-1-
ความรูพ้นื ฐานทางสถติ ิ
1.1 ความหมายและประโยชนสถิติ
1.1.1 ความหมายของสถติ ิ
1.1.2 ประโยชนของสถติ ิ
1.1.3 ระเบยี บวิธีทางสถติ ิ
1.1.4 ประชากรและตัวอยา ง
1.1.5 ประเภทของขอมลู
1.1.6 มาตรการวัด
1.2 การเกบ็ รวบรวมขอมูลและการนําเสนอขอ มลู
1.2.1 การเก็บรวบรวมขอมลู
1.2.2 การนําเสนอขอ มูล
1.3 การวิคราะหขอ มลู
1.3.1 การแจกแจงความถี่
1.3.2 การวดั แนวโนมเขา สสู ว นกลาง
1.3.3 การวดั การกระจาย
1.3.4 คะแนนมาตรฐาน
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
-2-
1.1 ความหมายและประโยชนสถิติ
1.1.1 ความหมายของสถิติ
โดยทั่วไปคนสวนใหญถากลาวถึงคําวา “สถิติ” แลวมักจะจินตนาการถึงตัวเลข การดําเนินการทางคณิตศาสตร และมักจะเกิดความ
ยงุ ยากถา จะตองเรยี นรู หรือศกึ ษาเร่ืองดงั กลาว ซึ่งโดยธรรมชาติของชีวิตประจําวันน้ันทุกคนมักใชสถิติกันเปนประจําอยูแลว แตนึกไมถึงวาไดใช
ตอนไหน อยางไร ซ่ึงสวนใหญคิดวาไมใชสถิติ ซ่ึงมักเปนนักวิชาการมากกวาที่ใชสถิติเปนเครื่องมือในการทําวิจัย เพ่ือใหผลของการวิจัยมีความ
นาเช่ือถอื มากขน้ึ และเปน ทย่ี อมรับของนกั วิชาการอืน่ ๆ โดยทัว่ ไปเราสามารถจาํ แนกความหมายของคําวา สถติ ิไดเปน 2 แนวคดิ ดงั นี้
แนวคดิ ท่ี 1 สถิติ หมายถึงขอความจริง หรือ ตัวเลข ซ่ึงไดจากการรวบรวมไวเพื่อหาความหมายท่ีแนนอนตอไป เชน
สถิติพลเมือง สถิติจํานวนอุบัติเหตุในรอบป สถิติคนปวยท่ีเปนโรคมะเร็ง สถิตินักทองเที่ยว สถิติการวางงานของบัณฑิตมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลลา นนา เปนตน หรอื ถา จะเรยี กวาแนวคิดเชงิ ขอ มลู ก็เปน ได
แนวคดิ ที่ 2 สถิติ หมายถึงศาสตรแขนงหน่ึง วาดวยกระบวนการดังน้ี คือ การวางแผน การเก็บรวบรวมขอความจริงและ
ตวั เลข การนําเสนอขอมลู การวิเคราะหข อ มลู และการตคี วามขอ มลู เพื่อเปนแนวทางในการตัดสินใจตอไปหรือถาจะกลาววาสถิติในแนวคิดน้ี
คือ กระบวนการจดั การเกยี่ วกบั ขอ มูลในแนวคิดแรกนั่นเอง ซงึ่ ในการศกึ ษาตามแนวคิดน้ี ไดจาํ แนกแนวทางการศึกษาออกเปน 2 แขนงคือ
1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) หมายถึง วิชาสถิติท่ีวาดวยการเก็บรวบรวมขอมูล การประมวลผลหรือนําเสนอดวย
การบรรยาย ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ การวิเคราะหซ ่ึงประกอบดว ย การวดั แนวโนมเขาสูสวนกลาง การวัดการกระจาย ตลอดจนการตีความเพื่อ
หาขอสรุปของขอมลู ชุดนัน้ ๆ หรือระหวา งขอมูลมากกวา 1 ชดุ
2. สถิตเิ ชิงอนมุ าน (Inferential statistics) หมายถงึ วิชาสถิตทิ ี่วา ดวยการสรปุ ถงึ ขอเท็จจริงของขอมูลท้ังหมดใน
ลักษณะการประมาณคา (Estimation) และการทดสอบสมมตฐิ าน (Testing Hypothesis) โดยอาศยั เพยี งบางสวนของขอ มลู ท่ีเก็บรวบรวมมาไดใ น
สว นของสถิตอิ นุมานจะประกอบดว ย สถิตพิ รรณนา และทฤษฎีความนา จะเปน (Probability Theory)
พิจารณาความแตกตางระหวางสถิติพรรณนาและสถิติอนุมานจากตัวอยางตอไปนี้ในการศึกษารายไดเฉล่ียของคนอําเภอเมืองนาน
โดยทาํ การสุม ตวั อยา งมา 750 คน แลวนํามาคํานวณรายได เฉลี่ยได 3,500 บาทตอเดือน สวนน้ีเปนการศึกษา สถิติเชิงพรรณนา แตถาเม่ือใด
ก็ตามนาํ รายไดเ ฉลี่ย 3,500 บาท ตอเดือน ไปเปนขอ สรุปใหกบั รายไดของคนจงั หวดั นาน สว นหลงั นี้ถอื วา เปน การศึกษา สถติ เิ ชิงอนมุ าน
1.1.2 ประโยชนของสถิติ
เน่ืองจากสถติ ศิ าสตรเปน กระบวนการจัดการขอมลู ทเี่ ปนสว นหน่งึ ทีส่ าํ คัญในกระบวนการวิจัย ซ่ึงเปนสวนที่ทาํ ใหเ กิดองคความรูใหมใน
แตละสาขาวิชา และเพ่ือทําใหปญหาที่เกิดขึ้นมีคําตอบที่นาเช่ือถือในแวดวงวิชาการ จําเปนอยางย่ิงท่ีตองใชสถิติเปนเครื่องมือในการหาคําตอบ
ขางตน และสามารถกลา วถงึ ประโยชนท เ่ี กดิ ข้ึนในแตล ะสาขาวิชาการดังตอ ไปนี้
1) งานดา นการวางแผนเพอื่ พฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ
วัตถุประสงคท่ีสําคัญประการหนึ่งสําหรับการบริหาราชการแผนดิน คือ การแกปญหาความยากจน ดังนั้น รัฐบาล จะตองวางแผนโดย
ตองอาศยั ขอ มลู ในดา นตา งๆ เชน สถติ ิแรงงาน สถติ ปิ ระชากร สถิตกิ ารเพิม่ ประชากร สถติ ทิ างการศกึ ษา เปนตน
2) งานดานธรุ กจิ
วตั ถุประสงคทสี่ ําคญั สําหรับภาคธรุ กจิ นนั้ คือ การมีกาํ ไรสงู สุด และตนทนุ ต่ําสุด ซ่ึงการทําใหภาคธุรกิจมีกําไรสูงสุดนอกจากภาพรวม
ของการบริหารจัดการท่ีดีแลว ผูบริหารจําเปนตองทราบวาขอมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับธุรกิจเปนอยางไร มีคูแขงก่ีราย ซึ่งขอมูลดังกลาวเม่ือนํามา
วเิ คราะหแ ละตีความ สามารถใชประกอบในการตัดสนิ ใจได
3) งานดา นวทิ ยาศาสตร
ในการดําเนินการทดลองทางวิทยาศาสตรบริสุทธน ้นั สถิติจะเปนตัวชว ยใหผลสรุปที่ได เกิดความนาเชื่อถือ ดวยเหตุน้ีจึงทําใหเกิดองค
ความรทู างวทิ ยาศาสตรประยกุ ตแขนงอืน่ ๆ เพมิ่ ขึ้น
4) งานดานการเกษตร
เน่อื งจากเกษตรเปน วทิ ยาศาสตรประยุกตแขนงหนึง่ ท่ีอาศยั สถิติขั้นสงู มาประกอบในการวิเคราะหขอมูล เพ่ือทําใหเกิดองคความรูใหม
ทางดา นการเกษตร และนําไปขยายผลตอ เกษตรกรตอ ไป
5) งานดา นวทิ ยาศาสตรก ารแพทย
สําหรับการพัฒนาในวงการแพทย ก็เหมือนกับวงการวิทยาศาสตรแขนงอื่นๆ เพียงแตความละเอียดออนของการสรุปผลการทดลอง
ยอมมีมากกวา เพราะวงการแพทยมักเก่ียวของกับตัวมนุษยหรือชีวิตมนุษย ผลทดลองทางการแพทยเก่ียวกับผลการรักษา ยา หรือ อื่นๆ ในการ
ทดลอง ในทางปฏิบัติไมสามารถนํามาใชกับผูปวยไดทันที จําเปนตองมีการตรวจสอบและวิเคราะหใหเกิดความถูกตองกอนจากผูเช่ียวชาญ และ
ผูเชี่ยวชาญก็ไมสามารถใชประสบการณเพียงอยางเดียวในการตัดสินใจ บางครั้งอาจตองใชทฤษฎี ในการตัดสินใจข้ันสูง มาชวยในการตัดสินใจ
ประกอบกบั ผลการวเิ คราะหข อ มูลทีไ่ ดจ ากการศึกษาดังกลาว
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
-3-
6) งานดา นวิศวกรรมศาสตร
งานดานวิศวกรรมศาสตร ที่ใชสถิติเขามาดําเนินการมาก คือการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ และการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ ซึ่ง
เปน วศิ วกรรมสาขาหนึ่งที่นาสนใจศึกษา ซึ่งสวนใหญใชองคความรูทางดานสถิติ เชน คาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบน การวิเคราะหขอมูลเชิงอนุมาน เพ่ือ
หาเครอ่ื งจกั รท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพมากทสี่ ดุ มาใชใ นกระบวนการผลติ หนงึ่ ๆ เปน ตน
1.1.3 ประชากรและตวั อยา ง
ประชากร(Population) หมายถึง กลมุ สมาชิกทัง้ หมดทีต่ อ งการศึกษา อาจจะเปนส่ิงมีชีวิตหรอื ไมม ชี ีวติ ก็ได ประชากรในทางสถติ ิ
อาจจะหมายถึง บุคคล กลุมบคุ คล องคก รตางๆ สัตว สงิ่ ของ ก็ได เชน ถาเราสนใจศกึ ษาอายุเฉลยี่ ของคนไทย ประชากรคือคนไทยทกุ คน
ถา สนใจรายไดเ ฉล่ยี ของธนาคาร ประชากรคือธนาคารทกุ ธนาคาร และถาสนใจรายจา ยตอ เดอื นของนักศกึ ษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล
ลานนา ประชากรคือนักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลานนาทกุ คน เปน ตน และมกั ใชสญั ลกั ษณ “N” แทนจาํ นวนประชากร หรือ
กลา วอกี นยั หนง่ึ ทางคณติ ศาสตร “ประชากร” คือ เซตเอกภพ (Universal) นน่ั เอง
ตวั อยาง (Sample) หมายถึง กลุมสมาชกิ ท่ถี ูกเลอื กมาจากประชากรดวยวิธีการใดวิธกี ารหนงึ่ ซ่งึ มชี อื่ เรยี กเฉพาะวา การสุมตัวอยา ง
(Sampling) เพอ่ื ใชเ ปนตัวแทนในการศึกษาและเกบ็ ขอมลู เชน ตองการหาอายุเฉลี่ยของคนไทย ตวั อยางคอื คนไทยบางคนที่ถูกเลือกเปน
ตวั อยา ง หรอื สนใจอายกุ ารใชงานเฉลยี่ ของหลอดไฟยหี่ อ B ประชากร คือ หลอดไฟย่ีหอ B ทุกหลอด ตวั อยา งคอื หลอดไฟยี่หอ B บางหลอด
ท่ีถกู เลือกเปน ตวั อยา ง เปน ตน และมักใชส ัญลกั ษณ “n” แทนสมาชกิ ของกลมุ ตวั อยา ง หรอื กลาวอีกนยั หนงึ่ ทางคณติ ศาสตร “ตัวอยา ง” คอื เซต
ตางๆทีเ่ ปน เซตยอย (Subset) ของเซตเอกภพ (Universal Set) น่นั เอง ซง่ึ สามารถทาํ ความเขาใจมากยง่ิ ขึ้นโดยพิจารณารปู ดงั รปู ท่ี 1
ประชากร
ตวั อยาง 1 ตวั อยา ง 2
ตวั อยา ง 3
รปู ที่ 1 แสดงลกั ษณะของประชากร และตัวอยา ง
จากรูปท่ี 1 ประชากร หนง่ึ ๆ สามารถใหตัวอยางไดหลายตัวอยาง ซ่ึงตัวอยางท่ีไดน้ันจะเปนตัวแทนที่ดีของประชากรได ตองรวบรวม
ลกั ษณะของประชากรไดมากท่ีสดุ ซงึ่ ขน้ึ อยูก ับการไดมาของตัวอยา ง หรือวิธกี ารสมุ ตวั อยา ง ซึ่งจะไดก ลาวในหวั ขอตอ ไป
1.1.4 ประเภทของขอ มลู
ขอมูล(Data) หมายถึงขอเท็จจริงหรือตัวเลข ท่ีถูกรวบรวมข้ึนไวเพ่ือเปนหลักฐานอางอิง เพ่ือคนหาความจริงที่แนนอน เพื่อนํามา
เปรียบเทียบหรือเพื่อหาขอสรุปอ่ืนๆ ที่เปนประโยชนกับงานท่ีเกี่ยวของ และสามารถจําแนกประเภทของขอมูลไดตามลักษณะของขอมูล คือ
ขอ มูลเชิงปรมิ าณ และขอ มลู เชงิ คณุ ภาพ ดังนี้
1. ขอมูลเชิงปริมาณ (Quantity Data) คือขอมูลท่ีใหคาเปนตัวเลขและสามารถเปรียบเทียบไดวาคาใดมาก คาใดนอย เชน การวัด
เกี่ยวกับนํ้าหนัก สวนสูง อายุ คะแนน ระยะทาง ปริมาณของเวลาและจํานวนรถยนตที่ผานส่ีแยกไฟแดงหนึ่งชวงเวลา 08.00-09.00 น. เปนตน
ซ่งึ สามารถจําแนกขอ มูลเชิงปรมิ าณออกเปน 2 แบบ คือ
- ขอมูลเชิงปริมาณแบบไมตอ เน่ือง (Discrete Data) คอื ขอมลู ทีม่ คี า เปนจาํ นวนเต็ม
หรือ จํานวนนับ เชนจํานวนรถมอเตอรไซดท่ีผานทางเขา – ออก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน ในชวงเวลา 12.00-13.00 น.
