The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก, พระพุทธรูปปูนปั้น ศิลปะล้านช้าง, พระพุทธรูปปูนปั้น ฐานสิงห์, พระพุทธรูปปูนปั้น ประดับลวดลายบนผ้าสังฆาฏิ - จีวร, พระพุทธรูปปูนปั้น ศิลปะพื้นบ้าน พุทธศตวรรษที่ 25, พระพุทธรูปโลหะ, พระพุทธรูปไม้แกะสลัก, พระพุทธรูปปูนปั้น ฝีมือช่างเมืองน่าน, พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะพิเศษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirapa1070, 2024-01-09 03:24:44

พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก

พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก, พระพุทธรูปปูนปั้น ศิลปะล้านช้าง, พระพุทธรูปปูนปั้น ฐานสิงห์, พระพุทธรูปปูนปั้น ประดับลวดลายบนผ้าสังฆาฏิ - จีวร, พระพุทธรูปปูนปั้น ศิลปะพื้นบ้าน พุทธศตวรรษที่ 25, พระพุทธรูปโลหะ, พระพุทธรูปไม้แกะสลัก, พระพุทธรูปปูนปั้น ฝีมือช่างเมืองน่าน, พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะพิเศษ

Keywords: พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก

พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 101 ๑๕. พระประธานในสิมวัดโพธิ์เย็น เปนพระพุทธรูปปูนป ็น ั้ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้างประมาณ ๑ เมตร ประดิษฐานเป็น พระประธานอยูภายในสิมวัดโพธิ์เย็น บ ่ านเนิน ต� ้ำบลบานเนิน อ� ้ำเภอ หล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อพิจารณาจากลักษณะพุทธศิลป์ สันนิษฐานว่าน่าจะถูกสร้างขึ้นราวช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๕ พระประธานในสิมวัดโพธิ์เย็น ต�ำบลบานเนิน อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์


๑๖. พระประธานในสิมวัดนันทชาติ เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๓๐ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในสิมวัดนันทชาติ บานโจะโหวะเหนือ ต�ำบล บานเนิน อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ เมื่อพิจารณาจากลักษณะ พุทธศิลปสันนิษฐานวานาจะถูกสรางขึ้นราวชวงกลางพุทธศตวรรษ ที่ ๒๕ พระประธานในสิมวัดนันทชาติ ต�ำบลบานเนิน อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 103 พระประธานในสิมวัดขามชุม ต�ำบลบานเนิน อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์ ๑๗. พระประธานในสิมวัดขามชุม เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๑๐ เมตร ประดิษฐาน เปนพระประธานอยูภายในสิมวัดขามชุม บานพราว ต�ำบลบานเนิน อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พระประธานในสิมวัดขามชุมถือ เปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ชาวบานมักจะมาขอพรและถวายเครื่อง สักการบูชาในชวงวันพระ (พระสงวน อุชุจิตฺโต, สัมภาษณ) จากรูป แบบพุทธศิลปสันนิษฐานวาสรางขึ้นในชวงครึ่งหลังของพุทธศตวรรษ ที่ ๒๕


104 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ กลุมที่ ๕ พระพุทธรูปโลหะ เมืองหลมสักแมวาจะเปนเมืองโบราณในวัฒนธรรมลานชาง ที่มีพัฒนาการทางประวัติศาสตรสืบเนื่องมาตั้งแตพุทธศตวรรษที่ ๒๒ - ๒๓ แตตามชุมชนโบราณตาง ๆ ของเมืองมีการส�ำรวจพบพระ พุทธรูปที่หลอดวยโลหะจ�ำนวนนอยมากเมื่อเทียบกับเมืองโบราณใน วัฒนธรรมลานชางรวมสมัยในเขตลุมแมน�้ำโขง ซึ่งมีการส�ำรวจพบ พระพุทธรูปโลหะโดยเฉพาะอยางยิ่งพระพุทธรูปส�ำริดทั้งขนาดตาง ๆ จ�ำนวนมาก ในขณะที่พระพุทธรูปโบราณภายในเมืองหลมสักสวนใหญ เปนพระพุทธรูปปูนปน จากการส�ำรวจพระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสัก ที่สรางดวยวัสดุโลหะพบวา พระพุทธรูปสวนใหญหลอดวยวัสดุส�ำริด องคพระมีขนาดเล็ก ลักษณะทางพุทธศิลปคอนขางมีเอกลักษณ เฉพาะความเปนทองถิ่น เชน พระรัศมีเปนทรงกรวยคลายดอกบัวตูม ประทับนั่งบนฐานหนากระดานเตี้ย ๆ บางองคมีจารึกที่ฐาน ซึ่งหาก เทียบรูปแบบทางพุทธศิลปกับพระพุทธรูปส�ำริดศิลปะลานชางที่ พบในชุมชนโบราณตามลุมแมน�้ำโขงจะเห็นความแตกตางของงาน ศิลปกรรมอยางชัดเจน สะทอนใหเห็นพัฒนาการเชิงชางที่เกิดขึ้น ภายในทองถิ่นเมืองหลมสักไดเปนอยางดี ในการศึกษาพระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสักครั้งนี้ ผูเขียนส�ำรวจพบพระพุทธรูปโบราณที่สรางดวยวัสดุโลหะจ�ำนวน ๘ องค ไดแก


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 105 ๑. หลวงพอกูแกว วัดศรีสุมังค เปนพระพุทธรูปส�ำริด ปาง มารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง ๕๔ เซนติเมตร ฐานกวาง ๕๗ เซนติเมตร ความสูงรวมฐาน ๘๔ เซนติเมตร ประดิษฐานอยูภายในวัดศรีสุมังค บานศรีสุมังค ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ หลวงพอกูแกว วัดศรีสุมังค ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์


106 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หลวงพอกูแกว วัดศรีสุมังค มีพุทธลักษณะประทับนั่งขัด สมาธิราบบนฐานหนากระดานเตี้ย ๆ พระพักตรปอมและใหญเมื่อเทียบ กับพระวรกาย พระเนตรหรี่มองต�่ำ ขมวดพระเกศาขนาดเล็กและถี่ มีขอบไรพระศกเปนเสนชัดเจน พระรัศมีเปนทรงกรวยคลายดอกบัว ตูม พระโอษฐเล็ก พระนาสิกเล็ก สังฆาฏิพาดยาวจรดพระเพลา นิ้วพระหัตถคอนขางยาว พระหัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวน พระหัตถซายวางเหนือพระเพลา ตามประวัติระบุวาพระพุทธรูปองคนี้เดิมประดิษฐานอยูที่ วัดกูแกวซึ่งเปนวัดรางทางทิศใตของวัดศรีสุมังค ตอมาชาวบานเกรง วาจะสูญหายจึงอัญเชิญมาเก็บรักษาไวที่วัดศรีสุมังค และเปนพระ พุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวหลมเกาใหความเคารพศรัทธา หลวงพอกูแกว มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “หลวงพอพุทธสัมฤทธิ์” (พระครูสิริพัชรมงคล, สัมภาษณ) เมื่อพิจารณาจากรูปแบบทางพุทธศิลปเทียบไดกับกลุม พระพุทธรูปส�ำริดศิลปะลานชางที่ก�ำหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๓ และถือเปนพระพุทธรูปโลหะองคใหญที่สุดในเขตเมืองหลมสัก ๒. หลวงพอพระเสี่ยง วัดทุงธงไชย เปนพระพุทธรูปส�ำริด ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง ๒๓ เซนติเมตร ฐานกวาง ๒๗ เซนติเมตร ความสูงรวมฐาน ๔๘ เซนติเมตร เรียกอีกชื่อหนึ่งวา “หลวงพอสัมฤทธิ์” ประดิษฐานอยูภายในวัดทุงธงไชย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พระเสี่ยงวัดทุงธงไชยมีพุทธลักษณะประทับนั่งขัดสมาธิราบ บนฐานหนากระดาน พระพักตรเรียว พระเนตรหรี่ พระขนงโกง ขมวด พระเกศาขนาดเล็กและถี่เหมือนหนามขนุน ขอบไรพระศกตัดตรง พระรัศมีเปนทรงกรวยคลายดอกบัวตูม พระโอษฐเล็ก พระนาสิกเล็ก


