The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ จากคณะวิจัย โครงการวิจัย “ยะลาเมืองแห่งการเรียนรู้: กระบวนการสร้างสรรค์เมืองแบบมีส่วนร่วมบนความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม” ดำเนินการในปี 2564-2565 <br><br>โดย นายอภินันท์ ธรรมเสนา นักวิชาการจาก ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เป็นหัวหน้าชุดโครงการวิจัย ร่วมด้วย คณะวิจัยจากศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร นักวิชาการจากสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และเทศบาลนครยะลา <br><br>ดำเนินการจัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะ<br>เพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens)<br><br>สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WeCitizens, 2023-01-05 09:17:03

WeCitizens : เสียงยะลา

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ จากคณะวิจัย โครงการวิจัย “ยะลาเมืองแห่งการเรียนรู้: กระบวนการสร้างสรรค์เมืองแบบมีส่วนร่วมบนความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม” ดำเนินการในปี 2564-2565 <br><br>โดย นายอภินันท์ ธรรมเสนา นักวิชาการจาก ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เป็นหัวหน้าชุดโครงการวิจัย ร่วมด้วย คณะวิจัยจากศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร นักวิชาการจากสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และเทศบาลนครยะลา <br><br>ดำเนินการจัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะ<br>เพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens)<br><br>สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

WeCitizensเสียงยะลา
ยะลา เมอื งแหง่ การเรยี นรู้
จากตน้ ธารอาหารสู่ตน้ ทนุ ผงั เมืองและพหุวฒั นธรรม

YALA
Beyond Stories

ผงั เมืองยะลา สรา้ งในสมยั พระรฐั กจิ วิจารณ์ (อดีต

ขา้ หลวงประจำ� จงั หวดั ) และนายกเทศมนตรคี นแรกของ
เมืองยะลา ในช่วง พ.ศ.2480 - 2488 โดยมที ป่ี รกึ ษา
เป็ นชาวอังกฤษร่วมออกแบบวางผังเมือง และเม่ือปี
2560 ยะลาได้รับรางวัล UNESCO Cities ให้เป็ น
ผงั เมืองทด่ี ีทส่ี ุด อันดับที่ 23 ของโลก

แม้จะผ่านมา 85 ปี แล้ว และปั จจุบนั ผังเมืองได้รบั การ
พัฒนาไปตามบรบิ ทของเมืองตามกาลเวลา แต่ทว่ายัง
คงเค้าเดิมอยู่ โดยพ้ื นท่ีบริเวณในสุดคือที่ต้ังของ
ศาลหลกั เมอื ง ซง่ึ จะถกู ลอ้ มวงดว้ ยถนนอันนบั เป็ นวงท่ี
หนึ่ง ให้เป็ นที่ต้ังของสถานท่ีราชการต่างๆ เช่น ศาลา
กลางจงั หวัด ส�ำนักงานเทศบาล ส�ำนักงานทด่ี ิน สถานี
วิทยกุ ระจายเสียงแหง่ ประเทศไทย ฯลฯ

วงเวยี นทสี่ อง คอื บา้ นพักขา้ ราชการ และวงเวยี นทสี่ าม
สุดท้ายเป็ นท่ีต้ังของ สถาบันการศึกษา โรงเรียน โรง
พยาบาล และทอี่ ยอู่ าศยั ของประชาชน มที างเดนิ เทา้ และ
ชอ่ งทางจกั ยาน อกี ทง้ั มกี ารปลกู ตน้ ประดไู่ วท้ เ่ี กาะกลาง
ถนนแล้วดัดกิ่งใหโ้ น้มลงมาเป็ นซุ้มสวยงามทุกถนน
ท�ำให้ยะลามีความร่มร่ืนเขียนขจีทั้งปี สมกับการได้รับ
ยกย่องใหเ้ ป็ นอุทยานนคร













34 วรานุช ชินวรโสภาค์
42 อภินนั ท์ ธรรมเสนา
50 พงษ์ศักด์ิ ยงิ่ ชนมเ์ จรญิ
52 รองศาสตราจารย์ ฤทธิรงค์ จวิ ากานนท์
56 ศุภราภรณ์ ทวนน้อย
56 ดร.ธนกร จนั ทสุบรรณ
58 อิสมาแอ ตอกอย
60 กหุ ลาบ สัสดีพันธ์
62 อาดมั หะยสี าแล์
64 ธปิ ั ตยา คงสุวรรณ
66 จิรวิทย์ แซ่เจง็
68 จตุ พิ ร นว่ มทอง
70 ดุลฟิรตรี เจ๊ะมะ
72 ธีรพัฒน์ ง๊ะสมนั
76 ยะสี ลาเต๊ะ
78 เจยี ร เสียงแจ้ว
80 ตรั มซี ี อนันต์สัย
82 ลภสั รดา เจรญิ สุข
84 จัสมานยี ์ เจ๊ะโกะ
86 วรี ์ธมิ า ส่งแสง
88 ศุภวชิ ญ์ สุวรรณมณ
90 การมี ๊ะ กูนงิ
92 นุรดีน กาซอ
94 เฟาซี สาและ
98 อบั ดลุ การมิ ปั ตนกลุ
100 เอกรตั น์ สุวรรณรตั น์





