The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

WeCitizens เสียงเขาใหญ่-ปากช่อง <br>หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ จากคณะวิจัย “เมืองแห่งการเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่โคกหนองนาโมเดล เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน พื้นที่เข้าใหญ่ ปากช่อง” ดำเนินการโดย ปรเมศวร์ สิทธิวงศ์ หัวหน้าโครงการวิจัย สังกัดบริษัทเขาใหญ่พาโนราม่าวิสาหกิจเพื่อสังคมจำกัด <br><br>WeCitizens เขาใหญ่-ปากช่อง ดำเนินการจัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะ เพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens) สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WeCitizens, 2023-06-02 08:02:40

WeCitizens : เขาใหญ่-ปากช่อง

WeCitizens เสียงเขาใหญ่-ปากช่อง <br>หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ จากคณะวิจัย “เมืองแห่งการเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่โคกหนองนาโมเดล เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน พื้นที่เข้าใหญ่ ปากช่อง” ดำเนินการโดย ปรเมศวร์ สิทธิวงศ์ หัวหน้าโครงการวิจัย สังกัดบริษัทเขาใหญ่พาโนราม่าวิสาหกิจเพื่อสังคมจำกัด <br><br>WeCitizens เขาใหญ่-ปากช่อง ดำเนินการจัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะ เพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens) สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

เขาใหญ่ -ปากช่ อง ห ้ องเรียนรู้ สีเขียว 1


เขาใหญ่ -ปากช่ อง 2


WeCitizens KHAO YAI & PAK CHONG 3


อุทยานแหงชาติเขาใหญ ่ ่ คืออุทยานแหงชาติแห ่ งแรกของประเทศไทย ตามประกาศใน ่ ราชกิจจานุเบกษา เล่ ม 79 ตอนที่ 86 ลงวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2505 มีอาณาเขต ครอบคลุม 11 อ�าเภอ ของ 4 จังหวัด คือ อ�าเภอมวกเหล็ก อ�าเภอแก่ งคอย จังหวัดสระบุรี อ�าเภอปากชอง อ� ่าเภอวังน้า�เขียว จังหวัดนครราชสีมา อ�าเภอนาดี อ�าเภอกบินทรบุรี อ� ์าเภอ ประจันตคาม อ�าเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี และอ�าเภอปากพลี อ�าเภอบ้ านนา อ�าเภอเมือง จังหวัดนครนายก รวมเนื้อที่ 1,355,468.75 ไร่ หรือ 2,168.75 ตารางกิโลเมตร ไดรับสมญา ้ นามเป็ นอุทยานมรดกของกลุ่ มประเทศอาเซียน ด้ วยความเป็ นป่ าผืนใหญ่ ในเทือกเขาพนม ดงรัก ในส่ วนหนึ่งของดงพญาเย็นหรือดงพญาไฟในอดีต ประกอบด้ วยขุนเขาน้ อยใหญ่ สลับซับซ้ อนหลายลูก เป็ นแหล่ งก�าเนิดต้ นน้�าล�าธารส�าคัญหลายสาย เช่ น แม่ น้�านครนายก และแม่ น้�ามูล อุดมสมบูรณ์ ด้ วยพันธุ์ ไม้ และสัตว์ ป่ านานาชนิด เช่ น ช้ างป่ า กวางป่ า เก้ ง กระทิง เสือ ตลอดจนมีลักษณะทางธรรมชาติที่สวยงาม กอเกิดคุณประโยชน ่ มหาศาลทั ์ งใน้ ด้ านทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศตามธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ ส่ งเสริม การอนุรักษ์ ธรรมชาติและการท่ องเที่ยวเรียนรู้ เมื่อกรมทางหลวงแผนดินตัดถนนทางหลวงแผ ่ นดินหมายเลข 2090 สายปากช ่ อง-เขาใหญ ่ ่ หรือถนนธนะรัชต์ โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ผู้ มีนโยบายสราง้ สาธารณูปโภคส�าคัญ เช่ น ไฟฟ้ า ประปา ถนน กระจายทั่วทั้งในเมืองและชนบท รวมถึงเห็น ความส�าคัญของการอนุรักษ์ ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใช้ เป็ นรากฐานในการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม อันน�าไปสูการจัดตั ่งอุทยานแห้งชาติแห ่ งแรกของประเทศ ได ่มา้ ท�าพิธีเปิ ดถนนธนะรัชต์ เมื่อปี พ.ศ. 2505 ก็นับเป็ นการเปิ ดเส้ นทางคมนาคมเชื่อมจากถนน มิตรภาพเข้ าสู่ อุทยานแหงชาติเขาใหญ ่ ่ ได้ อย่ างสะดวก ทั้งส่ งผลใหอ� ้าเภอปากช่ อง จังหวัด นครราชสีมา ซึ่งมีเขตติดตอกับผืนป ่ ่ าดงพญาเย็น ไดรับการพัฒนาเติบโตขึ้นอย ้ างรวดเร็ว ่ นัยว่ าพื้นที่โดยรอบมีลักษณะเป็ นที่ราบสูงสลับกับภูเขา ท�าให้ สภาพอากาศทั่วไปเย็นเกือบ ตลอดทั้งปี เหมาะแก่ การท�าปศุสัตว์ ขนาดใหญ่ และเกษตรกรรม จึงเป็ นที่ตั้งศูนย์ กลางการ ค้ าสินค้ าเกษตร สินค้ าพื้นเมือง อาคารพาณิชย์ ที่อยู่ อาศัย โรงเรียน ศาสนสถาน โรงแรม ขนาดใหญ่ รีสอรต ร์ านอาหาร คาเฟ ้ ่ สนามกอลฟ บ ์ านหลังที่สองหรือบ ้ านพักส ้ วนตัวส� ่าหรับ ครอบครัว เกิดความเชื่อมโยงของกิจกรรมทองเที่ยวและสันทนาการทั ่ งภายนอกและภายใน้ พื้นที่อุทยานฯ เชน กิจกรรมเยี่ยมชมภายในฟาร ่ ม อันท� ์าใหการท้ องเที่ยวเชิงเกษตรเกิดการ ่ พัฒนาและเติบโตขึ้น ขณะเดียวกัน ภาพของชุมชนริมสองข้ างทางถนนธนะรัชต์ ก็เติบโต อย่ างรวดเร็ว เจาของธุรกิจท ้ ่ องเที่ยวเรียนรู้ และปรับตัวในการสร้ างกิจกรรมสันทนาการ รองรับความตองการของนักท ้ องเที่ยว โดยอาศัยบรรยากาศ สภาพธรรมชาติ สิ ่งแวดล่อม้ ที่ดีเป็ นแม่ เหล็กดึงดูด และยึดโยงความหลากหลายของการพัฒนาชุมชนกับการร่ วมด้ วย ช่ วยกันอนุรักษ์ มรดกโลกทางธรรมชาติ เขาใหญ่ ปากช่ อง หองเรียนอันแผ ้ ่ กว้ าง 4


การพัฒนาที่ถาโถมเขาสู้ ่ พื้นที่เขาใหญ่ ปากชอง การเป็ นพื้นที่ปลูก ่ ข้ าวโพดเคมีมากกว่ าแสนไร่ มากที่สุดในจังหวัดนครราชสีมา คิด เป็ นร้ อยละ 27 ของพื้นที่ปลูก และสถานการณ์ โควิด-19 ล้ วนส่ ง ผลกระทบตอการด� ่ารงชีวิตทุกดาน ท� ้าให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงครัง้ ใหญ่ ทั้งผืนดิน น้�า อากาศ ระบบนิเวศ และผู้ คน ก่ อให้ เกิดปั ญหา วิกฤติ ซึ่งมีแนวโนมส้ งผลเสียหายอย ่ างมากในอนาคตอันใกล ่ ้ ไดแก้ ่ ปั ญหาสิ่ งแวดล้ อมและโครงสร้ างพื้นฐานที่ส�าคัญ คือ ดิน น้�า อากาศ ขยะ น้�าบาดาล สัตว์ ป่ าบุกรุก (ช้ าง) พื้นที่ป่ าลดลง ป่ า เปลี่ยนสภาพ และเกิดปั ญหาไฟป่ า ปั ญหาการท�าเกษตรเคมี ปลูก พืชเชิงเดี่ยวและการเผาซังขาวโพด ท� ้าให้ เกิดฝุ่ น PM2.5 สูง ปั ญหา การจัดการน้า�ที่ไมสามารถกักเก็บ ่น้า�ฝนที่ตกในพื้นที่ไว้ ได้ ท�าให้ เกิด ปั ญหาน้�าหลากน้�าท่ วมจากปริมาณฝนที่ตกมากเกินไป ปั ญหาการ ใชน้้า�บาดาลของประชาชน ผูประกอบการ และเกษตรกรที่อาศัยอยู ้ ่ ในพื้นที่รอบเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญ ่ ่ ท�าใหปริมาณ ้น้า�ใตดินบน ้ เขาใหญ่ ลดลงเร็วกว่ าปกติ ส่ งผลใหป้่ าเปลี่ยนสภาพจากในอดีตที่ เป็ นป่ าดงดิบ เปลี่ยนเป็ นป่ าดิบชื้น เปลี่ยนเป็ นป่ าดิบเขา เปลี่ยนเป็ น ป่ าดิบแลง และก� ้าลังจะเปลี่ยนเป็ นป่ าเบญจพรรณ สงผลให ่ ้ เกิดไฟ ป่ า ปั ญหาการน�าแนวทางทฤษฎีใหมประยุกต ่สู์ ่ โคก หนอง นา โมเดล ไปปฏิบัติอย่ างไม่ เข้ าใจ ไม่ เข้ าถึง ขาดความช�านาญและความคิด สร้ างสรรค์ ในการแก้ ไขปั ญหาที่ไม่ ชัดเจน บอกต่ อแนวทางที่ผิด ตลอดจนปั ญหาความรวมมือของภาคีเครือข ่าย ภาคส่วนต่ างๆ ใน ่ พื้นที่ ไม่ ประสานสอดคล้ องไปในทิศทางเดียวกัน จึงน�ามาสู่ การ แสวงหาแนวทางแก้ ไขปั ญหาทั้งหมดอย่ างยั่งยืนร่ วมกันของ 7 ภาคีเครือข่ ายในจังหวัดนครราชสีมา อันได้ แก สมาคมท่ องเที่ยว เขาใหญ่ อ�าเภอปากชอง ชมรมผู่ ประกอบการอาหารอ� ้าเภอปากชอง ่ สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนนครราชสีมา สภาอุตสาหกรรมท่ อง เที่ยวนครราชสีมา มูลนิธิรักษ์ ดิน รักษ์ น้�า สมาคมศิษย์เก่ า วิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแก ์ ่ น และบริษัทเขาใหญ่ พาโน ราม่ า วิสาหกิจเพื่อสังคม จ�ากัด หนวยบริหารและจัดการทุนวิจัยด ่ านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ้ และส�านักงานคณะกรรมการส่ งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (สกสว.) ใหการสนับสนุนโครงการวิจัยเรื่อง “เมืองแห ้ง่ การเรียนรู้ ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์ สู่ โคก หนอง นา โมเดล ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการท่ องเที่ยวอย่ างยั่งยืนในพื้นที่ เขาใหญ่ ปากช่ อง” เพื่อสร้ างรูปแบบเมืองแห่ งการเรียนรู้ จาก ทฤษฎีใหม่ ประยุกตสู์ ่ โคก หนอง นา เขาใหญ่ ในการเรียนรู้ เชิงทอง่ เที่ยว ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมให ่ ้ เกิดการเรียน รู้ ตลอดชีวิต สร้ างการท่ องเที่ยวอย่ างยั่งยืน สร้ างแหล่ งความรู้ และการกระจายความรู้ ด้ านทฤษฎีใหม่ ประยุกต์ สู่ โคก หนอง นา โมเดล น�าไปสู่ การปฏิบัติในท้ องถิ่ น ส่ งเสริมอาชีพให้ เกิดในชุมชน ลดการละทิ้ งถิ่ นฐานเพื่อเข้ าเมือง พัฒนาระบบเศรษฐกิจฐานราก รวมถึงการตลาดที่มีความทันสมัย และเป็ นสถานที่ที่ผู้ คนได้ สัมผัส ความเป็ นมาของเขาใหญ่ ปากช่ อง วิถีชุมชน วัฒนธรรม และการ ศึกษา ก่ อเกิดผลลัพธ์เป็ นหลักสูตรการเรียนรูทฤษฎีใหม ้ ่ ประยุกต์ สู่ เมืองแห่ งการเรียนรู้ ตามหลักสถาปั ตย์ และวิศวกรรม ในบริบท ของเขาใหญ่ เป็ นหลักสูตรแรกของประเทศไทย และ “โคก หนอง นา เขาใหญ่ ” ยังเป็ นสถานที่เรียนรู้ ศึกษาดูงาน ทองเที่ยว ให ่ความ้ รูด้ านโคกหนองนา และประวัติศาสตร ้ เรื่องหินอ ์ อนที่อยู ่ ่ ใตพื้นที่ รวม ้ ถึงการน�าเสนอโคกหนองนาในบริบทเขาใหญ่ ที่มิใช่ เป็ นหนองเพื่อ การกักเก็บน้�า หากเป็ นหนองเพื่อการเติมน้�าลงดิน ช่ วยแก้ ปั ญหา ส�าคัญของเขาใหญ่ ทั้งเป็ นการสรางต้ ้ นแบบ “โคก หนอง นา เขา ใหญ่ ” เน้ นการเชื่อมโยงระหว่ างพื้นที่การท่ องเที่ยว พื้นที่พาณิช ยกรรม พื้นที่ป่ าอนุรักษ์ และพื้นที่ตามหลักบวร ให้ เป็ นศูนยรวมการ์ ตอยอด การพัฒนาสินค ่ าจากเครือข ้ าย การบูรณาการการเรียนรู ่ ้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เกิดเป็ นการจัดท�า Khaoyai Learning Market Walking Street : ถนนคนเดิน เขาใหญ่ ออกแบบพื้นที่ใน รูปแบบถนนคนเดิน อนุรักษธรรมชาติ และเป็นตัวอย ์ างสถานที่เรียน ่ รู้ สรางรายได ้ จากโครงการ “โคก หนอง นา เขาใหญ ้ ่ ” ใหผู้ ้ เขาร้วม่ โครงการมีแหลงกระจายสินค ่า ต้ อยอดการน� ่าสินคา พืช ผัก ผลไม ้ ้ และผลิตภัณฑอินทรีย ์ มาจ� ์าหนาย ส่ งเสริมการพัฒนาบุคลากรที่อยู ่ ่ ในทองถิ ้ นให ่ มีศักยภาพในการผลิต การพัฒนาผลิตผล ผลิตภัณฑ ้ ์ ให้ มีคุณภาพระดับสากล รวมถึงน�านวัตกรรมมาใช้ กับผลิตภัณฑ์ ทองถิ ้ น เกิดศูนย่ กระจายวัตถุดิบอินทรีย ์ ในการประกอบอาหาร ให ์ ้ ประชาชน ลูกค้ า นักท่ องเที่ยว อันจะส่ งผลถึงภาพรวมและแผน พัฒนาเมืองอย่ างยั่งยืนเพื่อท�าให้ เขาใหญ่ ปากช่ อง เป็ นเมือง อาหารอินทรีย์ ในอนาคตอันใกล้ KHAO YAI & PAK CHONG 5


เมื่อโครงการสรางทางรถไฟจากกรุงเทพฯ ถึงนครราชสีมา เริ ้มต่ ้ นขึ้นเป็ นทางรถไฟสายแรกของ ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2434 กอนจะแล่ วเสร็จด ้ วยระยะทางทั ้ งสิ้ น 265 กิโลเมตร โดยพระบาทสมเด็จ ้ พระจุลจอมเกลาเจ้าอยู้ หัวเสด็จพระราชด� ่าเนินไปทรงเปิ ดการเดินรถเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2443 ได้ ก่ อสรางทางผ้ ่ านกลางหมู่ บ้ านเล็กๆ ในต�าบลขนงพระ อ�าเภอจันทึก จังหวัดนครราชสีมา จ�าเป็ น ต้ องระเบิดภูเขาเพื่อวางทางรถไฟ ท�าให้ หมู่ บ้ านถูกระเบิดหินท�าทางรถไฟเป็ นช่ อง จึงเรียกหมู่ บ้ าน ปากช่ องเขานั้นว่ า “บ้ านปากช่ อง” ซึ่งในปี 2492 ได้ ยกฐานะเป็ นต�าบลปากช่ อง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 สายสระบุรี- สะพานมิตรภาพจังหวัดหนองคาย หรือถนน มิตรภาพ เป็นทางหลวงสายแรกที่ก่อสร้าง ถูกต้องตามแบบมาตรฐานการก่อสร้าง ทางหลวงทุกขั้นตอน และเป็นทางหลวงสาย แรกของประเทศไทยที่มีผิวจราจรลาดยางแบบ แอสฟอลต์คอนกรีต เริ่มสร้างในปี พ.ศ. 2498 โดยได้รับความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกา ด้านงบประมาณก่อสร้าง เทคนิควิชาการใน การก่อสร้าง และจ้างผู้เชี่ยวชาญชาวอเมริกัน มาให้ค�ำแนะน�ำ จึงเรียกชื่อถนนสายนี้ว่า “ถนน เฟรนด์ชิป” เพื่อแสดงถึงมิตรภาพของ ประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกาในการก่อสร้าง ถนน โดยมีพิธีมอบถนนสายมิตรภาพให้ ประเทศไทยเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 ณ อ�ำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี โดยการ ก่อสร้างถนนระยะแรกเริ่มต้นจากจังหวัดสระบุรี ผ่านอ�ำเภอปากช่อง อ�ำเภอสีคิ้ว อ�ำเภอสูงเนิน สิ้นสุดที่ตัวเมืองนครราชสีมา ระยะทาง 148 กิโลเมตร จากนั้นได้ก่อสร้างช่วงต่อจากจังหวัด นครราชสีมา จนถึงจังหวัดหนองคาย รวมเป็น ระยะทาง 509 กิโลเมตร เปิดใช้ถนนเมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2508 อันนับว่าอ�ำเภอปากช่องคือ ประตูสู่อีสานค่าที่เป็นอ�ำเภอแรกสุดของการเดิน ทางจากถนนมิตรภาพที่เป็นถนนสายหลักเข้าสู่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขาใหญ่ ปากชอง ่ พื้นที่หัวใจสีเขียว 6


ด้วยเส้นทางรถไฟสายแรกของประเทศไทย และทางหลวงสายแรกตามแบบมาตรฐาน ท�ำให้ต�ำบลปากช่องเจริญอย่างรวดเร็ว จน ได้รับการยกฐานะเป็นกิ่งอ�ำเภอปากช่อง และอ�ำเภอปากช่องในปี 2501 ปัจจุบันมี เนื้อที่ประมาณ 1,825.2 ตารางกิโลเมตร เป็นอ�ำเภอที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่สุดในจังหวัด นครราชสีมา มีประชากรมากเป็นอันดับสอง รองจากอ�ำเภอเมืองนครราชสีมา อยู่ห่าง จากเมืองนครราชสีมาประมาณ 85 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับอ�ำเภอสีคิ้ว ที่ตั้งของ เขื่อนล�ำตะคอง ซึ่งหากเดินทางด้วยรถไฟ หรือรถยนต์ไปตามถนนมิตรภาพ ก็จะได้ เห็นทิวทัศน์เขื่อนล�ำตะคอง และแนวกังหัน ลม 12 ต้นตั้งตระหง่านตามรายทาง อันได้ กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมแห่ง หนึ่งบนถนนมิตรภาพช่วงปากช่อง-สีคิ้วนครราชสีมา ที่เรียกกันติดปากว่า “ทุ่งกังหัน ลมเขายายเที่ยง” โครงการกังหันลมผลิตไฟฟ้าล�ำตะคองระยะที่ 2 ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และอ่างพักน�้ำตอนบนโรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา จัดตั้งขึ้นเพื่อเสริม ระบบไฟฟ้าให้เพียงพอในช่วงที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง โดยกังหันลมขนาดก�ำลัง ผลิตต้นละ 2 เมกะวัตต์ จ�ำนวน 12 ต้น รวมก�ำลังผลิต 24 เมกะวัตต์ ทอดยาว 8 กิโลเมตร บนเขายายเที่ยง ต�ำบลคลองไผ่ อ�ำเภอสีคิ้ว มีความพิเศษตรงที่เป็นการ น�ำกังหันลมมาท�ำงานร่วมกับเซลล์เชื้อเพลิง เรียกว่า Wind Hydrogen Hybrid ซึ่งเป็น ระบบกักเก็บและจ่ายไฟฟ้าแห่งแรกและแห่งเดียวในภูมิภาคเอเชีย ท�ำให้สามารถกัก เก็บพลังงานลมซึ่งพัดมากในช่วงเวลากลางคืน น�ำไฟฟ้ามาใช้ในช่วงกลางวันในอาคาร ศูนย์การเรียนรู้ล�ำตะคองที่จะเป็นอาคารที่พึ่งพาพลังงานจากพลังงานหมุนเวียน 100% อย่างมีเสถียรภาพ ขณะเดียวกัน ศูนย์เรียนรู้ระบบพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยอย่าง ครบวงจรนี้ ยังเป็นจุดหมายพักผ่อนหย่อนใจของชาวโคราชและนักท่องเที่ยว โดย เฉพาะช่วงเย็น ที่แสงแดดเริ่มคลายอุณหภูมิ พระอาทิตย์ใกล้ลับริ้วน�้ำเขื่อนล�ำตะคอง และขุนเขาด้านหลัง บริเวณแนวสันเขื่อนของอ่างพักน�้ำตอนบนโรงไฟฟ้าล�ำตะคอง ชลภาวัฒนา คลาคล�่ำด้วยชาวเมืองและต่างถิ่นมาเดินออกก�ำลัง ขี่จักรยาน ชมวิวสวยงาม รายรอบที่ใบพัดใหญ่โตของกังหันลมยุคใหม่หมุนวนกักเก็บพลังงานทางเลือกไว้ไม่รู้จบ การเดินทางบนถนนมิตรภาพช่วงปากช่อง-สีคิ้วนี้ได้เห็นทางลอยฟ้าของทางหลวง พิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 6 หรือ M6 สายบางปะอิน-นครราชสีมา ที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ดี (สักที) แต่มีการเปิดให้ใช้ชั่วคราวช่วงอ�ำเภอปากช่อง-อ�ำเภอ สีคิ้ว และช่วงอ�ำเภอสีคิ้ว-อ�ำเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา ในช่วงเทศกาล หยุดยาวเพื่อแบ่งเบาภาระการจราจร ขณะที่โครงการรถไฟความเร็วสูง กรุงเทพฯนครราชสีมา ก็ก�ำลังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง น่าคิดว่าภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาสังคม และผู้คนในชุมชน เตรียมการรับมือและปรับตัวกับทิศทางการ พัฒนาเมืองกระจายออกไปสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไว้อย่างไรบ้าง เช่นเดียว กับเมื่อเลี้ยวจากถนนมิตรภาพเข้าถนนธนะรัชต์บนเส้นทางปากช่อง-เขาใหญ่ ที่ บางช่วงมีการขยายพื้นผิวถนนให้กว้างขึ้น รองรับการขยายตัวของภาคการค้าและ การท่องเที่ยว โดยต้องแลกกับการตัดต้นไม้ใหญ่ริมทางให้ใครหลายคนลุกขึ้นมาส่งเสียง ถึงความคุ้มค่าว่าเสียมากกว่าได้หรือเปล่า ขณะที่การก่อสร้างแบร์ริเออร์กั้นกลางช่วง ต้นถนนธนะรัชต์ให้คนจากสองฟากฝั่งไม่อาจเดินข้ามไปมาหาสู่กันได้อย่างเก่าก่อน จะ เป็นการถ่างความสัมพันธ์ในชุมชนให้ห่างไกลหรือไม่ และหากมองอีกมุมก็เป็นประโยชน์ ด้านความปลอดภัยของการสัญจร ที่ท�ำอย่างไรจึงจะหาจุดเชื่อมโยงอันสมดุลได้ 7


