พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 51 พระพุทธรูปองคนี้เดิมเปนพระพุทธรูปศิลปะลานชาง มี พุทธลักษณะใกลเคียงกับพระพุทธรูปพระเจาใหญวัดตาล และพระเจา ใหญวัดศรีมงคล บานหินกลิ้ง แตตอมาทางวัดและชุมชนไดจางชาง ชาวเมืองพะเยามาบูรณะสิม และบูรณะสวนพระพักตรของพระพุทธรูป จนท�ำใหมีพุทธศิลปคลายกับพระพุทธรูปศิลปะพื้นบานลานนา ตอมา ไดวาจางชางชาวสุโขทัยมาบูรณะโดยเฉพาะสวนพระพักตรอีกครั้ง จึงท�ำใหพระเจาใหญวัดทุงธงไชยมีลักษณะพุทธศิลปเปนแบบศิลปะ ลานชางผสมศิลปะสุโขทัย (พระครูสุธรรมพัชรศาสน, สัมภาษณ; ศุภกฤต บุญเรือง, สัมภาษณ) ซาย : พระเจาใหญวัดทุงธงไชย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ในปจจุบัน ์ ขวา : พระเจาใหญวัดทุงธงไชย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์ หลังการบูรณะโดยชางจากจังหวัดพะเยา (ที่มาภาพ : ศุภกฤต บุญเรือง)
52 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๘. พระพุทธชัยมงคล เปนพระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย ลงรักปดทองทั้งองค ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๓ เมตร ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายในสิมวัดศรีมงคล หรือวัดกลาง ต�ำบลหลมสัก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระพุทธชัยมงคลถือเปนพระพุทธรูปส�ำคัญประจ�ำเมือง หลมสัก โดยรับการอุปถัมภจากกลุมเจาเมืองและกรมการเมืองหลมสัก มาโดยตลอด ดังพบวาดานหนาสิมวัดศรีมงคลมีเจดียบรรจุอัฐิของ อดีตเจาเมืองและทายาทตั้งอยูหลายองค และสิมหลังนี้ยังถูกใชเปน ที่ถือน�้ำพระพิพัฒนสัตยาประจ�ำเมืองหลมสัก ดวยเหตุนี้จึงสันนิษฐาน วาพระพุทธชัยมงคลนาจะสรางขึ้นในราวชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ หลังการยายศูนยกลางเมืองหลมสักจากบริเวณลุมแมน�้ำพุงมายังริม ฝงแมน�้ำปาสัก พระพุทธชัยมงคล วัดศรีมงคล ต�ำบลหลมสัก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 53 สิมวัดศรีมงคล อ�ำเภอหลมสัก ถายราว พ.ศ. ๒๕๐๐ กอนรื้อเพื่อสรางสิมหลังใหม (ที่มาภาพ : เอนก นาวิกมูล และธงไชย ลิขิตพรสวรรค, ๒๕๖๕ : ๙๑)
๙. พระเจาใหญ วัดศรีสะอาด เปนพระพุทธรูปปูนปนปาง มารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๒ เมตร หันพระพักตรไปทาง ทิศตะวันตก ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายในสิมวัดศรีสะอาด บานศรีสะอาด ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระเจาใหญวัดศรีสะอาด มีพุทธลักษณะพระพักตรเรียว ขมวดพระเกศาเล็กและแหลม พระกรรณยาว พระรัศมีทรงเปลว พระโอษฐเล็ก พระนาสิกเล็ก สังฆาฏิเปนแผนใหญปลายตัดตรงจรด พระนาภี พระหัตถคอนขางใหญ ขัดสมาธิราบ พระหัตถขวาวางเหนือ พระชานุขวา สวนพระหัตถซายวางเหนือพระเพลา รูปแบบทางพุทธศิลป เชนนี้ใกลเคียงกับพระพุทธรูปปูนปนหลายองคในเขตเมืองอุบลราชธานี พระเจาใหญวัดศรีสะอาดนาจะสรางขึ้นในราวชวงปลายพุทธศตวรรษ ที่ ๒๔ หลังการยายศูนยกลางเมืองหลมสักจากบริเวณลุมแมน�้ำพุง มายังริมฝงแมน�้ำปาสัก พระเจาใหญ วัดศรีสะอาด ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 55 ๑๐. หลวงพอสามพี่นอง วัดศรีมงคล บานนาเกาะ เปน พระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย จ�ำนวน ๓ องค เดิมประดิษฐานเปน พระประธานในสิมเกาวัดศรีมงคล บานนาเกาะ ต�ำบลนาเกาะ อ�ำเภอ หลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ภายหลังมีการบูรณะและขยายสิมใหม ทางวัดจึงไดหลอพระพุทธรูปองคใหมเปนพระประธานในสิมแทน (พระครูปริยัติพัชรวิธาน, สัมภาษณ) หลวงพอสามพี่นอง เปนพระพุทธรูปปูนปนที่เคยไดรับการ บูรณะหลายครั้ง องคกลางขนาดหนาตักกวาง ๑.๕๐ เมตร สวนอีก สององคหนาตักกวาง ๑.๓๐ เมตร ปจจุบันสวนพระวรกายทาดวย สีขาว จีวรทาดวยสีทอง แตสวนพระรัศมีของหลวงพอสามพี่นองมี ลักษณะเปนทรงเปลวซึ่งไมเคยไดรับการบูรณะเลยมีความคลายคลึง กับพระรัศมีของพระเจาใหญวัดตาลและพระเจาใหญวัดไตรภูมิซึ่ง เปนพระพุทธรูปปูนปน ศิลปะลานชาง ก�ำหนดอายุราวพุทธศตวรรษ ที่ ๒๓ - ๒๔ หลวงพอสามพี่นอง วัดศรีมงคล ต�ำบลนาเกาะ อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์
56 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ รูปแบบทางพุทธศิลป หลวงพอสามพี่นอง วัดศรีมงคล ต�ำบลนาเกาะ อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์
หลวงพอจอมแจง วัดตาล ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์ ๑๒. หลวงพอจอมแจง วัดตาล เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๐๕ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในฐานสิมเกาวัดตาล บานวัดตาล ต�ำบล หลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ตามประวัติระบุวา หลวงพอจอมแจงเดิมเปนพระประธาน ในวิหารวัดจอมแจงซึ่งปจจุบันเปนวัดราง ตอมาพระสงฆและชาวบาน วัดตาลจึงไดอัญเชิญมาประดิษฐานไวที่วัดตาลเพื่อท�ำการรักษาและ สักการบูชา ตอมาจึงไดยายไปประดิษฐานเปนพระประธานในสิมเกา ของวัดตาลซึ่งเหลือเฉพาะสวนฐาน และสรางอาคารโถงครอบซากสิมไว