ในห้วงเวลา 50 ปี ท่ีผ่านมา ภาพจ�ำของสามจังหวัด โครงการย่อยที่ 3 โครงการ “ยะลาเมืองแหง่ การเรียนรู้ :
การพัฒนาตน้ แบบพ้ืนทก่ี ารเรยี นรูเ้ พ่ือสรา้ งสงั คมแหง่ การ
ชายแดนใตใ้ นสายตาของคนไทยโดยทว่ั ไป ลว้ นมฐี านมาจาก เรยี นรูต้ ลอดชวี ติ และบรู ณาการการเรยี นรูใ้ นบรบิ ทชวี ติ จรงิ
การรับรู้จากข่าวสารจากส่ือ ในประเด็นท่ีไม่หลากหลายมาก ส�ำหรับทุกคน” โดย วรานชุ ชนิ วรโสภาค นักวิชาการอิสระ
นกั สว่ นใหญม่ กั เนน้ ปั ญหาทปี่ ะทขุ นึ้ ในหว้ งเวลาสนั้ ๆ สวนทาง เป็ นหวั หน้าโครงการวิจยั
กบั ความเป็ นจริงในพื้นท่ซี ึง่ จะสัมผัสรับรู้ได้จากการลงพื้นท่ี
จรงิ เทา่ นนั้ ความเป็ นจรงิ ทวี่ า่ การอยรู่ ว่ มกนั ของคนยะลาบน โครงการย่อยที่ 4 โครงการ เครือข่ายทางสังคมกับการ
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และวิถีชวี ิต แทจ้ ริงแลว้ มี พัฒนาเมอื งยะลาสู่เมอื งแหง่ การเรียนรู้
ความกลมเกลยี วและพ่ึงพาอาศยั กนั อยา่ งพี่นอ้ งเหนยี วแนน่ โดย นายอภนิ นั ท์ ธรรมเสนา สงั กดั ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร
คอื ความเป็ นไปทด่ี ำ� รงอยอู่ ยา่ งเป็ นปกติ เรยี บงา่ ย ดงั่ ลมหายใจ (องค์การมหาชน) เป็ นหวั หนา้ โครงการวิจยั
เขา้ ออก
การดำ� เนนิ งานโครงการวิจยั ทง้ั หมด คณะวิจยั ไดด้ ำ� เนนิ การ
โครงการวิจัย “ยะลาเมืองแห่งการเรียนรู้: กระบวนการ โดยแบง่ ประเดน็ ร่วมออกเป็ น 3 ส่วนหลกั
สร้างสรรคเ์ มืองแบบมีส่วนร่วมบนความหลากหลายทาง
ชีวภาพและวัฒนธรรม” ดำ� เนนิ การในปี 2564-2565 โดย ส่วนแรก เป็ นการวิจยั เพ่ือศึกษาทุนทาง สังคม เศรษฐกิจ
นายอภินันท์ ธรรมเสนา นักวิชาการจาก ศูนย์มานุษยวิทยา และวัฒนธรรมของเมืองยะลา โดยการขับเคลื่อนผ่าน
สิรนิ ธร เป็ นหวั หนา้ ชดุ โครงการวิจยั รว่ มดว้ ย คณะวจิ ยั จาก โครงการวิจยั ยอ่ ยที่ 1 โครงการวิจยั “ยะลาศึกษา : ความ
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร นักวิชาการจากสถาบันไทยศึกษา หลากหลายของผ้คู น ชมุ ชน และวัฒนธรรม” และ โครงการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิจยั ย่อยที่ 2 โครงการวิจยั ยะลาศึกษา : ความหลากหลาย
วิทยาเขตปั ตตานี และเทศบาลนครยะลา ทางชีวภาพ ได้ผลลัพธ์เป็ นชุดข้อมูลเมืองยะลา ที่กล่าวถึง
ประวตั ศิ าสตร์ สงั คม เศรษฐกจิ และวฒั นธรรม ลงรายละเอียด
เป้ าหมายของโครงการวิจยั มุง่ เน้นการพัฒนาเมอื งยะลาให้ เชงิ ลกึ ถงึ อัตลกั ษณท์ อ้ งถน่ิ อยา่ ง ภาษา ดนตรี ศิลปะ เสอ้ื ผา้
เป็ นเมอื งแหง่ การเรยี นรู้ (Learning City) บนฐานของสงั คม อาภรณ์ และอาหารการกิน รวมไปถงึ ความหลากหลายของ
แหง่ การเรียนรู้ทีม่ คี วามน่าอยู่และการกระจายศูนยก์ ลาง พั นธุ์พื ชพั นธุ์สัตว์ จนอาจกล่าวได้ว่าครอบคลุมทุกมิติ
ความเจรญิ ผา่ นการขบั เคลอ่ื นและนำ� เสนอขอ้ มลู องคค์ วาม เร่ืองราวของเมอื งยะลา
รู้ วิถชี ีวิต คุณค่า กับความงดงามของการอยูร่ ่วมกนั ผนวก
เข้ากับการมีส่วนร่วมจากคนยะลาทุกภาคส่วน ในการ ส่วนที่สอง เป็ นการวิจยั เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพ่ือ
สร้างสรรค์และพัฒนาเมืองเพ่ือ “พัฒนาคุณภาพชีวิตของ ออกแบบพ้ื นท่ีเรียนรู้ความหลากหลายและการมีส่วนร่วม
คนยะลา” ชดุ โครงการนป้ี ระกอบดว้ ย 4 โครงการยอ่ ยดว้ ยกนั ผ่านโครงการวิจัยย่อย “ยะลาเมืองแห่งการเรียนรู้: การ
ได้แก่ พั ฒนาต้นแบบพื้ นที่การเรียนรู้เพ่ื อสร้างสังคมแห่งการ
เรยี นรูต้ ลอดชวี ติ และบรู ณาการการเรยี นรูใ้ นบรบิ ทชวี ติ จรงิ
โครงการย่อยที่ 1 โครงการยะลาศึกษา : ความหลากหลาย สำ� หรบั ทกุ คน” (Yala Stories) ผลลพั ธท์ ไี่ ดจ้ ากกระบวนการ
ของผคู้ น ชมุ ชน และวฒั นธรรม โดย รศ. ฤทธริ งค์ จวิ ากานนท์ พั ฒนาพื้ นที่การเรียนรู้ผ่านการออกแบบอย่างมีส่วนร่วม
สังกัด สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็ น เกดิ การน�ำเอาขอ้ มลู ทอ้ งถ่ินศึกษา (Local Study) และการ
หวั หนา้ โครงการวิจยั เชื่อมโยงเครือข่ายกลุ่มเยาวชน อายุระหว่าง 15-24 ปี
นักออกแบบ ผคู้ นทม่ี พี ลงั สรา้ งสรรคเ์ ขา้ ร่วมออกแบบพ้ืนท่ี
โครงการยอ่ ยท่ี 2 โครงการยะลาศึกษา : ความหลากหลาย เรยี นรูเ้ มอื งยะลา ดว้ ยเครอ่ื งมอื การสรา้ งพ้ืนทป่ี ลอดภยั เพื่อ
ทางชีวภาพ Yala Studies : Biodiversity โดยนางสาว ใหเ้ กดิ การพูดคยุ ชวนคดิ ชวนตงั้ คำ� ถาม รว่ มกบั การลงพ้ืนท่ี
ศุภราภรณ์ ทวนนอ้ ย สังกดั มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่ อเก็บข้อมูลและเรียนรู้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
วิทยาเขตปั ตตานี เป็ นหวั หนา้ โครงการวิจยั

