The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Aom Nuttawadee, 2022-09-22 02:40:48

วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหล่มเก่า

หลักสูตรท้องถิ่นศึกษา

ภาพ เจ้าพอ่ ทำความเคารพหอไหว้
ท่มี า: (สำนักศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ,์ ๒๕๕๘)
พิธีทำนำ้ มนต์
เมื่อเจ้าองค์ใหญ่เห็นว่ามากันจนครบแล้ว ก็เริ่มพิธีเสี่ยงเทียนทำน้ำมนต์ โดยจุดเทียนตั้งที่จาน
ขันทำน้ำมนต์ แล้วยกขึ้นบอกกลา่ วส่ิงศักดสิ์ ทิ ธ์วิ ่าจะเริม่ ทำนำ้ มนต์ แล้วก็ส่งจานขนั ทำน้ำมนต์นั้นให้กับเจ้า
องค์ที่อาวุโสสูงสุด ซึ่งมีเพียงไม่กี่องค์ยกอธิษฐาน แล้วก็ลุกจากที่นั่งเดินตรงไปยังโอ่งน้ำที่ภายในได้ใส่น้ำ
พร้อมทั้งเครื่องน้ำมนต์เอาไว้ เจ้าองค์ใหญ่ก็นำเอาดาบ ไม้เรียวหวาย หอก จุ่มลงไปในโอ่ง แล้วจุดเทียน
น้ำมนต์พนมมือขึ้นโยกซ้าย – ขวา แล้วมาหยุดอยู่ตรงกลางพร้อมกล่าวบทบริกรรมคาถาและหยด
นำ้ ตาเทยี นลงไปในโอ่ง เจ้าบางองค์ก็จะฟ้อนรำในระหว่างท่ที ำน้ำมนต์น้ันไปดว้ ย หลังจากทท่ี ำน้ำมนต์เสร็จ
แล้วกน็ ำเอาส่ิงของทอี่ ย่ใู นโอง่ น้นั ออกมาส่งใหเ้ จ้าท่เี ปน็ เจ้าของถือ

ภาพ บรรดาเจา้ พ่อเจ้าแมท่ ำนำ้ มนต์
ทีม่ า: (สำนกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์, ๒๕๕๘)

วัฒนธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถ่ิน จงั หวัดเพชรบูรณ์ ๘๓

พธิ สี ง่ เจ้าส่งนาย
เมื่อทำนำ้ มนตเ์ สร็จแล้ว บรรดาเจา้ พอ่ เจา้ แมก่ เ็ รมิ่ ต้ังขบวนแห่ส่งเจ้าสง่ นายกลบั นำโดยเจา้ องค์
ใหญ่เดินนำหน้าถือไม้เรยี วหวายวาดไปมา ตามด้วยเจ้าองค์อื่นเดินตาม บางองค์ก็จะถือช้างที่ทำจากไม้ ถือ
ม้าที่ทำจากไม้ บางองค์ก็เอาม้าก้านกล้วยมาขี่เดินแห่ไปในขบวน ในระหว่างที่แห่นั้นจะมีการจุดพุตาม
จำนวนรอบดังน้ี รอบที่ ๑ จะจดุ พุ ๑ ดอก รอบที่ ๒ จะจุดพุ ๒ ดอก รอบท่ี ๓ จะจุดพุ ๓ ดอก ในระหว่าง
ที่แห่นั้นจะมีการกางร่มให้กับเจ้าองค์ใหญ่ ๒ องค์ เมื่อแห่ครบตามจำนวนรอบแล้ว เจ้าองค์ที่ถือช้างไม้ ม้า
ไม้ นำเอาเขา้ ไปเกบ็ ไว้ทีห่ อไหว้เมื่อแห่ครบตามจำนวน ๓ รอบแลว้ บรรดาเจา้ พอ่ เจ้าแม่ก็เดนิ เข้าไปรวมกัน
ภายในหอครองใหญ่ วงดนตรีบรรเลง บรรดาเจา้ พอ่ เจ้าแม่กล็ ุกขึ้นฟอ้ นรำบางองคถ์ ือดาบฟ้อนรำไปด้วย

ภาพ ขบวนแหส่ ง่ เจา้ นายกลบั
ท่ีมา: (สำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์, ๒๕๕๘)
ชาวบ้านรับน้ำมนต์

ภาพ ชาวบา้ นเข้ารบั น้ำมนตจ์ ากเจ้าพ่อเจ้าแม่
ทมี่ า: (สำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ,์ ๒๕๕๘)

วัฒนธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถ่นิ จังหวัดเพชรบูรณ์ ๘๔

ในระหว่างน้ีชาวบ้านก็จะเข้าไปรับนำ้ มนต์จากเจ้าพ่อเจ้าแม่ และบรรดาเจ้าพ่อเจ้าแม่ก็ร่วมกนั
ฟอ้ นรำกนั อย่างสนกุ สนานจนพอใจ แล้วกเ็ ชญิ เจ้าออกจากรา่ งไป รา่ งทรงพับเครือ่ งทรงเกบ็ ถือเป็นอนั เสร็จ
พธิ ีงานเลย้ี งปี

นอกจากน้ันความเช่ือเรื่องผีของชาวไทหล่ม ยงั มีส่วนเขา้ ไปเกี่ยวข้องกับอีกหลายสิ่งหลายอย่าง
ไม่ว่าจะเป็น ป่า เขา ไร่ นา และหมู่บ้าน สังเกตได้จากการมีพธิ กี รรมทำบญุ ใหผ้ อี ย่างสมำ่ เสมอเกือบตลอด
ทั้งปี หรือเมื่อมีเหตุการณ์ที่ผิดปกติเกิดขึ้น เป็นเหตุการณ์เฉพาะหน้าก็จะมีการบนบานขอขมาต่อภูตผี
วิญญาณ และสง่ิ ศกั ด์สิ ิทธิ์ เพอ่ื เป็นการเรยี กขวัญและกำลังใจของตนกลับคืนมา เปรยี บเสมอื นผี คือ อำนาจ
เหนือธรรมชาติ ชาวบ้านมีจิตสำนึกอยู่เสมอว่าธรรมชาติรอบ ๆ ตัว มีภูตผีวิญญาณสงิ สถิตอยู่ซึ่งมองไม่เหน็
แต่สมั ผสั ได้ดว้ ยความรู้สกึ ชาวบา้ นจงึ ยึดถือปฏบิ ตั ติ ามฮีตสบิ สองคองสบิ ส่ี ซง่ึ หมายถึง บรรทัดฐานแห่งการ
ดำเนินชีวิตของคนในชุมชนอันมีความเชื่อเรื่องผีเข้าไปเกี่ยวข้องอยู่มาก ซึ่งไม่ว่าสังคมปัจจุบันจะมีความ
เจริญทางด้านวัตถุมากขึ้นกว่าในอดีต แต่ในเรื่องความเชื่อเกี่ยวกับผีและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ยังฝังรากลึกอยู่ใน
ความรู้สึกของชาวบ้านอยู่ตลอดเวลา ซึ่งมีผลมาจากความเชื่อ คือ การบูชา และการบวงสรวง เพื่อให้ผี
และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทีต่ นเองนับถือเกิดความพอใจ และจะได้ช่วยดลบันดาลให้ผู้ที่ทำการบูชาหรอื บวงสรวงนั้น
สมดังปรารถนาทุกประการ

วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนรุ กั ษ์ส่ิงแวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท้องถ่ิน จังหวัดเพชรบูรณ์ ๘๕

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๕

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๕ ชือ่ หน่วย การสรา้ งผลงานท่เี กี่ยวขอ้ งกับประเพณี เวลาเรียน ๕ ชวั่ โมง

พิธกี รรมและความเชื่อของชาวตำบลหล่มเก่า

หลกั สูตรท้องถนิ่ เรื่อง วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหล่มเก่า สำหรบั นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕

โรงเรยี น....................................................................

*************************************************************************************************************

สาระสำคญั

ประวัติความเป็นมาและขั้นตอนการประดิษฐ์อุปกรณ์เครื่องใช้ที่เกี่ยวข้องกับประเพณี พิธีกรรม
และความเชื่อของชาวตำบลหล่มเก่า ได้แก่ ๑. การประดิษฐ์บายศรี ๒. การประดิษฐ์ขันหมากเบ็ง
๓. การประดิษฐ์ขันกระหย่อง ๔. การประดิษฐ์ทุง ตุง หรือธง ซึ่งสิ่งประดิษฐ์ที่กล่าวมานั้นล้วนเป็นเครื่อง
แสดงความเคารพบูชาส่ิงศักด์ิสิทธ์ิในการจัดงานประเพณตี ่าง ๆ

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายและขั้นตอนของงานประดิษฐ์ที่นิยมใช้ประกอบ

พิธีกรรมทางศาสนาของชาวหล่มเก่าได้ (K)
๒. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างผลงานการประดิษฐ์ของใชใ้ นการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของชาว

หลม่ เกา่ ได้ (P)
๓. เพื่อใหผ้ เู้ รยี นมีจิตสำนึกและเปน็ พลเมืองทด่ี ีตามวิถชี มุ ชนหลม่ เก่า (A)

วฒั นธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท้องถ่ิน จงั หวดั เพชรบูรณ์ ๘๖

กระบวนการจัดการเรยี นรู้
กระบวนการจดั การเรียนรปู้ ระกอบดว้ ยกจิ กรรมการเรียนรู้ ดังน้ี

ขั้นการตงั้ คำถาม
นกั เรียนตงั้ คำถามจากภาพท่ีเห็นใหไ้ ดม้ ากท่ีสุด เวลา ๑๐ นาทผี ่านระบบ Padlet

ภาพ บายศรีปากชาม ภาพ บายศรสี ขู่ วญั ภาพ ตงุ แขวง
(แหวน. ม.ป.ป.) (ชำเลือง มณวี งษ์. ๒๕๕๐) (ข่าวไทยพบี ีเอส. ๒๕๖๔)

ขนั้ การรวบรวมข้อมูล
๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มคละความสามารถ เก่ง ปานกลาง อ่อน ศึกษาใบความรู้ การสร้างผลงานท่ี