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 107 พระกรรณแนบชิดกับพระเศียร สังฆาฏิพาดยาวจรดพระนาภี พระ หัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวนพระหัตถซายวางเหนือพระเพลา เมื่อพิจารณาจากรูปแบบทางพุทธศิลปเทียบไดกับกลุมพระพุทธรูป ส�ำริดศิลปะลานชางที่ก�ำหนดอายุราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ พระเสี่ยงวัดทุงธงไชยเปนพระพุทธรูปส�ำคัญที่ชาวหลมเกา ใหความเคารพศรัทธาเปนอยางมาก เนื่องจากเปนพระพุทธรูปที่ใชใน การยกเสี่ยงทาย ทางวัดจะมีการอัญเชิญออกมาใหพุทธศาสนิกชนได กราบไหวขอพรและยกอธิษฐานเสี่ยงทายเฉพาะในชวงเทศกาลแขงเรือ ประจ�ำปของวัดทุงธงไชยเทานั้น (พระอธิการสมศักดิ์ วชิรญาโณ, สัมภาษณ) หลวงพอพระเสี่ยงวัดทุงธงไชย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์


๓. พระพุทธรูปส�ำริดวัดทุงธงไชย (๑) เปนพระพุทธรูปส�ำริด ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง ๔๐ เซนติเมตร ฐานกวาง ๔๔ เซนติเมตร ความสูงรวมฐาน ๘๖ เซนติเมตร ประดิษฐานอยูภายใน วัดทุงธงไชย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พระพุทธรูปส�ำริดวัดทุงธงไชย (๑) มีพุทธลักษณะใกลเคียง กับหลวงพอพระเสี่ยงวัดทุงธงไชย และเปนพระพุทธรูปส�ำริดองคใหญ ที่สุดในกลุมพระพุทธรูปโลหะวัดทุงธงไชย แตกตางเพียงแคมีการ ตกแตงเสนของสังฆาฏิและมีการวางต�ำแหนงขอบสบงไวตรงกลาง ต�ำแหนงพระเพลา ก�ำหนดอายุราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ หลวงพอพระเสี่ยงวัดทุงธงไชย (๑) ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 109 พระพุทธรูปส�ำริด วัดทุงธงไชย (๒) วัดทุงธงไชย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์ ๔. พระพุทธรูปส�ำริดวัดทุ่งธงไชย (๒) เป็นพระพุทธรูป ส�ำริด ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง ๑๕.๕ เซนติเมตร ฐานกว้าง ๑๙ เซนติเมตร ความสูงรวมฐาน ๓๔ เซนติเมตร ประดิษฐานอยู่ ภายในวัดทุ่งธงไชย ต�ำบลหล่มเก่า อ�ำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์


110 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ พระพุทธรูปส�ำริดวัดทุงธงไชย (๒) มีพุทธลักษณะประทับ นั่งขัดสมาธิราบบนฐานเอวขันโดยชั้นลางเปนฐานหนากระดาน สวน ชั้นบนมีลักษณะคลายบัวลูกแกวขนาดใหญ พระพักตรคอนขางกลม พระเนตรหรี่ พระขนงโกง ขมวดพระเกศาขนาดเล็กและถี่เหมือน หนามขนุน ขอบไรพระศกตัดตรง พระรัศมีเปนทรงกรวยคลายดอกบัว ตูมขนาดใหญ พระโอษฐเล็ก พระนาสิกเล็ก พระกรรณแนบชิดกับ พระเศียร สังฆาฏิพาดยาวจรดพระนาภี พระหัตถขวาวางเหนือพระ ชานุขวา สวนพระหัตถซายวางเหนือพระเพลา เมื่อพิจารณาจากรูป แบบทางพุทธศิลปเทียบไดกับกลุมพระพุทธรูปส�ำริดศิลปะลานชาง ที่ก�ำหนดอายุราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ ๕. หลวงพอพระเสี่ยง วัดศรีภูมิ เปนพระพุทธรูปส�ำริด ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง ๒๓ เซนติเมตร ฐานกวาง ๒๙ เซนติเมตร ความสูงรวมฐาน ๓๗ เซนติเมตร ประดิษฐานอยูภายใน วัดศรีภูมิ บานติ้ว ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระเสี่ยงวัดศรีภูมิถือเปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบานติ้วและ ละแวกใกลเคียงใหความเคารพศรัทธาเปนอยางมาก โดยนิยมมา อธิษฐานยกเสี่ยงทายในชวงงานเทศกาลประจ�ำปของวัด (พระครูสิริ พัชรากร, สัมภาษณ) หลวงพอพระเสี่ยง วัดศรีภูมิ มีพุทธลักษณะพระพักตรรูปไข มีเสนขอบไรพระศก ขมวดพระเกศาเล็กและถี่ พระรัศมีทรงกรวย พระกรรณยาวแนบพระเศียร พระขนงโกง พระเนตรเรียวเหลือบลง ต�่ำ พระนาสิกและพระโอษฐเล็ก พระหัตถและนิ้วพระหัตถใหญและ ปลายนิ้วพระหัตถเทากัน กลางฝาพระบาทขวามีภาพธรรมจักร


สังฆาฏิเปนแผนใหญ ยาวลงมาจรดพระนาภี คาดรอบพระองคดวย ผารัดอก ตรงกลางเปนลายประจ�ำยาม ประทับนั่งบนฐานกระดาน ประดับลวดลายกลีบบัว ดานหนามีรองรอยที่พยายามท�ำเปนลวด ลายคลายผาทิพย หลวงพอพระเสี่ยง วัดศรีภูมิ ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


112 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เมื่อพิจารณาจากพุทธลักษณะของหลวงพอพระเสี่ยงวัดศรี ภูมิ สามารถเทียบไดกับพระพุทธรูปส�ำริดศิลปะพื้นบานหลายองคใน ภาคอีสานซึ่งหลอขึ้นในชวงพุทธศตวรรษที่ ๒๕ สันนิษฐานวาหลวงพอ พระเสี่ยงวัดศรีภูมิอาจจะถูกหลอขึ้นในชวงที่พระครูสังวรธรรมคุตสุวิ สุทธคณีสังฆวาหะ (หลวงปูเหงา) อดีตเจาคณะจังหวัดหลมสัก อดีต เจาอาวาสวัดศรีภูมิ ซึ่งครองวัดตั้งแตชวงตนพุทธศตวรรษที่ ๒๕ เรื่อยมาจนกระทั่งมรณภาพ ๖. หลวงพอโคตวงษา วัดศรีภูมิ เปนพระพุทธรูปส�ำริด ปาง มารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง ๓๐ เซนติเมตร ฐานกวาง ๓๑ เซนติเมตร ความสูงรวมฐาน ๕๒ เซนติเมตร ประดิษฐานอยูภายในวัดศรีภูมิ บานติ้ว ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ หลวงพอโคตวงษา วัดศรีภูมิ มีพุทธลักษณะประทับนั่งขัด สมาธิราบบนฐานหนากระดาน พระพักตรเรียว พระเนตรหรี่ พระ ขนงโกง ขมวดพระเกศาขนาดเล็กและถี่เหมือนหนามขนุน ขอบไร พระศกตัดตรง พระรัศมีเปนทรงกรวยคลายดอกบัวตูม พระโอษฐเล็ก พระนาสิกเล็ก พระกรรณแนบชิดกับพระเศียร สังฆาฏิพาดยาวจรด พระนาภี พระหัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวนพระหัตถซายวาง เหนือพระเพลา กลางฝาพระบาทขวาและฝาพระหัตถซายมีภาพ วงกลม บริเวณฐานดานหนามีการจารึกขอความดวยอักษรธรรม ระบุ วาสรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๐ กลาวถึงบุคคลผูสรางชื่อ “โคตวงษา” สันนิษฐานวานาจะเปนชื่อในสุพรรณบัตรตามจารีตการหดสรงหรือ เถราภิเษกในวัฒนธรรมลานชางของพระครูสังวรธรรมคุตสุวิสุทธคณี


