The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Aom Nuttawadee, 2022-09-22 02:40:48

วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหล่มเก่า

หลักสูตรท้องถิ่นศึกษา

โดย หนวยอนรุ ักษส ่ิงแวดลอ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทองถิ่นจังหวดั เพชรบรู ณ
สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ

หลักสูตรทอ งถิน่ ศึกษา

ดานการอนุรกั ษส่งิ แวดลอ มธรรมชาติและศลิ ปกรรมทองถน่ิ
ตำบลหลม เกา อำเภอหลม เกา จังหวัดเพชรบูรณ

เรื่อง วัฒนธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลมเกา

ภายใตแ ผนงานท่ี ๓ การอบรมสมั มนาเผยแพรค วามรู
เร่อื งการอนรุ ักษส่งิ แวดลอมธรรมชาติและศลิ ปกรรมทองถน่ิ

กิจกรรมที่ ๔ การจดั ทำหลกั สตู รทอ งถน่ิ ศกึ ษา

โครงการจดั ทำหลักสูตรทอ้ งถนิ่ ศกึ ษา
ด้านการอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติและศลิ ปกรรมท้องถิ่น

ตำบลหล่มเกา่ อำเภอหลม่ เก่า จงั หวดั เพชรบูรณ์
เรือ่ ง วฒั นธรรมศึกษา ชุมชนหล่มเกา่

คณะกรรมการจดั ทำ

ท่ีปรึกษา ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรชี า ศรีเรอื งฤทธ์ิ

รกั ษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์

อาจารย์ ดร.แกว้ ตา ผิวพรรณ

รองอธกิ ารบดีฝา่ ยกิจการนกั ศกึ ษาและศลิ ปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นงลักษณ์ อานี

คณบดีคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กานต์ อัมพานนท์

คณบดคี ณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรู ณ์

ดร.อาทิตยา ขาวพราย

รองคณบดีฝา่ ยวิจัยและบริการวชิ าการ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมลฉตั ร กลอ่ มอม่ิ

รองคณบดีฝ่ายประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาและพัฒนา คณะครุศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรู ณ์

ผชู้ ่วยศาสตราจารยจ์ นั ทรพ์ มิ พ์ มเี ปีย่ ม

ผอู้ ำนวยการสำนกั ศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์

อาจารย์ใจสคราญ จารึกสมาน

รองผู้อำนวยการฝา่ ยบริหารและธุรการ

สำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์

อาจารย์ ดร.สดดุ ี คำมี

รองผอู้ ำนวยการฝ่ายกจิ กรรม สง่ เสริม และเผยแพรศ่ ิลปวัฒนธรรม

สำนกั ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบรู ณ์

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ขุนแผน ตมุ้ ทองคำ
รองผ้อู ำนวยการฝ่ายอนุรกั ษ์ วจิ ยั ศลิ ปวัฒนธรรม และภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น
สำนักศิลปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์
ผทู้ รงคณุ วฒุ หิ นว่ ยอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท้องถน่ิ จังหวัดเพชรบรู ณ์
ดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม/ภูมิปญั ญา
นายวรี ยทุ ธ วงศ์อุ้ย
ผทู้ รงคณุ วุฒหิ น่วยอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ้ งถนิ่ จังหวดั เพชรบูรณ์
ดา้ นประวัตศิ าสตร์/โบราณคดี
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อสิ ระ ตงั้ สวุ รรณ
ผู้ทรงคุณวฒุ ิหน่วยอนุรักษส์ ่งิ แวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถนิ่ จงั หวัดเพชรบูรณ์
ด้านระบบนิเวศ/สงิ่ แวดลอ้ ม

ผู้เรยี บเรยี งขอ้ มูล นางสาวณัฐวดี แกว้ บาง
นกั วชิ าการวัฒนธรรม สำนักศิลปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์
นายวิโรจน์ หุ่นทอง
นักวชิ าการวัฒนธรรม สำนกั ศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
นางนิภา พลิ าเกดิ
นักวชิ าการวัฒนธรรม สำนักศิลปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
นางสาวมัลลิกา อฤุ ทธิ์
นักวชิ าการวัฒนธรรม สำนักศิลปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรู ณ์
นางสาวจริ ภา เหมือนพมิ ทอง
นักวิชาการวัฒนธรรม สำนักศิลปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรู ณ์

ภาพถา่ ย นายพิทกั ษ์ จนั ทรจ์ ิระ
นกั วิชาการชา่ งศิลป์ สำนักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
นางสาวมนชยา คลายโศก
นกั วชิ าการวัฒนธรรม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์

จัดพมิ พแ์ ละเผยแพร่โดย
สำนักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบรู ณ์
๘๓ หมู่ ๑๑ ตำบลสะเดียง อำเภอเมอื งเพชรบรู ณ์ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ๖๗๐๐๐
โทรศพั ท.์ ๐๕๖ - ๗๑๗๑๔๐ โทรสาร. ๐๕๖ - ๗๑๗๑๔๐

เอกสารฉบับนี้ โดย หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดเพชรบูรณ์ สำนักศิลปะ
และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ได้รับความร่วมมือจากสำนักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงได้รับการสนับสนุนงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยมี
วัตถุประสงค์ในจัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ให้เยาวชนในพื้นที่ และผู้ที่สนใจ เกิดการเรียนรู้และตระหนักถึงคุณคา่
ในวัฒนธรรมท้องถิ่นของตนเอง จากหลักสูตรท้องถิ่นศึกษา ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ
ศลิ ปกรรมท้องถิ่น ตำบลหลม่ เกา่ อำเภอหลม่ เกา่ จงั หวดั เพชรบูรณ์

คำนำ

หลักสูตรท้องถิ่น เรื่องวัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหล่มเก่า จัดทำขึ้นจากโครงการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น
ศึกษาด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น ตำบลหล่มเก่า อำเภอหล่มเก่า จังหวัด
เพชรบูรณ์ ภายใต้แผนงานที่ ๓ การอบรมสัมมนาเผยแพร่ความรู้เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและ
ศิลปกรรมท้องถิ่น กิจกรรมที่ ๔ การจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นศึกษา ซึ่งทางหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
และศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดเพชรบูรณ์ หน่วยงานภายใต้การดูแลของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ได้รับจัดสรรงบประมาณจากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมให้ดำเนินโครงการดังกล่าว โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับชุมชน
หลม่ เก่า และสามารถแสวงหาความรเู้ พิ่มเติมเพื่อสร้างองค์ความรู้ของตนเอง มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิด
สร้างสรรค์ และมีความสามารถในการนำเสนอผลงานจากเรียนรู้ของตนเอง และเพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมจี ิตสำนึกที่ดีต่อ
ชุมชน มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเปน็ พลเมอื งดตี ามวถิ ีชมุ ชน

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหลักสูตรฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจ และเป็นแนวทางในการ
สง่ เสริมการจัดการเรียนร้ใู นสถานศึกษาตอ่ ไป

หน่วยอนุรกั ษ์ส่งิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท้องถิน่ จังหวดั เพชรบรู ณ์
สำนักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์
๒๕๖๕

วฒั นธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหล่มเก่า โดย หนว่ ยอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถ่ิน จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ก























สารบัญ

เรอื่ ง หน้า

คำนำ ก

การวเิ คราะหห์ ลกั สตู รท้องถิ่น รายวิชาวัฒนธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เก่า ข

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑

คำอธิบายรายวชิ า ช

โครงสร้างรายวชิ า ซ

โครงการสอน รายวชิ า วัฒนธรรมศกึ ษา ชุมชนหล่มเกา่ หลักสูตรท้องถ่นิ ญ

สารบัญ ฐ

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ ประวตั ิศาสตร์และความเปน็ มาของเมอื งหลม่ เก่า ๑

- สาระสำคญั ๑

- จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑

- กระบวนการจดั การเรียนรู้ ๒

- ใบความรทู้ ี่ ๑ ประวัตศิ าสตรแ์ ละความเปน็ มาของหล่มเก่า ๓

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๒ สถานทส่ี ำคญั ทางพระพทุ ธศาสนาของชาวตำบลหล่มเก่า ๑๒

- สาระสำคญั ๑๒

- จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑๒

- กระบวนการจดั การเรียนรู้ ๑๓

- ใบความรทู้ ่ี ๒ สถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนาของชาวตำบลหลม่ เกา่ ๑๔

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๓ ประเพณีของชาวตำบลหล่มเกา่ ๒๓

- สาระสำคัญ ๒๓

- จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒๓

- กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๒๔

- ใบความรทู้ ่ี ๓ ประเพณีของชาวตำบลหลม่ เก่า ๒๖

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๔ พิธีกรรมและความเช่ือของชาวตำบลหล่มเกา่ ๕๐

- สาระสำคญั ๕๐

- จุดประสงค์การเรียนรู้ ๕๐

- กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ๕๑

- ใบความร้ทู ่ี ๔ พธิ กี รรมและความเชื่อของชาวตำบลหลม่ เก่า ๕๒

วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถน่ิ จงั หวัดเพชรบูรณ์ ฐ

สารบญั (ตอ่ ) หน้า

เร่อื ง ๘๖
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๕ การสร้างผลงานท่เี กย่ี วข้องกับประเพณี ๘๖
๘๖
พิธีกรรมและความเช่ือของชาวตำบลหล่มเก่า ๘๗
- สาระสำคัญ ๘๙
- จุดประสงค์การเรยี นรู้
- กระบวนการจดั การเรียนรู้ ๑๐๒
- ใบความรู้ที่ ๕ การสร้างผลงานทเี่ กย่ี วข้องกับประเพณี

พธิ ีกรรมและความเชื่อของชาวตำบลหลม่ เกา่
บรรณานกุ รม

วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถน่ิ จังหวัดเพชรบูรณ์ ฑ

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ ชื่อหน่วย ประวตั ศิ าสตรแ์ ละความเปน็ มาของหล่มเกา่ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง

หลักสูตรท้องถิน่ เรอื่ ง วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหล่มเกา่ สำหรับนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕

โรงเรยี น....................................................................

*************************************************************************************************************

สาระสำคัญ
เมืองหล่มเก่า ปรากฏขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ซึ่งมีหลักฐานปรากฏ

ในศิลาจารกึ ของพ่อขนุ รามคำแหงมหาราช ว่า “เมอื งหล่มน้ีมิใชเ่ ปน็ เมืองทางราชการ แตเ่ ปน็ เมืองท่ีเกิดขึ้น
โดยประชาชนร่วมกันสร้าง ในชื่อว่า “เมืองหล่ม” เมื่อย่างเข้าสู่สมัยรัตนโกสินทร์เมืองหล่มเก่านี้กลายเป็น
เมืองของชาวลาวขนาดใหญ่ และเมื่อมีการอพยพมามากยิ่งขึ้นจากหลวงพระบางจึงได้มีการตั้งเมืองใหม่
บรเิ วณทางใต้ของเมอื งหลม่ เกา่ ซึ่งก็คอื เมอื งหลม่ สักในปัจจุบัน

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถอธิบายองคค์ วามรเู้ กย่ี วกับประวัตคิ วามเปน็ มาของชมุ ชนหลม่ เกา่ ได้ (K)
๒. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของชุมชน

หล่มเกา่ ได้ (P)
๓. เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมีจิตสำนึกรักษแ์ ละภาคภมู ใิ จในชมุ ชนบ้านเกดิ (A)

วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถ่ิน จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ๑

กระบวนการจัดการเรยี นรู้
กระบวนการจดั การเรยี นรู้ประกอบด้วยกจิ กรรมการเรยี นรู้ ดังนี้

ขน้ั การต้งั คำถาม
นกั เรียนตง้ั คำถามจากภาพทเ่ี หน็ ให้ไดม้ ากทีส่ ดุ เวลา ๑๐ นาทีผา่ นระบบ Padlet

ภาพ ชมุ ชนบา้ นหล่มเก่า
ทม่ี า: (หนุม่ -สุทน รุ่งธญั รัตน์, ๒๕๖๕)

ขั้นการรวบรวมข้อมูล
นักเรียนแบ่งกลุ่มคละความสามารถ เก่ง ปานกลาง อ่อน ศึกษาใบความรู้ ชมุ ชนบา้ นหล่มเก่า

ขั้นการจัดการข้อมลู
นกั เรียนศกึ ษาใบความรู้ ชนุ ชนบ้านหล่มเก่า แล้วเปรยี บเทียบความแตกตา่ งทางประวัติศาสตร์ของ

อำเภอหล่มเกา่ แตล่ ะยุคสมยั เปน็ แผนภาพอินโฟกราฟิก

ขน้ั การนำเสนอ
นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำเสนอผลงานตนเอง ครูให้ข้อเสนอแนะเตมิ เต็มผลงานนักเรยี น

ขั้นสะท้อนบทเรียน (AAR)
นักเรียนแต่ละคนสะท้อนผลการเรยี นรูข้ องหน่วยการเรียนรู้ ชมุ ชนบ้านหล่มเกา่ ครใู หข้ ้อเสนอแนะ

เตมิ เตม็ ผลการสะท้อนของนักเรยี นผ่านระบบ Padlet

วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนรุ ักษส์ ่ิงแวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถนิ่ จังหวดั เพชรบรู ณ์ ๒

ประวัติศาสตร์ชุมชน คือ เรื่องราวการบอกเล่าความเป็นมาของคนในชุมชนนั้น ๆ โดยมีความ

เชื่อมโยงระหว่างคนกับพื้นที่ที่มีความผูกพันกัน แสดงถึงตัวตนของคนท้องถิ่นนั้น ๆ เกิดจากความเชื่อ

ที่มีร่วมกัน ประวัติศาสตร์ชุมชนหรือประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับสมาชิกของชุมชนท้องถ่ิน

นั้น ๆ ต่างมีความสำนึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีความเป็นวัฒนธรรมของตนเองซึ่งทำให้ผู้คนในท้องถิ่น

นั้น ๆ มีอะไรหลาย ๆ อย่างที่มีความคล้ายคลึงกันจนมีจิตสำนึกว่าเป็นคนถิ่นเดียวกัน แสดงให้เห็นถึง

การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมของตนเองที่เกิดขึ้นและมีการสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน

อำเภอหล่มเก่าจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์

เดิมเรียกว่า เมืองลุ่ม เมืองล่ม หรือเมืองหล่ม

ความหมายในพจนานุกรม หมายความว่า ที่มี

โคลนลึก ที่ลุ่มด้วยโคลน ส่วนความหมายที่เป็น

คำพื้นเมือง หมายความว่า ใต้ หรือ ล่าง เพราะ

ชาวอำเภอหล่มเก่า อพยพมาจากเมืองหลวง-

พระบาง ซึ่งอยู่ทางเหนือ จึงเรียกเมืองที่อยู่ทาง

ใต้ว่า เมืองลุ่ม เช่นเดียวกับชาวเมืองเวียงจันทน์

ภาพ ที่วา่ การอำเภอหลม่ เก่าหลังท่ี ๓ เรียกคนในภาคอีสานว่า ไทใต้ ส่วนคำว่าหล่ม
ที่มา: (วิศัลย์ โฆษติ านนท์, ๒๕๕๔) น่าจะเป็นคำเรียกให้ถูกต้องตามสำเนียง
ภาษาไทย จากคำวา่ ลมุ่ หรือ ลม่

ราษฎรชาวอำเภอหล่มเก่า สืบเชื้อสายมาจากชาวไทยหลวงพระบาง เพราะขนบธรรมเนียม

ประเพณี ความเป็นอยู่ตลอดจนสำเนียงภาษาเหมือนกับชาวหลวงพระบางทุกอย่าง การสร้างบ้านเมืองใน