เกย่ี วข้องกบั ประเพณี พธิ กี รรมและความเช่ือของชาวตำบลหล่มเกา่
๒. นกั เรยี นสรปุ ใบความรู้ การสร้างผลงานที่เกี่ยวข้องกบั ประเพณี พธิ กี รรมและความเชื่อของชาว

ตำบลหล่มเก่า เปน็ แผนภาพอินโฟกราฟิก
๓. ปราชญ์ชาวบา้ นใหค้ วามรใู้ นการจดั ทำบายศรี และการทำตุงตามยุคสมยั

ขนั้ ออกแบบเชิงวิศวกรรม
๑. นักเรียนเลอื กร่างแบบงานการจัดทำบายศรแี ละการทำตุงตามทที่ ่านสนใจ
๒. นักเรียนคำนวณต้นทุนการผลิตเพื่อจัดจำหน่ายพร้อมกับนำเสนอเป็นรายกลุ่ม ครูให้ข้อเสนอแนะ

เติมเต็มผลงาน
๓. นักเรียนแก้ไขตามข้อเสนอแนะ และตัดสินใจเลือกแบบร่างในการออกแบบชิ้นงานเพื่อจัด

จำหน่าย

ขัน้ ดำเนนิ งานตามแบบ
นกั เรียนแต่ละกลุ่มออกแบบชิ้นงานตามแบบที่ไดร้ ่างไว้ พรอ้ มกับถ่ายคลิปวิดโี อการทำในแพลตฟอร์ม

Tik Tok

วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติและศลิ ปกรรมท้องถิ่น จังหวดั เพชรบูรณ์ ๘๗

ข้ันการนำเสนอ
นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำเสนอผลงานตนเอง ครูให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มผลงานนกั เรียน

ข้ันสะท้อนบทเรียน (AAR)
นักเรียนแต่ละคนสะท้อนผลการเรียนรู้ของหน่วยการเรียนรู้ การสร้างผลงานที่เกี่ยวข้องกับ

ประเพณี พิธีกรรมและความเชื่อของชาวตำบลหล่มเก่า ครูให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มผลการสะท้อนของ
นกั เรียนผ่านระบบ Padlet

วฒั นธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนรุ ักษส์ งิ่ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถ่ิน จงั หวดั เพชรบูรณ์ ๘๘

ใบความรทู้ ่ี ๕

การสรา้ งผลงานทีเ่ กย่ี วข้องกบั ประเพณี พิธีกรรมและความเชอ่ื
ของชาวตำบลหลม่ เก่า

ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวข้องกับการที่มนุษย์ได้รู้จักวิธีการนําวัตถุดิบที่อยู่ใกล้ตัวมาดัดแปลงเป็น
สิ่งของเครื่องใช้จากขั้นตอนที่ง่ายจนวิวัฒนาการสู่ความละเอียดอ่อน ประณีตงดงามในเชิงศิลปะ
และประโยชน์ใช้สอย จนสามารถสนองความต้องการของมนุษย์ได้เป็นอย่างดีและสืบทอดมาจนถึง
ปัจจุบัน กรรมวิธีดังกล่าวช่วยทำให้มนุษย์ได้ผลิตสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ไว้เป็นจำนวนมาก โดยเรียก
สิ่งประดิษฐ์นั้นว่า “หัตถกรรม” อันหมายถึง การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ด้วยมือ เครื่องมือ และภูมิปัญญา
เพื่อให้ได้มาซ่ึงประโยชน์ใช้สอยในชีวิตประจำวัน (กนกพร ฉิมพลี, ๒๕๕๕)

นอกจากภูมิปัญญาแล้วมนุษย์เมื่ออยู่รวมกันก็มีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน การพัฒนาของมนุษย์ได้
มีการเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ในแต่ละชนชาติก็มีความเชื่อและความศรัทธาที่แตกต่างกันออกไป ส่ิงเหล่านี้
ล้วนได้รับอิทธิพลมาจากสิ่งแวดล้อมภายนอกที่เข้าสู่สังคม รับเอาแบบปฏิบัติที่หลากหลายเข้ามา
ผสมผสานในการดำเนินชีวิต ประเพณีจึงเรียกได้ว่าเป็นวิถีแห่งการดำเนินชีวิตของสังคม โดยเฉพาะ
ศาสนา ซึ่งมีอิทธิพลต่อประเพณีไทยมากที่สุด และชี้ให้เห็นว่าชาวไทยให้ความสำคัญในการบำรุงพุทธ
ศาสนาด้วยศิลปกรรมที่งดงาม เพื่อใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาตั้งแต่โบราณกาลมา (บัญชา ธนบุญสมลัติ,
๒๕๕๒)

การแสดงความเคารพบูชาในศาสนาพุทธก็มีกิจกรรมที่แตกต่างกันออกไปดังที่ได้กล่าวมาแล้ว
แต่สิ่งหนึ่งที่ได้รับการยึดถือปฏิบัติสืบทอดต่อกันมาของชาวไทหล่ม ในจังหวัดเพชรบูรณ์ก็คือ การทำ
บายศรี และขันหมากเบ็ง หรือขันหมากเบญจ์ นอกจากนี้ยังมีงานหัตถกรรมที่นิยมทำกันเพื่อใช้ในพิธีกรรม
เช่น ขันกะหย่อง และตุง หรือธง ซ่ึงจะนำเสนอเป็นลำดับ ดังน้ี

วัฒนธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนุรกั ษ์สิง่ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมทอ้ งถิ่น จังหวดั เพชรบรู ณ์ ๘๙

บายศรี
ศิลปะงานใบตองที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ วิถีชีวิตของคนไทยยังมีความผูกพันกับการทำบายศรี

สู่ขวัญที่ได้รับการสืบทอดมาจนถึงทุกวันนี้ อีกประการหนึ่งเวลามีงานบุญต่าง ๆ มักจะพบเห็นการทำ
บายศรีสู่ขวัญเพื่อความเป็นสิริมงคล สร้างขวัญและกําลังใจที่จะดำรงชีวิตอย่างปกติสุข และที่สำคัญเห็น
ว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น จึงได้เพียรพยายามอย่างมาก เพื่อจะต้องทำบายศรี
ให้ได้ และได้ฝึกหัดทำจากผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชนเวลามีงานบุญก็จะไปช่วยทำ ถือเป็นการฝึกฝนไปในตัว
และถ้าฝึกฝนบ่อย ๆ จะเกิดความชํานาญจนสามารถจัดบายศรีได้อย่างสวยงาม และประณีต อานิสงส์จาก
การทำบายศรี เป็นการฝึกสมาธิ ความใจเย็น บายศรีจึงจะมีความสวยงามและทรงคุณค่าในความเป็นไทย
ผลงานท่ีเป็นที่ยอมรับสามารถจัดทำบายศรีใบตองหลายรูปแบบ เมื่อมีงานวัด งานมงคล หรืองานบายศรี
สู่ขวัญให้กับแขกผู้มาเยือน จนได้รับการความเชื่อถือในฝีมืออันวิจิตรบรรจง และไว้วางใจให้จัดทำบายศรี
เพือ่ นาํ ไปประกอบพิธี

สิ่งที่ต้องเตรียมในการทำบายศรี
๑. ใบตอง
๒. ถ้วย
๓. กะละมังสำหรับแช่ใบตองไม่ให้เห่ียว
๔. ไม้ปลายเเหลม
๕. ดอกไม้
๖. กรรไกร
๗. ลวดเย็บกระดาษ

การเลือกและการทำความสะอาด
ใบตองที่นำมาใช้สำหรับทำบายศรี มักนิยมใช้ใบตองจากกล้วยตานี เนื่องจากเป็นใบตองที่มี
ลักษณะเป็นเงา มันวาว เมื่อโดนน้ำจะยิ่งเกิดประกายสีเขียวเข้มสวยงามยิ่งขึ้น และที่สำคัญใบตองจาก
กล้วยตานีมีความคงทน ไม่แตกง่าย ไม่เห่ียวง่าย สามารถนำมาพับม้วนเป็นรูปลักษณะต่าง ๆ ได้ง่าย และ
สามารถเก็บไว้ได้นานหลายวัน หรือถ้ารักษาโดยหม่ันพรมน้ำบ่อย ๆ ใบตองกล้วยตานีจะสามารถคงทนอยู่
ได้นานเป็นสัปดาห์ เมื่อได้ใบตองกล้วยตานีมาแล้วจะต้องนำมาทำความสะอาดก่อน โดยการเช็ดจะต้องใช้
ผ้าเช็ดตามรอยของเส้นใบไปในทางเดียว อย่าเช็ดกลับไปกลับมา หรืออย่าเช็ดขวางเส้นใบเป็นอันขาด
เพราะจะทำให้ใบตองเสียหาย มีรอยแตก และช้ำ ไม่สามารถนำใบตองมาใช้งานได้เต็มที่ เม่ือเช็ดสะอาดดี
แล้ว ก็ให้พับพอหลวม ๆ เรียงซ้อนกันไว้ให้เป็นระเบียบ เพ่ือรอนำมาใช้งานในข้ันตอนต่อไป

วัฒนธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมทอ้ งถิน่ จงั หวัดเพชรบูรณ์ ๙๐

การพับหรือฉีกใบตอง แบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ
๑. ใบตองสำหรับทำกรวยแม่ ฉีกกว้างประมาณ ๒ น้ิวฟุต
๒. ใบตองสำหรับทำกรวยลูก ฉีกกว้างประมาณ ๒ นิ้วฟุต
๓. ใบตองสำหรับห่อ ฉีกกว้างประมาณ ๑.๕ น้ิวฟุต