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 113 สังฆวาหะ (หลวงปูเหงา) อดีตเจาคณะจังหวัดหลมสัก อดีตเจาอาวาส วัดศรีภูมิ กอนที่จะไดรับพระราชทานสมณศักดิ์จากราชส�ำนักกรุงเทพฯ (พระสมุหไพรศาล ภทฺทมุนี, สัมภาษณ) หลวงพอโคตวงษา วัดศรีภูมิ ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


114 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๗. พระพุทธนิมิตมงคล วัดศรีฐานปยาราม เปนพระพุทธรูป ส�ำริด ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง ๒๓ เซนติเมตร ฐานกวาง ๒๘ เซนติเมตร สวนฐานที่เปนโลหะช�ำรุดจึงมีการสรางฐานไมแกะสลัก ซอมแซมท�ำใหองคพระมีความสูงรวมฐาน ๖๗ เซนติเมตร ประดิษฐาน อยูภายในวัดศรีฐานปยาราม บานวังบาล ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พระพุทธนิมิตมงคลถือเปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาววังบาลและละแวกใกลเคียงใหความเคารพศรัทธาเปนอยางมาก พระพุทธนิมิตมงคลมีพุทธลักษณะพระพักตรรูปไข มีเสน ขอบไรพระศก ขมวดพระเกศาเล็กและถี่ พระรัศมีเปลวเปนกลีบบัว งอนซอนกัน พระกรรณกาง พระขนงโกง พระเนตรเรียวเหลือบลงต�่ำ พระนาสิกและพระโอษฐเล็ก พระหัตถและนิ้วพระหัตถใหญและปลาย นิ้วพระหัตถเทากัน สังฆาฏิเปนแผนใหญ ยาวลงมาจรดพระนาภี มี ลวดลายพันธุพฤกษาประดับบนสังฆาฏิ และขอบจีวร ประทับนั่งบน ฐานบัวงอนและมีผาทิพยดานหนา ดานหลังมีจารึกอักษรธรรม จากการ อานเบื้องตนของพระสมุหไพรศาล ภทฺทมุนี เจาอาวาสวัดทากกแก พบวาจารึกขอมูลเกี่ยวกับการสรางเมื่อป พ.ศ. ๒๓๙๐ และมีฐานไม แกะสลักรองรับอีกชั้นหนึ่ง ส�ำหรับประวัติการสรางพระพุทธนิมิตมงคลนั้น เนื่องจากมี การประดับลวดลายบนสังฆาฏิและชายจีวรเชนเดียวกับพระพุทธรูป ประธานองคเกาภายในสิมวัดศรีฐานปยาราม จึงมีเรื่องเลาสืบตอกัน มาวาพระพุทธนิมิตมงคลเปนพระพุทธรูปที่หลอขึ้นมาเพื่อจ�ำลอง พระพุทธรูปประธานองคเกาเพื่อใชในการเสี่ยงทายและสรงน�้ำในวัน สงกรานต (พระครูปริยัติพัชรกิจ, สัมภาษณ)


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 115 พระพุทธนิมิตมงคล วัดศรีฐานปยาราม ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์


116 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๘. พระพุทธโคดมบรมเสฎฐา วัดศรีสะอาด เปนพระพุทธ รูปส�ำริด ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง ๔๑ เซนติเมตร ประดิษฐาน อยูภายในบานศรีสะอาด ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัด เพชรบูรณ พระพุทธโคดมบรมเสฎฐา วัดศรีสะอาด มีพุทธลักษณะ ประทับนั่งขัดสมาธิราบบนฐานหนากระดานเตี้ย ๆ พระพักตรกลม พระเนตรเบิก พระขนงโกง ขมวดพระเกศาขนาดเล็กและถี่ ขอบไร พระศกเปนเสนโคง พระรัศมีเปนทรงกรวยคลายดอกบัวตูมแปดเหลี่ยม ดานหนาตรงกลางพระรัศมีมีอุนาโลม พระโอษฐใหญ ริมพระโอษฐ นูนชัดเจน พระนาสิกเล็ก พระกรรณใหญและกาง สังฆาฏิพาดยาว จรดพระนาภี พระหัตถขวาวางเหนือพระชานุขวา สวนพระหัตถซาย วางเหนือพระเพลา เนื่องจากสวนพระศอมีรองรอยการถูกตัดจึงมีความเปน ไปไดวาพระเศียรปจจุบันอาจจะถูกหลอขึ้นใหมจึงท�ำใหไมสมสวนกับ พระวรกาย บริเวณฐานดานหนามีการจารึกขอความดวยอักษรธรรม ยังไมไดรับการอานแปลอยางเปนทางการ พระสมุหไพรศาล ภทฺทมุนี เจาอาวาสวัดทากกแก ซึ่งไดท�ำการอานเบื้องตนอธิบายวาขอความที่ พอจะอานไดกลาวถึง “พระพุทธโคดมบรมเสฎฐา” ท�ำใหกลายมา เปนชื่อของพระพุทธรูป (พระสมุหไพรศาล ภทฺทมุนี, สัมภาษณ) สวนชาวบานนิยมเรียกชื่อวา “หลวงพอยิ้ม” ตามลักษณะของพระ พักตร (พระครูสิริพัชรโสภิต, สัมภาษณ) ฐานบริเวณดานหลังมีหวง วงกลมติดอยู สันนิษฐานวาท�ำขึ้นเพื่อเปนที่ส�ำหรับปกกานฉัตรถวาย องคพระ เมื่อพิจารณาจากรูปแบบทางพุทธศิลปสันนิษฐานวานาจะ สรางขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ ๒๔ - ๒๕


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 117 พระพุทธโคดมบรมเสฎฐา วัดศรีสะอาด ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


118 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ กลุมที่ ๖ พระพุทธรูปไมแกะสลัก พระพุทธรูปไมหรือ “พระเจาไม” ในเขตเมืองหลมสักที่ เปนพระพุทธรูปโบราณนั้น สวนใหญจะมีขนาดเล็กและมีรูปแบบ พุทธศิลปที่แตกตางกันไปขึ้นอยูกับฝมือและจินตนาการของชาง ใน อดีตชายใดบรรพชาอุปสมบทแลว หากตองการลาสิกขามักจะแกะ สลักพระพุทธรูปไมขึ้นมาอยางนอย ๑ องค เพื่อประดิษฐานไวในวัด แทนตัวเองที่จะลาสิกขาออกจากวัดไป ดังนั้น พระพุทธรูปไมจึงมี พุทธลักษณะที่แตกตางกัน และพบเปนจ�ำนวนมากตามสิม วิหาร และศาลาการเปรียญตามวัดตาง ๆ ในชุมชนที่มีประวัติความเปนมา ยาวนาน เพื่อความสะดวกตอการศึกษาและการรวบรวมขอมูล ผูเขียน จึงท�ำการคัดเลือกเฉพาะพระพุทธรูปไมที่มีความส�ำคัญทางดาน พุทธศิลป ประวัติศาสตรทองถิ่น และวัฒนธรรมความเชื่อของชุมชน มาน�ำเสนอ จากการส�ำรวจในเขตเมืองหลมสักพบพระพุทธรูปโบราณ ที่แกะสลักจากไมจ�ำนวนมาก สามารถแบงเปนกลุมยอยตามลักษณะ ทางพุทธศิลปไดจ�ำนวน ๓ กลุม ไดแก กลุมพระพุทธรูปยืนทรงเครื่อง กลุมพระพุทธรูปยืนไมทรงเครื่อง กลุมพระพุทธรูปประทับนั่ง กลุมพระพุทธรูปยืนทรงเครื่อง มีพุทธลักษณะเปนพระพุทธรูป ทรงเครื่องอยางพระมหาจักรพรรดิ มีการปนรักประดับเปนเครื่อง ทรงหลายสวนของพระวรกาย เชน พาหุรัด ทองพระกร ชายจีวร จีบหนานาง เปนตน พระพุทธรูปกลุมนี้โดยภาพรวมนาจะสรางขึ้น หลังจากเมืองหลมสักอยูภายใตการปกครองของกรุงเทพฯ เนื่องจาก ไดรับอิทธิพลทางศิลปะจากกลุมพระพุทธรูปทรงเครื่องจักรพรรดิราช ก�ำหนดอายุราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ถึงชวงกลางพุทธศตวรรษ ที่ ๒๕ เชน


