งอาจเปนลักษณะเดียวกับงานชางหลวง ของลานชางอยูบาง คือ เปนพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขัดสมาธิราบ พระพักตรปอม พระเนตรหรี่มองต�่ำ ขมวดพระเกศาขนาดเล็กแบบ หนามขนุน มีขอบไรพระศกเปนเสนชัดเจน พระรัศมีเปลวนิยมท�ำเปน กลีบบัวงอนซอนกัน และท�ำเปนทรงคลายกรวยมีปุมแหลมยื่นออกมา ๔ ดาน พระขนงโกงยกสูงขึ้นมาเปนสัน พระนาสิกแบน ปลายเล็ก และโดง พระกรรณใหญท�ำชอนกันหลายชั้น ในสวนของพระหัตถที่มีขนาดใหญไมสมสวนถือไดวาเปน เอกลักษณประการหนึ่งในศิลปะลานชาง รวมไปถึงการท�ำปลายสังฆาฏิ ขนาดใหญยาวจรดพระนาภี เอกลักษณเดนอีกประการหนึ่งคือ การท�ำ พระโอษฐแยมสรวลคลายกับ “ยิ้มแบบลานชาง” อันเปนรูปแบบที่ได รับการพัฒนามาจนเกิดเปนเอกลักษณเฉพาะของลานชางเอง รวมทั้ง ถือเปนแบบแผนที่ลงตัวและสมบูรณที่สุด กอนที่จะแพรกระจายไปยัง ที่ตาง ๆ จนอาจเรียกไดวาเปน “พระพุทธรูปลานชางอยางแทจริง” ก็ วาได พระพุทธรูปลักษณะเชนนี้ก�ำหนดอายุไดราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ถึงตนพุทธศตวรรษที่ ๒๔ (ศักดิ์ชัย สายสิงห, ๒๕๕๕ : ๑๙๑ - ๑๙๕)


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 41 ดังนั้น พระพุทธรูปปูนปนกลุมนี้จึงนาจะมีอายุไมเกาไปกวา ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ และคงมีอายุไมเกินพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ซึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ไปแลวการสรางพระพุทธรูปในเขตเมือง หลมสักสวนใหญเปนงานฝมือชางพื้นถิ่นและมีขนาดเล็กกวา พระพุทธรูปปูนปน ศิลปะลานชาง พุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ องค ส�ำคัญที่พบในเขตเมืองหลมสัก ไดแก ๑. พระเจาใหญวัดตาล เปนพระพุทธรูปปูนปนปางมาร วิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๒.๙๕ เมตร หันพระพักตรไปทาง ทิศตะวันตกสูแมน�้ำพุง ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายในวิหาร พระเจาใหญวัดตาล บานวัดตาล ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พระเจาใหญวัดตาลเปนที่เคารพศรัทธาของชาว หลมเกาและใกลเคียงมาโดยตลอด (จินตนา สนามชัยกุล, ๒๕๕๔ : ๓๔ - ๔๒) บริเวณวัดตาลนาจะเปนศูนยกลางของเมืองหลมสักทางฝง ตะวันออกหรือฝงซายของแมน�้ ำพุง ดังปรากฏวาพระพุทธรูปพระเจา ใหญวัดตาลเปนพระพุทธรูปปูนปนขนาดใหญที่สุดในฝงนี้ วิหารที่ ประดิษฐานพระเจาใหญวัดตาลซึ่งหันหนาไปทางทิศตะวันตกอันเปน ต�ำแหนงของแมน�้ำพุงที่ไหลผานหนาวัดยังเคยมีจิตรกรรมฝมือชาง พื้นบานที่งดงามดังปรากฏในภาพถายเกา (เอนก นาวิกมูล และธงไชย ลิขิตพรสวรรค, ๒๕๖๕ : ๖๓) เมื่อวิหารไดรับการบูรณะใหมจึงไมมี จิตรกรรมหลงเหลืออยู ปจจุบันวัดตาลยังเปนวัดส�ำคัญของชุมชน หลมเกา