กอ่ นจะนำ� เสนอเรอ่ื งราวเรอ่ื งเลา่ ตา่ งๆ ในงาน Yala Stories ยะลา” และมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลามีเป้ าหมายในการ
ผ่านเรื่องเลา่ 8 เร่ือง จดั ข้ึนระหว่างวันท่ี 27-29 พฤษภาคม ขับเคล่อื น “หลกั สูตรแกนกลางจงั หวัด” รวมถงึ อุทยานการ
2565 ในรูปแบบพ้ื นท่ีเรียนรู้สไตล์ ‘หอศิลป์ ’ ที่รวมเอา เรยี นรูย้ ะลา (TK Park Yala) กม็ เี ป้ าหมายทจี่ ะรว่ มขบั เคลอ่ื น
เครือข่ายศิลปิ น นักกิจกรรม นกั ออกแบบ นกั ธุรกจิ มาร่วม ยะลาไปสู่เมืองแห่งการเรียนรู้ ร่วมไปกับการสร้างการมี
แสดงงาน ถือว่าเป็ นกิจกรรมสร้างสรรค์รูปแบบใหม่ท่ีเกิด สว่ นรว่ ม และเปิ ดพ้ืนทใี่ หเ้ ยาวชนเขา้ มามสี ว่ นในฐานะกำ� ลงั หลกั
ขน้ึ คร้ังแรกในเมอื งยะลา นอกจากนีย้ งั มีการทำ� งานร่วมกบั และในฐานะผู้สืบทอดทางวัฒนธรรม ได้เข้ามามีส่วนร่วม
สมาคมเด็กและเยาวชนเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ หรือกลุ่ม พัฒนาศักยภาพในการอบรมเชิงปฏิบัติการ Yala Stories
ลกู เหรยี ง นำ� ผลงานภาพวาดของเยาวชนกลมุ่ ลกู เหรยี ง จดั เป็ นระยะเวลาถงึ 4 เดอื น เกดิ ผลลพั ธ์โดยตรงกบั เยาวชน ใน
แสดงเป็ นส่วนหนึ่งในงาน Yala Stories และรวบรวมเป็ น เรื่องการพัฒนาฐานความคิดด้านการพัฒนาเมือง ความรู้
หนงั สือภาพวาดชอ่ื ‘One day in Yala หน่ึงวันสำ� คญั ของ ความเขา้ ใจในท้องถิน่ และเกดิ ความรู้สึก “อ่ิมใจ” ภาคภูมิใจ
ในเมอื งยะลา และเหน็ คณุ คา่ ของความหลากหลาย นำ� ไปตอ่ ยอด
ฉันในจงั หวัดยะลา’ งานท้ังหมดคือรูปธรรมเน้นย้�ำถึงความ สร้างเป็ นมูลค่าที่จะท�ำให้เกิดความ “อ่ิมท้อง” ได้อย่างเป็ น
ส�ำคัญของคุณค่าความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการ รูปธรรม
สร้างพ้ืนที่การเรียนรู้ สร้างโอกาสและพ้ืนท่ีใหเ้ ยาวชนยะลา
ถือว่าเป็ นต้นแบบการเรียนรู้ท่ีเป็ นรูปธรรม เห็นภาพชัดเจน การขบั เคลอื่ นยะลาเมอื งแหง่ การเรยี นรูย้ งั คงเดนิ หนา้ ตอ่ ไป
และสามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็ นแนวทางพัฒนางาน พัฒนา ด้วยความพร้อมของข้อมูลองค์ความรู้ ประสบการณ์ของ
แหล่งเรียนรู้ และพัฒนาเมอื งตอ่ ไปในอนาคต “คน” ทุกกลุ่มท่ีเข้ามามีส่วนร่วมกับ Yala Stories และ
แนวทางการพัฒนาเมอื งแหง่ การเรยี นรูผ้ า่ นภาคส่วนตา่ งๆ
สว่ นทสี่ าม เป็ นการวจิ ยั เพ่ือถอดบทเรยี นการทำ� งานเครอื ขา่ ย ที่เร่ิมขยับขับเคลื่อน และเห็นภาพอนาคตของการพั ฒนา
การเรยี นรูเ้ มอื งยะลา ซง่ึ จะนำ� ไปสแู่ นวทางในการสรา้ งกลไก เมอื งยะลาชดั เจนมากขนึ้
ความร่วมมือระดับเมือง (Local Collaboration) ผ่าน
โครงการวจิ ยั ยอ่ ย “เครอื ขา่ ยทางสงั คมกบั การพัฒนาเมอื ง ***ติดตามการขับเคลือ่ นยะลาเมืองแหง่ การเรียนรู้ไดท้ ่ี
ยะลาสเู่ มอื งแหง่ การเรยี นรู”้ ผลลพั ธท์ เี่ กดิ ขนึ้ จากการดำ� เนนิ Facebook : Yala Stories
การวิจยั ไดแ้ ก่ การระบุ บง่ ชีแ้ ผน แกนนำ� และสมรรถนะการ
ด�ำเนินงานตามแผนของกลุ่มผู้มีส่วนเก่ียวข้อง 3 ภาคส่วน
ได้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน/ประชาสังคม โดย
ทั้ง 3 ภาคส่วนจะด�ำเนินงานร่วมกันพัฒนายะลาเมืองแห่ง
การเรียนรู้ ผ่านด�ำเนินการพัฒนาทุนทางสังคม (Social
capital) ให้มีความเข้มแข็งกว่าเดิม โดยอาศัยปั จจัยชี้วัด
ความสำ� เรจ็ ทสี่ ำ� คญั ประกอบดว้ ย 1.ความสมั พันธ์และความ
ไว้วางใจ และ2.การมีส่วนร่วม

การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมอื ง ภายใต้
การดำ� เนินโครงการวิจยั ไดร้ ิเร่ิมโดยใช้กิจกรรมอบรมเชิง
ปฏบิ ตั กิ ารการพัฒนาตน้ แบบพื้นทก่ี ารเรยี นรเู้ ป็ น “แกนกลาง”
ในลกั ษณะของการสรา้ งพ้ืนทเ่ี ชงิ ทดลองทเี่ ปิ ดโอกาสใหภ้ าค
สว่ นตา่ งๆ ไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ทงั้ เป็ นหนุ้ สว่ นการทำ� งาน และ
ร่วมลงทุน ผ่านความร่วมมือของกลุ่มผู้มีส่วนข้องในการ
พัฒนาการเรียนรู้เมอื งยะลา เชน่ ส�ำนกั การศึกษาเทศบาล
นครยะลาทม่ี เี ป้ าหมายในการพัฒนา “หลกั สตู รทอ้ งถน่ิ เมอื ง

Feature

Yala (Beyond) Stories

ส�ำรวจ ‘ยะลา’ ใช่ โดยเฉพาะข้อหลงั กล่าวตามตรง แมก้ าลเวลา
เมอื งแหง่ การเรยี นรูจ้ ากต้นธารอาหาร
สู่ต้นทนุ ผงั เมอื งและพหวุ ฒั นธรรม จะผ่านมาเกือบยี่สิบปี แล้ว ทุกวันนี้ หลายคนก็ยัง
จดจำ� ภาพยะลาในฐานะดินแดนแหง่ ความไม่สงบอยู่
เมอ่ื เอย่ ถงึ ยะลาคณุ นกึ ถงึ อะไร? เลย
เมอื งทตี่ งั้ ของอำ� เภอเบตง ดนิ แดนใตส้ ดุ ของประเทศ?
จงั หวดั ในภาคใตท้ อี่ าภพั ทส่ี ดุ เพราะเป็ นแหง่ เดยี วทไ่ี มม่ พี รมแดนตดิ ทะเล? ทีมงาน WeCitizens เพ่ิงมีโอกาสลงไปเยี่ยมเยือน
หนง่ึ ในสามจงั หวดั ชายแดนใตท้ ป่ี ระชากรสว่ นใหญเ่ ป็ นชาวมสุ ลมิ ? อ�ำเภอเมืองยะลามาเม่ือปลายปี 2565 และพบว่า
หรอื เมอื งทห่ี ลายคนคนุ้ เคยจากเสยี งระเบดิ และเหตกุ ารณค์ วามไมส่ งบ ภาพทห่ี ลายคนจดจำ� กลบั ไมเ่ ป็ นเชน่ นน้ั เพราะแมเ้ รา
ยังพบบงั เกอรป์ ูนท่ใี ช้ป้ องกนั ระเบิดอันเป็ นมรดกที่
14 ตกทอดมาจากยุคของความรุนแรงจากปี 2547
กระน้นั บงั เกอรท์ ้ังหมดกไ็ ม่เคยถูกใชง้ านอีกเลยมา
หลายปี แลว้ แถมยงั มีศิลปิ นทอ้ งถ่นิ นำ� สีไปแต่งแตม้
ลวดลายจนเกดิ เป็ นสตรที อารท์ อันสดใสแกเ่ มอื งอีก