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 119 ๑. พระเจาไม วัดศรีสุมังค เปนพระพุทธรูปยืน ปางเปดโลก ขนาดความสูงรวมฐานประมาณ ๑.๔๐ เมตร ประดิษฐานอยูภายใน สิมวัดศรีสุมังค บานศรีสุมังค ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัด เพชรบูรณ พระเจาไม วัดศรีสุมังค ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์


120 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ลักษณะพระพุทธรูปมีพระพักตรคอนขางกลมเรียว พระขนง โกงและตั้งขึ้นคอนขางมาก พระเนตรเหลือบลงต�่ำ พระนาสิกเล็ก พระโอษฐเล็ก พระรัศมีทรงกรวยแหลม เม็ดพระศกเล็กและถี่ แต สวนใหญหลุดหาย จีบสบงหนานาง มีลายปนรักประดับ พระกรวางแนบ กับพระองค ปลายพระหัตถจรดกับแนวชายจีวรที่มีลักษณะพลิ้วไหว กางออกทั้งสองขาง ประทับยืนบนฐานสูง สวนลางท�ำเปนฐานแปด เหลี่ยม สวนบนเปนกลีบบัว ๒. พระเจาไม วัดโฆษา เปนพระพุทธรูปยืน ปางหามสมุทร ขนาดความสูงรวมฐานประมาณ ๑.๒๒ เซนติเมตร ประดิษฐาน อยูภายในวัดโฆษา บานทาชาง ต�ำบลหวยไร อ�ำเภอหลมสัก จังหวัด เพชรบูรณ ลักษณะพระพุทธรูปมีพระพักตรคอนขางกลมเรียว พระ ขนงโกง พระเนตรเหลือบลงต�่ำ พระนาสิกเล็ก พระโอษฐเล็ก พระรัศมี ทรงบัวสี่เหลี่ยมขนาดใหญ เม็ดพระศกเล็กและถี่ แตสวนใหญหลุด หาย ประดับกรองศอ จีบสบงหนานาง มีลายปนรักประดับ ชายจีวร ที่มีลักษณะพลิ้วไหวกางออกทั้งสองขาง ประทับยืนบนฐานบัวคว�่ำ - บัวหงายและมีลูกแกวอกไกคั่นกลาง ยกฝาพระหัตถทั้งสองขางยื่นออก มาดานหนา นอกจากนี้ ยังมีพระพุทธรูปไมทรงเครื่องอยางพระมหาจักร พรรดิอีกหลายองคประดิษฐานอยูที่วัดโพธิ์เย็น บานเนิน มีขนาด ความสูงรวมฐานราว ๔๐ - ๖๐ เซนติเมตร แตสวนใหญอยูในสภาพ ช�ำรุด


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 121 พระเจาไม วัดโฆษา ต�ำบลหวยไร อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


122 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ กลุมพระพุทธรูปยืนไมทรงเครื่อง พระพุทธรูปไมกลุมนี้จะมี ขนาดใหญ ไมมีการปนรักตกแตงเปนลวดลายประดับ และนิยมแกะ จากทอนไมขนาดใหญทอนเดียว เชน ๑. พระเจาไม วัดศรีมงคล เปนพระพุทธรูปยืน ปางเปดโลก ขนาดความสูงรวมฐานประมาณ ๑.๖๐ เมตร ประดิษฐานอยูดานหนา สิมวัดศรีมงคลหรือวัดกลาง ต�ำบลหลมสัก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัด เพชรบูรณ พระเจาไม วัดศรีมงคล เปนพระพุทธรูปไมแกะสลัก ลักษณะ พระพุทธรูปมีพระพักตรคอนขางกลมเรียว พระกรรณยาว พระขนง โกงและตั้งขึ้นคอนขางมาก พระเนตรเหลือบลงต�่ำ พระนาสิกเล็ก พระโอษฐเล็ก พระรัศมีทรงกรวยแหลม เม็ดพระศกเล็กและถี่ แต สวนใหญหลุดหาย จีบสบงหนานาง มีลายประจ�ำยามประดับในแนว รัดประคด พระกรวางแนบกับพระองค ปลายพระหัดจรดกับแนวชาย จีวรที่มีลักษณะพลิ้วไหวกางออกทั้งสองขาง พระวรกายโดยรวม คอนขางผอมและสูงเรียว สันนิษฐานวาสรางขึ้นพรอมกับสิมวัดศรี มงคลเมื่อราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 123 พระเจาไม วัดศรีมงคล ต�ำบลหลมสัก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


124 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ซาย : พระเจาไม วัดลัฏฐิวนาราม ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก องคที่ ๑ ขวา : พระเจาไม วัดลัฏฐิวนาราม ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก องคที่ ๒


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 125 ๒. พระเจาไม วัดลัฏฐิวนาราม เปนพระพุทธรูปยืน ปาง เปดโลก จ�ำนวน ๒ องค ประดิษฐานอยูภายในสิมวัดลัฏฐิวนาราม บานตาลเดี่ยว ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระเจาไมองคแรกมีขนาดความสูงรวมฐานประมาณ ๑.๘๕ เมตร พระกรจะกางออกจากพระวรกายเล็กนอย จรดกับชายจีวรที่ งอนขึ้นมา สวนพระเจาไมองคที่สองมีขนาดความสูงรวมฐานประมาณ ๑.๖๕ เมตร พระกรจะทิ้งดิ่งเปนแนวตรง โดยภาพรวมพระเจาไม วัดลัฏฐิวนารามทั้งสององคมีรูปแบบพุทธศิลปที่ใกลเคียงกันคือ พระพักตรเรียว พระกรรณกาง สังฆาฏิพาดเฉียงลงมาตรงกลางตอ เนื่องกับจีบหนานาง มีรัดประคด ฐานแกะเปนรูปดอกบัวบานรองรับ พระบาท ก�ำหนดอายุราวตนพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ๓. พระเจาไม วัดศรีไวย เปนพระพุทธรูปยืน ปางเปดโลก ขนาดความสูงรวมฐานประมาณ ๑.๒๐ เมตร ประดิษฐานอยูในสิม วัดศรีไวย บานโจะโหวะใต ต�ำบลบานเนิน อ�ำเภอหลมเกา จังหวัด เพชรบูรณ พระเจาไม วัดศรีไวย มีพุทธลักษณะพระพักตรกลม พระกร วางแนบพระวรกายแบบธรรมชาติ ประดิษฐานบนฐานบัวคว�่ำ - บัวหงาย ทรงกลม สวนองคพระกับสวนฐานสามารถถอดแยกออกจากกันได เมื่อพิจารณาจากลักษณะพุทธศิลปสันนิษฐานวานาจะถูกสรางขึ้น ราวชวงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๕


126 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ พระเจาไมวัดศรีไวย ต�ำบลบานเนิน อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์ ๔. พระเจาไมในสิมวัดศรีบุญเรือง บานอุมกะทาด เปนพระ พุทธรูปยืน ปางประทานพร ขนาดความสูงรวมฐานประมาณ ๑.๘๐ เมตร ประดิษฐานอยูในสิมวัดศรีบุญเรือง บานอุมกะทาด ต�ำบลศิลา อ�ำเภอ หลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ บริเวณรัดประคดดานหนาและชายจีวร ดานขางมีการแกะลวดลายสวยงาม ตรงกลางพระอุระมีรองรอยการ เจาะเปนชองเพื่อบรรจุพระธาตุ วัตถุมงคลหรือของมีคาไวในองคพระ พระพุทธรูปองคนี้เปนที่เคารพศรัทธาของชาวบานอุมกะทาด เปนอยางมาก (พระอธิการนิกร กิติโก, สัมภาษณ) ก�ำหนดอายุราว ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ถึงตนพุทธศตวรรษที่ ๒๕


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 127 พระเจาไมในสิมวัดศรีบุญเรือง ต�ำบลศิลา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์ กลุมพระพุทธรูปประทับนั่ง สวนใหญจะมีพุทธลักษณะ ใกลเคียงกับพระพุทธรูปลานชางทั่วไป และจะมีรายละเอียดที่ตางกัน ไปตามฝมือและจินตนาการของชาง บางสวนจะมีการแกะสลักหรือ เขียนชื่อผูสรางไวที่ฐาน ๑. พระเจาไม วัดโสมนัส เปนพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาด หนาตักกวางประมาณ ๖๗ เซนติเมตร ประดิษฐานอยูภายในสิมวัด โสมนัส บานสมเลาใต ต�ำบลบานโสก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ


พระเจาไม วัดโสมนัส แกะสลักจากไมจันทน (พระอธิการหนู ลับ อินฺทวีโร, สัมภาษณ) มีพุทธลักษณะพระพักตรคอนขางเรียว พระกรรณยาว ขมวดพระเกศาเล็กและถี่ พระรัศมีทรงกรวยขนาดใหญ ชะลูดสูงขึ้น พระโอษฐเล็ก พระนาสิกเล็ก ปลายสังฆาฏิจรดกับแนว รัดประคด พระกรเรียว ขัดสมาธิราบ นิ้วพระหัตถเรียวยาว พระหัตถขวา วางเหนือพระชานุขวา ปลายนิ้วพระหัตถเสมอกันจรดกับสวนฐาน สวนพระหัตถซายวางเหนือพระเพลา เดิมสวนฐานแกะสลักจากไม ทอนเดียวกัน ตอมาเมื่อบูรณะโบสถใหมจึงโบกปูนปดสวนฐานใหเสมอ กับสวนพระเพลาเทานั้น สันนิษฐานมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๕ พระเจาไม วัดโสมนัส ต�ำบลบานโสก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 129 ๒. พระเจาไม วัดทุงจันทรสมุทร เปนพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดเล็กจ�ำนวน ๓ องค ประดิษฐานอยูภายในวัดทุงจันทรสมุทร ต�ำบลหลมสัก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ความนาสนใจของพระเจาไมวัดทุงจันทรสมุทรคือ มีการแกะ สลักเปนรูปพญานาคอยูที่ฐานดานหนา และมีการแกะสลักปศักราช และบุคคลที่สรางพระ องคแรกสลักวา “พศ ๒๔๗๒ นายแดง นาง เอี่ยม” องคที่สองสลักวา “พศ ๒๔๗๒ นางนอย สรางทาน” และ องคที่สามสลักวา “นางสา พศ ๒๔๗๒ นายมีสราง” เนื่องจาก พระพุทธรูปทั้งสามองคมีรูปแบบพุทธศิลปที่ใกลเคียงกันสะทอนให เห็นวานาจะมีการวาจางชางฝมือในการแกะสลักพระพุทธรูปไมเพื่อ ถวายใหแกวัดในชวงครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ ๒๕ พระเจาไมวัดทุงจันทรสมุทร ต�ำบลหลมสัก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


130 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๓. พระเจาไม วัดศรีฐานปยาราม เปนพระพุทธรูปปางมาร วิชัย ขนาดเล็กจ�ำนวน ๓ องค ประดิษฐานอยูภายในพิพิธภัณฑ พื้นบานวัดศรีฐานปยาราม บานวังบาล ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ความนาสนใจของพระเจาไมวัดศรีฐานปยาราม คือ เปนพระ พุทธรูปที่ประทับนั่งบนฐานบัวทรงสูง ดานหนาการแกะสลักเปนผา ทิพย รูปแบบพุทธศิลปขององคพระพุทธรูปและฐาน สันนิษฐานวา พระพุทธรูปกลุมนี้ไดแรงบันดาลใจการสรางมาจากพระพุทธนิมิต มงคลซึ่งเปนพระพุทธรูปส�ำริดที่ประดิษฐานอยูภายในวัด เปนที่เคารพ ศรัทธาของชาวบานวามีความศักดิ์สิทธิ์ พระพุทธรูปไมองคใหญสุด สันนิษฐานวาสวนองคพระไดมี การใชเกสรดอกไมผสมรักหุมโกลนพระพุทธรูปที่แกะสลักจากไมอีก ชั้นหนึ่ง เนื่องจากดานหลังของพระพุทธรูปองคนี้มีการเขียนอักษร ธรรมก�ำกับไวดวยสีขาววา “ศักราช ๒๔๖๘ (ปฉลู) อัฐศก เดือน (๔) ขึ้น ๖ ค�่ำ วันพุธ พระครูธรรมวงศา ไดสรางพระไกสรไววัดสีถานวัง สารวัตร (โต) มีใจใสศรัทธาสรางพระพุทธรูปไวกับศาสนา นิพพานะ ปจจโย โหตุ” (ธนายุทธ อุนศรี, อาน) สวนพระพุทธรูปองคเล็กอีก สององค ดานหนามีขอความที่เขียนดวยสีขาววา “พศ ๗๘” ซึ่ง หมายถึงปที่สรางพระพุทธรูป ดานหลังก็มีการเขียนระบุชื่อเจาภาพ ที่มีศรัทธาสรางพระพุทธรูปถวายวัด


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 131 พระเจาไม วัดศรีฐานปยาราม ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์


พระพุทธรูปไม วัดศรีฐานปยาราม องคใหญสุด สันนิษฐานวา สวนองคพระ ไดมีการใชเกสรดอกไม ผสมรักหุมโกลน พระพุทธรูปที่แกะสลัก จากไมอีกชั้นหนึ่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ พระเจาไมขนาดเล็ก ที่วัดแหงหนึ่ง ในอ�ำเภอหลมเกา


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 133 กลุมที่ ๗ พระพุทธรูปปูนปน ฝมือชางเมืองนาน ภายในเขตเมืองหลมสักมีพระพุทธรูปปูนปนอีกกลุมหนึ่งที่ สรางขึ้นโดยกลุมชางชาวเมืองนานซึ่งเดินทางเขามารับจางเปนชางปน พระพุทธรูปและกอสรางสิมในชวงครึ่งหลังพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ใน เขตเมืองเลยและเมืองดานซาย (ธีระวัฒน แสนค�ำ, ๒๕๖๐ : ๓๕ - ๔๒) สันนิษฐานวากลุมชางเมืองนานที่มารับจางในเขตเมืองหลมสักนา จะเปนชางกลุมเดียวกันกับที่มารับจางในเขตเมืองดานซาย เนื่องจาก มีพุทธลักษณะที่ใกลเคียงกันและเมืองดานซายกับเมืองหลมสักก็อยู ติดกัน เดินทางไปมาหากันไดโดยสะดวก พระพุทธรูปปูนปน ฝมือชางเมืองนาน จะมีพุทธลักษณะที่ ใกลเคียงกันคือ พระพักตรเรียว พระกรรณยาว ขมวดพระเกศาเปน หนามแหลม เล็กและถี่ พระรัศมีทรงเปลวแกะสลักจากไม พระโอษฐ เล็ก พระนาสิกเล็ก สังฆาฏิเปนริ้วซอนทับกันแบบธรรมชาติ จีวรแหวก เปนรองใตแนวสังฆาฏิ พระวรกายสมสวน ขัดสมาธิราบ พระหัตถ ขวาวางเหนือพระชานุขวา สวนพระหัตถซายวางเหนือพระเพลา นิยม ทาสีจีวรเปนสีเหลืองทอง และทาสีพระวรกายเปนสีขาว จากการส�ำรวจพบพระพุทธรูปปูนปน ฝมือชางเมืองนาน ใน เขตเมืองหลมสัก ประดิษฐานเปนพระประธานจ�ำนวน ๓ วัด ไดแก ๑. พระพุทธสุวรรณนันทมุนี หรือพระเจาใหญวัดทากกแก เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๘๐ เมตร ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายในวิหารวัดทากกแก บานทากกแก ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ


ตามค�ำบอกเลาของคนในชุมชนระบุวา พระพุทธสุวรรณ นันทมุนีสรางขึ้นพรอมกับสิมหลังเกาของวัดทากกแก ซึ่งปจจุบันถูกใช งานเปนวิหาร โดยชางใหญชาวเมืองนานชื่อ หนานแกวและหนานยืน เมื่อป พ.ศ. ๒๔๗๐ (พระสมุหไพรศาล ภทฺทมุนี, สัมภาษณ) พระพุทธสุวรรณนันทมุนี หรือพระเจาใหญวัดทากกแก ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 135 ๒. พระประธานในสิมวัดศรีชมชื่น เปนพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย จ�ำนวน ๓ องค ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายใน สิมวัดศรีชมชื่น บานทาสวนมอญ ต�ำบลฝายนาแซง อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ องคประธานมีขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑.๖๐ เมตร สวนอีก ๒ องคซึ่งประดิษฐานอยูดานขางบนฐานชุกชีเดียวกัน มีขนาดหนาตักกวาง ๙๐ เซนติเมตร พระประธานในสิมวัดศรีชมชื่นสรางขึ้นพรอมกับสิมหลังเกา ของวัดศรีชมชื่น โดยชางใหญชาวเมืองนาน เมื่อป พ.ศ. ๒๔๖๐ เดิม พระพุทธรูปทั้งสามองคอยูติดกัน ตอมาทางวัดและชุมชนไดรื้อสิม หลังเกา และสรางสิมหลังใหมที่มีขนาดใหญครอบทับบริเวณเดิมเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๐ จึงมีการขยับพระพุทธรูปออกจากกันเพื่อใหเกิดความ สมดุลกับพื้นที่ภายในสิม (พระอธิการเกษร ปยสีโล, สัมภาษณ) พระประธานจ�ำนวน ๓ องค ในสิมวัดศรีชมชื่น ต�ำบลฝายนาแซง อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


136 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ พระประธานในสิมวัดศรีชมชื่น ต�ำบลฝายนาแซง อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ๓. พระประธานในสิมวัดศรีชมชื่น บานน�้ำกอใหญ เปนพระ พุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวางประมาณ ๑ เมตร ประดิษฐานเปนพระประธานอยูภายในสิมวัดศรีชมชื่น บานน�้ำกอใหญ ต�ำบลน�้ำกอ อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พระประธานในสิมวัดศรีชมชื่น บานน�้ำกอใหญ จะมีขนาด เล็กกวาพระพุทธรูปปูนปนในกลุมเดียวกัน และมีรูปแบบทางพุทธศิลป ใกลเคียงกับกลุมพระพุทธรูปปูนปนฝมือชางเมืองนานในเขตเมือง ดานซายอยางมาก


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 137 พระประธานในสิมวัดศรีชมชื่น ต�ำบลน�้ำกอ อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ์


138 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ กลุมที่ ๘ พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะพิเศษ พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสักกลุมนี้ เปนพระพุทธรูป ที่มีรูปแบบทางพุทธศิลปเฉพาะ มีพุทธลักษณะแตกตางจากพระพุทธรูป ทั่วไป จึงจ�ำเปนตองแยกเปนกลุมพิเศษ ซึ่งจากการส�ำรวจพบพระพุทธรูป โบราณในเขตเมืองหลมสักที่มีพุทธลักษณะพิเศษจ�ำนวน ๑ องค คือ พระเจาเขานิพพาน วัดทุงธงไชย ประดิษฐานอยูภายในวิหาร ดานหลังสิมวัดทุงธงไชย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ พระเจาเขานิพพาน วัดทุงธงไชย มีลักษณะเปนหีบพระบรมศพ ของพระพุทธเจาแบบโลงศพพื้นบานกอดวยอิฐถือปูนปดทึบ มี รองรอยลงรักปดทอง ทรงสี่เหลี่ยมดานไมเทา ดานยาวขางบน กวาง ๑.๘๐ เมตร ขางลางยาว ๑.๖๕ เมตร ดานกวางขางบนกวาง ๙๐ เซนติเมตร ขางลางกวาง ๗๐ เซนติเมตร เหนือหีบพระบรมศพมีสวน บนเปนหลังคายอม ๆ ซอนกัน ๓ ชั้น ดานตะวันออกของหีบพระบรมศพ แกะจากไมเปนรูปสวนพระบาทของพระพุทธเจาในลักษณะยื่นออก มาจากหีบพระบรมศพ ฝาพระบาทท�ำเปนรูปธรรมจักร สันนิษฐาน วาสรางขึ้นตามพุทธประวัติตอนกอนถวายพระเพลิงพระบรมศพ เมื่อ พระมหากัสสปะเถระกราบหีบพระบรมศพไดเกิดปาฏิหาริย พระบาท ของพระพุทธเจายื่นออกมาจากหีบพระบรมศพ โดยชางพื้นบาน อาจจะไดรับรูปแบบการสรางจากที่เคยไดสักการะพระเจาเขานิพพาน ที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร เมืองพิษณุโลก จึงจ�ำลองรูป แบบมาสรางไวที่วัดทุงธงไชยเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๒๔ - ๒๕


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 139 พระเจาเขานิพพาน วัดทุงธงไชย ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์


140 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บทส่งท้าย จากเนื้อหาที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าพระพุทธรูปโบราณในเขต เมืองหล่มสัก ถือเป็นปูชนียวัตถุสถานที่อยู่คู่ชุมชนท้องถิ่นในอ�ำเภอ หลมสัก และอ� ่ำเภอหลมเก่ า จังหวัดเพชรบูรณ ่ มาช์ านาน ดังเห็นได ้จาก้ ร่องรอยหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ พุทธศิลป์และวัฒนธรรม ภายในวัดหรือสถานที่ประดิษฐาน ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับพัฒนาการ ทางประวัติศาสตรท์ องถิ่นของชุมชนต ้ าง ๆ หลายยุคสมัย และเกี่ยวข ่อง้ กับวิถีวัฒนธรรมของชุมชน พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหลมสักที่ส� ่ำรวจพบสวนใหญ ่ ่ เปนพระพุทธรูปปูนป ็ น ปางมารวิชัย และจากการศึกษาวิเคราะห ั้ รูปแบบ ์ ทางพุทธศิลปสามารถสรุปได ์ว้า พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล ่ มสัก ่ เป็นพระพุทธรูปที่ได้รับอิทธิพลรูปแบบทางพุทธศิลป์จากกลุ่มพระพุทธรูปในศิลปะล้านช้างตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ ๒๓ - ๒๔ ลง มา แม้ว่าพระพุทธรูปที่ถูกสร้างขึ้นในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ และในพุทธศตวรรษที่ ๒๕ จะไดรับอิทธิพลทางศิลปกรรมจากกรุงเทพ- ้ มหานครหรือสกุลชางจากลุ่มแม่ น�้ ่ำเจาพระยา แต้ ก็ยังปรากฏร ่องรอย่ ของรูปแบบงานพุทธศิลป์ล้านช้างให้เห็นอยู่ นอกจากนี้ยังมีการผสม ผสานรูปแบบทางศิลปะจนท�ำใหพระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล ้ มสัก ่ มีรูปแบบทางพุทธศิลป์ที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะท้องถิ่นค่อนข้างสูง ซึ่ง มีความนาสนใจและต ่ อยอดการศึกษาวิเคราะห ่ทางด์ านพุทธศิลป ้ เป์น็ อย่างยิ่ง


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 141 ความงดงามแบบพื้นถิ่นของพระพุทธรูปโบราณในเขตเมือง หล่มสัก ถือเป็นงานพุทธศิลป์ที่ล�้ำค่าของชุมชนที่ถูกสร้างขึ้นด้วย ฝีมือของนายชางพื้นบ ่ านที่เป ้นคนล็านช้างและคนต้ างถิ่นหลากหลาย ่ เผาพันธุ ่ ที่เดินทางไปมาหาสู ์ กันบนแผ ่ นดินที่ราบลุ ่มแห่ งนี้ น� ่ำความรัก ความรูมาสู้ กันด ่ วยงานฝีมือทางช ้ างเพื่อถวายเป ่ นพุทธบูชา เป ็นความ็ งามที่บริสุทธิ์ผุดผาดไรมายาคติใดใด มีแต ้ หัวใจงดงามที่ถ ่ ายทอดฝีมือ ่ ลงไปในงานศิลปกรรม มิใช่เพียงคนเดียว หากแต่ร่วมมือกันอย่าง เหนียวแนนหลายสิบหลายร ่ อยคน ผสานกลมกลืนทั้งความคิดและฝีมือ ้ ออกมาเป็นงานที่ยิ่งใหญ่สง่างามมาจนถึงรุ่นลูกหลาน มิเคยอ้างอวด ชื่อหรือเรียกร้องสิ่งตอบแทนใดใด (นิวัติ กองเพียร, ๒๕๕๘ : ๑๐๙) ในขณะเดียวกันพระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก ก็ได้ ถูกกลาวถึงความส� ่ำคัญในฐานะมรดกทางศิลปวัฒนธรรมและพระพุทธศาสนาในท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็น “มรดกแห่งศรัทธา” การให้ความเคารพศรัทธาในฐานะเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของคนใน ชุมชน ช่วงเทศกาลสงกรานต์โดยเฉพาะช่วงบ่ายวันที่ ๑๓ เมษายน ของทุกปี จะพบว่าชาวบ้านลูกหลานในชุมชนนั้น ๆ ทั้งที่อยู่ในชุมชน และที่เดินทางไปท�ำงานต่างถิ่นก็จะกลับมาท�ำพิธีสรงน�้ำพระพุทธรูป ส�ำคัญอันถือเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำชุมชน ตลอดทั้งท�ำการ อธิษฐานยกพระพุทธรูปเพื่อเป็นการขอพรและเสี่ยงทายอนาคตที่จะ เกิดขึ้นในอีกหนึ่งปีขางหน้ า ทั้งนี้เนื่องจากว ้ าพระพุทธรูปโบราณหลาย ่ องคจะถูกอัญเชิญมาประดิษฐานให ์ พุทธศาสนิกชนได ้ กราบไหว ้ขอพร้ อย่างใกล้ชิดเพียงปีละครั้งเท่านั้น