จาํ นวนรอบของผลิตภณั ฑเสยี จาํ นวนลอ ตการผลิตสินคา และจาํ นวนสินคาคา งสตอ ก เปนตน
- ขอมลู เชงิ ปริมาณแบบตอเนือ่ ง (Continuous Data) คือขอมลู ท่ีใหคาเปน จํานวนจริง
เชนรายไดเฉลี่ยตอปของพนักงานบริษัทหน่ึง น้ําหนักของผลิตภัณฑ อายุการใชงานของหลอดไฟเปนตน ขอมูลเชิงปริมาณ จัดอยูในมาตราวัด
อันตราภาคและอัตราสว น
2. ขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือขอมูลท่ีไมสามารถใหคาเปนตัวเลขที่มีผลตอการคํานวณทางคณิตศาสตร เชนขอมูล
เก่ยี วกบั เพศ การศกึ ษา สถานภาพของบคุ คล ลกั ษณะของผลิตภณั ฑ และคณุ ภาพผลิตภัณฑ เปนตน ขอ มูลเชงิ คุณภาพ จัดอยูในมาตราวัดนาม
บัญญัติ และมาตราเรยี งลาํ ดับ นอกจากนีแ้ ลวยงั สามารถ จําแนกประเภทของขอ มลู ตามแหลง ทม่ี าของขอ มูลเปนขอมลู ปฐมภูมิ และขอมูลทุติยภูมิ
ดังนี้
1. ขอมลู ปฐมภมู ิ (Primary Data)
เปนขอมูลท่ีไดจากผูตองการใชขอมูลเปนผูเก็บรวบรวมเอง ซ่ึงอาจไดจาก การสัมภาษณ การทดลอง หรือสังเกตการณโดยแหลงของ
ขอมูลชนิดนี้เรยี กวา แหลง ขอมูล ปฐมภมู ิ (Primary Source)
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลฬิ สายปาระ
-4-
ขอดี : ตรงตามวตั ถุประสงคก ารใชง าน
ขอ เสีย : เสยี เวลาและคา ใชจ า ยมาก
2. ขอมลู ทุตยิ ภูมิ (Secondary Data)
เปนขอมูลท่ีผูตองการใชไมจําเปนตองไปเก็บรวบรวมเองเพราะหนวยงานท่ีเก่ียวของรวบรวมไวแลวโดยแหลงขอมูลชนิดนี้เรียกวา
แหลงทุติยภูมิ (Secondary Source)
ขอ ดี : เสียเวลา และคา ใชจ ายนอย
ขอ เสีย : ขอ มลู อาจไมต รงกับวตั ถุประสงค
1.1.5 มาตรการวัด
สาํ หรับการไดมาซ่ึงขอมูลน้ัน โดยท่ัวไปไดมาจากการวัด (Measurement) ซึ่งสามารถจําแนกการวัดออกเปนมาตราตาง ๆ แบงได 4
ระดับหรือมาตราดงั น้ี
1. มาตรานามบัญญัติ(Nominal Scale) เปนการวัดระดับต่ําสุด โดยเปนเพียงการเรียกชื่อ หรือจําแนกประเภทของคุณลักษณะหรือ
ส่ิงของตาง ๆตัวอยางเชน จําแนกผลลัพธจากการโยนเหรียญเปนหัว หรือ กอย หรือจําแนกบุคคลตามเพศ เปนเพศหญิง เพศชาย หรือจําแนก
บุคคลตามอาชพี เปนขาราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน นักธุรกิจ คาขาย รับจาง หรือการเกษตร หรือจําแนกสีของรถยนต
เปนสตี างๆ เปนตน
การวัดในมาตราวัดนามบัญญัติ อาจเปนการกําหนดสัญลักษณ เพื่อจําแนกสิ่งตาง ๆ เชน กําหนด ♂ แทน เพศชาย และ ♀ แทน
เพศหญิง นอกจากนนั้ อาจมกี ารกาํ หนดตวั เลขเพื่อจําแนกส่ิงตาง ๆโดยท่ีตัวเลขดังกลาวไมมีความหมายในเชิงปริมาณ เชน เลขที่บาน ดังนั้น จึง
นาํ ตวั เลขตา ง ๆ มาบวกลบ คณู หรอื หารกัน ไมได กระทาํ ไดเ พียงแต การนับเพ่อื ดคู วามถ่หี รอื การเกิดซา้ํ ๆ กัน สาํ หรบั ตวั อยางขอมูลอ่ืน ๆ ที่ได
จากการวัด ประเภทน้ี เชนหมายเลข นักฟุตบอล หมายเลขโทรศัพท หมายเลขประจําตัวผูเสียภาษี รหัสไปรษณียเลขหมูหนังสือในหองสมุด
หมายเลขเท่ยี วบนิ และหมายเลขของ Web site ตาง ๆเปน ตน
2. มาตราเรียงลําดับ (Ordinal or Ranking Scale) การวัดในระดับนี้เปนการเรียงอันดับส่ิงตาง ๆตามลักษณะหนึ่ง ๆ ซ่ึงมี
ความสมั พันธกนั ในลกั ษณะที่ดีกวา ยากกวา หรอื นิยมมากกวา ตวั อยา ง เชน แมบา นคนหน่ึงมคี วามนยิ มผงซกั ฟอก 3 ตราเปน ดที ี่สุด ดีมาก และ
ดี ซ่ึงจะเหน็ วา การวัดในระดับน้ีนอกจากจะสามารถจําแนกส่ิงตาง ๆ แลวยังสามารถบอกไดวาส่ิงไหนดีท่ีสุดหรือดอยท่ีสุด นอกจากนั้น ในการ
วัดระดับนี้เพ่ือความสะดวกอาจมีการกําหนดอันดับเปนตัวเลขใหแกสิ่งตาง ๆโดยท่ีตัวเลขดังกลาวไมมีความหมายในเชิงปริมาณ ตัวอยางเชน
กลวยไมท่ีชนะการประกวดเปน อันดับท่ี 1 อันดับท่ี 2 และอันดับที่ 3 มิไดหมายความวากลวยไมท่ีชนะการประกวดเปนอันดับท่ี 1 มีความงาม
เปน 2 เทาของกลวยไมที่ไดอันดับที่ 2 และระบุไมไดวา กลวยไมท่ีไดอันดับที่ 1 งามกวากลวยไมท่ีไดอันดับท่ี 2 มากนอยเพียงใด นอกจากนั้น
ความแตกตางของความงามระหวางกลวยไมท่ีไดอันดับที่ 1 กับ 2 และระหวางกลวยไมที่ไดอันดับที่ 2 กับ 3 ไมจําเปนตองเทากัน ดังน้ันขอมูลท่ี
ไดจากการวดั ในระดบั นีจ้ ึงนาํ มาบวก ลบ คณู หารกนั ไมได
3. มาตราอนั ตรภาค(Interval Scale) การวัดในระดบั นี้ นอกจากมีคุณสมบัติการจําแนกและการเรยี งลําดบั สง่ิ ตาง ๆแลว แตละหนวย
ของการวดั ยังมีคาคงที่อกี ดวยซ่ึงทําใหสามารถระบุความแตกตางระหวางสิ่งตางๆ วามีมากนอยเพียงใด นั่นคือ ขอมูลซ่ึงเปนตัวเลขท่ีไดจากการ
วัดในระดับน้ี จะมีความหมายในเชิงปริมาณอยางแทจริง ตัวอยางเชน วัดอุณหภูมิที่ตาง ๆได 100 ,200 ,300 และ 400C ตามลําดับซึ่งบอกไดวา
อุณหภูมิ 400C สูงกวา 200C และอุณหภูมิ 100C ต่ํากวา 300Cทั้งนี้หมายความวาอุณหภูมิ 400C รอนกวา 200C และอุณหภูมิ 100C เย็นกวา
300C นอกจากนี้ยังบอกไดวาความแตกตางระหวางอุณหภูมิ 400C และ 200C เทากับความแตกตางระหวางอุณหภูมิ 300C และ 100C แต
ระหวางอุณหภูมิ 300C และ 100C มิไดหมายความวาอุณหภูมิ 300C รอนเปน 3 เทาของอุณหภูมิ 100C เนื่องจากเม่ือแปลงอุณหภูมิ 300C และ
100C ใหเ ปน ระบบฟาเรนไฮตไ ด 9 (30) + 32 = 86°F และ 9 (10) + 32 = 50°F ตามลําดับ ซึ่งจะเห็นไดวาอุณหภูมิ 860 F มิไดรอน
5 5
เปน 3 เทาของอุณหภูมิ 500F ท้ังนี้เนื่องจากจุดเริ่มตนของการวัดอุณหภูมิทั้งระบบเซลเซียส และฟาเรนไฮตมิ ใชศูนยแท (true Zero) นั่นเองซึ่ง
เปนคณุ สมบัติที่สําคัญของการวัดในระดับน้ี โดยศูนยไมไดหมายความวาไมมีอะไรเลย ดังนั้นขอมูลท่ีไดจากการวัดในระดับน้ีจึงนํามาบวกหรือลบ
กันได แตนํามาคณู หรอื หารกนั ไมได ตัวอยา งขอ มูลอ่นื ๆ ทไี่ ดจากการวดั ในระดับน้ี เชน ระดับเชาวป ญญาและคะแนนสอบ เปน ตน
4. มาตราอัตราสว น (Ratio Scale) เปน การวดั ระดบั สงู สดุ ซ่งึ นอกจากจะมคี ุณสมบตั ติ าง ๆเหมือนมาตรอันตรภาคแลว ยังมีศูนยแท
เปนจุดเร่ิมตน น่ันคือ 0 หมายความวาไมมีอะไรเลย เชน หนัก 0 ปอนดแสดงวาไมมีนํ้าหนักเลย ดังน้ันขอมูลท่ีไดจากการวัดในระดับน้ีจึงนํามา
บวก ลบ คณู หาร กันได ตวั อยางขอมลู อ่นื ๆ ท่ีไดจ ากการวัดในระดบั น้ี เชน ความยาว อายุ เวลา ความเรว็
1.2 การเกบ็ รวบรวมขอมูลและการนาํ เสนอขอมูล
1.2.1 การเก็บรวบรวมขอ มลู
การดาํ เนินการเก็บรวบรวมขอ มูล เพือ่ นาํ มาจัดทาํ เปนขอมูลสถติ ิมวี ิธีการท่ีใชโดยท่ัวไปมี 5 วิธี ดังน้ี
[http://service.nso.go.th/nso/knowledge/estat/esta1_6.html]
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเ พลฬิ สายปาระ
-5-
1. การเกบ็ รวบรวมขอ มลู จากรายงาน (Reporting System) เปน ผลพลอย
ไดจากระบบการบริหารงาน เปนการเก็บรวบรวมขอมูลจากรายงานท่ีทําไวหรือจากเอกสารประกอบการทํางาน ซ่ึงการเก็บรวบรวมขอมูลจาก
รายงานสวนมากใชเพียงคร้ังเดียว จากรายงานดังกลาว อาจมีขอมูลเบ้ืองตน บางประเภทท่ีสามารถนํามาประมวลเปนยอดรวมขอมูลสถิติได วิธี
เก็บรวบรวมขอมูลจากรายงานของหนวยบริหาร นับวาเปนวิธีการรวบรวมขอมูลสถิติโดยไมตองสิ้นเปลืองคาใชจายในการดําเนินงานมากนัก
คาใชจายท่ีใชสวนใหญก็เพื่อการประมวลผล พิมพแบบฟอรมตางๆ ตลอดจนการพิมพ รายงาน วิธีการนี้ใชกันมากท้ังในหนวยงาน รัฐบาลและ
เอกชน หนวยงานของรัฐท่ีมีขอมูลสถิติที่รวบรวมจากรายงาน ไดแก กรมศุลกากรมีระบบ การรายงานเกี่ยวกับ การสงสินคาออก และการนํา
สินคาเขา ใบสําคัญหรือเอกสารท่ีใชในการแจงการนําเขาและ สงออกนั้น จะเปนแหลงของขอมูลเบ้ืองตน ซ่ึงสามารถจะประมวลยอดรวมขอมูล
สถติ ิ แสดงปรมิ าณการคา ระหวา งประเทศได กรมสรรพากร มีแบบรายงาน ยนื่ เสียภาษี ที่เรียกวา ภงด . 9 ซ่งึ สามารถรวบรวมขอมูลสถิติเกี่ยวกับ
รายไดของประชากร และกระทรวงศึกษาธิการ มีรายงานผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนภายในสังกัดของกรมตางๆ ซึ่งสามารถนํามาใชในการ
ประมวลผลสถิติทางการศึกษาได นอกจากน้ี ก็มีแบบรายงานของหนวยราชการสวนทองถ่ินเก่ียวกับรายได - รายจาย รายจายเก่ียวกับการลงทุน
งบแสดงฐานะทางการเงิน และแบบรายงานผูไดรับอนุมัติใหกอสราง ซ่ึงทําใหไดขอมูลสถิติตางๆ ท่ีสามารถนํามาใชในการคํานวณบัญชีตางๆ ใน
บัญชปี ระชาชาติได สําหรับหนวยงานเอกชนนั้น ไดแก ขอมูลเกี่ยวกับการผลิต การใชวัตถุดิบ ซึ่งรวบรวมไดจากรายงานของฝายผลิต สถิติแสดง
ปรมิ าณการขายสนิ คา กร็ วบรวมไดจ ากรายงานของพนกั งานขายแตละคน เปน ตน
2. การเกบ็ รวบรวมขอมลู จากทะเบยี น (Registration) เปนขอ มลู สถติ ทิ ี่
รวบรวมจากระบบทะเบียน มีลักษณะคลายกับการรวบรวมจากรายงานตรงที่เปนผลพลอยไดเชนเดียวกัน จะตางกันตรงที่ แหลงเบื้องตนของ
ขอมลู เปนเอกสารการทะเบียนซึ่งการเก็บมีลักษณะตอเนื่อง มีการปรับแกหรือเปล่ียนแปลง ใหถูกตองทันสมัย ทําใหไดสถิติที่ตอเนื่องเปนอนุกรม
เวลา ขอมูลท่ีเก็บโดยวิธีการทะเบียน มีขอรายการไมมากนัก เน่ืองจากระบบทะเบียนเปนระบบขอมูลท่ีคอนขางใหญ มีพระราชบัญญัติคุมครอง
หรือบังคับ การท่ีจะเปลี่ยนระบบทะเบียนเพื่อใหไดขอมูลที่ตองการ ยอมไมอยูในวิสัยที่จะทําไดงายนัก คุณภาพของขอมูลสถิติที่ไดข้ึนอยูกับ
คุณภาพของการทะเบียนซ่ึงขอมูลบางอยางอาจจะไมถูกตองทันสมัย ตามความเปนจริง ตัวอยางขอมูลสถิติที่รวบรวมจากระบบทะเบียน ไดแก
สถิติจํานวนประชากรที่กรมการปกครอง ดําเนินการเก็บรวบรวมจากทะเบียนราษฎร ประกอบดวย จํานวนประชากร จําแนกตามเพศเปนราย
จังหวัด อําเภอ ตําบล นอกจากทะเบียนราษฎรแลวก็มีทะเบียนยานพาหนะของกรมตํารวจที่จะทําใหไดขอมูลสถิติจํานวน รถยนต จําแนกตาม
ชนิดหรอื ประเภทของรถยนต ทะเบยี นโรงงานอตุ สาหกรรม ซึง่ ทาํ ใหท ราบจาํ นวนโรงงานอุตสาหกรรม จําแนกตามประเภทของโรงงาน เปน ตน
3. การเก็บรวบรวมขอมูลโดยวิธีสํามะโน (Census) เปนการเก็บรวบรวมขอมูลสถิติของทุกๆ หนวยของประชากรท่ี
สนใจศึกษาภายในพ้ืนที่ที่กําหนด และภายในระยะเวลาที่กําหนด การเก็บรวบรวม ขอมูลสถิติดวยวิธีนี้ จะทําใหไดขอมูลในระดับพ้ืนท่ียอย เชน
หมบู า น ตาํ บล อาํ เภอ และทําใหไ ด ขอมูลทเี่ ปน คา จริงตามพระราชบญั ญัตสิ ถติ ิ พ.ศ .2508 ไดบ ัญญตั ไิ วว า สํานักงานสถิติแหงชาติเปนหนวยงาน
เดียวที่สามารถจัดทําสํามะโนได และการเก็บรวบรวมขอมูลสถิติดวยวิธีการสํามะโน เปนงานที่ตองใชเงิน งบประมาณ เวลาและกําลังคนเปน
จาํ นวนมาก สาํ นักงานสถิติแหงชาติจึงไมสามารถจัดทําสํามะโนไดในทุกๆ ป สวนใหญจะจัดทําสํามะโนทุกๆ 10 ป หรือ 5 ป สํามะโนที่สํานักงาน
สถิติแหงชาติ ไดจ ัดทาํ คอื สํามะโนประชากรและเคหะ ( ปลาสดุ พ.ศ. 2543) สาํ มะโนการเกษตร ( ปลาสุด พ.ศ. 2546) สํามะโน ประมงทะเล ( ป
ลา สุด พ.ศ. 2538) สํามะโนอตุ สาหกรรม ( ปลา สุด พ.ศ. 2540) และสาํ มะโนธรุ กิจทางการคาและธุรกิจทางการบริการ ( ปล า สดุ พ.ศ. 2545)
4. การเกบ็ รวบรวมขอ มลู โดยวิธสี ํารวจ (Sample Survey) เปน การเกบ็ รวบ
รวมขอมูลสถิติ จากบางหนวยของประชากรดวยวิธีการเลือกตัวอยาง การเก็บรวบ รวมขอมูลสถิติดวยวิธีนี้ จะทําใหได ขอมูลในระดับรวม เชน
จังหวดั ภาค เขตการปกครอง และรวมทั่วประเทศ และขอมลู ท่ไี ดจะเปน คา โดยประมาณ การสํารวจเปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลที่ใชงบประมาณ
เวลา และกําลังคนไมมากนักจึงสามารถจัดทําไดเปนประจําทุกป หรือ ทุก 2 ป ปจจุบันการสํารวจเปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลสถิติที่มี
ความสําคัญ และใชกันอยางแพรหลายมากท่ีสุด ทั้งในวงการราชการและเอกชน ไมวาจะเปน การสํารวจ เพ่ือหาขอมูลทางดานการเกษตร
อุตสาหกรรม สาธารณสุข การคมนาคม การศึกษา และ ขอมูล ทางเศรษฐกิจและสังคมอื่นๆ รวมท้ังการหย่ังเสียงประชามติ การวิจัยตลาด ฯลฯ
สําหรับสํานักงานสถิติแหงชาติ ไดจัดทําโครงการสํารวจท่ีสําคัญๆ หลายโครงการ เชน การสํารวจภาวะการทํางานของประชากร ( การสํารวจ
แรงงาน ) การสํารวจการยายถ่ินของประชากร การสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของ ครัวเรือน การสํารวจการใชพลังงานของครัวเรือน การ