การเติบโตของเมืองยังส่งผลถึงปัญหาส�ำคัญ ในเรื่องการจัดการน�้ำ แม้ว่าพื้นที่เขาใหญ่ ปากช่องจะมีปริมาณน�้ำฝนตกถึง 10 เดือน ต่อปี แต่ไม่สามารถเก็บน�้ำฝนที่ตกในพื้นที่ ไว้ได้ ท�ำให้เกิดปัญหาน�้ำหลาก และปัญหา การใช้น�้ำบาดาลมากเกินในพื้นที่รอบเขต อุทยานเขาใหญ่ ท�ำให้ปริมาณน�้ำใต้ดิน บนเขาใหญ่ลดลงเร็วกว่าปกติ การที่ผืน แผ่นดินเขาใหญ่ ปากช่องพบหินอ่อนอยู่ ใต้ดินจ�ำนวนมาก เพราะต�ำแหน่งที่ตั้งของ อ�ำเภอปากช่อง คือมุมด้านตะวันตกเฉียง ใต้ของแผ่นดินอีสาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ เปลือกโลกที่นักธรณีวิทยาเรียกว่า “แผ่น ธรณีอินโดจีน” ที่เคยเป็นทะเลมาก่อน จึงพบหลักฐานอย่างซากปะการัง และ สัตว์ทะเลอื่นๆ โดยเขาใหญ่อยู่ตรงรอยต่อ ของเปลือกโลก บางพื้นที่มีหินอ่อนแทรก ระหว่างหินปูนที่เป็นผืนใหญ่ติดต่อไปทาง ตะวันตก จนถึงพม่า กับแผ่นหินตะกอนผืน ใหญ่ที่ทอดไปทางตะวันออก ถึงกัมพูชา โครงการเรียนรู้ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่โคก หนอง นา โมเดล ดังที่เขาใหญ่ พาโนราม่า ฟาร์ม ได้ท�ำการขุดหนองในพื้นที่แล้วพบทุ่งหินอ่อน จึงปรับเป็นโคก หนอง นา ในบริบทเขาใหญ่ คือแทนที่จะเป็นหนองเก็บน�้ำธรรมดา ก็เป็นหนองเพื่อรวบรวมน�้ำฝนที่ตกในพื้นที่ 90 ไร่ และพื้นที่เขาแหลมหลังฟาร์ม 20 ตารางกิโลเมตร เติมลงดินเป็นหนองหินอ่อนริมถนน ธนะรัชต์ที่เดียวในเขาใหญ่ เพื่อลดปัญหาน�้ำหลาก และช่วยเติมน�้ำลงดินให้เขาใหญ่ ลด ปัญหาการใช้น�้ำบาดาลมากเกิน หากผู้ประกอบการ เจ้าของพื้นที่ เกษตรกร ขุดหนอง สร้างทางน�้ำไหลให้ซึมลงดินเพื่อเติมน�้ำให้มากขึ้นก็จะบรรเทาปัญหาใหญ่ของพื้นที่ได้ พื้นที่เขาใหญ่ ปากช่อง เติบโตขึ้นเรื่อยๆ เพียงรอบปีเดียว ธุรกิจร้านค้า โรงแรม ร้าน อาหาร คาเฟ่ ผุดขึ้นมากมาย ทั้งในรูปแบบโครงการใหญ่ ร้านลับซุกซ่อนในหุบเขา ไร่ ข้าวโพด ไร่มันส�ำปะหลัง สวนเกษตรอินทรีย์ที่แบ่งภาคการผลิตมาสู่แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ และแหล่งท�ำกิจกรรมหลากรูปแบบที่เพิ่มทางเลือกให้นักท่องเที่ยวได้ใช้จ่ายเวลาให้สนุกขึ้น อาทิ สวนสัตว์ สวนสนุก สนามแข่งรถโกคาร์ต อาร์ตแกลเลอรี่ ทัวร์ไร่องุ่น และถนนคนเดิน ส่วน บรรยากาศตลาดนัดยามเย็นในตัวเมืองปากช่องยังคงคึกคักแม้สถานการณ์โควิด-19 ที่ผ่านมาจะ ซบเซาไปพอสมควร แต่ดูเหมือนว่าองค์ประกอบหลักที่ท�ำให้พื้นที่เขาใหญ่ ปากช่องไม่เงียบเหงา จนเกินไป คืออุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ที่การประกาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2505 ให้เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย เป็นแรงดึงดูดที่พาผู้คนเข้ามาในพื้นที่ อย่างไม่ขาดสายนับแต่นั้น 8


อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ไม่เพียงได้รับการยกย่องเป็นอุทยานมรดกแห่งอาเซียน (ASEAN Heritage Parks) อันเป็น “พื้นที่อนุรักษ์ที่มีความส�ำคัญสูงที่เป็นตัวแทนระบบนิเวศของภูมิภาค” ยัง ได้รับการขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติล�ำดับที่ 184 ของโลก เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ภายใต้ชื่อ “พื้นที่กลุ่มป่าดงพญาเย็น - เขาใหญ่” ประกอบด้วยพื้นที่คุ้มครอง (Protected Area) 5 แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติปางสีดา อุทยานแห่งชาติทับลาน อุทยานแห่งชาติตาพระยา และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ รวมเนื้อที่ประมาณ 3,845,082.53 ไร่ หรือราว 6,152.13 ตารางกิโลเมตร โดยอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีเนื้อที่รวม 1,355,468.75 ไร่ หรือ 2,168.75 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 11 อ�ำเภอของ 4 จังหวัด พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ใน ท้องที่จังหวัดปราจีนบุรี คือ ประมาณ 721,260 ไร่ หรือ 53 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่อุทยานฯ ทั้งหมด รองลงมาอยู่ในท้องที่จังหวัดนครนายก ประมาณ 364,600 ไร่ หรือ 27 เปอร์เซ็นต์ ท้องที่จังหวัด นครราชสีมา ประมาณ 197,000 ไร่ หรือ 15 เปอร์เซ็นต์ และตั้งอยู่ในท้องที่จังหวัดสระบุรีน้อย ที่สุด คือ ประมาณ 70,570 ไร่ หรือ 5 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่อุทยานฯ ทั้งหมด แต่ด้วยถนนธนะรัช ต์ที่ตัดเข้ามาจากถนนสายหลักอย่างถนนมิตรภาพ มุ่งตรงขึ้นที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ด้านอ�ำเภอปากช่อง ท�ำให้เดินทางสะดวก ครบถ้วนด้วยแหล่งบริการรายเรียงสองฟากถนนธนะ รัชต์ โดยมีศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2505 ตั้งอยู่ ณ กม.24 ถนนธนะรัชต์ ที่ผู้มา เยือนอุทยานฯ และคนในพื้นที่มากราบสักการะขอพรอยู่เสมอ การมา ”เขาใหญ่” จึงอาจหมาย ถึงเพียงพื้นที่รายรอบในอ�ำเภอปากช่อง และหลายครั้ง ผู้มาเยือนก็มิได้เข้าไปยังพื้นที่อุทยาน แห่งชาติเขาใหญ่เลยด้วยซ�้ำ กระนั้นก็ดี อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่คือหมุดหมายส�ำคัญของการมาเยือนพื้นที่ธรรมชาติอันเป็น แหล่งโอโซนไม่ไกลจากเมืองหลวงอย่างกรุงเทพมหานครและตัวเมืองโคราช ด้วยสภาพพื้นที่อยู่ ด้านตะวันตกของเทือกเขาพนมดงรัก สูงขึ้นมาจากที่ราบภาคกลางก่อตัวเป็นแนวเขตของที่ราบสูง โคราช ประกอบด้วยทุ่งกว้างสลับกับป่าไม้ เป็นแหล่งก�ำเนิดต้นน�้ำล�ำธารส�ำคัญถึง 5 สายได้แก่ แม่น�้ำปราจีนบุรี และแม่น�้ำนครนายก ในพื้นที่ทางทิศใต้ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีความ ส�ำคัญต่อการเกษตรกรรม ระบบทางเศรษฐกิจและสังคมของภูมิภาคนี้ แม่น�้ำทั้ง 2 สายนี้ มา บรรจบกันที่จังหวัดฉะเชิงเทรา กลายเป็นแม่น�้ำบางปะกงแล้วไหลลงสู่อ่าวไทย ห้วยล�ำตะคอง และห้วยล�ำพระเพลิง อยู่ในพื้นที่ทางทิศเหนือ ไหลไปหล่อเลี้ยงพื้นที่เกษตรกรรมของที่ราบสูง โคราช ไปบรรจบกับแม่น�้ำมูล แหล่งน�้ำส�ำคัญของภาคอีสานตอนล่างไหลลงสู่แม่น�้ำโขง ห้วย มวกเหล็ก อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มีปริมาณน�้ำไหลตลอดทั้งปีและให้ประโยชน์ทางด้าน การเกษตร โดยเฉพาะการปศุสัตว์ของภูมิภาคนี้ ไหลลงสู่แม่น�้ำป่าสัก ที่อ�ำเภอมวกเหล็ก นอกจาก นี้ ยังเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตภายใต้ระบบนิเวศที่รวมความอุดมสมบูรณ์ของพืชและสัตว์ มี คุณค่า ความส�ำคัญต่อการอนุรักษ์และคุ้มครองดูแลทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า และพื้นที่ธรรมชาติ ให้คงอยู่ในสภาพเดิม นับเป็นห้องเรียนกลางแจ้งขนาดมหาศาลเพื่อการเรียนรู้ทางธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมส�ำหรับทุกเพศทุกวัย กิจกรรมท่องเที่ยวพักผ่อนของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มีหลากหลายตั้งแต่การส่องสัตว์ ดูนก ล่องแก่ง กางเต็นท์ค้างแรม เที่ยวน�้ำตก ดูวิว ชมดอกไม้ และเดินป่า ซึ่งมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ 7 เส้นทางระยะสั้น ระยะทาง 1.2-8 กิโลเมตร ใช้เวลาเดิน 45 นาที - 6 ชั่วโมง มีสัญลักษณ์ระบุเส้นทางเดินเป็นระยะๆ บางเส้นทางสามารถเดินได้ด้วยตนเอง บางเส้นทางต้องมีเจ้าหน้าที่น�ำทาง สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ศูนย์บริการนักท่อง เที่ยว ซึ่งมีการจัดการที่ดีทีเดียว บริเวณศูนย์ฯ ยังมีจุดถ่ายภาพ นิทรรศการ ร้านอาหารเครื่องดื่ม จุดจอดรถ ห้องน�้ำ รวมถึงเริ่มต้นเดินเส้นทางสั้นๆ แค่ 1.2 กิโลเมตรถึงน�้ำตกกองแก้ว เดินข้าม สะพานแขวนออกมาหลังที่ท�ำการอุทยานฯ แล้วก็เดินต่ออีกเส้นทางจากผากล้วยไม้ไปยังน�้ำตก เหวสุวัตได้ หรือเส้นทางศึกษาธรรมชาติกม.33 - หนองผักชี (90 ปี ความสัมพันธ์ ไทย-สวิตเซอร์ แลนด์) ที่ได้สมญานามว่า “ภัตตาคารของสัตว์ป่า” ด้วยความหลากหลายของป่าดิบแล้ง ป่ารุ่น สอง และทุ่งหญ้า มีต้นไม้ใหญ่ เช่น ไทร หว้า ที่ดึงดูดนกและสัตว์ป่านานาชนิดเข้ามากินลูกไม้ ต้นกะเพรายักษ์ที่มีเฉพาะป่าดงพญาเย็น และเมื่อเดินถึงหอดูสัตว์หนองผักชี ก็เฝ้าดูสัตว์น้อย ใหญ่ เช่น ช้าง กระทิง ชะนี นกเงือก ซึ่งเห็นได้เฉพาะหน้าแล้ง ออกหากินตามแหล่งน�้ำและดิน โป่งในทุ่งหญ้าได้ เมื่อสูดอากาศ ดื่มด�่ำธรรมชาติในอุทยาน มรดกโลกเขาใหญ่แล้ว การหาอะไรกินดื่ม เรียกพลังให้ฟื้นคืนคือความรื่นรมย์ของการ มาเยือน อย่างที่กล่าวไปว่า ร้านอาหารและ คาเฟ่ใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย ไหนจะร้านที่ เปิดมาก่อน ทั้งร้านในต�ำนานอีกล่ะ ลิสต์ รายชื่อจึงยาวพอจะให้ผู้มาเยือนได้เลือกไม่ ถูก ตั้งแต่ร้านอาหารเก่าแก่อย่างครัวเขา ใหญ่ ร้านอาหารปักษ์ใต้รสชาติดีงามอย่าง ครัวบินหลา ร้านอาหารเป็นลาวที่มีดีกรีมิ ชลินไกด์ ประเทศไทย ประจ�ำปี 2566 ร้าน ข้าวต้ม กม.9 ที่กับข้าวอร่อย ข้าวต้มใบเตย หอมนุ่มลื่นคอ และเสิร์ฟให้ฟรีไม่อั้น ขณะที่ การมาเยือนเขาใหญ่ก็ต้องได้กินสเต็กสักมื้อ ร้านสเต็กตัวพ่อ ที่ย่างเนื้อด้วยเตาถ่าน หรือ ร้าน Dairy Home ริมถนนมิตรภาพ ที่ไม่ได้มี ดีที่นมสดอินทรีย์ นมเบดไทม์ที่ดื่มแล้วนอน หลับสบาย ยังมีไอศกรีมหลายรสชาติ และ อาหารจานหลักอย่างสเต็กให้ได้อิ่มอร่อย รวมถึงความสนุกของการเที่ยวตามคาเฟ่ที่ เรียกว่า Café Hopping คือเที่ยวทีหลายที่ เข้าคาเฟ่นั้น ออกคาเฟ่นี้ ที่เราไปดื่มกาแฟ จากโรงคั่วใต้ถุนร้าน HOL Café & Roastery แล้วต่อด้วยขนม Cruffle Fruity ที่ร้านกาแฟ El Café ในวิวเขาใหญ่อลังการ ที่ล้วนท�ำให้ เห็นอีกความพยายามของผู้ประกอบการทั้ง หลายที่แม้มาท�ำธุรกิจ แต่ความรักในพื้นที่ เขาใหญ่ก็ผลักดันให้รวมตัวสร้างเครือข่าย ดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกับธรรมชาติ เขาใหญ่ให้อยู่ยั้งยืนยง ด้วยแนวคิดที่ว่า เมื่อ ใช้ประโยชน์จากพื้นที่แล้ว ก็ต้องช่วยกันคืน สิ่งที่เอาจากธรรมชาติกลับเข้าสู่ธรรมชาติ 9


16 24 26 28 30 36 40 44 46 50 52 56 60 63 66 69 72 74 78 80 84 90 96 98 100 ปรเมศวร สิทธิวงศ ์ ์ จิดาภา นาคบุรินทร์ ณิรัสยาธร ขจรเศรษฐวิชญ์ พรทิพย์ รัตนนิสสัย พันชนะ วัฒนเสถียร ค� าสิงห ศรีนอก ์ เจริญ อินรุงเรือง ่ วิชิต อกอุ่ น ประไพพิศ จารุวดีรัตนา ดุสิต รักษาชาติ กิตติภูมิ เฉลียวไว เกศแก้ ว - ดนัย ทิวาเวช ฐิตินันท์ โสรเนตร ชยพล กลมกล่ อม ณิชานันทน์ โชติธนัชชัย ดร.โชติมา ชุบชูวงศ์ ธรรมนูญ สมบัติ นิกร ศรีวิลัย ปวีนา เชี่ยวพานิช พระราชวชิราลังการ (ค� าปอน สุทฺธิญาโณ) พฤฒิ เกิดชูชื่น วรเศรษฐ อรรถรวีวัฒน ์ ์ วัชรีภรณ์ อรุณพันธุ์ว่ าที่รอยตรี นิติ ทองมนต ้ ์ สุรินทร สนธิระติ ์ เสียงเขาใหญ - ปากช่อง่ 10


11


12


13


KHAO YAI & PAK CHONG 14


15


เรียนรู้ พัฒนา เมืองเขาใหญ่ โครงการวิจัย “เมืองแหงการเรียนรู ่ ้ ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์ สู่ โคก หนอง นา โมเดล ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการท่ องเที่ยวอย่ างยั่งยืน ในพื้นที่เขาใหญ่ ปากช่ อง” มุ่ งหมายสรางต้ ้ นแบบ เมืองแหงการเรียนรู ่ ตามแนวคิดการเรียนรู ้ ตลอดชีวิต ้ สรางการท้ ่ องเที่ยวอย่ างยั่ งยืน แหล่ งความรู้ และกระจายความรูด้ ้ านทฤษฎีใหม่ น�าไปสู่ การปฏิบัติใน ท้ องถิ่ น พื้นที่เขาใหญ่ ปากช่ อง WeCitizens อาศัยบรรยากาศเพลิดเพลินของ ถนนคนเดินเขาใหญ่ และพื้นที่โคก หนอง นา เขาใหญ่ นั่ งบนกองฟาง สนทนากับหัวหน้ าโครงการวิจัย ปรเมศวร์ สิทธิวงศ์ แหงบริษัท เขาใหญ ่ ่ พาโนราม่ า วิสาหกิจเพื่อสังคม จ�ากัด ถึงการขับเคลื่อนโครงการ วิจัยฯ ที่สามารถต่ อยอดไปสู่ โครงการเขาใหญ่ ปากช่ อง เมืองอาหารอินทรีย์ และโครงการเขาใหญ่ พัฒนาเมือง ส่ งผลกระทบวงกว้ างถึงอ�าเภอปากช่ อง และจังหวัดนครราชสีมา 16


ในงานวิจัยที่เราท�า พบว่ า ปั ญหาของเขาใหญ่ คือ การใช้ น้ � าบาดาลของคนที่อยู่ รอบ เขาใหญ่ มากเกินกว่ าปริมาณ น้ � าใต้ ดินที่มีอยู่ เลยท�าให้ เกิดอะไรขึ้นรู้ มั้ ย.. ปรเมศวร์ สิทธิวงศ์ หัวหน้ าโครงการวิจัย บริษัท เขาใหญ่ พาโนราม่ าวิสาหกิจเพื่อสังคม จ�ากัด 17