สมัยแรกไม่มีหลักฐานพอจะอ้างอิงทชี่ ดั เจน ปรากฏหลกั ฐานการสร้างวดั เลยี บริมฝั่งตะวันออกของลำน้ำพุง

เช่น วัดศรีมงคลบ้านหินกลิ้ง วัดตาล วัดศรีสุมังค์ และวัดกู่แก้ว (เป็นวัดที่ยังสร้างไม่เสร็จ และร้าง พระครู

ประธานศาสนกิจ ให้รื้อและนำอิฐไปสร้างกำแพงวัดสระเกศ เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๑๐ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสภา

ตำบลหล่มเก่า) ด้านฝั่งตะวันตกของลำน้ำพุงตรงกันข้ามได้สร้างวัดจอมแจ้ง (เดิมเรียกว่า วัดแป่ม)

และวดั ท่งุ ธงไชย วัดแตล่ ะแห่งจะสรา้ งหา่ งกัน ประมาณ ๒๐๐ เมตร จงึ นา่ เชื่อได้วา่ เป็นท่ีตงั้ ของชุมชนเมือง

มาก่อน ส่วนชุมชนรอบนอกปรากฏหลักฐานการสร้างวัดประจำหมู่บ้าน เช่น วัดพระธาตุพลแพง

บ้านนาแซง วัดศรมี งคล บ้านนาทราย วดั ศรฐี าน บ้านวงั บาล เจดียป์ ู่เถร (เดมิ เปน็ วดั เกา่ ช่ือ วดั โพธ์ิ ปจั จบุ ัน

คือบรเิ วณโรงเรยี นบา้ นวงั บาล) เปน็ ต้น

วฒั นธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ๓

เมอื งหล่มเก่ายคุ สมยั กรุงสโุ ขทัย
ช่วงปีพุทธศักราช ๒๒๓๘ - ๒๒๙๓ ราชสำนักเวียงจันทน์ได้เกิดความวุ่นวายและเกิดสงครามแย่ง

ชงิ ราชสมบตั ริ ะหว่างขุนนางกับพระราชวงศ์ ทำให้เกดิ การอพยพผู้คนคร้ังใหญ่ลงไปทางใต้ตามลำแม่น้ำโขง
โดยการนำของพระครูยอดแก้วโพนสะเม็ก (ญาคูขี้หอม) และเกิดเป็นนครรัฐจำปาศักดิ์ขึ้นมา (สุรศักดิ์
ศรีสำอาง, ๒๕๔๕ : ๓๒๗ - ๓๒๘) ผลของความขัดแย้งทำให้เจ้านายและไพร่ฟ้าพลเมืองลาวหนีความวุ่นวาย
ไปตั้งหลักแหล่งใหม่ในท้องถิ่นต่าง ๆ (สุจิตต์ วงษ์เทศ, ๒๕๔๓ : ๘๙) จึงมีความเป็นไปได้ที่จะมีเจ้านาย
ขุนนางและชาวเมืองลาวกลุ่มหนึ่งอพยพหนีภัยมาทางเมืองทรายขาว (เมืองทรายขาว เป็นเมืองหน้าด่าน
สำคัญเมืองหนึ่งของอาณาจักรล้านช้าง ตั้งอยู่ในลุ่มแม่น้ำเลยตอนบน ปัจจุบันอยู่ในเขตอำเภอวังสะพุง
จังหวัดเลย) ข้ามเขตเทือกเขาลงมายังที่ราบลุ่มแม่น้ำป่าสักตอนบนเหนือเมืองเพชรบูรณ์ ซึ่งเป็นพื้นที่
สุญญากาศทางการเมืองการปกครอง เพราะเป็นเขตต่อแดนระหว่างอาณาจักรสยามกับอาณาจักรล้านช้าง
ทำให้ชาวเมืองหล่มสักมีวัฒนธรรมเหมือนกับชาวลาวสองฝั่งโขงทุกประการ และไม่ได้ถูกกวาดต้อนมา
หลังจากศกึ เจ้าอนุวงศอ์ ย่างท่ีเคยเขา้ ใจกนั มาแตเ่ ดิมอย่างแน่นอน (ธรี ะวัฒน์ แสนคำ, ๒๕๕๖ : ๓๗)

สมเดจ็ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงบันทึกเรอ่ื งเมืองหล่มเก่าในนิทานโบราณคดี เรือ่ ง ความไข้
เมอื งเพชรบรู ณ์คราวเสด็จมาตรวจราชการเมืองหล่มเก่า เมอื่ เดือนกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๗๗ วา่ “เห็นจะเป็น
ราษฎรอพยพหนีภัยสงครามจากลา้ นช้างเข้ามาประกอบอาชีพ ทำเรือกสวนไร่นาเลี้ยงสัตว์ แต่เป็นเมืองมา
คร้ังสมัยสุโขทัย มีปรากฏในหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง ว่าเมืองล่ม แต่สังเกตไม่มีของโบราณแต่
อย่างใดที่แสดงว่าเป็นเมืองที่รัฐบาลตั้งมาแต่ก่อน” สันนิษฐานว่า เมืองหล่มสักนี้อาจเป็นเมืองเดียวกับ
“เมืองลุม” หรือ “เมืองลุมบาจาย” ที่ปรากฏในจารึกสมัยสุโขทัย แต่ชั้นหลังมีการเรียกว่า “เมืองหล่ม”
ซึ่งก็หมายความอย่างเดียวกัน (สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ๒๕๔๓ : ๑๓๖) ชื่อเมืองลุมปรากฏชอ่ื
เรียกคู่กับ “เมืองราด” ของพ่อขุนผาเมือง ทำให้บางคนเชื่อว่าบริเวณนี้ยังเป็นที่ตั้งของเมืองราดด้วย
ดังปรากฏตำนานเร่ืองเล่าในท้องถิ่นเกีย่ วกับพ่อขนุ ผาเมืองและพระนางสิขรเทวี (วัฒนชยั หม่ันย่ิง, ๒๕๕๔
: ๘๕-๘๖)

ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ได้กล่าวไว้ในหนังสือมังรายศาสตร์ว่า “...อำเภอหล่มเก่าอาจ
เปน็ เมืองลมบาจาย ในหลักศิลาจารึก หลักท่ี ๑ ของกรงุ สโุ ขทัย...”

วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนรุ กั ษส์ ่งิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถิ่น จังหวดั เพชรบูรณ์ ๔

เมอื งหล่มเก่ายุคสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา
คำให้การของขุนหลวงวดั ประดทู่ รงธรรม สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนปลาย กล่าวถึงเมอื งหลม่ เก่าวา่

“อนึ่ง เรือระแหงแขวงเมืองตาก แลเรือหางเหยี่ยวเมืองเพชรบูรณ์นายมบรรทุกครั่ง กำยาน เหลกหางกุง้
เหลกล่มเลย เหลกน้ำภี้ ใต้ หวาย ชัน นำ้ มันยาง ยาสบู เขา หนัง หน่องา อน่งึ เรอื ใหญท่ า้ ยแกว่งชาวเมือง
สวรรคโลกย์แลหัวเมืองฝ่ายเหนือบันทุกสินค้าต่างๆ ฝ่ายเหนือมาจอดเรือฃายริมแม่น้ำแลในคลองใหญ่วัด
มหาธาตุในเทศกาลน่าน้ำ ๑” (วนิ ัย พงศศ์ รีเพียร, ๒๕๔๗ : ๙๐)

คำว่า “เหลกล่มเลย” ในเอกสารข้างต้นนั้น หมายถึง เหล็กที่นำมาจากเมืองหล่มซึ่งก็คือเมือง
หลม่ สกั และเมอื งเลย ท่เี รยี กชอื่ ต่อกนั นั้นเนื่องจากเมืองหล่มสักและเมืองเลยอยู่ใกล้กัน เวลาท่ีนำสินค้า
ลงไปขายที่กรุงศรีอยุธยาก็จะนำสินค้าลงไปทางเดียวกันคือ ล่องเรือไปตามแม่น้ำป่าสัก นอกจากน้ี
ใน คำให้การชาวกรุงเก่า ซึ่งเป็นคำให้การของชาวกรุงศรีอยธุ ยาหลังเหตกุ ารณเ์ สียกรุงศรอี ยุธยาครั้งที่ ๒
พ.ศ. ๒๓๑๐ ก็ปรากฏช่ือเมืองหล่มสกั อย่ใู นรายช่อื กล่มุ เมืองต่าง ๆ ในหวั เมืองฝา่ ยเหนอื ดว้ ย (กรมศลิ ปากร,
๒๕๐๗ : ๒๐๑-๒๐๒)

ปีพทุ ธศกั ราช ๒๒๕๐ เกดิ ข้อพพิ าทระหว่างเมืองเวียงจนั ทน์ และเมืองหลวงพระบาง สมยั พระเจ้า
ไชยเชษฐาธิราชที่ ๒ (เจ้าชัยองเว้) เมืองเวียงจันทน์ กับเจ้ากิงกิสราช เมืองหลวงพระบาง จนเกิดสงคราม
ใหญ่ เป็นเหตุให้ผู้คนอพยพมาทางใต้ เขา้ มาตงั้ เปน็ ชุมชนขนึ้ ได้แก่เมืองน้ำปาด (จังหวัดอตุ รดติ ถ์) เมืองเลย
เมืองด่านซ้าย และเมืองหล่ม

เมอื งหล่มเกา่ ยคุ สมัยกรุงธนบุรี
ปีพุทธศักราช ๒๓๒๑ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยากษัตริย์ศึกฯ

(พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) และเจ้าพระยาสุรสีห์ (สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท)
ยกทัพไปตีเวียงจันทน์ กรณีพระเจ้าสิริบุญสาร เจ้าผู้ครองเวียงจันทน์ นำกองทัพเข้ามาปราบปรามพระวอ
พระตา ในเขตประเทศไทยประกอบกับเวียงจันทน์ยังมีความสัมพนั ธ์อย่างใกลช้ ิดกับพม่า โดยมิได้หวั่นเกรง
พระบรมเดชานภุ าพของสมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช

ผลของสงครามในครั้งนั้น ปรากฏว่าไทยตีได้เมืองจำปาศักดิ์ เมืองเวียงจันทน์ และเมืองหลวงพระ
บางทั้งสามเมืองจึงตกเป็นประเทศราชของไทยอีกครั้งหนึ่ง กองทัพไทยได้อัญเชิญพระแก้วมรกต
และพระบาง ลงมายังกรุงธนบุรี และกวาดต้อนราษฎรชาวเมืองเวยี งจันทน์เข้ามาอยูอ่ าศัยในเขตไทยต้งั แต่
เมอื งลพบรุ ี สระบุรี นครนายก ปราจนี บุรี นครปฐม จนถึงเมืองราชบุรี

ส่วนราษฎรชาวเมอื งหลวงพระบาง เมอื งไชยบรุ ี และเมอื งเวียงจันทน์ ได้อพยพหนภี ยั ของสงคราม
เข้ามาอยู่อาศัยในเขตเมืองน้ำปาด เมืองนครไทย (จังหวัดพิษณุโลก) และเมืองหล่ม ทำให้มีประชากรเพิ่ม
เป็นจำนวนมากขึ้นกว่าครั้งแรก จากเดิมมีกลุ่มประชากรที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่รวมกันหลากหลายกลุ่ม

วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนุรักษส์ ่งิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถน่ิ จงั หวดั เพชรบูรณ์ ๕

เช่น กลุ่มชาวเมืองหลวงพระบาง กลุ่มชาวเมืองเวยี งจันทน์ กลุ่มชาวพวน จากแขวงเชียงราย และกลุ่มชาว

ไชยบุรี เป็นต้น แต่ในปัจจุบันกลุ่มประชากรเหล่านั้นอยู่อาศัยผสมผสานร่วมกันจนแทบจะแยกไม่ออก

และยังคงยึดถือปฏิบัติขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมรวมถึงสำเนียงภาษาที่ใช้พูดกันไว้ได้อย่างมั่นคง

จนบุคคลทั่วไปเรียกว่า ภาษาหล่ม ซึ่งเป็นสำเนียงที่แตกต่างจากสำเนียงทางภาคเหนือและภาคอีสานของ

ไทยนนั่ เอง
ปพี ุทธศักราช ๒๓๒๕ พระสรุ ยิ วงษามหาภักดีเดชชนะสงคราม เจา้ เมืองหล่ม ไดย้ า้ ยเมอื งหลม่ ไป

สร้างใหม่บริเวณท่ากกโพธิ์ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำป่าสัก ซึ่งเป็นทำเลที่อุดมสมบูรณ์ พื้นที่เหมาะแก่การ
ทำเรือกสวนไร่นาสามารถขยายเป็นเมืองใหญ่ได้ ประกอบกับต้องอาศัยแม่น้ำป่าสักในการขนส่งสินค้า
และค้าขายกับเมืองต่างๆ ได้อย่างสะดวก โดยเรียกเมืองที่สร้างใหม่ว่าเมืองหล่มสัก ส่วนเมืองเดิมเรียกว่า
หล่มเก่า หรือเมืองเก่า (นฤมล กางเกตุ, ๒๕๕๖) มีการสร้างจวนเจ้าเมืองที่ริมฝั่งตะวันออกของ
แมน่ ้ำปา่ สกั (ปัจจุบนั คอื พิพิธภัณฑห์ ล่มศักด)์ิ การสรา้ งเมืองใหม่ ยงั เรยี นแบบจากเมืองเก่าท่ีมีลักษณะเป็น
เมืองอกแตกเหมือนกัน การสร้างวัดขึ้นใหม่ยังคงใช้ชื่อวัดเหมือนกับเมืองเก่า เช่น วัดทุ่งธงไชย เป็นวัดทุ่ง
จันทร์สมุทร วัดตาล เป็นวัดลัฐฐิวนาราม วัดศรีสุมังค์ เป็นวัดศรีบุญเรือง วัดจอมแจ้ ง เป็นวัดศรีสะอาด
เป็นตน้

เมืองหล่มเก่ายุคสมัยกรงุ รตั นโกสินทร์

ปพี ทุ ธศักราช ๒๓๖๙ เจา้ อนุวงศแ์ หง่ เมอื งเวยี งจนั ทน์ เดนิ ทางมาร่วมงานพระบรมศพของรัชกาล
ที่ ๒ ก่อนเดินทางกลบั เวียงจันทน์ไดก้ ราบบังคมทูลตอ่ รัชกาลที่ ๓ ขอประชากรชาวลาวที่ถูกกวาดตอ้ นมา
ครั้งสมัยกรุงธนบุรีกลับไปยังเมืองเวียงจันทน์ด้วย แต่รัชกาลที่ ๓ ไม่โปรดพระราชทานให้เจ้าอนุวงศ์
จึงน้อยใจและเสียหน้าเกิดความรู้สึกเป็นศัตรูต่อกรุงเทพฯ ระหว่างการเดินทางกลับเมืองเวียงจันทน์น้ัน
จึงได้กวาดต้อนเอาประชากรชาวลาวทางฝัง่ ขวาของแม่น้ำโขงกลับไปท่ีเมืองเวียงจันทน์ดว้ ย หลังจากน้นั ได้
รวบรวมกองกำลังแล้วยกกองทัพเข้าตีกรงุ เทพมหานคร