สํารวจการเปล่ียนแปลงของประชากร การสํารวจวิทยุ - โทรทัศนและหนังสือพิมพ การสํารวจอนามัยและสวัสดิการ การสํารวจขอมูลเก่ียวกับเด็ก
และเยาวชน การสาํ รวจภาวะการครองชพี ของขา ราชการพลเรือนสามัญ การสํารวจขอมลู ระดับหมูบาน เปน ตน
5. วิธีการทดลอง (Experimental Design) การเก็บรวบรวมขอมูล โดยวิธีนี้จะตองอาศัยวิชาสถิติในเร่ืองการวางแผนการ
ทดลองมาชวย การวิจัยทางสังคมสวนใหญจะใชวิธีนี้ไมได โดยมากจะใชกับการทดลองทางดานเกษตร วิทยาศาสตร การแพทย เชน ทดสอบผล
ของการใชปุยชนิดตางๆ ตอ การเจริญเติบโตของพืช เปนตน ในการทดลองจะพยายามควบคุมปจจัยอ่ืนที่ไมตองการทดสอบใหมากท่ีสุดเทาท่ีจะ
มากได แตใหปจจัยท่ีจะทดสอบน้ันเปล่ียนแปลงไดแลวคอยติดตามบันทึกขอมูล ซ่ึงเปนผลของการทดลองจากหนวยทดลองของแตละกลุมตาม
แผนการทดลองน้นั ๆ
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
-6-
1.2.2 การนําเสนอขอ มูล
หลังจากท่ีไดว ิเคราะหข อมลู แลว จะตองนํามาเสนอของการวิเคราะห โดยการนําเสนออาจทําไดในรูปแบบตาง ๆ เชน ขอความ ตาราง
แผนภูมแิ ละกราฟ สวนใหญมกั จะนํามาเสนอขอมลู ในรูปขอความควบคกู บั ตารางหรือแผนภูมิหรือกราฟ เพ่ือใหสะดวกตอความเขาใจและสามารถ
เปรยี บเทียบได
1. การนาํ เสนอขอมูลในรูปบทความ (Text Presentation)
เปน การนาํ เสนอขอมลู โดยใชต ัวเลขประกอบขอ ความ โดยทัว่ ไปแลว การนําเสนอในรูปบทความจะใชตอเม่ือขอมูลท่ีจะนําเสนอมีไมมาก
นัก เชน
จาํ นวนนักศกึ ษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลานนา นาน จาํ แนกตามคณะเปนดังนี้
- คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร จาํ นวน 511 คน
- คณะวศิ วกรรมศาสตร จํานวน 158 คน
- คณะศิลปศาสตรและบริหารธุรกิจ จํานวน 657 คน
รวมทง้ั สน้ิ จํานวน 1,326 คน
2. การนําเสนอขอ มูลในรูปตาราง (Table Presentation)
เปนการนําเสนอขอมูลโดยจัดเรียงตามลักษณะตาง ๆที่สนใจ โดยนําลักษณะท่ีสนใจ และตัวเลขมาจัดเรียงไวในตารางเพ่ือใหอานงาย
ทาํ ใหผอู านสามารถเปรียบเทียบขอมลู ทม่ี คี วามสัมพันธก นั ไดงา ยข้ึน ตารางทว่ั ๆ ไปจะมสี วนประกอบตอไปน้ี
1. หมายเลขหรอื ลําดับที่ของตาง ใชแสดงลาํ ดับที่ของตาราง เน่อื งจากสวนใหญม ักจะมีการนําเสนอขอ มลู มากกวา 1 ตาราง
2. ชอื่ ตาราง เปน การอธบิ ายขอ มลู ภายในตารางวา เปน ตารางทแ่ี สดงเกีย่ วกบั อะไร เมอื่ ไร ทีไ่ หน เชน ปริมาณการนําเขา หาง
นมผงและไขมนั เนย จาํ แนกตามป เปนตน
3. หัวเร่อื ง เปน การอธบิ ายรายละเอยี ดตา ง ๆ ภายในแตละแถวตง้ั หรือ คอลัมน (Column)
4. หมายเหตุ เปน การอธิบายคุณสมบตั เิ ฉพาะขอความหรอื ตวั เลขท่ใี สหมายเหตุไว โดยท่ัว ๆ ไปหมายเหตมุ ักจะใช
เครื่องหมายดอกจัน ตัวเลขและสญั ลกั ษณ อน่ื ๆ ยกไวเหนอื ขอ ความทต่ี องการอธิบาย
5. ตวั เรื่อง เปน ตัวเลขทอ่ี ยภู ายใตหวั เร่อื งและคอลมั นตาง ๆ สาํ หรับตารางทนี่ ํามาเสนอขอ มูลจะแบง ออกเปน ชนดิ ตาง ๆ
โดยจําแนกตามลักษณะตา ง ๆทแ่ี บง ตามหวั เรื่องโดยแบงเปน 5 ชนดิ คือ
ก. ตารางแบบทางเดยี ว (one - way Table) เปน ตารางท่จี ําแนกขอมลู ดา นใด
ดานหนึ่งเพียงอยา งเดียวเชน
คณะ จํานวนนกั ศึกษา
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 511
วศิ วกรรมศาสตร 158
ศิลปะศาสตรและบริหารธรุ กิจ 657
รวม 1326
ข. ตารางแบบสองทาง (Two - way Table) เปนตารางทีจ่ ําแนกยอยตามลกั ษณะของขอมูล 2 ดาน เชน
คณะ จาํ นวนนกั ศกึ ษา
ชาย หญิง
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร 296 215
วศิ วกรรมศาสตร 147 11
ศิลปะศาสตรแ ละบริหาร 109 548
รวม 552 774
ค. ตารางแบบสองทาง (Multi - way Table) เปนตารางทจี่ าํ แนกยอยลงไปตามลกั ษณะตาง ๆ หลายดาน เชน
คณะ สว นสูง นาํ้ หนกั
ตา่ํ กวา 155 ซ.ม. 155 ซ.ม. ขึ้นไป ตํา่ กวา 45 ก.ก. 45 ก.ก. ขน้ึ ไป
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีการเกษตร 231 280 259 252
วิศวกรรมศาสตร 21 137 35 123
ศิลปะศาสตรและบรหิ าร 453 204 395 262
รวม 705 621 689 637
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเพลฬิ สายปาระ
-7-
ง. ตารางแจกแจงความถี่ (Frequency Distrbution Table) เปนตารางแสดงความถีจ่ าํ แนกตามลักษณะท่เี ปนไปได
ทั้งหมด เชน
เกรดเฉลยี่ จํานวนนกั ศึกษา
นอ ยกวา 2.00 305
2.01 – 2.50 360
2.51 – 3.00 501
3.01 – 3.50 125
3.51 – 4.00 35
1,326
จ. ตารางแจกแจงความถส่ี ัมพนั ธ (Relative Frequency Distribution Table) เปน ตารางท่แี สดงรอ ยละหรอื สัดสวน
ของลักษณะตา ง ๆ เมอ่ื เทียบกับจํานวนท้งั หมด เชน
เกรดเฉล่ีย จาํ นวนนกั ศึกษา
นอ ยกวา 2.00 305/1,321 = 0.23
2.01 – 2.50 360/1,321 = 0.27
2.51 – 3.00 501/1,321 = 0.38
3.01 – 3.50 125/1,321 = 0.09
3.51 – 4.00 35/1,321 = 0.03
1.00
3. การนําเสนอขอมูลในรูปกราฟ (Graph Presentation)
การนําเสนอขอมูลมักจะเสนอท้ังในรูปของบทความ ตาราง และกราฟ การนําเสนอดวยกราฟจะทําใหสะดวกตอการสรุปในดาน
เปรยี บเทียบ กราฟจะประกอบดวยลําดบั ทข่ี องกราฟ การนาํ เสนอของขอ มลู ดวยกราฟแบงเปน 6 ประเภทคือ
1. แผนภมู ิแทง (Bar Chart) ประกอบดว ยแทง รปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา ทม่ี คี วามกวางเทากันทุกแหง สวนความยาวหรือสวนสูงจะข้ึนอยูกับ
ปรมิ าณหรอื ขนาดของขอมลู ดังน้ัน แผนภมู ิแทง จึงใชใ นการเปรยี บเทียบลักษณะใดลกั ษณะหนงึ่ เพยี งลกั ษณะเดยี ว โดยอาจเปรียบเทียบโดยการ
จดั เรยี งตามแนวตงั้ หรอื แนวนอนก็ได สว นใหญแ ลวมกั จะเปรยี บเทยี บลกั ษณะของขอ มูลตามเวลาท่ีเปล่ยี นไป แผนภูมิแทงที่ใชกันอยูทั่ว ๆ ไปมี 2
ชนิด คอื
1.1 แผนภมู ิแทงเชิงเด่ยี ว (Simple Bar Chart) เปนแผนภมู ิแทง ทแี่ สดงการเปรยี บเทยี บขอมูลเพียงลักษณะเดียวเทานั้น
ตวั อยา งเชน จําแนกจาํ นวนนักศกึ ษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา นา น จาํ แนกตามคณะ
แผนภมู แิ ทง แสดงจํานวนนกั ศึกษา มทร. ลานา นา นจํานวน ันกศึกษา
ลักษณะข้ึนไป 700
600
500ํจานวนนักศึกษา
400
300
200
100
0
1.2 แผนภูมิแทงเชิงซอน (Multiple Bar Chart) เปนแผนภาพที่แสดงถึงการเปรียบเทียบลักษณะของขอมูลต้ังแตสอง
600
500 นักศกึ ษาชาย
นักศกึ ษาหญิง
400
300
200
100
0
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
-8-
2. แผนภาพวงกลม (Pie Chart) เปนการแสดงขอมูลในรูปวงกลม โดยท่ีจะแบงวงกลมเปนสวนยอย ๆ ตามสัดสวนของลักษณะตาง
ๆ โดยใหเ น้อื ที่ในวงกลม (360 องศา) เปน 100 เปอรเซน็ ต แลว เปรยี บเทียบสัดสว นหรือเปอรเ ซ็นตเ ปน องศา
แผนภมู ิวงกลมแสดงจาํ นวนนักศึกษา มทร.ลานนา นา น
จาํ แนกตามคณะ
3. แผนภาพเชงิ เสน (Line Chart) เปนการเสนอขอมลู ที่ทาํ ใหเ ห็นการเปล่ยี นแปลงของขอมูลไดชัดเจนสวนมากมักจะใชกับขอมูลท่ีมี
การเปลีย่ นแปลงไปตามเวลา ดงั นนั้ จงึ สามารถเหน็ ไดชดั วา ขอมลู นั้นเพิ่มขนึ้ ลงเมอ่ื เวลาเปล่ียนแปลงไป แผนภาพเชงิ เสน แบง เปน 2 ชนิด คอื
3.1 แผนภาพเชิงเสนเดียว (Simple Line Chart) เปนกราฟท่ีแสดงการเปรียบเทียบขอมูลโดยพิจารณาลักษณะขอมูล
เพียงลกั ษณะเดยี ว
แผนภาพเชงิ เสน แสดงจาํ นวนนกั ศกึ ษา มทร.ลานนา นา น
จําแนกตามคณะ
700ํจานวนวนนักศึกษา
600
500
400
300
200
100
0
3.2 แผนภาพเชิงซอ น (Multiple Line chart)เปน กราฟทแ่ี สดงการเปรียบเทียบขอ มลู โดยพจิ ารณาถึงลักษณะขอมูลต้ังแต
2 ลกั ษณะข้ึนไป
600
500 นักศึกษาชาย
นักศึกษาหญิง
400
300
200
100
0
123
4. ฮิสโตแกรม (Histogram) เปนการนําเสนอขอมูลที่ไดแจกแจงความถี่แลวมาเขียนเปนแผนภูมิแทงซึ่งเปนส่ีเหลี่ยมผืนผา โดยท่ี
แกนนอนแบง เปนชว ง ๆ ตามความกวางของอนั ตรภาคชน้ั ในสว นการสรางฮิสโตแกรมจะกลาวรายละเอยี ดในบทตอไป
5. รูปหลายเหลี่ยมความถี่ (Polygon) ดําเนินการโดยการแบงคร่ึงในแตละอันตรภาคชั้นแลวลากเสนผานจุดตางตามลําดับอันตร
ภาคช้นั ดงั รปู
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
-9-
6. โคง ความถี่ (Curve) พยายามปรบั รปู หลายเหล่ียมความถใ่ี หเปนรปู โคง ความถ่ี ดงั รปู
7. แผนภาพลําตนและใบ (Stem and Leal) เปนการนําเสนอขอมูลโดยใชคาของขอมูลจริงทุกคา ทําใหสามารถเห็นลักษณะท่ี
แทจรงิ ของขอ มูล ทําโดย
1. เรยี งลําดับขอมลู จากนอยไปมาก ดังนี้
- ถาขอ มลู เปน เลขสองหลกั ใหเ ยงลําดับของเลขหลักแรก (หลักสบิ )
- ถาขอมูลเปน เลขสามหลกั ใหเ รยี งลําดับของเลขสองหลกั แรก คอื หลกั รอ ยและหลกั สบิ
2. นาํ ขอมูลทเ่ี รยี งลําดบั ในขอ 1 มาใสใ นแถวตงั้
3. ในแตล ะแนวนอน บันทึกตามลําดับของตวั เลขหลักทส่ี อง (ถา ขอมลู เปนเลขสอง
หลัก) หรอื ในแตล ะแนวนอน บันทกึ ตามลาํ ดับของตวั เลขหลกั ท่สี ม (ถาเปนขอมลู เปนเลขสามหลัก )
หมายเหตุ แตถ าขอ มูลเปน เลขสามหลกั และสหี่ ลกั ปนกนั
- สําหรับเลขสามหลกั ใหเ รยี งลําดับตามหลกั แรก(หลกั รอ ย) ตามแถวตง้ั
- สาํ หรบั เลขส่หี ลักใหเ รียงลําดบั ตามหลกั แรกและหลกั ท่สี อง( หลักพันและหลักรอ ย ) ตามแถวแนวตัง้
ตวั อยางท่ี 1.1 จากการสมุ ตัวอยางยอดขายรายวัน 25 วัน ของรา นอาหารแหงหน่งึ ไดขอ มูลดงั นี้
ยอดขายรายวัน ( หนว ย : 100 บาท )
660 595 1,060 500 630
899 1,295 749 820 843
710 950 720 575 760
1,090 770 682 1,016 650
425 367 1,480 945 1,120
จงแสดงขอ มลู ขางตน ดว ยแผนภาพลําตนและใบ
วิธที าํ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 10 -
1.3 การวิเคราะหขอ มลู เบอ้ื งตน
1.3.1 การแจกแจงความถี่
ตารางแจกแจงความถี่
การแจกแจงความถ่ี (Frequency Distribution) หรือการแจกแจงเชิงปรมิ าณ (Quantative Distribution) เปน วธิ กี ารนําเสนอขอ มลู
เชิงปริมาณทเ่ี กบ็ รวบรวมมาไดเปน จํานวนมาก ซง่ึ เรียกวา ขอ มูลดบิ (Raw Data) โดยนอกจากจะชวยใหเขาใจถงึ ภาพรวมของขอมลู ดังกลาวแลว
ยงั เปน การจดั เตรียมขอ มูลสําหรบั การวเิ คราะหตอไป ซงึ่ โดยท่วั ไปการแจกแจงความถีส่ ามารถกระทาํ ได 2 วธิ ี คอื การแจกแจงความถีด่ ว ยตาราง
และการแจกแจงความถด่ี ว ยกราฟ สามารถกลาวถงึ รายละเอียดดงั ตอไปน้ี
การแจกแจงความถดี่ ว ยตารางดว ยวิธนี ี้ เปนการนาํ เสนอขอ มลู เชงิ ปรมิ าณทเ่ี ก็บรวบรวมขอมูลใหอยูในรูปของตารางทเ่ี รียกวา
ตารางแจกแจงความถ่ี การแจกแจงความถีด่ ว ยตารางทาํ ได 3 วิธี คือ การแจกแจงจัดเรียงลําดบั การแจกแจงความถชี่ นดิ ไมจัดขอ มูลเปนอันตร
ภาคชั้น และการแจกแจงความถี่ชนิดจดั ขอมูลเปนอันตรภาคชั้น โดยสามารถพิจารณารายละเอียดไดดังตอไปน้ี
1. การแจกแจงจดั เรยี ง
เปนวิธีการนาํ เสนอขอมูลเชงิ ปรมิ าณแบบงายที่สุด ในกรณีทข่ี อมูลมคี าแตกตา งกันไมม ากนัก และไมม ีขอ มูลคาใดมคี า ซํ้ากัน
โดยเพียงแตน ําขอมูลทุกคา ท่ีมีความถเ่ี ทา กบั 1 มาเรยี งตามลาํ ดับ ในกรณที ั่วไปเปนการจัดเรยี งจากนอ ยไปหามาก การจัดขอมูลแบบนท้ี าํ ให
ทราบคา ของขอมลู ไดดขี ้นึ วา คา ใดมีคาสงู สุด คา ใดเปน คา ตํ่าสุด
2. การแจกแจงความถี่ชนดิ ไมจัดขอ มลู เปนอันตรภาคชน้ั
ในกรณีที่ขอ มูลมคี าไมแตกตา งกันมากนกั และมีบางคาซํ้ากนั หากนําเสนอขอมูลดงั กลา วโดยการแจกแจงจัดเรียงแลว ตารางทสี่ รา ง
ไดก็จะประกอบดว ยสดมภทมี่ คี วามยาวมาก เนือ่ งจากมขี อมลู บางคา ปรากฏหลายครั้งตามจาํ นวนซาํ้ ดงั นน้ั เพ่ือมิใหสดมภมคี วามยาวเกินความ
จาํ เปนจึงตองเพ่มิ สดมภใ นตารางอกี หน่งึ สดมภ เพ่ือแสดงความถ่ขี องขอ มลู แตล ะคา นอกจากนนั้ การคาํ นวณหาความถ่ที แ่ี สดงรอยขดี (Tally)
อกี หนึ่งสดมภ
สรปุ ขน้ั ตอนการสรางตารางแจกแจงความถี่ชนดิ ไมจัดขอมูลเปนหมวดหมู กรณมี ีขอมูลบางคาซ้ํากนั ไดดังน้ี
1. จากขอมูล พจิ ารณาคาต่ําสุดและสูงสุด
2. ในสดมภแรกของตารางซึ่งแสดงคา ของขอมลู เขยี นเรียงลาํ ดบั ทกุ คา ของขอมูลท่ีเปน ไปได ระหวางคา ต่ําสุดและสูงสดุ ของ
ขอ มลู
3. ในสดมภที่ 2 ซ่ึงแสดงรอยขีดและจากสดมภแรกทีไ่ ดมาแลว พจิ ารณาแตล ะคาของขอ มูลวามีคา ซา้ํ เทา ใด โดยเขยี นรอยขดี