18


กระบวนการศึกษาท้ องถิ่ น และการปฏิบัติงานของโครงการวิจัยฯ โครงการ “เมืองแห่งการเรียนรู้ ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนในพื้นที่เขาใหญ่ ปากช่อง” มี 3 โครงการย่อย หนึ่ง โครงการ “โคก หนอง นา เขาใหญ่” สอง โครงการ Khaoyai Learning Market Walking Street : ถนนคนเดินเขาใหญ่ สาม โครงการเขาใหญ่ ปากช่อง เมืองอาหารอินทรีย์ ทั้งหมดเป็นโครงการพื้นฐานที่จะต่อยอดไป สู่โครงการเขาใหญ่พัฒนาเมือง ซึ่งทางบพท. (หน่วยบริหารและจัดการ ทุนวิจัยและนวัตกรรมด้านการพัฒนาระดับพื้นที่) เป็นผู้สนับสนุน อยู่แล้ว ตอนนี้ในโครงการเขาใหญ่พัฒนาเมืองคิดขึ้นมา 20 โครงการ ย่อย เกี่ยวกับป่า ดอกไม้ น�้ำ MICE City รวมทั้งโครงการเขาใหญ่ ปากช่อง เมืองอาหารอินทรีย์ กับถนนคนเดิน เขาใหญ่ ซึ่งต่อยอดมา จากงานวิจัยในปีแรก พอปีที่สองก็ปฏิบัติเลย ท�ำต่อเนื่องมา และจะ ขยายต่อไปครับ เราขุดปรับพื้นที่โคกหนองนา แล้วก็สร้างหลักสูตรการสอนการ ออกแบบพื้นที่โดยหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา ตาม หลักวิศวกรรม ซึ่งเป็นหลักสูตรแรกของประเทศไทย รับรองโดยบพท. และน�ำหลักสูตรที่ได้มาเริ่มสอนไปหลายครั้งแล้ว เป็นหลักสูตรที่ใช้ สอนได้ตลอดไป คือโคกหนองนาในบริบทของเขาใหญ่ ไม่เหมือน กับโคกหนองนาที่อื่น ที่นี่เราไม่ควรท�ำเป็นพื้นที่เกษตร ไม่ต้องท�ำนา พื้นที่ท�ำนาอยู่ข้างหลังประมาณ 3 แปลงกลายเป็นพื้นที่ปลูกผัก ปลูก ดอกไม้ เป็นโคกหนองนาเพื่อการท่องเที่ยว อย่างโคกหนองนาตรงโน้น เดิมทีเป็นดินราบๆ เราขุดลงไปเป็นหนอง แล้วเอาดินจากหนองมาปั้น โคก โคกก็อยู่เนินตรงนั้น เราจัดท�ำเป็นเวที เป็นลานนั่ง ลานกิจกรรม ให้คนมาเที่ยว มาถ่ายรูป แล้วแทนที่จะเป็นหนองน�้ำ กลายเป็นเรา ขุดไปเจอหินอ่อนเต็มหนองไปหมดเลย เราก็ท�ำสตอรี่ของหินอ่อน ตั้ง ชื่อว่า Jurassic Marble เพราะเป็นหินดั้งเดิมตั้งแต่เมื่อไหร่ไม่รู้ล่ะ แล้วตรงนี้เจอซากฟอสซิลหอยทะเลด้วย ในงานวิจัยที่เราท�ำ พบว่า ปัญหาของเขาใหญ่คือการใช้น�้ำบาดาลของ คนที่อยู่รอบเขาใหญ่มากเกินกว่าปริมาณน�้ำใต้ดินที่มีอยู่ เลยท�ำให้ เกิดอะไรขึ้นรู้มั้ย ท�ำให้ระดับน�้ำใต้ดินลดลงเร็วกว่าธรรมชาติ เลยไป ดึงระดับน�้ำใต้ดินที่อยู่บนเขาใหญ่ให้ลดลงเร็วด้วย ท�ำให้น�้ำตกก็แห้ง ในหน้าแล้งได้ ต้นไม้ที่รากไม่ลึก ที่เป็นอาหารสัตว์ ก็ไม่ค่อยโต เป็น ที่มาว่าสัตว์ต้องออกจากเขาใหญ่มาหากิน เป็นที่มาว่าท�ำไมช้างมา ถึงตรงนี้ ห่างจากเขตอุทยานฯ ตั้งสิบกิโล ที่นี่เราท�ำให้ดูว่าโคกหนองนา ของเราไม่ใช่หนองเพื่อเก็บน�้ำ เป็นหนองเพื่อการเติมน�้ำลงดิน เพื่อช่วย แก้ปัญหาของเขาใหญ่ อย่างวันที่ฝนตกเยอะๆ น�้ำหลากเต็มไปหมด เลย น�้ำจะไปเข้าตรงโคก เลี้ยวเข้าไปในหนอง เติมซึมลงดินไป เราจึง เห็นรอยคราบดินอยู่ในหนอง การเปิ ดโครงการ Khaoyai Learning Market Walking Street : ถนนคนเดิน เขาใหญ่ ตอนแรกเปิด (ปี 2564) เราตั้งใจเปิดทุกวันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ทั้งปี แต่ปรากฏว่าพอฝนมาปุ๊บ ที่นั่งกองฟางเปียกหมดเลย ไม่เวิร์กละ ก็เลยตัดสินใจว่าเปิดเฉพาะเดือนธันวาคมกับมกราคม เพราะเราเก็บ ข้อมูลฝนตกมาหลายปีแล้ว ว่าฝนจะไม่ตกอยู่แค่สองเดือนนี้ เขาใหญ่ เป็นสถานที่ที่ฝนตกปีนึง 10 เดือน ไม่ได้ขาดน�้ำนะ แต่เราเก็บน�้ำไว้ไม่ ได้ เวลาตกมาเยอะๆ มันก็หลากไป แล้วก็ไปท่วมในปากช่อง แต่ถ้าทุก ที่ท�ำเหมือนโคกหนองนาเขาใหญ่ มีร่องเยอะๆ แล้วก็ช่วยกันเติมน�้ำลง ดิน ไม่ให้น�้ำฝนจากที่ตัวเองตกมาแล้วหลากไปสร้างความเดือดร้อน ให้ผู้อื่น ให้ตกลงไปแล้วเก็บลงดินในพื้นที่ โครงการต่อเนื่องตรงนี้คือ เราพยายามเอาไปใช้ในโครงการเขาใหญ่พัฒนาเมือง แนะน�ำให้ทุกคน ผู้ประกอบการทั้งหลาย ขุดหลุมขนมครก ขุดคลองไส้ไก่ ในพื้นที่ตัวเอง เพื่อชะลอการหลากของน�้ำ แล้วให้เก็บน�้ำฝนลงดินให้เยอะที่สุด แล้วถ้า วันข้างหน้าจะท�ำต่อเนื่องไป หมายความว่าทุกคนที่อยู่ที่นี่ ผู้ประกอบการ ทั้งหลาย ให้ค�ำนวณว่าปีนึงคุณใช้น�้ำเท่าไหร่ แล้วปีนึงเติมน�้ำลงดินได้ เท่าไหร่ ถ้าคุณเติมน�้ำลงดินมากกว่าน�้ำที่คุณใช้ แสดงว่าคุณผ่าน คุณมี การรักสิ่งแวดล้อม อาจจะหาใบประกาศฯ มอบให้เขาด้วย เพราะต่อไป เขาใหญ่ เราพยายามให้เป็นเมืองอาหารอินทรีย์ ที่ต่อเนื่องกับตรงนั้น คือเขาใหญ่เป็นที่ที่อากาศดีอยู่แล้ว มีออกซิเจนดีที่สุดในประเทศไทย ถ้าได้อาหารดี ในที่นี้ไม่ใช่อาหารแพงนะ คืออาหารที่ไม่มีเคมี เราจึง พยายามเอาสิ่งเหล่านี้เข้ามา คนที่มาออกบูทที่ถนนคนเดินฯ ถ้าเป็นคนท�ำเกษตรอินทรีย์ เราไม่เก็บ ค่าบูท เก็บแต่ค่าไฟ ค่าน�้ำ ค่าท�ำความสะอาด แค่วันละ 100 บาท แต่ ถ้าเป็นคนอื่น ก็เก็บตั้งแต่ 500-1,000 บาทแล้วแต่ช่วง ให้เขาก็อยู่กันได้ แต่ถ้าวันข้างหน้า เราขยายไปถึงโครงการเขาใหญ่พัฒนาเมืองให้เต็ม รูปแบบแล้ว เราจะท�ำพื้นที่เป็นคอมมิวนิตีมาร์เก็ต ให้ชาวบ้าน ชุมชน มาขายเป็นล็อกๆ ท�ำที่กันฝนอะไรให้เรียบร้อย แล้วจะเปิดทุกศุกร์ เสาร์ อยู่ในพื้นที่นี้แหละ ต่อไปที่นี่เราจะขยาย ปรับพื้นที่ใหม่ ที่ด้านหน้า ของเรา 400 เมตรติดถนน ท�ำให้เป็นถนนคนเดินจริงๆ เดินได้ยาวๆ เพราะบรรยากาศและสถานที่ดีอยู่แล้ว อยู่กึ่งกลางระหว่างเขาใหญ่ ถนน ธนะรัชต์ฝั่งซ้าย กิโลเมตรที่ 10 19


บทเรียนจากการจัดถนนคนเดิน เขาใหญ่ ครั้งแรกที่จัด เราได้รู้แล้วว่าการจะเปิดถนนคนเดินที่เขาใหญ่ต้องเปิด เฉพาะเดือนธันวาคมกับมกราคม ไม่สามารถเปิดทุกวีคเอนด์ทั้งปีได้ เพราะว่าฝน เพราะเราเปิดเอาต์ดอร์ เราก็เลยเตรียมการแก้ปัญหา อย่างครั้งนี้ครั้งที่ 2 เปิด 11 ครั้ง ในปีต่อไป ครั้งที่ 3 เราก็จะเปิดต้นเดือน ธันวาคมถึงสิ้นเดือนมกราคมของปีหน้า 11 ครั้งเหมือนกัน ประมาณ เกือบ 10 อาทิตย์ และพยายามท�ำให้อยู่ในร่ม เดินชมกันสวยๆ มี ส่วนที่นั่งกินได้ ฝนตกมาก็ไม่มีปัญหา ถ้าแก้ด้วยวิธีนี้ ก็จะเปิดทั้งปีได้ แล้วไปจับมือกับโรงแรม สถานประกอบการต่างๆ ให้เขารู้ว่าที่นี่มีตรง นี้นะ เป็นอีกทางเลือกของนักท่องเที่ยว จากไปไหนมาเต็มที่แล้ว แวะ มาที่นี่ได้ มานั่งฟังเพลง เราจัดแสดงดนตรีสด วันเสาร์เป็นวงใหญ่เต็ม วง วันศุกร์กับวันอาทิตย์เป็นวงเล็ก เพราะฉะนั้น ทุกวันเสาร์ที่ผ่านมา คนแน่นทั้งข้างในข้างนอกเลย วงดนตรีก็เป็นวงในพื้นที่ ทั้งหมดเรา พยายามเน้นคนในพื้นที่ ร้านค้าก็เป็นร้านในพื้นที่ แล้วก็ขายของไม่ซ�้ำ กัน ร้านนี้เคยอยู่กับเรามาตั้งแต่ครั้งที่ 1 แล้วก็เป็นร้านไม่ซ�้ำ เขาจะได้ โควตาก่อน ถ้าคนอื่นมาขายซ�้ำเขา เราจะไม่ให้ แล้ววีคเอนด์สุดท้ายมี ประกวดขวัญใจมหาชน ให้คนมาเที่ยวลงคะแนน มีรางวัลให้ 3 อันดับ 5,000 บาท 3,000 บาท 1,500 บาท เป็นการปิดงานถนนคนเดินฯ ครั้งนี้ โครงการเขาใหญ่ ปากช่ อง เมืองอาหาร อินทรีย์ น่ าสนใจมาก เราไปรวบรวมคนเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ที่อยู่ในปากช่องทั้งหมด เช่น เครือข่าย EarthSafe (มาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย ส�ำหรับผู้ที่ท�ำเกษตร อินทรีย์ 100%) เพื่อเตรียมผัก ไข่อารมณ์ดี ท�ำเป็นศูนย์กระจายวัตถุดิบ อินทรีย์ แต่ปัญหาคือราคา ตอนแรกเราตั้งราคาเท่ากับพืชผักในห้าง แมคโครเลย ราคาเท่ากันเลยนะ แต่ปรากฏว่าผู้ประกอบการหลายราย เขาซื้อผักเคมีตามท้องตลาด ซึ่งราคาถูกมาก เรายังไม่สามารถท�ำให้เขา มีความรู้สึกต้องรับผิดชอบต่อผู้บริโภค หลายร้านที่เราส�ำรวจมาเป็น ร้อยร้าน เกินครึ่งเลยที่ยังมองถึงต้นทุนตรงนี้อยู่ ทั้งที่เราท�ำราคาเท่ากัน เราปรับใหม่เลยนะ สมมติว่าราคาแมคโครเท่านี้ ราคาท้องตลาดเท่านี้ เราอยู่ตรงกลางแล้วนะ หรือไข่ ราคาเบอร์ 2 ขายในแมคโคร ในท็อปส์ 126 บาท เราขาย 125 บาท บางคนก็ซื้อ บางคนก็ไม่ซื้อ อีกปัญหาคือ ถ้าเราไม่ดีลกับเจ้าของเอง ต้องผ่านฝ่ายจัดซื้อปุ๊บ บางทีเป็นความยุ่ง ยากในการเปลี่ยนระบบการจัดซื้อของเขา แต่อีกมุมนึง มองในมุมเรา เราก็จัดผักให้เขาไม่นิ่ง บางทีได้ไม่ได้ ก็เกิดปัญหา แต่ต่อไปถ้าสามารถ จัดการผลผลิตให้นิ่งได้แล้ว ก็ค่อยๆ เปลี่ยน เราได้ทางอ�ำเภอซึ่งร่วม กับเราตั้งแต่ต้นอยู่แล้ว ปัจจุบันมีโครงการอ�ำเภอน�ำร่อง ของกระทรวง มหาดไทย ก็จะเอาโครงการของเรามาขยายเรื่องเมืองอาหารอินทรีย์ต่อ การที่เราท�ำปากช่อง เขาใหญ่ ให้เป็นเมืองอาหารอินทรีย์ได้ ช่วยทุกฝ่าย เลยนะ เกษตรกรทั้งหลายที่ท�ำเคมีอยู่ก็เปลี่ยนมาท�ำอินทรีย์ร่วมกับเรา แล้วก็ส่งให้ เราตัดคนกลางออกไปเลย เราคิดค่าด�ำเนินการแค่ 10% ใน การไปรับให้ แพ็กให้ ส่งให้ แล้วให้เครดิตด้วย เขาก็แฮปปี้ เกษตรกร เขามาร่วมกับเรา แต่ดีมานด์เราก็ยังไม่เพียงพอ ตรงนี้มีวิธีการท�ำใหม่ คือต้องท�ำให้เป็นรูปแบบชัดเจนเลย เราก�ำลังท�ำที่นี่ให้เป็น EarthSafe Center รวบรวมเครือข่ายที่ EarthSafe รับรองเกษตรกรทั้งหลายที่ท�ำ อินทรีย์ที่นี่ทั้งหมด เอาของเขามาขายที่นี่ เราเป็นตัวกลางส่งให้ทุกผู้ ประกอบการ ทุกโรงแรม ได้หมด แล้วเราประกันราคาทั้งปี อย่างนี้เขา จะแฮปปี้ เราใช้การตลาดน�ำการผลิต คุณจะผลิตตามโควตาที่เราบอก ผลิตมา เรารับซื้อหมด 20


ไข่ อารมณ์ ดีผู้ บริโภค คิดว่ าแพงกว่ า แต่ ตอนนี้ราคาเท่ ากันเลย เพราะเราเอาแค่ 125 บาท ต่ อแผงเบอร์ 2 ในขณะที่แมคโครขาย 126 บาท ราคาเราถูกกว่ าอีก 21


คือต้ องใช้ หลายภาคส่ วน รัฐ เอกชน ประชาสังคม มาขับเคลื่อนให้ เป็ นรูปธรรม ครับ ที่นี่เราใช้ 7 ภาคีเครือข่ายท�ำงานร่วมกัน มีภาควิชาการ ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม ภาคศาสนา ภาคสื่อสารมวลชน ภาครัฐ ภาคเอกชน การขับเคลื่อนของเรามองเห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน มันเป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติไปแล้ว คือวิจัยเสร็จ ปฏิบัติเลย ได้ผลออกมาเลย แล้วทั้ง 3 โครงการ ย่อยก็ต่อยอดไป ไม่ได้หยุด ผลที่ได้ก็ถือว่าพอใจ ในระดับที่ดีเลย ตอบโจทย์ ความยั่ งยืนในแง่ เศรษฐกิจมั้ ย คือเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นอยู่แล้ว จากเดิม ถ้าเอาไปขายท้องตลาดทั่วไป เขาถูกกดอยู่ ราคานี้ ราคาเขาขยับขึ้น ผู้ซื้อซื้อได้ลดลง แฮปปี้ทุกฝ่ายเลย และที่ส�ำคัญคือเขาได้ อาหารอินทรีย์ไปกิน เราเข้าไปโครงการอาหารกลางวันเด็กนักเรียน เอาไข่อารมณ์ดี ไปขายในราคาที่เขาซื้อกลับมาแผงละร้อย ซึ่งเดิมทีเขากินเป็นไข่ฟาร์ม ไข่ฟาร์มก็ไก่ 1 กรง เลี้ยง 3-4 ตัว ไก่จะมีความเครียด ความเครียดจากไก่จะไปอยู่ในไข่ ทุกวันนี้คน เป็นโรคซึมเศร้ากันเยอะมาก คนที่กินไข่เป็นประจ�ำ เขารับความเครียดของไก่เข้าไปด้วย ตอนนี้เลยพยายามรณรงค์ให้กินไข่อารมณ์ดี หมายความว่า ไก่เลี้ยงแบบปล่อย เป็นไก่ อารมณ์ดี แล้วท�ำฟาร์มให้เป็นอินทรีย์ด้วย สิ่งนี้มันช่วยทุกๆ ด้านเลย คนก็จะสุขภาพดี ขึ้นจากการกินอาหารอินทรีย์ คนมาเขาใหญ่ได้รับอากาศดี อาหารดี สุขภาพดี ท�ำให้คน อยากมาท่องเที่ยวเขาใหญ่มากขึ้นด้วย 22


ในแงผู่ ้ บริโภค ยังอ่ อนไหวเรื่องราคาอยู่ ไข่อารมณ์ดีไม่แพง ผู้บริโภคคิดว่าแพงกว่า แต่ตอนนี้ราคาเท่ากันเลย เพราะเราเอา 125 บาทต่อแผงเบอร์ 2 แมคโคร ขาย 126 บาท ราคาถูกกว่าอีก แต่ปัญหาอีกอย่างของเราคือ ยังผลิตไม่นิ่ง ไม่เพียงพอกับออเดอร์ สมมติถ้าเป็นร้านใหญ่ๆ เขาสั่งมา 30 แผง เราจัดให้เขาได้ 20 แผง อีก 10 แผงเขาต้องไปหาซื้อต่างหาก มันยุ่งยากกว่าเดิม แต่ถ้าเราจัดการให้เขา ได้หมดเมื่อไหร่ ผมว่าหลายคนยินดี ยิ่งเราคุยกับเจ้าของด้วยก็จะยิ่งยินดี เขาใหญ่ ปากช่ อง เมืองอาหารอินทรีย์ เป็ นไปได้ มากน้ อยแค่ ไหน? เป็นไปได้อย่างสูงเลย แต่ต้องสร้างมาตรฐาน ตอนนี้เราจะสร้างมาตรฐาน EarthSafe แล้วไปให้มาตรฐานแต่ละคน ท�ำโรงเรือนแบบเกษตรยุคใหม่ เป็นกรีนเฮาส์ ควบคุมการผลิตได้ พอควบคุมการผลิตได้ จ�ำนวนได้ ก็จะซัพพอร์ตทุกคนที่ ออเดอร์มา แล้วเราก็ไม่ต้องไปสนใจว่าช่วงฤดูนั้นฤดูนี้ราคาจะแพง เรายืนราคาได้ตลอด นี่คือการตอบโจทย์และแก้ปัญหา เรื่องนี้ แล้วถ้าผลผลิตไม่พอ ก็หาเครือข่ายมาเพิ่มๆ เข้าไป ใครอยากเข้าเครือข่ายเรา เราจะลงทุนโรงเรือนให้ เป็นคนบอกว่า จะปลูกอะไร เราก็รับซื้อทั้งหมด แล้วเราสอนด้วย ที่นี่เป็นศูนย์การเรียนรู้ เหมือนที่เราตั้งใจเรื่อง Learning City ที่นี่แหละจะเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ด้านนี้เลย เพื่อท�ำให้เขาใหญ่ ปากช่อง กลาย เป็นเมืองแห่งอาหารอินทรีย์ได้ส�ำเร็จ เราจะไม่ท�ำแค่ด้านใดด้านนึงไง จากงานวิจัยเนี่ยท�ำด้าน ในด้านนึงมันไม่ส�ำเร็จอยู่แล้ว เขาท�ำกันมานานแล้วไง เราท�ำให้ครบลูปเลย ตั้งแต่ต้นน�้ำ กลางน�้ำ ปลายน�้ำ มันก็จะไปต่อได้ ทางนายอ�ำเภอก็มาคุยว่าจะท�ำที่นี่เป็นต้นแบบให้อ�ำเภออื่น เพราะนโยบายกระทรวงมหาดไทย เขา Change for Good ไง แต่ทั้งหมดมันเริ่มมาจากอว. (กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม) ในการวิจัย ที่นี่เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติใช่มั้ยครับ เราก็ปฏิบัติให้เห็นออกมาเป็นรูป ธรรมทั้งหมด แล้วก็ท�ำการวิเคราะห์ ปรับอะไรต่างๆ สิ่งที่เราต้องการคือการต่อยอด Learning City คือต้องท�ำให้เกิดการเรียนรู้ แล้วก็ขยายออกไป พัฒนาต่อไปกับโครงการเขาใหญ่พัฒนาเมืองด้วย ภาพในอนาคตโคก หนอง นา โมเดล เขาใหญ่ หลักสูตรที่เราสอนคือการประยุกต์ทฤษฎีใหม่สู่โคก หนอง นา โมเดล เพื่อตามหลักวิศวกรรม สอน ออกแบบ หลายคนที่มาเรียนรู้กับเรา ได้เห็นพื้นที่ตรงนี้ เขาก็ออกแบบพื้นที่ตัวเอง แล้วก็ไปปรับใช้ พื้นที่ตรงนี้จะปรับปรุงข้างหน้าทั้งหมด ให้ถนนคนเดินเต็มพื้นที่ 400 เมตร จะมีการท�ำเกษตรอินทรีย์ อยู่ที่ศูนย์เรียนรู้นี่ ท�ำเป็น EarthSafe Center ด้วย ก็จะเรียนรู้ได้ครบทุกอย่าง ตั้งแต่การท�ำปุ๋ย การ ท�ำจุลินทรีย์ การเพาะปลูก การแพ็ก เสร็จแล้วเข้ามาร้านค้ายังไง เรามีร้านค้า มีหน้าร้าน ถ้าเต็ม พื้นที่จะมีเป็น 200 ร้านเลย ในอนาคต ที่นี่จะเป็นแลนด์มาร์กแห่งหนึ่งของเขาใหญ่ 23