ใบตองแต่ละประเภท ควรฉีกเตรียมไว้ให้ได้จำนวนที่ต้องการ กล่าวคือ ถ้าทำพานบายศรี ๓ ช้ัน
ชั้นละ ๔ ทิศ (๔ ร้ิว) นั่นก็หมายถึงว่าจะมีร้ิวท้ังหมด ๑๒ ริ้ว ในแต่ละริ้วจะประกอบด้วยกรวยแม่ ๑ กรวย
และกรวยลูก ๙ กรวย รวมทั้งสิ้น จะมีกรวยแม่ ๑๒ กรวย และ กรวยลูก ๑๐๘ กรวย นั่นเอง แสดงว่า
จะต้องมีใบตองสำหรับทำกรวยแม่ ๑๒ ชิ้น ใบตองสำหรับทำกรวยลูก ๑๐๘ ชิ้น ใบตองสำหรับห่อ ๑๒๐
ชิ้น น่ันเอง แต่ใบตองสำหรับห่อจะต้องเตรียมไว้เพ่ือห่อริ้วอีก คือใน ๑ ริ้วจะประกอบไปด้วย กรวยแม่ ๑
กรวย กรวยลูก ๙ กรวย ซึ่งจะต้องมาห่อรวมกัน ดังนั้น จึงต้องเพิ่มใบตองสำหรับห่ออีก ๑๒๐ ชิ้น รวม
เป็นใบตองสำหรับห่อ ๒๔๐ ชิ้น

การพับกรวย และห่อกรวย
การพับ หรือห่อกรวย หมายถึง การนำใบตองท่ีฉีกเตรียมไว้แล้วสำหรับพับกรวย มาพับโดยการ
พับกรวยแม่และกรวยลูกจะมีลักษณะวิธีการพับเหมือนกัน คือ การนำใบตองมาพับม้วนให้เป็นกรวยปลาย
แหลม เพียงแต่กรวยลูกจะมีการนำดอกพุดมาวางเสียบไว้ที่ส่วนยอดปลายแหลมของกรวยด้วย เมื่อพับ
หรือม้วนใบตองเป็นกรวยเสร็จในแต่ละกรวยแล้ว ให้นำลวดเย็บกระดาษมาเย็บใบตองไว้เพื่อป้องกัน
ใบตองคลายตัวออกจากกัน แล้วเก็บกรวยแต่ละประเภทไว้จนครบจำนวนที่ต้องการ เมื่อได้กรวยแต่ละ
ประเภทครบตามจำนวนที่ต้องการแล้ว ก็นำกรวยท่ีได้มาห่อ โดยการนำใบตองที่ฉีกเตรียมไว้สำหรับห่อมา
ห่อกรวย หรือเรียกอีกอย่างว่า ห่มผ้า หรือ แต่งตัวให้กรวยบายศรี การห่อริ้วบายศรี คือการนำกรวยแม่
และ กรวยลูกที่ได้ห่อกรวยไว้เรียบร้อยแล้ว มาห่อมัดรวมเข้าไว้ด้วยกัน ที่นิยมทำกันใน ๑ ริ้ว จะ
ประกอบด้วยกรวยแม่ ๑ กรวย กรวยลูก ๙ กรวย

ภาพ แมบ่ ายศรี ๙๑
ท่ีมา: (สำนักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ์, ๒๕๖๕)

วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมทอ้ งถนิ่ จงั หวัดเพชรบรู ณ์

วธิ ีการหอ่ ริว้ มีการห่อคล้ายกบั การหอ่ กรวยแม่ หรือ กรวยลูก
แต่จะแบ่งวิธตี ามลักษณะงานทไ่ี ดเ้ ปน็ ๒ วธิ ี คือ

๑. ห่อแบบตรง คือการห่อโดยเริ่มต้นจากกรวยแม่ แล้ววางกรวยลูกไว้ด้านบนกรวยแมเ่ ปน็ ชั้น ๆ
ทับกนั ขึ้นมา หรอื หนั กรวยลูกเขา้ หาตวั ผหู้ อ่ การห่อแบบนีจ้ ะได้ริ้วบายศรคี อ่ นขา้ งตรง และในช่วงตัวร้ิวจะมี

รอยหยกั ของใบตองห่อเรยี กว่า มีเกลด็
๒. ห่อแบบหวาน คือการห่อ โดยเริ่มต้นจากกรวยแม่ แต่วางกรวยลูกไว้ด้านล่างของกรวยแม่

และวางซอ้ นด้านลา่ งลงไปจนครบ หรอื หนั กรวยแมเ่ ข้าหาตัวผหู้ อ่ โดยวางกรวยลกู ลงดา้ นล่างจนครบนน่ั เอง
การหอ่ แบบนี้ จะได้รวิ้ บายศรเี ปน็ ลกั ษณะอ่อนช้อย งอน ออ่ นหวาน

เมื่อห่อรว้ิ จนเสรจ็ ในแตล่ ะรว้ิ แล้ว จงึ นำร้วิ ทไ่ี ด้ลงแชใ่ นนำ้ ผสมสารส้มทีเ่ ตรียมไว้ประมาณ ๒๐
นาที เพื่อให้ใบตองเข้ารูปทรง อยู่ตัวตามที่ได้พับและห่อ จากนั้น จึงนำไปแช่ในน้ำผสมน้ำมันมะกอกต่อไป
เพือ่ ให้รว้ิ มคี วามเป็นมันวาว เนน้ สีเขยี วเข้มของใบตองมากขึ้น และมีกลิ่นหอมในตัวเอง

การประกอบพานบายศรี

การประกอบพานบายศรี ถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายในการทำบายศรี คือการนำริ้วที่ทำเสร็จแล้ว

และแช่ในน้ำผสมนำ้ มนั มะกอกแล้ว มาประกอบเข้ากบั พานบายศรี ๓ ชน้ั ที่ได้เตรยี มไว้

การนำริ้ว มาประกอบกับพานควรเริ่มต้นจากพานใหญ่สุด หรือพานที่วางอยู่ชั้นล่างสุดก่อน

โดยการวางให้ริ้วอยู่บนพานให้มีระยะห่างเท่า ๆ กัน ๔ ริ้ว (๔ ทิศ ) ซึ่งจะยึดริ้วติดกับพานโดยใช้ไม้ปลาย

แหลมท่ีเตรียมไวแ้ ล้วมากลดั หรอื เสยี บจากด้านบนของริ้วให้ทะลุไปยึดตดิ กับโฟมท่ีรองไวบ้ นพน้ื พาน

การประกอบริ้วกับพานชั้นกลาง และชั้นบนสุดก็ใช้วิธีเดียวกัน แต่จะต้องให้ริ้วชั้นที่ ๒ วางสลับ

กับริ้วชั้นแรก และริ้วบนพานชั้นบนสุด ก็ให้สลับกับริ้วบนพานชั้น

กลางการประกอบริ้วกับพานชั้นบนสุด ให้ห่อใบตองเป็นกรวยขนาด

ใหญ่พอควรวางไว้เป็นแกนกลางของพาน เมื่อวางริ้วทั้ง ๔ ริ้วเสร็จ

แล้ว ให้รวบปลายสุดของริ้วทั้ง ๔ เข้าหากัน โดยมีกรวยที่ทำเป็น

แกนกลางอยู่ด้านใน แล้วนำใบตองม้วนเป็นกรวยขนาดใหญ่อีกกรวย

มาครอบทับยอดทงั้ ๔ ของร้วิ ไว้ ซ่ึงจะ

ทำให้พานบายศรีที่ได้มียอดแหลมที่

สวยงามและมั่นคง จากนั้นจึงนำใบไม้

(ส่วนใหญ่จะนำใบไม้ที่มีชื่อเป็นมงคล

เชน่ ใบเงนิ ใบทอง) มาวางรองบนพาน

เพื่อปกปิดไม่ให้มองเห็นโฟมที่รองพื้น

พาน และนำดอกไมส้ ีสด วีดิทัศน์ วธิ ที ำ/บายศรปี ากชาม ภาพ พานบายศรีแบบสมบูรณ์

ขันหมากเบง็ /แบบงา่ ย ๆ ทมี่ า: (สำนักศลิ ปะและวัฒนธรรม

ที่มา: (คดิ ต้ี DIY, ๒๕๖๔) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์, ๒๕๖๕)

วฒั นธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนุรกั ษส์ ิง่ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท้องถนิ่ จงั หวดั เพชรบูรณ์ ๙๒

เช่น ดอกบานไม่รู้โรย หรือดอกดาวเรือง มาประดับบนพานเพิ่มความสวยงามหรือทำมาลัยสวมบนยอด
หรอื ทำเปน็ อุบะร้อยรอบพานแต่ละช้นั ก็จะเพ่มิ สีสัน และความสวยงามใหแ้ กพ่ านบายศรมี ากข้นึ

ขันหมากเบง็
ขันหมากเบ็ง หรือ ขันหมากเบญจ์ หมายถึง พานพุ่มดอกไม้ที่ใช้เป็นพานพุ่มบูชาในพิธีกรรม

และบูชาพระรัตนตรัยในวันอุโบสถ หรือวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งการนำไปบูชาวิญญาณ
บรรพบุรุษท่ลี ่วงลบั ไปแลว้ โดยนำไปวางไวต้ ามเสารั้ววัด หรอื หลักเส (ธาตทุ ำด้วยไม้แก่น แกะสลกั สวยงาม
เจาะให้เป็นช่องสี่เหล่ียมขนาดสีน่ ้ิวฟุต สำหรับบรรจุอฐั ิ) ซึ่งนิยมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา (วีระพงศ์
มสี ถาน, ๒๕๖๑)

ขันหมากเบ็ง ทำจากใบตอง เป็นรูปกรวยคว่ำหลาย ๆ อัน ตรึงให้เป็นชุดเดียวกันด้วยไม้กลัด
ส่วนปลายประดับด้วยดอกไม้เล็ก ๆ หรืออาจแซมด้วยดอกไม้หลากสีในซอกหลืบของกรวยก็ได้ คำเรียกวา่
ขันหมากเบ็งนี้น่าจะมีพัฒนาการมาจากเดิมที่มีการนำสิ่งของไปมอบหรือสักการะสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ หรือบูชาครู
โดยบรรจุลงในขัน ซึ่งหากจะมองในแง่ความหมายของคำโบราณว่า “ขัน” พัฒนาจากการที่ผู้คนรู้วิธีพับ
ใบไม้ทำเป็นกรวยเพือ่ เป็นภาชนะวกั น้ำ หรือเพื่อบรรจสุ ่ิงของ ภายหลังเกิดพฒั นาการด้านโลหะ แล้วมีการ
ทำภาชนะใช้ตักหรือใช้บรรจุ กลายเป็นรูปทรง “ขัน” ดังที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน จนคำเรียกขันที่ประดิษฐ์
จากใบไม้ หรือเครื่องจักสานได้เลือนหายไปจากภาษาของคนทั่วไป ยังเหลือแต่นำมาเรียกขันหมากเบ็ง ขัน
กะหยอ่ ง เปน็ ตน้