แทนจาํ นวนครั้งท่ีขอ มลู ปรากฏและเพื่อแสดงในการคํานวณหาความถต่ี อไป ควรแยกเขยี นรอยขดี เปน กลุม ๆ แตละกลุมมีรอยขดี ไมเ กิน 5
ขีด โดยถา กลุม ใดมรี อยขดี 5 ขีด ใหเขียนรอยขีดท่ี 5 ในแนวนอน ////
4. สดมภท ี่ 3 แสดงความถข่ี องขอมลู แตละคา ซ่ึงมักแทนดว ย f โดยการนบั จํานวนรอยขีดจากสดมภท ่ี 2 ถาขอมลู คา ใด
ไมม ีรอยขีดเลย แสดงวาความถีเ่ ปน เปน 0 ทัง้ น้ผี ลรวมของความถี่ของขอมลู ทุกคาตอ งเทากบั จาํ นวนของขอมูล
ตัวอยางที่ 1.3 จากคะแนนของการประเมนิ เพ่อื ปรับเงนิ เดือนและเงินโบนสั ของแผนกการผลิต ของโรงงานผลิตยางรถยนตย ห่ี อ AAA จํานวน 35
คน เพื่อใหเกดิ ความโปรง ใสจาํ เปนตอ งแยกการประเมนิ ออกเปนหลายดา น เชน ดา นจิตพสิ ยั การทาํ งานซงึ่ ยากที่จะประเมินออกมาเปนคะแนน
คณะกรรมการประเมนิ จึงกาํ หนดคะแนนใหดา นดังกลา ว 10% ดงั น้ี จงสรางตารางแจกแจงความถีช่ นิดไมจัดขอมูลเปนอันตรภาคชน้ั
9.00 8.50 9.50 10.00 9.00 8.00 7.00
9.50 8.50 9.50 7.50 9.00 9.00 9.00
8.00 8.00 8.00 8.00 9.50 9.50 8.50
8.50 9.00 8.50 8.00 9.50 8.00 9.00
9.00 9.00 9.00 8.50 9.00 7.50 8.00
วธิ ีทํา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเพลฬิ สายปาระ
- 11 -
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. การแจกแจงความถีช่ นิดจดั ขอมลู เปน อนั ตรภาคช้นั
เราไดท ราบมาแลววา สามารถแจกแจงความถขี่ องขอ มูลทม่ี คี า บางคา ซ้ํากนั ใหมีขนาดพอควรได โดยการเพิม่ สดมภแสดง
ความถี่ของขอมูล แตถ าขอมูลมีคา แตกตางกนั มากแลว สดมภแรกของตารางแจกแจงความถี่แสดงแตละคา ของขอ มูลดงั กลาวไดกะทดั รดั ย่ิงข้นึ
โดยการจัดหมวดหมูใหแกขอ มูล ดังเชน
I.Q. จาํ นวนนกั เรยี น
46–55 3
56-65 4
66-75 8
76-85 9
86-95 4
96-105 2
รวม 30
ตารางเปนตารางแจกแจงความถีร่ ะดับ I.Q. ของนกั เรยี น 30 คน ซง่ึ ขอมูลถกู บันทกึ ไวใ นลักษณะชว งคะแนน 6 ชว งคะแนน คือ 46-55
, 56-65 , 66-75 , 76-85 , 86-95 และ 96-105 ซ่ึงจะเรยี กวา ขดี จาํ กดั ช้ัน (Class Limit) โดยเรยี กจุดต่าํ สดุ ของแตล ะชว ง (46 ,56 ,66 ,76 ,86
และ 96 ) วา ขีดจํากัดชัน้ ลา ง (Lower Class Limit) และจุดสูงสุดของแตละชว ง (55 , 65 , 75 , 85 , 95 และ 105) วา ขดี จํากดั ชนั้ บน (Upper
Class Limit)
สําหรบั การพิจารณาชวงคะแนนแตล ะชว งคะแนนที่อยตู ิดกนั พบวา จะมีชว งคะแนนที่อยูระหวาง 2 ชวงคะแนนตดิ กนั จะไมอยใู นท้งั
สองชว งคะแนน เชน ชวงคะแนน 46-55 และ 56-65 พบวาจาํ นวนจริงระหวา ง 55-56 ไมอ ยูในชว งคะแนน 46-55 และ 56-65 ดงั น้นั ในทางปฏิบัติ
ตอ งหาขอบเขตทแ่ี ทจ ริงในการแบง แตล ะชว งคะแนนใหชัดเจน ซง่ึ สามารถกระทําโดยการเฉล่ยี ระหวางขดี จาํ กัดบนของช้ันกอ นหนา (55) กบั
ขีดจํากดั ลา งของชั้นหลงั (56) น่ันคือ คาที่แบง ระหวางชวงคะแนน 46-55 และ 56-65 คือ (55+56)/2 = 55.5 และสามารถหาคาท่ีใชแบงชว ง
คะแนนทง้ั หมด คอื 45.5-55.5 , 55.5-65.5 , 65.5-75.5 , 75.5-85.5 , 85.5-95.5 และ 95.5-105.5 ซึ่งจะเรียกวา ขอบเขตชั้น (Class Boundary)
โดยเรยี กจุดตํ่าสดุ ของแตล ะชวง วา ขอบเขตชนั้ ลา ง (Lower Class Boundary) และจุดสงู สดุ ของแตละชวงวา ขอบเขตชน้ั บน (Upper Class
Boundary) โดยที่ 45.5 , 55.5 , 65.5 , 75.5 , 85.5 และ 95.5 เปนขอบเขตลางของชวงคะแนน 46-55 , 56-65 , 66-75 , 76-85 , 86-95 และ 96-
105 ตามลําดบั และ 55.5 , 65.5 , 75.5 , 85.5 , 95.5 และ 105.5 ขอบเขตลางของชวงคะแนน 46-55 , 56-65 , 66-75 , 76-85 , 86-95 และ 96-
105 ตามลําดับ ซึ่งสามารถพิจารณาไดดังรูปที่ 13
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเพลฬิ สายปาระ
- 12 -
รปู ท่ี 13 แสดงขีดจํากัดและขอบเขตช้ัน
ถาพิจารณาผลตา งระหวา งขอบเขตบน และขอบเขตลางของแตล ะช้นั จะเรยี กคาน้ีวา ความกวางอันตรภาคชนั้ (Class Width) มกั นิยม
แทนดว ยสัญลักษณ I เชน ชว งคะแนน 46 – 55 มีความกวางอันตรภาคช้นั เปน I = 55.5 – 45.5 = 10 เปน ตน และคาเฉลย่ี ระหวางขีดจํากัดลา ง
และขีดจํากดั บนของแตล ะชน้ั (หรอื คาเฉลยี่ ระหวางขอบเขตลา งและขอบเขตบนของแตละชน้ั ) เรียกวา คา กง่ึ กลางชัน้ (Class Midpoint) เชน ชว ง
คะแนน 46 – 55 มีคากึ่งกลางช้ันเปน (46+55)/2 = 50.5 เปนตน และสามารถสรปุ รายละเอียดคา ตา งๆดงั กลา วไดดังตอไปน้ี
อนั ตรภาคชน้ั คากึง่ ความกวา ง ขีดจํากดั ขอบเขต
กลางช้นั อันตรภาคชั้น
ลา ง บน ลาง บน
46 – 55 50.5 10 46 55 45.5 55.5
56-65 60.5 10 56 65 55.5 65.5
66-75 70.5 10 66 75 65.5 75.5
76-85 80.5 10 76 85 75.5 85.5
86-95 90.5 10 86 95 85.5 95.5
96 - 105 100.5 10 96 105 95.5 105.5
นอกจากงา ยตอ การเขา ใจขอ มลู โดยภาพรวมแลว แตเ ราอาจจะเสียรายละเอียดบางสว นสําหรับขอ มูลไป เชน ชว งคะแนน 76-85 มี
ความถ่ี 9 แตถ าขอมูลที่แทจริงทั้ง 9 ตวั คอื 75.9 , 75.8 , 76.1 , 76.2 , 76.0 , 76.0 , 75.6 , 75.9 และ 76.0 ซึง่ พบวา มีคาคอ นไปทางขอบเขต
ลางของชนั้ ดงั นนั้ ถาเราพิจารณาทค่ี ากง่ึ กลางช้ัน คอื 80.5 จะไมส ามารถเปน ตวั แทนทด่ี ีของขอมลู กลาวได เปนตน และโดยทวั่ ไปการสรางตาราง
แจกแจงความถี่อันตรภาคชัน้ จะไมใหม จี ํานวนชน้ั นอ ยเกินไป เพราะจะทําใหข อ มูลสูญเสียรายละเอียดมาก และจะไมก ําหนดจํานวนช้นั มาก
เกนิ ไป เพราะจะทําใหตารางมีขนาดใหญเ กินไป
สําหรบั กรณที มี่ ขี อมูลอยูบางคา มีคา นอ ยหรอื มากผิดปกติ บางชน้ั ของตารางแจกแจงความถ่ีจะมีลักษณะเปน ชนั้ เปด (Open Class)
โดยช้ันแรกและชั้นสุดทายจะระบุขีดจํากัดบนและขีดจํากัดลางเพียงคา เดยี วตามลําดับ และมกั ระบคุ าํ วา “นอ ยกวา ” หรือ “มากกวา ” แทน ซง่ึ การ
ดําเนนิ การดังกลา วเพอื่ ทาํ ใหช ว งคลอบคลมุ คา ผิดปกตดิ งั กลาว แตจะมปี ญหาในการวเิ คราะหข อมลู เชน ในชน้ั แรกและชน้ั สุดทา ยจะไมสามารถ
คํานวณคากึง่ กลางชนั้ ได เปนตน และสามารถยกตวั อยางตาราง แสดงปรมิ าณจลุ วัตถ(ุ ไมโครกรมั ) ของทุกจังหวดั ในประเทศไทย ดงั น้ี
ปรมิ าณจลุ วัตถุ(ไมโครกรมั ) จาํ นวนจังหวัด
นอ ยกวา 19.9 7
20-29.9 25
30-39.9 15
40-49.9 12
50-59.9 9
60-69.9 4
3
มากกวา 70
การสรางตารางแจกแจงความถีช่ นดิ จัดขอมลู เปน อนั ตรภาคชั้น สามารถกระทาํ ไดดังนี้
1. หาพสิ ัยของขอมลู
จาก พิสัย = คา สูงสดุ – คา ตํา่ สุด
2. กาํ หนดจาํ นวนชนั้ ในทีน่ ก้ี ําหนดจาก จาํ นวนชน้ั = 1 + 3.3 logN
3. คํานวณหาความกวางของช้นั
จาก I = พิสยั /จํานวนช้นั
4. หาขดี จาํ กดั ในท่ีน้กี ําหนดจาก
ขดี จาํ กัดลา งของชั้นแรก = คาตํา่ สุด – (I*จํานวนชนั้ - พสิ ัย) / 2
5. หาขอบเขตช้ัน
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 13 -
6. นับจาํ นวนคา ของขอมูลในแตล ะชัน้ ดําเนินการเชน เดียวกนั กับการสรางตารางแจกแจงความถที่ ี่ไมเปน อตั รภาคชั้น สามารถ
สรา งตารางแจกแจงความถ่ีไดด ังตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยา งที่ 1.4 ขอ มูลจํานวนลูกคาทีเ่ ขามาใชบ รกิ ารทีร่ า นคาแหง หนึง่ ระหวา งเวลา 17.00-18.00 น. รวม 119 วัน ดังน้ี จงสรางตารางแจกแจง
ความถ่ีชนิดจดั ขอมูลเปน อันตรภาคชน้ั
50 64 55 51 60 41 71 53 63 64 54 52 56 59 65 60 61
46 59 66 45 61 57 65 62 58 65 62 56 62 57 57 52 63
55 61 50 55 53 57 58 66 53 56 59 43 67 52 58 47 63
64 46 59 49 64 60 58 64 42 47 57 61 65 78 60 66 65
59 62 56 63 61 68 57 51 61 51 61 59 74 62 49 63 63
60 59 67 52 52 58 64 43 60 62 59 63 56 53 54 67 55
48 62 56 63 55 73 60 69 53 66 48 58 64 58 60 55 61
วิธที าํ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 14 -
การแจกแจงความถส่ี ัมพัทธ
เปนการนําเสนอในรูปตารางที่ดัดแปลงมาจากตารางแจกแจงความถ่ี กลาวคอื ความถีส่ มั พทั ธข องชัน้ ใดชั้นหนงึ่ เทากบั ความถี่ของ
ชั้นดังกลา วหารดวยผลรวมของความถีห่ รอื ความถที่ ง้ั หมด โดยผลรวมของความถีส่ ัมพัทธข องทุกชัน้ เทา กับ 1 และเรียกตารางท่ีไดวา ตาราง
แจกแจงความถี่สัมพัทธ หรอื ถาคณู แตละคาของความถ่ีสัมพทั ธดว ย100 เพ่อื มําใหเ ปน รอยละ (ผลรวมของคา ดงั กลาวทั้งหมดจะเทา กบั 100%
และเรียกวา การแจกแจงรอยละ
จากตารางการแจกแจงจํานวนลกู คา ทีเ่ ขามาใชบ ริการท่รี านคา แหงหนง่ึ ระหวางเวลา 17.00-18.00 น. รวม 120 วัน สามารถสรา ง
ตารางแจกแจงความถสี่ ัมพทั ธแ ละรอยละความถี่สัมพัทธด งั ตอ ไปนี้
ขีดจาํ กัด ความถี่ ความถ่ีสัมพัทธ รอ ยละความถส่ี ัมพัทธ
41-45 5 0.04 4.17
46-50 10 0.08 8.33
51-55 22 0.18 18.33
56-60 35 0.29 29.17
61-65 35 0.29 29.17
66-70 9 0.08 7.50
71-75 3 0.03 2.50
76-80 1 0.01 0.83
กราฟของขอ มลู แจกแจงความถ่ี
การแจกแจงความถ่ีดว ยกราฟสามารถกระทําได 3 วิธี คือ ฮิทโทแกรม รูปหลายเหล่ียมความถี่ และโคงความถ่ี ดังรายละเอียด ตอไปนี้
1. ฮิทโทแกรม
ฮิสโทแกรม (Histogram) หรือฮิสโทแกรมความถี่ (Frequency Histogram) คอื กราฟแทงความถ่ี โดยในกรณจี ดั ขอมลู เปน อันตร
ภาคชน้ั มวี ธิ ีเขียนกราฟ ดังนี้
1. ลากแกน X และแกนY ตดั มุมฉากทีจ่ ุด 0 ซึ่งเปนจดุ กาํ เนิด โดยแกน X แสดงคาของขอ มลู และแกน Y แสดงความถ่ีของชั้น
ทีต่ างระบุคาดวยมาตราสวนท่เี หมาะสม เฉพาะแกน X สามารถระบคุ า ได 2 แบบ แบบแรกใหระบคุ าขอบเขตลางและขอบเขตบนของแตละ
ชน้ั สวนแบบท่ี 2 ใหระบุคา ก่งึ กลางของแตละชนั้ สว นในกรณที ขี่ อมลู มีคาเริม่ จากคามากๆ เราสามารถลดความยาวของแกน X โดยการ
ทําเสน หยักทชี่ ว งเริม่ ตนของแกน X
2. บนแกน X เขยี นแทงส่ีเหลี่ยมผนื ผา ใหเรียงชิดกนั โดยใหจ ุดกึง่ กลางของแตละแทง มตี าํ แหนง ตรงกบั คากึ่งกลางของแตล ะช้ัน
ดังน้ันจํานวนแทงตอ งเทากบั จํานวนชั้นเสมอ
3. แตล ะแทง มคี วามกวา งเทา กับความกวา งของชั้น โดยถา ทกุ ชัน้ มคี วามกวางเทา กนั หมด ใหใ ชค วามถ่ีของแตละชนั้ เปน สวนสงู
ของแตล ะแทงไดเ ลย สวนในกรณีที่ความกวางของแตล ะชัน้ ไมเทา กนั
สว นสงู ของแทงใดๆ = ความถข่ี องช้นั ดังกลาว/ความกวา งของชน้ั ดังกลา ว
2. รปู หลายเหล่ียมความถ่ี
รปู หลายเหลย่ี มความถ่ี คือกราฟเสนทไ่ี ดจ ากการลากเสนตรงเช่ือมจุดก่งึ กลางปลายยอดทกุ แทง ของฮิทโทแกรม ดงั ตัวอยา งท่ี 3
3. โคง ความถี่
โคงความถ่ี (Frequency Curve) คอื เสนโคง ท่ีไดจากการปรับรปู หลายเหลยี่ มความถใี่ หเรยี บ บางครัง้ จงึ เรียกวา รปู หลายเหลยี่ มถี่ที่
ปรบั เรียบ (Smoothed Frequency Polygon) ดังรปู ท่ี.... โดยพืน้ ทร่ี ะหวางโคง ความถ่แี ละแกน X จะเทากบั พ้นื ท่รี ะหวางรูปหลายเหลยี่ มความถี่
และแกน X และเรียกเสน โคง ท่ีไดจากการปรบั รูปหลายเหล่ียมสัมพัทธแ ลว วา โคงความถส่ี มั พทั ธ (Relative Frequency Curve) โดยพน้ื ที่ระหวา ง
โคงกับแกน X มีคา เทากบั 1 และสามารถพจิ ารณาการสรางกราฟทง้ั สามรูปแบบดงั ตัวอยา ง
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเ พลฬิ สายปาระ
- 15 -
ตวั อยางที่ 1.5 จากตารางแสดงระดบั I.Q. ของนกั เรียน 30 คน สามารถสรา งฮิทโทแกรม รูปหลายเหลยี่ มความถี่ และโคง ความถี่ ไดด ังตอ ไปน้ี
1. หาขอบเขตชัน้ (หรือ จดุ กง่ึ กลางช้ัน) ไดดงั ตารางความสงู ของแตล ะแทง
I.Q. ขอบเขตลาง ขอบเขตบน จํานวนนกั เรยี น
46 – 55 ............ ............ 3
56 - 65 ............ ............ 4
66 - 75 ............ ............ 8
76 - 85 ............ ............ 9
86 - 95 ............ ............ 4
96 - 105 ............ ............ 2
รวม 30
2. หาความสงู ของแตละแทง ไดดงั ตาราง
จาก สว นสงู ของแทงใดๆ = ความถ่ขี องช้นั ดังกลา ว / ความกวา งของชัน้ ดังกลาว
I.Q. ความสงู แทง ท่ี i
46 – 55 ............
56 - 65 ............
66 - 75 ............
76 - 85 ............
86 - 95 ............
96 - 105 ............