เจา้ อนวุ งศ์พรอ้ มด้วยเจ้าสทุ ธิสาร (โป๊) ยกทัพหลวงบุกเข้ายึดเมอื งนครราชสมี าได้สำเร็จและสั่งเจ้า
ราชวงศ์ (เหง้า) ยกทัพหน้าลงมากวาดต้อนผู้คนที่เมืองสระบุรี เมื่อฝ่ายกรุงเทพฯรู้ข่าวจึงรีบยกทัพไปท่ี
เมืองสระบุรี แต่พบว่าผู้คนถูกกวาดต้อนไปแล้วจึงตั้งทัพรักษาเมืองสระบุรีเพื่อรอกำลังทัพใหญ่จาก
กรุงเทพฯมาสนับสนุนเพื่อขึ้นไปตีเมืองเวียงจันทน์ เมื่อเจ้าอนุวงศ์ทราบข่าวการยกทัพของกรุงเทพฯ
จึงสั่งให้เจ้าสุทธิสาร (โป๊) ตั้งค่ายรับ ณ เมืองภูเขียว ส่วนเจ้าราชวงศ์ (เหง้า) ตั้งค่ายรับที่เมืองหล่ม
โดยแบ่งกองกำลังออกเป็นหลายส่วนเพื่อตั้งค่ายตามรายทางจากเมืองเพชรบูรณ์จนถึงเมืองหล่ม
พรอ้ มทัง้ ใช้เป็นที่พักของชาวลาวท่ีกวาดต้อนมาไดจ้ ากหมบู่ ้านตา่ งๆ ทั้งหมด ๕ ค่าย ดังน้ี ค่ายท่ีหนึ่งตั้ง
ทพั อยทู่ ่บี า้ นนายม ค่ายท่สี องตัง้ ทัพอยทู่ ่ีบ้านตะโพน ค่ายท่ีสามตัง้ ทพั อยูท่ ่ีบ้านสะเดียง คา่ ยท่ีสตี่ ัง้ ทัพอยู่ท่ี
เมืองเพชรบูรณ์ และคา่ ยทีห่ า้ ตง้ั ทพั อยู่ที่ค่ายเมืองหลม่ เมอ่ื ฝ่ายกรงุ เทพเดนิ ทัพมาถึงปราการด่านแรกคือ

วฒั นธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถ่นิ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ๖

ค่ายบ้านนายมทั้งสองฝ่ายเกิดการปะทะกันครั้งใหญ่เป็นผลให้กองทัพกรุงเทพฯตีกองทัพลาวแตกลงได้
จากสงครามมีผลต่อคนลาวหล่มเปน็ อยา่ งมากเพราะกองทัพเจ้าอนุวงศ์ไดก้ วาดต้อนกลุ่มคนลาวที่อาศัยอยู่
ในพื้นทเ่ี มอื งหล่มหนกี องทัพสยาม บางกล่มุ กห็ นเี ขา้ ป่า จึงทำใหช้ ่วงนีบ้ ้านเมืองไมม่ ีผคู้ นอาศยั อยูเ่ ลย

หลังจากสิ้นสุดสงครามศึกเจ้าอนุวงศ์แล้ว เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๗๒ ทางกรุงเทพฯ ได้ส่งขุนนาง
และข้าหลวงตามหัวเมืองต่างๆ เข้ามาทำหน้าที่เกลี้ยกล่อมให้ชาวบ้านที่หนีเข้าป่า เมื่อครั้งเกิดศึกสงคราม
ให้กลับเข้ามาต้งั ถ่นิ ฐานบูรณะบ้านเรอื นและทำมาหากินเหมือนเดิม พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจ้าอยู่หัวฯ
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเจ้าเมืองคนใหม่ที่ร่วมในการปราบขบถ ช่ือ คง ในราชทินนาม
พระสุริยวงษามหาภัคดีเดช ชนะสงคราม (เป็นบุตรพระสุริยวงษาที่เข้าร่วมเป็นขบถเจ้าอนุวงศ์) และได้รับ
พระราชทานฐานันดร และเครื่องยศชั้นพระยาพานทองที่พระยาสุริยวงษามหาภัคดีเดชชนะสงครามราม
ภกั ดีวิรยิ ะกรมพาหะ (คง ตน้ ตระกูล สวุ รรณาภา)

ปีพทุ ธศกั ราช ๒๔๓๑ เกดิ ขบถฮอ่ ทเ่ี มืองเชยี งขวาง (เมอื งพวน) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม (พระองค์เจ้าทอง
กองก้อนใหญ่ ต้นตระกูล ทองใหญ่) เป็นแม่ทัพไปปราบ และทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระสุริยวงษา (คง)
ขึ้นไปจัดการปกครองเมืองเชียงขวาง ร่วมกับพระแก้วอาสา (แสง) เจ้าเมืองด่านซ้าย จนถึง พ.ศ. ๒๔๓๓
และได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตราช้างเผือก ชั้น ๓ ชื่อ นิภาภรณ์ (น.ช.) ในระหว่างนั้น
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นพบุรี จากเมืองลพบรุ ี ขน้ึ มารักษาการเมอื งหล่มศักด์ิ

ปีพุทธศักราช ๒๔๓๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้รวบรวมหัวเมืองลาว ยกฐานะเมืองหล่มสัก เป็นหัวเมืองชั้นเอก จัดอยู่ในกลุ่มเมืองลาวฝ่ายเหนือ
มีเมืองขึ้นตรา ๕ เมือง ได้แก่ เมืองหล่มเก่า เมืองด้านซ้าย เมืองเลย เมืองบ่อแตน และเมืองแก่นท้าว
มีข้าหลวงใหญ่กำกับราชการ คือ พระยากำแหงสงคราม (จันทร์ ต้นสกุล อินทรกำแหง) ประจำอยู่ที่เมือง
หนองคาย

พระยาสุริยวงษามหาภัคดีเดชชนะสงครามฯ (คง สุวรรณาภา) ดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองอยู่นานถึง
๕๘ ปี ก็ถึงแก่กรรม มีบุตรธิดา ๒ คน ธิดาคนเล็ก ชื่อ โสภี คนโตเป็นชาย ชื่อ มะลิ ได้รับพระราชทาน
ฐานันดรศักดิ์เป็นพระประเสริฐสุริยศักดิ์ ชาวเมืองหล่มสัก ได้สร้างเจดีย์บรรจุอัฐิพระยาสุริยวงษาฯ
ไวบ้ รเิ วณหน้าพระอุโบสถ วัดศรมี งคล อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบรู ณ์

ปพี ุทธศกั ราช ๒๔๓๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แตง่ ตั้งพระแก้วอาสา (ทองดี) เจ้าเมืองด่านซ้าย
เป็นเจ้าเมืองหล่มสัก แต่ต้องลาออก เนื่องจากพระประเสริฐสุริยศักดิ์ กล่าวหาว่า จัดการมรดกพระยาสุริ
ยวงษาฯ (คง) ไม่เป็นธรรม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง
พระแกว้ อาสา (ทองด)ี ไปเป็นเจา้ เมอื งวิเชยี รบุรี

วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนุรักษ์สงิ่ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถนิ่ จังหวดั เพชรบรู ณ์ ๗

ปีพุทธศักราช ๒๔๓๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิรูปการปกครองแบบ
มณฑลเทศาภิบาล ร.ศ. ๑๑๐ ให้เมืองหล่มสักไปขึ้นกับมณฑลลาวพวน (จังหวัดอุดรธานี) เมืองเพชรบูรณ์
และเมอื งวิเชียรบุรี ขน้ึ กบั มณฑลลาวกลาง (จงั หวดั นครราชสีมา)

ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๔๓๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แตง่ ต้ังหลวงนิกรเกยี รติคุณ (ขาว) เป็นเจ้าเมือง
หล่มสัก ซึ่งเป็นคนภาคกลาง ถูกต่อต้านจากพระประเสริฐสุริยศักดิ์ กรมการเมืองหล่มสัก พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระประเสริฐสุริยศักดิ์ไปเป็นปลัดเมืองเลย
และตำแหน่งนายอำเภอเมอื งเลย ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๔๕๔ – ๒๔๕๘

ปีพุทธศักราช ๒๔๔๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง หลวงรณกิจปรีชา (รื่น สุคนธหงส์)
เป็นเจ้าเมืองหล่มสัก

ปีพุทธศักราช ๒๔๔๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งมณฑลเพชรบูรณ์ ให้โอนเอาเมือง
เพชรบูรณ์ เมืองบัวชุม เมืองไชยบาดาล และเมืองวิเชียรบุรี จากมณฑลลาวกลาง (มณฑลนครราชสีมา)
เมืองหล่มสัก และเมืองเลย จากมณฑลอุดร โดยมีพระยาเพชรรัตนสงคราม (เฟื่อง เฟื่องเพชร)
เป็นสมุหเทศาภบิ าล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๑๘ เมืองหล่มสักถูก
ยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด มีอำเภอหล่มสัก อำเภอหล่มเก่า และอำเภอวังสะพุง ขึ้นตรงในปีเดียวกันนั้นทาง
ราชการได้แต่งตั้งหลวงจรุงกิจประชา (หอม พรหมลัทธิ์) เป็นนายอำเภอหล่มเก่าคนแรกโดยสร้างที่ว่า
การอำเภอครัง้ แรกที่ทุง่ นาขา้ งวัดทงุ่ ธงไชย (ปัจจบุ นั คอื โรงเรยี นวดั ทุ่งธงไชย)

ปพี ุทธศกั ราช ๒๔๔๗ มีประกาศยกเลกิ มณฑลเพชรบรู ณ์ ดว้ ยเหตเุ ปน็ เมอื งเล็กและกนั ดาร ให้โอน
ไปขึ้นกับมณฑลพิษณุโลกทั้งหมด มีเจ้าเมืองพระยาสุรสีห์วิสิษฐ์ศักดิ์ (เชย กัลป์ยาณมิตร)
เป็นสมุหเทศาภบิ าล

ปีพุทธศักราช ๒๔๕๐ มณฑลพิษณุโลก มีอุปสรรคในการปกครองเมืองเพชรบูรณ์ เนื่องจากขาด
แคลนงบประมาณและสิ้นเปลื้องค่าใช้จ่าย จึงตั้งมณฑลเพชรบูรณ์ขึ้นมาอีกเป็นครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๔
กุมภาพนั ธ์ ๒๔๕๐

ปพี ทุ ธศักราช ๒๔๕๘ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อย่หู ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกเลิก
มณฑลเพชรบูรณ์ โอนการปกครองไปขึน้ กับมณฑลพษิ ณโุ ลกอีกคร้งั หนงึ่ เม่ือวันท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๘

ปีพุทธศักราช ๒๔๖๐ พระพิทักษ์สุนทรกิจ (บัง พิมพสุต) นายอำเภอหล่มเก่าได้ย้ายที่ว่าการ
อำเภอจากทุ่งนาข้างวัดทุ่งธงไชย มาสร้างในที่แห่งใหม่ (บริเวณตลาดสุขาภิบาลอำเภอหล่มเก่าปัจจุบัน)
มีการตัดถนนและจัดวางผังเมืองใหม่พร้อมกับบูรณะวัดสระเกษให้เป็นวัดประจำอำเภอ และอาราธนาพระ
ครูประธานศาสนกจิ จากวดั ทงุ่ ธงไชยเป็นเจา้ คณะแขวงรปู แรก

วฒั นธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถิน่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ๘

ปีพุทธศักราช ๒๔๗๖ รัฐบาลได้ตราพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแห่งราชอาณาจักร
สยาม พ.ศ. ๒๔๗๖ โดยให้ยกเลิกมณฑลต่าง ๆ และจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค เป็นจังหวัด
และอำเภอ (หัวหน้าปกครองจังหวัดเรียกข้าหลวงประจำจังหวัด ซึ่งต่อมาเรียกว่า ผู้ว่าราชการจังหวัด)
เมอื งเพชรบูรณ์ ถกู ยกฐานะข้ึนเป็นจังหวดั อำเภอหล่มเก่าจงึ ขึ้นกับจังหวัดเพชรบูรณ์ ตง้ั แตน่ ้นั เปน็ ต้นมา

ปีพุทธศักราช ๒๔๘๓ เกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ประเทศญี่ปุ่นยกกองทัพผ่านประเทศไทย
บังคับรัฐบาลไทยร่วมต่อต้านและประกาศสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตร จอมพล ป.พิบูลสงคราม
นายกรฐั มนตรี ไดต้ ราพระราชกำหนดระเบียบราชการบรหิ ารนครบาลเพชรบรู ณ์ พ.ศ. ๒๔๘๗ จงึ มีการย้าย
ส่วนราชการต่าง ๆ จากกรุงเทพมหานคร เข้ามาอยู่ในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ กองพันทหารราบที่ ๖๑
จากจังหวัดสกลนคร ซึ่งมี พันตรีประภาส จารุเสถียร (ยศขณะนั้น) เป็นผู้บัญชาการ ย้ายมาตั้ง
กองบัญชาการอย่ทู ่ีบา้ นหนิ ฮาว ในชว่ งปี พ.ศ. ๒๔๘๖

ปีพุทธศักราช ๒๔๘๕ นายไสว สุมาลย์กันต์ นายอำเภอหล่มเก่า และนายเยื้อน พยุงศิลป์
นายอำเภอหล่มสัก ได้เกณฑ์แรงงานชาวบ้านสร้างสนามบิน บริเวณตำบลสักหลง อำเภอหล่มสัก (คำว่า
หล่มศักดิ์ เปลี่ยนใหม่เป็นหล่มสัก ตามรัฐนิยมของผู้นำ สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี
และถกู ใช้มาจนถงึ ปจั จบุ ัน) เพื่อเป็นฐานบนิ ขบั ไล่กองทหารฝรั่งเศสออกไปจากอนิ โดจีน

ปีพุทธศักราช ๒๔๙๐ ร.ต.ท.ปิ่น สหัสโชติ นายอำเภอหล่มเก่าได้ย้ายที่ว่าการอำเภอจากตลาด
สุขาภิบาลอำเภอหล่มเก่า มาสรา้ งในทีป่ ัจจบุ ันและเปน็ ศนู ย์กลางของส่วนราชการต่าง ๆ ในอำเภอหล่มเก่า
มาจนถงึ ทกุ วันนี้

ปีพุทธศักราช ๒๕๑๐ กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดงบประมาณสร้างสถานีอนามัยชั้นหน่ึง
ทางราชการได้แตง่ ตงั้ นายแพทย์ประวตั ิ จิตรเ์ จริญ เปน็ หวั หนา้ สถานีอนามยั และพฒั นางานด้านการแพทย์
จนเปน็ โรงพยาบาลที่ทนั สมัยทสี่ ุดแห่งหนึ่ง

ปีพุทธศักราช ๒๕๑๑ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ใช้พื้นที่รอยต่อสามจังหวัด คือ จังหวัด
พิษณุโลก เพชรบูรณ์ และเลย เป็นที่ตั้งกองกำลังเพื่อต่อสู้กับอำนาจรัฐ สร้างความเสียหายต่อชีวิต
และทรัพย์สินของประชาชนไปเป็นจำนวนมาก รัฐบาลในขณะนั้นได้ดำเนินการปราบปรามอย่างจริงจัง
จนเหตกุ ารณท์ ้ังหมดสงบเรียบร้อยลง เม่อื พ.ศ. ๒๕๒๖

ปีพุทธศักราช ๒๕๒๑ กระทรวงมหาดไทย ไดป้ ระกาศต้ังกิ่งอำเภอน้ำหนาว โดยแยกพนื้ ที่ตำบลน้ำ
หนาวออกจากอำเภอหล่มเก่า เนื่องจากเป็นท้องที่ทุรกันดาร ห่างไกลการคมนาคม เจ้าหน้าที่ของรัฐออก
ตรวจตราและเยี่ยมเยียนราษฎรไม่ทั่วถึง เพราะเป็นพื้นที่ชายแดน มีอาณาเขตติดต่อกับ ๓ จังหวัด
๔ อำเภอ ประกอบกับมีการแทรกซมึ ของผู้ก่อการร้ายคอมมวิ นสิ ต์ ซึ่งยากต่อการปราบปราม ซึ่ง ผบ.พตท.

วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนุรกั ษส์ ่ิงแวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมทอ้ งถิน่ จงั หวดั เพชรบูรณ์ ๙

๑๖๑๗ และผูว้ า่ ราชการจงั หวดั เพชรบูรณ์ มีความเหน็ พ้องตอ้ งกันว่าควรจดั ตั้งกิ่งอำเภอกระทรวงมหาดไทย
ไดต้ ้ังเปน็ กิง่ อำเภอ ตามประกาศ ลงวันที่ ๑๖ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๒๑ โดยให้ขน้ึ อยู่กับอำเภอหลม่ เกา่

ทำเนียบนายอำเภอ อำเภอหล่มเก่า จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ดำรงตำแหน่งปีพุทธศักราช ๒๔๔๒ - ๒๔๔๕
๑. หลวงจรุงกจิ ประชา (นายหอม พรหมลทั ธ์ิ ) ดำรงตำแหน่งปีพุทธศักราช ๒๔๔๕ - ๒๔๔๙
๒. ขุนพินจิ สารา (นายดม) ดำรงตำแหนง่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๔๙ - ๒๔๕๐
๓. ขนุ ประสิทธวิ ทิ ยา (นายเคร่ือง เพชรบรู ณนิ ) ดำรงตำแหน่งปีพทุ ธศักราช ๒๔๕๐ - ๒๔๕๑
๔. หลวงสขุ กิจอปุ กรณ์ (นายบวั กาญจนะโกมล) ดำรงตำแหน่งปีพุทธศักราช ๒๔๕๑ - ๒๔๕๕
๕. พระนฤพัฒนผ์ จง (นายถม) ดำรงตำแหน่งปีพทุ ธศักราช ๒๔๕๕ - ๒๔๕๙
๖. หลวงเพชรานุรกั ษ์ (นายโต๊ะ เพชรบูรณิน) ดำรงตำแหนง่ ปีพุทธศักราช ๒๔๕๙ - ๒๔๖๙
๗. พระพิทักษส์ นุ ทรกิจ (นายบัว พมิ สุด) ดำรงตำแหน่งปีพุทธศักราช ๒๔๖๙ - ๒๔๗๑
๘. ขุนอนสุ รณ์ สิทธกิ รรม (นายทองดี วัชโรทยาน) ดำรงตำแหนง่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๗๑ - ๒๔๗๒
๙. ขุนทตี ามรกั ษ์ (นายสายนที คมมินทร์) ดำรงตำแหน่งปีพุทธศักราช ๒๔๗๒ - ๒๔๘๑
๑๐ ขุนญานประสาทน์ (นายว่าน บรุ ารกั ษ์) ดำรงตำแหน่งปีพทุ ธศักราช ๒๔๘๑ - ๒๔๘๒
๑๑ ขนุ บรริ ักษ์ประชานันท์ (นายทองอยู่ ศรเี มือง) ดำรงตำแหนง่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๘๒ - ๒๔๘๗
๑๒ นายไสว สมุ าลยก์ ันต์ ดำรงตำแหนง่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๘๗ - ๒๔๘๘
๑๓ นายสมาน บุญอารักษ์ ดำรงตำแหนง่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๘๘ - ๒๔๘๙
๑๔ นายมานิตย์ จนั ทสทิ ธิ์ ดำรงตำแหน่งปีพทุ ธศักราช ๒๔๘๙ - ๒๔๘๙
๑๕ นายจิตต์ สวุ รรณโรจน์ ดำรงตำแหนง่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๘๙ - ๒๔๙๖
๑๖ ร.ต.ท.ปิน่ สหสั โชติ ดำรงตำแหน่งปีพุทธศักราช ๒๔๙๖ - ๒๔๙๙
๑๗ นายสคุ นธศกั ด์ิ ศรไี ชยนั ต์ ดำรงตำแหนง่ ปีพทุ ธศักราช ๒๕๐๐ - ๒๕๑๑
๑๘ นายขยนั อ่อนเจริญ ดำรงตำแหนง่ ปีพทุ ธศักราช ๒๕๑๑ - ๒๕๑๒
๑๙ ร.ต.เพชร คมุ้ สอน ดำรงตำแหน่งปีพทุ ธศักราช ๒๕๑๒ - ๒๕๑๔
๒๐ นายอทุ ยั ไวทยะเสวี ดำรงตำแหนง่ ปีพุทธศักราช ๒๕๑๔ - ๒๕๑๖
๒๑ นายประเสริฐ เพ่ิมทรัพย์ ดำรงตำแหน่งปีพุทธศักราช ๒๕๑๖ - ๒๕๑๗
๒๒ พ.ต.ดุสิต ตามไท ดำรงตำแหนง่ ปีพทุ ธศักราช ๒๕๑๗ - ๒๕๑๘
๒๓ ร.ต.ธงชยั ตรงประศาสน์ ดำรงตำแหน่งปีพทุ ธศักราช ๒๕๑๘ - ๒๕๒๑
๒๔ นายไชยเจริญ เฟ่ืองเรือง ดำรงตำแหนง่ ปีพุทธศักราช ๒๕๒๑ - ๒๕๒๔
๒๕ นายสรศักด์ิ สร้อยสน ดำรงตำแหน่ง ๓๑ พ.ค. ๒๕๒๔ - ๗ ต.ค. ๒๕๒๗
๒๖ พ.ต.ปิติ เมธาคุณวฒุ ิ ดำรงตำแหนง่ ๘ ต.ค. ๒๕๒๗ - ๔ ต.ค. ๒๕๒๘
๒๗ ร.ต.บุญนพ ประติวงค์

วฒั นธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนุรักษ์สิง่ แวดล้อมธรรมชาติและศลิ ปกรรมท้องถน่ิ จังหวัดเพชรบรู ณ์ ๑๐

๒๘ นายวิรัช อนชุ ปรดี า ดำรงตำแหน่ง ๕ ต.ค. ๒๕๒๘ - ๒๒ ม.ค.๒๕๓๒
๒๙ นายนิพนธ์ คำพา ดำรงตำแหนง่ ๒๓ ม.ค. ๒๕๓๒ - ๓ ธ.ค. ๒๕๓๓
๓๐ นายชาญชัย หัสสนะ ดำรงตำแหน่ง ๓ ธ.ค. ๒๕๓๓ - ๙ ต.ค. ๒๕๓๕
๓๑ นายวัลลภ วรรณาดิเรก ดำรงตำแหน่ง ๑๒ ต.ค. ๒๕๓๕ - ๑๔ ม.ิ ย.๒๕๓๙
๓๒. นายจริ ายุทธ วจั นะรัตน์ ดำรงตำแหน่ง ๑๗ มิ.ย. ๒๕๓๙ - ๒๑ พ.ย. ๒๕๔๒
๓๓. นายเสรี เสือแสงทอง ดำรงตำแหน่ง ๒๒ พ.ย. ๒๕๔๒ - ๑๙ พ.ย. ๒๕๔๓
๓๔. นายถริ วฒั น์ พูนพิพัฒน์ ดำรงตำแหนง่ ๒๐ พ.ย. ๒๕๔๓ - ๑๕ ธ.ค. ๒๕๔๕
๓๕. นายนธิ ภิ ทั ร เสนาะดนตรี ดำรงตำแหนง่ ๑๖ ธ.ค. ๒๕๔๕ - ๑๒ เม.ย.๒๕๔๗
๓๖. นายมณฑล สนามชยั สกุล ดำรงตำแหนง่ ๑๒ เม.ย. ๒๕๔๗ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๕๓
๓๗. นายชาติชาย เพชระบรู ณิน ดำรงตำแหนง่ ๑ มี.ค. ๒๕๕๔ - ๑๓ ธ.ค. ๒๕๕๔
๓๘. นายธนพล จันทรนมิ ิ ดำรงตำแหนง่ ๑๓ ธ.ค. ๒๕๕๔ - ๑๑ ม.ี ค. ๒๕๕๖
๓๙. นายสอาด สงิ ห์งาม ดำรงตำแหนง่ ๑๑ ม.ี ค. ๒๕๕๖ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๕๗
๔๐. นายเสรี หอมเกสร ดำรงตำแหน่ง ๒๖ ม.ค. ๒๕๕๘ - ๘ พ.ย. ๒๕๕๘
๔๑. นายชาญชยั ศรศรีวชิ ัย ดำรงตำแหนง่ ๙ พ.ย. ๒๕๕๘ - ๗ พ.ย. ๒๕๕๙
๔๒. นายสมลักษ์ ยกน้อยวงษ์ ดำรงตำแหน่ง ๗ พ.ย. ๒๕๕๙ - ๑๕ ต.ค. ๒๕๖๐
๔๓. ว่าที่ร้อยเอกอานนท์ เช้ือเล็ก ดำรงตำแหน่ง ๑๖ ต.ค. ๒๕๖๐ - ๑๕ พ.ย. ๒๕๖๑
๔๔. นางปิณฑิรา เก่งการพานิช ดำรงตำแหนง่ ๑๕ พ.ย. ๒๕๖๑ - ๖ เม.ย. ๒๕๖๓
๔๕. นายทวิช ทวชิ ยานนท์ ดำรงตำแหน่ง ๗ เม.ย. ๒๕๖๓ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๓
๔๖. นายเสกสรร กล่นิ พูน ดำรงตำแหนง่ ๒๘ มิ.ย. ๒๕๖๔ - ปจั จบุ ัน

ปัจจุบันนี้ อำเภอหล่มเกา่ เป็นดินแดนมนเสน่ห์ เนื่องจากเปน็ พืน้ ท่ีท่ีหลอ่ เล้ียงด้วยลำนำ้ สักและนำ้
พงุ ซึง่ มีความอุดมสมบรู ณ์มาก เหมาะสำหรบั ประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้หลายอยา่ งซ่งึ ล้วนแต่ได้ผลผลิต
เป็นอย่างดี เช่น ข้าว ข้าวโพด ใบยา ฯลฯ โดยเฉพาะเป็นถิน่ กำเนิดมะขามหวานพันธุ์หม่ืนจง อีกทั้งยังเป็น
พนื้ ทท่ี ี่มวี ฒั นธรรมประเพณีท่นี า่ สนใจอย่างมากมาย ซึง่ เป็นเอกลกั ษณ์ทท่ี รงคุณค่าของเมอื งหล่มเกา่

วฒั นธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถ่นิ จงั หวดั เพชรบูรณ์ ๑๑

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๒

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๒ ช่ือหน่วย สถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา เวลาเรียน ๕ ชว่ั โมง

ของชาวตำบลหล่มเกา่

หลกั สูตรท้องถิน่ เร่อื ง วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหล่มเก่า สำหรบั นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕

โรงเรยี น....................................................................

*************************************************************************************************************

สาระสำคัญ
ประวัตคิ วามเป็นมาของวัดสำคญั ทม่ี ีอัตลกั ษณ์ท่โี ดดเด่น ในเขตตำบลหลม่ เก่า รวมถงึ โบราณสถาน

และโบราณวัตถุ ได้แก่ ๑.วัดตาล วัดที่สร้างโดยเจ้าเมืองลม (หล่มเก่า) มีพระพุทธรูปความศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมี
เรอื่ งเลา่ ตำนาน เปน็ ที่กล่าวขาน ๒.วดั ท่งุ ธงไชย สร้างโดยครบู าสงิ ห์ เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐานของพระไสยาสน์ รูป
หล่อหลวงปโู่ ตพรหมรังสี ปางนิพพาน และเปน็ สถานทจ่ี ดั งานประจำปีประเพณแี ข่งเรือยาวช่วงออกพรรษา
๓.วดั ศรีมงคล หรือวัดหนิ กลิ้น วัดเกา่ แก่ ซึ่งสันนฐิ านว่าเป็นวดั แห่งแรกของเมืองหล่ม มโี บราณที่สำคัญ คือ
พระธาตุเกศแก้วจุฬามณีศรีมงคล หรือที่ชาวบ้าน เรียกว่า “พระธาตุ ปู่ธาตุ” ๔.วัดศรีสุมังค์ หรือวัดกลาง
สร้างขึ้นหลังจากที่พระยาสุริยะวงศาสงครามภักดีวิริยกรมพาหนะ ย้ายเมืองหล่มไปสร้างที่บ้านท่ากกโพธ์ิ
จึงได้สร้างวดั ขึ้นในบรเิ วณคุ้มเจา้ เมืองเกา่ ๕.วดั สระเกศ หรือวดั ศรสี ระเกษ เดมิ เป็นวัดรา้ ง สร้างเปน็ วัดใหม่
เมอ่ื ประมาณ พ.ศ. ๒๓๒๐ ลานหน้าวดั เปน็ สถานที่ค้าขายแลกเปล่ยี นสนิ คา้ ของชุมชน

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๑. เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถบอกเล่าประวตั ิความเปน็ มาของวดั ภายในเขตชมุ ชนหล่มเก่าได้ (K)
๒. เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนสามารถวเิ คราะห์ความสำคญั ของวดั แต่ละวดั ภายในเขตชุมชนหล่มเก่าแต่ละท่ีได้

และจัดทำคลิปวิดีโอ (P)
๓. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมีจติ สำนกึ และเกดิ ความหวงแหนแหลง่ ศิลปกรรมภายในชมุ ชน (A)

วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนุรักษส์ งิ่ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถิ่น จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ๑๒

กระบวนการจดั การเรยี นรู้
กระบวนการจัดการเรียนรปู้ ระกอบด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ ดงั น้ี

ขน้ั การตั้งคำถาม
นักเรยี นตั้งคำถามจากภาพท่เี หน็ ให้ไดม้ ากที่สุด เวลา ๑๐ นาทผี ่านระบบ Padlet

ภาพ หลวงพอ่ ใหญ่วดั ตาล
ท่มี า: (กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า, ๒๕๖๔)
ขั้นการรวบรวมข้อมูล
นักเรียนแบ่งกลุ่มคละความสามารถ เกง่ ปานกลาง อ่อน ศึกษาใบความรู้ สถานทส่ี ำคญั ทาง
พระพุทธศาสนาของชาวตำบลหลม่ เกา่
ขน้ั การจดั การขอ้ มลู
นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม ๕ - ๖ คนจดั ทำคลปิ วีดโี อนำเสนอประวัติความเป็นมา โบราณสถาน โบราณวัตถุ
ของวดั สำคัญในเขตตำบลหลม่ เก่าอยา่ งน้อยกลมุ่ ละ ๑ วดั
ขัน้ การนำเสนอ
นกั เรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานตนเอง ครูใหข้ ้อเสนอแนะเติมเต็มผลงานนักเรียน
ขนั้ สะท้อนบทเรยี น (AAR)
นกั เรยี นแตล่ ะคนสะท้อนผลการเรียนรูข้ องหน่วยการเรยี นรู้ เลา่ ขานตำนานวดั ตาล ครูให้
ขอ้ เสนอแนะเตมิ เตม็ ผลการสะท้อนของนักเรยี นผา่ นระบบ Padlet

วฒั นธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนรุ ักษส์ ิง่ แวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถนิ่ จังหวัดเพชรบรู ณ์ ๑๓