Feature

เมืองกลับมาสุขสงบและปลอดโปร่ง คึกคักไปด้วย
เทศกาลและงานประเพณี ทสี่ �ำคัญ พ่ีน้องชาวพุทธ
และมสุ ลมิ กไ็ ปมาหาสู่กนั เชน่ เคย
ไมอ่ าจกลา่ วไดว้ า่ บทความนเี้ ป็ นการอพั เดตเมอื งยะลา
เพราะอันทจ่ี รงิ หลายสงิ่ ทเี่ ราเสนอ เมอื งแหง่ นก้ี เ็ ป็ น
อยู่อย่างน้ีมาต้ังนานแล้ว อย่างไรก็ดี WeCitizens
ฉบบั น้ีจะพาผอู้ ่านไปซมึ ซบั ความเป็ นยะลาเมืองแหง่
การเรยี นรูท้ แี่ ทจ้ รงิ ผา่ นคำ� บอกเลา่ ของผคู้ นในเมอื ง
รวมถงึ บทความเปิ ดเลม่ บทความน้ี ทน่ี ำ� เสนอเหตผุ ล
ว่าท�ำไมนอกจากจะเป็ นเมืองท่ีสะอาดและมีผังเมือง
ที่สวยที่สุด ยะลายังเป็ นหนึ่งในเมืองที่ยั่งยืนและ
น่าอยทู่ ่ีสุดในประเทศ

15

Feature
16

Feature

ผังเมอื งดีมีชัยไปกว่าครึ่ง

ดว้ ยพื้นท่ี 19 ตารางกโิ ลเมตรในเขตเทศบาลนครยะลา เมอื ง
แหง่ นไ้ี ดช้ อื่ ว่าเป็ นเมอื งทมี่ ผี งั เมอื งสวยทส่ี ดุ ในประเทศ ดว้ ย
รูปแบบผงั เมอื งแบบ radio centric หรอื ผังวงกลมที่มถี นน
วงแหวนซ้อนกนั สามชั้นล้อมรอบศูนยก์ ลางที่เป็ น
ศาลหลักเมืองคล้ายกับกรุงปารีส ฝรั่งเศส โดยในแต่ละ
วงแหวนมกี ารแบง่ โซนนงิ่ ชดั เจน ไดแ้ กก่ ลมุ่ อาคารสำ� นกั งาน
ราชการบนถนนวงแหวนด้านในสุด กลุ่มบ้านพักข้าราชการ
ในวงแหวนรอบสอง และสถานศึกษา ย่านการค้า รวมถึงที่
อยู่อาศัยของประชาชนในวงแหวนรอบสาม

นอกจากนี้ อีกส่วนหน่ึงของเมืองยังมีผังแบบ grid หรือ
ตารางหมากรุก คล้ายกับนครลอสแอลเจลสิ สหรฐั อเมรกิ า
มีทางเท้าควบคู่รางระบายน้�ำ ช่วยให้แนวของอาคารเป็ น
ระเบยี บในระนาบเดยี วกนั นน่ั ทำ� ใหถ้ นนทง้ั 400 สายในเมอื ง
แหง่ นี้เชอ่ื มต่อกันทัง้ ในรูปแบบใยแมงมุมและเส้นตาราง
อยา่ งงดงาม

ซึ่งแน่นอน การมีผังเมืองที่เป็ นระเบียบเช่นนี้ ไม่เพียงเอ้ือ
อ�ำนวยตอ่ การสญั จรในเมอื ง เอื้อใหป้ ่ั นจกั รยาน และเดนิ เทา้
แต่เพราะเมอื งมรี ะเบียบจงึ งา่ ยต่อการดูแลรกั ษาความ
สะอาด และก่อให้เกิดพ้ืนที่ส�ำหรับเติมเต็มด้วยสีเขียวจาก
ต้นไม้หลากชนดิ

ส่วนทีม่ าของผังเมืองสุดน่าอิจฉาของเมืองน้ีตอ้ งย้อนกลบั
ไป 80 กว่าปี สมยั พระรฐั กจิ วิจารณ์ (สวาสดิ์ ณ นคร) อดตี
ข้าหลวงประจ�ำจังหวัด ภายหลังสยามเปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง ท่านก็ลาออกมารับต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีคน
แรกของเมืองยะลาชว่ งปี พ.ศ. 2480-2488 กอ่ นจะปฏริ ูป
เมอื งครง้ั ส�ำคัญ จากเดิมทยี่ ะลาเป็ นชุมชนเล็กๆ กระจุกตัว
อยูใ่ กล้สถานีรถไฟ รายลอ้ มดว้ ยสวนยางและผนื ป่ า พระรฐั
กจิ วจิ ารณแ์ ละทป่ี รกึ ษาชาวองั กฤษกช็ ว่ ยกนั เนรมติ ผงั เมอื ง
ใหม่ในรูปวงเวียน พร้อมกับการแบ่งพ้ืนท่ีใช้สอยของเมือง
อยา่ งชัดเจนดงั ทีก่ ล่าว

แมย้ คุ สมยั จะเปลย่ี นผา่ น และหนา้ ตาของเมอื งยะลาจะเปลยี่ น
ไป กระน้นั มรดกทางผงั เมอื งแหง่ นก้ี ็ยงั คงเฉิดฉาย เป็ นทง้ั
ตน้ ทนุ ในดา้ นความสะดวกสบายตอ่ การใชช้ วี ติ และเป็ นความ
ภาคภมู ใิ จของคนยะลามาจนถงึ ปั จจุบนั