3. นําคา ตา งๆท่ไี ดมาเขยี นเปน ฮิทโทแกรม ดังรปู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
4. นําฮิทโทแกรมที่ไดมาเขียนรูปหลายเหล่ียมความถี่ โดยหาจดุ กึง่ กลางช้นั และลากเสนเชอื่ มจดุ ดงั กลาว ดงั รูป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 16 -
5. นาํ นาํ ฮิทโทแกรมทไ่ี ดมาเขียนรูปหลายเหล่ยี มความถี่ โดยหาจดุ ก่งึ กลางช้ันและลากเสนเชอ่ื มจดุ ดังกลา ว ดังรูป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
จากโคงความถ(่ี หรือโคง ความถี่สมั พัทธ) ทีบ่ อกใหท ราบถึงลักษณะการแจกแจงความถี่ (หรอื ความถสี่ มั พทั ธ) ของขอมูล สามารถแบง
ตามรปู รา งไดหลายชนิด ดังน้ี
1. รูปสมมาตรหรือระฆัง (Symmetrical หรือ Bell-shaped) ไดแ กโ คงทีม่ ียอดซง่ึ แสดงความถ่สี งู สดุ อยูต รงกลางพอดี และหาก
พบั ครงึ่ โคง ณ จดุ ดังกลาวปลายโคง ทั้งสองดา นจะทับกันพอดี ซ่งึ หมายความวามคี วามถเ่ี ทากันนั่นเอง ขอมูลสว นมากมีการแจกแจงดวยโคง รปู น้ี
โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ที่เรยี กวา โคง ปกติ (Normal Curve)
2. รูปไมส มมาตรหรืเบ (Moderate Asymmetrical หรอื Skewed) ไดแ กโ คงทม่ี ีปลายดานใดดานหน่ึงลาดยาวกวา อกี ดา นหนึ่ง
โดยถา ปลายดานหนง่ึ ลาดยาวไปทางขวาจะกลาววา เบขวา (Skewed to the right) หรือความเบเปนบวก (Positive Skewness) และถา ปลาย
ดานหนงึ่ ลาดยาวไปทางซายจะกลาววา เบซาย (Skewed to the left) หรือความเบเ ปน ลบ (Negative Skewness)
3. รปู ตวั J หรือ J กลับ (J shaped หรือ Reverse J shaped) ไดแ กโคงท่ีความถ่สี ูงสดุ อยทู ี่ปลายดานใดดานหน่ึง
4. รูปตัว U (U shaped) ไดแกโคง ท่ีความถี่สูงสดุ อยทู ่ปี ลายท้งั สองดาน
5. โคงสองยอด (Binodal) ไดแ กโ คงท่ีมีความถ่ีสูง 2 คา
6. โคงหลายยอด (Mutiinodal) ไดแกโคง ทมี่ คี วามถี่สงู หลายคา
ซึ่งโคง ความถ่ีสามารถสังเกตไดจ ากรูปตอไปนี้
f(t) t
f(t)
รปู สมมาตรหรือระฆงั เบข วา โคง สองยอด
โคงหลายยอด
t รูปตวั J อาจารยเพลฬิ สายปาระ
เบซา ย รปู ตวั U
รปู ตัว J กลบั
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1
- 17 -
ตารางแจกแจงความถ่ีสะสม
ในบางกรณเี ราไมไดม งุ ความสนใจจาํ กดั เพียงความถข่ี องแตละชั้นของขอมูล แตส นใจความถี่ท้งั หมดของทุกคา ของขอมูลท่ีมีคา นอ ย
กวาหรือนอยกวาคา ขอบเขตของช้นั ใดชนั้ หนึ่งโดยเรยี กความถ่ีท่ีไดนีว้ า ความถ่ีสะสม และเรียกตารางทไ่ี ดวา ตารางแจกแจงความถ่สี ะสม ซึ่ง
เราสามารถแจกแจงความถีส่ ะสมได 2 วธิ ี ดงั นี้
1. การแจกแจงความถสี่ ะสมชนิดนอ ยกวา
เปนการแจกแจงในรูปตารางท่ีแสดงถงึ ความถ่สี ะสมของขอ มูลทกุ คา ทม่ี คี านอ ยกวา ขอบ เขตบนของแตละช้นั และจากตารางการแจก
แจงจาํ นวนลูกคาท่เี ขา มาใชบ ริการทีร่ านคา แหงหน่ึงระหวา งเวลา 17.00-18.00 น. รวม 120 วนั สามารถสรางตารางแจกแจงความถ่ีสะสมชนดิ
นอยกวา ดังตอไปน้ี
2. การแจกแจงความถี่สะสมชนิดมากกวา
เปนการแจกแจงในรูปตารางท่ีแสดงถงึ ความถีส่ ะสมของขอ มลู ทกุ คาทีม่ คี า มากกวา ขอบเขตลา งของแตล ะชนั้ และจากตารางการแจก
แจงจํานวนลกู คาท่เี ขามาใชบ ริการทีร่ านคาแหง หนึง่ ระหวางเวลา 17.00-18.00 น. รวม 120 วนั สามารถสรางตารางแจกแจงความถี่สะสมชนดิ
นอยกวาดังตอ ไปน้ี
1.3.2 การวดั แนวโนม เขา สูสวนกลาง
การวัดแนวโนม เขาสูสวนกลางของขอมูลนนั้ เปนการหาตวั แทนของขอมูล โดยคํานวณบนขอบเขตของขอ มูล ซ่ึงตวั แทนของขอ มูลดงั กลาวมี
อยูห ลายคา ดว ยกนั ดังนี้
1. คาเฉลย่ี (Mean) ประกอบดวย
- คาเฉลยี่ เลขคณติ (Arithematic Mean)
- คา เฉลย่ี เรขาคณติ (Geometric Mean)
- คา เฉลยี่ ฮารโมนิค (Harmonic Mean)
2. มธั ยฐาน (Median)
3. ฐานนิยม (Mode)
คาเฉล่ีย
คาเฉลยี่ เปนคากลางของขอ มูลชนิดหน่ึงทน่ี ิยมนาํ มาเปน ตวั แทนของขอมูล นิยมแทนดว ย X สาํ หรับคา เฉลี่ยของตัวอยาง และ μ
สําหรับคา เฉล่ียของประชากร ซ่งึ สามารถจาํ แนกคาเฉลยี่ ออกเปน 3 รปู แบบ ดงั นี้
คา เฉลี่ยเลขคณิต (Arithematic Mean) เปน คา เฉลยี่ ทนี่ ิยมใชม ากท่สี ุด เพราะมีคุณสมบัติของตวั ประมาณท่ีดี สามารถคาํ นวณได
ตามลักษณะของขอ มลู ดงั น้ี
- สาํ หรบั ขอ มลู ที่ไมไดแ จกแจงความถี่
ให Xi แทนคาของขอมูลตัวท่ี i จะไดว า สตู รทใ่ี ชในการคํานวณคาเฉลยี่ เลขคณติ คอื
n
∑ Xi
X i=1 โดยที่ n เปนขนาดของขอ มูล
=
n
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
- 18 -
{ } { } { }ตวั อยางท่ี 1.6 กําหนดให A = 1 , 3 , 5 , 7 , 13 , 17 , 20 , B = 1 , 5 , 20 , C = 5 , 7 , 13 , 20
{ }และD = 1 , 7 , 13 , 17 , 20 เปน เซตของขอ มูล 4 ชดุ จงหาคาเฉลยี่ เลขคณิตสาํ หรบั ขอ มลู ทงั้ 4 ชุดดงั กลาว
วธิ ีทํา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
- สําหรบั ขอมลู ทแ่ี จกแจงความถี่ และไมจ ดั เปน อนั ตรภาคช้นั
ลกั ษณะของขอมลู
ขอ มลู ( Xi ) ความถี่ ( fi )
X1 f1
X2 f2
. .
..
..
Xm fm
ถาตอ งการคาํ นวณคา เฉลย่ี เลขคณติ สามารถดําเนนิ การไดดงั น้ี
ให Xi แทนคา ของขอ มลู ตัวท่ี i จะไดวา สตู รทใี่ ชใ นการคํานวณคา เฉลย่ี เลขคณิต คือ
m
∑ fi Xi m
X i=1 โดยที่ เปน ขนาดของขอมูล
= m n = ∑ fi
i=1
∑ fi
i=1
ตัวอยา งที่ 1.7 จากขอ มูลในตารางตอ ไปน้ี ขอ มลู ( Xi ) ความถี่ ( fi )
จงหาคาเฉลย่ี เลขคณติ
2 3
5 8
9 10
13 7
18 2
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเ พลฬิ สายปาระ
- 19 -
วิธีทํา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
- สาํ หรบั ขอ มูลท่ีแจกแจงความถี่ และจัดเปน อันตรภาคชนั้
ลกั ษณะของขอ มูล ดงั ตาราง
อันตรภาคชั้น ความถ่ี ( fi ) Xi
L1 − U1 f1 X1 = L1 + U1
2
L2 − U2 f2 L2 + U2
X2 = 2
.. .
.. .
.. .
Lm − Um fm Lm + Um
Xm = 2
โดยที่ Li , Ui เปนขดี จาํ กัดลาง และขดี จาํ กดั บน ช้ันท่ี i ตามลาํ ดับ
ถาตองการคํานวณคา เฉลย่ี เลขคณติ สามารถดาํ เนนิ การไดดังน้ี
Li Ui
ขนั้ ที่ 1 หาตัวแทนของแตล ะอันตรภาคช้ัน แทนดว ย Xi = +
2
ขน้ั ที่ 2 คาํ นวณคาเฉล่ียเลขคณิต จากสตู ร
m
∑ fi Xi m
X i=1 โดยที่ n= เปน ขนาดของขอ มูล
= m ∑ fi
i=1
∑ fi
i=1
ตวั อยา งที่ 1.8 ในการศึกษามลภาวะของอากาศ ในเขตชมุ ชนทีม่ รี ถหนาแนน ของจงั หวดั ตา งๆ โดยสมุ ตัวอยางอากาศจังหวดั ละ 1 ลกู บาศกเ มตร
บนั ทกึ ปรมิ าณจุลวัตถุ ไดดงั ตาราง
ปรมิ าณจลุ วตั ถ(ุ ไมโครกรมั ) 10-19.9 20-29.9 30-39.9 40-49.9 50-59.9 60-69.9 70-79.9
จาํ นวนจงั หวัด 7 25 15 12 9 4 3
จงหาปรมิ าณจลุ วตั ถเุ ฉลี่ย โดยใชค า เฉลยี่ เลขคณิต
วิธีทาํ อาจารยเพลฬิ สายปาระ
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1
- 20 -
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
คาเฉลีย่ แบบถว งนํ้าหนัก (Weight Arithmatic Mean)
ถามขี อมูลท่ีแตละตัวมนี ้าํ หนักที่แตกตา งกนั ดังตาราง
ขอ มูลชดุ ท่ี ขอมลู ( Xi ) น้ําหนกั
X1
1 X2 W1
W2
2 .
. .
. . .
. .
. Xk
Wk
k
สามารถคาํ นวณคา เฉล่ยี ถว งนาํ้ หนัก ดงั น้ี
W1X 1 + W 2 X 2 + ... + Wk X k k Wi X i
W1 + W 2 + ... + Wk
∑
XW = = i=1
k
Wi
∑
โดยท่ี XW เปน คา เฉลย่ี ถว งนํา้ หนกั Xi เปนคาเฉลีย่ ขอมูลตัวท่ี i i=1
Wi เปน นํา้ หนักขอมลู ตวั ท่ี i k เปนจาํ นวนขอมลู ทง้ั หมด
ตวั อยางท่ี 1.9 นกั ศกึ ษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร คนหนึ่งไดรับการประเมนิ เกรดในภาคเรียนท่ี 1/2549 ดงั
ตาราง จงคาํ นวณเกรดเฉล่ยี ของนกั ศึกษาคนนี้
ลําดับ รายวชิ า หนวยกติ รวม เกรด
1 การเขียนรายงานและการใชหองสมดุ 3A
2 ภาษาองั กฤษ 1 3B
3 ฟส ิกส 1 3 D+
4 เรขาคณิตวิเคราะห 3C
5 เคมีท่ัวไป 3 C+
6 วทิ ยาการคอมพวิ เตอรเบ้ืองตน 3 C+
7 การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร 1 3 C+
8 พลศึกษา 1A
วธิ ีทํา
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเ พลฬิ สายปาระ
- 21 -
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
คาเฉลีย่ เลขคณิตรวม (Combination Arithmatic Mean)
ถา มีขอมลู ประเภทเดยี วกัน หลายชุด ซึ่งแตละชดุ ไดท ําการคาํ นวณคาเฉลย่ี ไวแลว ดงั ตาราง
ขอ มูลชุดที่ ขนาดตัวอยาง ( ni ) คา เฉล่ียแตล ะชุด ( Xi ) ni Xi
n1 X1
1 n1 X1 n2 X2
2 n2 X2
.. . .
.. ..
. . ..
k
nk Xk nk Xk
สามารถคาํ นวณคาเฉลยี่ เลขคณติ รวม ดงั นี้
k
∑ni Xi
X com = n1X1 + n2X2 + ... + nk Xk =
n1 + n2 + ... + nk i=1
k
∑ ni
i=1
โดยที่ Xcom เปนคาเฉลย่ี รวม
Xi เปนคาเฉลย่ี ขอมูลชุดที่ i
kni เปน ขนาดขอมูลชุดที่ i
เปน จาํ นวนชดุ ขอมลู ทง้ั หมด
ตัวอยา งท่ี 1.10 โรงงานแหงหนงึ่ มกี ารแบงงานเปน 8 แผนก แตล ะแผนกมีรายไดเ ฉลยี่ และจํานวนพนกั งานดังตาราง
แผนก จาํ นวนพนักงาน รายไดเ ฉลย่ี (พันบาท)
A 500 12.50
B 200 15.05
C 120 17.00
D 80 18.50
E 50 19.00
F 30 21.50
G 20 24.00
H5 30.50
จงคํานวณรายไดเฉลย่ี ของโรงงานแหงน้ี โดยใชคา เฉลย่ี เลขคณิต
วิธที ํา
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 22 -
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
คา เฉล่ียเรขาคณิต (Geometric Mean) เปน คา กลางของขอ มูลทค่ี าํ นวณจากรากที่ n ของผลคูณทุกๆคาของขอ มลู สามารถ
คํานวณไดด ังนี้
XG =n X1X2 ...Xn =n n X i โดยท่ี Xi คือคาของขอมลู คา ท่ี i
∏
i=1
{ } { } { }ตวั อยางที่ 1.11 กาํ หนดให A = 1 , 3 , 5 , 7 , 13 , 17 , 20 , B = 1 , 5 , 20 , C = 5 , 7 , 13 , 20
{ }และD = 1 , 7 , 13 , 17 , 20 เปน เซตของขอ มูล 4 ชดุ จงหาคาเฉลยี่ เรขาคณติ สําหรบั ขอ มูลทงั้ 4 ชุดดงั กลาว
วิธที ํา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สําหรับขอ มูลอยูในรูปตารางแจกแจงความถี่ สามารถคํานวณคาเฉลย่ี เรขาคณิต จากสตู ร
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเพลฬิ สายปาระ
- 23 -
XG = n X1f1 X2f2 ...Xkfk โดยท่ี n = k fi
∑
i=1
คา เฉล่ียฮารโ มนิค (Harmonic Mean) เปน คา แนวโนม เขา สูสว นกลางที่สาํ คญั ในงานทางดา นฟสิกส และวศิ วกรรมศาสตร สามารถ
คํานวณคา เฉลยี่ ฮารโ มนคิ จากสตู ร n
XH = i∑=n1⎜⎛⎝⎜ 1 ⎠⎟⎞⎟
Xi
{ } { } { }ตัวอยางที่ 1.12 กาํ หนดให A = 1 , 3 , 5 , 7 , 13 , 17 , 20 , B = 1 , 5 , 20 , C = 5 , 7 , 13 , 20
{ }และD = 1 , 7 , 13 , 17 , 20 เปนเซตของขอมลู 4 ชดุ จงหาคาเฉลย่ี ฮารโมนิคสําหรบั ขอ มูลทัง้ 4 ชุดดงั กลาว
วิธีทํา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
มัธยฐาน
มธั ยฐาน เปนคากลางของขอ มูลอีกชนิดหนึ่งทใ่ี หความสําคญั กบั ตําแหนงของขอ มลู เปนสําคัญ น่ันคือ คามธั ยฐานตองอยตู าํ แหนง ตรง
กลางของขอมูลท้งั หมดทถี่ กู เรยี งลําดบั จากคา นอ ยไปมาก หรือจากคามากไปนอย สาํ หรับแนวทางการคํานวณสามารถดาํ เนนิ การไดดงั ตอ ไปน้ี
- สําหรบั ขอมลู ท่ไี มไ ดแจกแจงความถี่
1. จํานวนขอ มลู เปนจาํ นวนคี่ สามารถหามธั ยฐานตามข้ันตอนตอ ไปนี้
ขนั้ ท่ี 1 เรียงขอมูลจากคานอยไปคา มาก (หรือตรงกันขา ม)
n+1
ขัน้ ที่ 2 คาํ นวณตาํ แหนง มธั ยฐาน จาก ตาํ แหนง มัธยฐาน = 2
เม่ือ n เปนจาํ นวน ขอ มูลทั้งหมด
ขนั้ ที่ 3 หามธั ยฐาน โดยนาํ ตาํ แหนง ทีค่ ํานวณไดในขัน้ ท่ี 2 เทยี บกับขอ มูล
ที่เรยี งลาํ ดับใน ขัน้ ที่ 1 นั่นคอื ขอ มูลตัวใดท่ีอยใู นตาํ แหนง
n+1
2 คอื มธั ยฐาน
เชน ขอ มูล 3 , 7 , 5 , 2 , 1 , 6 , 6 สามารถคํานวณมัธยฐาน ดงั นี้ อาจารยเพลฬิ สายปาระ
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1
- 24 -
ข้นั ท่ี 1 เรยี งขอมูลจากคานอยไปคามาก
1,2,3,5,6,6,7
ข้ันท่ี 2 คาํ นวณตําแหนงมธั ยฐาน 7+1
2
จะไดว า ตาํ แหนงมัธยฐาน = = 4
ขน้ั ที่ 3 หามธั ยฐาน เนอ่ื งจาก ตําแหนง มธั ยฐานเทากับ 4 ซง่ึ ตรงกบั คาขอมูล คอื 5
ดังนน้ั มธั ยฐานของขอ มลู ชดุ น้ี คอื 5
2. จาํ นวนขอ มูลเปน จาํ นวนคู ดําเนินการเชน เดยี วกับกรณจี ํานวนขอ มูลเปน เลขคี่เพยี งแตกรณจี ํานวนขอ มูลเปนจาํ นวนคู
นั้น คา ตาํ แหนงทคี่ ํานวณไดจะอยรู ะหวา งคา ของขอมลู สองคา ดงั นนั้ การหามัธยฐานจงึ จาํ เปน ตองนาํ คา ของขอ มลู ท้ังสองมาเฉลย่ี ดงั ตัวอยาง
เชน ขอมูล 10 , 15 , 5 , 7 , 13 , 15 , 9 , 20 สามารถคํานวณมธั ยฐาน ดงั น้ี
ขั้นที่ 1 เรียงขอมูลจากคานอ ยไปคา มาก
5 , 7 , 9 , 10 , 13 , 15 , 15 , 20
ข้นั ที่ 2 คํานวณตําแหนง มธั ยฐาน 8+1
2
จะไดวา ตาํ แหนง มัธยฐาน = = 4.5
ขัน้ ที่ 3 หามธั ยฐาน เนือ่ งจาก ตาํ แหนง มัธยฐานเทา กบั 4.5 ซึง่ อยูระหวาง
คาขอมูล คอื 10 และ 13 10 + 13
2
ดังนั้น มธั ยฐานของขอมูลชดุ น้ี คือ = 11.5
- สาํ หรบั ขอ มลู ท่แี จกแจงความถี่ และไมจ ดั เปนอันตรภาคชนั้
ลกั ษณะของขอ มลู ดงั ตาราง ความถี่สะสม ( c f )
ขอ มูล ( Xi ) ความถี่ ( fi ) f1
X1 f1
X2 f2 f1+ f2
.. .