ใบความรู้ท่ี ๒
สถานทีส่ ำคัญทางพระพุทธศาสนา

ของชาวตำบลหลม่ เกา่

ศาสนสถานในพระพุทธศาสนา เป็นสถานท่ี
ประดิษฐานพระพุทธศาสนา อันมีองค์ประกอบ คือ โบสถ์
วิหาร เจดีย์ สถูป พระพุทธรูป ศาลาการเปรียญ หรือ
สิ่งก่อสร้างอื่นที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาเป็นที่พัก
อาศัยของพระภิกษุ สามเณร เป็นศูนย์กลางสังคมของ
พุทธศาสนิกชน และเป็นสถานที่ประกอบกิจกรรม
ประเพณี เป็นอนุสรณ์ให้ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ซึ่งพุทธศาสนิกชนนิยมไปกราบไหว้บูชา และร่วม
กิจกรรมต่าง ๆ ในพุทธศาสนา ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อใช้ในกิจการ หรือเกี่ยวข้องกับ
พระพุทธศาสนา ได้แก่ สำนักสงฆ์ วัดวาอาราม โบสถ์ วิหาร เจดีย์และสถูป
ศาสนสถานจึงถือเปน็ แหล่งทรัพยากรท่ีมีคุณค่าของชนชาติไทยทส่ี ะท้อนให้เห็น
ถงึ อารยธรรม ภูมปิ ญั ญา วิถชี ีวิต โดยเฉพาะ “วดั ” ซงึ่ เปน็ แหลง่ เช่ือมโยงความ
เป็นมาของวัฒนธรรมกับชุมชนและเป็นสถานที่รวบรวมวัฒนธรรมอัน
ล้ำค่าเป็นเสมือนเอกลักษณ์ของความเป็นไทย มีความสำคัญในฐานะ วดี ิทัศน์ ความหมายศาสนสถาน
เป็นสถานที่ยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจและความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา ท่มี า: (prem mm, ๒๕๖๔)
และยงั เปน็ สถานทีแ่ สดงประวตั ศิ าสตร์ บริบทความเชอ่ื มโยงของคนในชว่ งเวลาของการสรา้ งศาสนสถานด้วย
วัด จึงเป็นแหล่งทัศนศึกษาที่สำคัญของชุมชน ที่ใช้แสวงหาความรู้ทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม
และความเชื่อของคนไทยในอดีต โดยจะเห็นได้จากศาสนสถานแต่ละประเภทจะมีองค์ประกอบที่แสดงให้
เห็นมิติ ทางด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สังคมได้ อย่างดีเช่น พระอุโบสถและพระวิหารหลวงจะแสดง
สถาปัตยกรรมการออกแบบตามแบบแผน สกลุ ช่างของแตล่ ะยุค และยังเปน็ ทีป่ ระดษิ ฐานพระพุทธรปู ภาพ
จิตรกรรมที่ปรากฏในพระอุโบสถและพระวิหารหลวง แสดงอดีตพุทธประวัติพระพุทธเจ้าและชาดก ซึ่งใช้
เป็นหลักคำสอนทางพระพทุ ธศาสนาทยี่ ดึ ถือปฏบิ ตั ิร่วมกันจนถึงปัจจบุ นั
ในเขตตำบลหล่มเก่า มีวัดที่มีประวัติความเป็นมาและมีอัตลักษณ์ที่โดดเด่นของศิลปะและ
วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น รวมถึงพระพุทธรูปที่มีความศักดิ์สิทธิ์มีเรื่องเล่าตำนาน เป็นที่กล่าวขาน ถึง
ความศักดิ์สิทธิ์ ไม่แต่เพียงคนในอำเภอหล่มเก่าที่มีความเคารพและศรัทธาในพระพุทธรูปแต่คนทั้งจังหวัด
เพชรบูรณ์ก็ศรัทธาและเลื่อมใสซึ่งพระพุทธรูปที่ประดิษฐานอยู่ในวัดอำเภอหล่มเก่านั้นมี พุทธลักษณ ะไม่
เหมือนกับท้องถิ่นอื่น ซึ่งจะได้นำเสนอวัดและพระพุทธรูปอันศักดิ์สิทธิ์รวมถึงวัตถุโบราณในเขตของตำบล
หล่มเกา่ ดงั น้ี

วฒั นธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนรุ ักษส์ ่ิงแวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวดั เพชรบรู ณ์ ๑๔

วัดตาล
วดั ตาล ตัง้ อยู่ บ้านวัดตาล หมู่ที่ ๓ ตำบลหล่มเก่า อำเภอหล่มเก่า จังหวดั เพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์

มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๔ ไร่ ๑ งาน อาณาเขตทิศเหนือยาว ๔๕ วา ติดต่อกับหมู่บ้าน ทิศใต้ยาว ๔๕
วา ติดต่อกับหมู่บ้าน ทิศตะวันออกยาว ๔๐ วา ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศตะวันตกยาว ๔๐ วา ติดต่อกับ
ถนนสาธารณะ มีท่ธี รณสี งฆ์ จำนวน ๑ แปลง เนอื้ ท่ี ๑๑ ไร่ ตาม น.ส. ๓ เลขท่ี ๘๙

สร้างขึ้นเป็นวดั นับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๐๓ กล่าวกันว่า เจ้าเมืองลม หรือเมืองหล่มเก่าเป็นผู้สร้าง ต่อมา
เจา้ แม่เขม็ ทองนำบุตรธิดาจดั สร้างวิหารใหญ่ขึ้นเป็นทป่ี ระดิษฐานพระพุทธรปู องคใ์ หญ่ เสนาสนะอ่นื มีอุโบสถ
ศาลาการเปรียญ กุฎีสงฆ์ และพระพุทธรูปปูนปั้น ๒ องค์ สร้างด้วยไม้จันทน์ ๔ องค์ และหลวงพ่อใหญ่
รอยพระพทุ ธบาทจำลอง วดั น้ีได้รบั พระราชทานวิสุงคามสมี าประมาณ พ.ศ. ๒๔๓๐

ภาพ หลวงพอ่ ใหญ่วดั ตาลประดษิ ฐานภายในพระอโุ บสถ
ที่มา: (สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์, ๒๕๖๓)

ความเชื่อ ความศรัทธา ในพระพุทธศาสนาและพระพุทธรูปศักด์ิสิทธ์ิยังคงเป็นประเพณีปฏิบัติสืบ
ต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ชาวบ้านชุมชนหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ให้ความเคารพนับถือ “หลวงพ่อใหญ่วัด
ตาล” พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองที่เลื่องลือถึงความศักดิ์สิทธ์ิในคำสาบาน ผู้ใดที่กระทำความผิดเมื่อมาอยู่
ต่อหน้าหลวงพ่อใหญ่มักจะกลัว และยอมรับสารภาพ ไม่กล้าทำผิดอีกส่วนผู้ที่ไม่ยอมรับผิดก็จะมีอัน
เป็นไปตามคำสาบานภายใน ๓ วัน ๗ วัน หลวงพ่อใหญ่วัดตาลจึงเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจและที่พึ่งพิงทาง
จิตใจของชาวอำเภอหล่มเก่า

พุทธลักษณะหลวงพ่อใหญ่วัดตาล หลวงพ่อใหญ่วัดตาล เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย
ประทับน่ังขัดสมาธิราบ ขนาดหน้าตักกว้าง ๒.๙๕ เมตร สูง ๔.๑๙ เมตร ครองจีวรห่มเฉียง เปิดพระอังสา
ข้างขวา ท้ิงชายสังฆาฏิยาว โดยไม่มีชายสังฆาฏิ เน่ืองจากบริเวณบ้ันพระองค์คาดรัดประคด พระรัศมีเป็น
เปลวแต่ค่อนข้างแข็งไม่อ่อนช้อย พระพักตร์กลมมน มีขอบไรพระศก เม็ดพระศกขมวดเล็กคล้ายกับก้น
หอยปลายแหลม พระขนงโค้งยาวจากดั้งพระนาสิกจรดพระนลาฏ หัวพระขนงจึงไม่ต่อกัน เปลือกพระ
เนตรเรียวเล็กเหลือบมองต่ำ พระกรรณประดิษฐ์ลายแบบอิสระ ไม่มีแบบแผนแน่นอน เบ้าพระกรรณไม่
ลึก มีความยาวไม่ถึงพระอังสา พระนาสิกโด่งเป็นสันสูงขึ้นมาถึงพระนลาฎจนดูคล้ายกับคั่นกลางระหว่าง

วฒั นธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนรุ กั ษ์ส่งิ แวดล้อมธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ้ งถิ่น จงั หวัดเพชรบูรณ์ ๑๕

พระขนง จึงทำให้พระขนงทั้งสองข้างห่างออกจากกันและโค้งคล้ายคิ้วมนุษย์ บริเวณตอนปลายมีขนาด
ใหญ่คล้ายรูปสามเหลี่ยม ริมโอษฐ์เรียวบาง พระหนุกลมมน พระพาหาไม่กว้างนัก พระอุระนูน พระหัตถ์
วางบนพระเพลามีขนาดค่อนข้างใหญ่เมื่อเทียบกับสัดส่วนโดยรวมขององค์พระ นิ้วพระหัตถ์ยาวตรงและ
ยาวเสมอกันทั้งสี่นิ้ว พระองค์ตั้งตรง คาดรัดประคตขอบเว้าขึ้น และบริเวณปลายข้อพระบาทแสดงขอบ
ชายสบง เป็นพระพุทธรูปที่มีพทุ ธลักษณะแบบศิลปะท่ีไดร้ บั อิทธพิ ลล้านช้างในระยะหลงั ซึ่งมีความคลคี่ ลาย
จากแบบแผนในระยะแรก ๆ โดยเฉพาะความงามตามแบบมหาปุริสลักษณะ ๑ ที่พัฒนามามากจนมีความ
เป็นพื้นเมือง (สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร, ๒๕๕๑: ๒๖ - ๒๘)

ภาพ พทุ ธลักษณะหลวงพอ่ ใหญ่วดั ตาล
ท่มี า: (สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ์, ๒๕๕๐)
อิทธิพลศิลปะจากล้านช้าง พระพุทธรูปล้านช้างในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ ๒๐ – ปลายพุทธ
ศตวรรษที่ ๒๒ ช่วงนี้จัดเป็นยุคทองของการสร้างพระพุทธรูปศิลปะล้านช้าง เนื่องจากแสดงถึงความเป็น
เอกลักษณ์ได้อย่างสมบูรณ์แบบ พระพุทธรูปที่ถูกสร้างขึ้นมามีการผสมผสานกับอิทธิพลจากศิลปะอื่น ๆ
ได้อยา่ งลงตวั การสรา้ งมีความปราณีตงดงามและมีเอกลักษณ์ โดยพทุ ธลักษณะเด่น ๆ ในช่วงน้ปี ระกอบด้วย
พระเพลากวา้ ง พระอุระนนู ล่ำสัน รับอิทธิพลจากศิลปะสุโขทยั มีเบา้ พระกรรณขนาดใหญ่ ตง่ิ พระกรรณห้อย
ยาวโค้งออกจากลำคอ พระเศียรส่วนมากมีลักษณะใหญ่รับกับพระอังสาที่กว้างขึ้น พระรัศมีมีหลายแบบ
โดยมากเป็นรูปเปลวแท่งตรง ยอดพระรัศมีอาจมีประดบั ด้วยอญั มณี

วฒั นธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนรุ ักษส์ ่ิงแวดล้อมธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ้ งถิน่ จังหวดั เพชรบรู ณ์ ๑๖

จากการศึกษาพุทธลักษณะของหลวงพ่อใหญ่กับพระพุทธรูปในประเทศลาว ซึ่งผู้ช่วยศาสตราจารย์
สงวน บุญรอด (๒๕๒๖: ๑๗๙ - ๑๘๐) ได้ศึกษาและรวบรวมไว้ในหนังสือพุทธศิลปะลาว และเทียบกับ
พระพุทธรูปในสมัยต่าง ๆ ที่ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (๒๕๒๘: ๑๔ - ๓๙) รายงานไว้ในหนังสือศิลปะใน
ประเทศไทย และหนังสือศิลปะสุโขทัย ที่ศาสตราจารย์ ดร.สันติ เล็กสุขุม (๒๕๔๙: ๙๑ - ๙๙) เรียบเรียงไว้
และหนังสือพระพุทธรูปสำคัญของสำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร (๒๕๔๕: ๑๖ - ๑๙)
กล่าวว่า

“เม่ือเทียบพุทธลกั ษณะของหลวงพ่อใหญ่กับพระพุทธรูปลาว ซ่งึ เป็นศิลปะแบบลา้ นช้างในยุคตา่ ง ๆ
แลว้ จะเห็นว่ามพี ุทธลักษณะหลายอย่างท่ีเหมือนกัน ได้แก่ พระพักตรแ์ สดงเอกลักษณ์ของศิลปะล้านช้างยุค
หลังที่ในระยะแรก ๆ นำเอาศิลปะสกุลช่างต่างมาผสมผสาน และสะท้อนความเป็นตัวของตัวเองในที่สุด
เร่มิ ต้ังแตพ่ ระพักตร์กลมมน มีขอบไรพระศก เม็ดพระศกขมวดเลก็ ๆ คลา้ ยกน้ หอยปลายแหลม พระขนงห่าง
พระกรรณใหญ่หนา พระนาสิกใหญ่ พระโอษฐ์ยื่นออกมาเล็กน้อย พระอุระไม่ล่ำสันนัก บั้นพระองค์ตรง
พระหัตถ์ใหญ่ ฐานชุกชีมีลายแข้งสิงห์ ในส่วนของฐานชุกชีแบบเดิม เป็นลายแข้งสิงห์ มีลักษณะเหมือนกับ
ฐานพระพุทธรูปล้านช้างตอนต้นยุคกลางกับพุทธศิลปะสมัยอยุธยาตอนต้น โดยมีศิลปะสุโขทัยเข้ามาปะปน
ด้วย คือ นิ้วพระหัตถ์ยาวเสมอกัน แต่ดูภาพรวมไม่อ่อนช้อยงดงามได้สัดส่วนเหมือนพระพุทธรูปสมัยสโุ ขทยั
และมีอิทธพิ ลศลิ ปะอู่ทอง ได้แก่ มีไรพระศก”

ตำนานการสร้าง “หลวงพ่อใหญ่วัดตาล” ประดิษฐานอยู่ที่วัดตาล ซึ่งเดิมมีชื่อว่า “วัดตาลสราญ
รมณ์” คนทั่วไปมักเรียกสั้น ๆ ว่า “วัดตาล” ตั้งอยู่ตำบลหล่มเก่า อำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์
ได้รบั พระราชทานวสิ ุงคามสีมาในปี พ.ศ. ๒๔๐๓ สรา้ งข้นึ ต้ังแตเ่ มื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง เนื่องจาก
คนไทยสมัยก่อนไม่มีการจดบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ไว้ มเี พยี งตำนานเล่าขานกล่าวถึงเจ้าเมืองลุ่มหรือเจ้าเมือง
หลม่ เกา่ เป็นผสู้ ร้าง บ้างกว็ ่าเปน็ ชาวบา้ นร่วมกนั สร้าง และยงั มีเร่ืองเลา่ สืบต่อกันมาว่า พระนางเนาวรงค์เทวี
พระชายาของพ่อขุนผาเมืองเป็นผู้สร้างวัดตาล เพราะมีการบอกเล่าต่อ ๆ กันมาว่า “บ้านหินกลิ้งเป็นที่ต้ัง
ของทหาร วัดตาลเป็นวัดสาบาน เมื่อทหารจะออกรบคลาใดจะต้องนำทหารมาทำพิธีสาบานตนเพื่อ
เสริมสรา้ งขวัญกำลงั ใจต่อหน้าหลวงพ่อใหญ่วัดตาล โดยเฉพาะสมัยพ่อขุนผาเมืองนักรบผู้เก่งกล้าย่อมมีกอง
ทหารที่แขง็ แกร่ง มีจิตใจฮึกเหิม สามารถรบเคียงบา่ เคียงไหลก่ ับพ่อขุนผาเมืองจงึ สามารถปราบขอมและกอบ
กู้อาณาจกั รต่าง ๆ ไดเ้ ป็นอิสระ และขบั ไล่ขอมออกจากราชอาณาจักรไทย”

วฒั นธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถ่นิ จังหวดั เพชรบรู ณ์ ๑๗