๑๓. พระเจาใหญ วัดศรีบุญเรือง เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ลงรักปดทอง ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๕๐ เมตร ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายในวิหารวัดศรีบุญเรือง ซึ่งเปน วัดราง ปจจุบันถูกใชงานเปนหองเรียนพระพุทธศาสนาของโรงเรียน ชุมชนบานติ้ว ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระเจาใหญวัดศรีบุญเรืองไดรับการบูรณะใหมจนท�ำให ไมปรากฏรูปแบบพุทธศิลปของพระพุทธรูปศิลปะลานชางชัดเจนนัก แตวิหารที่ประดิษฐานพระเจาใหญวัดศรีบุญเรืองแสดงใหเห็นถึง ความเปนอาคารเกาแกที่สรางมาตั้งแตชวงพุทธศตวรรษที่ ๒๔ กอน เกิดศึกเจาอนุวงศ และไดรับการบูรณะอีกครั้งในชวงตนพุทธศตวรรษ ที่ ๒๕ ดังปรากฏภาพจิตรกรรมที่สันนิษฐานวาวาดขึ้นในชวงรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (เอนก นาวิกมูล และธง ไชย ลิขิตพรสวรรค, ๒๕๖๕ : ๒๑๔) พระเจาใหญ วัดศรีบุญเรือง (ราง) ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 59 ๑๔. พระประธานในสิมวัดโพธิ์กลาง เปนพระพุทธรูปปูน ปนปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในสิมวัดโพธิ์กลาง บานจางวาง ต�ำบลลานบา อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระพุทธรูปองคนี้สวนพระวรกาย คอนขางอวบและปอม พระโอษฐเล็ก ไมสมดุลกับพระพักตร สันนิษฐาน วาสวนพระพักตรไดจะเคยไดรับการบูรณะซอมแซมมาแลว ๑๕. หลวงพอตากแดด เปนพระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๘๐ เมตร ประดิษฐานอยูภายในวิหาร จัตุรมุขภายในวัดโพนชัย ต�ำบลบานหวาย อ�ำเภอหลมสัก จังหวัด เพชรบูรณ เดิมประทับนั่งอยูกลางแจงบนซากเนินอิฐขนาดใหญ สันนิษฐานวาเคยเปนวิหารมากอน ชาวบานจึงเรียกวา “หลวงพอ ตากแดด” พระพุทธรูปองคนี้สันนิษฐานวาสรางขึ้นในชวงเวลาไลเลี่ยกับ เจดียประธานทรงบัวเหลี่ยมศิลปะลานชางซึ่งประดิษฐานอยูใกล เคียงกัน ซึ่งมีความเปนไดวานาจะอยูในชวงพุทธศตวรรษที่ ๒๒ - ๒๔ (มณฑล ประภากรเกียรติ, ๒๕๕๖ : ๙๕) แตเดิมหลวงพอตากแดดมี พระเศียรและองคพระบางสวนช�ำรุด ตอมาจึงไดรับการบูรณะซอมแซม ในภายหลัง ท�ำใหรูปแบบพุทธศิลปที่ปรากฏในปจจุบันแทบไมเหลือ รองรอยของศิลปะลานชาง
60 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ซาย : พระประธานในสิมวัดโพธิ์กลาง ต�ำบลลานบา อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ขวา : หลวงพอตากแดด วัดโพนชัย ต�ำบลบานหวาย อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ๑๖. พระประธานในสิมวัดศรีบุญเรือง บานอุมกะทาด เปนพระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑ เมตร ประดิษฐานเปนพระประธานในสิมวัดศรีบุญเรือง บานอุมกะ ทาด ต�ำบลศิลา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 61 พระประธานในสิมวัดศรีบุญเรือง บานอุมกะทาด ต�ำบลศิลา อ�ำเภอหลมเกา พระประธานในสิมวัดศรีบุญเรือง บานอุมกะทาด มีพุทธ ลักษณะและขนาดใกลเคียงกับหลวงพอจอมแจง วัดตาล ประทับนั่ง บนฐานชุกชีที่ท�ำเปนทรงเอวขันสูงประมาณ ๑.๕๐ เมตร บานอุมกะ ทาดเปนชุมชนโบราณที่อยูเหนือสุดในที่ราบลุมแมน�้ำปาสัก และ อยูในเสนทางโบราณที่สามารถเชื่อมไปยังบานเมืองในลุมแมน�้ำเลย ได พระประธานในสิมวัดศรีบุญเรือง บานอุมกะทาดจึงเปนพระพุทธ รูปศิลปะลานชางที่อยูเหนือสุดของเมืองหลมสัก
62 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ กลุมที่ ๒ พระพุทธรูปปูนปนประทับบนฐานสิงห พระพุทธรูปปูนปนประทับบนฐานสิงหถือเปนกลุมพระพุทธรูป ปูนปนกลุมส�ำคัญอีกกลุมหนึ่งที่พบเฉพาะในเขตเมืองหลมสักและ เมืองดานซาย รูปแบบทางพุทธศิลปโดยรวมของพระพุทธรูปกลุมนี้ มีพุทธลักษณะพระพักตรเรียว ขมวดพระเกศาเล็กและแหลม พระกรรณยาว พระรัศมีทรงเปลว พระโอษฐเล็ก พระนาสิกเล็ก สังฆาฏิเปนแผนใหญ ปลายตัดตรงจรดพระนาภี พระหัตถคอนขางใหญ ขัดสมาธิราบ พระ หัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวนพระหัตถซายวางเหนือพระเพลา สวนใหญลงรักปดทองทั้งองค ลักษณะโดดเดนของพระพุทธรูปปูนปนกลุมนี้คือการประทับ นั่งบนฐานขาสิงห ประดับดวยซุมหนามุขและประตูหลอก ๓ ดาน สวนใหญมีการลงรักและลงลายฟอกค�ำอยางงดงาม จากการศึกษา ของมณฑล ประภากรเกียรติ (๒๕๕๖ : ๑๕๕) พบวารูปแบบของขาสิงห มีนองสิงหท�ำเปนวงโคงหยักเชนเดียวกันขาสิงหวัดพระศรีสรรเพชญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในสมัยอยุธยาตอนกลาง และเปนรูปแบบ เดียวกับขาสิงหในศิลปะลานชางที่พบตัวอยางที่ขาสิงหของธาตุทรง บัวเหลี่ยมภายในถ�้ำสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวล�ำภู ราวตนพุทธศตวรรษที่ ๒๓ และยังคงนิยมอยางตอเนื่องในขาสิงหประดับฐาน ธาตุหรือการท�ำลายฉลุฐานพระพุทธรูปหลายองค