17





Feature

Feature

เมอื งทีม่ ีชวี ิตด้วยพื้นทีส่ ีเขยี ว

แม้จะมีผังเมืองอันยอดเย่ียม แต่จะไม่มีประโยชน์หาก นอกจากนี้ ยะลายังมีสวนสาธารณะสนามช้างเผือก
ยะลาไม่มีพื้ นท่ีสีเขียว หรือสวนสาธารณะให้ผู้คนใน (สนามโรงพิธีช้างเผือก) พ้ืนที่ท่ีเป็ นทั้งสวนคนเมือง
เมืองได้หยอ่ นใจ พระรฐั กจิ วิจารณ์ (สวาสดิ์ ณ นคร) และพ้ืนท่ีประวัติศาสตร์ของเมือง (เคยใช้เป็ นสถานท่ี
ผู้ออกแบบผังเมืองยะลายังตระหนักในข้อนี้ดี โดยให้ ประกอบพิ ธีน้อมเกล้าฯ ถวายช้างเผือกแด่ในหลวง
ความส�ำคญั กบั พ้ืนทส่ี วนถงึ ขนาดลำ� ดบั ใหเ้ มอื งตอ้ งมี รัชกาลที่ 9 เมื่อวันท่ี 9 มีนาคม 2511) ซึ่งก็ต้ังอยู่
ในอันดบั ที่ 2 รองจากพ้ืนทร่ี าชการและสาธารณูปโภค ใจกลางเมืองเช่นกนั
ข้ันพ้ืนฐานของเมือง (พื้นท่ีราชการ, สวนสาธารณะ,
พ้ืนท่ีพาณชิ ยกรรม, พื้นท่อี ยู่อาศัย, พ้ืนทีเ่ กษตรกรรม สวนศรเี มอื ง ซง่ึ เป็ นสวนเลยี บคนั กน้ั แมน่ ้ำ� ปั ตตานี จาก
และพื้นท่อี ุตสาหกรรมและคลังสินค้า ตามลำ� ดบั ) ตลาดเมอื งใหมไ่ ปจนถงึ สะพานขา้ มทางรถไฟ ระยะทาง
2 กิโลเมตร เป็ นสวนทเ่ี ทศบาลพัฒนาข้นึ ใหมเ่ พื่อท�ำให้
ปั จจุบันยะลามีสวนสาธารณะรวมทง้ั หมด 8 แหง่ หน่งึ พ้ืนทรี่ มิ น้ำ� เอื้อประโยชนใ์ หป้ ระชาชนไดเ้ ดนิ เลน่ และพัก
ในสวนที่เป็ นไฮไลท์ของเมืองคือ สวนขวัญเมือง หรือ ผ่อน ซ่ึงยังเสริมให้สะพานข้ามทางรถไฟกลายมาเป็ น
‘พรุบาโกย’ สวนสาธารณะพื้นที่ 207 ไรท่ ต่ี งั้ อยทู่ างทศิ อีกหนึง่ แลนดม์ ารค์ ของเมืองด้วย
ตะวนั ตกของศาลหลกั เมอื ง บรเิ วณวงแหวนรอบทส่ี าม
สวนแหง่ นี้เป็ นท้งั ปอดและพื้นท่ีสันทนาการของคน ใครบอกว่ายะลาไม่นา่ อยเู่ พราะไมม่ ีชายทะเลใหน้ ง่ั ชลิ
ยะลา เพราะนอกจากจะมีบึงน้�ำขนาดใหญ่ให้ความชุ่ม ลองมานั่งเล่นในสวนเหล่าน้ีเสียก่อน คุณอาจเปล่ียน
ช่ืน ที่นี่ยังมีสนามกีฬา สนามแข่งขันนกเขาชวาเสียง ความคดิ
มาตรฐานใหญท่ สี่ ดุ ในภาคใต้ รวมถงึ ชายหาดจำ� ลอง ที่
ส�ำคญั ท่แี หง่ นย้ี ังเป็ นหนึง่ ในไมก่ ่สี วนสาธารณะใน 21
ประเทศที่ไม่มีร้ัว พ้ืนที่ของสวนจึงกลมกลืนเป็ นเนื้อ
เดยี วกับกายภาพเมอื งอย่างรม่ รนื่