การกระตุ้ นให้ ตลาดคนเยอะตลอด เป็ นโจทย์ ให้ เราต้ องแก้ ไปเรื่อยๆ อย ่ างน้ อยคนมาเดินไม่ เยอะ ของกินต้ องเยอะไว้ ก ่ อน ต้ องบริหารร้ านค้ าให้ ฟู จิดาภา นาคบุรินทร์ ผู้ ประสานงานโครงการ บริษัท เขาใหญ่ พาโนราม่ าวิสาหกิจเพื่อสังคม จ�ากัด 24


“คอนเซปต์ ถนนคนเดิน เขาใหญ่ (Khaoyai Learning Market Walking Street) แตกต่ างจากที่อื่นทั่วไป คือเราเป็ นถนนคนเดินเกษตรอินทรีย์ เราคัดเลือกสินค้ าให้ เป็ น Walking Street & Green Market ไปด้ วย เดี๋ยวนี้เหมือนเป็ นกระแสถนนคนเดิน ปี ที่แล้ ว (2564-2565) มีเราที่เดียว พอปี นี้ (2565-2566) มีหลายที่ แต่ โซนของเรา เป็ นโซนติดถนน ได้ บรรยากาศ ความตั้งใจท�ำถนนคนเดิน เขาใหญ่ คืออยากให้คนที่ ท�ำพวกของกิน ของใช้ แฮนด์เมด หรือวิสาหกิจชุมชน เข้ามาขายกัน อยากให้คนในพื้นที่มีแหล่งขาย แล้ว คนมาเขาใหญ่ ตอนค�่ำๆ จะเข้าแต่ที่พัก อยากออกไป เที่ยวก็ไม่มีที่ เราจัดพื้นที่ตรงนี้ขึ้นมา มีนักดนตรี มาเล่น มีพ่อค้าแม่ค้าในพื้นที่มาขาย เช่น ร้าน เครือข่าย EarthSafe ร้านวิสาหกิจชุมชนท่าช้าง โป่งตาลอง สระน�้ำใส ปูทะเลย์ เป็นวิสาหกิจชุมชน ชาวบ้าน บางทีมีนักท่องเที่ยวต่างชาติ หรือมีกรุ๊ป ทัวร์มาที่รีสอร์ตและศูนย์เรียนรู้เขาใหญ่ พาโนราม่ า ฟาร์ม ก็ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้เขามาซื้อของ และก็บอกกลุ่มพี่ๆ คนขายว่าวันนี้เรามีกรุ๊ปนี้ๆ มา พี่เตรียมของมา แจ้งกันเพื่อส่งเสริมให้เขาขายได้ จุดเด่นของการเป็นกรีนมาร์เก็ต เราก็ท�ำ ประชาสัมพันธ์เต็มที่ ทั้ง Facebook, TikTok หรือส่งหนังสือเชิญชวนคนมาเที่ยว ฝากท่านนาย อ�ำเภอประสานงาน บางทีททท.ก็เข้ามาสนับสนุน การตลาดเป็นสิ่งส�ำคัญ ต้องมีให้ต่อเนื่อง ในปีหน้า หรือปีต่อๆ ไป ก็ต้องผลักดันให้คนรู้จักว่า Khaoyai Learning Market Walking Street เป็นยังไง เราพยายามสร้างสัมพันธภาพกับผู้ประกอบการ ปีหน้ามาเจอกันอีกนะคะ ส่วนกลุ่มที่ต้องมาเพิ่ม เราก็มีทีมไปเลือกร้าน ให้ลูกค้าที่มาเดินแล้วไม่หงอย เรามีดนตรี เล่นถึงสี่ห้าทุ่ม ลูกค้านั่งกินไป ฟังดนตรี ไป ไม่มีเก็บค่าใช้จ่าย ร้านค้าก็จะทราบว่าวันศุกร์ คนน้อยหน่อย วันเสาร์คนเยอะ วันอาทิตย์คนเริ่ม กลับ เป็นวงจรแบบนี้ การกระตุ้นให้ตลาดคนเยอะ ตลอดเป็นโจทย์ให้เราต้องแก้ไปเรื่อยๆ อย่างน้อย คนมาเดินไม่เยอะ ของกินต้องเยอะไว้ก่อน ต้อง บริหารร้านค้าให้ฟู ถนนคนเดิน เขาใหญ่มีมา 2 ครั้ง เราถอดบทเรียน จากครั้งแรกว่า ไม่สามารถจัดได้ตลอดปี จัดแค่ ช่วงปลายปีต่อต้นปี ร้านค้าร้านดังที่เราคาดหวังว่า จะมาประจ�ำ กลายเป็นร้านเก่าแก่ที่พอใจจะขาย ระหว่างวันนี่แหละ หมดวันก็ปิดร้าน ไม่พร้อมเคลื่อน ย้ายไปนอกพื้นที่ เพราะยังไงคนก็เข้ามาอยู่แล้ว แต่ความตั้งใจเราคืออยากให้คนในพื้นที่เอา ของอร่อยในต�ำนานมาขาย ซึ่งยังไม่ไปถึงจุดนั้น ก็เป็นโจทย์ที่เราอยากให้มี เพื่อทุกอย่างจะกระตุ้น เศรษฐกิจไปพร้อมกัน ถ้าร้านในพื้นที่ส่วนใหญ่ เปิดใจ มาตั้งกันเยอะๆ จะท�ำให้มีมาเรื่อยๆ เพราะ เดินทางไม่เยอะ ค่าใช้จ่ายไม่มาก มาพบปะกัน ส่วน ร้านที่มีคนสนใจขายแต่อยู่นอกพื้นที่ ด้วยความที่ มีอาทิตย์ละ 3 ครั้ง การเดินทางมาบ่อยๆ เขาจะ ประเมินคนมาแต่ละช่วงด้วย เช่นช่วงปีใหม่จองมา ขาย แต่หลังปีใหม่เขาอาจจะคิดว่าคนจะเยอะมั้ย ก็จะมีผล มาบ้าง ไม่มาบ้าง แต่ถ้าใครสนใจจอง ร้านตลอดงาน เราให้สิทธิพิเศษ จองน้อยสุดคือสอง สัปดาห์เพื่อให้ติดต่อเนื่อง อย่างกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ท�ำไมมาทุกสัปดาห์ เพราะเขาอยู่ในพื้นที่ ต้องการ ที่ขายอยู่แล้ว อีกปัจจัยคือ การจัดงานถนนคนเดินพร้อมกันใน หลายๆ ที่ ในตลาดปากช่อง ก็จะมีต้นเดือน ของเรา มีทุกศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ แต่คนเดินไม่เดินหลาย ตลาด ได้ของกินแล้วก็เข้าที่พัก แต่จุดแข็งของเราคือ เราส่งต่อคนให้ร้านค้า เพราะเราอยากให้เขาจ�ำหน่าย ได้ เราใช้กลยุทธ์ให้เขาอยู่ได้ โครงการก็ซัพพอร์ตได้ คือร้านค้าที่มาถนนคนเดิน เขาใหญ่ ไม่ใช่แค่มีร้าน ค้าให้เต็ม ต้องดีด้วยนะ ไม่ใช่สินค้าสะเปะสะปะ แล้วต้องมีไม่ซ�้ำกันเกินสองร้านเพื่อให้เขาขายได้ ถ้าเราเปิดกว้างร้านอาจจะเยอะกว่านี้ แต่เราต้อง คัดกรอง เพราะหลักๆ ของเราคือ Green Market สนับสนุนคนในพื้นที่ สนับสนุนกลุ่มวิสาหกิจ สนับสนุนสิ่งแวดล้อม ร้านไหนใช้แก้วกระดาษ หลอด กระดาษ เรามีส่วนลดค่าบูทให้ด้วยนะ ช่วงปีใหม่ เก็บแค่ค่าไฟในวันสุดท้าย อยากให้เขาคืนทุน โดย ปกติค่าบูทเราคิดถูกอยู่แล้ว ให้เขาอยู่ได้ ไม่ต้องมา จมทุนกับค่าเช่าที่ แล้วเราบริหารโครงการ หวังให้ ตลาดติด คนซื้อคนขายก็จะมาเอง” 25


“เขาใหญ่ พาโนราม่ า ฟารมท� ์าโคกหนองนาตั้งแต่ ปี 2560 เราขุดคลองไส้ ไก่ มองเป็ นโมเดล การบริหารจัดการน้า � เสมือนจากภาคเหนือสูภาคใต ่ ้ ถาแต้ ละพื้นที่ท� ่าการขุดคลองไส้ ไกกันทั ่ว เวลา่น้า � มาจากทางเหนือจะค่ อยๆ กระจาย แทนที่จะไหลหลากไปสู่ ภาคใต้ ระหว่ างนั้นเราบริหารจัดการน้ � าได้ แบ่ งเข้ าไปแปลงต่ างๆ ของแต่ ละพื้นที่ หนึ่ง ลดน้ � าหลากน้ � าท่ วม สอง ได้ ประโยชน์ จากน้ � า ได้ เก็บน้ � า ได้ กระจายน้ � าลงดิน เราได้พัฒนาพื้นที่เพิ่มจากทุนสนับสนุนของบพท. (หน่วย บริหารและจัดการทุนวิจัยด้านการพัฒนาระดับพื้นที่) มาปรับปรุงแต่ละจุดของศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และท�ำการขุดเพิ่ม ลักษณะพื้นที่แถว นี้มีหินกระจายเยอะ พอเราขุดไปก็เจอหินอ่อนขนาดใหญ่ ก็ปล่อยไว้ธรรมชาติแบบนั้นเลย แล้วก็ท�ำเป็นทาง ขุดคลอง แต่ละที่ลดหลั่นกันไป ท้ายสุดมันจะเชื่อมกัน แม้แต่น�้ำที่ออก ไปด้านโน้นก็จะไม่ท่วมไปถนน จะวกกลับมาลงที่นี่เหมือน เดิม พอฝนตกลงมาหนักๆ สามารถขึ้นสูงถึงรอยระดับน�้ำที่ เห็นเลย แต่พอเช้าน�้ำจะจมดินลงไป ซึ่งก็ไปเติมน�้ำให้ใต้ดิน โคก ภาษาอีสานคือเนิน โคกหนองนาคือการแบ่งระดับ จุดสูงสุดให้ปลูกเป็นต้นไม้ใหญ่ หนองคืออยู่จุดต�่ำสุด เพราะ น�้ำยังไงก็ต้องไหลลงหนอง ตรงนี้เป็นหนองหินอ่อน เลยท�ำ เป็นโคกหนองนาเพื่อการท่องเที่ยวไปด้วย เพราะค�ำว่า โคก หนองนา แตกต่างไปตามบริบทพื้นที่ ถึงได้มีโคกหนองนา ป่าล�ำไย โคกหนองนาป่ากล้วย โคกหนองนาป่าอะไรก็ได้ที่ เป็นพืชของเขา อย่างเราไม่ใช่ที่ที่ท�ำนา ท�ำนาไม่ได้ ถ้าเป็น นาไร่ เคยปลูกข้าวไร่ ไม่ได้มีน�้ำขัง ใช้รดน�้ำ แต่ได้ผลผลิต ไม่เท่าไหร่ ไม่เหมือนนาที่มีน�้ำตลอดปี เรามุ่งเน้นการเป็นเมืองอาหารอินทรีย์ น�ำศาสตร์ต่างๆ มาใช้ แล้วท�ำเป็นหลักสูตรเพื่อใช้เป็นแกนหลักในการ ฝึกอบรมส�ำหรับผู้สนใจซึ่งเข้ามาศึกษากันอย่างต่อเนื่อง มีหลายหลักสูตรให้เลือกตั้งแต่ 2 คืน 3 วัน 5 วัน 1 วัน ครึ่งวัน แต่เบื้องต้นเลย อยากให้มาหลักสูตรพื้นฐาน 2 คืน 3 วัน มีเนื้อหาเรียนรู้หลักทฤษฎีใหม่ของในหลวงรัชกาลที่ 9 หลัก กสิกรรมธรรมชาติ ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่โคกหนองนาโมเดล หลักการออกแบบพื้นที่ ที่ไปท�ำแล้วถูกต้อง การท�ำปุ๋ยหมัก การห่มดินแห้งชามน�้ำชาม (การคลุมดินแล้วตามด้วยปุ๋ย หมักแห้งและปุ๋ยหมักน�้ำ) เน้นการใช้ทรัพยากรที่มีให้เกิด ประโยชน์ ให้มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด และได้ผลในเรื่องการท�ำ อินทรีย์ 100% อย่างเมื่อก่อนท่านไหนเห็นหญ้าก็จะนึกว่า หญ้าเป็นศัตรูพืช แต่ในพื้นที่เรา ก็ใช้พวกใบไม้ต่างๆ ที่เรา ตัดแต่งกิ่งไม้มาห่มดินแห้งชามน�้ำชามเพื่อเก็บความชื้น ในดินให้กับระบบราก ไม่โดนแสงแดดโดยตรง ความชุ่มชื้น ไม่ระเหย เกิดไส้เดือน เกิดพืชที่พรวนดินได้ ฐานปุ๋ยหมักแห้งหมักน�้ำ เรียกว่า น�้ำหมัก 7 รส เช่น น�้ำหมัก แบบฉุน แบบเปรี้ยว แบบขม แบบฝาด แบบจืด คือใช้ต่าง สรรพคุณกัน ถ้าเป็นบ้านเรือน ใช้น�้ำหมักรสเปรี้ยว ก็จะสอน วิธีเอาผลไม้รสเปรี้ยวที่เหลือใช้มาท�ำการหมัก คุณสมบัติ น�้ำหมักรสเปรี้ยวคือขจัดความมัน สิ่งสกปรก ก็เอามาผสม ด่างขี้เถ้า ท�ำเป็นน�้ำยาล้างจาน น�้ำยาเอนกประสงค์ ใช้ซัก ผ้าได้ ขัดพื้นได้ ท�ำสบู่ แชมพู ที่นี่ไม่ซื้อพวกผลิตภัณฑ์น�้ำยา ล้างจานมาตั้งแต่ก่อนหน้าท�ำโครงการแล้วค่ะ ประหยัด ค่าใช้จ่ายไปได้เยอะ กรณีปลูกพืช ก็เป็นปุ๋ยหมักรสจืด เราสอนว่าพวกพืชที่มีรสจืดต่างๆ สามารถเอาไปหมักท�ำ ปุ๋ยมาปรุงดิน ถ้าดินแข็งแรง พืชก็แข็งแรง โดยที่ไม่ต้องใช้ สารเคมี อย่างที่ฟาร์มเราท�ำเกี่ยวกับเห็ด ก็เอาเศษเห็ดที่เรา ตัดแต่งหรือเศษเห็ดที่ใช้ไม่ได้ ผักที่ท�ำอาหาร หรืออันที่เรา เด็ดส่วนเสียทิ้ง เอามาหมักตามสูตร เอาไปรด เรียกว่าการ ปรุงดินก่อนปลูกพืช คือในพื้นที่ 91 ไร่ พนักงานทุกคนจะมี แปลงที่ตัวเองรับผิดชอบ โดยทุกแปลงเราใช้หลักในการห่ม ดิน ซึ่งเป็นหัวใจเลย หมักดินอย่างน้อย 14 วันด้วยการคลุม ดินแบบนี้ โรยปุ๋ยแห้ง น�้ำหมักรสจืด จากนั้นพอดินร่วนซุยดี ก็เริ่มเอาต้นกล้าลง แต่ละแปลงจะเห็นว่ามีการปลูกดอกไม้ แทรกไป เราเรียกว่าการบริหารการล่อแมลง ตัวห�้ำตัวเบียน ดอกไม้ที่มีสีสัน ไม่มีกลิ่นฉุน ล่อแมลงดีมาก�ำจัดแมลงไม่ดี เข้าฐานคนเอาถ่าน ท�ำถ่านก็ได้น�้ำส้มควันไม้ ใช้ไล่แมลง ได้อีก ทุกท่านที่มาเรียนหลักสูตรนี้ ก็จะได้รับหลักการพื้น ฐานไปดูแลพื้นที่ หลายท่านมองว่าที่ดินเขาใหญ่มีมูลค่า จะมีซักกี่คนที่ยอม เอาพื้นที่มาขุดมาปรับเพื่อให้เป็นศูนย์เรียนรู้ แต่ด้วยความ ตั้งใจของคุณปรเมศวร์ (ปรเมศวร์ สิทธิวงศ์ หัวหน้าโครงการ วิจัย เขาใหญ่ พาโนราม่า ฟาร์ม) อยากให้เกิดเมืองอาหาร อินทรีย์ แล้วคนเอาหลักของในหลวงร.9 ไปใช้ต่อยอด แล้ว ให้เกษตรกรมีแหล่งจ�ำหน่ายจริงๆ หลายคนคือผลิตได้ แต่ไม่รู้จะจ�ำหน่ายยังไง คุณปรเมศวร์พยายามเชื่อมโยง เอาภาคีเครือข่าย เช่นมีท่านนายอ�ำเภอ หลวงพ่อ ผู้ประกอบ การค้า ภาคสื่อมวลชน สมาคมท่องเที่ยว โรงเรียน เข้ามา ช่วยกัน จากที่เมื่อก่อนแยกกัน สิ่งส�ำคัญคือ ถ้าคนที่เป็น หลักมีความตั้งใจจริง ไม่ยอมถอย เจออุปสรรคระหว่างทาง จะแก้ไขเพื่อให้ไปต่อได้ ถึงแม้ว่าจบระยะเวลาโครงการ 26


โคก ภาษาอีสานคือเนิน โคกหนองนาคือการแบ่ งระดับ จุดสูงสุดให้ ปลูกเป็ นต้ นไม้ ใหญ่ ณิรัสยาธร ขจรเศรษฐวิชญ์ นักวิจัย บริษัท เขาใหญ่ พาโนราม่ า วิสาหกิจเพื่อสังคม จ�ากัด แต่คุณปรเมศวร์ยังท�ำอยู่ตลอด และมีความตั้งใจผลักดันให้เกษตรกรต่อยอดผลิตภัณฑ์ที่เราเรียกว่า ขั้นก้าวหน้า ได้ คือถ้าแบบ ทั่วไป ก็ปลูก ได้ผลผลิตมา เกษตรกรท�ำก็เหนื่อยอยู่แล้ว ถ้าไปหาจ้างคนออกแบบแพ็กเกจจิงหรือแปรรูป ก็เสียค่าใช้จ่ายอีก เหมือน ไม่ได้อะไร ไปกับทุนหมด เราก็พยายามหาแต่ละส่วน ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ มาท�ำตลาดให้ ใครเชี่ยวชาญอะไรก็ท�ำไป เชี่ยวชาญ ปลูกก็ปลูก เชี่ยวชาญแปรรูปก็แปรรูป แต่มารวมกันเพื่อส่งออกได้ ขายได้ ขึ้นระดับห้างได้ เกษตรกรต้องอยู่ได้ ขอให้คุณท�ำตาม หลัก และเป็นอินทรีย์ ศูนย์ของเราเป็นตัวกลางโลจิสติกส์ให้ด้วย นอกจากประสานงานแล้ว เกษตรกรคนไหนมาไม่ได้ก็เข้าไปหา เพื่อที่จะเอาไปส่งให้ผู้ประกอบการ คือทุกโรงแรมในเขาใหญ่ มีไข่เป็นส่วนประกอบของอาหาร ก็พยายามเอาไข่อินทรีย์เข้าไปตาม ร้านอาหาร ผู้ประกอบการ หรือแม้แต่โรงเรียน เราวิ่งไปส่งเป็นรอบเลย เกษตรกรที่ท�ำไข่ก็ได้ขาย คนก็ได้กินของดี ภาพในอนาคตคือเน้นความยั่งยืน คนที่มาอบรมได้ไปท�ำต่อในพื้นที่ของเขา คนที่อยู่ในพื้นที่ ถ้าเขาอยู่ได้ เมืองก็ดีในเรื่องของการ ใช้ชีวิต ถ้าคนมีสุขภาพดี ก็ช่วยลดโรคต่างๆ ภาพกว้างก็เป็นการลดภาระของกระทรวงสาธารณสุข อย่างการสนับสนุนให้เด็กกิน ไข่กินพืชผักอินทรีย์ เด็กก็เติบโตอย่างมีคุณภาพ ในด้านเศรษฐกิจก็ต้องช่วยกันพัฒนาให้เป็นเมืองที่กระตุ้นเศรษฐกิจ การรวมตัว กันจากจุดเริ่มต้นที่เป็นเครือข่าย มีโครงการอะไรดีๆ จะต่อยอดไปด้วยกัน เป็นภาพใหญ่ในการพัฒนาเมือง” 27


“การปลูกต้ นไม้ ส�าคัญคือดิน ต้ องมีจุลินทรีย์ ต้ นไม้ จะโตหรืองาม ขึ้นอยู่ กับดินค่ ะ ไม่ ได้ อยู ่ กับต้ นไม้ นะคะ เพราะฉะนั้ นการห ่ มดินในเชิงกสิกรรม จึงส�าคัญมาก” พรทิพย์ รัตนนิสสัย นักวิจัย บริษัท เขาใหญ่ พาโนราม่ าวิสาหกิจเพื่อสังคม จ�ากัด 28