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 63 สวนแขงสิงหที่เพรียวนั้นเปนลักษณะแขงสิงหสมัยอยุธยา ตอนปลายจนถึงสมัยรัตนโกสินทรตอนตน สวนแนวนอนเหนือทอง สิงหคือหลังสิงหคลี่คลายเปนสันที่เอนลาดจนเปนบัวคว�่ำ แตบัวคว�่ำ ดังกลาวมีลักษณะตวัดปลายขึ้นหรือที่เรียกวา “บัวงอน” อันเปน เอกลักษณในศิลปะลานชาง รูปแบบที่คลี่คลายของขาสิงหที่เพรียว เล็กและหลังสิงหแบบลาดเอนเชนนี้ นาจะมีอายุหลังจากสมัยอยุธยา ตอนปลายแลว และอาจรวมสมัยกับกรุงรัตนโกสินทรตอนตนราว พุทธศตวรรษที่ ๒๔ จากการส�ำรวจของผูเขียนพบวาฐานพระพุทธรูปลักษณะ เชนนี้พบเฉพาะในเขตเมืองหลมสักและเมืองดานซายซึ่งอยูใกลเคียง กัน สันนิษฐานวา ฐานขาสิงห ประดับดวยซุมหนามุขและประตูหลอก ๓ ดาน นาจะไดรับแรงบันดาลใจหรืออิทธิพลจากฐานพระพุทธรูป พระเจาใหญ พระประธานในวิหารหลวงวัดโพนชัย ต�ำบลดานซาย อ�ำเภอดานซาย จังหวัดเลย พระเจาใหญ วัดโพนชัย เปนพระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๒ เมตร รูปแบบพุทธศิลปโดยรวมเปน พระพุทธรูปศิลปะลานชาง ฝมือชางทองถิ่น ก�ำหนดอายุราวพุทธ ศตวรรษที่ ๒๒ - ๒๓ (ธีระวัฒน แสนค�ำ, ๒๕๖๑ : ๓๔ - ๓๕) ประทับ นั่งบนฐานชุกชีขนาดใหญ ประดับดวยซุมหนามุขและประตูหลอก ๓ ดาน แตรูปแบบของฐานยังไมมีการขึ้นรูป หรือตกแตงเปนลักษณะ ขาสิงห จึงอาจกลาวไดวาเปนตนแบบของพระพุทธรูปที่ประทับนั่ง บนฐานขาสิงห ประดับดวยซุมหนามุขและประตูหลอก ๓ ดาน กอน ที่จะมีการตกแตงเปนรูปขาสิงหชัดเจนก็วาได
64 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ฐานพระพุทธรูปพระเจาใหญ วัดโพนชัย ต�ำบลดานซาย อ�ำเภอดานซาย จังหวัดเลย นอกจากนี้ ในเขตเมืองดานซายยังมีพระพุทธรูปที่ประทับ นั่งบนฐานสิงหอีกจ�ำนวน ๓ องค ไดแก พระประธานในวิหารหลวง วัดศรีภูมิ บานนาหอ พระประธานในวิหารหลวงวัดศรีบุญเรือง บาน นาฮี และพระประธานในวิหารหลวงวัดโพธิ์ศรี บานนาดี (ธีระวัฒน แสนค�ำ, ๒๕๖๐ : ๒๔ - ๓๔)
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 65 ๑ : พระประธานในวิหารหลวง วัดศรีภูมิ บานนาหอ ต�ำบลนาหอ อ�ำเภอดานซาย จังหวัดเลย ๒ : พระประธานในวิหารหลวง วัดศรีบุญเรือง บานนาฮี ต�ำบลนาหอ อ�ำเภอดานซาย จังหวัดเลย ๓ : พระประธานในวิหารหลวง วัดโพธิ์ศรี บานนาดี ต�ำบลนาดี อ�ำเภอดานซาย จังหวัดเลย ๑. ๒. ๓.
66 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ความนาสนใจอีกอยางหนึ่งของฐานพระพุทธรูปกลุมนี้ที่พบ ในเขตเมืองหลมสัก คือที่ฐานพระพุทธรูปจะมีการประดับลวดลายที่ เรียกวา “ลายฟอกค�ำ” ซึ่งเปนงานศิลปกรรมที่ถือเปนเอกลักษณ อีกอยางหนึ่งของศิลปะลาวลานชาง ลายฟอกค�ำคือภาพที่เขียนเปน ลายทองซึ่งคลายคลึงกับงานศิลปะในลานนา หรือในภาคเหนือของ ไทยที่เรียกวา “ลายค�ำ” ลายฟอกค�ำ คือ การลงรักสีด�ำและแดงที่พื้น แลวปดทองลง ไปที่ตัวลวดลายคลายกับลายรดน�้ำ จะตางกันตรงกรรมวิธี ลายฟอก ค�ำจะมีการท�ำแบบลวดลายลงบนแผนกระดาษกอน แลวตัดหรือฉลุ โปรงเปนตัวลาย ตอจากนั้นจึงน�ำขึ้นไปทาบกับผนังที่ทารักไวกอน แลวจึงปดทองบริเวณที่ฉลุลายไว สุดทายก็จะไดลวดลายตามตองการ (ศักดิ์ชัย สายสิงห, ๒๕๕๕ : ๒๘๒) ลายฟอกค�ำฐานชุกชีหลวงพอใหญ พระประธานในสิมวัดศิลามงคล
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 67 ลายฟอกค�ำฐานชุกชี พระประธานในพระวิหารวัดไพรสณฑศักดาราม ซึ่งปจจุบันอยูในสภาพช�ำรุดอยางมาก ผลการศึกษาของผูเขียนท� ้ำใหได้ข้อสังเกตและข ้ อสันนิษฐาน ้ ว่าพระพุทธรูปในเขตเมืองหล่มสักที่ประทับนั่งบนฐานขาสิงห์น่าจะ มีการประดับลายฟอกค�ำที่ฐานแทบทุกองค์ เนื่องจากปรากฏข้อมูล ในปจจุบันว ั าฐานพระพุทธรูปในกลุ ่ มนี้ที่ยังไม ่ ได่ รับการบูรณะซ ้อมแซม ่ ได้แก่ พระประธานในพระวิหารวัดไพรสณฑ์ศักดาราม พระประธาน ในสิมวัดศิลามงคล และพระประธานในวิหารวัดโพธิ์ทอง ปัจจุบันยัง คงปรากฏลายฟอกค�ำที่ฐานให้เห็นอย่างชัดเจน ส่วนพระพุทธรูปที่ ได้รับการบูรณะซ่อมแซมฐานใหม่หลายองค์ก็ยังมีค�ำบอกเล่าว่าที่ ฐานเดิมเคยมีลายทองประดับอยู่ พระพุทธรูปที่ประทับนั่งบนฐาน ขาสิงห์ในเขตเมืองด่านซ้ายก็มีร่องรอยการประดับลายฟอกค�ำที่ฐาน ทุกองค์เช่นกัน (ธีระวัฒน์ แสนค�ำ, ๒๕๖๐ : ๒๔ - ๓๔)
เมื่อพิจารณาจากหลักฐานและบริบทที่เกี่ยวของ พระพุทธรูป ปูนปนกลุมนี้จึงนาจะมีอายุไมเกาไปกวาปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ และ คงมีอายุไมเกินพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ซึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ไปแลว ซึ่งการสรางพระพุทธรูปในเขตเมืองหลมสักสวนใหญเปนงานฝมือ ชางพื้นถิ่นและมีขนาดเล็กกวา พระพุทธรูปปูนปนซึ่งรองรับดวยฐานสิงห พุทธศตวรรษที่ ๒๔ องคส�ำคัญที่พบในเขตเมืองหลมสัก ไดแก ๑. พระประธานในวิหารวัดโพธิ์ทอง เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๔๐ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในวิหารวัดโพธิ์ทอง บานน�้ำครั่ง ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พระประธาน ในวิหารวัดโพธิ์ทอง บานน�้ำครั่ง ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 69 พระประธานในวิหารวัดโพธิ์ทอง มีพุทธลักษณะพระพักตร ปอมกลม พระเนตรเปดมองตรง ขมวดพระเกศาเล็กและแหลม พระ รัศมีขนาดใหญทรงเปลว พระโอษฐเล็ก ริมฝพระโอษฐลางหนา พระ นาสิกใหญและมีสันพระนาสิก สังฆาฏิเปนแผนใหญปลายตัดตรงจรด พระนาภี พระหัตถคอนขางใหญ พระวรกายคอนขางอวบไมสมสวน ขัดสมาธิราบ พระหัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวนพระหัตถซาย วางเหนือพระเพลา ลักษณะพุทธศิลปเชนนี้เปนรูปแบบที่ถูกจัดเปน พระพุทธรูปศิลปะพื้นบานที่เปนงานชางพื้นบานลาว - อีสานอยาง แทจริง ซึ่งรูปแบบเชนนี้มีอายุราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ถึงตน พุทธศตวรรษที่ ๒๔ (มณฑล ประภากรเกียรติ, ๒๕๕๖ : ๑๕๓) รูปแบบฐานชุกชีพระประธานในวิหารวัดโพธิ์ทอง ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์