การทำขันหมากเบง็
การทำขันหมากเบ็ง เป็นการทำเพือ่ บูชาพระรัตนตรัยในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา รวมไปถงึ
การบชู าวิญญาณบรรพบุรุษทีล่ ่วงลบั ไปแลว้ และจากการสนั นิษฐาน คำวา่ “เบ็ง” น่าจะเปน็ การกลายเสียง
มาจากคำว่า “เบญจ”์ ท่ีแปลวา่ ห้า และ ห้า ในทน่ี ี้ หมายถึง ขนั ธ์ ๕ ของมนุษยต์ ามคติทางพระพทุ ธศาสนา
(ระแวง บญุ สงิ ห์ และคณะ, ๒๕๖๔) นยิ มทำและใชใ้ นการประกอบพธิ ีกรรมท้ังทางพธิ ีพุทธและพิธีพราหมณ์
จะมอี ยู่ ๒ ชนดิ คือ
แบบ ๕ ชั้น คือ ซ้อนทับกรวยใบตองและประดับดอกไม้ขึ้นไป ๕ ชั้น อันมีความหมายถึง ขันท้ัง
๕ หรือที่ทางพระพุทธศาสนาเรยี กว่า เบญจขันธ์ ไดแ้ ก่

รูป คือ ส่วนประกอบฝ่ายรูปธรรมทั้งหมด อันได้แก่ร่างกายและพฤติกรรม สสาร
และพลังงานด้านวัตถุ

เวทนา คอื ความรสู้ ึก สุข ทุกข์ ซ่ึงเกดิ จากผัสสะทางประสาทท้ัง ๕ และใจ
สญั ญา คือ ความกำหนดได้ หมายรู้ อนั เป็นเหตุให้เกดิ อารมณ์
สังขาร คือ คุณสมบตั ติ า่ ง ๆ ของจติ

วัฒนธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถิน่ จังหวดั เพชรบูรณ์ ๙๓

วิญญาณ คือ การรับรู้ได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง ได้สัมผัส ได้กลิ่น ได้รับรส ซึ่งทั้งหมดก็เป็น
การรวบรวมขันธ์ทงั้ ๕ และสำรวมเพื่อน้อมบูชาพระรตั นตรัย

แบบ ๘ ชั้น คือ ซ้อนทับกรวยใบตองและประดับดอกไม้ขึ้นไป ๘ ชั้น อันมีความหมายที่แสดงถึง
ธาตุทั้ง ๔ ที่รวมกันทั้ง ๘ ชั้น เป็นร่างกายทั้ง ๓๒ ประการ ซึ่งก็หมายถึง การนอบน้อมกายทั้งหมด
เพื่อสักการะบูชา

วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำขันหมากเบ็ง ประกอบไปด้วย
๑. ใบตองตานี
๒. ไม้กลัด
๓. กรรไกร
๔. ชาม
๕. ดอกไม้สำหรับประดับตกแต่ง

ข้ันตอนและวิธีการทำขันหมากเบ็ง
เร่ิมจากการเช็ดใบตองให้สะอาดและฉีกใบตองให้มีขนาด ดังน้ี
๑. ใบตองขนาด ๒ นิ้ว จำนวน ๒๐ แผ่น ใช้สำหรับกรวย ๕ ชั้น
๒. ใบตองขนาด ๕๑/๒ น้ิว จำนวน ๒ แผ่น สำหรับทำกรวยข้าว
๓. ใบตองขนาด ๘ นิ้ว จำนวน ๑ แผ่น ใช้สำหรับ พันกลีบปิดเกล็ดกรวย

วิธีการพับ
๑. การม้วนกรวย นำใบตอง ๒ แผ่นที่ฉีกไว้มาประกบกันให้ทางปลายอ่อนทั้ง ๒ แผ่นสลับกัน
แล้วม้วนให้เป็นกรวยปลายอ่อนอยู่ข้างนอก ตัดปากกรวยให้เรียบใช้ไม้กลัด ความสูงจากยอดประมาณ
๕ ๑/๒ น้ิว เส้นผ่านศูนย์กลาง ๒ ๓/๔ นิ้ว – ๓ น้ิว
๒. การพับกลีบ มือซ้ายถือข้างอ่อน จับริมใบตองตอนกลาง มือขวาพับเฉแบ่งเป็นสี่ส่วนแล้วปิด
ริมซ้ายตลบลงมาทับรอยพับตรงกลาง พับท้ังหมด ๒๐ แผ่น
๓. การพับกลีบประกอบตัวแม่ มีทั้งหมด ๔ แถว โดยมือซ้ายจับตัวแม่ มือขวาจับกลีบที่พับไว้
ทาบกับตัวแม่ใช้ไม้กลัดทับซ้อนกลีบเป็นช้ัน ๆ จำนวน ๔ แถว ๆ ละ ๕ ช้ันหรือ ๘ ช้ัน
๔. การพับผ้านุ่ง หรือ การมอบ พับผ้านุ่งโดยพับครึ่งใบตองพันรอบฐานปิดโคนกลีบสุดท้าย
กว้าง ๔ นิ้ว ใช้ไม้กลัดหรือลวดเย็บและตัดแต่งฐานให้เรียบร้อย ประดับตกแต่งด้วยดอกไม้ เช่น ดอกรัก
ดอกพุด (นิยมใช้ดอกไม้สีขาว) หรือดอกดาวเรือง

วัฒนธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถน่ิ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ๙๔

ภาพ ขันธห์ มากเบง็ ๕ ชน้ั วดี ทิ ศั น์ ขันหมากเบ็ง ๕ ชั้น
ท่มี า: (honeymoonseat, ๒๕๖๑) ท่มี า: (แสงจนั ทร์ เขจรศาสตร,์ ๒๕๖๐)

วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท้องถ่ิน จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ๙๕

ขันกระหย่อง ขันกระหย่อง หรือขันกะย่อง เป็นภาชนะที่สานด้วยตอกไม้ไผ่
มีรูปร่างคล้ายพาน ส่วนบนสานทบึ ส่วนล่างสานเป็นตาห่าง ๆ หรือ
ภาพ ลักษณะขนั กระหยอ่ ง ในบางครั้งอาจจะสานทึบ ใช้สำหรับวางเครื่องสักการะบูชาหรือ
ที่มา: (ตกิ๊ แสนบญุ , ๒๕๔๙) ดอกไม้เพื่อบูชาพระรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือยกครูเรียนมนต์
เรียนพระ-ธรรม หรือใช้ในพิธบี ายศรีสู่ขวัญ

การทำขันกระหย่องนั้นอาจอธิบายได้คร่าว ๆ คือนำตอกไม้ไผ่
มาสานให้ส่วนบนหนาทึบ สำหรับวางสิ่งของเครื่องบูชาต่าง ๆ
จากนน้ั จงึ สานห่างในส่วนเอวให้คอดลง แลว้ จึงสานหนาลงมาจนถึง
ส่วนฐานโดยสานเป็นรูปวงกลม หรือสี่เหลี่ยม เนื่องจากขันกระ
หย่องที่พบมีทั้งขนาดและลวดลายการสานที่แตกต่างกันไปตามแต่
ฝมี อื และความคดิ สร้างสรรค์ของช่าง แตก่ ็ยงั มีเอกลักษณ์คือรูปทรง
เส้นรอบนอกของขันกระหย่องนั้นมีลักษณะแบบบัวคว่ำ บัวหงาย
ลายสาน เช่น ลายขดั ลายเฉลว ลายหัวสุม่ ลายกน้ หอย

ภาพ ส่วนบนขนั กระหยอ่ งสำหรบั วางเครอื่ งบชู า ภาพ ส่วนเอวขนั กระหยอ่ ง
ทีม่ า: (ติ๊ก แสนบุญ, ๒๕๔๙) ทม่ี า: (ติก๊ แสนบญุ , ๒๕๔๙)

วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนรุ ักษส์ ่งิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถิน่ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ๙๖

ภาพ ส่วนล่างขนั กระหยอ่ ง ภาพ ขันกระหยอ่ ง
ทมี่ า: (ติก๊ แสนบญุ , ๒๕๔๙) ท่ีมา: (ตก๊ิ แสนบุญ, ๒๕๔๙)

นอกจากจะใชส้ ำหรับใสด่ อกไม้ ธปู เทยี น หรอื ขนั ห้าสำหรบั
บูชาพระพุทธรูปแล้ว ขันกระหย่องถูกใช้ในพิธีกรรมสำคัญต่าง ๆ
ซึ่งเกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา หรือประเพณีความเชื่อท้องถิ่น เช่น งาน
ประเพณบี ญุ ผะเหวต หรอื บญุ มหาชาติ ซง่ึ เปน็ ประเพณีบญุ ตามฮีตสิบ
สองของชาวอีสาน โดยจะมีการนำขันกระหย่องตั้งตามต้นเสาของ
ศาลาโรงธรรมสำหรับใส่ข้าวพันก้อน หรือในงานบุญซำฮะ (บุญชำระ)
บญุ เบิกบ้าน ซึ่งเปน็ งานบุญในเดือนเจด็ (ราวเดอื นมิถุนายน) เป็นการ
ทำบุญเพื่อชำระล้างสิ่งที่ไม่ดี อันจะทำให้เกิดความเดือดร้อนแก่
บ้านเมือง เป็นการปัดเป่าความชั่วร้ายให้ออกจากหมู่บ้านเพื่อความ
เป็นอยูท่ ี่ดขี องทกุ คนในหมู่บ้าน