.. .
.. .
Xm fm
m
∑ fi
i=1
สาํ หรบั การคาํ นวณคา มธั ยฐานสามารถดําเนินการเชน เดียวกับการคํานวณมธั ยฐานกรณขี อมลู ไมไดแ จกแจงความถี่ เพยี งแตใ นกรณนี ้ี
ขอมลู ถกู เรยี งลําดับกอ นแลว ดงั น้นั จงึ ดาํ เนินการคํานวณตาํ แหนงมธั ยฐาน และหาความถี่สะสม หลังจากนั้นนําตําแหนง ท่ีไดไปเทียบกับความถี่
สะสม
ตวั อยา งท่ี 1.13 จากขอมูลดังตารางตอไปน้ี จงหามัธยฐาน
ขอมลู ( Xi ) ความถี่ ( fi )
5 3
77
12 9
14 5
20 2
25 2
28
วิธที ํา
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 25 -
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- สําหรับขอมลู ทีแ่ จกแจงความถี่ และจดั เปนอันตรภาคช้นั
ลักษณะของขอ มูล ดงั ตาราง ความถี่ ( fi ) ความถี่สะสม ( c f )
อนั ตรภาคช้นั f1 f1
L1 − U1
L2 − U2 f2 f1+ f2
.. .
.. .
. . .
m
Lm − Um fm
∑ fi
โดยท่ี Li , Ui เปน ขดี จาํ กัดลา ง และขดี จาํ กัดบน ช้ันที่ i ตามลาํ ดับ
i=1
สาํ หรับการคาํ นวณมธั ยฐาน สามารถดําเนินการดงั นี้
ขนั้ ท่ี 1 หาขอบเขตจํากัดชนั้ จาก Ui−1 + Li Ui + Li+1
2 2
ขอบเขตจํากัดลา งชน้ั ท่ี i = ขอบเขตจาํ กดั บนช้ันท่ี i =
ขัน้ ที่ 2 หาความถ่สี ะสม (ในตารางหลักท3ี่ )
n
ข้ันท่ี 3 คํานวณตําแหนงมธั ยฐาน จะไดวา ตาํ แหนงมัธยฐาน = 2
ข้ันท่ี 4 นําตําแหนงมธั ยฐานทไ่ี ดไ ปเทยี บความถ่สี ะสม เพ่ือหาชัน้ ท่ีมธั ยฐานอยู
ขน้ั ที่ 5 หามัธยฐาน จากสตู ร
Md = L + ⎝⎛⎜ n − cfL ⎞⎟⎠ I
2 fMd
Md เปน มธั ยฐาน L
โดยท่ี เปนขอบเขตจํากัดลางของชัน้ ที่มธั ยฐานอยู n เปน จาํ นวนขอ มูล
fMd เปน ความถ่ีของช้นั ทม่ี ธั ยฐานอยู I เปน ความกวา งของชนั้ ทีฐ่ านนิยมอยู
ตวั อยาง 1.14 ในการวัดระดับความสามารถทางสติปญญา (I.Q.) ของนักเรยี นหองหนึง่ บนั ทึกคา สังเกต ดงั ตาราง จงหามัธยฐาน
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 26 -
I.Q. 46-55 56-65 66-75 76-85 86-95 96-105
จํานวนนกั เรียน 34894 2
วธิ ที ํา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ฐานนิยม
เปนคากลางของขอมูลอกี ชนดิ หน่งึ โดยจะใหค วามสําคญั กบั ขอ มูลท่ีมีความถสี่ ูงสุด ซงึ่ การหาฐานนิยมนนั้ สามารถดําเนนิ การได
ดงั ตอ ไปน้ี
- สาํ หรบั ขอ มลู ทไ่ี มไ ดแ จกแจงความถ่ี
ฐานนยิ ม คือ คา ของขอ มลู ทม่ี ซี ํา้ ครง้ั มากที่สุด หรือสําหรบั ขอ มูลท่ีแจก
แจงความถี่ แตไ มจัดเปนอันตรภาคชนั้ ฐานนิยม คือ คาของขอ มลู ท่ีมคี วามถีส่ ูงสดุ
เชน ขอมลู 5 , 3 , 2 , 7 , 4 , 3 , 5 , 3 , 4
ฐานนิยม คือ 3 เนื่องจากมคี าซ้ํากนั 3 ครง้ั
ขอ มูล 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 3 , 4 , 5
ฐานนยิ ม คอื 3 , 4 , 5 เนอื่ งจากมีคาซาํ้ กันเทากนั 2 ครงั้
ขอมูล 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5
ไมม ฐี านนิยม เนอื่ งจากขอ มลู มีคาซ้าํ กันเทา กันทกุ คา
และถาขอมูลทต่ี องการหาฐานนยิ มอยูในรูปตาราง ดังตอไปน้ี
ขอ มูล ( Xi ) ความถี่ ( fi )
5 3
77
12 9
14 5
20 2
25 2
ฐานนิยม คือ 12 เน่ืองจากมคี วามถ่สี ูงสดุ คอื 9
- สาํ หรบั ขอ มูลท่แี จกแจงความถี่ และจดั เปน อันตรภาคช้นั
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 27 -
สามารถคาํ นวณฐานนิยม จากสูตร
Mod = L + ⎡ − fmax − fl − fh ⎤ I
⎣⎢(fmax fl )+ (fmax )⎥⎦
โดยท่ี Mod เปน ฐานนยิ ม L เปน ขอบเขตจาํ กัดลา งของช้นั ทฐี่ านนยิ มอยู fl เปนความถีข่ องชั้นกอนชัน้ ที่ฐานนิยมอยู
fmax เปน ความถี่ของช้นั ทฐ่ี านนยิ มอยู fh เปน ความถ่ีของชนั้ หลังช้ันที่ฐานนิยมอยู และ Iเปน ความกวางของช้นั ท่ฐี านนิยมอยู
ตวั อยางท่ี 1.15 จากตัวอยาง 1.14 ของนกั เรยี น จงหาฐานนิยม
วธิ ที ํา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ความสัมพันธระหวางคา กลางท้ัง 3 ชนิด
1. ถา คากลางทงั้ สามมคี าเทากนั นนั่ คอื X = Md = Mod จะไดว า เสนโคงการแจกแจงของขอมูลจะมลี ักษณะสมมาตร
(Symmetry) สามารถแสดงดังรปู
2. ถาคา เฉลย่ี มากที่สดุ และคา ฐานนิยมมีคา นอยที่สุด น่นั คือ X > Md > Mod จะไดวา เสน โคงการแจกแจงของขอ มลู จะมี
ลกั ษณะเบข วา สามารถแสดงดังรปู
3. ถาคาเฉลย่ี นอ ยทีส่ ุดและคาฐานนิยมมีคามากท่สี ุด น่ันคอื X < Md < Mod จะไดวา เสน โคง การแจกแจงของขอมลู จะมี
ลักษณะเบซา ย สามารถแสดงดังรูป
นอกจากน้ี ยงั สามารถเขียนสมการความสมั พนั ธของทั้ง 3 คา ไดดงั น้ี อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1
- 28 -
X − Mod = 3 (X − Md)
สาํ หรบั ขอ มูลชุดหน่ึง ถาตองการทราบคากลางของขอ มลู เพ่อื ใชเปน ตัวแทนของขอมูลชุดน้ันๆ ส่ิงที่ตอ งคํานึงถึงตอ ไปน้ี คือ
1. ถาขอ มลู มลี กั ษณะสมมาตร ใชค า กลางใดกไ็ ดเปนตวั แทนของขอ มูล
2. ถาขอ มูลมีลักษณะไมสมมาตร ควรใชมัธยฐานเปน ตัวแทนของขอ มูลเพราะคา มัธยฐานเปนคา ทีอ่ ยูระหวาง คา เฉล่ยี และฐาน
นิยม
1.3.3 การวดั การกระจายของขอมลู (Measure of Variation)
ในการหาขอสรปุ ใหก บั ขอ มูลโดยใชค า กลางของขอ มูลเพียงอยา งเดยี ว อาจจะไมเพียงพอทีจ่ ะใชเปนขอสรุปทีด่ ไี ดสําหรบั บาง
สถานการณ เชน
ขอมูลชุดท่ี 1 55678
ขอ มลู ชุดที่ 2 1 2 3 2 23
ขอ มลู ชดุ ท่ี 3 0.75 0.25 0.25 14.5 15.25
พบวา คาเฉลยี่ ของขอมูลทัง้ สามชดุ มคี าเทา กนั คือ 6.83 แตถาสังเกตจะเหน็ วา ขอ มูลชดุ ท่ี 1 มคี าใกลเ คียงกัน สว นขอมลู ชุดที่ 2
ขอ มลู มีบางคาท่แี ตกตางจากคาจากคาอ่นื ๆ และสวนขอมูลชดุ ท่ี 3 ขอมลู บางสว นมีคามาก บางสว นมีคา นอย ซ่งึ ลกั ษณะของขอมูลดงั กลาวน้ีจะ
เรียกวา การกระจายของขอ มูล สามารถพิจารณาไดหลายคา ดังตอ ไปน้ี
1. พิสยั (Range)
2. สวนเบี่ยงเบนเฉลย่ี (Mean Deviation or Average Deviation : A.D.)
3. ความแปรปรวน (Variance) และสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : s or S.D.)
4. สมั ประสิทธิ์ความแปรผนั (Coefficient of Variation)
5. พสิ ยั ควอไทล (Inter Quartile Range)
ซงึ่ สามารถพจิ ารณารายละเอยี ดดงั นี้
พสิ ยั
พิสัยเปน การวัดการกระจายของขอมูลทงี่ า ย และใหร ายละเอียดนอยทสี่ ดุ สามารถคาํ นวณจากการนาํ คา มากท่ีสดุ ลบดว ยคานอ ยท่สี ุด
แทนดว ยสญั ลักษณ Range ดังน้ี
Range = Xmax − Xmin
โดยท่ี Range เปนพิสยั Xmin เปนคา ตํา่ สดุ ของขอมูล และ Xmax เปนคาสงู สุดของขอมูล
สําหรับขอมูลทจ่ี ัดใหอยูในรปู อนั ตรภาคช้นั สามารถคํานวณพิสัยไดดังนี้
Range = Umax − Lmin
โดยที่ Range เปนพิสัย Lmin เปน ขีดจาํ กัดลา งของช้ันตาํ่ ทสี่ ดุ และ Umax เปนขดี จํากดั บนของชนั้ สูงทส่ี ุด
ซง่ึ การใชพสิ ยั ในการวดั การกระจายของขอ มลู สามารถทาํ ไดสําหรับกรณีทีต่ อ งการความรวดเรว็ และไมต องการความละเอยี ดมาก หรือ
ตองการวัดการกระจายคราวๆ เทาน้นั สาํ หรับกรณีตอ งการความละเอียดมากๆไมค วรใชพ ิสยั ในการวัดการกระจายของขอ มลู ควรเลอื กใชก ารวดั
การกระจายดว ยคาอื่นๆทีจ่ ะกลา วถงึ ตอ ไป
สว นเบย่ี งเบนเฉล่ีย
สว นเบ่ยี งเบนเฉลีย่ เปน การวดั การกระจายทใ่ี ชว ัดคาทเ่ี บย่ี งเบนไปจากคา เฉล่ีย นน่ั คือ ถาขอ มลู เบ่ียงเบนไปจากคา เฉลย่ี มีคามาก
แสดงวาสว นเบย่ี งเบนเฉลี่ยมคี ามาก และถาขอ มูลเบ่ยี งเบนไปจากคา เฉล่ียมคี านอ ย แสดงวา สว นเบี่ยงเบนเฉลีย่ มีคา นอ ยดว ย การไดม าซึ่งสวน
เบ่ียงเบนเฉลยี่ ดาํ เนนิ การโดยการหาผลรวมของคา สมบรู ณของผลตา งระหวา งคา ของขอมูลกบั คาเฉลย่ี ของขอมลู มักนิยมแทนดว ย A.D. และ
คํานวณตามลกั ษณะของขอมลู ตอ ไปน้ี
- สาํ หรับขอ มูลทไ่ี มไดแจกแจงความถี่ สามารถคาํ นวณสวนเบยี่ งเบนเฉลย่ี จากสตู รตอไปดงั นี้
n Xi − X
n
A.D. = ∑
i=1
โดยที่ Xi เปนคาของขอ มลู คาท่ี i และ n เปนขนาดของขอมูล
- สําหรับขอมลู ที่ไดแ จกแจงความถ่ี สามารถคาํ นวณสวนเบยี่ งเบนเฉล่ยี จากสูตรตอไปดังน้ี
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 29 -
n fi Xi −X
∑
A.D. = i=1 n
โดยท่ี Xi เปน คา ของขอ มลู ตัวที่ i หรอื คา ก่ึงกลางของชัน้ ที่ i ( Xi = Ui + Li ) และ n เปน ขนาดของขอมลู
2
ความแปรปรวน และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความแปรปรวน เปนคาท่ีใชใ นการวดั การกระจายทนี่ ยิ มใชมากทสี่ ดุ คา หนง่ึ สามารถดําเนินการคํานวณโดยการหาผลรวม
กําลงั สองของผลตา งระหวางระหวา งคาของขอมูลกับคา เฉลย่ี ของขอ มลู มกั นิยมแทนดวย σ 2 สาํ หรบั ความแปรปรวนประชากร และ s 2 สําหรับ
ความแปรปรวนตวั อยาง และคาํ นวณตามลกั ษณะของขอ มูลตอไปนี้
- สําหรับขอ มลู ทไี่ มไ ดแจกแจงความถี่ สามารถคํานวณสวนเบีย่ งเบนเฉลีย่ จากสตู รตอ ไปดงั น้ี
( )s2 n Xi − X 2
= ∑
i=1
n
โดยท่ี Xi เปน คา ของขอ มูลคาที่ i , X เปน คาเฉลี่ยของขอ มูล และ n เปน ขนาดของขอมูล
- สาํ หรบั ขอ มลู ท่แี จกแจงความถี่ และไมจ ัดเปน อนั ตรภาคช้นั ลักษณะของขอ มลู ดังตาราง
ขอ มลู ( X i ) ความถ่ี ( fi )
f1
X1 f2
X2
..
..
..
Xm fm
ถาตอ งการคํานวณสามารถสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดาํ เนินการไดดังนี้
( )s2 = i∑=m1fi Xi − X 2
n
โดยท่ี Xi เปน คาของขอ มูลคาท่ี i , X เปนคาเฉลย่ี ของขอ มลู ,
fi เปน ความถ่ขี องขอมลู ตวั ท่ี i (i = 1 , 2 , 3 , . . . , m ) และ n เปนขนาดของขอ มลู
- สาํ หรับขอ มลู ที่แจกแจงความถี่ และจดั เปนอนั ตรภาคชัน้ ลกั ษณะของขอมูล ดงั ตาราง
อันตรภาคชน้ั ความถ่ี ( fi ) Xi U1
f1 L1 +
L1 − U1 f2 X1 = 2
L2 − U2 X2 = L2 + U2
2
.. .
.. .
. ..