70 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ สวนวิหารวัดโพธิ์ทองซึ่งเปนที่ประดิษฐานพระประธานองคนี้ จากการศึกษาของนฤมล กางเกตุ (๒๕๕๖ : ๑๐๑ - ๑๑๑) เปนอาคาร ที่มีลักษณะคลายคลึงกับรูปแบบสิมในศิลปะลานชาง เชน แผนผัง อาคารเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กอฐานสูงแบบแอวขันหรือเอวขัน ผนัง กอทึบทั้งสี่ดาน ดานขางมีชองแสงดานละ ๒ ชอง มีประตูทางเขา เพียงดานหนาดานเดียว ผนังดานนอกมีแขนนางหรือคันทวยแกะสลัก พระประธานในพระวิหาร วัดไพรสณฑศักดาราม ต�ำบลวัดปา อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
ไมรูปนาคที่มีความงดงาม วิหารหลังนี้มีอายุราว ๒๐๐ ป สอดคลอง กับรูปแบบพุทธศิลปของพระพุทธรูปประธานภายในวิหาร วิหารหลังนี้ เดิมเคยถูกเรียกวา “สิม” ดวยเขาใจวาเปนสิมเกาหรือสิมเกาของวัด โพธิ์ทอง แตแทจริงแลวสิมหลังเกาของวัดโพธิ์ทองตั้งอยูทางทิศใต เยื้องไปดานหลังของวิหาร ตอมาถูกรื้อและสรางสิมหลังใหมครอบทับ จึงท�ำใหเกิดการเขาใจผิดวาวิหารหลังนี้เปนสิมเกาของวัดโพธิ์ทอง ๒. พระประธานในพระวิหารวัดไพรสณฑศักดาราม เปน พระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย ลงรักปดทอง ขนาดหนาตักกวาง ประมาณ ๑.๖๕ เมตร ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายในพระวิหารวัดไพรสณฑศักดาราม พระอารามหลวง ต�ำบลวัดปา อ�ำเภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระประธานในพระวิหารวัดไพรสณฑศักดาราม มีพุทธลักษณะพระพักตรเรียว ขมวดพระเกศาเล็กและแหลม พระกรรณยาว พระรัศมีทรงเปลว พระโอษฐเล็ก พระนาสิกเล็ก สังฆาฏิเปนแผนใหญ ปลายตัดตรงจรดพระนาภี พระหัตถคอนขางใหญ ขัดสมาธิราบ พระหัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวนพระหัตถซายวางเหนือ พระเพลา ลงรักปดทองทั้งองค รูปแบบเชนนี้เปรียบเทียบไดกับ พระพุทธรูปพื้นบานในภาคอีสาน เชน พระเจาใหญอินทรแปลง วัด มหาวนาราม จังหวัดอุบลราชธานี (มณฑล ประภากรเกียรติ, ๒๕๕๖ : ๑๕๑ - ๑๕๒) สันนิษฐานวาพระประธานในพระวิหารวัดไพรสณฑ ศักดารามนาจะสรางขึ้นในราวชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ หลัง การยายศูนยกลางของเมืองหลมสักจากบริเวณลุมแมน�้ำพุงมายังริม ฝงแมน�้ ำปาสัก
72 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๓. หลวงพอใหญ วัดศิลามงคล เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ลงรักปดทอง ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๕๐ เมตร หันพระพักตรไปทางทิศตะวันตกสูแมน�้ำพุง ประดิษฐานเปนพระประธาน อยูภายในสิมวัดศิลามงคล บานหินฮาว ต�ำบลหินฮาว อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ เปนที่เคารพศรัทธาของชาวบานหินฮาวและใกลเคียง เปนอยางมาก หลวงพอใหญวัดศิลามงคลมีลักษณะพุทธศิลปโดยรวม ใกลเคียงกับพระประธานในพระวิหารวัดไพรสณฑศักดาราม แตกตาง เฉพาะสวนพระพักตรที่คอนขางเรียวเปนรูปไข ซึ่งมีความเปนไปไดวา มีการซอมสวนพระพักตรในสมัยหลัง เนื่องจากสิมที่ประดิษฐาน หลวงพอใหญหลังเดิมซึ่งมีรูปแบบศิลปกรรมใกลเคียงกับวิหารวัด โพธิ์ทอง บานน�้ำครั่ง ถูกรื้อถอนและมีการสรางสิมหลังใหมครอบทับ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๓ (พระครูมงคลสีลาจารย, สัมภาษณ) ซึ่งอาจมีการ ซอมแซมสวนพระพักตรบางสวนของหลวงพอใหญดวย เมื่อพิจารณาจากหลักฐานที่ปรากฏหลวงพอใหญวัดศิลา มงคลนาจะสรางขึ้นในชวงเวลาใกลเคียงกันกับพระประธานในวิหาร วัดโพธิ์ทอง และพระประธานในพระวิหารวัดไพรสณฑศักดาราม
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 73 หลวงพอใหญ วัดศิลามงคล ต�ำบลหินฮาว อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์ ลักษณะฐานชุกชี หลวงพอใหญ วัดศิลามงคล ต�ำบลวัดปา อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
พระเจาใหญ วัดอรุณญาศรี บานสักงอย ต�ำบลวัดปา อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ลักษณะฐานชุกชี พระเจาใหญ วัดอรุณญาศรี ต�ำบลวัดปา อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 75 ๔. พระเจาใหญ วัดอรุณญาศรี เปนพระพุทธรูปปูนปนปาง มารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๑๕ เมตร หันพระพักตรไป ทางทิศตะวันตกดานแมน�้ำปาสัก ประดิษฐานเปนพระประธานอยู ภายในสิมวัดอรุณญาศรี บานสักงอย ต�ำบลวัดปา อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระเจาใหญวัดอรุณญาศรีมีพุทธลักษณะพระพักตรเรียว พระเนตรเปดมองตรง ขมวดพระเกศาเล็กและแหลม พระกรรณยาว พระรัศมีทรงคลายกรวยมีปุมแหลมยื่นออกมา ๓ ดาน ดานหนาท�ำเปน สัญลักษณอุณาโลม พระโอษฐเล็ก พระนาสิกเล็ก สังฆาฏิเปนแผนใหญ ปลายตัดตรงจรดพระนาภี พระหัตถคอนขางใหญ พระวรกายคอนขาง อวบไมสมสวน ขัดสมาธิราบ พระหัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวน พระหัตถซายวางเหนือพระเพลา ประทับนั่งบนฐานขาสิงห ประดับ ดวยซุมหนามุขและประตูหลอก ๓ ดาน แตไดรับการบูรณะซอมแซม ใหมท�ำใหไมปรากฏรองรอยลายฟอกค�ำ (พระอมรรัตน อมโร, สัมภาษณ) พระเจาใหญวัดอรุณญาศรีนาจะสรางขึ้นในราวชวงปลายพุทธศตวรรษ ที่ ๒๔ หลังการยายศูนยกลางเมืองหลมสักจากบริเวณลุมแมน�้ำพุง มายังริมฝงแมน�้ำปาสัก