ลวดลายการสานจะมีขนาดที่แตกต่างกันออกไป ภาพ การวางเครื่องบูชาบนขันกระหย่อง
แต่ด้วยรูปทรงที่เป็นเอกลักษณ์ของขันกระหย่องจึงส่งอิทธิพลไป ทม่ี า: (ตก๊ิ แสนบญุ , ๒๕๔๙)
ยังงานหัตถกรรมด้านอื่นด้วย คือผ้าทอลายขิดซึ่งมีลวดลายที่มีที่มาจากสภาพแวดล้อมรอบตัว ก่อเกิดเป็น
ลวดลายต่าง ๆ ซึ่งหนึ่งในลวดลายทีป่ รากฏนั้น มีลายที่เรียกว่า ขิดขันกระหย่อง ซึ่งมีที่มาจากขันกระหย่อง
นั่นเอง

วัฒนธรรมศกึ ษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนรุ ักษส์ ่ิงแวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถ่นิ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ๙๗

ขันกระหย่องยังคงพบเห็นการใช้งานได้ทั่วไปในชุมชนหล่มเก่าในปัจจุบัน นอกเหนือจากการใช้
งานในด้านการประกอบพิธีกรรมตามศาสนาและความเชื่อของท้องถิ่นแล้ว ยังมีการสานขันกระหย่องเป็น
อุตสาหกรรมชมุ ชมสำหรับขายใหน้ ักท่องเท่ียวเพอ่ื เปน็ ของทร่ี ะลึกหรือตกแตง่ บ้านเรือน โดยในหลายชุมชน
มีการอบรบผู้สูงอายุหรือเยาวชนในการสืบทอดภูมิปัญญาการสานขันกระหย่อง มีการพัฒนารูปทรง
ลวดลายจนมีความประณีตสวยงามย่ิงข้นึ (ติก๊ แสนบญุ , ๒๕๔๙)

ภาพ ขันกระหย่องพร้อมดอกไม้สำหรับบูชาสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ วีดิทัศน์ วิธสี านกะหย่องไมไ้ ผ่

ท่ีมา: (หมู มักหม่วน, ๒๕๖๔) ที่มา: (Pacomter Gittisopano, ๒๕๖๔)

วัฒนธรรมศึกษา ชุมชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนุรักษ์สิง่ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถิ่น จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ๙๘

ทุง ตุง หรือธง
ทุง ตุง หรือธง เป็นสัญลักษณ์ความเช่ือของคนไทยและคนในดินแดนอุษาคเนย์ ซึ่งมีพื้นฐานมา

จากวัฒนธรรมของผี พราหมณ์และพุทธที่หลอมรวมกัน หรือภาษามาตรฐานของไทยเรียกว่า “ธง” ภาค
อีสาน เรียกว่า “ธุง” ภาคเหนือ เรียกว่า “ตุง” ชาวไทยใหญ่ เรียกว่า “ตำข่อน” ประเทศพม่า เรียกว่า
“ตะขุ่น” ประเทศลาว เรียกว่า “ทง” หรือ “ทุง” ใช้เป็นเคร่ืองประกอบพิธีกรรมสำคัญมาอย่างยาวนาน
เชื่อกันว่าสามารถใช้ป้องกันสิ่งไม่ดีที่มองไม่เห็นหรือภูตผีวิญญาณท่ีจะมารบกวนงานบุญ หากเห็น ทุงแล้ว
จะถอยออกไป พร้อมกันนั้นยังเป็นการบอกกล่าวบวงสรวงเทพยดาในพื้นที่ว่ามีการทำบุญและมีพิธีการ
สำคัญให้มาช่วยปกป้องคุ้มครอง

ในงานบุญประเพณีแต่ละเดือนของชาวอีสานมักจะประดิษฐ์ “ตุง” หรือ “ธง” หลากหลาย
รูปแบบและหลากหลายสีสันบนผืนผา้ หรือใช้วสั ดสุ ่งิ อื่นเพื่อสื่อความหมายระหว่างมนุษย์กบั สิ่งศักด์ิสิทธิ์ต่าง ๆ
ตามความเชื่อท่ีมีมาแต่โบราณ

ทุง มีความเป็นมาจากเรื่องเล่าเมื่อครั้งในอดีตว่า มีพวกเหล่ามารปีศาจขึ้นไปก่อกวนเทวดา
บนสวรรค์ จนทำให้เหล่าเทวดาตกใจกลัวเป็นอย่างมาก ทำให้เจ้าแห่งสวรรค์สร้าง “ทุง” ขึ้นมา เพื่อให้
เหล่าเทวดาได้มองเห็น “ทุง” แล้วเกิดความกล้าหาญไม่หวาดกลัวเหล่ามารปีศาจอีกต่อไป “ทุง” จึงเป็น
เหมือนตัวแทนในการขับไล่มารร้ายไปจากสวรรค์นั้นเอง ทำให้ในกาลต่อมามนุษย์จึงได้ประดิษฐ์ “ ทุง”
เพ่ือเป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างมนุษย์กับสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ การติดต่อส่ือสารระหว่างมนุษย์กับผู้ที่ล่วงลับ
ไปแล้ว อีกทั้งเพื่อเป็นพุทธบูชา และเป็นปัจจัยการส่งกุศลให้แก่ตนเองในชาติหน้าจะได้เกิดบนสรวง
สวรรค์ต่อไป

ทุง จึงนับได้ว่าเป็นเคร่ืองสักการะ เพื่อใช้พิธีกรรมทางพุทธศาสนา ในบุญเฉลิมฉลอง หรือขบวน
แห่ต่าง ๆ การประดับประดาในงานพิธีต่าง ๆ เพื่อความสวยงามตระการตา โดยมีความแตกต่างกันตาม
ความเชื่อในการประกอบพิธีกรรมของท้องถิ่น ซึ่งโดยท่ัวไปทุงจะมีลักษณะคล้ายกบั ธงมีความยาวประมาณ
๑ – ๓ เมตร อาจทอด้วยผ้าฝ้ายเป็นลายขิด ลวดลายสัตว์ คน ต้นไม้ หรือพระพุทธรูป เพื่อถวายพระสงฆ์
เป็นพุทธบชู า

การที่ชาวบ้านนำทุงมาถวายเป็นพุทธบูชา ท้ังท่ีเป็นการทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไป
แล้วหรือเป็นการถวายเพื่อส่งกุศลผลบุญให้แก่ตนเองในชาติหน้า ก็ด้วยคติความเชื่อที่ว่าเมื่อตายไปแล้วจะ
พ้นจากการตกนรกโดยอาศัยเกาะชายทุงขึ้นสวรรค์ จะได้พบพระศรีอริยเมตไตรย หรือจะได้ถึงซึ่งพระ
นิพพาน จากความเชื่อน้ีจึงมีการถวายทุงที่วัดอย่างน้อยคร้ังหน่ึงในชีวิตของตน

วฒั นธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หนว่ ยอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถ่นิ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ๙๙

ทุงสิบสองราศี นิยมทำด้วยกระดาษ
ลักษณะของทุงสิบสองราศี มรี ปู นักษตั ร หรอื สัตว์สิบ
สองราศีในผืนเดียวกัน เช่ือว่าในครอบครัวหน่ึงอาจมี
สมาชิกหลายคน แต่ละคนอาจมีการเกิดในปีต่างกัน
หากมีการนำไปถวายเท่ากับว่าทุกคนในครอบครัว
ได้รับอานิสงส์จากการทานทุงเท่า ๆ กัน ถือว่าเป็น
การสุ่มทาน ใชเ้ ปน็ ทุงบูชาเจดยี ์ทรายในวนั สงกรานต์

ภาพ ทงุ สบิ สองราศี
ที่มา: (สำนักศลิ ปะและวัฒนธรรม
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์, ๒๕๖๕)

ภาพ การประดบั ทุงไส้หมู วดี ิทัศน์ ตุง วธิ กี ารทำตงุ ใสห้ มู
ทมี่ า: (หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอดอยสะเกด็ , ๒๕๖๑) ท่มี า: (Paiyok, ๒๕๖๔)

ทุงไส้หมู
เป็นงานศิลปะประดิษฐ์ที่เกิดจากการตัดกระดาษสีหรือกระดาษแก้วสีต่าง ๆ เมื่อใช้กรรไกรตัด
สลับกันเป็นลายฟันปลาจนถึงปลายสุดแล้วคลี่ออกและจับหงายจะเกิดเป็นพวงกระดาษสวยงาม นำไปผูก
ติดกับคันไม้ไผ่หรือแขวนในงานพิธีต่าง ๆ เช่น ตกแต่งปราสาทศพ ปักเจดีย์ทราย ประดับครัวทาน และ
อื่น ๆ

วัฒนธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถ่ิน จังหวดั เพชรบรู ณ์ ๑๐๐

ภาพ การประดับทงุ วีดิทัศน์ เยบ็ ประกอบธุงเปน็ พวง
ท่มี า: (สำนกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม ทีม่ า: (เยบ็ ปัก ถกั รอ้ ย ตามรอยแม่, ๒๕๖๔)
มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ์, ๒๕๖๕)

ทุงใยแมงมุม เป็นทุงที่ทำจากเส้นด้ายเส้นฝ้าย หรือเส้นไหม ผูกโยงกันคล้ายใยแมงมุม นิยมใช้
แขวนตกแต่งไว้หน้าพระประธาน หรือโดยรอบในงานพิธีกรรม ใช้ในการปกป้องคุ้มครองคล้ายกับทุงไชย

ปัจจุบัน ทุง หรือ ตุง ในมุมมองของคนรุ่นใหม่อาจเห็นภาพไม่ชัดเจน ขาดความรู้ความเข้าใจ
ที่ถูกต้อง แต่ ทุง หรือ ตุง ก็ยังอยู่ในวิถีวัฒนธรรมความเชื่อของผู้คนไทหล่มและในแถบลุ่มน้ำโขง และถือ
ได้ว่า ทุง หรือ ตุง เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตามความเชื่อถือของแต่ละท้องถิ่น ที่
ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ จนกลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าท่ีควรแก่การบันทึก ศึกษา
ไว้ให้ลูกหลานเรียนรู้สืบไป

วฒั นธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ มธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ้ งถนิ่ จังหวัดเพชรบรู ณ์ ๑๐๑

บรรณานุกรม
กนกพร ฉมิ พลี. (๒๕๕๕). รปู แบบการจดั การความรูภ้ มู ิปญั ญาท้องถิ่นด้านหัตถกรรมเคร่ืองจกั สาน