142 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หนังสือเล่มนี้ อาจไม่ใช่รายงานผลการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสักที่ดีที่สุดหรือสมบูรณ์ที่สุด เพราะไมใช่ การหาค� ่ำตอบในทุก ๆ ประเด็นเกี่ยวกับพระพุทธรูปโบราณ ในเขตเมืองหล่มสักเป็นหลัก หากแต่เป็นการศึกษาตามที่ผู้เขียนให้ ความสนใจและต้องการที่จะน�ำมาเผยแพร่ให้ผู้อ่านได้รับรู้ข้อมูลด้วย เพราะในการศึกษาครั้งนี้มีขอจ� ้ำกัดในหลาย ๆ ดาน ทั้งด ้ านงบประมาณ ้ ในการเดินทางส�ำรวจข้อมูล เวลาที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) และยังมีพระพุทธ รูปโบราณส�ำคัญอีกหลายองค์ที่ผู้ดูแลไม่อนุญาตให้ส�ำรวจเก็บข้อมูล หรือไมอนุญาตให ่ น� ้ำขอมูลมาเผยแพร้สู่ สาธารณะ เพื่อความปลอดภัย ่ และความสบายใจของชุมชน แต่อย่างไรก็ดี องค์ความรู้หรือข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการศึกษา ประวัติศาสตรและพุทธศิลป ์ ์ที่เกี่ยวของกับพระพุทธรูปโบราณในเขต ้ เมืองหล่มสัก ไม่ว่าจะเป็นจากเนื้อหาวิธีการที่ผู้เขียนศึกษาหรือจาก นักวิชาการและผู้สนใจท่านอื่น ๆ ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่ชาวจังหวัด เพชรบูรณ์ควรน�ำไปตั้งค�ำถามต่อผลการศึกษา แล้วต่อยอดขยายผล การศึกษาและบูรณาการโดยแปลงองค์ความรู้เหล่านั้นมาเป็น “ทุน ทางวัฒนธรรม” เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นให้มั่งคั่งและยั่งยืน แต่ไม่ใช่ ว่าจะยึดเอาความคิดเห็นของผู้เขียนหรือของผู้ใดผู้หนึ่งมาใช้เสมอไป หากแต่ท้องถิ่นเองควรน�ำข้อเสนอเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้กับความคิด เห็นอื่นให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นอย่างที่ควรจะเป็น นอกจากนี้ ทางวัดและชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษา พระพุทธรูปโบราณก็ควรร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและ


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 143 เอกชนในการประชาสัมพันธให์ วัดเป ้นแหล็งท่ องเที่ยวและแหล ่ งเรียนรู ่ ้ ทางพระพุทธศาสนาและพุทธศิลปที่ส� ์ำคัญของทองถิ่น ควรท� ้ำเอกสาร และปายประชาสัมพันธ ้อย์างเด่ นชัดและกระจายข ่อมูลอย้างกว่างขวาง้ เพื่อจะท�ำใหวัดและพระพุทธรูปส� ้ำคัญเปนที่รู ็ จักของนักท ้ องเที่ยวและ ่ บุคคลภายนอกมากขึ้น สิ่งหนึ่งที่ผู้เขียนอยากจะสนับสนุนและส่งเสริมผลักดันให้ เกิดขึ้นคือ การสร้างพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อเก็บรักษาและจัดแสดง ศิลปวัตถุ ตลอดจนเผยแพร่องค์ความรู้ส�ำคัญของวัดและพระพุทธรูป โบราณในเขตเมืองหล่มสักเอาไว้ เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษาเรียนรู้ ไดอย้ างสะดวก และควรมีการฝึกมัคคุเทศก ่ ชุมชนในการน� ์ำเสนอขอมูล้ ต่าง ๆ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และพุทธศิลป์ในวัดนั้น ๆ อันจะเป็น พลังในการขับเคลื่อนความเปนท็ องถิ่นที่จะน� ้ำมาซึ่งความภูมิใจใหแก้ ่ ท้องถิ่นและอนุชนรุ่นหลังได้อย่างไม่น่าเชื่อ และปัจจุบันการศึกษา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและวัฒนธรรมท้องถิ่นมีความส�ำคัญควบคู่กับ งานพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น เพราะประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเป็นรากฐานและ สามารถท�ำให้พิพิธภัณฑ์มีคุณค่า มีความหมายต่อชุมชนท้องถิ่นและ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ส�ำคัญด้วย (สุภาภรณ์ จินดามณีโรจน์, ๒๕๕๓ : ๒๘) ผู้เขียนเชื่อว่าการบูรณาการองค์ความรู้และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นคงไม่ยากเกินไปส�ำหรับชุมชน สถานศึกษา วัด และองคกรปกครองส ์วนท่ องถิ่นที่จะร ้ วมมือกันบูรณาการ อันจะเป ่น็ การน�ำมาซึ่งความภาคภูมิใจรวมกันของชาวจังหวัดเพชรบูรณ ่ มีความ ์ มั่นคงทางด้านวิถีวัฒนธรรมและน�ำรายได้เข้ามาสู่ท้องถิ่นได้อย่าง เป็นรูปธรรมและยั่งยืนสืบไป


144 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บรรณานุกรม ก. เอกสารชั้นตนที่ตีพิมพแลว กรมศิลปากร. (๒๕๐๗). ค�ำใหการชาวกรุงเกา. พระนคร: กรมศิลปากร. กรมศิลปากร. (๒๕๔๘). ประชุมจารึก ภาคที่ ๘ จารึกสุโขทัย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. กองหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร. (๒๕๒๑). การแตงตั้ง ขุนนางไทยในสมัยรัชกาลที่ ๕. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา. เจาพระยาทิพากรวงศ. (๒๕๓๗). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓ ของเจาพระยาทิพากร วงศามหาโกษาธิบดี. กรุงเทพฯ: อัมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลิชชิ่ง. จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เลม ๓. (๒๕๓๐). กรุงเทพฯ: หางหุนสวน สามัญนิติบุคคลสหประชาพาณิชย. วินัย พงศศรีเพียร. (๒๕๔๗). พรรณนาภูมิสถานพระนครศรีอยุธยา เอกสารจากหอหลวง (ฉบับความสมบูรณ). กรุงเทพฯ: อุษาคเนย. เอนก นาวิกมูล และธงชัย ลิขิตพรสวรรค. (๒๕๖๕). สมุดภาพเพชรบูรณ. เพชรบูรณ: จังหวัดเพชรบูรณ. Santanee Phasuk and Philip Stott. (2004). ROYAL SIAMESE MAPS: War and Trade in Nineteenth Century Thailand. Bangkok: River Books.