๕. พระเจาใหญ วัดทุงจันทรสมุทร เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๒.๒๐ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในสิมเกาวัดทุงจันทรสมุทร ถนนสุริยะวงษา ต�ำบลหลมสัก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระเจาใหญวัดทุงจันทรสมุทรประทับนั่งบนฐานสิงหซึ่งดู ไมสมดุลนัก เมื่อพิจารณาจากหลักฐานตาง ๆ พบวาพระพุทธรูปองคนี้ ไมไดเปนพระพุทธรูปองคแรกที่สรางขึ้นเพื่อประดิษฐานบนฐานชุกชีนี้ เดิมพระประธานมีขนาดเล็ก ตอมาไดมีการบูรณะสิมใหมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๙ แลวเสร็จ พ.ศ. ๒๔๘๑ (พระครูโกศลพัชราศัย, สัมภาษณ) จึง ไดมีการสรางพระพุทธรูปองคใหมครอบพระประธานองคเดิมที่นาจะ สรางขึ้นในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ พรอมกับพระประธานใน พระวิหารวัดไพรสณฑศักดารามซึ่งอยูไมหางกันมากนัก ในการบูรณะ พระประธานยังไดมีการปดกระจกสีที่ฐานชุกชีประดับแทนลายฟอก ค�ำเดิมดวย พระเจาใหญ วัดทุงจันทรสมุทร ต�ำบลหลมสัก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
ลักษณะฐานชุกชี พระประธานในสิม วัดศรีมงคล ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์ ๖. พระประธานในสิมวัดศรีมงคล บานนาทราย เปนพระ พุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๒๐ เมตร ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายในสิมวัดศรีมงคล บานนาทราย ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พระประธานในสิมวัดศรีมงคล บานนาทราย ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์
78 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ พระประธานในสิมวัดศรีมงคล บานนาทราย มีความแตกตาง จากพระพุทธรูปองคอื่นในกลุมเดียวกันคือ ประทับนั่งบนฐานชุกชีที่ ยกสูงขึ้นกวา ๑.๕๐ เมตร ไมมีการประดับดวยซุมหนามุขและประตู หลอก ๓ ดาน แตมีลักษณะเปนฐานสิงห สวนหนากระดานคอดเล็ก ประดับลูกแกวอกไกหรือที่เรียกวาทรงเอวขัน ดานหนาฐานบริเวณ สวนลางประดับลวดลายปูนปนเปนรูปราหูอมจันทร (นฤมล กางเกตุ, ๒๕๕๖ : ๘๗) ทั้งนี้อาจเปนเพราะพื้นที่ภายในสิมมีจ�ำกัด ทั้งตัวอาคาร คอนขางยืดสูง จึงมีการสรางฐานพระประธานใหสูงขึ้นเพื่อความสมดุล กับอาคาร และมีความเปนไปไดวาการสรางพระประธานฐานสูงเชนนี้ อาจไดรับอิทธิพลรูปแบบศิลปกรรมจากราชส�ำนักกรุงเทพฯ ในชวง ตนกรุงรัตนโกสินทรก็เปนได มณฑล ประภากรเกียรติ (๒๕๕๖ : ๑๕๑ - ๑๕๓) วิเคราะห วาพระประธานในสิมวัดศรีมงคล บานนาทราย นาจะมีอายุไมเกาไป กวาปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ และคงมีอายุไมเกินพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ในขณะที่พิพัฒน กระแจะจันทร ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ใหความเห็นวา พระประธานในสิมรวมถึงสิมวัดศรีมงคล นาจะถูกสรางขึ้นในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ หลังจากที่ศูนยกลาง เมืองหลมสักถูกเผาในศึกเจาอนุวงศ หลังสงครามสิ้นสุดลงบริเวณบาน นาทรายนาจะถูกใชเปนศูนยกลางของเมืองหลมสักกอนที่จะยายลง ไปอยูริมแมน�้ำปาสัก เนื่องจากภาพจิตรกรรมภายในสิมวัดศรีมงคล สะทอนใหเห็นถึงอิทธิพลศิลปะสมัยตนกรุงรัตนโกสินทรอยางชัดเจน และการเขียนภาพจิตรกรรมดังกลาวนาจะไดรับการอุปถัมภจากเจา เมืองและราชส�ำนักกรุงเทพฯ ดวย (พิพัฒน กระแจะจันทร, สัมภาษณ)
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 79 กลุมที่ ๓ พระพุทธรูปปูนปนประดับลวดลายบนผาสังฆาฏิ-จีวร พระพุทธรูปปูนปนประดับลวดลายบนผาสังฆาฏิ-จีวร ถือเปน กลุมพระพุทธรูปปูนปนที่นาสนใจอีกกลุมหนึ่ง เนื่องจากพระพุทธรูป ที่มีพุทธลักษณะเชนนี้สวนใหญพบเฉพาะในเขตเมืองหลมสัก และ ชุมชนโบราณในลุมแมน�้ำเลยและลุมแมน�้ำโขงในทองที่จังหวัดเลย เทานั้น (ดู ธีระวัฒน แสนค�ำ, ๒๕๖๑ : ๖ - ๒๙) พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสักที่สรางดวยวัสดุปูนปน ประดับลวดลายที่งดงามบนผาสังฆาฏิหรือผาจีวร จะมีพุทธลักษณะ แตกตางกันออกไปตามฝมือชาง แตพระพุทธรูปทุกองคจะมีรูปแบบ พุทธศิลปรวมกันคือมีการประดับตกแตงลวดลายบนผาสังฆาฏิ จีวร และรัดประคด จากการส�ำรวจของผูเขียนในเขตอ�ำเภอหลมสักและ อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พบพระพุทธรูปปูนปนประดับลวด ลายบนผาสังฆาฏิ-จีวร ดังนี้ ๑. พระเจาใหญหลักค�ำ วัดศรีภูมิ เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ลงรักปดทอง ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๒ เมตร หัน พระพักตรไปทางทิศตะวันตก ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายใน วิหารหลวงวัดศรีภูมิ บานติ้ว ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัด เพชรบูรณ พระเจาใหญหลักค�ำ วัดศรีภูมิ ถือเปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบานติ้วและละแวกใกลเคียงใหความเคารพศรัทธาเปนอยาง มาก (พระครูสิริพัชรากร, สัมภาษณ)