Feature

เมอื งท่ีมีพ้ืนที่สีเขียวเป็ นพื้นที่
แหง่ การเรียนรู้

นายกเทศมนตรนี ครยะลา พงษ์ศักด์ิ ย่งิ ชนม์เจรญิ เน้นย้�ำ ท่ีส�ำคัญ TK Park Yala ยังจดั เวิร์คช็อป กิจกรรมส�ำหรับ
ใหท้ กุ คนรบั รูเ้ สมอวา่ เขามองพื้นทสี่ เี ขยี วในความหมายเดยี ว เยาวชน และวงเสวนาเชิงสรา้ งสรรคท์ ุกสัปดาห์ โดยในชว่ ง
กับพื้นท่ีแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกเพศทุกวัย ท่เี ราไปเยอื น ท่ีนจ่ี ดั นทิ รรศการ ‘ปกายัน มลายู’ นิทรรศการ
ผ้าพ้ื นเมืองยะลา และในช่วงที่เราเขียนต้นฉบับนี้ ก็ยังมี
ด้วยเหตุนี้เทศบาลฯ จงึ มีนโยบายในการหม่นั พัฒนาพ้ืนท่ีสี นทิ รรศการ Feeling the Moment แสดงผลงานศิลปะรว่ ม
เขียวของเมืองอย่างต่อเน่ือง โดยหนึ่งในรูปธรรมดังกล่าว สมยั ของกลุม่ ศิลปิ นรุน่ ใหมใ่ นพ้ืนทอ่ี ย่าง Lanest_Yala
คอื การพลกิ โฉมศนู ยเ์ ยาวชนเทศบาลนครยะลา ใหก้ ลายเป็ น
อทุ ยานการเรยี นรขู้ นาดใหญท่ ส่ี ดุ ของภาคใตอ้ ยา่ ง TK Park Yala ทงั้ น้ี พ้ืนทด่ี า้ นนอกอาคารอุทยานการเรยี นรูย้ งั เป็ นศนู ยก์ ฬี า
ครบวงจร และลวู่ ง่ิ ทคี่ นในพ้ืนทม่ี กั มาออกกำ� ลงั กายยามเยน็
เปิ ดทำ� การครงั้ แรกในปี พ.ศ. 2550 ในฐานะอุทยานการเรยี น ทนี่ จ่ี งึ ครบครนั ทง้ั พื้นทอ่ี อกกำ� ลงั กาย พักผอ่ นหยอ่ นใจ และ
รู้แห่งแรกในระดับภูมิภาค (ต่อจาก Central World ที่ส�ำคัญคือพ้ืนท่ีการเรียนรู้ ดังที่นายกเทศมนตรีเน้นย้�ำว่า
กรุงเทพฯ) โดยมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ล่าสุดได้มีการ ส�ำหรบั เมอื งยะลา ท้งั หมดคือพ้ืนท่เี ดียวกัน
เปิ ดอาคารกิจกรรมและแสดงนิทรรศการความสูง 5 ชั้น
รองรบั กจิ กรรมทางความรูแ้ ละความคดิ สรา้ งสรรคข์ องเมอื ง

นอกจากห้องสมุด บริการด้านข้อมูลสารสนเทศ โค-เวิร์ค
กิ้งสเปซ และพื้นท่ีจัดนิทรรศการที่บอกเล่าทรัพยากรและ
บุคคลส�ำคัญของเมอื งยะลา ท่ีน่ยี งั มี Swiss Corner พ้ืนท่ี

การเรยี นรูท้ เี่ ทศบาลรว่ มกับสถานทูตสมาพันธรฐั สวิตเซอร์
แลนด์ ซงึ่ เป็ นพื้นทท่ี ถ่ี อดแบบการจดั การความรูจ้ ากประเทศ
ทีม่ รี ะบบการศึกษาชั้นนำ� ของโลกมาใหเ้ ยาวชนยะลาได้เรยี น
รูแ้ ละรว่ มกิจกรรม



Feature

เมอื งแหง่ ผลไม้
และต้นธารอาหาร

แม้ยะลาไม่มพี ้ืนทีต่ ดิ ทะเล แต่ขอ้ ไดเ้ ปรยี บส�ำคญั ของท่ี
นค่ี อื การมพี ้ืนทป่ี ่ าเขาอุดมสมบรู ณ์ ซง่ึ นอกจากดนิ ดี น้ำ�
ที่นี่ก็ดี เพราะเป็ นจงั หวัดต้นก�ำเนิดแม่น้�ำปั ตตานีและมี
ทะเลสาบเหนอื เขอ่ื นบางลาง ทำ� ใหก้ ารเพาะปลกู ดเี ยยี่ ม
รวมถึงยังเป็ นที่ต้ังของป่ าฮาลาบาลา ผืนป่ าต้นน้�ำท่ีมี
ขนาดใหญท่ ่ีสุดของภาคใต้
ขอ้ ไดเ้ ปรยี บทางทรพั ยากรนี้ท�ำใหย้ ะลาเป็ นแหล่งเพาะ
ปลูกผลไมร้ สเลศิ อันหลากหลาย ทั้งส้มโชกุน กล้วยหนิ
ซง่ึ ไดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี นสง่ิ บง่ ชท้ี างภมู ศิ าสตรจ์ ากกรม
ทรพั ยส์ ินทางปั ญญา ลองกอง ทุเรยี น ไปจนถึงกาแฟ
โรบสั ต้า และปศุสัตว์อีกหลากหลาย

24

Feature

แมท้ รพั ยากรทงั้ หมดทก่ี ลา่ วมาอาจอยนู่ อกเขตตวั
เมืองยะลา แต่อย่าลืมว่าความที่เมืองแห่งน้ีเป็ น
สังคมพหุวัฒนธรรม ท่ีน่ีจึงเต็มไปด้วยของกิน
อรอ่ ยๆ จากทัง้ คนไทย จนี และอิสลาม ทซี่ ่งึ ใคร
หลายคนเลือกเดินทางมายะลา เพ่ื อมาลิ้มรส
อาหารพื้นเมอื งของทนี่ ่ี ทงั้ นาซดิ าแฆ ซปุ เนอื้ ขา้ ว
หมกไก่ ไก่เบตง ตม่ิ ซำ� ไปจนถงึ ก๋วยจบั๊ ไก่
เพราะการ ‘กินด’ี ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้คน ‘อย่ดู ’ี ยะลาจงึ
เป็ นเมืองทีเ่ ขา้ ตำ� รา ‘กนิ ดี อย่ดู ี’ อย่างแท้จรงิ