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 145 ข. หนังสือ กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา. (๒๕๔๘). ที่ระลึกในงานถวายผา พระกฐินพระราชทานของกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ประจ�ำป ๒๕๔๘ ณ วัดไพรสณฑศักดาราม อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ. กรุงเทพฯ: กระทรวงการทองเที่ยวและ กีฬา. กองพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรมศิลปากร. (๒๕๓๒). เมืองอุบล ราชธานี. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งกรุพ. จังหวัดสกลนคร. (๒๕๕๙). พระพุทธองคแสน สตสหัสสปฏิมานุสรณ. สกลนคร: จังหวัดสกลนคร กระทรวงมหาดไทย. เติม วิภาคยพจนกิจ. (๒๕๔๒). ประวัติศาสตรอีสาน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ โครงการต�ำราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร. ธีระวัฒน แสนค�ำ. (๒๕๕๖ ก). เมืองเพชรบูรณและเมืองหลมสัก กับศึกเจาอนุวงศ. เพชรบูรณ: ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ. ธีระวัฒน แสนค�ำ. (๒๕๖๐). พระพุทธรูปโบราณในลุมแมน�้ำหมัน จังหวัดเลย. เลย: เมืองเลยการพิมพ. ธีระวัฒน แสนค�ำ. (๒๕๖๑). พระพุทธรูปส�ำคัญในจังหวัดเลย. เลย: ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.


146 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ นฤมล กางเกตุ. (๒๕๕๖). สิม: อิทธิพลศิลปะลานชางผสมพื้นถิ่น อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. เพชรบูรณ: ส�ำนักศิลปะ และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ. ประภัสสร ชูวิเชียร. (๒๕๕๗). ศิลปะลาว. กรุงเทพฯ: มติชน. วรลัญจก บุณยสุรัตน. (๒๕๕๕). ชื่นชมสถาปตย วัดในหลวงพระบาง. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. วิโรฒ ศรีสุโร. (๒๕๓๙). ธาตุอีสาน. กรุงเทพฯ: เมฆาเพรส. ศรีศักร วัลลิโภดม. (๒๕๔๖). แองอารยธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: มติชน. ศรีศักร วัลลิโภดม. (๒๕๕๒). เมืองโบราณในอาณาจักรสุโขทัย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. ศักดิ์ชัย สายสิงห. (๒๕๕๔). พระพุทธรูปส�ำคัญและพุทธศิลปใน ดินแดนไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. ศักดิ์ชัย สายสิงห. (๒๕๕๕). เจดีย พระพุทธรูป ฮูปแตม สิม ศิลปะ ลาวและอีสาน. กรุงเทพฯ: มิวเซียมเพรส. ศักดิ์ชัย สายสิงห. (๒๕๕๖ ก). พระพุทธรูปในประเทศไทย: รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชา ประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. ศักดิ์ชัย สายสิงห. (๒๕๕๖ ข). ศิลปะลานนา. กรุงเทพฯ: มติชน. สงวน รอดบุญ. (๒๕๔๕). พุทธศิลปลาว. กรุงเทพฯ: สายธาร.


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 147 สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ. (๒๕๔๓). นิทานโบราณคดี. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร. สุจิตต วงษเทศ. (๒๕๔๓). เบิ่งสังคมและวัฒนธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: มติชน. สุรศักดิ์ ศรีส�ำอาง. (๒๕๔๕). ล�ำดับกษัตริยลาว. กรุงเทพฯ: ส�ำนัก โบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรมศิลปากร. ส�ำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร. (๒๕๔๓). พระพุทธรูปส�ำคัญ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ค. วารสารและบทความ จินตนา สนามชัยกุล. (๒๕๕๔). “หลวงพอใหญวัดตาลพุทธศิลปรวม ลานชาง: ต�ำนาน ศรัทธา ความเชื่อของชาวหลมเกา”. ใน ศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ. ปที่ ๑ (๒): ๓๔ - ๔๒. ธีระวัฒน แสนค�ำ. (๒๕๕๖ ข). “ภาพจิตรกรรมและภาพปูนปนที่สิมเกา วัดศรีบุญเรือง อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ”. ใน ศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ. ปที่ ๓ (๖): ๒๐ - ๒๗. ธีระวัฒน แสนค�ำ. (๒๕๕๖ ค). “เมืองหลมสัก: ชุมชนโบราณวัฒนธรรม ลานชางที่ถูกลืม”. ใน ไพโรจน ไชย เมืองชื่น และภูเดช แสนสา (บรรณาธิการ). หมุดหมายประวัติศาสตรลานนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพตะวันออก: ๑๙๕ - ๒๑๖.


148 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ธีระวัฒน แสนค�ำ. (๒๕๕๗). “ธาตุวัดตูมค�ำมณี: มรดกพุทธศิลปแบบ ลานชางในเขตหลมสัก”. ใน ศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ. ปที่ ๔  (๗): ๒๒ - ๒๘. นิวัติ กองเพียร. (๒๕๕๘). “หอไตรกลางน�้ำวัดทุงศรีเมือง”. ใน ทางอีศาน. ปที่ ๓ (๓๓): ๑๐๘ - ๑๐๙. รุงโรจน ภิรมยอนุกูล. (๒๕๕๔). “เมืองลุมบาจายอยูล�ำน�้ำสัก”. ใน สยามรัฐสัปดาหวิจารณ. ปที่ ๕๘ (๑๙): ๔๘. วัฒนชัย หมั่นยิ่ง. (๒๕๕๔). “ภาษาถิ่นของอ�ำเภอหลมสัก”. ใน ศิลป วัฒนธรรมเพชบุระ. ปที่ ๑ (๑): ๘๔ - ๙๔. สุภาภรณ จินดามณีโรจน. (๒๕๕๓). “เทศกาลพิพิธภัณฑทองถิ่น ครั้งที่ ๒ กับการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่น”. ใน กาวไปดวยกัน. ปที่ ๖ (๓): ๒๘ - ๓๒. ง. วิทยานิพนธ ขวัญเมือง จันทโรจนี. (๒๕๓๔). ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ของหัวเมืองฝายเหนือในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๙๔). วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชา ประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. มณฑล ประภากรเกียรติ. (๒๕๕๖). ศิลปกรรมสะทอนความเปนชุมชน ลาวในเขตอ�ำเภอหลมสัก และอ�ำเภอหลมเกา จังหวัด เพชรบูรณ. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาประวัติศาสตรศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร.


พระพุทธรูปโบราณในเขตเมืองหล่มสัก 149 จ. สัมภาษณบุคคล ชัยวัฒน โกพลรัตน. (สัมภาษณ). นักวิชาการดานลานชางศึกษา อ�ำเภอ เรณูนคร จังหวัดนครพนม, สัมภาษณวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒. ธนายุทธ อุนศรี. (สัมภาษณ). นักอานจารึกลาว - อีสาน ต�ำบลเวียงคุก อ�ำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย, สัมภาษณวันที่ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๖๖. พระครูโกศลพัชราศัย. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดทุงจันทรสมุทร ต�ำบล หลมสัก อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๖. พระครูถาวรพัชรกิจ. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดโฆษา ต�ำบลหวยไร อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๖๑. พระครูปริยัติพัชรกิจ. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดศรีฐานปยาราม ต�ำบล วังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๖. พระครูปริยัติพัชรวิธาน. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดศรีมงคล ต�ำบล นาเกาะ อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๖๑ และวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๖. พระครูมงคลสีลาจารย. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดศิลามงคล ต�ำบล หินฮาว อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๖.


150 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ พระครูสิริพัชรมงคล. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดศรีสุมังค ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๖๑. พระครูสิริพัชรโสภิต. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดศรีสะอาด ต�ำบล ตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๖๑. พระครูสิริพัชรากร. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดศรีภูมิ ต�ำบลบานติ้ว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๖๑. พระครูสุธรรมพัชรศาสน. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดทุงธงไชย ต�ำบล หลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๖๑. พระครูสุพัชราภรณ. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดศรีบุญเรือง ต�ำบล ตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๑. พระครูพัชรเหมคุณ. (สัมภาษณ). เจาอาวาสวัดธาตุพลแพง ต�ำบล นาแซง อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๖๑. พระจรูญ ปภากโร. (สัมภาษณ). วัดลัฏฐิวนาราม ต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ วันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๖.


Click to View FlipBook Version