วัดทุง่ ธงไชย ภาพ วัดท่งุ ธงไชยในอดตี
วัดทุ่งธงไชย ตั้งอยู่บ้านวัดทุ่ง หมู่ท่ี

๑๑ ตำบลหล่มเก่า อำเภอหล่มเก่า จังหวัด
เพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้ง
วัดเนื้อที่ ๕ ไร่ อาณาเขตทิศเหนือยาว ๒ เส้น
๑๐ วา ติดต่อกับถนนรมิ คลองน้ำพุง ทิศใต้ยาว
๒ เส้น ติดตอ่ กบั ที่นา ทศิ ตะวนั ออกยาว ๑ เส้น
๑๐ วา ติดต่อกับถนนซอยเข้าหมู่บ้าน ทิศ
ตะวนั ตกยาว ๒ เสน้ ติดต่อกบั ทตี่ งั้ โรงเรียน

ท่ีมา: (รักในหลวงจังหวัดเพชรบรู ณ์, ๒๕๖๑)

วัดสร้างขั้นตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๒๓๐๐ โดยมีครู ภาพ บริบทวดั ทุ่งธงไชย
บาสิงห์เป็นผู้สร้าง ชาวบ้านเรียกสั้น ๆ ว่า “วัดทุ่ง” ได้รับ ทีม่ า: (สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
พระราชทานวิสุงคามสีมาในราว พ.ศ. ๒๓๓๐ เป็นสถานท่ี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์, ๒๕๖๓)
ประดิษฐาน พระพุทธไสยาสน์ และรูปหล่อหลวงปู่โตพรหม
รงั สี พระพทุ ธรปู ปางนพิ พาน

นอกจากนั้นบริเวณลำน้ำพุงหน้าวัดทุ่งธงไชย ยัง
เป็นสถานท่ีใช้จัดงานประเพณีแข่งขันเรือยาวช่วงออก
พรรษาของทุกปี ซึ่งจะมีกิจกรรมการทำบุญตักบาตร
ในช่วงเช้า หลังจากทำบุญเสร็จจะมีการละเล่นพื้นบ้าน
ต่าง ๆ บริเวณลานวัด และบริเวณหน้าวัดจะจัดแข่งขันเรือ
ยาว ซึ่งในสมัยแรก ๆ จะเป็นกลุ่มของเด็กหนุ่ม ๆ
ที่ประสงค์จะแข่งเรือเพื่ออวดสาว ๆ และเพื่อความ
สนุกสนาน ต่อมาก็มีการแข่งเรือระหว่างคุ้มวัดและ
หมู่บ้าน ซึ่งหมู่บ้านใดได้ชัยชนะก็นับเป็นเกียรติประวัติ
หมู่บ้านที่แพ้ก็พยายามไปฝึกฝนเพื่อเอาชัยชนะในปีต่อ ๆ
ไป ถือเป็นจริงเป็นจังเรื่อยมา และการแขง่ ขนั กจ็ ัดแปลก ๆ
ออกไปเช่น แข่งเรือใช้คนหนุ่มเป็นฝีพาย แข่งเรือใช้สาว
สาวเป็นฝีพาย ชนิดของเรือก็มีการกำหนดขนาด แบบและ
จำนวนฝีพาย ส่วนรางวัลก็เป็นเพียง ธง ๑ ผืน ช่อดอกไม้
ขนมที่เหลือจากการตักบาตรพระมอบให้เท่าน้ัน ภายหลัง
ต่อมาด้วยที่การแข่งเรือสนุกสนานน่าตื่นเต้น การละเล่น
พื้นเมืองต่าง ๆ ที่บริเวณวัด จึงลดลงกลายเป็นว่า ใน
เทศกาลออกพรรษา

วัฒนธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิน่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ๑๘

วัดศรีมงคล ภาพ วัดศรมี งคล
วัดศรีมงคล ตั้งอยู่บ้านหินกลิง้ หมู่ที่ ๒ ท่มี า: (วัดศรีมงคล บา้ นหนิ กล้ิง, ๒๕๖๒)

ตำบลหล่มเก่า อำเภอหล่มเก่า จังหวัด
เพชรบูรณ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินต้ัง
วัดเนื้อที่ ๖ ไร่ ๒ งาน ๔๖ ตารางวา อาณาเขต
ทิศเหนือยาว ๒ เส้น ๑๕ วา ติดต่อกับถนนเข้า
หมู่บ้าน ทิศใต้ยาว ๒ เส้น ๑๕ วา ติดต่อกับ
ซอยเข้าหมู่บ้าน ทิศตะวันออกยาว ๒ เส้น ๑๐
วา ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศตะวันตกยาว ๒
เสน้ ๑๐ วา ตดิ ตอ่ กับแมน่ ำ้ พุง

สร้างเป็นวัดตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๒๔๑๐
ชาวบ้านเรียก “วัดคำกลิ้ง” หรือ “วัดหินกลิ้ง”
ตามชื่อหมู่บ้าน เดิมเคยเป็นวัดรา้ งซึ่งได้สร้างมา
ตั้งแต่ สมัยสุโขทัยตอนปลาย มีกำแพงเก่ารอบ
บริเวณวดั อโุ บสถไดท้ ำการบูรณะมาแลว้ ๓ คร้ัง
เคยเป็นสถานที่ถือนำ้ พิพัฒนส์ ตั ยามาแต่โบราณ
ไดร้ ับพระราชทานวิสงุ คามสมี าราว พ.ศ. ๒๔๓๕
เขตวสิ ุงคามสีมากวา้ ง ๑๒ เมตร ยาว ๔๓ เมตร

ภาพ พระธาตุเกศแกว้ จุฬามณีศรีมงคล
ทม่ี า: (วดั ศรีมงคล บ้านหนิ กล้ิง, ๒๕๖๔)

วัดศรีมงคล (หนิ กลงิ้ ) เปน็ วัดเก่าแกค่ ู่บ้านคู่เมอื งหลม่ เก่า สันนฐิ านวา่ เปน็ วัดแห่งแรกของเมืองหล่ม
ชาวไทเชื้อสายหลวงพระบางได้จัดตั้งบ้านเรอื นสร้างเมืองใหม่ข้ึนในพืน้ ท่ีบ้านหนองขี้ควาย (บ้านหินกลิ้งใน
ปัจจุบัน)และได้ยกผู้นำในการอพยพมาเป็นเจ้าเมืองแต่ครั้งนั้นไม่ได้เรียกกันว่าเจ้าเมืองเรียกว่า”อุปฮาด”
ตามแบบอย่างภาษาของชาวเมืองศรีสัตนาคนหุต อุปฮาดคนแรกชื่อว่า “เจ้าปู่เฒ่า”เจ้าปู่เฒ่าได้ตั้งจวนที่
อาศัยบนริมฝั่งน้ำพุงด้านตะวันออก ได้สร้างวัดคู่เมืองขึ้นบนฝั่งน้ำพุงดา้ นตะวันออกปัจจุบันคือวัดศรีมงคล
(วัดบา้ นหนิ กล้งิ ) เนอ่ื งจากชาวไทยกล่มุ น้ีเป็นผู้มีจติ ศรัทธามง่ั คงตอ่ พระพทุ ธศาสนา

จากเมืองเดิมของตนคือเมืองศรีสัตนาคนหุต เมื่อมาสร้างบ้านตั้งเมืองขึ้นใหม่ก็ยังมีศรัทธาแก่กล้า
มั่งคงในพระพุทธศาสนาเหมือนเดิมจึงพากันสร้างวัดเรียงรายริมฝั่งน้ำพุงเพื่อเป็นพุทธบูชาและส่วนรวมใน
การศึกษาอบรมจิตใจของทุกคน วัดที่ชาวไทยน้อยรุ่นแรกของเมืองหล่มสร้างขึ้นในครั้งนั้นนอกจากวัดศรี
มงคลทอี่ ุปฮาดเจ้าปู่เฒา่ สร้างค่บู ้านคเู่ มอื งก็ยังมีการสร้างวัดตา่ ง ๆ ท่ชี าวไทยน้อยรว่ มกันสรา้ งกม็ ี

วฒั นธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนุรกั ษส์ ่งิ แวดล้อมธรรมชาติและศลิ ปกรรมท้องถ่ิน จังหวดั เพชรบูรณ์ ๑๙

๑. วัดป่าหรือวัดป่าไชโย วัดนี้ตั้งอยู่บนฝัง่ แม่น้ำพุงดา้ นเดียวกับวัดศรีมงคลมาตอนใต้ห่าง
กันประมาณ ๒๐๐ เมตร ปจั จบุ ันเปน็ วัดร้างแต่ยงั มหี ลกั ฐานคอื พระประธานสร้างด้วยอฐิ หรอื ปนู ปรากฏอยู่

๒. วัดจอมแจ้ง วัดนี้ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำพุงด้านเดียวกับจวนอุปฮาดลงมาทางใต้ห่า งกัน
ประมาณ ๑ กโิ ลเมตร

๓. วัดตาล ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำพุงด้านเดียวกับวัดป่าห่างกันประมาณ ๑๕๐ เมตร วัดนี้มี
พระพุทธรูปปั้นองค์ใหญ่เป็นทีส่ ักการะของพุทธศาสนิกชนทั่วไปถือว่าเป็นพระประจำเมืองหล่มที่ศักดิส์ ิทธิ์
มากปัจจุบันประดิษฐานอย่ใู นวหิ ารทส่ี ร้างขนึ้ ใหม่

๔. วัดกู่แกว้ ห่างจากวดั ตาลมาทางทศิ ใต้ ๒๐๐ เมตร
“หนิ กลง้ิ ” น้นั กลา่ วกนั วา่ เจ้าอปุ ฮาด องคแ์ รกไดท้ ำการเสย่ี งทายหาทีต่ ง้ั ของค้มุ วงั และ วัดประจำ
เมือง โดยการกลิ้งก้อนหิน ลงจากภูเขาด้านทิศตะวันออกของเมือง ชื่อ ภูนมนาง เพราะมีสองยอดโค้งมน
คล้ายนมสาว หินก้อนแรกสร้างวัด ปรากฏว่าก้อนหนิ ก้อนนั้น กลิ้งลงมาหยุดอยู่ ริมแม่น้ำพุง จึงได้ก่อสร้าง
วัดข้นึ และเรียกว่าวดั ศรมี งคล แต่ชาวบา้ นมกั เรียกวา่ วดั หินกลิง้ มาจนถงึ ปัจจบุ ัน หินกอ้ นท่ีสอง กล้ิงลงมา
หยุดใกล้ ๆ กัน ห่างไปทางทิศใต้ประมาณ ๕๐๐ เมตร จึงสร้างคุม้ วังขึ้น และให้เป็นที่ตั้งกองทหาร เรียกว่า
“วงั เสอ้ื แดง”
“พระธาตุปู่ธาตุ” หรือพระธาตุเกศแก้วจุฬามณีศรีมงคล แต่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “พระธาตุปู่-
ธาตุ” เพราะเปน็ พระธาตุองคแ์ รกที่สรา้ งขน้ึ ตรงตำแหน่งที่ “หินกลิ้ง” ลงมาหยดุ อยู่ทีน่ ั้น
กล่าวกันว่าสาเหตุทีย่ อดพระธาตุเอยี งนัน้ เป็นเพราะความเช่ือของคนโบราณวา่ การจำลองพระธาตุ
“เกศแก้วจุฬามณี” บนสวรรค์ลงมาไว้ที่โลกมนุษย์นั้นห้ามสร้างยอดตั้งตรง เพราะเจดีย์จุฬามณี
ประดิษฐานอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ซึ่งเป็นสวรรค์ที่อยู่บนยอดเขาพระสุเมรุ เป็นเจดีย์ที่บรรจุเครื่องทรง
และพระเมาฬีของเจ้าชายสิทธัตถะ ซง่ึ ทรงสละทิ้งเม่ือคราวออกผนวช และยังเป็นที่เก็บรักษาพระเขี้ยวแก้ว
ของพระพุทธองค์ หลงั การถวายพระเพลิงพระบรมศพอีกด้วย
ส่วนพระธาตทุ ถี่ ูกสร้างขึ้นเพ่ือเปน็ องค์แทน พระเกศแกว้ จฬุ ามณีบนสวรรคช์ ัน้ ดาวดึงส์ นนั้ เพ่ือเปน็
การแสดงความเคารพในองค์จริง จึงสร้างให้มียอดเอียงเล็กน้อยไม่ให้ชี้ตรงกับองค์จริงเป็นภูมิปัญญาแห่ง
บรรพชนทใี่ ห้ความเคารพอยา่ งสูงสดุ ตอ่ พระบรมศาสดาสมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้า

วัฒนธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถ่ิน จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ๒๐

วัดศรีสุมังค์
วัดศรีสุมังค์ ตั้งอยู่บ้านวัดกลาง หมู่ที่ ๔

ตำบลหล่มเก่า อำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์
สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีท่ีดินตั้งวัดเนื้อท่ี ๓ ไร่ ๘๑
ตารางวา อาณาเขตทิศเหนือยาว ๓ เส้น ๑ วา ติดต่อ
กับซอยเข้าหมู่บ้าน ทิศใต้ยาว ๓ เส้น ๑ วา ติดต่อกับ
หมู่บ้าน ทิศตะวันออกยาว ๑ เส้น ๒ วา ติดต่อกับ
หมู่บ้าน ทิศตะวันตกยาว ๑ เส้น ๒ วา ติดต่อกับถนน
สาธารณะ ตาม ส.ค. ๑ เลขท่ี ๑๔๐

ภาพ ประตูทางเข้าวดั ศรสี ุมงั ค์ ภาพ โบสถว์ ัดศรีสมุ งั ค์
ที่มา: (วดั ศรีสมุ ังค,์ ๒๕๖๑)
ทมี่ า: (สำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม

มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์, ๒๕๖๓)

สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๔๕ เดิม
เรียก “วดั กลาง” โดยมคี วามเชือ่ กันวา่ ครัง้ หนึง่ พระยา
สุริยะวงศาสงครามรามภักดีวิริยกรมพาหนะ ได้กลับ
จากธุระที่เมืองหลวง (กรุงเทพฯ) เดินทางเรียบมาตาม
ล้ำน้ำสัก จากสระบุรีเรื่อยมาก่อนถึงเมืองหล่มได้ผ่าน
หมู่บ้านหมู่บ้านหนึ่ง คือ บ้านท่ากกโพธิ์ ซึ่งมีชาวหล่ม
อาศัยอยู่ประปราย บ้านท่ากกโพธิ์นี้อยู่ทางด้านทิศใต้
ของเมืองหล่ม พระยาสุริยะวงศาฯ ได้พิจารณาเห็นว่า
พื้นที่ท่ากกโพธิ์เป็นที่อุดมสมบูรณ์ มีชัยภูมิเหมาะที่จะ
เป็นเมืองอย่างยิ่ง จึงได้ตัดสินใจย้ายเมืองหล่มมาสร้าง
ขึ้นใหม่ที่บ้านท่ากกโพธิ์และได้สร้างคุ้มเจ้าเมืองขึ้นท่ี
สวนฝ้ายตาโปร่งเหล่ง ส่วนคุ้มเจ้าเมืองเก่าได้จัดสร้าง
เป็นวัด เรียกว่า “วัดกลาง” ปัจจุบัน คือ วัดศรีสุมังค์
และพระยาสุริยวงศาฯ ได้เรียกเมืองใหม่ที่ตั้งขึ้นน้ี
ว่า “หลม่ สกั ” เพราะตั้งอยบู่ นฝัง่ ซา้ ยของแม่น้ำแควป่า
สัก สว่ นเมืองเดิมเรยี กว่า “หลม่ เกา่ ”

วัฒนธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนรุ ักษส์ ิง่ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมทอ้ งถนิ่ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ๒๑

วัดสระเกศ

วัดสระเกศ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๒ บ้าน

หล่มเก่า ถนนนฤพัฒน์ หมู่ที่ ๕ ตำบลหล่มเก่า

อำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ สังกัดคณะ

สงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๑๑ ไร่ ๓

งาน ๒๐ ตารางวา อาณาเขตทิศเหนือติดต่อ

กับคลองน้ำใส ทิศใต้ติดต่อกับถนนสุขาภิบาล

ตำบลหล่มเก่า ทิศตะวันออกติดต่อกับถนน

สุขาภิบาล และตลาด ทิศตะวันตกติดต่อกับ

แม่น้ำพุง ตาม น.ส. ๓ เลขที่ ๑๓๙๐ พื้นที่วัด ภาพ ลานวัดสระเกศ
เป็นที่ราบลุ่ม อยู่ริมน้ำพุงทางฝั่งตะวันออก ท่มี า: (สำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม
สภาพแวดล้อมเป็นอาคารร้านค้าตลาดสด มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์, ๒๕๖๓)
มีถนนตัดผ่านโดยรอบการคมนาคมสะดวดอยู่

ในย่านกลางของชุมชน อาคารเสนาสนะมี อุโบสถกว้าง ๘ เมตร ยาว ๒๐ เมตร บูรณะเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๖

ศาลาการเปรียญกว้าง ๑๔ เมตร ยาว ๒๘ เมตร สร้าง พ.ศ. ๒๕๒๔ เป็นอาคารคอนกรีต ๒ ชั้น กุฎิสงฆ์

จำนวน ๑๔ หลัง สำหรับปูชนียวัตถุมี พระประธานในอุโบสถ ปางมารวิชัย และรอยพระพุทธบาทจำลอง

วัดสระเกศ หรือเรียกอีกนามหนึ่งว่า “วัดศรีสระเกษ” ที่ได้นามวัดอย่างนี้เพราะท่ีบริเวณมีสระน้ำ

และต้นเกตุใหญ่มีมานานเป็นสัญลักษณ์ สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๒๓๒๐ เดิมวัดร้าง

เรียกว่า “วัดคลองน้ำใส” เพราะตั้งอยู่ที่ฝั่งคลองน้ำใส นับเป็นวัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาแล้ว

ตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๒๓๒๕ เขตวิสุงคามสีมากว้าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร ทางวัดได้เปิดสอนปริยัติ

ธรรม พ.ศ. ๒๔๙๖ มีทั้งแผนกธรรมและบาลี แผนกสามัญ พ.ศ. ๒๕๒๖ โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์

พ.ศ. ๒๕๒๓ เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ. ๒๕๑๘

ภาพ บริบทวดั สระเกศ
ท่มี า: (สำนกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์, ๒๕๖๓)

วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนรุ ักษ์สิง่ แวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถ่ิน จังหวัดเพชรบูรณ์ ๒๒

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ ช่ือหนว่ ย ประเพณีของชาวตำบลหล่มเกา่ เวลาเรยี น ๒ ช่วั โมง

หลกั สตู รท้องถ่ิน เร่อื ง วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหล่มเก่า สำหรับนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕

โรงเรียน....................................................................

*************************************************************************************************************

สาระสำคญั

ประเพณี กจิ กรรมทีม่ กี ารปฏิบัตสิ ืบเนอ่ื งกนั มาเปน็ เอกลกั ษณ์ ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเทศะ

โดยส่วนใหญ่เกิดจากการได้รับอิทธิพลมาจากสิ่งแวดลอ้ มภายนอก ทำให้มีรูปแบบการปฏบิ ัติที่หลากหลาย

เช่นเดียวกันกับตำบลหล่มเก่า เป็นชุมชนที่มีวัฒนธรรมอันดีงามควรแก่การอนุรักษ์ ที่ยังคงมีการสืบทอด

วัฒนธรรมประเพณพี นื้ ถ่นิ ไว้เปน็ อยา่ งดี และยงั ถอื ปฏิบัตติ ลอดปี เรยี กวา่ “ฮตี สบิ สอง” งานบุญประเพณีใน

แต่ละเดือน ที่ถือปฏิบัติโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษที่ล่วงลับ ตอบแทนบุญคุณ

ธรรมชาติ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ช่วยดลบันดาลให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี ซึ่งในแต่ละเดือนจะจัดให้มีงานบุญท่ี

แตกต่างกนั ดงั น้ี

๑. ประเพณีบุญเขา้ กรรม ๒. ประเพณบี ญุ คนู ลาน

๓. ประเพณีบุญข้าวจ่ี ๔. ประเพณีบญุ พระเวส

๕. ประเพณบี ุญสงกรานต์ ๖. ประเพณบี ุญบั้งไฟ

๗. ประเพณบี ญุ ซำฮะ ๘. ประเพณีบญุ เข้าพรรษา

๙. ประเพณีบุญห่อข้าวประดับดิน ๑๐. ประเพณีบุญขา้ วสาก

๑๑. ประเพณบี ุญออกพรรษา ๑๒. ประเพณีบุญกฐิน

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑. เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถอธิบายความเป็นมาของประเพณีท่ีสำคัญของชุมชนหลม่ เก่าในแต่ละเดือน

ได้ (K)
๒. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจัดทำแผนที่ความคิดอธิบายความสำคัญของประเพณีในแต่ละเดือน

ทั้ง ๑๒ เดือน พร้อมวาดภาพประกอบได้ (P)
๓. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนมจี ติ สำนกึ และเป็นพลเมอื งทด่ี ตี ามวิถีชมุ ชนหล่มเกา่ (A)

วัฒนธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนรุ ักษ์ส่งิ แวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมทอ้ งถนิ่ จงั หวดั เพชรบูรณ์ ๒๓

กระบวนการจดั การเรียนรู้
กระบวนการจัดการเรยี นร้ปู ระกอบดว้ ยกิจกรรมการเรยี นรู้ ดังน้ี

ข้นั การตั้งคำถาม
นกั เรียนตง้ั คำถามจากภาพท่เี ห็นให้ได้มากทส่ี ุด เวลา ๑๐ นาทผี า่ นระบบ Padlet

ภาพ วิถีชีวติ ของชาวบา้ นชุมชนหลม่ เก่า
ท่มี า: (สำนักงาน อ.ส.ท. การทอ่ งเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย, ๒๕๖๓)
ข้ันการรวบรวมข้อมูล
นกั เรียนแบ่งกลุ่มคละความสามารถ เก่ง ปานกลาง อ่อน ศึกษาใบความรู้ ประเพณีของชาวตำบล
หลม่ เกา่

วฒั นธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมทอ้ งถน่ิ จังหวัดเพชรบูรณ์ ๒๔

ขน้ั การจัดการข้อมูล
แบ่งกล่มุ ๕ - ๖ คน นกั เรียนจดั ทำแผนทีค่ วามคิดอธบิ ายความสำคัญของประเพณีในแต่ละเดอื น

ท้งั ๑๒ เดือน พร้อมวาดภาพประกอบ
ขน้ั การนำเสนอ

นกั เรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานตนเอง ครูให้ข้อเสนอแนะเตมิ เต็มผลงานนักเรยี น
ข้ันสะท้อนบทเรียน (AAR)

นักเรยี นแตล่ ะคนสะท้อนผลการเรยี นรู้ของหน่วยการเรยี นรู้ ครใู หข้ อ้ เสนอแนะเติมเต็มผลการ
สะท้อนของนกั เรียนผา่ นระบบ Padlet

ขบวนแหเ่ จ้าพอ่ งานเล้ียงปี
ทีม่ า: (สำนักศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์, ๒๕๕๕)

วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ มธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ้ งถ่ิน จังหวัดเพชรบรู ณ์ ๒๕

ใบความรู้ท่ี ๓
ประเพณีของชาวตำบลหลม่ เก่า

ประเทศไทยเป็นชาติท่ีมีประวัติศาสตร์ ซ่งึ มีหลักฐานการก่อสร้างบ้านเมืองมาเป็นเวลานาน สภาพ
สังคมไทยอยู่กันเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ มีความสามัคคีกลมเกลียวช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งจะมีประเพณี
พิธีกรรม ความเชื่อ ต่าง ๆ เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ และมีคุณค่าต่อการดำเนินชีวิต ที่ทำให้เกิดความผูกพัน
ต่อท้องถิ่นบ้านเกิด โดยส่ิงเหลา่ นีจ้ ะเหน็ ไดช้ ัดเจนเม่อื มเี ทศกาลประเพณสี ำคัญ ๆ ของทอ้ งถิน่ ผ้คู นเดนิ ทาง
กลับภูมิลำเนาของตนเพื่อไปร่วมงานประเพณีนั้น ๆ ตามที่เคยปฏิบัติสืบทอดกันมา (ญาณิศา บุญจิตร์,
๒๕๕๔)

ประเพณี หมายถงึ กจิ กรรมท่ีมีการปฏิบัติสบื เน่ืองกนั มาเปน็ เอกลักษณ์และมีความสำคัญต่อสังคม
เช่น การแต่งกาย ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความเชื่อ ฯลฯ อันเป็นบ่อเกิด
ของวัฒนธรรมของสังคมเชื้อชาติต่าง ๆ กลายเป็นประเพณีประจำชาติ และถ่ายทอดกันมาโดยลำดับ
หากประเพณนี ้นั ดีอยู่แลว้ กร็ ักษาไวเ้ ปน็ วฒั นธรรมประจำชาตหิ ากไม่ดีกแ็ ก้ไข เปลีย่ นแปลงไปตามกาลเทศะ
ซึ่งโดยส่วนใหญ่ประเพณีล้วนเกิดจากการได้รับอิทธิพลมาจากสิ่งแวดล้อมภายนอก มีรูปแบบการปฏิบัติที่
หลากหลายเข้ามาผสมผสานในการดำเนนิ ชีวิต

ประเพณี จึงเรียกได้ว่าเป็นวิถีแห่งการดำเนินชีวิตของสังคม โดยเฉพาะศาสนาซึ่งมีอิทธิพลต่อ
ประเพณีไทยมากที่สุด วัดวาอารามต่าง ๆ ในประเทศไทยสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่อ
สังคมไทย และชี้ให้เห็นว่าชาวไทยให้ ความสำคัญในการบำรุงพุทธศาสนาด้วยศิลปกรรมที่งดงามเพื่อใช้ใน
พิธีกรรมทางศาสนาตัง้ แต่โบราณกาล เป็นตน้

วีดิทศั น์ ความหมายและความสำคัญของประเพณีไทย
ทีม่ า: (Muangthai Book, ๒๕๕๙)

วัฒนธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ มธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ้ งถ่นิ จงั หวัดเพชรบูรณ์ ๒๖

ประเภทของประเพณี
๑. จารีตประเพณีหรือกฎศีลธรรม หมายถึง ประเพณีที่ทุกคนจะต้องปฏิบัติตาม ถ้าคนใดฝ่าฝืนงด
เว้นไม่กระทำถือวา่ เป็นความผดิ และชั่ว จารตี ประเพณีเก่ียวข้องกับศีลธรรมของคนส่วนรวมในสังคม และท่ี
เห็นไดใ้ นสังคมไทย ไดแ้ ก่ การแสดงความกตญั ญกู ตเวทีท่ีลูกควรมตี ่อบดิ า มารดาเมื่อทา่ นแก่เฒา่ เป็นหน้าท่ี
ของลูกจะพึงเลี้ยงดูถ้าลูกไม่ดูแลสังคมจะลงโทษว่าเป็นคนอกตัญญู ถือเป็นความชั่วไม่มีใครอยากคบด้วย
ตวั อยา่ งขา้ งตน้ เปน็ จารตี ประเพณไี ทย เราไมค่ วรนำจารีตดังกล่าวไปใชใ้ นการ ตัดสินคนในสังคมอ่นื ๆ
๒. ขนบประเพณีหรือสถาบัน คือ ประเพณีที่วางระเบียบแบบแผนไว้โดยตรง คือ วางเป็นระเบียบ
พิธีการไว้อย่างชัดเจน ซึ่ง จะถูกนำมาใชักับสถาบันทางสังคมเป็นประเพณีประจำสถาบัน แต่ประเพณี
ดงั กลา่ วอาจมกี ารเปลยี่ นแปลงได้ตามความเหมาะสมและยุคสมยั
๓. ธรรมเนียมประเพณี หรือประเพณีนิยม หมายถึง แนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ในการดำเนินชีวิต
ประจำวันที่ปฏิบัติกันมาจนเคยชินเป็นปกติวิสัย เป็นเรื่องเกี่ยวกับสถานการณ์ธรรมดาสามัญที่ไม่มี
ความสำคัญมากมายต่อสวัสดิภาพหรือความจำเป็นของสังคม และเป็นเรื่องที่ทุกคนปฏิบัติอยู่ทั่ว ๆ ไปจน
เป็นนิสัยหรือมาตรฐานทั่วไปในสังคมนั้น ธรรมเนียมประเพณีมีกำเนิดมาโดย ไม่มีผู้ใดทราบหรือสนใจสืบ
ประวัติที่แน่นอน อาจจะเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในสังคมหรือเกิดขึ้นใหม่แล้วแพร่หลายในสังคมเป็นพฤติกรรม
ปกตธิ รรมดาโดยทว่ั ไปไม่ตอ้ งเสียเวลาไปครนุ่ คิดในเรื่องเล็กๆ น้อย เช่น การไหว้ผู้หลกั ผใู้ หญเ่ ป็นประเพณีที่
คนไม่ ได้มีความสนใจว่ามันเป็นมาอย่างไรแต่ทุกคนควรกระทำถ้าหากไม่กระทำจะถูกซุบซิบนินทาได้
เป็นตน้
ตำบลหล่มเก่า ถือเป็นชุมชนเก่าแก่ที่มีวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามและหลากหลาย ควรแก่การ
อนุรักษ์ ไม่ว่าจะเป็น ภาษา อาหาร การแต่งกาย และวัฒนธรรมประเพณีท่ีสืบทอดกันมาแต่โบราณ ซึ่งใน
ปัจจุบันคนหล่มเก่าก็ยังคงสืบทอดวัฒนธรรมเหล่าน้ีไวเ้ ปน็ อยา่ งดี โดยมีวิถีชีวิตท่ีสอดคล้องกับประเพณีอยู่
ตลอดปี เรียกว่า “ฮีตสิบสอง”
“ฮีตสิบสอง” มีความหมาย ดังนี้ คำว่า “ฮีต” มาจากคำว่า “จารีตประเพณี” หรือสิ่งที่ยึดถือ
ประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันเป็นระยะเวลายาวนาน ส่วนคำว่า “สิบสอง” หมายถึง เดือนทั้ง ๑๒ เดือนใน
รอบหนึ่งปี ดังนั้นความหมายโดยรวม ๆ จึงหมายถึง งานบุญประเพณีในแต่ละเดือนของชาวลาวหล่ม
ซึ่งยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่ครั้งโบราณ จุดมุ่งหมายเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ที่ล่วงลับ
ตอบแทนบุญคุณของธรรมชาติ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ช่วยดลบันดาลให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี ในแต่ละเดือนจะ
จัดให้มีงานบุญท่ีแตกต่างกันดังนี้

วฒั นธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมทอ้ งถนิ่ จงั หวัดเพชรบูรณ์ ๒๗

ภาพพระสงฆท์ ำพิธเี ขา้ กรรม
ทมี่ า: https://shorturl.asia/๙VFa๐

ภาพ ประเพณีบญุ เขา้ กรรม
ทม่ี า: (อีสานร้อยแปด, ๒๕๖๑)