พระเจาใหญหลักค�ำ วัดศรีภูมิ มีพุทธลักษณะเปนพระพุทธ รูปทรงเครื่อง พระพักตรใหญและเรียว พระกรรณใหญ ไรพระศกตัดตรง พระขนงโกง ขมวดพระเกศาเล็ก แหลมและถี่ พระรัศมีขนาดใหญทรง กรวยแหลม พระโอษฐเล็ก พระนาสิกใหญและมีสันพระนาสิก พระ หัตถคอนขางใหญไมสมสวนกับพระกร ขัดสมาธิราบ พระหัตถขวา วางเหนือพระชานุขวา สวนพระหัตถซายวางเหนือพระเพลา ลงรัก ปดทองทั้งองค บริเวณผาสังฆาฏิ รัดประคด พระอุระ และขอบจีวร มีการท�ำลวดลายปูนปนและรักปนเปนลายพันธุพฤกษาประดับอยาง งดงาม ซาย : พระเจาใหญหลักค�ำ วัดศรีภูมิ ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ขวา : ลวดลายบนเครื่องทรงประดับพระวรกายพระเจาใหญหลักค�ำ วัดศรีภูมิ ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 81 วิหารหลวงวัดศรีภูมิ บานติ้ว จากภาพถายเมื่อราว พ.ศ. ๒๔๕๐ (ที่มาภาพ : เอนก นาวิกมูล และธงไชย ลิขิตพรสวรรค, ๒๕๖๕ : ๕๙) เมื่อพิจารณาจากพุทธลักษณะที่ปรากฏ สันนิษฐานวาพระ เจาใหญหลักค�ำ วัดศรีภูมิ นาจะสรางขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ ๒๔ เนื่องจากมีพุทธลักษณะและการประดับลวดลายปูนปนในรูปแบบ ใกลเคียงกับพระพุทธรูปประธานทรงเครื่องในวิหารหลวงวัดใหม สุวรรณภูมาราม เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว ซึ่งในภาษาลาว เรียกวา “พระเอ” (ประภัสสร ชูวิเชียร, ๒๕๕๗: ๑๒๗; วรลัญจก บุณยสุรัตน, ๒๕๕๕ : ๑๓๕) นอกจากนี้ วิหารที่ประดิษฐานพระเจาใหญหลักค�ำ วัดศรีภูมิ ยังเคยเปนวิหารเกาแกศิลปะลานชางซึ่งมีรูปแบบศิลปกรรมใกลเคียง กับสิมหรือสิมวัดเชียงทอง เมืองหลวงพระบาง (เอนก นาวิกมูล และ ธงไชย ลิขิตพรสวรรค, ๒๕๖๕ : ๕๙) กอนที่จะไดรับการบูรณะเปน อาคารแบบปจจุบันในราวชวงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ซึ่งสะทอน ใหเห็นวาพระเจาใหญหลักค�ำ วัดศรีภูมิ อาจไดรับอิทธิพลการประดับ ลวดลายบนองคพระมาจากเมืองหลวงพระบางก็เปนได
82 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๒. พระประธานองคเกาในสิมวัดศรีฐานปยาราม เปนพระ พุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๓๐ เมตร ประดิษฐานอยูภายในสิมวัดศรีฐานปยาราม บานวังบาล ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พระประธานองคเกาในสิมวัดศรีฐานปยาราม ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 83 พระประธานองคเกาในสิมวัดศรีฐานปยารามมีพุทธลักษณะ พระพักตรคอนขางกลมใหญ พระกรรณใหญและกาง ไรพระศกโคง เล็กนอย พระขนงโกง ขมวดพระเกศาเล็กและถี่ พระรัศมีขนาดใหญ ทรงกรวยแหลม พระโอษฐเล็ก พระนาสิกใหญและมีสันพระนาสิก พระหัตถคอนขางใหญไมสมสวนกับพระกร ขัดสมาธิราบ พระหัตถ ขวาวางเหนือพระชานุขวา สวนพระหัตถซายวางเหนือพระเพลา บริเวณผาสังฆาฏิ รัดประคด และขอบจีวรมีการท�ำลวดลายปูนปน เปนลายพันธุพฤกษาประดับ กลางฝาพระบาทขวามีการท�ำเปนรูป ธรรมจักร พุทธลักษณะเชนนี้เปนรูปแบบที่ถูกจัดเปนพระพุทธรูป ศิลปะลานชาง ที่เปนงานฝมือชางพื้นบานอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ๓. พระประธานในสิมวัดโพธิ์ทอง เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๓๐ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในสิมวัดโพธิ์ทอง บานน�้ำครั่ง ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พระประธานในสิมวัดโพธิ์ทองมีพุทธลักษณะพระพักตร คอนขางกลมใหญ พระกรรณใหญและกาง ไรพระศกโคงเล็กนอย พระขนงโกง ขมวดพระเกศาเล็กและถี่ พระรัศมีขนาดใหญทรงเปลว พระโอษฐเล็ก พระนาสิกเล็ก พระหัตถคอนขางใหญไมสมสวนกับ พระกร ขัดสมาธิราบ พระหัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวนพระ หัตถซายวางเหนือพระเพลา บริเวณผาสังฆาฏิ พระศอ รัดประคด และขอบจีวรมีการท�ำลวดลายปูนปนประดับ
84 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ พุทธลักษณะเชนนี้เปนรูปแบบทางพุทธศิลปที่ใกลเคียงกับ พระพุทธรูปปูนปนที่ประทับนั่งบนฐานสิงหอยางมาก ในขณะเดียวกัน ฐานชุกชีที่ประดิษฐานพระประธานองคนี้ในปจจุบันก็มีการท�ำเปน ฐานสิงห การประดับดวยซุมหนามุขและประตูหลอก ๓ ดาน เชน เดียวกับฐานพระประธานในวิหารวัดโพธิ์ทอง แตไมปรากฏหลักฐาน ชัดเจนวาเปนฐานเดิมหรือฐานใหมที่ท�ำขึ้นพรอมการสรางสิมเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ ในเบื้องตนผูเขียนจึงจัดเปนกลุมพระพุทธรูปที่มีการ ประดับลวดลายบนสังฆาฏิและจีวร พระประธานในสิมวัดโพธิ์ทอง จึงนาจะมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๔ รวมสมัยกับพระประธานใน วิหารวัดโพธิ์ทอง ลักษณะฐานชุกชีพระประธานในสิมวัดโพธิ์ทอง ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 85 พระประธานในสิมวัดโพธิ์ทอง บานน�้ำครั่ง ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์
86 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ กลุมที่ ๔ พระพุทธรูปปูนปน ศิลปะพื้นบาน พุทธศตวรรษที่ ๒๕ พระพุทธรูปปูนปน ศิลปะพื้นบาน พุทธศตวรรษที่ ๒๕ เปน พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสักที่สรางดวยวัสดุปูนปน สวนใหญ ไมปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับการสรางที่ชัดเจน รูปแบบทางพุทธศิลป มีลักษณะผสมผสานระหวางศิลปะลานชางกับศิลปะรัตนโกสินทรสราง ขึ้นโดยฝมือชางในทองถิ่น ในการศึกษาครั้งนี้ผูเขียนจึงเรียกวา “ศิลปะ พื้นบาน” พระพุทธรูปกลุมนี้สวนใหญจะมีพุทธลักษณะพระพักตร ๒ แบบ คือ พระพักตรปอม (คอนขางกลม) และพระพักตรคอนขาง เรียวเล็ก พระกรรณไมใหญซอนกันหลายชั้น ไรพระศกโคงเล็กนอย ขมวดพระเกศาเล็กและถี่ พระรัศมีนิยมท�ำเปนทรงคลายกรวยและ ทรงเปลว พระโอษฐเล็ก ริมฝพระโอษฐลางหนา พระนาสิกเล็ก มี พระวรกายที่คอนขางอวบไมสมสวน ปลายสังฆาฏิสวนใหญตัดตรง พระกรและพระหัตถคอนขางใหญ ขัดสมาธิราบ พระหัตถขวาวาง เหนือพระชานุขวา สวนพระหัตถซายวางเหนือพระเพลา รูปแบบพุทธศิลปเชนนี้ถูกจัดเปนพระพุทธรูปศิลปะพื้นบาน เชนเดียวกับพระพุทธรูปที่พบในภาคอีสานที่เปนงานชางพื้นบาน อยางแทจริง กลาวคือจะมีลักษณะเฉพาะของแตละทองถิ่น อาจเปน ชาวบานที่รวมกันสรางเพื่อถวายวัด หรือชางในทองถิ่นละแวกใกลเคียง โดยพุทธลักษณะเฉพาะแตละองคผันเปลี่ยนไปตามฝมือเชิงชางผูสราง ซึ่งพระพุทธรูปในรูปแบบดังกลาวแพรหลายในชวงพุทธศตวรรษที่ ๒๕ จนถึงปจจุบัน (มณฑล ประภากรเกียรติ, ๒๕๕๖ : ๑๕๓; ศักดิ์ชัย สายสิงห, ๒๕๕๕ : ๒๑๓ - ๒๑๕)