“ศูนย์เรียนรู้ ของเขาใหญ่ พาโนราม่ า ฟาร์ ม เป็ นศูนย์ ศึกษาการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 ส่ วนมากคนที่มาเรียนคือ ชาวบ้ านที่ได้ รับการคัดเลือกจากกรมพัฒนา ชุมชน ซึ่งก่ อนที่กรมฯ จะไปขุดพื้นที่ให้ 1 ไร่ กับ 3 ไร่ เขาต้ องมาเรียนรูหลักกสิกรรมธรรมชาติให ้ผ้ ่ านก่ อน จริงๆ เขาเกงกว่ ่ าเราอีกนะ เขาท�าเกษตรกรรมอยูแล่ว เขารู้ส้ ่ วนหนึ่ง ถึงหลักกสิกรรมธรรมชาติไมมีถูกผิด ่ แต่ บางครังเขารู้ แบบผิดๆ ก็มาเรียนรู ้ จากเรา มีอบรมกันไป 10 รุ ้นแล่ ้ ว คอร์สอบรม 5 วัน 4 คืน นอนที่รีสอร์ตนี่ วันแรก คุณปรเมศวร์ (ปรเมศวร์ สิทธิวงศ์ หัวหน้า โครงการวิจัย เขาใหญ่ พาโนราม่า ฟาร์ม) มาคุย เรื่องทฤษฎี 9 ขั้น (เศรษฐกิจพอเพียงขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยบันไดขั้นที่ 1 พอกิน ขั้นที่ 2 พอใช้ ขั้นที่ 3 พออยู่ ขั้นที่ 4 พอร่มเย็น เศรษฐกิจพอ เพียงขั้นก้าวหน้า ขั้นที่ 5-6 บุญและทาน ขั้นที่ 7 เก็บรักษา ขั้นที่ 8 ขาย ขั้นที่ 9 เครือข่าย) มี เวิร์กช็อป พวกเราก็จะเป็นครูพาท�ำ วันต่อมา ก็ลงฐานเรียนรู้ ตั้งแต่ฐานคนมีน�้ำยา ท�ำสบู่ แชมพูเอง ที่ท�ำงานเรานี่ไม่ต้องซื้อพวกสบู่ แชมพูแล้ว รีสอร์ตของเราก็ไม่ต้องซื้อของ น�้ำยา ล้างจาน น�้ำยาซักล้างต่างๆ พวกเราท�ำกันเอง แล้วก็ฐานคนเอาถ่าน คือเผาถ่าน เราก็จะได้ ถ่านมาขายหน้าร้านด้วย ได้น�้ำส้มควันไม้ด้วย ฐานคนรักป่า พูดเกี่ยวกับป่า 5 ระดับมีอะไรบ้าง (ป่า 5 ระดับแบบกสิกรรมธรรมชาติ จัดแบ่ง ตามระดับช่วงความสูงและระบบนิเวศ ดังนี้ ไม้สูง ไม้กลาง ไม้เตี้ย ไม้เลื้อยเรี่ยดิน และไม้ หัวใต้ดิน) ฐานรักแม่ธรณี ท�ำปุ๋ยหมักแห้งหมักน�้ำ ซึ่งส�ำคัญมากส�ำหรับการเรียนรู้ เราได้เวิร์กช็อป ได้ปฏิบัติจริง แล้วก็มีฐานอนุรักษ์พลังงาน แต่ฐาน คนรักแม่โพสพตอนหลังยกเลิกเพราะสีข้าวก็ ทั่วไป แต่ถ้าท่านใดอยากมาสีข้าว ก็ลงฐานได้ การปลูกต้นไม้ส�ำคัญคือดินต้องมีจุลินทรีย์ ต้นไม้จะโตหรืองาม อยู่กับดินค่ะ ไม่ได้อยู่ กับต้นไม้นะคะ เพราะฉะนั้นการห่มดินในเชิง กสิกรรมส�ำคัญมาก ท�ำไม เพราะคือการเอา เศษใบไม้ใบหญ้าหรือวัสดุเหลือใช้ในพื้นที่ มาห่มเป็นรูปวงกลม บางที่จะเอาฟาง ฟาง เราไม่เอา มันสิ้นเปลือง ต้องซื้อ นอกจาก คุณมี ภาคเหนือปลูกข้าวโพด ปลูกอ้อยเยอะ ก็เอาพวกข้าวโพดพวกอ้อยมาห่ม ยกเว้นที่ห่ม ไม่ได้อย่างเดียวคือใบยูคาลิปตัสเพราะใบมี น�้ำมัน จะร้อน ท�ำให้ต้นไม้เสียไปด้วย เราเอา ของในพื้นที่ที่เรามี มาห่มเพื่อให้ความชุ่มชื้น กับดิน ให้ดินมีจุลินทรีย์ ถ้าดินโดนแสง แดดมากๆ จุลินทรีย์ตายหมด จากนั้น เราสอนท�ำปุ๋ยหมักแห้งหมักน�้ำ ที่นี่เป็นฟาร์ม เห็ดหลินจือ ในก้อนเห็ดของเรามีขี้เลื่อย ไม้ยางพารา ร�ำละเอียด เป็นส่วนผสมที่ดีมากอยู่แล้ว ก็เอามาผสมใบไม้นิด หน่อย ผสมมูลสัตว์ แล้วเอาน�้ำหมักที่เรามี เขาเรียกว่า แห้งชามน�้ำชาม แห้งชาม ก็คือปุ๋ยหมักแห้ง น�้ำชามก็คือปุ๋ยหมักน�้ำ ซึ่งก็คือเราเอาเห็ดที่เหลือใช้ ที่มันเน่า ไปหมัก ปุ๋ยหมักน�้ำนี่ส�ำคัญ ต้องหมัก 3 เดือนขึ้นไปถึงจะมีจุลินทรีย์ที่มาช่วยย่อย สลายเศษซากพืชซากสัตว์ ใบไม้ต่างๆ พอเราห่มดินก็ต้องใส่ปุ๋ยหมักแห้งเลย ตาม ด้วยปุ๋ยหมักน�้ำ ที่เหลือจะใส่แต่ปุ๋ยหมักน�้ำ 7 วันใส่ครั้งนึง เพื่อช่วยในการย่อย สลาย แล้วยิ่งได้ฝนตามธรรมชาติที่ตกลงมา เรารดน�้ำสิบวันสู้ฝนตกลงมาครั้งเดียว ไม่ได้นะคะ เพราะในฝนจะหอบเอาไนโตรเจน 78% ลงมาด้วย ไนโตรเจนจะท�ำให้ พืชเขียวชอุ่ม อย่างพื้นที่ของเราตรงนี้ เมื่อก่อนเป็นดินแดง เป็นสวนมะม่วงกับสวนน้อยหน่า เก่า ซึ่งใช้สารเคมีมาตลอด เรามาท�ำแปลงใหม่ๆ ปลูกไม่ขึ้นเลยนะคะ เราใช้วิธี ห่มดินนี่แหละ ท�ำให้ดินดีขึ้น ปลูกขึ้น คนที่มาอบรมแล้วกลับไปท�ำ เขาจะรู้แล้วว่า เวลาห่มดิน ถ้าเป็นต้นไม้ใหญ่เขาไม่ให้ห่มชิด จะห่มปลายทรงพุ่ม เพราะจะมีราก บางครั้งพวกเศษหนอน เศษอะไรจะไปไชต้นไม้ให้ตายได้ พอเราห่มดิน แหวกเข้า ไปดู ใต้ดินมีฝ้าขาวๆ เรียกว่าเชื้อราดี มีฮิวมัส (humus ซากพืชและสัตว์ที่เน่าเปื่อย ทับถมปะปนอยู่ในดิน ท�ำให้ดินมีแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์แก่การเพาะปลูก) แต่ถ้าเปิดไปแล้วมีฝ้าด�ำๆ แสดงว่าเชื้อราไม่ดี การเข้ามาท�ำศูนย์เรียนรู้ตรงนี้เป็นการเพิ่มคุณค่า เราเองก็ไปฝึกอบรมเป็นอาจารย์ 5 วัน 4 คืน 2 ครั้ง ที่ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้องของอาจารย์ยักษ์ (ดร.วิวัฒน์ ศัลยก�ำธร) และที่ศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติของอาจารย์ปัญญา (อาจารย์ ปัญญา ปุลิเวคินทร์) ซึ่งอบรมเสร็จต้องพรีเซนต์ด้วยว่าเราจะสอนเขายังไง เราเองก็ไม่เคย ขุดดินมาก่อน ไม่เคยท�ำปุ๋ยหมักแห้งหมักน�้ำ แต่เวลาไปเรียน เราท�ำได้ อุ๊ย ไม่น่า เชื่อ ปลูกต้นไม้เกี่ยวกับดินด้วยเหรอ แล้วเราก็ได้น�ำมาพัฒนาพื้นที่ตรงนี้ หันมา หลักกสิกรรมธรรมชาติ เอาทฤษฎีของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาใช้ทั้งนั้น ท�ำแก้ม ลิง ป่า 5 ระดับ ขุดร่องท�ำฝาย ท�ำคลองไส้ไก่ในที่ของตัวเอง เพื่ออะไร บางที่ น�้ำท่วม คุณลองไปขุดคลองไส้ไก่เล็กๆ สิ เวลาน�้ำไหลหลากมาจะได้ซึมเข้าสู่ดิน แล้วกระจายความชื้นไปสู่ต้นไม้ ท�ำให้เราไม่ต้องรดน�้ำต้นไม้ก็ได้ ทุกสิ่งทุกอย่าง ณ ปัจจุบัน ถ้าเราท�ำเองได้ ปลูกผักเองได้ มันดีต่อตัวเราเอง เดี๋ยวนี้ โรคมาจากอะไร มาจากอาหารการกิน ถ้าไปซื้อ พวกผักต้องเอามาต้มมานึ่งก่อนกิน สด ถ้าเราปลูกเอง มันชัวร์ๆ กินสดได้เลย สมมติบ้านเราเนื้อที่นิดหน่อย ปลูกที่เราใช้ ทุกวัน กะเพรา โหระพา พริก ดีกว่าไปซื้อเขา สารเคมีทั้งนั้น ก็ช่วยลดระดับสารพิษ ออกจากร่างกายได้ อย่างบางคนเข้ามา บอกท�ำไมปลูกเองไม่ขึ้น เราบอก คุณต้อง มาเรียนรู้แล้วล่ะ เราเปิดรับสมัครอบรมตามหลักกสิกรรมธรรมชาติอยู่เรื่อยๆ เดี๋ยว นี้คนในเมืองเก่งนะ เขาปลูกผักในกระถางได้ ปลูกในถุงที่มีรูระบายได้ อยู่นาน กว่ากระถางด้วยซ�้ำ เอาจริงๆ หลักกสิกรรมธรรมชาติไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ก็ไม่ไป ถึงไหนซักที เพราะเหมือนยาก ซึ่งยากจริงๆ ใครที่จะท�ำเกษตรอินทรีย์ ต้องใช้ใจ คุณปรเมศวร์เขาใจมาก แล้วอยู่ที่ตัวบุคคลด้วยนะ เราพูดคุย ชี้ให้เขาเห็น เปิดโอกาส ให้ได้แลกเปลี่ยนกัน” 29


อ�าเภอปากช่ อง อ�าเภอแรกสุดของการเดินทางจากถนนมิตรภาพ สู่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีขนาดพื้นที่ใหญ่ สุดของจังหวัดนครราชสีมา ประกอบด้ วย 12 ต�าบล 219 หมู่ บ้ าน ประชากรราว 190,000 คน มากเป็ นอันดับสองรองจากอ�าเภอเมืองนครราชสีมา ความที่อาณาเขตติดต่ อกับอุทยานแหงชาติเขาใหญ ่ ่ พื้นที่มรดกโลกทาง ธรรมชาติ และอุทยานมรดกแหงอาเซียน ซึ่งมีระดับโอโซนเป็ น ่ อันดับ 7 ของโลก ท�าใหชาวเมืองและผู ้ ้ มาเยือนได้ รับอากาศบริสุทธิ์ ดีต่ อสุขภาพ รวมทั้งมีสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศที่เหมาะแก่ การเพาะปลูก ท�าฟารมปศุสัตว ์ ์ และอุตสาหกรรมงานบริการ ท�าใหพื้นที่เขาใหญ ้ ่ ปากช่ อง เป็ นหมุดหมายส�าคัญของนักท่ องเที่ยว ทั้งไทยและต่ างชาติที่จัดว่ าท�ารายได้ อย่ างมากใหกับอ� ้าเภอปากช่ อง จังหวัดนครราชสีมา และประเทศไทย WeCitizens นั่งสนทนาพรอมรับประทานอาหารอีสานดีกรีมิชลินกับ ้ เจาของร้ านอาหาร “เป็ นลาว” พันชนะ วัฒนเสถียร ในบทบาท ้ นายกสมาคมการท่ องเที่ยวเขาใหญ่ และรองประธานสภาอุตสาหกรรม ท่ องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมา ถึงความท้ าทายหลากหลายมิติ ของงานพัฒนาพื้นที่เขาใหญ่ ปากช่ อง เชื่อมเครือข่ ายหุบเขา แหงความสุข ่ พันชนะ วัฒนเสถียร นายกสมาคมการท่ องเที่ยวเขาใหญ่และรองประธานสภาอุตสาหกรรมท่ องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมา 30


เขาใหญ่ - ปากช่ อง 31


คุณเป็ นนายกสมาคมการท่ องเที่ยวเขาใหญ่ สมัยที่ 2 แล้ ว ค่ะ คือเราอยู่เขาใหญ่มา 20 ปีแล้ว ก่อตั้งร้านอาหารเป็นลาวตั้งแต่เป็นเพิงเล็กๆ พนักงาน 1 คน 2 คน 3 คน จนมาทุกวันนี้ 15 ปี พนักงาน 50-60 คน ขยายไปเปิดร้านที่หัวหิน และท�ำแฟรนไชส์ เปิดร้าน “อันหยัง ก็ได้ Un-Yang-Kor-Dai” ที่สิงคโปร์ ซึ่งได้มิชลินติดกันมา 3 ปี ร้านที่เขาใหญ่เพิ่งได้มิชลิน บิบ กูร์มองด์ เพราะททท.ขยายโหนดมาภาคอีสาน (คู่มือ ‘มิชลิน ไกด์’ ประเทศไทย ประจ�ำปี 2566 ขยายร้านอาหาร จากกรุงเทพฯ และปริมณฑล อยุธยา เชียงใหม่ ภูเก็ต พังงา สู่อีก 4 เมืองตัวแทนภาคตะวันออกเฉียง เหนือ คือ นครราชสีมา ขอนแก่น อุบลราชธานี และอุดรธานี) เพราะฉะนั้น ในแง่บทบาทการท�ำงานกับ ชุมชน เราท�ำมานาน เข้มข้นอยู่แล้ว อย่างช่วงโควิด เขาใหญ่ไม่เคยเงียบเหงา เราเองก็ไม่อยากให้เหงา เพราะประเทศมีวิกฤติ ก็ท�ำ Food for Fighters (เครือข่าย Food for Fighters สร้างสรรค์กิจกรรม เพื่อสนับสนุนนักสู้ที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19) ซึ่งก็ประสบความส�ำเร็จ ท�าไมเขาใหญ่ ไม่ เคยเงียบเหงา? มันคืออานิสงส์ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ซึ่งเป็นมรดกโลก ประเด็นส�ำคัญคือพื้นที่ 1.3 ล้านไร่ที่ ครอบคลุม 4+2 จังหวัด (สระบุรี นครราชสีมา ปราจีนบุรี นครนายก + สระแก้ว บุรีรัมย์) ในผืนป่าดงพญาเย็น เราใช้พื้นที่สันทนาการจริงๆ แค่ 1% นี่คือปอดที่ดีที่สุด ที่อยู่ใกล้กรุงเทพฯ สร้างออกซิเจน โอโซน และ ทุกอย่างให้ เพราะฉะนั้น ในแง่ของการพัฒนาหรือท�ำงานใดๆ ก็ตาม เรามีพันธสัญญาร่วมกัน ในนาม นายกสมาคมการท่องเที่ยวเขาใหญ่ นโยบายของเราคือ Green และเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน ไม่ว่าการพัฒนาเมืองด้านต่างๆ จะผันแปรไปในรูปแบบใด ใครจะมาเป็นหัวหน้าอุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่ มาเป็นผู้บริหารเมือง ไม่รู้ แต่เขาใหญ่ยังต้องคงอยู่ และอยู่มาแล้ว นี่คือสิ่งที่พิสูจน์แล้ว แต่ก็มี ประเด็นอ่อนไหวจากการจะถูกปลดจากมรดกโลกได้เหมือนกัน ถ้าเราไม่ดูแล ด้านทรัพยากรธรรมชาติ การตัดไม้ท�ำลายป่า ไม้มีค่า สัตว์ป่า มีประเด็นเยอะมากมาย ถ้าเปรียบเทียบ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อยู่ข้างบน แล้วชาวบ้านเรา ผู้ประกอบการ อยู่โดยรอบ เขาใหญ่เป็นไข่แดง ช่วงโควิด ปี 2564 พิสูจน์แล้ว ว่า นักท่องเที่ยวขึ้นอุทยานฯ 1.5 ล้านคน เราไม่เจอโลว์ซีซัน เพราะคนหนีจากกรุงเทพฯ มาพบอากาศ บริสุทธิ์ แล้วก็ก่อให้เกิดการท่องเที่ยวเชิง Glamping, Camping, Pool Villa ที่สร้างทั้งข้อดี และข้อที่เป็น ปัญหาที่ต้องจัดการตามมา เวลาคนมาอยู่ ก็มีไม่กี่เรื่องหรอก การจัดการทรัพยากร น�้ำ ขยะ การจราจร เราอยู ่ เขาใหญ่ มา 20 ปี แล้ ว ก ่ อตั้ งร้ านอาหารเป็ นลาว ตั้ งแต ่ เป็ นเพิงเล็กๆ พนักงาน 1 คน 2 คน 3 คน จนมาทุกวันนี้ 15 ปี พนักงาน 50-60 คน 32


ท�าอย่ างไร จึงสร้ างเครือข่ ายได้ ? ก็ต้องมีแกนนั่ง แกนนอน แกนยืน ที่ชัดเจน แล้ว ก็มีเป้าหมายร่วมกัน ของเขาใหญ่ ดูเหมือนยาก แต่ง่าย ดูเหมือนง่ายแต่ยากอยู่อย่างหนึ่ง นี่ค�ำ พูดลุงน้อย (สุรินทร์ สนธิระติ - สวนซ่อนศิลป์) นะ บอกว่า เป้าหมายคือเขาใหญ่เป็นองค์ประธาน ไม่ว่าจะสายตาสั้นสายตายาว เรามองเห็นสี เขียวร่วมกัน มองเห็นว่านี่คือทรัพยากรที่มีค่าที่ สุด ถ้าเขาใหญ่ถูกกระทบกระเทือน หมายถึง การลงทุนเป็นหมื่นๆ ล้านก็ถูกกระทบกระเทือน หุบเขาแห่งความสุขจะกลายเป็นความทุกข์ทันที แล้วยิ่งต่อไป มอเตอร์เวย์เปิด คราวนี้ 45 นาที จากกรุงเทพฯ คนจะมากันใหญ่เลย จะไม่มีช่วง เวลาธรรมชาติฟื้นตัว ฉะนั้นนี่เป็นโจทย์ใหญ่ ของเรา ทีนี้ เราเห็นแล้ว พอประเทศเปิด คนเดินทาง เขาใหญ่เป็นที่ของคนที่เกษียณแล้วมาอยู่ เป็น บ้านหลังที่ 2 เขาใหญ่ถูกปักธงตามแนวเขต ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้ เป็นทางด้าน Wellness ซึ่ง “เดอะ เครสตัน ฮิลล์” (The Creston Hills) ก็จะเป็น Banyan Tree เป็น Luxury Residences ทุกคนก็พูดกันเรื่อง Wellness เพราะเรามีเขาใหญ่ อากาศดี อาหาร ดี น�ำมาซึ่งอารมณ์ดี สุขภาพชีวิตดี ฉะนั้น ใน ปัจจัยเหล่านี้ ต่อให้คุณมีเงินก็ท�ำคนเดียวไม่ได้ คุณอาจจะสร้างโรงพยาบาลหรูหรามากมาย แต่ คุณต้องพึ่งพาทรัพยากร เพราะฉะนั้น หน้าที่เรา สนใจพัฒนาด้ านใดในหมวกของการเป็ นทั้งผู้ ประกอบการ ในชุมชนและนายกสมาคมการท่ องเที่ยวเขาใหญ่ ? โดยส่วนตัว สนใจการพัฒนาเมืองและสิ่งแวดล้อมอยู่แล้ว เราท�ำมาหากินอยู่ที่นี่ เราดูแลผู้คน ท�ำงาน ร่วมกับเขาใหญ่ ชุมชน โดยไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก คือสมาคมเป็นเหมือนสังกัด บางเรื่องจ�ำเป็นต้องใช้ กลุ่มก้อนในการท�ำงานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ เราซึ่งเป็นตัวกลาง ก็ท�ำงานได้กับทุกคน ที่เขาใหญ่ อ�ำเภอปากช่อง มี 2 สมาคม 28 ชมรมอนุรักษ์ ไล่ตั้งแต่ไผ่หนาม ฮักเขาใหญ่ ชมรมส่งเสริมวัฒนธรรม พื้นถิ่น ชมรมผู้ประกอบการร้านอาหารอ�ำเภอปากช่อง มีเครือข่าย รักษ์ช้างเขาใหญ่ มากมายก่ายกอง พอมาท�ำงานก็พบว่า ใครจะมีความเชื่อยังไง ให้เขาท�ำไป คือคุณไม่ต้องเอามารวมในที่เดียว เดี๋ยวนี้โลก กระจัดกระจาย เพียงแต่ว่าคุณเชื่อมโยงยังไง บางคนเขาอาจจะอยากเป็นหัว ตรงนี้อยากเป็นตรงกลาง เราอยากเป็นหาง เพราะฉะนั้น อย่าไปยึดติดกับต�ำแหน่งแห่งที่ ท�ำในสิ่งที่ตัวเองเชื่อ เริ่มท�ำจากความ สนใจในตัวเรา ทั้งในระดับชุมชนไปจนถึงระดับโลก เท่าที่เราท�ำได้ เราเป็นคนมีเพื่อนเยอะ ก็ให้เพื่อน ช่วยนี่แหละ ไม่ได้มีอะไรพิสดารเลย คือเชิญชวนให้คนมาท�ำงานร่วมกัน ให้คนรู้จัก เขาใหญ่ในมุมมองที่เป็นทรัพยากรโลก คุณอย่า ไปมองว่า ปล่อยให้ชุมชนรับผิดชอบ ปล่อยให้ เทศบาลรับผิดชอบ มันไม่ได้ เพราะปัญหาโลก ร้อนไม่ใช่เรื่องของเราคนเดียว เป็นเรื่องใหญ่มาก ที่ต้องจัดการให้ Net Zero, Carbon Emission, กฎกติกาโลก เยอะแยะไปหมด ถูกมั้ย ในจังหวัดโคราช คือ 32 อ�ำเภอ ใหญ่มากจริงๆ แต่เวลาพูดถึงเขาใหญ่ นึกถึงอะไร ถนนธนะรัช ต์ แค่นี้ มันไม่แฟร์นะ เพราะเขาใหญ่ ตามหลัก หมายถึง 4 จังหวัด นครราชสีมา ปราจีนบุรี นครนายก สระบุรี ถ้ารวมผืนป่าดงพญาเย็น คือ รวมสระแก้วกับบุรีรัมย์ เพราะฉะนั้น สมาคม การท่องเที่ยวเขาใหญ่ ตั้งใจใช้ค�ำว่า “เขาใหญ่” เพราะอยากให้สมาชิกรวมเขาใหญ่มาได้ เรา ท�ำงานร่วมกับวังน�้ำเขียว ร่วมกับเมือง หอการค้า ภาคีเครือข่ายมากมาย คุยกับสสปน. (ส�ำนักงาน ส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ - TCEB) เรื่องการจัดประชุมแบบเอาต์ดอร์ เรามีธรรมชาติ ก็ไม่ต้องไปสร้างคอนเวนชันขนาดใหญ่ คือทุก อย่าง ใช้ค�ำว่า New Normal เชยไปแล้วนะ แต่ ว่า Next Normal เป็น Next บนความผันผวน เพราะคุณก็ไม่รู้คุณจะเจออะไร แต่เราก�ำลังจะ บอกว่า เมืองที่คนออกมาช่วยกันท�ำงาน เพราะ เราเห็นปัญหา แต่เราเชื่อว่า Prevent is better than cure. เราเรียนกฎหมายนะ ป้องกันดีกว่า แก้ไข เหมือนต้องร่างสัญญากันก่อน ดีกว่ามา แก้ไขทีหลัง เพราะต้นทุนของการแก้ไขมากกว่า และยากกว่า 33