42 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ นอกจากพระเจาใหญวัดตาลแลว ภายในวิหารพระเจาใหญ วัดตาลยังมีพระพุทธรูปปูนปน ปางเปดโลก จ�ำนวน ๒ องค ประทับ ยืนคูกันอยูดานขางองคพระเจาใหญวัดตาล และมีพระพุทธรูปปูนปน ปางไสยาสน ประดิษฐานอยูดานหนาพระเจาใหญวัดตาล พระพุทธรูป ปูนปนทั้งสามองคนี้โดยรวมมีรูปแบบทางพระพุทธศิลปเปนพระ พุทธรูปศิลปะลานชาง สันนิษฐานวาถูกสรางขึ้นภายหลังพระเจาใหญ วัดตาลไมนานนัก ก�ำหนดอายุราวตนพุทธศตวรรษที่ ๒๔ พระเจาใหญวัดตาล ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา


กลุมพระพุทธรูปปูนปน ศิลปะลานชาง ในวิหารพระเจาใหญวัดตาล กลุมพระพุทธรูปโบราณ ในวิหารพระเจาใหญวัดตาล จากภาพถายเกายุค ๒๔๙๐ (ที่มาภาพ : เอนก นาวิกมูล และธงไชย ลิขิตพรสวรรค, ๒๕๖๕ : ๖๓)


44 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๒. พระเจาใหญวัดศรีมงคล บานหินกลิ้ง เปนพระพุทธรูป ปูนปนปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๒.๕๐ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในสิมวัดศรีมงคล บานหินกลิ้ง ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พระเจาใหญวัดศรีมงคล ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 45 ๓. หลวงพอขาว วัดปาไชโย เปนพระพุทธรูปปูนปนปาง มารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๒ เมตร ประดิษฐานอยูภายใน วิหารวัดปาไชโย (ราง) บานวัดตาล ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ หลวงพอขาวประดิษฐานบนฐานบัวคว�่ำ - บัวหงายแบบ เอวขัน ฐานดานบนตรงมุมท�ำเปนบัวงอน ดานหนาบนฐานชุกชี เดียวกันมีพระพุทธรูปปูนปนขนาดเล็กจ�ำนวน ๔ องค ซึ่งมีลักษณะ ทางพุทธศิลปใกลเคียงกับหลวงพอขาวซึ่งเปนพระประธานในวิหาร สันนิษฐานวาพระพุทธรูปปูนปนขนาดเล็กกลุมนี้อาจจะถูกสรางขึ้น คนละชวงเวลากับการสรางพระประธาน หลวงพ่อขาว วัดป่าไชโย ต�ำบลหล่มเก่า อ�ำเภอหล่มเก่า กลุมพระพุทธรูปปูนปนในวิหารหลวงพอขาว วัดปาไชโย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา


๔. พระเจาใหญองคตื้อ วัดศรีวิชัย พระพุทธรูปปูนปนปาง มารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๓.๕๐ เมตร ประดิษฐานเปน พระประธานอยูภายในวิหารหลวงวัดศรีวิชัย บานหวาย ต�ำบลบาน หวาย อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ อาจกลาวไดวาพระเจาใหญ องคตื้อ วัดศรีวิชัย เปนพระพุทธรูปปูนปนโบราณที่มีสัดสวนขนาด ใหญที่สุดในเขตเมืองหลมสัก พระเจาใหญองคตื้อ วัดศรีวิชัย ต�ำบลบานหวาย อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 47 จากการบูรณะพระเจาใหญองคตื้อ วัดศรีวิชัย โดยกรมศิลปากร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๕ พบวาพระพุทธรูปองคนี้มีรองรอยของการลงรัก ปดทองทั่วองคพระมากอน และมีรองรอยลวดลายปูนปนประดับ บางสวนบนสวนพระเศียรและองคพระดวย สะทอนใหเห็นถึงความ รุงเรืองทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของผูคนในเขตชุมชนโบราณ บานหวายเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ ไดเปนอยางดี ภายในวิหารดานหลังพระเจาใหญองคตื้อ วัดศรีวิชัย ยังมี งานสถาปตยกรรมแบบลานชางที่เรียกวา “อูบมุง” ตั้งอยู ดานขาง อูบมุงมีชองแสงคั่นดวยลูกมะหวด สวนเรือนยอดเปนบัวเหลี่ยมและมี รองรอยการลงรักปดทอง ภายในอูบมุงประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ศิลปะลานชาง ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑ เมตร อยูในสภาพช�ำรุด สันนิษฐานวานาจะสรางขึ้นกอนพระเจาใหญองคตื้อ เล็กนอย อูบมุงและพระพุทธรูปปูนปนในอูบมุงดานหลังพระเจาใหญองคตื้อ วัดศรีวิชัย