พระพุทธรูปปูนปน ศิลปะพื้นบาน พุทธศตวรรษที่ ๒๕ มี การพบกระจายอยูตามวัดตาง ๆ ซึ่งเปนวัดประจ�ำชุมชนที่มีอายุการ ตั้งชุมชนเกาแกราว ๑๐๐ ป ทั้งในเขตอ�ำเภอหลมสัก และอ�ำเภอ หลมเกา เชน ๑. พระเจาใหญศักดิ์สิทธิ์ วัดโสมนัส เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๕๐ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานในวิหารภายในวัดโสมนัส บานสมเลาใต ต�ำบล บานโสก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระเจาใหญศักดิ์สิทธิ์ วัดโสมนัส ต�ำบลบานโสก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
เดิมนั้นพระเจาใหญศักดิ์สิทธิ์เคยประดิษฐานเปนพระประธาน ภายในสิมวัดโสมนัส ตอมามีการรื้อสิมหลังเกาเพื่อสรางสิมหลังใหม ขึ้นในบริเวณเดียวกันเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖ จึงถูกยายออกมาประดิษฐาน ไวนอกสิมหลังใหม เพื่อใหชาวบานสามารถเขาสักการะขอพรไดอยาง สะดวก เนื่องจากพระพุทธรูปองคนี้เปนที่เคารพศรัทธาอยางมากของ ชาวบาน (พระอธิการจ�ำลอง ธมฺมรกฺขิโต, สัมภาษณ) ๒. หลวงปูธรรม วัดศรีษะเกตุ เปนพระพุทธรูปปูนปน ปาง มารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑ เมตร ประดิษฐานเปนพระ ประธานอยูภายในสิมเกาวัดศรีษะเกตุ บานโสก ต�ำบลบานโสก อ�ำเภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ หลวงปูธรรมถือเปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบานโสกและละแวกใกลเคียงใหความเคารพศรัทธาเปนอยาง มาก (พระนพดล สุทฺธิธมฺโม, สัมภาษณ) หลวงปูธรรม วัดศรีษะเกตุ ต�ำบลบานโสก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
๓. หลวงปูเดิม วัดโพธิ์ศรีสองคร เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๗๕ เซนติเมตร ประดิษ ฐานเปนพระประธานอยูภายในสิมเกาวัดโพธิ์ศรีสองคร บานทากกโพธิ์ ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ หลวงปูเดิมถือ เปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบานทากกโพธิ์ใหความเคารพศรัทธา เปนอยางมาก เหตุที่ไดชื่อวา “หลวงปูเดิม” นั้นมาจากเปนพระพุทธรูป เกาแกองคเดิมคูกับวัดมาตั้งแตแรกสรางวัด (พระมหาพิทักษ ฐิตสิทฺโธ, สัมภาษณ) หลวงปูเดิมประดิษฐานอยูบนฐานชุกชีที่มีลักษณะคลายรูป เอวขัน ฐานดานหนายอมุมดานละสี่มุม มีรองรอยการลงรักและปด ทองท�ำเปนลวดลายประดับเปนขาสิงหที่ฐานชุกชีดวย ซาย : หลวงปูเดิม วัดโพธิ์ศรีสองคร ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ขวา : ลักษณะฐานชุกชีหลวงปูเดิม วัดโพธิ์ศรีสองคร ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
90 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๔. หลวงพอรุงเรือง วัดศรีบุญเรือง เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง ๑.๑๐ เมตร ประดิษฐานเปนพระ ประธานอยูภายในสิมเกาวัดศรีบุญเรือง ต�ำบลหลมสัก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ หลวงพอรุงเรืองถือเปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ ชาวหลมสักใหความเคารพศรัทธามากที่สุดองคหนึ่ง ดวยเหตุที่มีผูมา กราบไหวขอพรจนประสบความส�ำเร็จจึงไดชื่อวา “หลวงพอรุงเรือง” และมีผูนิยมน�ำวัตถุมงคลมาประกอบพิธีพุทธาภิเษกในสิมเกาหลังนี้ เปนประจ�ำ (พระครูสุพัชราภรณ, สัมภาษณ) หลวงพอรุงเรือง วัดศรีบุญเรือง ต�ำบลหลมสัก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
ประวัติวัดศรีบุญเรืองปรากฏขอมูลวา สิมเกาวัดศรีบุญเรือง ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๔ ซึ่งปจจุบันสิมหลังนี้ ยังอยูในสภาพดีแมวาจะไมไดใชในการท�ำสังฆกรรมแลว จากขอมูล ดังกลาวท�ำใหไดขอสันนิษฐานวาหลวงพอรุงเรืองนาจะถูกสรางขึ้น พรอมกันกับสิมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๔ (ธีระวัฒน แสนค�ำ, ๒๕๕๖ : ๒๑) ๕. พระประธานในสิมเกาวัดโฆษา เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง ๑.๑๐ เมตร ประดิษฐานเปนพระ ประธานอยูภายในสิมเกาวัดโฆษา บานทาชาง ต�ำบลหวยไร อ�ำเภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระประธานในสิมเกา วัดโฆษา ต�ำบลหวยไร อ�ำเภอหลมสักจังหวัด เพชรบูรณ์