fm Lm + Um
Lm − Um Xm = 2
โดยที่ Li , Ui เปน ขีดจาํ กัดลา ง และขีดจํากัดบน ช้ันที่ i ตามลาํ ดับ
ถาตอ งการคาํ นวณสามารถสว นเบ่ียงเบนมาตรฐานดาํ เนนิ การไดดงั นี้
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 30 -
( )s2= i∑=m1fiXi − X 2
n
Ui + Li
โดยท่ี Xi เปนคากึ่งกลางของชนั้ ท่ี i ( Xi = 2 ) , X เปนคาเฉลย่ี ของขอ มูล ,
fi เปนความถ่ขี องขอมูลตัวท่ี i (i = 1 , 2 , 3 , . . . , m ) และ n เปน ขนาดของขอมลู
นอกจากการใชค วามแปรปรวนเปนคา ทีใ่ ชวัดการกระจายของขอมลู แลว ยงั สามารถใชร ากท่สี องของความแปรปรวนวดั ความ
แปรปรวนของขอ มูลไดด ว ย ซ่ึงคา ดังกลา จะเรียกชอ่ื เฉพาะวา สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน แทนดว ย s หรือ S.D. ซ่ึงสามารถคํานวณไดด งั นี้
( )nXi− X 2 ( )mfi Xi − X 2
∑ ∑
s = i=1 n หรอื s = i=1 n
สัมประสิทธความแปรผนั
สําหรบั การวัดการกระจายของขอมูลนั้น ถา ขอมลู ทตี่ อ งการเปรยี บเทยี บ มหี นว ยเหมือนกัน หรอื อยูในหนวยการวัดชนิดเดียวกัน เชน
ขอมูลชดุ ที่ 1 เปนรายไดตอเดือนของคนไทยชนบท (บาท) และขอ มลู ชดุ ท่ี 2 เปนรายไดตอ เดอื นของคนไทยในเมือง (บาท) ในการเปรยี บเทยี บ
การกระจายของขอมลู ชุดที่ 1 และ 2 สามารถใชพ ิสัย สวนเบ่ยี งเบนเฉล่ยี และความแปรปรวน (หรือสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน) ได แตถ า มีขอ มูล
ชดุ ที่ 3 เปน รายไดของคนอเมรกิ ันชนบท (ดอลลาร) ในการเปรยี บเทียบการกระจายของรายไดคนไทยชนบท กบั คนอเมริกนั ชนบท ไมส ามารถใช
พสิ ัย สว นเบย่ี งเบนเฉลยี่ และความแปรปรวน (หรอื สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน) ได เพราะวาหนว ยของเงนิ ของสองประเทศมคี า ไมเทา กัน หรอื ถา
ขอ มูลชดุ ที่ 1 เปนความสูงของนักศึกษาวศิ วกรรมเครอื่ งกล (เซน็ ติเมตร) และขอ มลู ชุดท่ี 2 เปน น้าํ หนกั ของนกั ศกึ ษาวศิ วกรรมเครื่องกล
(กิโลกรัม) ในการเปรยี บเทยี บการกระจายของขอมลู ชุดที่ 1 และ 2 ไมสามารถใชพสิ ยั สวนเบี่ยงเบนเฉลยี่ และความแปรปรวน (หรือสวน
เบ่ยี งเบนมาตรฐาน) ไดเชนกนั จาํ เปนท่ีเราตอ งหาคา ท่ใี ชในการเปรยี บเทียบคา การกระจายของขอมูลตง้ั แตส องชุดขึน้ ไป และคาดงั กลาวนีต้ องถูก
กําจัดหนว ยออกไป ซ่ึงจะเรียกวา สมั ประสทิ ธค วามแปรผัน แทนดว ย C.V. สาํ หรับการเปรยี บเทียบทาํ นองเดยี วกบั คา การกระจายอื่นๆ นน่ั คือ
ถาขอ มลู ชดุ ใดมี สัมประสิทธความแปรผนั มาก แสดงวา ขอ มลู มกี ารกระจายมากกวา ขอมลู ที่มี สมั ประสิทธค วามแปรผัน นอ ย สามารถคํานวณได
ดงั นี้ s s
X X
C.V. = หรือ % C.V. = × 100
ตัวอยางท่ี 1.16 สมุ ตัวอยางนักเศรษฐศาสตรมา 8 คน เพอ่ื ใหป ระมาณอัตราการวา งงานปห นา ไดคาํ ตอบดังน้ี
6.2 7.9 7.6 7.3 6.4 5.7 6.8 6.9
จงหา
1. คาเฉลย่ี เลขคณติ
2. มัธยฐานของขอมูล
3. สวนเบีย่ งเฉล่ีย
4. ความแปรปรวน และสว นเบยี่ งเบนมาตรฐาน
5. สมั ประสิทธคิ์ วามแปรผนั
วิธีทาํ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
- 31 -
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
ตัวอยา งท่ี 1.17 จากตารางแจกแจงความถีต่ อไปนี้
ขอมูล ( Xi ) ความถี่ ( fi ) จงหา
1. คา เฉล่ยี เลขคณิต
2 3 2. มธั ยฐานของขอ มูล
3. สวนเบี่ยงเฉลยี่
5 8 4. ความแปรปรวน และสว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน
5. สัมประสิทธคิ์ วามแปรผัน
9 10
13 7
18 2
วิธที ํา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 32 -
…………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
ตัวอยา งท่ี 1.18 จากตารางแจกแจงความถขี่ องคา แรงงานรายวันของคนงาน 70 คน ดังน้ี
คา แรงตอวัน(บาท) จํานวนคนงาน จงหา
150 - 159.99 7 1. คา เฉล่ยี เลขคณติ
160 - 169.99 11 2. สวนเบี่ยงเฉล่ีย
170 - 179.99 15 3. ความแปรปรวน และสว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
180 - 189.99 15 4. สมั ประสิทธค์ิ วามแปรผนั
190 - 199.99 10
200 - 209.99 8
210 - 219.99 4
วิธที าํ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
1.3.4 คะแนนมาตรฐาน (Standard Score)
สาํ หรบั ขอมูลโดยทั่วไป มักเกิดจากการวัดในรูปแบบตางๆ ขนึ้ อยกู ับ วัตถุประสงคใ นการใชงาน เชน คะแนนสอบของนักศึกษาสําหรบั
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 33 -
งานทางการศึกษา เวลากอนทจี่ ะเกดิ ของเสียสาํ หรับงานทางวศิ วกรรมศาสตร อัตราการเจรญิ เติบโตของพชื สําหรบั งานทางเกษตรศาสตร และ
ยอดขายแตล ะเดอื นสาํ หรับงานทางบริหารธุรกิจ เหลานเ้ี ปน ตน ซง่ึ ขอ มูลทีไ่ ดด ังกลาวจะถูกบนั ทึกในรูปคะแนนดบิ (Raw Score) หรือขอมูลดิบ
แทนดวยสัญลักษณ Xi และถา ตองการเปรียบเทยี บขอ มลู ตัง้ แตส องคาขึ้นไป บนพ้ืนฐานขอมลู ชุดเดียวกันนั้น เชน คะแนนสอบกลางภาควิชา
สถติ ขิ องนักศึกษาวศิ วกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยแหง หนึง่ ในภาคเรียนท่ี 2/2549 สามารถเปรยี บเทยี บขอ มูลขางตนได โดยใชข อมลู ดิบพิจารณา
เทียบคา ตามหลกั การทางคณิตศาสตร แตสาํ หรับการเปรยี บเทยี บขอ มูลตง้ั แตส องคาข้ึนไป ทีม่ พี ื้นฐานที่แตกตางกัน เชน ผลการสอบกลางภาค
เรยี นที่ 1/2549 ของนายภักดี วิชาภาษาไทยไดค ะแนน 74 คะแนน และวชิ าภาษาอังกฤษ 59 คะแนน ถาพิจารณาจากคะแนนดิบ อาจสรปุ ไดวา
นายภกั ดี มีผลการเรียนวชิ าภาษาไทยดกี วาวิชาภาษาอังกฤษ ซง่ึ เปน การสรุปผลท่ีอาจเกิดความผดิ พลาดขนึ้ ได เนอื่ งจากคะแนนดงั กลา วไดมา
จากการวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสองวิชา ซ่ึงถือวาขอ มูลมีพนื้ ฐานการไดมาทีแ่ ตกตา งกัน ดังนั้น มคี วามจําเปนอยา งยงิ่ ท่ีจะตอ งพจิ ารณาสว น
การคํานวณอ่นื ของแตล ะชุดขอมลู เพ่ือนาํ มาชว ยในการตดั สินใจดงั กลา ว และสําหรบั ในทีน่ ีจ้ ะพิจารณา คาเฉลยี่ ( X ) และสวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
( S.D.) โดยพจิ ารณาถงึ ความเบ่ยี งเบนของคะแนนดิบกบั คาเฉล่ยี X i − X ซ่ึงเรียกวา คะแนนเบีย่ งเบน (Deviation Score) และเม่ือหาร
คะแนนเบ่ียงเบนดวยสวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ทําใหไดค า ทเ่ี รยี กวา คะแนนมาตรฐาน แทนดว ยสญั ลักษณ z มักนิยมเรียกวา คะแนน
มาตรฐาน z ซ่ึงสามารถคํานวณไดจากสตู ร Xi − X
S.D.
z =
คา z ทไ่ี ดส ามารถมีไดท ง้ั คาลบ และคาบวก ซ่งึ ถาตอ งการใหเกดิ ความสะดวกในเร่อื งการเปรยี บเทียบ สามารถดําเนนิ การตอ โดยใชสตู รคาํ นวณ
T = 10z + 50
โดยท่ีคา T เรียกวาคะแนนมาตรฐานเชน กันแตโ ดยทวั่ ไปจะเรยี กชื่อเฉพาะวา คะแนนมาตรฐาน T และเพอื่ ใหเ กิดความเขา ใจย่งิ ขึน้ สามารถ
พจิ ารณาตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยา งที่ 1.19 ในการตรวจสอบประสิทธภิ าพในการทาํ งานของคนงาน 12 คน ท่ีเขาทํางานในกะกลางคืน โดยพจิ ารณาจากชิน้ งานทผ่ี าน
มาตรฐาน ไดผลดังตอไปน้ี
5867
10 5 8 6
9 5 7 12
จงคํานวณคะแนนมาตรฐานของขอ มูลทกุ คา
วิธีทํา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
ตวั อยางที่ 1.20 ในการคัดเลือกบคุ คลเพ่อื บรรจเุ ขา ทํางานเจาพนกั งานบัญชีของมหาวิทยาลยั แหงหน่ึง 1 ตําแหนง โดยทาํ การสอบ 3 วชิ า คือ
ความรทู ว่ั ไป ความรูทางการบญั ชี และความรูใ นงานสารบัญ ผลการสอบปรากฏวามีผูเขา สอบ 25 คน และมีผูเขาสอบ 3 คนที่มีคะแนนรวมเทา กัน
จงตัดสินเลอื กผูเขาสอบมาทาํ งานในตาํ แหนง ดังกลา ว โดยใชข อมลู ตอไปนีป้ ระกอบการตัดสนิ ใจ
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
- 34 -
วชิ าทีส่ อบ คาเฉลย่ี สว นเบย่ี งเบน นายสงคราม คะแนนสอบ นางสดุ ใจ
มาตรฐาน 90 น.ส.สมหญิง 91
ความรทู ัว่ ไป 80 70 87 75
ความรูทางการบัญชี 75 4 62 71 56
ความรใู นงานสารบัญ 65 17 222 64 222
10 222
วิธีทํา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบฝกหัดทายหนวยท่ี 1
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
- 35 -
ขอที่ 1
ขอ ที่ 2
ขอที่ 3
ขอ ท่ี 4
ขอ ท่ี 5
ขอท่ี 6
ขอ ที่ 7
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 36 -
ขอ ท่ี 8
ขอที่ 9
ขอท่ี 10
ขอ ที่ 11
ขอ ที่ 12 อาจารยเ พลฬิ สายปาระ
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1
- 37 -
ขอที่ 13
ขอท่ี 14 อาจารยเ พลฬิ สายปาระ
ขอ ที่ 15
ขอ ที่ 16
ขอที่ 17
ขอ ที่ 18
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1
- 38 -
ขอท่ี 19
ขอท่ี 20 อาจารยเพลฬิ สายปาระ
ขอ ที่ 21
ขอท่ี 22
ขอท่ี 23
ขอที่ 24
ขอ ที่ 25
ขอ ที่ 26
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1
- 39 -
ขอท่ี 27
ขอ ท่ี 28
ขอที่ 29
ขอที่ 30
ขอ ท่ี 31
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเพลฬิ สายปาระ
- 40 -
ทฤษฎีความนา จะเปน
2.1 เทคนิคการนับ
2.1.1 หลักการนับเบ้อื งตน
2.1.2 การจัดลําดบั
2.1.3 การจดั หมู
2.2 ความนาจะเปน
2.2.1 ความนาจะเปน ของเหตุการณ
2.2.2 กฎของความนาจะเปน
2.3.3 ความนา จะเปน แบบมเี งือ่ นไข
2.3.4 ความนา จะเปนของเหตกุ ารณท เี่ ปนอสิ ระกนั
2.3.2 กฎของเบย
2.1 เทคนคิ การนับ
สําหรับการหาแซมเปลสเปซของการทดลองสุมหน่ึง ๆ หรือหาเหตุการณท่ีสนใจอาจประสบปญหาเกี่ยวกับการนับจํานวนผลลัพธหรือ
วิธีท่ีเปนไปไดทั้งหมด ดังน้ันในหัวขอน้ีจะกลาวถึงการนับจํานวนวิธีที่เปนไปไดท้ังหมดของการทดลองสุมใด ๆ และการนับจุดตัวอยางของ
เหตกุ ารณทีเ่ ราสนใจ
หลักการนับเบอ้ื งตน
แฟคทอเรียล n (n factorial)
นยิ ามท่ี 2.1 แฟคทอเรยี ล n แทนดวยสญั ลักษณ n! ซ่ึงอานวา n แฟคทอเรยี ล โดยที่
n! = n×(n −1) ×...× 3 × 2 ×1
หมายเหตุ : 0! = 1
ตวั อยา งท่ี 2.1 จงหาผลลพั ธของ 7! , 7! , 9!
4! 11!
วธิ ที าํ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเพลฬิ สายปาระ
- 41 -
ตวั อยา งท่ี 2.2 จงหาผลลพั ธข อง 5! , 15! , 33!
12! 35!
วธิ ีทาํ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………….
กฎการคณู
ทฤษฎที ี่ 2.1 ถา การดาํ เนินการอยา งหนึ่งมี 2 ข้ันตอน ขั้นตอนที่ 1 ทําได n1 วิธี ขั้นตอนท่ีสอง ทําได n2 วิธี การดําเนินการน้ี
จะทาํ ได n1 n2 วิธี
จากทฤษฎีพจิ ารณารูปท่ี 1
รูปที่ 1 แสดงการดําเนนิ การอยางหนง่ึ มี 2 ขั้นตอน
จากรูปที่ 1 การดําเนินการข้นั ตอนท่ี 1 เร่ิมตนท่ีจดุ A สิน้ สดุ ที่จดุ B สามารถกระทําได n1 วธิ ี และการดําเนนิ การขน้ั ตอนที่ 2 เรม่ิ ตน
ท่ีจดุ B สิน้ สุดทจ่ี ดุ C สามารถกระทําได n2 วิธี ดังนั้น การดําเนนิ จากจดุ เริม่ ตน จนจบการดาํ เนินการ สามารถกระทาํ ได n1 n2 วธิ ี
ตวั อยา งที่ 2.3 โรงงานผลิตรถจักรยานยนตแหงหน่งึ มีการตรวจสอบรถทุกคันกอนทีจ่ ะสงมอบใหก บั ลกู คา จงึ ดําเนินการตรวจสภาพการใชงาน
โดยแบงการตรวจสอบไว 2 ระดับ คือการตรวจสอบเบ้ืองตน และการตรวจสอบขน้ั สูง ซึ่งในข้ันตอนการตรวจสอบเบอื้ งตนมีชองทางตรวจสอบ 10
ชอ งทาง และการตรวจสอบข้ันสูง 15 ชองทาง จงหาวา จาํ นวนวิธที ี่เปนไปไดท้ังหมดในการตรวจสภาพรถ 1 คัน มีก่วี ธิ ี
วิธที าํ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
- 42 -
ทฤษฎีท่ี 2.2 ถา การดําเนินการอยา งหน่ึงมี k ขั้นตอน ขนั้ ตอนที่ 1 ทาํ ได n1 วิธี ขั้นตอนท่ีสอง
ทําได n2 วธิ ี ขั้นตอนทส่ี ามทําได n3 วธิ ี ... เชนนีเ้ รื่อยไปจนถงึ ขนั้ ตอนที่ k ซ่ึง
ทาํ ได nk วิธี การดาํ เนินการน้ีจะทาํ ได n1 n2 . . . nk วิธี
จากทฤษฎพี ิจารณารูปที่ 2
รูปท่ี 2 แสดงการดาํ เนนิ การอยางหนง่ึ มี k ขน้ั ตอน
จากรปู ท่ี 2 การดาํ เนินการอยา งหนึ่งมี k ขนั้ ตอน ข้ันตอนที่ 1 ทาํ ได n1 วิธี ขัน้ ตอนที่สองทาํ ได n2 วธิ ี ขั้นตอนทสี่ ามทาํ ได n3 วิธี ...
เชน นเ้ี รอ่ื ยไปจนถึงข้ันตอนที่ k ซง่ึ ทาํ ได nk วิธี การดาํ เนนิ การน้ีจะทาํ ได n1 n2 . . . nk วิธี
ตวั อยางที่ 2.4 จงหาวิธีทเี่ ปนไปไดท้ังหมดในการแตงกายออกไปทํางานของพนักงานชาย บริษทั แหงหนงึ่ ซึ่งมแี บบฟอรมของบริษัท ดังรายการ
ตอไปนี้
1. เส้อื ทาํ งาน 5 ตัว
2. กางเกงทาํ งาน 5 ตวั
3. รองเทา 3 คู
4. ปายชอื่ 2 อัน
5. หมวก 2 ใบ
วธิ ที าํ สมมติใหพ นกั งานดงั กลาวดาํ เนินการแตงตวั เพื่อไปทาํ งานเปน ดังน้ี
วิธีทํา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การจดั ลําดับ (Permutation)
จากเรอ่ื งการดําเนนิ การท่ีไดกลาวกอนหนานี้ ถาเราใหความสําคญั กบั ลาํ ดบั ของข้ันตอนการดําเนินการ และจะตองนํามาพิจารณาดว ย
เชน การจัดคน 20 คนใหน่ังเขา แถวในหนึง่ แถว การจับฉลากรางวลั ที่ 1 และรางวลั ที่ 2 จากฉลาก 50 ใบ จะใชวธิ ีทีเ่ รียกวา การจัดลาํ ดับ
นิยามท่ี 2.2 การจัดลําดับ (Permutation) คือการจัดของทง้ั หมดท่ีมีอยูหรอื จัดของแตละสวนโดยคํานงึ ถึงลาํ ดับ
เชน ในการจัดลําดับอกั ษร A , B และ C ทง้ั 3 ตัว ซึง่ สามารถจัดลาํ ดับ ไดท ้งั หมด 6 วิธี ดังนี้
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
- 43 -
วธิ ที ี่ 1 ลําดบั ที่ 1 ลาํ ดบั ที่ 2 ลําดับที่ 3
วธิ ีที่ 2 A B C
วิธีท่ี 3 A C B
วิธีที่ 4 B A C
วิธที ี่ 5 B C A
วิธีท่ี 6 C A B
C B A
แตถานํามาจดั เพยี ง 2 ตัว ซึ่งสามารถจัดลําดับไดท ัง้ หมด 6 วิธี เชน กัน ดงั นี้
ทฤษฎีที่ 2.3 จดั ลําดบั ของ n สิ่ง ซง่ึ แตกตา งกันโดยจัดคราวละ n ส่งิ ได n(n-1)(n-2)…(2)(1) = n! วิธี
ตัวอยางท่ี 2.5 ในการตดิ ตัง้ เครือ่ งจกั รชนิดเดยี วกนั จํานวน 9 เคร่ือง ของโรงงานแหง หนงึ่ ซงึ่ กําลงั อยใู นชวงดาํ เนนิ การกอ สรางโรงงาน และตาม
แบบที่เขียนไว ไดระบตุ ําแหนงของเคร่ืองจักรไว 9 ตําแหนง จงหาจาํ นวนวิธีทั้งหมดทจ่ี ะติดตั้งเครื่องจักรดังกลาว
วธิ ีทาํ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ทฤษฎีท่ี 2.4 ถา มขี อง n สิง่ แตกตา งกันจะจดั คร้งั ละ r สิ่ง (r ≤ n) จะทําได n Pr = (n n! )! วิธ,ี เม่อื r < n
−r
ตวั อยางท่ี 2.6 ในการประกวดส่งิ ประดษิ ฐ ของนกั ศึกษามหาวิทยาลยั แหงหนึง่ มผี สู นใจสงผลงานเขา รว มการแขง ขันทงั้ หมด 25 ช้นิ ซึ่งการ
แขง ขนั ดังกลาว ฝายจดั การประกวด ไดเ ตรยี มรางวัลไว 5 รางวัล คอื ชนะเลิศ รองชนะเลศิ อันดบั ที่ 1 , 2 , 3 และ 4 ตามลาํ ดบั จงหาจํานวนวิธที ่ี
จะตัดสินการประกวดดังกลาว
วิธที าํ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเพลิฬ สายปาระ
- 44 -
ทฤษฎีที่ 2.5 ถามขี อง n สิง่ ซึง่ แบง เปน k ชนิด ชนิดทหี่ นง่ึ มี n1 ส่งิ ชนดิ ทีส่ องมี n2 สิ่ง ... และชนดิ ที่ k มี nk ส่ิง โดยท่ี
∑k จํานวนวิธที จ่ี ะจัดของทง้ั หมดนีจ้ ะเทา กบั n!