ปั ญหาของเขาใหญ่ ที่มีมาตลอดคืออะไร? น�้ำ รถติด ขยะ อย่างที่คอนเสิร์ตมันใหญ่มาก จัดมากี่ครั้งแล้ว 12 ปี ยังพูดเรื่องเดิมเลย ขยะล้น รถติด ปีที่ผ่านมาคนเป็นแสนเลยนะ แล้วคนที่ไม่เข้างานอีกล่ะ พ่อแม่ผู้ปกครอง มาส่งลูก คูณสามเลย สมาคมฯ เราจัดจุด จอดรถฟรีไว้ให้ เราเซอร์เวย์ตัวต่อตัว รู้เลยว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคเป็นยังไงบ้าง แล้วเรา ก็เป็นคนท�ำจดหมายเปิดผนึกถึงชาวโลกว่า ไม่ไหวนะคะ ดิชั้นเรียกร้องไปยังสปอนเซอร์ ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ถ้าคุณพูดเรื่อง ESG (Environmental, Social, and Governance กรอบแนวคิดใน 3 มิติขับเคลื่อนภาคธุรกิจให้เกิดการเติบโต อย่างยั่งยืน) คุณดูเรื่องนี้ก่อน เวลาคุณจะให้ สปอนเซอร์งานใดๆ คุณต้องดูด้วย ไม่ใช่คิด แต่จะจัด จัดแล้วเกิดขยะ เกิดมลพิษ จัดการ อะไรไม่ได้เลย แล้วก็เหมือนคนปากช่องคน เขาใหญ่ปล้นนักท่องเที่ยว ก็เสียชื่อเสียง คือ ในแง่รายได้ มันได้แหละ แต่คุ้มเสียมั้ย ไม่ได้ บอกว่าไม่ให้จัดนะ อยากให้จัด แต่จัดอย่าง มีความรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ใช่คิดแต่จะ ประหยัดต้นทุน จัดอย่างมีส่วนร่วม เชื่อมั้ย ว่า ผลจากการจัดครั้งล่าสุดและจดหมาย เปิดผนึก เสียงร้องเรียนต่างๆ จังหวัดต้องตั้ง คณะกรรมการ 6 เดือนล่วงหน้าก่อนจัดงาน ครั้งต่อไป เพราะมันส่งผลกระทบมหาศาล เราก็คุยกับน้องๆ ที่จัดงานคอนเสิร์ตใหม่ๆ ต้องลดการใช้พลาสติก ใช้ถ้วยชามรามไห ที่ย่อยสลายได้ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพราะขึ้นอุทยานฯ ตอนนี้ใช้โฟมกับพลาสติก ไม่ได้อยู่แล้ว เรารณรงค์เรื่องการใช้ปิ่นโต ท�ำแคมเปญ “Pinto Go Round!” ให้คน มารับปิ่นโตไปใช้ใส่อาหารพกไปพกมาขึ้น อุทยานฯ หรือใส่อาหารใส่ขนมที่ร้านในเขา ใหญ่หรือในตัวเมืองปากช่อง ลดการใช้ถุง พลาสติก ใช้เสร็จก็มาคืนที่จุดทางเข้าอุทยา นฯ หรือตามร้านต่างๆ คือในชุมชนเราต้อง ก�ำหนดคอนเวนชันร่วมกัน เหมือนธรรมนูญ แห่งชุมชน ว่าเวลาคุณจะมาจัดงาน ต้องท�ำ เรื่องนี้ๆๆ เพราะ Polluter Pays Principle ใครท�ำเสียคนนั้นจ่าย อันนี้หลักการ ไม่ใช่ แค่กระแสนะ เป็นเรื่องที่ต้องท�ำ ในแง่ ของการพัฒนาหรือท�างานใดๆ ก็ตาม เรามีพันธสัญญาร่ วมกัน ในนามนายกสมาคมการท่ องเที่ยวเขาใหญ่ นโยบายของเราคือ Green 34


มองภาพเขาใหญ่ ในอนาคตอย่ างไร? ถ้าเราก่อร่าง Green Business แนวทาง ชีวิตสีเขียวกันได้ เชื่อว่าเขาใหญ่จะเป็นที่พึ่ง ทางด้านสิ่งแวดล้อม และเป็นตัวอย่างของ การท่องเที่ยวที่ดีได้ ถ้าคนรุ่นเรายังไม่หมด แรงนะ แล้วเราสร้างเด็กรุ่นใหม่มาทันนะ ค�ำว่า สร้าง คือ สร้างแรงจูงใจ สร้างแรง บันดาลใจให้เขาเข้ามาแล้วได้ คือเชื่อม ช่องว่างของเจเนอเรชัน อย่างที่ท�ำเรื่อง “ยังเขาใหญ่” หรือน้องจ๋า (ปวีนา เชี่ยวพานิช) ที่ร้าน EL Café เป็นเด็กรุ่นใหม่ที่ใส่ใจ สิ่งแวดล้อม แล้วมีเด็กรุ่นใหม่ที่เป็นแบบนี้ เยอะ เพียงแต่ว่าการที่เขาไม่ได้เป็นสมาชิก ชมรมใดๆ ก็ไม่ใช่ความผิดของเขา เพราะ ในเจเนอเรชันเขามันเป็นแบบนั้น คือ ดูเหมือนว่า สมาคม ชมรม เป็นเรื่องของ ผู้หลักผู้ใหญ่ แต่จริงๆ ทั้งใช่และไม่ใช่ เพราะ ฉะนั้น แนวคิดในการเคลื่อนต่อ ก็ต้อง เตรียมจดวิสาหกิจเพื่อสังคมของสมาคมฯ ท�ำองค์กรคู่ขนาน เพื่อให้ยั่งยืน เพราะทุก วันนี้สมาคมฯ ได้รับเงินค่าสมาชิกปีละ 1,000 บาท ซึ่งน้อยมาก คนมาท�ำงานพวก นี้ถึงต้องจิตอาสา แต่เราไม่ได้อยากเอาเงิน เป็นตัวตั้งอย่างเดียว ควรจะต้องท�ำให้เกิด การมีส่วนร่วมเหมือนเป็นอาสาสมัคร ซึ่งงานอาสาสมัครไม่มีหัวหน้านะ คนนี้ ออกไป คนนั้นมาแทน เพราะเราพบ Secret Recipe ว่า จ�ำเป็นต้องมีคนน�ำทัพให้ เคลื่อนไป เหมือนคุณต้องเป็นจ่าฝูง ไม่งั้น ทัพแตกกระสานซ่านเซ็น ก็อย่างที่บอก 2 สมาคม 28 ชมรม มาจับมือกัน ส่งแรงไป ช่วยเรื่องนี้ๆ ในฐานะที่เราเป็นหนึ่งหน่วยของ สังคมและชุมชน ใครอยากท�ำอะไร ก็ท�ำต่อ ไป โดยที่ยังคงเชื่อมโยงกันได้ ไม่ทะเลาะกัน เข้าใจเคารพความแตกต่างหลากหลาย คนท�ำงานชุมชนเจ็บปวดทุกคน แต่ท�ำ เพราะ คุณท�ำในสิ่งที่คุณเชื่อไง คุณยังอยู่ในเมืองที่ คุณยังมีโอกาสฝัน ยังอยู่ในชุมชนที่คุณอยาก เป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลง เพราะ ฉะนั้น เราบอกอยู่เสมอว่า ไม่ใช่ใคร เรา นี่แหละ คือ Change Agent ผู้ ประกอบการในเขาใหญ่ เป็ นอย่ างไร? คือทรัพยากรที่มีค่ารองจากเขาใหญ่ คือ คน คนเขาใหญ่นี่ของแข็ง เขามาประกอบธุรกิจที่นี่ด้วย อาการปล่อยของ ทุกคนทิ้งทวน เราเองก็เหมือนกัน เรามองเขาใหญ่เป็นเรือนตาย แล้วร้านเรา พนักงานมีอายุก็หลายคนนะ พื้นที่ที่เหลืออยู่จะท�ำบ้านพักคนชรา เรามองว่า ถ้าแก่ คุณเดินทาง ไม่ได้แล้ว คุณมาอยู่ แต่คนวัยเดียวกันอยู่ด้วยกันไม่รอดนะ ต้องมีคนช่วยคุณน่ะ เพราะฉะนั้น เป็นลาวคือสังคมทดลอง เรามีคนสามวัยท�ำงานที่ร้าน มีประชากรสูงอายุ 70 อยู่หลายคนที่ยัง ท�ำงานอยู่ข้างหลัง มีเด็กนักเรียน ปิดเทอมเราก็มีเด็กหูหนวก มาท�ำงานด้วยกัน อุปสรรคในการท�างานพัฒนาเมือง ถ้าพูดตรงๆ นะ ภาครัฐ very slow โดยเฉพาะบริบทของเขาใหญ่ กี่วิกฤติมาแล้ว เอาง่ายๆ ถ้าภูเก็ตไม่มีกลุ่มนักธุรกิจที่ลุกขึ้นมาท�ำ Sandbox หรือคนที่คิดเคลื่อนเมืองแบบนี้ ก็ไม่มีโพรเจกต์ นี้ขึ้นมา เพราะอะไร เพราะมันดิ้นรนจนถึงขีดสุดแล้ว จะไปรอแต่ภาครัฐไม่ได้ โอเค ก็มีกลุ่มคนที่ บอกว่าเป็นหน้าที่ของรัฐ แต่เราบอกไม่ใช่ ไฟก�ำลังไหม้บ้าน คุณไปรอเรียกรถดับเพลิงอย่างเดียว ไม่ได้ คุณมีตุ่มมีอะไรต้องมาช่วยกันก่อน จะปล่อยให้เสียหายตรงหน้าก็ได้ แต่คุณอย่าลืมว่า คุณ เองก็เป็นส่วนหนึ่งของสังคม เพราะฉะนั้น พอเรามีบทเรียนจากช่วงโควิด เราได้กลุ่มอาสาสมัคร ได้น้องๆ มา เตรียมเคลื่อนต่อ เราตั้งกลุ่มชื่อว่า “ใจใหญ่” เป็นกลุ่มเคลื่อนเพื่อสังคมในชุมชน เป็นโมเดล อย่างเราสนับสนุนแอปพลิเคชันรถประจ�ำท้องถิ่น ชื่อ โตโกะ (Toko SuperApp) เป็น เด็กหนุ่มรุ่นใหม่อยู่ในปากช่องเรา เพราะเขาใหญ่มีข้อจ�ำกัดเรื่องการเดินทาง คือถ้านั่งรถไฟมา กว่าจะต่อรถมาถึงร้านเป็นลาว (ถนนธนะรัชต์ กิโลเมตรที่ 21) คือชาตินึง ปัญหาอยู่ที่โลจิสติกส์ ตอนช่วงโควิดเราก็เคยไปขอให้แกร็บ ให้บริษัทใหญ่ๆ เคลื่อนมาจัดส่งดิลิเวอรี เขาไม่มา เพราะไม่ คุ้มค่าการลงทุน ก็เห็นใจเขานะ ในแง่ของการพัฒนาเมือง จึงจ�ำเป็นต้องมีเรื่องระบบการจัดการ ขนส่ง ภาคประชาชนที่ช่วยกัน เราเอาโจทย์ของชุมชนเป็นตัวตั้งก่อนว่า นอกจาก What’s next? แล้ว คือ What’s need? อะไรคือสิ่ งที่เขาใหญ่ ต้ องการในตอนนี้? ถ้ามองในแง่การท่องเที่ยว คือการเชื่อมต่อของการเดินทาง เพราะกลายเป็นว่าคนที่มาเขาใหญ่ ต้องมีรถมา เราพูดเรื่องต่อไป คือรถยนต์ไฟฟ้า ไม่ใช่แค่กระแส สถานประกอบการต้องติดตั้งจุด ชาร์จ EV เราพูดเรื่องการใช้พลังงานสะอาด พลังงานแสงอาทิตย์ เราก็ส่งเสริม ต้องลงทุนนะ เรา จัดให้สถาบันการเงินมาปล่อยเงินกู้ Green Loan เรื่องขยะ เราใช้วัสดุที่ย่อยสลาย มีการแยกขยะ เอาขยะเปียกไปท�ำจุลินทรีย์ EM มีคนมารับขยะเปียกจากเราไปให้หมูกินนะ แต่เราไปรอภาครัฐ อย่างเดียวได้มั้ย ไม่ได้ โอเค อ�ำเภอปากช่องประกาศเป็นสมาร์ตซิตี ถามว่าสมาร์ตซิตีแล้วยังไง ต่อ มันสมาร์ตตรงไหน สมาร์ตอย่างไร แต่ว่า หน้าที่เราไม่ใช่หน้าที่บ่น เราเป็นนักปฏิบัติ อยาก ท�ำอะไรท�ำ ตราบใดที่รับรองว่าไม่เดือดร้อนใคร ไม่เดือดร้อนตัวเอง เราพยายามให้พนักงานเรา เข้าใจในงาน ไปมีส่วนร่วมกับชุมชน เด็กนักเรียนไปเก็บขยะ สนับสนุนอาหารเครื่องดื่ม รณรงค์ ร้านอาหารมาช่วยกันเอาอาหารให้เด็ก คือทุกกิจกรรม ถ้าเรารู้ เราก็มีส่วนร่วมในแบบของเรา เราเป็นร้านอาหาร ก็ส่งข้าวเหนียวหมูทอดไป คือทุกคนสามารถช่วยในสิ่งที่ตัวเองถนัดหรือมี ก�ำลัง คนชอบบอกว่า ให้บริษัทใหญ่ๆ มาช่วยสิ บริษัทใหญ่ๆ กว่าจะเคลื่อนเป็นหอยทากมา เมื่อไหร่จะถึง เพราะฉะนั้น คนที่อยู่ในสังคม ชุมชนนั้นๆ รู้บริบท รู้ปัญหาของตัวเองอยู่แล้ว คุณ ต้องลงมือท�ำ เอาง่ายๆ อย่างเรื่องช้าง ทุกวันนี้ช้างก็ลงมาเดิน ตัว สองตัว สามตัว มีอาสาสมัคร หน่วยผลักดันช้างตั้งอยู่ที่วัดหมูสี ก็ช่วยกันเป็นคณะกรรมการ ช่วยกันดู เขาต้องจ่ายค่าน�้ำมัน ไปไล่ช้างเอง เพราะเจ้าหน้าที่อุทยานฯ มีไม่พอ คือมันเหมือน คุณสนใจเรื่องอะไร คุณท�ำไป ถ้าภาครัฐหรือหน่วยงานการปกครองท้องถิ่นเคลื่อนช้า ภาคเอกชนก็ต้องจับมือกันให้เหนียวแน่น ช่วยกันเคลื่อน ช่วยกันท�ำ คนละนิดละหน่อย เดี๋ยวมันก็เคลื่อนโลกได้เอง 35