๖. พระประธานในสิมเกาวัดประชุมคงคาราม เปนพระ พุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๕๐ เมตร ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายในสิมเกาวัดประชุมคงคาราม บานน�้ำพุง ต�ำบลวัดปา อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ จากพุทธ ลักษณะที่ปรากฏในปจจุบันสันนิษฐานวาพระพุทธรูปองคนี้นาจะได รับการบูรณะในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ถึง ตนพุทธศตวรรษที่ ๒๖ พระประธานในสิมเกาวัดประชุมคงคาราม ต�ำบลวัดปา อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 93 พระประธานในวิหารวัดตูมค�ำมณี ต�ำบลบานหวาย อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ๗. พระประธานในวิหารวัดตูมค�ำมณี เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๒๐ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในวิหารวัดตูมค�ำมณี บานหวาย ต�ำบล บานหวาย อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ
จากพุทธลักษณะที่ปรากฏในปจจุบัน สันนิษฐานวาพระพุทธรูปองคนี้นาจะไดรับการบูรณะในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ถึงตน พุทธศตวรรษที่ ๒๖ แตมีความเปนไปไดวาพระพุทธรูปองคนี้อาจจะ เกาแกถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๔ เนื่องจากวิหารที่ประดิษฐานอยูทาง ดานตะวันออกของเจดียทรงแปดเหลี่ยมศิลปะลานชาง ก�ำหนดอายุ ราวพุทธศตวรรษที่ ๒๔ (ธีระวัฒน แสนค�ำ, ๒๕๕๗ : ๒๔ - ๒๖) พระ ประธานในวิหารวัดตูมค�ำมณีอาจจะสรางขึ้นในชวงเวลาไลเลี่ยกับ เจดีย แตถูกทิ้งรางและช�ำรุดจากภัยสงครามจึงไดรับการบูรณะใหม ในภายหลังก็เปนได ๘. พระประธานในสิมวัดสวางอารมณ เปนพระพุทธรูป ปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๕๐ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในสิมวัดสวางอารมณ (น�้ำลอม) บานนาหลวง ต�ำบลบานโสก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สามารถก�ำหนดอายุ ราวตนพุทธศตวรรษที่ ๒๕ พระประธานในสิม วัดสวางอารมณ ต�ำบลบานโสก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 95 ๙. พระประธานในสิมวัดศรีธรรมา เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๒ เมตร ประดิษฐานเปน พระประธานอยูภายในสิมวัดศรีธรรมา บานทา ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สามารถก�ำหนดอายุราวกลางพุทธศตวรรษ ที่ ๒๕ พระประธานในสิมวัดศรีธรรมา ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
๑๐. พระประธานในสิมวัดศรีสองคร เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๘๐ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในสิมวัดศรีสองคร บานวังรอง ต�ำบลหวยไร อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สามารถก�ำหนดอายุราวตนพุทธ ศตวรรษที่ ๒๕ พระประธานในสิมวัดศรีสองคร ต�ำบลหวยไร อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 97 ๑๑. พระเจาใหญ วัดส�ำราญรมย เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๒.๒๐ เมตร ประดิษฐาน อยูดานหลังพระประธานภายในสิมวัดส�ำราญรมย บานฝายนาแซง ต�ำบลฝายนาแซง อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สันนิษฐานวา พระเจาใหญวัดส�ำราญรมยสรางขึ้นพรอมกับสิมหลังเกากอนบูรณะ ซึ่งไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๐ พระเจาใหญวัดส�ำราญรมย ต�ำบลฝายนาแซง อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
๑๒. พระประธานองคเกาในสิมวัดสวางอารมณ เปนพระ พุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑ เมตร ประดิษฐานอยูดานหนาพระประธานภายในสิมวัดสวางอารมณ บาน หนองสวาง ต�ำบลฝายนาแซง อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ เมื่อ พิจารณาจากลักษณะพุทธศิลป สันนิษฐานวานาจะถูกสรางขึ้นราว ชวงครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ ๒๕ พระประธานองคเกาในสิมวัดสวางอารมณ ต�ำบลฝายนาแซง อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 99 ๑๓. พระประธานในสิมวัดศรีบุญเรือง บานนาซ�ำ เปน พระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑ เมตร ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายในสิมวัดศรีบุญเรือง บานนาซ�ำ ต�ำบลนาซ�ำ อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ สันนิษฐานวาสรางขึ้น ราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๕ พรอมกับสิมวัดศรีบุญเรือง ซึ่งเปนรูป แบบสิมพื้นบานที่ไดรับอิทธิพลสถาปตยกรรมแบบรัตนโกสินทร (มณฑล ประภากรเกียรติ, ๒๕๕๖ : ๑๒๔ - ๑๓๐) พระประธานในสิมวัดศรีบุญเรือง ต�ำบลนาซ�ำ อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์
๑๔. หลวงพอขาว วัดมวงเย็น เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๙๕ เซนติเมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในสิมวัดมวงเย็น บานน�้ำออย ต�ำบลนาเกาะ อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ หลวงพอขาวเปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบานละแวกใกลเคียงใหความเคารพศรัทธาอยางมาก (พระมหาสุรชัย สุภาจาโร, สัมภาษณ) ฐานชุกชีที่ประดิษฐานหลวงพอขาวมีลักษณะใกลเคียงกับ ฐานสิงหแตไมมีการขึ้นรูปขาสิงหชัดเจน อยูในผังยอมุม สวนหนา กระดานคอดเล็ก ประดับลูกแกวอกไกหรือที่เรียกวาทรงเอวขันอยาง ศิลปะลาว แตไมสมสวน ซึ่งนาจะเปนความพยายามของชางที่จะรักษา รูปแบบของศิลปะลานชางเอาไว สันนิษฐานวาสรางขึ้นราวตนพุทธ ศตวรรษที่ ๒๕ หลวงพอขาว วัดมวงเย็น ต�ำบลนาเกาะ อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์