กรณศี ึกษาวิสาหกจิ ชุมชน จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาดษุ ฎบี ัณฑิต สถาบัน
บัณฑิตพฒั นบริหารศาสตร.์
กรมศิลปากร, (๒๕๔๕.). พระพทุ ธรปู สำคัญ. กรงุ เทพฯ: สำนกั วรรณกรรมและประวัตศิ าสตร.์
กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา.(๒๕๖๔). หลวงพ่อใหญ่วดั ตาล. คน้ เมื่อ พฤษภาคม ๕ ๒๕๖๕, จาก
https://shorturl.asia/PNlFS
กองพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ กรมศลิ ปากร. (๒๕๓๒). เมืองอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรน้ิ ตงิ้ กรุพ๊ .
กุลิสรา ปองเพยี ร. (๒๕๖๐). วถิ ผี า้ ทอ: ซิ่นหมี่คัน่ ไทหล่ม, (เอกสารอดั สำเนา)
ข่าวไทยพีบีเอส. (๒๕๖๔). ฟ้ืนตานตุงไชย ปีใ๋ หมเ่ มือง จ.เชียงใหม่. สบื ค้นเม่อื กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก
https://shorturl.asia/SyJLz
คดิ ตี้ DIY. (๒๕๖๔). วดี ิทัศน์ วธิ ที ำ/บายศรีปากชาม/ขนั หมากเบ็ง/แบบง่าย ๆ. สืบคน้ เมื่อ กรกฎาคม ๓๐
๒๕๖๕, จาก https://shorturl.asia/Mibxq
จักรมนตรี ชนะพนั ธ.์ (๒๕๖๕). ท่มี าและความหมายของ “บุญผะเหวดอสี าน” งานบุญสำคัญ กบั มหาทาน
บารมี. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/VCNzi
จกั ษุมาลย์ วงษท์ า้ ว และคณะ. (๒๕๕๕). รายงานการลงพื้นท่เี ก็บข้อมูลภาคสนาม เรื่องพธิ กี ินดอง
บ้านวัดทุง่ ธงไชย อำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบรู ณ์, (เอกสารอดั สำเนา)
จักษมุ าลย์ วงษท์ า้ ว. (๒๕๖๓). กนิ ดองเจา้ พิธีกรรมและความเชือ่ . เพชรบูรณ์: ร้านเก้าสิบ.
จันทร์พิมพ์ มเี ปยี่ ม. (๒๕๖๐). การแสดงเพชรบูรณ.์ คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
ราชภัฏเพชรบรู ณ.์
จินตนา สนามชยั กลุ . (๒๕๕๔). “หลวงพอ่ ใหญว่ ดั ตาลพุทธศิลป์รว่ มลา้ นช้าง : ตำนาน ศรัทธา ความเช่อื
ของชาวหล่มเกา่ ”. ใน ศลิ ปวัฒนธรรมเพชบรุ ะ. ๑ (๒), ๓๔ - ๔๒.
จินตนา สนามชัยสกุล. (๒๕๕๑). โครงการวิจัยเร่ือง การสบื ค้นตำนานหลวงพอ่ ใหญ่วัดตาล และศาล
เจา้ พอ่ ในชมุ ชนอำเภอหล่มเกา่ เพ่อื การสบื สานฟื้นฟูวัฒนธรรมพนื้ บา้ นและส่งเสริมการ
ทอ่ งเที่ยว (รายงานวจิ ยั ฉบับสมบรู ณ์). เพชรบูรณ:์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ.์
ชำเลอื ง มณีวงษ.์ (๒๕๕๐). บายศรสี ขู่ วญั “เครื่องสังเวย”. สบื ค้นเม่ือ กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก
https://shorturl.asia/XRFdV
ต๊กิ แสนบุญ. (๒๕๔๙). “ขนั กะย่อง” หตั ถกรรมเคร่ืองจักสานหน่ึงเดยี ว ในงานพทุ ธศิลปถ์ นิ่ อีสาน. สบื คน้
เม่อื กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://shorturl.asia/kDsUx
ธรี ะวัฒน์ แสนคำ. (๒๕๕๖). เมืองเพชรบรู ณ์และเมืองหลม่ สักกบั ศึกเจ้าอนุวงศ์. เพชรบูรณ์: ไทยมเี ดีย
เพชรบูรณ์.

วฒั นธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนุรักษส์ งิ่ แวดล้อมธรรมชาติและศลิ ปกรรมทอ้ งถน่ิ จังหวดั เพชรบรู ณ์ ๑๐๒

บุญคูณลาน (กมุ้ ข้าวใหญ)่ . สบื ค้นเมื่อ พฤษภาคม ๒๓ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/ZMF3t
ประตูอีสาน. (๒๕๖๓). บญุ ซำฮะ เล้ยี งตาแฮก ป่ตู า. สบื ค้นเมอ่ื กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก

https://citly.me/KWEHs
ประเพณบี ุญข้าวประดับดิน, (๒๕๕๖). สืบค้นเมอื่ กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/m9CB1
ประวัตวิ ันสงกรานต์ (๒๕๖๕) กิจกรรม ประเพณีการทำบุญในวนั สงกรานต์. (๒๕๖๕). สืบค้นเมอื่

กรกฎาคม๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/oxzbD
ประสม บุญป้อง. (ม.ป.ป.). วถิ ีชวี ิตอสี าน. สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม ๒๓ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/gcnle
ปรีชา พิณทอง. (๒๕๓๔). ประเพณีโบราณไทยอีสาน. (พิมพ์ครั้งท่ี ๗). อุบลราชธานี : โรงพมิ พ์ศริ ธิ รรม.
ปานวาด มากนวล. (๒๕๕๗). คาถาและพธิ กี รรมในการรกั ษาโรคของหมอพน้ื บ้าน: บทวิเคราะห์และ

มุมมองในเชิงคติชนวิทยา. ปริญญามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย คณะอกั ษรศาสตร์
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
พระสมุห์ไพรศาล ภทรฺ มุนี. (๒๕๔๕). “เวา้ พนื้ เมืองหล่ม.” รายงานการคน้ คว้าอสิ ระ ปรญิ ญามหาบัณฑิต
สาขารฐั ประสาสนศาสตร์ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณร์ าชวทิ ยาลยั .
ภาษติ จติ รภาษา. (๒๕๓๙). “สวดคฤหัสถ์.” ศลิ ปวัฒนธรรม. ๑๗ (๓).
มณรี ัตน์ จนั ทนะผะลิน. (๒๕๒๕). งานใบตอง. กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทร์ พริ้นตง้ิ กรุ๊พ จำกดั
มานะ บญุ เกิด และวิลัย ชินโพธ์.ิ (๒๕๕๐). การศึกษาพธิ ีกรรมฟอ้ นปัว: กรณศี กึ ษาหม่บู า้ นนาทรายและ
หมู่บ้านวังบาล ตำบลวังบาล อำเภอหล่มเก่า จงั หวดั เพชรบูรณ.์ รายงานการวจิ ัยทางดา้ น
นาฏศลิ ปแ์ ละการละคร โปรแกรมวิชานาฏศลิ ป์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภฏั เพชรบรู ณ์.
เย็บ ปัก ถัก รอ้ ย ตามรอยแม.่ (๒๕๖๔). วีดทิ ศั น์ เย็บประกอบธุงเป็นพวง. สืบค้นเม่ือ กรกฎาคม ๓๐
๒๕๖๕, จาก https://shorturl.asia/81JQk
เรารักในหลวงจงั หวัดเพชรบูรณ์. (๒๕๖๑). ภาพ วดั ทุ่งธงไชยในอดตี . สบื ค้นเมื่อ พฤษภาคม ๕ ๒๕๖๕,
จาก https://shorturl.asia/uLHXc
ลันนา เจรญิ สทิ ธชิ ยั . (๒๕๕๔). ประเพณีไทยอีสาน. นนทบรุ ี : สำนกั พิมพ์โป๊ยเซยี น.
วสิทธ์ิ สถิตวรพงศ์. (๒๕๖๑). “สวดคฤหัสถ์” คอื อะไร ? แลว้ ทำอยา่ งไรไม่ใหเ้ ป็น “วฒั นธรรมลอยลม”.
กรุงเทพฯ: มตชิ นสดุ สปั ดาห์.
วัดศรีมงคล บ้านหนิ กลงิ้ . (๒๕๖๒). ภาพ วัดศรมี งคล. สืบค้นเม่อื พฤษภาคม ๑๗ ๒๕๖๕, จาก
https://shorturl.asia/j3ZV0
วดั ศรมี งคล บ้านหนิ กลงิ้ . (๒๕๖๔). ภาพ พระธาตเุ กศแกว้ จุฬามณีศรมี งคล. สบื ค้นเมื่อ พฤษภาคม ๑๗
๒๕๖๕, จาก https://shorturl.asia/cJEDR

วฒั นธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เก่า โดย หน่วยอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถ่นิ จังหวัดเพชรบรู ณ์ ๑๐๓

วัดศรีสุมังค.์ (๒๕๖๑). ภาพ โบสถ์วัดศรีสุมังค์. สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม ๑๗ ๒๕๖๕, จาก
https://shorturl.asia/cJEDR

วทิ ยา วฒุ ิไธสง. (๒๕๖๑). ตุง. สืบคน้ จาก https://cac.kku.ac.th/?p=5048
วโิ รฒ ศรสี โุ ร. (๒๕๓๙). ธาตุอีสาน. กรงุ เทพฯ: เมฆาเพรส.
วิศลั ย์ โฆษติ านนท์. (๒๕๕๔). ภาพ ทว่ี ่าการอำเภอหลม่ เก่าหลงั ท่ี ๓. สบื คน้ เม่ือ พฤษภาคม ๕ ๒๕๖๕,

จาก https://shorturl.asia/CkJzc
ศรีศักร วลั ลิโภดม. (๒๕๔๖). แอ่งอารยธรรมอีสาน. พมิ พ์คร้งั ท่ี ๔. กรุงเทพฯ: มติชน.
ศูนยศ์ ิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. (๒๕๕๙). วดี ิทัศน์ บุญเดือนเก้า : บุญข้าวประดับดนิ . สืบค้นเม่ือ

กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/RDPk4
ศนู ยศ์ ลิ ปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . (๒๕๕๙). วีดิทศั น์ บุญเดอื นแปด บญุ เข้าพรรษา สืบค้นเมื่อ

กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/w4v5P
ศนู ยศ์ ลิ ปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . (๒๕๕๙). วดี ทิ ศั น์ บุญเดือนสิบสอง : บญุ กฐนิ . สืบคน้ เมือ่

กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/eKbk5
ศูนยศ์ ิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . (๒๕๕๙). วดี ทิ ัศน์ บญุ เดอื นสิบ : บุญขา้ วสาก. สบื คน้ เมื่อ

กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/JR1XV
ศนู ย์ศลิ ปวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (๒๕๕๙). วดี ิทัศน์ บุญเดอื นสี่ บญุ ผะเหวด. สืบค้นเมอื่

กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/dyva4
ศนู ย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (๒๕๕๙). วดี ิทัศน์ บุญเดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา. สบื คน้ เมื่อ

กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/QU7e3
ศูนยศ์ ิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . (๒๕๕๙). วดี ิทัศน์ บญุ เดอื นหก : บญุ บัง้ ไฟ. สืบคน้ เมอ่ื

กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/lTWfu
ศูนยศ์ ลิ ปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. (๒๕๕๙). วีดทิ ัศน์ บญุ เดือนห้า : บญุ ฮดสรง. สืบค้นเม่อื

กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/kfI0x
สงวน รอดบุญ. (๒๕๔๕). พทุ ธศลิ ปลาว. พมิ พ์ครั้งท่ี ๒. กรุงเทพฯ: สายธาร.
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (๒๕๔๓). นิทานโบราณคดี. พิมพ์คร้ังท่ี ๑๕.

กรุงเทพฯ: บรรณาคาร.
สยามรฐั . (๒๕๖๔.). “สวดคฤหัสถ์” จำอวดสวดศพ การแสดงพน้ื บา้ นทเ่ี ลอื นหายไปจากสังคมไทย

กรุงเทพฯ: ศูนยส์ ังคตี ศลิ ป์.
สนั ติ เลก็ สขุ มุ . (๒๕๔๙). ศลิ ปะสุโขทัย. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พเ์ มืองโบราณ.
สำนกั งาน อ.ส.ท. การทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย. (๒๕๖๓). ชวี ิต “ไทหลม่ ” จากการสั่งสมและสง่ ต่อ.

สืบคน้ เมอื่ พฤษภาคม ๑๗ ๒๕๖๕, จาก https://shorturl.asia/8dRph

วัฒนธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หนว่ ยอนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถน่ิ จังหวดั เพชรบูรณ์ ๑๐๔

สำนกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั รอ้ ยเอ็ด. (๒๕๖๑). บญุ ขา้ วสาก. สืบค้นเมอ่ื กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก
https://citly.me/u4EzL

สำนักงานวฒั นธรรมจงั หวัดเพชรบูรณ์, กลมุ่ อำเภอท่ี ๓ (หล่มเกา่ – เขาคอ้ ) อำเภอหล่มเก่า จังหวัด
เพชรบรู ณ์. (๒๕๔๗). ขอ้ มูลสารสนเทศวัฒนธรรม ตำบลหินฮาว อำเภอหล่มเก่า จังหวัด
เพชรบูรณ.์ เพชรบูรณ์: สภาวฒั นธรรมอำเภอหล่มเก่า.

สำนกั งานวัฒนธรรมจงั หวัดเพชรบูรณ์, กลมุ่ อำเภอท่ี ๓ (หล่มเกา่ – เขาค้อ) เอกสารหมายเลข ๑๒/๒๕๔๗.
(๒๕๔๗). ชมุ ชนตำบลตาดกลอย อำเภอหล่มเกา่ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ปี ๒๕๕๗. เพชรบูรณ์:
สภาวัฒนธรรมอำเภอหล่มเกา่ .

สำนกั งานวฒั นธรรมจังหวัดมหาสารคาม. (๒๕๖๒). ฮีตสิบสองครองสิบสี่ : บญุ เข้าพรรษา. สืบค้นเมอ่ื
กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/oueY1

สำนกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั ขอนแก่น. (๒๕๕๙). วีดทิ ศั น์ ฮตี เดือนอ้าย บญุ เขา้ กรรม.
สืบค้นเม่ือ พฤษภาคม ๒๓ ๒๕๖๕, จาก https://citly.me/HZlvo

สทิ ธา พนิ จิ ภวู ดล. (๒๕๔๔). ไทยศึกษา (Thai Studies). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช.
แสงจนั ทร์ เขจรศาสตร์. (๒๕๖๐). วดี ทิ ศั น์ ขนั หมากเบง็ ๕ ชน้ั . สืบคน้ เมื่อ กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก

https://shorturl.asia/qEbe1
หน่วยอนุรักษส์ ่งิ แวดล้อมศิลปกรรมจังหวัดเพชรบูรณ์, สำนักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏเพชรบูรณ์.

(๒๕๔๖). สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ ส.พิจติ ร.
หนุ่ม-สทุ น รงุ่ ธญั รัตน์. (๒๕๖๕). สมั ผัสวิถีชวี ติ และวฒั นธรรม “ชุมชนบ้านหล่มเก่า” จ.เพชรบรู ณ์. ค้นเมือ่

พฤษภาคม ๕ ๒๕๖๕, จาก https://shorturl.asia/I0eGD
หมู มักหมว่ น. (๒๕๖๔). ขันกระหย่อง,กะย่อง,ขนั กะยอ่ ง. สบื ค้นเมื่อ กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก

https://shorturl.asia/ZmfeR
หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอดอยสะเก็ด. (๒๕๖๑). ตุงไสห้ มู ศลิ ปะการตดั กระดาษของชาวล้านนา. สืบคน้ เมอื่

กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://shorturl.asia/sr70f
แหวน. (ม.ป.ป.). บายศรบี วงสรวงภาคอสี าน. สบื คน้ เม่ือ กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก

https://shorturl.asia/tQLFf
อดศิ ร เพียงเกษ. (๒๕๔๔) หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องบาป - บุญ ที่ปรากฏในผญาอสี าน.

วิทยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ . บณั ฑิตวิทยาลัย. มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลัย.
อรอมุ า เมอื งทอง. (๒๕๕๙). ประเพณปี ระดษิ ฐ์บุญบั้งไฟบ้านนาทราย ตำบลวงั บาล อำเภอหล่มเก่า
จงั หวดั เพชรบูรณ์, วิทยานพิ นธ์ปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทรพั ยากร
วัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.

วัฒนธรรมศกึ ษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท้องถน่ิ จงั หวดั เพชรบูรณ์ ๑๐๕

อีสานร้อยแปด. (๒๕๖๑). ภาพ ประเพณบี ญุ เขา้ กรรม. สบื คน้ เมอ่ื พฤษภาคม ๑๗ ๒๕๖๕, จาก
https://citly.me/fxoJl

อดุ ม เชยกีวงศ์. (๒๕๔๕). ประเพณพี ธิ ีกรรมท้องถ่นิ ไทย. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.
Honeymoonseat. (๒๕๖๑). ภผู า ผนื นา ป่าลอ้ ม ยอ้ มคราม/เที่ยววถิ ีชมุ ชน บา้ นหนองสา่ น จ.สกลนคร.

สบื ค้นเม่อื , กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก https://shorturl.asia/w4A0R
Krajokhokdan. (๒๕๕๖). วดี ิทศั น์ รอ้ ยเร่ืองเมืองไทย ตอน บุญซำฮะ. สบื ค้นเมอ่ื กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕,

จาก https://citly.me/Q6cOZ
Muangthai Book. (๒๕๕๙). วีดิทศั น์ ความหมายและความสำคญั ของประเพณไี ทย. สบื คน้ เมอื่

พฤษภาคม ๑๗ ๒๕๖๕, จาก https://shorturl.asia/0RwGP
Pacomter Gittisopano. (๒๕๖๔). วีดทิ ัศน์ วิธีสานกะหย่องไมไ้ ผ่. สบื คน้ เมื่อ กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก

https://shorturl.asia/fRCIB
Paiyok. (๒๕๖๔). วดี ทิ ัศน์ ตงุ วิธกี ารทำตุงใสห้ มู. สบื คน้ เมื่อ กรกฎาคม ๓๐ ๒๕๖๕, จาก

https://shorturl.asia/9xqS7
prem mm. (๒๕๖๔). ศาสนสถาน : ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔. ค้นเม่อื พฤษภาคม ๕ ๒๕๖๕, จาก

https://shorturl.asia/Egnmi
THE BACKGROUND. (๒๕๖๕). วีดิทัศน์ บุญคณู ลาน : ฮีต ๑๒ ของอสี าน. สบื ค้นเมื่อ กรกฎาคม ๓๐

๒๕๖๕, จาก https://citly.me/yuTMt

บคุ คลอ้างอิง

ขันทอง ศรีมลู . (๒๕๖๔). อายุ ๘๐ ปี ตำบลหล่มเกา่ อำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ.์ สัมภาษณ,์ ๕
กุมภาพนั ธ์.

คำพลอย ปัญญาสาน.์ (๒๕๖๑). บ้านเลขท่ี ๒๖ หมูท่ ี่ ๙ ตำบลบุ้งคล้า อำเภอหลม่ สกั จังหวัดเพชรบูรณ.์
สัมภาษณ,์ ๒๐ เมษายน.

คำพูน ท่อนแก้ว. (๒๕๖๑). อายุ ๖๙ ปี บา้ นเลขที่ ๖๑ หมู่ที่ ๓ ตำบลวงั บาล อำเภอหล่มเกา่ จงั หวัด
เพชรบูรณ.์ สมั ภาษณ์, ๑๖ กรกฎาคม.