“ผมท�าไรมาตลอด ย่ ้ ายมาท�าไรธารเกษมที่ปากช ่ ่ องเมื่อปี 2505 เป็ นไรร่ างที่เขาปลูก ้ ละหุงเอามาท� ่ำน้า �มัน ก็ถางพวกตนละหุ้ งออก หลังจากนั ่ นเราก็ปลูกข ้าวโพด ปลูกถั ้ ว ปลูก่ งา ชาวบานปลูกอะไรก็ปลูกตามเขา อะไรขายได ้ ก็ปลูก มาถึงระยะหนึ่ง ผมมองเรื่องความ ้ อยู่ รอด มีรายได้ ที่มั่นคงหน่ อย เพราะล้ มมาเยอะ ปลูกได้ เยอะ ราคาตก ปลูกได้ น้ อย ก็มี ของน้ อย จนมาเลี้ยงวัวนมนี่แหละที่สรางรากฐานชีวิตได ้ ้ ตอนนั้นทางมวกเหล็กเริ่มท�ำฟาร์มโคนมแล้ว (ฟาร์มโคนมและศูนย์ฝึกอบรมการเลี้ยงโคนมไทยเดนมาร์ค อ�ำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี เปิดเป็น ทางการเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2505 ในปี 2514 จัดตั้งเป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ชื่อ องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่ง ประเทศไทย (อ.ส.ค.)) วันหนึ่งผมโบกรถไปกรุงเทพฯ รถคันนั้นเป็นรถของชาวเดนมาร์ก เขาก็เล่าว่า ตอน ในหลวง (รัชกาลที่ 9) ไปเยี่ยมเดนมาร์กนั้น ท่านบอก คนเดนมาร์กเลี้ยงวัวเก่ง ท่านอยากให้ชาวเดนมาร์ก ช่วยสอนคนไทยเลี้ยงวัวด้วย เพราะคนไทยตามปกติ ไม่ดื่มนม นี่ค�ำเล่าของชาวเดนมาร์กนะ ผมว่าเรื่อง จริง นมเป็นอาหารที่คุณค่าสูง ในฐานะเป็นประเทศ เกษตรกรรม คนไทยควรใช้ประโยชน์จากไร่จากสวน เลี้ยงวัวแล้วคนก็ดื่มนมไปด้วย เมื่อพวกเดนมาร์กมา ช่วยเลี้ยงวัว นอกจากวางโครงสร้างบริหารจัดการ แล้ว ตอนแรกเขาเปิดนิคมสร้างตนเองที่มวกเหล็ก อบรมเด็กหลายรุ่น จบแล้วก็ให้วัว ท�ำฟาร์มให้ ท�ำโรงเรือนให้ ส่วนมากก็ไม่ยึดถือเป็นอาชีพ ได้วัว ไปก็ขายให้พรรคพวกเดียวกันนี้แหละ ความประสงค์ของชาวเดนมาร์กก็อยากให้งานนี้ ตกเป็นของฝ่ายประชาชนเป็นผู้รับผลประโยชน์ แต่ เนื่องจากระบบราชการของไทย ราชการกับชาวบ้าน อยู่ห่างกัน คนละสถานะ พวกที่ออกมาช่วยเหลือ ชาวบ้าน ก่อนที่คิดจะช่วยชาวบ้านก็ช่วยตัวเองก่อน แต่เขาอยากติดต่อกับชาวบ้านจริงๆ ผมอาสาว่า ผมนี้แหละชาวบ้าน หลังจากนั้นทางมวกเหล็กก็มา ออกแบบท�ำโรงเรือนรีดนมวัวให้ ครั้งแรกที่ท�ำคิด ว่าอากาศร้อน ควรจะตั้งบนที่สูง ที่ลมโกรกหน่อย เพื่อสุขลักษณะ เขาก็บอกอากาศที่นี่เย็นพอ เหมาะ สมที่จะเลี้ยงวัวนมเป็นอย่างยิ่ง ฟาร์มโคนมผม เป็นฟาร์มต้นแบบหมายเลข 1 และร่วมกับนายด่าน สุวรรณศรีจัดตั้งสหกรณ์โคนมปากช่อง (ในปี พ.ศ. 2527) ผมเป็นสมาชิกหมายเลข 1 ผมเริ่มจากวัวนม 10 ตัว ก็อยู่ได้ คุ้มทุน ขายให้ ฟาร์มโคนมไทย-เดนมาร์ค เราตั้งราคาได้เอง ผมรีด นมได้วันละ 20 ลิตร ขับรถไปส่งนมดิบที่มวกเหล็ก 20 ลิตรถือว่าไม่เยอะ ไม่คุ้มค่าน�้ำมัน ตอนหลังมี รายได้มั่นคงขึ้น ก็เลี้ยงเยอะขึ้นให้ได้น�้ำนมคุ้มกับ ค่าน�้ำมัน เลี้ยงจนสุดท้ายประมาณ 60 ตัว ลูกเรียน จบ ดูแลตัวเองได้ ผมก็ปลดระวางตัวเองประมาณปี 2539-40 ความรู้สึกของตัวเองคืออาชีพเลี้ยงวัวนมมี ความมั่นคงพอ ผมไม่เข้าใจเท่าไหร่ ท�ำไมคนไทยถึง ไม่สามารถเป็นสมาชิกที่ดีของสหกรณ์ได้ ผมเองอยู่ กับรูปแบบการบริหารที่เป็นสหกรณ์น่าจะเหมาะสม กับคนไทย แต่คนไทยก็ถือว่าเป็นอิสระชน ไม่อยาก อยู่ภายใต้อาณัติการบริหารของคนอื่น รายได้ชาวไร่ชาวสวนขึ้นอยู่กับพ่อค้าในตลาด ระบบ อุปถัมภ์ ชาวนาก็พึ่งคนในตลาดมาก พ่อค้าเกื้อหนุน ก็ยากที่ชาวบ้านจะตั้งตัวเองได้ ผมอยู่กับเพื่อนที่ท�ำไร่ ท�ำสวน สามารถพูดให้เข้าใจและชักชวนได้ การที่ผม มาท�ำโคนม เริ่มมีทรัพย์สินขึ้นมาทันที อย่างน้อยก็ มีแม่วัว ครอบครัวละ 1 ตัว สามารถตั้งหลักตั้งฐาน ได้ มีรายได้ประจ�ำ มีวัวเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ กลายเป็นว่ามีฐานะทางเศรษฐกิจพอที่จะเลี้ยงดู ครอบครัวได้ ชาวบ้านเขาก็ดูว่า คุณค�ำสิงห์แกเลี้ยง วัวได้มีสถานะ การที่จะท�ำให้คนเห็นความส�ำคัญ ก็อยู่ที่ว่า ถ้าเราพิสูจน์ให้เขาเห็นว่าเรามีรายได้ ประจ�ำจากการขายนม คนก็ท�ำตาม จากฟาร์มแรก เดี๋ยวนี้มีนับเป็นพันๆ ไร่ก็เป็นเขตเลี้ยงวัวนมเป็น เรื่องเป็นราว เกษตรกรทั้งหลายไม่มีอาชีพใดที่ไม่หนัก งานที่ ใช้แรงก็ถือเป็นงานหนัก การรีดนมวัวคือรีดทุกวัน วันละสองรอบเช้าเย็น เราไม่สามารถไม่รีดนมวัวได้ วัวไม่อั้นนมไว้ ถ้าไม่รีดนม วัวจะป่วย นมคัด อาชีพ เลี้ยงวัวนมนี้ความสะอาดเป็นตัวน�ำ ความสะอาดส่ง ผลถึงผู้บริโภค ถ้าเราได้รับค�ำติเตียนว่านมไม่สะอาด ก็สร้างตลาดยาก ตอนที่ท�ำใหม่ๆ พวกเดนมาร์กมี หมอประจ�ำมาดูแล ผมก็บอกเขาตรงๆ ว่าผมจะท�ำ ตามค�ำแนะน�ำ สิ่งที่ผมต้องการคือค�ำแนะน�ำ เพราะ มันเป็นอาชีพใหม่ เราก็ให้ความส�ำคัญกับความ สะอาด มีชาวบ้านบางคนพอรีดนมได้แล้วก็แอบเติม น�้ำเพื่อเพิ่มปริมาณ ท�ำให้คุณภาพนมไม่ดี เขาไม่รู้ว่า นั่นคือการท�ำลายอาชีพของเขาเอง” 36


นมเป็ นอาหารที่คุณค่ าสูง ในฐานะเป็ นประเทศเกษตรกรรม คนไทยควรใช้ ประโยชน์ จากไร่ จากสวน ค�าสิงห ศรีนอก (ลาว ค� ์าหอม) ศิลปิ นแหงชาติ สาขาวรรณศิลป ่ ์ ประจ�าปี พุทธศักราช 2535 สมาชิกสหกรณ์ โคนมปากช่ อง หมายเลข 1 37


38


เขาใหญ่ - ปากช่ อง 39


ตอนนี้ผมมีหน้ าที่หาหญ้ าสด ลูกน ้ องรีด ท�าด ้ วยกัน โตไปด้ วยกัน ลูกพี่รวย เอ็งก็รวย พี่ซื้อรถกระบะใหม่ เอ็งก็ต้ องมี เจริญ อินรุ่ งเรือง เกษตรกรโคนมอินทรีย์ ฟาร์ มเจริญ 40


“ผมคนปากช่ อง โตที่นครปฐม ผูกพันกับวัวตั้งแต่ เด็ก มีตาที่เลี้ยงวัวนม ผมก็ได้ เดินเลี้ยงตามทุ่ ง พ่ อท�างานราชการ อยู่ กรมประชาสงเคราะห์ พอเรียน จบปริญญาตรีราชภัฏ พ่ ออยากให้ เป็ นต�ารวจ ทหาร ผมอยากอิสระ ไม่ อยากเป็ น ลูกน้ อง แต่ ก็ไปลองท�างานอยู่ 3 เดือน คิดว่ าเงินเดือนน้ อย กลับบ้ านมาตั้งหลัก ท�าในที่ของเราเองดีกว่ า ผมท�ำฟาร์มโคนมตั้งแต่ปี 2546 เริ่มต้นจากศูนย์เลย ศึกษา ดูฟาร์มที่ประสบความส�ำเร็จ จนคิดว่ามีความ รู้พอ ก็กู้เงินซื้อวัวมาเลี้ยง 2 ตัว สมัย 20 ปีที่แล้ว วัว นมแพงนะ ตัวนึง 45,000-48,000 บาท เราเลือกซื้อ วัวสาวท้อง อายุประมาณ 2 ปี เพราะมันมีลูก ไม่ต้อง กลัวโดนหลอก ถ้าไปซื้อวัวที่เคยรีดมาแล้ว เขาบอก ว่าดี แต่มาอยู่กับเราไม่ดี เขาบอกว่าท้องมันอาจจะ ไม่ท้องก็ได้ แต่ถ้าวัวสาวท้องมันขึ้นอยู่กับเราดูแลว่า จะดีไม่ดี มาปรับให้คุ้นเคยกับเรา เพราะวัวเขารู้เรื่อง คุยกันรู้เรื่อง มันแค่พูดไม่ได้ ถ้าคุณไม่เคยเลี้ยงเขา ไม่เคยให้เขากิน ไม่เคยสัมผัส เขาไม่เอาด้วย การท�ำฟาร์มโคนม หลักๆ อยู่ที่ใจก่อน ชอบ มั้ย เอาจริงมั้ย ถ้าอยากเลี้ยงวัว พรุ่งนี้ไปซื้อ เลี้ยงได้กี่วัน เพราะวัวไม่ได้เลี้ยงแค่เดือน สองเดือนโต ใช้เวลาอยู่ด้วยกันเป็นปี ต้อง ถามตัวเราก่อนว่าจะสามารถอยู่กับเขาได้ มั้ย มันไม่ใช่เลี้ยงแล้วได้อย่างเดียว ปัญหา ก็เยอะครับ ทั้งโรค ถ้าเราชอบ จะเกิดอะไร ขึ้น ก็อยู่กับมันได้ สู้กับมันด้วยกัน 20 ปีอยู่ กับวัวตรงนี้ ผมเองก็เริ่มจากเลี้ยงวัวปกติ จุด เปลี่ยนคือวิกฤติวัวนม อาหารแพง ทีนี้ได้ยิน ชื่อแดรี่โฮมนานแล้ว ก็มีความคิดอยากท�ำ นมอินทรีย์ เพื่อนแนะน�ำให้ไปหาคุณพฤฒิ (พฤฒิ เกิดชูชื่น บริษัท แดรี่โฮม จ�ำกัด) ก็ได้ เข้าไปเรียนรู้ ศึกษาว่าเขาเลี้ยงแบบไหน ยัง ไง แล้วก็พาเขามาดูฟาร์ม ว่าอย่างเราพอ ท�ำได้มั้ย ทางแดรี่โฮมก็มาไล่ตรวจเป็นเดือน เหมือนกันนะ ตรวจวัวละเอียดทุกตัวเลย ตัวนี้ต้องคัดออก ตัวนี้เอาไว้ ดูวิธีการเลี้ยงว่า คุณเลี้ยงแบบไหน 41


มาเลี้ยงวัวนมอินทรีย์ต้องเปลี่ยนทุกอย่าง พลิกหน้ามือเป็นหลังมือเลย เปลี่ยนตัวเราด้วย ท�ำแบบ เก่าไม่ได้แล้ว ตัววัวเราต้องดี คุณภาพต้องได้ สังเกตดู วัวผมเยอะแยะ ผมไม่มีฟาง เลี้ยงหญ้า สด วัวเราต้องไม่ขังคอก เดิมเราเลี้ยงแบบยืนโรง ปล่อยเดินแค่ในคอกเขา แต่ทุกวันนี้ รีดนมเสร็จ ก็มีที่ข้างหลัง ปล่อยให้เดินคลายเครียด เล็มหญ้า นอนตามร่มไม้ แดรี่โฮมเป็นบริษัทที่ตรวจเข้ม เรื่องคุณภาพ ผมยอมรับ ผมเคยส่งศูนย์ทั่วไปมาก่อน ผมรู้ ใครบอกแดรี่โฮมเข้าไปใครๆ ก็อยู่ได้ ลองครับ เดี๋ยวก็รู้ เห็นออกกันเต็มเลย เขามีน�้ำยาตรวจคุณภาพเพื่อจับความผิดปกติทุกอย่าง ของน�้ำนม เข้าแล็บตรวจ รู้เลยว่านมไม่ได้คุณภาพ วัวเครียด วัวไม่ได้เดินเล่น มันส่งถึงน�้ำนม การเปลี่ยนคือเปลี่ยนอาหาร ต้องเปลี่ยนตอน เป็นวัวดราย คือวัวที่เคยรีดนมแล้ว พักท้อง 3 เดือน ถ้าเปลี่ยนตอนที่เรารีดอยู่ นมหดหมด เลย แล้วยากที่จะกลับมา คือวัวถ้าเราเคย ให้กินแบบนั้น ก็ให้มันกินแบบนั้น นมจะได้ ปกติ ถ้าอาหารเปลี่ยน มันมีเวลาปรับตัวครึ่ง เดือนหรือเดือนนึง ยังส่งนมได้ปกติ เพียงแต่ นมลดลง ต้องรับให้ได้ คือเดือนแรกปริมาณ ลดลงครึ่งนึงเลย เดือน 2 เริ่มขึ้น เดือนที่ 3 อยู่ได้ละ คุณพฤฒิบอกถ้าเผื่อเราท�ำไม่ ได้เขาจะช่วย ทุกวันนี้เขาก็ช่วย ไม่เคยทิ้ง แต่เราพยายามสร้างของเรา ไม่ให้เป็นภาระ เขา ระยะเวลา 3 เดือนเปลี่ยนได้แล้วนะ แต่คุณต้องบริหารจัดการตัวคุณเองให้ได้ ไม่ใช่เอาเงินไปใช้ทางอื่น แต่ไม่มาดูรายรับ ที่คุณท�ำอาชีพนี้ อย่าเอามารวมกัน ต้องแยก ให้ออก และอยู่ที่ตัวเราด้วย ต้องจริงจัง ไม่ใช่ อยากเป็นแต่ไม่ลงมือท�ำ มันก็เป็นไปไม่ได้ ตอนนั้นผมท�ำเองกับมือ ตัดหญ้าเอง รีด นมเอง ไม่ได้จ้างลูกน้อง ถ้าคุณไปนั่งสั่งให้ ลูกน้องท�ำมันก็ขาดทุนอยู่นั่นแหละครับ 42


น�้ำนมส่วนหนึ่งที่ผมส่งแดรี่โฮมเป็นนมเบดไทม์ ที่คุณพฤฒิไปจดลิขสิทธิ์นะ (Bed Time Milk มาจากงานวิจัยที่แดรี่โฮมร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี โดยการสนับสนุนจากสวทช. พัฒนาจนได้นมที่อุดมด้วยเมลาโทนินจากธรรมชาติสูง ช่วยให้นอนหลับสนิทและพักผ่อนได้เพียงพอ) เป็นนม กลางคืน นมที่ไม่โดนแสงแดด รีดเสร็จวิ่งเข้าโรงงานเลยก่อนพระอาทิตย์ขึ้น เพราะฉะนั้น กิจวัตรประจ�ำวันที่นี่คือ ตื่นตี 3 มารีดนม ช่วงลูกน้องมารีด ผมก็ตื่นตี 4-5 ลงไปดูทุกวัน ถ้าลูกน้องไม่อยู่ ผมกับแฟนผมนี่แหละ ตื่นมารีด ข้อตกลงคือรถจอดหน้าเราตี 5 ล้อหมุนออก ช่วงเวลาแค่ไม่เกิน 3-5 นาที ไม่ได้คุยกันหรอก นมของเรารีดเข้าบริษัทเอาไปผลิตก่อน แล้วรีดมื้อเย็นอีกมื้อ ตอนบ่ายสองโมงครึ่ง เป็นนมปกติ เวลามารับ ตรวจนมก่อน เก็บใส่ ขวดเล็ก เทสต์หลอดแก้ว ตรวจเช้า ตรวจเย็น ใครโดนแบบนี้ทุกวัน มาลองกันดู ผมลองมาแล้ว 10 ปี คนที่อยู่ไม่ได้คือเขาเจอแบบนี้ทุกวันๆ ก็ถอดใจ ความแตกต่างของนมแต่ละบริษัทอยู่ที่ การบริหารจัดการฟาร์ม การคัดแม่วัว คัดเลือกน�้ำนมวัว เราอยู่กับวัว ธรรมชาติ จะรู้ว่าตัวไหนเต้านมอักเสบ ตัวไหนจับมัน ดราย แม่วัวให้นมเป็นปี นมจะด้อยลงเรื่อยๆ ต้องถึงเวลาพัก รอกลับมาใหม่ ถ้านมทั่วไป ก็รีดกันจนนมมันหมด เนื้อนมมันต่างกัน ตอนนี้ผมมีหน้าที่หาหญ้าสด ลูกน้องรีด ผม เทรนลูกน้องเป๊ะเลย ไม่ให้หลุด ผมให้ใจลูก น้องก่อน ท�ำด้วยกัน โตไปด้วยกัน ลูกพี่รวย เอ็งก็รวย พี่ซื้อรถกระบะใหม่ เอ็งก็ต้องมี แล้ว ผมไม่ได้คิดว่าจะต้องมีนมเป็นตันๆ คิดแค่ ว่าเท่านี้ ธุรกิจอยู่ได้ คิดอย่างอื่นต่อว่าเรา จะท�ำอะไร จากท�ำนม ทุกวันนี้ ผมท�ำขี้วัวชั่งกิโลขาย มีตัวตน คนพูดถึง ขี้วัวต้องมาเอาที่นี่ ใส่แล้ว งาม เพราะเราปรุงขี้วัว ท�ำมา 3-4 ปี เมื่อก่อน ก็ไหลทิ้ง ปล่อยไปตามท้องไร่ ตักมาใส่แปลง คือไม่ได้คิดว่าต้องมาสร้างมูลค่า ขี้ยังท�ำ เงินได้ ไม่พอขายด้วย ผมไม่ได้คิดได้เอง ไป ดูคนอื่น เอาด็อกเตอร์หลายๆ คนมารวมไว้ ที่ผม เมื่อก่อนหมักขี้วัว เศษหญ้าเหลือเป็น กองๆ ก็คิดไปเรื่อยว่าเอาอะไรมาย่อยมัน ท�ำ จนรู้ว่าไม่มีอะไรย่อยได้ไวนอกจากธรรมชาติ ให้มันท�ำงานกันเอง อะไรที่เป็นอาหารมันก็ เอาให้มันกิน ตัวดีกินตัวไม่ดี ตัวไม่ดีกินตัวดี แล้วสรุปที่ผลแล็บครับ ส่งตรวจจะรู้เลยว่า เป็นยังไง ขาดอะไร ต้องเติมอะไร นมเนี่ย ขนาดเด็กกินยังโต คนแก่กินก็อ้วน หมักนม เลยทีนี้ ผมถึงไม่ซีเรียสไง นมที่ไม่สามารถ ส่งบริษัทได้ ผมไม่กลัว ผมเทใส่ถังเลย แล้ว ป้าผมท�ำองุ่น ทีนี้องุ่นเสียเยอะ ลูกไม่สวย ผมไปขนมาเป็นหัวเชื้อในการหมักเพราะองุ่น มีความเปรี้ยวในตัว เอาจุลินทรีย์ในผลไม้ไป กินนมเพื่อไม่ให้มันเหม็น ผลลัพธ์ก็ได้มาเป็น ขี้วัว ชั่งกิโลขาย กิโลละ 2 บาท อนาคตที่ผมคิดไว้ ยังไม่ได้คุยกับแฟน หรอก ผมอยากท�ำทัวร์รีดนมเบดไทม์ ให้คน มาเที่ยว ดูผมรีดนมตอนตี 3 ใครอยากตื่น มาดู คนกรุงเทพฯ ชอบอยู่แล้ว เราท�ำจริง ไม่ได้โกหกใคร รีดเสร็จก็มาต้มดื่มกัน มา เบรกฟาสต์ แต่เราจะไม่ท�ำที่พัก บริเวณนี้ ในหมู่บ้านผมมีรีสอร์ตเยอะเลย คนกรุงเทพฯ มาเยอะอยู่แล้ว นี่รอให้ขี้วัวอยู่ตัวก่อน อยู่ ตัวคือไม่เป็นหนี้เรื่องนี้ วัวนมไม่เป็นหนี้แล้ว ถ้าเผื่อคิด ช่วงนี้วัวนมถูก เลี้ยงดีกว่า จบครับ เหมือนตอนนี้วัวนมถูก เขาเลิกเลี้ยงกันเยอะ เพราะอาหารแพง ต้นทุนสูง วัตถุดิบ อาหาร ก็ปล่อยเขา แต่เราท�ำไม่เหมือนคนอื่น ไม่ท�ำตามกระแส” 43