๕. พระเจาใหญนาแซง เปนพระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๓.๕๐ เมตร ประดิษฐานเปนพระประธาน อยูภายในสิมวัดธาตุพลแพง บานนาแซง ต�ำบลนาแซง อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ เปนพระพุทธรูปที่ชาวหลมสักใหความเคารพนับถือ มากที่สุดองคหนึ่ง และหามสตรีเขาไปในพื้นที่สิมดวย ซึ่งเคยมีสตรี แอบเขาไปสักการะพระเจาใหญนาแซงภายในสิม ตอมาจึงเกิดเหตุการณ เพลิงไหมพรมและโตะหมูบูชาหนาองคพระพุทธรูป ชาวบานเชื่อวา เปนอาเพศที่เกิดจากกรณีดังกลาว (พระมหาทนงศักดิ์ สจฺจวโร, สัมภาษณ) พระเจาใหญนาแซง วัดธาตุพลแพง ต�ำบลนาแซง อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์


พระเจาใหญนาแซงมีรองรอยการลงรักปดทองทั้งองค ประทับ นั่งเสมอกับพื้นสิม โดยสิมที่ประดิษฐานพระเจาใหญนาแซงไดมีการ บูรณะและสรางใหมมาแลวถึง ๓ ครั้ง หลังแรกเปนอาคารโถง หลัง ตอมาเปนอาคารกออิฐสรางเมื่อป พ.ศ. ๒๔๗๔ สวนหลังปจจุบันสราง  เมื่อราว พ.ศ. ๒๕๔๒ (พระครูพัชรเหมคุณ, สัมภาษณ) การบูรณะ สิมแตละครั้งไดมีการบูรณะพระพุทธรูปดวย ดังปรากฏวาสวนพระ พักตรของพระเจาใหญนาแซงมีขนาดใหญไมสมสวนกับพระวรกาย และเอียงไปทางซายในปจจุบัน ๖. พระเจาใหญวัดไตรภูมิ เปนพระพุทธรูปปูนปนปางมาร วิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๗๐ เมตร ประดิษฐานเปนพระ ประธานอยูภายในสิมวัดไตรภูมิ บานสักหลง ต�ำบลสักหลง อ�ำเภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระเจาใหญวัดไตรภูมิ ต�ำบลสักหลง อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


50 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ลายฟอกค�ำและลายปูนปนที่ฐานชุกชีพระเจาใหญวัดไตรภูมิ พระพุทธรูปองคนี้มีลักษณะพิเศษคือ มีการลงรักปดทอง ทั่วทั้งองค ประทับนั่งบนฐานแบบเอวขันขนาดใหญ มีการลงรักและ ประดับลายฟอกค�ำ ฐานลางมีการประดับลายปูนปนคลายขาสิงห แตถูก ปูนหุมท�ำใหไมสามารถเห็นรูปแบบไดชัดและมีลายปูนปนรูปหนา กาลหรือราหูประดับที่ฐานดานลางขางขวา และซาย สันนิษฐานวา พระเจาใหญวัดไตรภูมินาจะสรางขึ้นในราวชวงตนพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ๗. พระเจาใหญ วัดทุงธงไชย เปนพระพุทธรูปปูนปนปาง มารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๒.๒๐ เมตร ประดิษฐานเปน พระประธานอยูภายในสิมวัดทุงธงไชย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ


Click to View FlipBook Version