จรัส ทองแกน่ . (๒๕๖๑). อายุ ๗๐ ปี บ้านเลขที่ ๔๖/๑ หมทู่ ่ี ๘ ตำบลหลม่ เก่า อำเภอหลม่ เกา่ จังหวัด
เพชรบรู ณ.์ สมั ภาษณ์, ๒๐ เมษายน.

จำเนียร บญุ สิงห.์ (๒๕๖๔). อายุ ๗๙ ปี บา้ นเลขที่ ๒ หมู่ที่ ๓ ตำบลหลม่ เก่า อำเภอหล่มเก่า จังหวัด
เพชรบรู ณ์. สมั ภาษณ์, ๕ กมุ ภาพนั ธ.์

วฒั นธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนรุ ักษส์ ่ิงแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิน่ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ๑๐๖

เฒ่า ทองเตมิ . (๒๕๖๑). อายุ ๘๐ ปี บ้านเลขที่ ๓๒ หมู่ที่ ๘ ตำบลหล่มเก่า อำเภอหล่มเกา่ จงั หวดั
เพชรบูรณ.์ สัมภาษณ,์ ๒๐ เมษายน.

ต้าน ชนะแพง. (๒๕๖๔). อายุ ๗๓ ปี ตำบลหลม่ เก่า อำเภอหลม่ เก่า จงั หวดั เพชรบรู ณ์. สัมภาษณ,์
๕ กมุ ภาพันธ์.

นารี บุญเหลือ. (๒๕๖๑). อายุ ๗๑ ปี บ้านเลขที่ ๔๓ หมทู่ ่ี ๘ ตำบลหลม่ เกา่ อำเภอหลม่ เกา่ จงั หวัด
เพชรบูรณ์. สัมภาษณ,์ ๒๐ เมษายน.

นิตยา อนิ ฑรู ย.์ (๒๕๖๑). อายุ ๔๙ ปี บ้านเลขที่ ๑๙/๑ หมูท่ ่ี ๘ ตำบลหล่มเกา่ อำเภอหลม่ เก่า จงั หวัด
เพชรบูรณ์. สมั ภาษณ,์ ๒๐ เมษายน.

บรรจง เพชระบรู นนิ . (๒๕๖๔). อายุ ๖๕ ปี บา้ นเลขที่ ๗๖ หมทู่ ี่ ๗ ตำบลหลม่ เก่า อำเภอหลม่ เก่า
จังหวัดเพชรบรู ณ.์ สมั ภาษณ,์ ๕ กมุ ภาพนั ธ์.

บุษบา โถเมือง. (๒๕๖๑). อายุ ๗๘ ปี บ้านเลขท่ี ๑๒๘ หมูท่ ่ี ๕ ตำบลนาแซง อำเภอหลม่ เกา่ จงั หวัด
เพชรบรู ณ.์ สัมภาษณ์, ๑๕ มกราคม.

ผวิ กนั เกยี ว. (๒๕๖๔). อายุ ๗๘ ปี ตำบลหล่มเกา่ อำเภอหล่มเกา่ จังหวดั เพชรบูรณ์.สัมภาษณ์,
๕ กุมภาพนั ธ.์

พระอธิการเขียด ฌาณสัมวโร. (๒๕๖๔) อายุ ๔๖ ปี บ้านเลขท่ี ๖๘ หมู่ ๑๒ ตำบลหล่มเก่า อำเภอหลม่ เก่า
จงั หวดั เพชรบูรณ.์ สมั ภาษณ,์ ๕ กุมภาพนั ธ์.

พา หมวกชา. (๒๕๖๐). อายุ ๗๖ ปี บา้ นเลขท่ี ๒๙ หมู่ท่ี ๘ ตำบลหลม่ เก่า อำเภอหล่มเก่า จังหวัด
เพชรบูรณ์. สมั ภาษณ์, ๒๔ ตุลาคม.

ไพเราะ วงษ์ประยรู . (๒๕๖๔). อายุ ๗๖ ปี บา้ นเลขท่ี ๑๐ หมูท่ ี่ ๔ ตำบลหล่มเกา่ อำเภอหล่มเกา่ จงั หวดั
เพชรบูรณ์. สัมภาษณ์, ๒ กมุ ภาพนั ธ.์

มลเฑียร กนั กิม. (๒๕๖๐). อายุ ๖๓ ปี บ้านเลขที่ ๒๘ หม่ทู ี่ ๑๐ ตำบลหนิ ฮาว อำเภอหลม่ เกา่ จังหวดั
เพชรบรู ณ์. สมั ภาษณ์, ๑๗ ธนั วาคม.

ยงลักษณ์ ตนั ยศ. (๒๕๖๔). อายุ ๗๐ ปี บา้ นเลขท่ี ๒๐๓ หม่ทู ่ี ๑๓ ตำบลหล่มเก่า อำเภอหลม่ เกา่ จงั หวดั
เพชรบูรณ.์ สมั ภาษณ์, ๕ กมุ ภาพนั ธ์.

ระแวง บญุ สงิ ห์. (๒๕๖๔). อายุ ๗๓ ปี บ้านเลขท่ี ๒ หม่ทู ่ี ๓ ตำบลหลม่ เก่า อำเภอหล่มเกา่ จังหวัด
เพชรบูรณ.์ สมั ภาษณ,์ ๒ กมุ ภาพันธ.์

ละม่อม แกว้ เหลยี่ ม. (๒๕๖๔). อายุ ๕๙ ปี บา้ นเลขท่ี ๓๒ บา้ นหนิ ฮาว หมทู่ ี่ ๗ ตำบลหินฮาว อำเภอ
หล่มเก่า จังหวดั เพชรบูรณ์. สมั ภาษณ,์ ๑๒ มกราคม.

ศรี วนั แจ้ง. (๒๕๖๔). อายุ ๗๕ ปี บ้านเลขที่ ๑๑๓ บ้านนาทราย หมทู่ ี่ ๓ ตำบลวงั บาล อำเภอหลม่ เก่า
จังหวัดเพชรบรู ณ.์ สมั ภาษณ,์ ๑๕ มกราคม.

วัฒนธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนุรักษส์ ่งิ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมทอ้ งถิ่น จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ๑๐๗

ศิริ บุญคง. (๒๕๖๔). อายุ ๖๗ ปี บ้านเลขที่ ๑๕ หม่ทู ่ี ๓ ตำบลหลม่ เกา่ อำเภอหลม่ เก่า จังหวดั เพชรบูรณ.์
สัมภาษณ,์ ๒ กุมภาพนั ธ.์

สมควร ธรรมสรณกุล. (๒๕๖๑). อายุ ๖๐ ปี บา้ นเลขท่ี ๙๘ หมทู่ ่ี ๘ ตำบลหลม่ เกา่ อำเภอหลม่ เกา่ จังหวดั
เพชรบูรณ.์ สมั ภาษณ,์ ๒๐ เมษายน.

สมชาย กอ้ นเทยี น. (๒๕๖๑). ตำบลหล่มเก่า อำเภอหลม่ เก่า จงั หวดั เพชรบูรณ.์ สมั ภาษณ์, ๒๐ เมษายน.
สมทรง ด่านรตั นกุล. (๒๕๖๔). อายุ ๗๓ ปี บ้านเลขที่ ๙๕ หมู่ท่ี ๔ ตำบลหล่มเก่า อำเภอหลม่ เก่า จังหวดั

เพชรบูรณ.์ สัมภาษณ์, ๕ กมุ ภาพนั ธ์.
สมาน บญุ คล้าย. (๒๕๖๔). อายุ ๗๔ ปี บ้านเลขที่ ๑๕ หมู่ที่ ๓ ตำบลหล่มเก่า อำเภอหลม่ เกา่ จงั หวดั

เพชรบูรณ์. สมั ภาษณ์, ๒ กมุ ภาพนั ธ.์
สวัสด์ิ บญุ เสรมิ . (๒๕๖๔). อายุ ๗๒ ปี บา้ นเลขที่ ๔๕ หมู่ที่ ๔ ตำบลหล่มเก่า อำเภอหล่มเกา่ จังหวดั

เพชรบูรณ์. สัมภาษณ์, ๒ กมุ ภาพนั ธ์.
สง่ั หมวกชา. (๒๕๖๐). อายุ ๗๖ ปี บ้านเลขท่ี ๒๙ หมทู่ ี่ ๘ ตำบลหล่มเก่า อำเภอหลม่ เก่า จังหวดั

เพชรบูรณ์ สัมภาษณ์, ๑๖ ธันวาคม.
สนิ บญุ จนี . (๒๕๖๔). อายุ ๘๓ ปี บา้ นเลขท่ี ๖๖ หมู่ท่ี ๙ ตำบลหลม่ เกา่ อำเภอหลม่ เก่า จงั หวดั เพชรบรู ณ์.

สัมภาษณ์, ๕ กุมภาพันธ.์
สมุ าลี ชยั โฉม. (๒๕๖๔). อายุ ๗๓ ปี บา้ นเลขที่ ๑๒๖ บา้ นนาทราย หมู่ท่ี ๓ ตำบลวงั บาล อำเภอหลม่ เก่า

จังหวดั เพชรบรู ณ.์ สมั ภาษณ,์ ๑๒ มกราคม.
สุวิมล ศรมี งั กร. (๒๕๖๐). อายุ ๖๐ ปี บา้ นเลขท่ี ๔๕ หมู่ที่ ๓ บา้ นวัดตาล ตำบลหล่มเกา่ อำเภอหลม่ เกา่

จงั หวัดเพชรบรู ณ์. สมั ภาษณ์, ๒๔ ตลุ าคม.
อนุชา วนั ชยั . (๒๕๖๑). อายุ ๑๘ ปี บา้ นเลขที่ ๖๑ หมู่ที่ ๓ ตำบลวังบาล อำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบรู ณ.์

สมั ภาษณ์, ๑๖ กรกฎาคม.

วฒั นธรรมศึกษา ชมุ ชนหลม่ เกา่ โดย หน่วยอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมทอ้ งถน่ิ จงั หวดั เพชรบูรณ์ ๑๐๘

โดย หนว ยอนรุ กั ษส ง่ิ แวดลอมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมทอ งถิ่นจงั หวัดเพชรบรู ณ
สำนกั ศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบูรณ


Click to View FlipBook Version