“อบต.หนองน้ � าแดง เน้ นเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ผ่ านมาในอดีต การพัฒนา อาจจะหมายถึงพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน แต ้ ่ ของเราคือพัฒนาคุณภาพชีวิต หรือการเข้ า ถึงแหล่ งความรู้ ประสานความรวมมือกับภาคราชการหรือภาคเอกชน มีการจัดฝึ กอบรม ่ ในเรื่องต่ างๆ อยู่ เป็ นประจ�า มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาก็เอางบมาท�าให้ ภาคเอกชน ที่เขาอยากประกอบอาชีพนี้ ฝึ กอาชีพนี้ หรือมาเรียนรู้ เรื่องนี้ เรามีหนาที่ประสานความร ้วม่ มือให้ เขามาเจอกัน กิจกรรมอบรม เช่ น เรื่องการท่ องเที่ยว การเสริมทักษะการแปรรูป การขายของออนไลน์ เชื่อมโยงแหล่ งท่ องเที่ยวกับผลิตภัณฑ์ ชุมชนในท้ องถิ่ น แหล่งท่องเที่ยวในโซนหนองน�้ำแดง ก็มีหลากหลาย แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ มีวัดวชิราลงกรณ วราราม วรวิหาร เป็นวัดในรัชกาลที่ 10 และมีรอย พระพุทธบาทอยู่บนภูเขา วัดถ�้ำไตรรัตน์ ก็มีถ�้ำ จริงๆ มีถ�้ำธรรมชาติอยู่อีกหลายวัด เป็นจุด Unseen ที่ นักท่องเที่ยวยังไม่รู้ อย่างวัดถ�้ำพรหมจรรย์ไม่ค่อย มีคนรู้หรอก แต่เราเคยไป ก็จะรู้ว่าเป็นถ�้ำธรรมชาติ แต่ไม่ใช่แหล่งท่องเที่ยว เป็นแหล่งส�ำหรับวิปัสสนา กรรมฐาน ปฏิบัติธรรม แต่ส่วนใหญ่คนก็ไม่ค่อย ได้ขึ้น เพราะสูง ขึ้นล�ำบาก อย่างถ�้ำสุริยาก็สวยนะ แต่พอวัดถ�้ำเขาวงมาอยู่ก็มีการท�ำเพิ่มเติม ความ เป็นธรรมชาติก็ลดน้อยลง ในชุมชนหนองน�้ำแดงก็ มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรหลายแห่ง คนในชุมชน เขาท�ำของเขาเอง อย่างที่ “บ้านหมากม่วง” เขาท�ำ อาชีพเกษตรกรอยู่แล้ว ปลูกมะม่วงเป็นร้อยไร่ เขาก็ เอามาแปรรูปเอง มีข้าวเหนียวมะม่วง ไอศกรีม แล้วก็ ท�ำเป็นร้านอาหาร ร้านค้า สามารถรองรับกรุ๊ปทัวร์ได้ ลูกเจ้าของเขาเก่ง เรียนจบ Food Science มาต่อย อดให้พ่อ ก็เป็นกิจกรรมที่น่าส่งเสริม ซึ่งตรงนี้ในส่วน ราชการเราก็พยายามส่งเสริมทักษะเหล่านี้ ผมมีโอกาสเข้าไปร่วมกับภาคเอกชนที่มีการจัด ประชุม ส่งเสริมการเรียนรู้ และการพัฒนาโครงการ เขาใหญ่ ปากช่อง เมืองอาหารอินทรีย์ คือตอนนี้ ทุกคนต้องกลับมาดูแลสุขภาพ เรื่องอยู่ เรื่องกิน ผม สังเกตหลายร้านอาหาร มีผักปลอดสารพิษ ถึงราคา จะสูงกว่า แต่เขาก็กินนะ สินค้าเกษตรอินทรีย์ก็มี โรงแรม รีสอร์ต ที่เขาต้องการอยู่ ซึ่งจากเดิม เกษตรกร ท�ำเกษตรอย่างเดียวแล้วขายพ่อค้าคนกลาง ตอนนี้ ก็หันมาท�ำเกษตร แปรรูปเอง อย่างในต�ำบลหนอง น�้ำแดงมีมะขามแช่อิ่ม ปีหนึ่งๆ ผลผลิตได้ถึง 50 ตันนะ เกษตรกรแปรรูปเสร็จ เราก็มาส่งเสริม ต่อย อดให้เขา ให้มาเรียนรู้เรื่องการท�ำแพ็กเกจจิง การ พัฒนาคุณภาพของอาหาร หรือพวก Food Safety มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาก็ประสานความ ร่วมมือ มาช่วยออกแบบสติกเกอร์ ในส่วนราชการ เอง กระทรวงมหาดไทยก็ท�ำ เช่น บ้านนี้มีรัก ปลูก ผักกินเอง ส่งเสริมให้ข้าราชการปลูกผักสวนครัวรั้ว กินได้ คือผู้น�ำต้องท�ำก่อน เราก็ท�ำ ผักสดๆ ที่เราปลูก เอง อย่างกระเจี๊ยบเขียว ก็อร่อย หรือโครงการขยะ เปียก ลดโลกร้อน ที่บ้านเรา แยกขยะอยู่แล้ว มีหลุม ขยะเปียกที่เราขุดลงไป ใส่ถังตัดก้น เปิดฝาปิดฝา เต็มเราก็กลบแล้วย้ายหลุม มันก็อยู่ในพื้นที่เรา ดินก็ อุดมสมบูรณ์ แต่บางคนไม่เข้าใจไง คิดว่าต้องไปเอา โน่นเอานี่มาใส่เป็นปุ๋ย ไม่ใช่ แค่กลบอย่างเดียวก็เป็น ปุ๋ยแล้ว หรืออย่างขี้วัว ถ้าเอาไปใส่เลย มันก็ยังช้า แต่ เกษตรกรมีกรรมวิธี เช่น เอามาแช่น�้ำแล้วไปรด แต่ก็ ต้องรู้ปริมาณรู้สูตรว่าต้องใช้เท่าไหร่ยังไง วิถีชีวิตคนในพื้นที่หนองน�้ำแดงก็โอเคอยู่ คนที่นี่มี ศักยภาพพอที่จะด�ำเนินการเองได้ ต่อยอดได้ ขยาย ผลผลิตไปเรื่อยๆ เดี๋ยวนี้เกษตรกรเก่ง บางทีเขาก็ท�ำ ส่งออกเอง แปรรูปเอง ราชการก็เป็นฝ่ายสนับสนุน พฤติกรรมเราก็ต้องเปลี่ยนตาม ในด้านโครงสร้าง พื้นฐานในต�ำบลหนองน�้ำแดงก็น่าจะครบแล้วล่ะ เรา ยังมีปัญหาน�้ำประปา เพราะโซนบ้านเขาวง บ้านธาร มงคล บ้านหนองมะกรูด โซนนั้นต้องเจาะบาดาลลง ไป 200-250 เมตรนะ ถ้ากลุ่มเขาวง เขาจันทร์นี่ 300 เมตรนะ ปกติ 6 นิ้วรถเจาะได้ละ แต่นี่ต้องใช้บ่อขนาด ใหญ่ 8 นิ้ว เราก็ประสานความร่วมมืออบต. กับภาค เอกชนที่มีจิตกุศล อย่าง PT เจาะให้ 3 บ่อ ธารมงคล เจาะให้ 1 บ่อ โครงการซีพีคืนสุขผู้สูงวัยก็มาท�ำให้ โรงโม่หินศิลาสากลพัฒนามาท�ำโครงการบ้านธาร น�้ำใจเทิดไท้องค์ราชัน สร้างบ้านให้คนจน คืออบต.ทั่ว ประเทศเขาให้ท�ำ 1 หลัง แต่ของเราได้ 50 กว่าหลังนะ หรือโครงการฝายมีชีวิต วัดป่าอ�ำนวยผล ก็สามารถ กักเก็บน�้ำไว้ได้ บริเวณโดยรอบก็ชุ่มน�้ำ ชะลอการ ไหลของน�้ำ อย่างน้อยก็ซึมลงชั้นดิน อย่างบ้านเขาวง เราใช้ประปาผิวดิน มีสระน�้ำขนาดใหญ่ ขุดลงไปลึก 6-7 เมตร ท�ำรางรับน�้ำรอบเขา พอปลายฤดูฝน ภูเขา อิ่มน�้ำก็จะไหลลงมาราง แล้วก็ลงสระ ถ้าเต็มสระคือ ใช้ได้เป็นปี ร้อยสองร้อยครัวเรือนใช้ได้สบาย” 44


วิถีชีวิตคนในพื้นที่หนองน้ � าแดง ก็โอเคอยู่ คนที่นี่มีศักยภาพพอ ที่จะด�าเนินการเองได้ ต่ อยอดได้ ขยายผลผลิตไปเรื่อยๆ เดี๋ยวนี้เกษตรกรเก่ ง บางทีเขาก็ท�าส่ งออกเอง แปรรูปเอง วิชิต อกอุ่ น ปลัดองค์ การบริหารส่ วนต�าบลหนองน้ � าแดง 45


ตอนนี้ที่ไม่ แฮปปี้ คือถนนธนะรัชต์ ที่ท�า แบริเออร์ ตรงเกาะกลาง น ่ าจะท�า ประชาพิจารณ์ ซักหน่ อย ชาวบ้ านบอกว ่ า มาท�าประชาพิจารณ์เหมือนกัน แต ่ มาท�าวันนี้แล้ วก็เจาะวันนี้เลย ประไพพิศ จารุวดีรัตนา โรงแรมแกรนด์ สิริ รีสอร์ ท เขาใหญ่ 46


“เราตั้งใจท� าโรงแรมแกรนด์ สิริ รีสอร์ ท เขาใหญ่ ให้ เป็ นบ้ านหลังที่ 2 ของทุกคนที่มา ถึงจะระดับ 3 ดาวก็พยายามปรับปรุงอยู่ ตลอด เราเอง ไม่ ได้ มีความรู้ เรื่องโรงแรม ตอนแรกท� าเป็ นบ้ านพักตากอากาศ พื้นที่โซน ด้ านหน้ าส่ วนที่เป็ นล็อบบี้ตอนนี้คือบ้ านที่เราจะอยู่ กันเอง แล้ วบ้ านทาง ซ้ ายมือท� าเป็ นบ้ านพักเวลาเพื่อนคุณพ่ อมา ความที่ท่ านอยู่ องค์ กรโรตารี ด้ วย เพื่อนก็เยอะ ยิ่ งมายิ่ งเยอะ บ้ านพักไม่ พอ เลยสร้ างตึกท� า ห้ องพัก 17 หอง ช้ ่ วงสองปี แรกก็รับรองเพื่อนป่ าป๊ ามากกว่ า เปิ ดรับแค่ คืนวันเสาร์ วันศุกรดึกๆ เราก็มากับแม ์ ่ บ้ านที่บ้ าน 2 คน ที่นี่มีอยู่ 4-5 คน ท� ากันแค่ นี้ วันอาทิตย์ ก็กลับบ้ านกรุงเทพฯ เราไม่ได้คิดท� ำตึก 17 ห้องเป็นโรงแรม นึก ว่าคนกันเองมาพัก ความรู้เรื่องโรงแรมไม่มี ก็ล� ำบากค่ะ เช่น ในห้องพักก็ไม่ได้ต่อ โทรศัพท์ไว้ ผ้าปูเตียงก็ไม่ได้สไตล์โรงแรม พอเริ่มสร้างตึกใหม่ 25 ห้อง คิดท� ำจริงจัง ให้เต็มรูปแบบ เรามีความรู้พื้นฐานมาจาก ตึกโน้นว่าถ้าจะรองรับลูกค้า ท� ำสีอย่างนั้น ไม่ได้นะ ท� ำสไตล์อย่างนั้นไม่ได้ ก็จ้าง อินทีเรียร์มาออกแบบ ตึกนี้เลยดูเป็นรูปเป็น ร่าง เป็นโรงแรมสามดาวบวก รวมทั้งหมด ที่นี่ 70 ห้อง ลูกค้าก็พวกประชุม สัมมนา เป็นครอบครัวมากันง่ายๆ ราคาไม่แพง ตอน หลังก็ปากต่อปาก เริ่มทยอยมากันเองค่ะ เรา ไม่ได้โฆษณาอะไร จุดเด่นคือห้องพักใหญ่ กว้าง สบายตา ธุรกิจของสามีคือท� ำที่นอน มา 40 กว่าปี ก็พูดๆ คอนเซปต์ว่า “หลับ สบาย ขยายครอบครัว” ลูกค้าบอกที่นี่ฟูก ดูดวิญญาณ นอนหลับรวดเดียวถึงเช้า (ยิ้ม) แล้วพื้นที่เราเยอะ ขี่จักรยานได้ ท� ำกิจกรรม ได้ มีสนามบาส ซึ่งในเขาใหญ่เราไม่แน่ใจ ว่าใครมีสนามบาสเกตบอลมาตรฐาน ติดไฟ จริงจัง สามารถแข่งกันได้เลย เพราะป่าป๊า ชอบ เคยเป็นนักกีฬาทีมชาติจีนโพ้นทะเล ตอนนี้อายุเยอะ ได้แค่วิ่งเหยาะๆ แต่เขาได้ ดูคนมาเล่นกันก็แฮปปี้ แล้วที่นี่ก็อากาศดี จากถนนใหญ่เข้ามาไม่ลึกมาก ออกไปก็ร้าน อาหารครัวเขาใหญ่ ไปทางซ้ายก็มีแหล่งท่อง เที่ยวบ่อน�้ ำผุด ไปข้างหลังก็ไม่เกิน 10 นาที ถึงสวนสัตว์โบนันซ่า ถ้าเป็นเทศกาลดอก ทานตะวันก็ไปแค่ 5 นาที สะดวกสบายนะ เราไม่ได้เป็นคนมาใหม่นะคะ ชาวบ้านรู้จัก มานานแล้วว่าบ้านเราอยู่ตรงนี้ เรามาตั้งแต่ เด็ก อยู่มา 30 กว่าปีแล้ว ป่าป๊ามาปลูก ดาวเรืองเจ้าแรกในเขาใหญ่ แล้วก็ขายเม็ด ให้ชาวบ้าน สมัยก่อนมีรถจากปากคลอง วิ่งมารับซื้อ หรือบางทีชาวบ้านไปส่งเอง ได้ดอกละบาทเลยนะ ที่นี่ดินดีอยู่แล้ว ท� ำอยู่ 5 ปี ก็ราคาลง แล้วดาวเรือง เมล็ดต้องซื้อที่ มหาวิทยาลัยเกษตรเท่านั้น เพราะเขาจ� ำกัด พันธุ์ไว้ คุณไปซื้อที่อื่นก็ปลูกไม่ได้ ชาวบ้าน เขาก็รู้แล้ว ไปซื้อปลูกเองได้ เราเริ่มตลาดให้ เขาต่อยอดไปได้ เรามาอยู่เป็นเพื่อนบ้านกัน ไม่ใช่แบบคนกรุงเทพฯ มา แล้วเราก็อุดหนุน ผักชาวบ้าน สนับสนุนชุมชนแถวนี้ เวลามี กรุ๊ปใหญ่ๆ ก็ให้ชาวบ้านมาขายของตอนเช้า วันอาทิตย์ มากัน 5-6 ร้าน ลูกค้ามาก็แฮปปี้ เพราะของไม่แพง จับต้องได้ เป็นชาวบ้าน จริงๆ เราคัดกรอง ถ้ารู้ว่าชาวบ้านไปรับ ผลไม้ที่อื่นมา ไม่ใช่ของชุมชน คราวหน้าก็ กระซิบๆ กันไม่เอา เราเองอยากให้ชุมชนขาย ของชุมชน ช่วยเหลือกัน ผลิตภัณฑ์ไม่ต้องไป เลียนแบบที่อื่น เราท� ำของเราได้ อย่างเขา ใหญ่ ท� ำไมไม่ท� ำน�้ ำพริกหมูโคราช เพราะ เป็นเมนูดั้งเดิมของโคราช ก็เคยคิดกับกลุ่ม วิสาหกิจชุมชน ให้ศูนย์อาหารที่โคราชมา ช่วยเป็นพี่เลี้ยงท� ำผลิตภัณฑ์ชุมชนขึ้นมา เราเข้าร่วมสมาคมการท่องเที่ยวเขาใหญ่ เลยได้รู้จักชุมชน ได้ใช้ผลิตภัณฑ์ พอรู้จัก มันต่อยอดไปได้เรื่อยๆ สร้างเครือข่าย ร่วมกันท� ำโครงการต่างๆ เช่น โครงการ เขาใหญ่พัฒนาเมือง โครงการหุบเขาแห่ง ความสุข ที่ผู้ประกอบการทั้งหมดมาจอยกัน เพราะต้องบอกว่า ผู้ประกอบการโรงแรมร้าน อาหารในเขาใหญ่ 90% มาจากกรุงเทพฯ ก็ได้สัมพันธไมตรี เหมือนเราเหงาๆ กันมา พอมาอยู่ มาเจอเพื่อน แล้วมีความสุข 47


วันนี้มีกรุ๊ป ท�ำอาหารไม่ทัน เอ้า มาช่วยกัน ห้องไม่พอ ท�ำยังไง ส่งต่อกัน ชาวบ้านจริงๆ ที่ท�ำก็อย่างมาก 10 ห้อง 20 ห้อง เล็กๆ เวลา มาเจอกัน คนเขาใหญ่น่ารักนะ ไม่ได้แย่ง กันท�ำมาค้าขาย ทุกคนเกื้อกูลกัน มาแล้ว อุ้ย ไว้ใจได้หรือเปล่า แต่พอสัมผัส ไม่ใช่ เลย เราช่วยกัน ชาวบ้านน่ารัก ขอความช่วย เหลือก็ได้หมด อยู่มา 20-30 ปีขโมยขโจรก็ ไม่มีนะ จะมีปัญหาเรื่องเสียงดังบ้าง เราจะ บอกแขกว่าสี่ทุ่มครึ่งนะ เพราะตรงนี้เป็นเขต อุทยานฯ คนเวลามาเที่ยวเขาสนุกไง บอก ให้เบา เบาได้แป๊บเดียว แล้วประตูต้องปิด นะคะ เสียงจะได้ไม่ออก ก็เปิดประตูห้อง ประชุมไว้ เวลากลางคืน เสียงมันลอยไกล เราอยู่ในห้องประชุมว่าเสียงไม่ดัง ชาวบ้าน ก็แจ้งต�ำรวจ ต�ำรวจก็เข้ามา เราก็ให้ลูกค้าได้ เห็นว่าต�ำรวจเข้ามาจริง บางเคสก็เอาไม่อยู่ เราก็เข้าใจ แต่เราก็จะบอกชาวบ้านอยู่เรื่อยๆ ผู้ใหญ่บ้านก็บ้านอยู่ข้างหน้านี้เอง เวลามี งานบุญ มีให้ความช่วยเหลืออะไร เราเต็มที่ อยู่แล้ว ช่วยเท่าที่ความสามารถเราจะช่วย ได้ วันเด็ก เราก็ส่งของเล่น ขนมไปทางผู้ใหญ่ บ้าน หรือบางทีมีกรุ๊ปผู้ใหญ่ ก็ไปนิมนต์พระ มาให้ใส่บาตรตอนเช้า วัดก็ได้เชื่อมโยงกับ เรา แล้วเราก็แนะน�ำลูกค้าให้ใส่บาตรอาหาร แห้ง ทางวัดจะได้เก็บได้ เพราะถ้าใส่อาหาร สด พระมีไม่ถึง 10 คน ก็ไม่หมดอยู่แล้ว นี่เราก็เชื่อมโยงกันอย่างนี้ ตอนนี้ ที่ไม่แฮปปี้ คือถนนธนะรัชต์ที่ท�ำแบริเออร์ตรงเกาะกลาง เราเคยขับมาแล้วมันสบายตา ตอนนี้รู้สึกถนนแคบ เห็นแล้วอึดอัดตา แหม น่าจะท�ำประชาพิจารณ์ซักหน่อย ชาวบ้านตรงถนน บอกว่า มาท�ำประชาพิจารณ์เหมือนกัน แต่มาท�ำวันนี้แล้วก็เจาะวันนี้ แต่เราก็มองอีกว่า ท�ำไม ชาวบ้านถึงเคยคัดค้านไม่ให้ถนนสี่เลน คือคุณจะมาเยอะไม่เป็นไร แต่อยากให้คงความเป็นเขา ใหญ่ไว้ เพราะเคยข้ามไปหากันได้ พอสี่เลนก็ข้ามล�ำบาก ไม่ได้ส่งข้าวส่งน�้ำเหมือนสมัยก่อน ก็เลยท�ำแค่ช่วงเดียว แต่แบริเออร์คงจะหยุดไม่ได้ละ เห็นบอกจะท�ำถึงกม.10 แต่จริงๆ ชีวิตความ เป็นอยู่ที่เขาใหญ่ ถ้าบอกว่าเรามาจากกรุงเทพฯ ค่าใช้จ่ายที่นี่สูงนิดนึง เพราะเรามา 2-3 คืน ไม่ได้ท�ำอาหารไงคะ ต้องไปกินอาหารข้างนอก ถึงจะถูกจะแพง มาบ่อยๆ ก็เบื่อ แต่คิดว่าอนาคต ในบั้นปลาย ถ้าเรามาอยู่ที่นี่ คงต้องท�ำครัวเอง ตอนนี้ยังไปๆ มาๆ เพราะลูกยังเรียนอยู่ที่กรุงเทพฯ ลูกเราทุกคนก็มาท�ำงานกับชุมชนที่นี่ ช่วยงานตลอดอยู่แล้ว ชุมชนก็รู้จักลูกเราทุกคน ลูกคนโต ใกล้จะเรียนจบ เขาก็แพลนว่าจบแล้วอยากมาท�ำที่นี่ซักปีนึง คือที่นี่ก็มีโครงการตั้งหกปีที่แล้ว คือเอาเด็กรุ่นใหม่ หมายถึงทายาท พามารู้จักกัน เพื่อที่จะมาต่อยอดกัน สร้างชุมชนของเขา ก็จะมีกลุ่มเด็กๆ ประมาณ 10 กว่าคน รู้จักกัน ช่วยงานกัน เพราะเด็กรุ่นใหม่บางคน พ่อแม่ปล่อย แล้วนะ ไม่ว่าจะเป็นร้านหมากม่วง ไร่กรานมอนเต้ เดอะเปียโนรีสอร์ท ก็เป็นทายาทรุ่นต่อไป มาช่วยบริหารแล้ว เราหวังว่าเด็กกลุ่มนี้ก็จะไปต่อ จะได้เป็นแบบใหม่ที่ไม่เหมือนเรา ก็บอกลูก อยู่เสมอว่า ที่นี่ไปได้นะ อาจจะไม่ได้รวย แต่ประคองตัวได้ แล้วไปพัฒนาเอา ตรงไหนที่คิดว่า ไม่ใช่ ก็ปรับตามก�ำลัง แต่ ณ วันนี้ อย่างตุ๊กตาที่เห็นประดับอยู่ตามสวน อาจจะดูสะเปะสะปะ เพราะอากงชอบแบบนี้ ก็ต้องตามใจ อากงมาแล้วสบายใจ ก็ปล่อยเขา บางจุดเขาอาจจะให้เรา ท�ำ บางจุดอาจไม่ให้เราท�ำ อย่างเข้ามาเห็นคิงคอง บางทีเราก็จะบอกลูกค้าว่าโรงแรมที่มีคิงคอง เพราะที่อื่นไม่มี ใกล้ตัวคิงคองก็มีต้นเบาบับใหญ่มาก เวลาออกดอกสวยมาก เขาบอกว่าปลูกยาก เป็นของเก่าแก่ ก็บอกลูกค้าว่าที่อื่นยากนะที่จะเห็นต้นใหญ่แบบนี้ จะถามลูกค้าว่าเอาห้องพัก ตรงหน้าต้นเบาบับมั้ย แล้วที่นี่เคยขุดบ่อใส่น�้ำ เพราะน�้ำไม่พอ แต่ขุดไปไม่ลึกมากเจอหินอ่อน ก็เลยไม่ขุดต่อ ปล่อยกองหินอ่อนไว้ ก็มีแขกสูงอายุคนนึงจองห้องเดิมตลอดที่ตึกแรกเพื่อมาดู หินกองนั้น เขามาแล้วเขามีความสุข” 48


49


ผมเป็ นเด็กเกิดในอุทยานฯ เลยรักเหมือนบ้ าน คือถ้ าเรารู ้ สึกเหมือนบ้ าน เราก็ดูแลไง เรารักมัน เจ ้ าหน ้ าที่ก็จะเป็ นอย่ างนี้ ปลูกฝั งกันมา ดุสิต รักษาชาติ เจาหน้ ้ าที่ฝ่ ายนันทนาการ อุทยานแหงชาติเขาใหญ ่ ่ 50


Click to View FlipBook Version