เดือนอ้าย ประเพณีบุญเข้ากรรม
งานบุญเดือนอ้าย เป็นประเพณีที่ให้พระสงฆ์ทำพิธีเข้ากรรม หรือที่เรียกว่า "เข้าปริวาสกรรม"
กำหนดทำชว่ งเดอื นหนึง่ ข้างขนึ้ หรอื ขา้ งแรมกไ็ ด้ แตส่ ่วนมากจะเป็นวนั ขึน้ ๑๕ ค่ำ ใช้เวลาเข้ากรรมประมาณ
๖ - ๙ วัน อย่ใู นบริเวณสงบ เช่น ชายปา่ หรอื ทห่ี า่ งไกลชมุ ชน (หรอื อาจเป็นท่สี งบในบรเิ วณวัดก็ได้)
บุญเข้ากรรมเป็นเดือนท่ีพระสงฆ์เข้ากรรม (ปริวาสกรรม) เพ่ือให้พระสงฆ์ผู้กระทำผิดได้สารภาพ
ต่อหน้าคณะสงฆ์เป็นการฝึกจิตสำนึกถึงความบกพร่องของตนและมุ่งประพฤติตนให้ถูกต้องตามพระธรรม
วินัยต่อไป
ด้านฆราวาสก็จะมีการทำบุญเลี้ยงผีต่าง ๆ
พิธีบุญเข้ากรรม คือ พิธีทำบุญโดยให้พระภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส (อาบัติ หนักรองจาก
ปาราชิก) จัดทำโดยพระสงฆ์เข้าไปอยู่ในเขตหรือที่จำกัด เพื่อทรมานร่างกายให้หายจากกรรม หรือพ้น
จากอาบัติที่ได้กระทำ และเป็นการชำระจิตใจให้หายจากความมัวหมองด้วย บางแห่งถือว่าเมื่อบวชจะ
แทนคุณมารดาได้จะต้องอยู่กรรม (อยู่ไฟหลังคลอด) เพราะมารดาท่านเคยอยู่กรรมมาแล้ว
ซึ่งโดยส่วนมากงานบุญในเดือนอ้ายมักจะเป็นพิธีกรรมทางสงฆ์ ผู้คนมีความเชื่อกันว่าหากทำบุญ
แด่พระสงฆ์ในช่วงที่ท่านเข้ากรรมจะได้อานิสงส์สูง เพราะในยามที่พระสงฆ์เข้ากรรมถือเป็นช่วงที่เคร่ง
วินัยและบริสุทธ์ิมากท่ีสุด การเข้ากรรมของพระสงฆ์ก็เปรียบได้กับการอยู่กรรมของแม่ลูกอ่อน หรือหญิงท่ี
พึ่งจะคลอดลูกใหม่ที่จะต้องอยู่กรรม การปฏิบัติตัวให้เหมาะสมคือจะต้องรู้จักคะลำทั้งเรื่องการกินและ
กิจวัตร ท้ังนี้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยท้ังแม่และลูก

วฒั นธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดล้อมธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ้ งถิ่น จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ๒๘

ส่วนการเข้ากรรมของพระภิกษุสงฆ์นั้นเป็นเรื่องที่ถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่โบราณกาล เป็นการทำ
เพื่อให้พระที่ต้องอาบัติที่หนักรองลงมาจากปาราชิก ทำพิธีวุฏฐานพิธีซึ่งเป็นระเบียบอันเป็นเครื่องออก
จากอาบัติ อันเป็นพิธีกรรมที่ทำให้จิตใจไม่หมองมัว หรืออีกนัยหน่ึงก็เพื่อระลึกถึงการกระทำอันเป็นบาปที่
ทำมาตลอดเข้าพรรษา หรือตั้งแต่กำเนิด บ้างก็ว่าการคร่ำเคร่งในการเข้ากรรมของพระสงฆ์เพื่อเป็นการ
ทดแทนการอยู่กรรมของมารดาท่ีแสนจะทรมาน

มีตำนานเล่าสืบกันมาว่า ในสมัยพุทธกาล ในช่วงท่ีพระภิกษุสงฆ์จะเข้าปริวาสกรรม มีพระสงฆ์รูป
หนึ่งล่องเรือไปตามแม่น้ำคงคา ได้เอามือไปจับใบตะไคร่น้ำขาดเพียงเล็กน้อย การทำลายชีวิตในครั้งนั้น
เข้าใจว่าเป็นเพียงบาปเล็กน้อย เป็นอาบัติอย่างเบา จึงไม่แสดงอาบัติ

แต่เหตุในครั้งนั้นก็ยังคงค้างคาอยู่ในใจของภิกษุรูปนั้นอยู่เสมอตลอดระยะเวลาในช่วงเวลาที่
ปฏิบัติธรรมในป่าและคงอยู่เป็นเวลานาน แต่เมื่ออยากแสดงอาบัติในการทำใบตะไคร่น้ำขาดในครั้งนั้นก็
ไม่มีภิกษุรูปใดรับฟัง เม่ือภิกษุรูปน้ีได้มรณภาพลง บาปกรรมก็ยังติดตัวไปยังภพใหม่ด้วย จะเห็นได้ว่าแท้ที่
จริงแล้วช่วงระยะเวลาการเข้ากรรมของพระสงฆ์นั้น เป็นช่วงที่ท่านแสดงซึ่งอาบัติที่เคยกระทำมาและ
ยอมรับในการทำผิดนั้น มิได้บริสุทธิ์กว่ากาลท่ีผ่านมา แต่เป็นความศรัทธาของพุทธศาสนิกชน ในปัจจุบัน
ชาวอีสานก็ยังให้ความสำคัญกับงานบุญในเดือนอ้าย (เจียง) นี้อยู่แม้จะมีจำนวนลดน้อยลงบ้างตาม
กาลเวลา

พิธีกรรมที่ทำส่วนใหญ่ก็จะทำขึ้นเพื่อให้คนในชุมชนได้มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันสร้างความสมัครสมาน
สามัคคีและหล่อหลอมให้เป็นคนรู้จักสัมมาคารวะเคารพผู้อาวุโสในชุมชน รู้จักการแยกแยะรู้จักการให้
อภัยแก่กัน ก็คือให้คนในชุมชนอยู่ด้วยกันอย่างมีคุณธรรมไม่โลภ โกรธ หลง ต่างคนต่างพึ่งพาอาศัยกัน
ไม่ถือชั้นวรรณะ และเป็นการสืบทอดศิลปะขนบธรรมเนียมประเพณีต่างให้สังคมเกิดความเป็นสุขนั่นคือ
จุดประสงค์ที่ยิ่งใหญ่ของประเพณีพิธีกรรมของชาวอีสาน ซึ่งเป็นความสำคัญและงดงามมากในอดีตกาล
(ประสม บุญป้อง, ม.ป.ป.)

วีดิทศั น์ ฮีตเดือนอ้าย บุญเขา้ กรรม
ทมี่ า: (สำนักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ขอนแกน่ , ๒๕๕๙)

วัฒนธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนรุ ักษ์ส่งิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมทอ้ งถิน่ จังหวดั เพชรบรู ณ์ ๒๙

ภาพประเพณีบญุ คนู ลาน
ท่มี า: สำนกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์

ภาพ ประเพณีบญุ คณู ลาน
ทม่ี า: (สำนักศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ,์ ๒๕๖๔)

เดือนยี่ ประเพณีบุญคูนลาน (บางท้องถิ่นเรียก “บุญกองข้าว”)
บุญคูนลาน หรือบุญคูนข้าว เป็นการทำบุญเพื่อรับขวัญข้าว เมื่อถึงเดือนยี่ หรือเดือน ๑
(มกราคม) ช่วงสัปดาห์ท่ี ๒ ของเดือนของทุกปี ทำพิธีโดยนิมนต์พระสงฆ์มาสวดมนต์ในลานข้าว บางแห่ง
จะมีการสู่ขวัญข้าว จุดมุ่งหมายของการทำบุญประเพณี “บุญคูนลาน” เพื่อกล่าวขอบคุณแม่โพสพและ
ขอโทษที่ได้เหยียบย่ำพื้นแผ่นดินในระหว่างการทำนา ความเป็นสิริมงคลแก่ข้าวในลานของตน และเพื่อ
เป็นการขออานิสงส์ต่าง ๆ การสู่ขวัญข้าวจะกระทำที่ลานนา หรือที่ลานบ้านก็ตามแต่จะสะดวก หลังการ
สู่ขวัญข้าวเสร็จก็จะเป็นการขนข้าวขึ้นเล้า (ยุ้ง/ฉาง) ก่อนการขนข้าวข้ึนเล้า เจ้าของข้าวจะต้องไปเก็บเอา
ใบคนู และใบยอเสียบไว้ทีเ่ สาเลา้ ทกุ เสา ซ่ึงถอื เปน็ เคลด็ ลบั วา่ ขอให้ค้ำคูณ ยอ ๆ ย่ิง ๆ ข้ึนไป และเชิญขวัญ
ข้าวพร้อมท้ังแม่โพสพขึ้นไปยังเล้าด้วย
ตามธรรมเนียมประเพณี ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ เมื่อถึงเวลาเดือนยี่ หรือเดือนสอง จะมีพิธีหรื อมี
ประเพณี เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชาวนา คือ บุญคูนลาน ความหมายของคำว่า คูณ หมายถึงเพิ่มเข้าให้เป็น
ทวีคูณ หรือทำให้มากขนึ้ น่นั เอง ส่วนคำวา่ ลาน คือสถานที่กว้างสำหรบั นวดข้าว การนำขา้ วทีน่ วดแล้วกอง
ขึน้ ให้สงู เรยี กวา่ คูนลาน การทำประเพณีบุญคูนลาน กำหนดเอาเดือนย่ีเป็นเวลาทำ จึงเป็นท่ีมาของคำว่า
บุญเดือนย่ี
การทำบุญคูนลานหลาย ๆ หมู่บ้านอาจจะทำในเวลาท่ีไม่ตรงกัน เพราะว่าการเก็บเก่ียวอาจจะใช้
เวลามากน้อยต่างกัน ตามพ้ืนท่ีการทำนา และแรงงานที่มี แต่จะทำในช่วงเดือนสองหรือตรงกับช่วงเดือน
มกราคม

วฒั นธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถิน่ จังหวัดเพชรบรู ณ์ ๓๐

มูลเหตุท่ีจะมีการทำบุญชนิดนี้นั้นเนื่องจาก ผู้ใดทำนาได้ข้าวมาก ๆ ก่อนหาบหรือขนข้าวมาใส่ยุ้ง
ฉาง ก็อยากจะทำบุญกุศล เพ่ือเป็นสิริมงคลให้เพิ่มความมั่งมีศรีสุขแก่ตนและครอบครัวสืบไป

ในการทำบุญคูนลาน จะต้องจัดเตรียมสถานที่ทำบุญที่ลานนวดข้าวของตน จากนั้นนิมนต์
พระภิกษุสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ จัดน้ำอบ น้ำหอม ไว้ประพรมขึงด้ายสายสิญจน์รอบกองข้าว เมื่อ
พระภิกษุสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์จบแล้ว มีการถวายภัตตาหารเพลแก่พระภิกษุสงฆ์จากน้ันจะนำข้าวปลา
อาหาร มาเลี้ยงดูญาติพี่น้องลูกหลาน และผู้มาร่วมทำบุญ พระสงฆ์ฉันเสร็จก็จะประพรมน้ำพุทธมนต์ให้
กองข้าว ให้เจ้าภาพและทุกคนที่มาร่วมในงาน เสร็จแล้วก็จะให้พรและกลับวัด เจ้าภาพก็จะนำน้ำพระ
พุทธมนต์ที่เหลือไปประพรมให้แก่วัว ควาย ตลอดจนเครื่องมือ เครื่องใช้ในการทำนา เพื่อความเป็นสิริ
มงคลต่อไป

ในปัจจุบัน บุญคูนลาน ค่อย ๆ จางหายไป เนื่องจากไม่ค่อยมีผู้สนใจประพฤติปฏิบัติกัน ประกอบ
กับทุกวันน้ีมีความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีหลายอย่าง ชาวนามีเคร่ืองมือทุ่นแรงมากย่ิงขึ้น ชาวนาไม่มี
การนวดข้าวเหมือนแต่ก่อน เมื่อเกี่ยวข้าวเสร็จจะใช้เครื่องสีมาสีข้าวแล้วได้เป็นเมล็ดข้าวเปลือกใส่
กระสอบเลย จึงทำให้ประเพณีคูนลานนี้เลื่อนหายไป แต่ยังคงมีบางหมู่บ้านที่ยังรวมกันทำบุญโดยนำ
ข้าวเปลือกมากองรวมกันในสถานที่ส่วนรวม (ลานกลางหมู่บ้าน หรือลานวัด) แทน นับว่าเป็นการ
ประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับกาลสมัย (https://citly.me/ZMF3t, ม.ป.ป.)

วีดิทัศน์ บุญคูณลาน : ฮตี ๑๒ ของอีสาน
ทม่ี า: (THE BACKGROUND, ๒๕๖๕)

วฒั นธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนรุ กั ษส์ ิง่ แวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมทอ้ งถิ่น จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ๓๑

ภาพ ขา้ วจ่ี
ที่มา: (สำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์, ๒๕๖๕)

เดือนสาม บุญข้าวจี่
บุญข้าวจี่ เป็นงานบุญประเพณีที่กระทำกันในเดือนสาม ราวกลางเดือนหรือปลายเดือน คือ
ภายหลังการทำบุญวันมาฆบูชา (เดือนสาม ขึ้น ๑๔ ค่ำ) แล้วส่วนใหญ่จะกำหนดวันแรม ๑๓ ค่ำ และ ๑๔
ค่ำ เดือนสาม เป็นกิจกรรมร่วมของชุมชนหลายหมู่บ้านบางหมู่บ้านเรียกงานบุญนี้ว่า บุญคุ้ม จะทำกันเป็น
คุ้ม ๆ หรือบางหมู่บ้านก็จะทำกันท่ีวัดประจำหมู่บ้าน
ข้าวจ่ี คือ ข้าวเหนียวนึ่งให้สุกแล้วนำมาปั้นเป็นก้อนทาเกลือเคล้าให้ท่ัว เอาไม้เสียบย่างไฟเหมือน
ไก่ย่าง เมื่อข้าวสุกเกรียมแล้วก็เอาไข่ซึ่งตีไว้แล้วทานำไปย่างซ้ำอีกรอบ กลายเป็นไข่เคลือบข้าวเหนียว
เสร็จแล้วถอดไม้ออกแล้วเอาน้ำอ้อยหรือน้ำตาลท่ีเป็นก้อนยัดใส่แทนกลายเป็นข้าวเหนียวยัดไส้ แล้วถวาย
พระเณรฉันตอนเช้า

โดยส่วนมากชาวบ้านจะรีบทำข้าวจี่แต่

เช้ามืด พอสว่างก็ลงไปที่ศาลาการเปรียญ

(ที่ชาวบ้านเรียกหัวแจก) นิมนต์พระสงฆ์

สามเณร สวดมนต์และให้พร เสร็จแล้วฉันภัตรา

หาร งานบุญข้าวจี่ ถือว่าเป็นทั้งงานบุญและงาน

รื่นเริงประจำแต่ละหมู่บ้าน เพราะได้ทำข้าวจี่ไป

ถวายพระหลังจากพระฉันแล้วก็เลี้ยงกันเอง

สนุกสนาน ภาพ ใส่บาตรขา้ วจ่ี

ที่มา: (สำนกั ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์, ๒๕๖๕)

วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนรุ ักษ์ส่งิ แวดล้อมธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ้ งถิ่น จงั หวัดเพชรบูรณ์ ๓๒


Click to View FlipBook Version