ni = n n1!n2!n3!Knk !
i =1
ตัวอยางท่ี 2.7 จงหาจาํ นวนวิธใี นการจดั ลําดับตัวอกั ษรในคาํ วา STATISTICS
วิธที ํา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ในบางคร้งั เราสนใจการจดั โดยไมใหสาํ คญั กับลําดบั หรือสนใจการเลือกของจากทีม่ อี ยทู งั้ หมด โดยไมส นใจวา จะเลอื กของสิ่งใดมา
เปนลําดบั แรก สิ่งใดเปนลาํ ดับท่ีสอง การกระทําแบบนีเ้ รียกวา การจัดหมู (Combination)
การจัดหมู (Combination)
นิยามท่ี 2.3 การจดั หมู คอื การจัดของทั้งหมดท่มี อี ยู หรือจดั บางสว น โดยไมค ํานงึ ถงึ ลาํ ดับ ซึง่ สามารถเปรียบเทยี บการจัดสิ่งของ โดยให
ความสําคญั กับลําดับ และไมใ หความสําคญั กับลําดับ ไดดังเชน มอี กั ษร 3 ตัว A , B , C นาํ มาจัดคร้ังละ 2 ตัว ดงั น้ี
ทฤษฎที ่ี 2.6 ถา มีของ n ส่งิ แตกตา งกนั เลอื กหรอื จดั โดยไมค ํานึงถึงลําดับคร้งั ละ r
ส่ิง (r ≤ n) สามารถกระทาํ ได n Cr หรอื ⎝⎛⎜⎜nr ⎞⎠⎟⎟ = n Pr = r!( n! r )! วิธี
r! n−
ตัวอยา งท่ี 2.8 ในการประชมุ วิชาการครั้งหน่ึง มผี เู ขาประชุม 20 คน โดยเปน ผูชาย 12 คน และเปนผูหญิง 8 คน จงหาจํานวนวธิ ีที่จะได
ก. ตวั แทนเปน ผเู ขา รวมประชมุ 5 คน
ข. ตวั แทนเปนผเู ขา รวมประชุม เพศชาย 3 คน และเพศหญงิ 2 คน
ค. ตวั แทนเปนเพศชายทง้ั หมด
ง. ตวั แทนเปนเพศหญงิ ทัง้ หมด
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเพลฬิ สายปาระ
- 45 -
วธิ ที ํา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.2 ความนาจะเปน
2.2.1 ความนาจะเปนของเหตกุ ารณ
การทดลองสุม (Random experiment)
นิยามที่ 2.4 การทดลองสุม คือ กระบวนการใด ๆ ท่ีทําใหเกิดผลสัมลัพธ (Outcome) ซึ่งไมอาจทํานายลวงหนาไดอยางแนนอน แตผู
ทดลองสามารถทราบผลลัพธท อี่ าจเกิดขึน้ ไดท้ังหมด
ยกตวั อยา ง เชน
1. การโยนเหรียญ 1 เหรยี ญ ผูทดลองไมส ามารถกาํ หนดไดวาเหรียญจะหงายหัว หรือ กอย แตท ราบวาผลลัพธที่จะเกิดตองเปน หัว
หรอื กอย
2. การโยนลูกเตา 1 ลูก ผูทดลองไมสามารถกําหนดไดวาลูกเตาหงายแตม 1 , 2 , 3 , 4 , 5 หรือ 6 แตทราบวาผลลัพธที่จะเกิด
ตอ งเปน แตมใดแตมหน่ึงใน 6 แตมนี้
3. การดึงไพ 1 ใบ จากไพ 1 สํารับ ผูทดลองไมสามารถกําหนดไดวาไพ 1 ใบ จะเปน ไพดอกอะไร และสีใด แตทราบวาผลลัพธท่ี
จะเกิดตอ งเปน ไพใ บใดใบหนงึ่ ใน 1 สาํ รบั น้ี (ไพ 1 สาํ รับ 52 ใบ)
4. ผลของการขุดเจาะหานํ้ามนั ผลของการขดุ เจาะหานา้ํ มัน อาจพบ หรอื ไมพ บน้าํ มัน
5. ผลการดําเนนิ งานของบรษิ ทั แหง หนงึ่ ในปห นา กอ็ าจขาดทนุ เทาทุน หรอื ไดกําไร
แซมเปลสเปซ (sample space)
นิยามท่ี 2.5 แซมเปลสเปซของการทดลองสุมหนึ่ง ๆ คือ เซตที่สมาชิกเปนผลลัพธที่เปนไปได ท้ังหมดของการทดลองสุมนั้นๆ และแทน
ดวย S
การโยนเหรียญสมดุล 1 เหรยี ญ 2 ครัง้ ซ่งึ ถอื วา เปน การทดลองสุมอยา งหนงึ่ สามารถพิจารณาดังรูป
จากรูปเม่ือความสนในของเราคอื การหงายหนาของการโยนเหรียญทัง้ สองคร้งั สามารถเขียน แซมเปลสเปซ คอื
S = {HH , HT , TH , TT }
{ }แตถา สนใจจํานวนการเกิดหวั สามารถเขียนแซมเปลสเปซ คอื S = 0 , 1 , 2 , 3
เอกสารประกอบการสอน สถติ ิ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
- 46 -
กาํ หนดการทดลองสุม คือการโยนเหรียญ 1 เหรยี ญ และลูกเตา 1 ลกู ถา สนใจการหงายหนา ของลกู เตา และเหรยี ญสามารถเขียน
แซมเปลสเปซ คอื { }S = 1T , 1H , 2T , 2H , 3T , 3H , 4T , 4H , 5T , 5H , 6T , 6H
ตวั อยา งท่ี 2.9 จงเขียนแซมเปลสเปซของการทดลองสมุ ตอไปนี้
ก. การสมุ ตรวจสอบเคร่ืองจักรกลท่ใี ชใ นกระบวนการผลติ 3 เคร่อื ง โดยผู
ตรวจสอบ จะใหค ะแนน 2 ระดับ คอื Y หมายถึง เครื่องจักรยังใชผลิตได และ N หมายถงึ เครือ่ งจักรตองไดร ับการซอมบาํ รงุ
ผลการตรวจสอบ เคร่อื งที่ 1 เครื่องที่ 2 เครอ่ื งที่ 3 จํานวนเคร่อื งจกั รทยี่ ังใชผ ลติ ได
แบบท่ี 1 …………… …………… …………… ……………
แบบท่ี 2 …………… …………… …………… ……………
แบบท่ี 3 …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 4 …………… …………… …………… ……………
แบบท่ี 5 …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 6 …………… …………… …………… ……………
แบบท่ี 7 …………… …………… …………… ……………
แบบท่ี 8 …………… …………… …………… ……………
ถา สนใจผลการตรวจสอบเครื่องจกั รท้งั สามเครื่อง แซมเปลสเปซ คอื
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แตถาสนใจจาํ นวนเครอื่ งจกั รทย่ี งั ใชผ ลติ ได ท่ีสมุ มา 3 เครือง แซมเปลสเปซ คอื ………………………………………………………..……
ข. ในการตรวจคุณภาพของสินคา ทผ่ี ลติ โดยเครอื่ งจกั รของโรงงานแหง หน่งึ
สมุ สินคามา 4 ชน้ิ แลวตรวจสภาพทีละช้ินวา ชํารดุ หรอื ไม ให "ด" แทนสินคาคณุ ภาพดี และ "ช" แทนชาํ รดุ แซมเปล สเปซ สามารถพจิ ารณา
ดงั น้ี
ผลการตรวจ ชิน้ ที่ 1 สินคา ชิน้ ที่ 4 จาํ นวนสนิ คา ท่ีชาํ รุด
ชิ้นท่ี 2 ช้ินที่ 3
แบบท่ี 1 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 2 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 3 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 4 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบท่ี 5 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 6 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบท่ี 7 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 8 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 9 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 10 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 11 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบท่ี 12 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบท่ี 13 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบท่ี 14 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 15 …………… …………… …………… …………… ……………
แบบที่ 16 …………… …………… …………… …………… ……………
ถา สนใจผลการตรวจสอบสนิ คา ทงั้ 4 ช้นิ แซมเปล สเปซ คอื
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ถา สนใจจํานวนสินคาทชี่ ํารุดจากสนิ คาทีห่ ยบิ มา 4 ชิ้น แซมเปลสเปซ คอื ………………………………………………………………
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเ พลฬิ สายปาระ
- 47 -
เหตกุ ารณ (event)
นยิ ามท่ี 2.6 เหตุการณ (event) คือ เซตยอ ย (subset) ของแซมเปลสเปซ โดยเรียกเซตยอ ยที่
มีสมาชิกเพียงตวั เดยี ววา เหตุการณเชงิ เดย่ี ว (simple event) และเรยี กเซตยอ ยที่มี
สมาชิกหลายตัววา เหตกุ ารณเ ชงิ ประกอบ (compound event)
เพื่อความเขาใจเกี่ยวกับ คําวา “เหตุการณ” ย่ิงข้ึน จะขอยกตัวอยาง การทดลองสุมเกี่ยวกับ การโยนเหรียญ 1 เหรียญ 2 คร้ัง ถา
กาํ หนดให T แทนการหงายกอย และ H แทนการหงายหัว เม่อื ความสนใจของเราคอื การหงายหนา ของทั้ง 2 เหรียญ สามารถเขียนแซมเปลสเปซ
คือ
S = {HH , HT , TH , TT}
จากนิยามที่ 3 สามารถเขียนเซตยอ ยของแซมเปลสเปซ จําแนกเปน เหตกุ ารณเชงิ เดย่ี ว และเหตุการณเ ชิงประกอบ ไดดงั น้ี
เหตกุ ารณเ ชงิ เดีย่ ว ไดแ ก E1 = {HH} E2 = {HT} E3 = {TH } E4 = {TT}
เหตุการณเชงิ ประกอบไดแก E5 = {HH , HT} E6 = {HH , TH } E7 = {HH , TT} E8 = {HT , TH }
E9 = {HT , TT} E10 = {TH , TT} E11 = {HH , HT , TH } E12 = {HH , HT , TT }
E13 = {HH , TH , TT} E14 = {HT , TH , TT} และ E15 = {HH , HT , TH , TT}
จากตวั อยาง พบวา เหตกุ ารณทงั้ หมดที่ไดล วนแตกตา งกนั และสมาชิกในแตล ะเหตุการณ จะถูกเรยี กเฉพาะวา จดุ ตวั อยา ง (Sample
Point) สาํ หรบั จํานวนสมาชกิ ของแตล ะเหตุการณ มกั ถูกเรยี กวา จํานวนจดุ ตวั อยา ง ซึง่ สามารถพจิ ารณาไดจากตารางตอไปนี้
เหตกุ ารณ จดุ ตวั อยาง จาํ นวนจุดตวั อยาง
E1 = {HH} HH 1
E2 = {HT} HT 1
E3 = {TH} TH 1
TT 1
E4 = {TT} HH , HT 2
HH , TH 2
E5 = {HH , HT} HH , TT 2
HT , TH 2
E6 = {HH , TH} HT , TT 2
TH , TT 2
E7 = {HH , TT} HH , HT , TH 3
HH , HT , TT 3
E8 = {HT , TH} HH , TH , TT 3
HT , TH , TT 3
E9 = {HT , TT} HH , HT , TH , TT 4
E10 = {TH , TT}
E11 = {HH , HT , TH }
E12 = {HH , HT , TT }
E13 = {HH , TH , TT}
E14 = {HT , TH , TT}
E15 = {HH , HT , TH , TT}
นิยามความนา จะเปน
นิยามที่ 2.5 ความนา จะเปนแบบคลาสสคิ (Classical Probability)
ในการทดลองสุมใด ๆ ที่ เราสามารถพิจารณาผลท่อี าจจะเกิดข้ึนไดจากการทดลองและผลแตละอยางน้ันมีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ
กนั (Equally likely) แลว คา ความนา จะ เปน ของเหตุการณจะคํานวณหาไดด งั น้ี
P( A) = n( A)
n( S )
โดยท่ี A หมายถึงเหตุการณใ ด ๆ ที่เราสนใจ , n(A) หมายถึงจาํ นวนสมาชิกของ A , S หมายถงึ แซมเปลสเปซ ,
n(S) หมายถงึ จานวนสมาชกิ ของ S และ p(A ) หมายถึง ความนา จะเปนที่จะเกิดเหตุการณ A
ซ่งึ การคาํ นวณความนา จะเปนดว ยวธิ ีการนสี้ ามารถพิจารณาตัวอยางตอ ไปนี้
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
- 48 -
ตัวอยางท่ี 2.10 การทดลองสมุ โยนเหรียญท่ีสมดุล 1 เหรียญ 3 ครัง้ จงคาํ นวณความนาจะเปนท่ีจะเกิดเหตุการณท่ีเหรียญหงายหัว 1 ครั้ง และ
หงายกอย 2 ครั้ง
วิธที ํา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตัวอยา งที่ 2.11 การทดลองสมุ โยนลกู เตาท่ีสมดุล 2 ลูก จงหาความนา จะเปนของเหตุการณต อไปนี้
ก. ลูกเตาหงายแตม คูอ ยางนอย 1 ลกู ข. ผลรวมแตมเทากบั 7
ค. ผลรวมแตมมากกวา 9 ง. ผลรวมแตม นอยกวา 4
จ. ผลรวมแตมอยรู ะหวางเลข 4 และ 8 ฉ. ผลรวมแตม ไมเกิน 6
ช. ผลรวมแตม ไมตํ่ากวา 10 ซ. ผลรวมแตม อยรู ะหวา งเลข 9 และ 10
วิธีทํา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเ พลฬิ สายปาระ
- 49 -
ตัวอยา งที่ 2.12 การทดลองสมุ ดึงไพ 1 ใบ จากไพ 1 สาํ รับ จงหาความนาจะเปนของเหตกุ ารณตอ ไปนี้
ก. ไดแตม A ข. ไดโ พธิ์แดง
ค. ไดแ ตม 3 ดอกสดี ํา ง. ไดแ ตม 5 โพธิด์ ํา
วธิ ีทาํ การทดลองสุมดึงไพ 1 ใบ จากไพ 1 สาํ รับ สามารถแจกแจงทุกสมาชกิ ไดดังตารางตอ ไปนี้
แตม โพธดิ์ าํ ดอกของไพ
โพธ์แิ ดง ดอกจกิ ขาวหลามตัด
2 2 โพธิ์ดาํ 2 โพธแิ์ ดง 2 ดอกจกิ 2 ขาวหลามตดั
3 3 โพธิด์ าํ 3 โพธแ์ิ ดง 3 ดอกจกิ 3 ขา วหลามตดั
4 4 โพธด์ิ ํา 4 โพธแ์ิ ดง 4 ดอกจกิ 4 ขา วหลามตัด
5 5 โพธิ์ดํา 5 โพธแ์ิ ดง 5 ดอกจกิ 5 ขา วหลามตัด
6 6 โพธ์ดิ าํ 6 โพธแ์ิ ดง 6 ดอกจิก 6 ขา วหลามตัด
7 7 โพธด์ิ ํา 7 โพธิ์แดง 7 ดอกจิก 7 ขาวหลามตัด
8 8 โพธิ์ดาํ 8 โพธิ์แดง 8 ดอกจกิ 8 ขาวหลามตดั
9 9 โพธด์ิ ํา 9 โพธิ์แดง 9 ดอกจกิ 9 ขาวหลามตดั
10 10 โพธิด์ าํ 10 โพธ์แิ ดง 10 ดอกจกิ 10 ขา วหลามตัด
J J โพธด์ิ าํ J โพธแ์ิ ดง J ดอกจกิ J ขาวหลามตัด
Q Q โพธด์ิ ํา Q โพธแ์ิ ดง Q ดอกจกิ Q ขาวหลามตัด
K K โพธิ์ดํา K โพธแิ์ ดง K ดอกจกิ K ขาวหลามตดั
A A โพธิ์ดํา A โพธิ์แดง A ดอกจิก A ขา วหลามตดั
และสามารถเขียนแซมเปลสเปซ ไดด งั นี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จากนยิ ามความนา จะเปน แบบคลาสสคิ จะไดวา P( A ) = n( A)
n( S)
สามารถคาํ นวณความนา จะเปนของแตล ะเหตุการณ ไดดงั ตอ ไปนี้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเ พลิฬ สายปาระ
- 50 -
ตัวอยางที่ 2.13 จากตัวอยางที่ 2.9 ข. ในการตรวจคุณภาพของสินคาที่ผลิตโดยเคร่ืองจักรของโรงงานแหงหน่ึง สุมสินคามา 4 ชิ้น แลวตรวจ
สภาพทีละชิน้ วาชํารุดหรอื ไม ให "ด" แทนสนิ คา คุณภาพดี และ "ช" แทนชํารุด จงหาความนาจะเปน
ก. เปน ช้ินดีทง้ั 4 ชิ้น ข. เปน ช้นิ ดี 3 ชิ้น และชนิ้ ชาํ รุด 1 ชิน้
ค. ชิน้ ชํารดุ มากกวา 2 ชนิ้ ง. เปน ช้ินดไี มเ กนิ 3 ช้ิน
จ. เปนช้นิ ดีเกนิ 4 ช้ิน ฉ. เปนช้ินชํารุดอยา งนอ ย 2 ช้นิ
วิธที าํ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เอกสารประกอบการสอน สถิติ 1 อาจารยเ พลฬิ สายปาระ