25

Feature

เมืองสร้างสรรคท์ ี่ขบั เคลอื่ น
ด้วยต้นทนุ ทางพหวุ ัฒนธรรม

ปิ ดทา้ ยทหี่ นงึ่ ในกลไกสำ� คญั ทที่ ำ� ใหย้ ะลาเป็ นยะลาสำ� หรบั ทกุ
คนในทุกวันน้ี นั่นคือการที่ผู้คนในเมืองน�ำต้นทุนทางพหุ
วัฒนธรรม หรอื ความหลากหลายทางเชอื้ ชาตแิ ละศาสนามา
เป็ นแต้มตอ่ ในการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาเมอื ง
เพราะแม้จะทราบดวี ่าการมอี ยขู่ องสถานรี ถไฟยะลา ขีดเส้น
พรมแดนของคนจนี พุทธ (ตลาดใหม่) และมสุ ลิม (ตลาดเก่า)
อยา่ งชดั เจน หากแตไ่ หนแตไ่ รวิถชี วี ิตของผคู้ นในเมอื งนกี้ ลบั
ผสมกลมกลนื อย่างแนบเนยี น ไม่ว่าจะเป็ นเพ่ือนรว่ มโตะ๊ และ
ร้านอาหาร เพ่ือนฝูงในชั้นเรียน เพื่อนร่วมงาน หรือเพ่ือน
บ้านในทกุ ชุมชน
แน่นอนท่ีว่าเหตกุ ารณค์ วามไมส่ งบเม่อื ปี พ.ศ. 2547-2549
จะเขา้ มาท�ำลายความสัมพันธ์ทีง่ ดงามนี้ กระนั้น ตลอดช่วง
เวลาที่ผา่ นมา ก็มีทัง้ หนว่ ยงานรฐั นกั วิชาการ และเครอื ข่าย
ภาคประชาชน สรา้ งสรรคก์ จิ กรรมเพ่ือรอื้ ฟ้ื นบรรยากาศของ
เมืองใหก้ ลับคนื มาเหมือนเดมิ
26

Feature

ไม่ว่าจะเป็ น การริเร่ิมโครงการค่ายดนตรีออร์เคสตร้า
เยาวชนของเทศบาลนครยะลา จนเกิดเป็ นกลุ่มนักดนตรี
เยาวชนพหวุ ัฒนธรรมจดั การแสดงประจำ� ปี จนเป็ นที่กลา่ ว
ขวัญทงั้ ในและตา่ งประเทศ, การชบุ ชวี ิตยา่ นการคา้ เกา่ กลาง
ใจเมอื งด้วยสตรที อารท์ , คา่ ยเยาวชนด้านการเรยี นรู้ ศิลปะ
และความคดิ สรา้ งสรรค์ของกลุม่ ลกู เหรยี ง กลุ่มที่จดั ตั้งขน้ึ
เพ่ือเยยี วยาเดก็ ๆ ทผี่ ู้ปกครองเสียชีวิตจากเหตุการณ์ความ
ไมส่ งบ, Yala Icon ของกลมุ่ Soul South Studio นกั ออกแบบ
รุน่ ใหมท่ ใ่ี ชค้ วามคดิ สรา้ งสรรคม์ าชว่ ยพัฒนาผลติ ผลทอ้ งถนิ่
ของยะลา

27

Feature

รวมถึงโครงการเรยี นรูด้ า้ นทกั ษะวัฒนธรรม
ในพ้ืนที่สามจังหวัดฯ ของศูนย์มานุษยวิทยา
สิรนิ ธร จนพัฒนามาสู่ ‘โครงการเมอื งแหง่ การ
เรียนรู้ยะลา’ ท่ีมุ่งหมายใช้การเรียนรู้ด้าน
พหุวัฒนธรรมเป็ นเครอื่ งมอื ของการยกระดบั
คณุ ภาพชวี ิตของคนในเมอื ง
ทงั้ น้ี หนง่ึ ในผลลพั ธ์สำ� คญั ของโครงการเมอื ง
แหง่ การเรยี นรูย้ ะลาน้ี คอื การจดั เทศกาลบอก
เลา่ เรอ่ื งราวของเมอื งในมมุ มองของคนรุน่ ใหม่
เป็ นครงั้ แรกในชอื่ ‘ยะลาสตอร’ี่ (Yala Stories)
ทโ่ี รงแรมเมโทรและยา่ นถนนสายกลางใจกลาง
เมืองยะลา เมือ่ วันท่ี 27-29 พฤษภาคม 2565

28

Feature

“ยะลาสตอรเี่ กดิ จากนกั วจิ ยั จากศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร
ชักชวนเยาวชนในพื้นทคี่ ัดสรรเรื่องเล่าของเมอื งตัวเอง
เพื่อพัฒนามาเป็ นนิทรรศการหรือส่ือรูปแบบต่างๆ จัด
แสดงให้ทุกคนได้ชม ก็มีทั้งมุมมองของเยาวชนท่ีมอง
เมอื ง การเปลยี่ นตน้ ทนุ ทเี่ มอื งเรามเี ป็ นงานศลิ ปะ หนงั สนั้
ไปจนถึง creative economy รวมถึงการชชี้ วนใหผ้ ูช้ ม
ร่วมกันมองเมืองยะลาต่อไปในอนาคต” บอล-เอกรัตน์
สวุ รรณรตั น์ แหง่ Soul South Studio ครเี อทฟี ของงาน กลา่ ว
นี่เป็ นงานทีไ่ ด้รบั เสียงตอบรบั ในเชิงบวกอย่างลน้ หลาม
เพราะไมเ่ พียงการนำ� ตน้ ทนุ เมอื งมาเลา่ อยา่ ง ไกเ่ บตง ส้ม
โชกนุ ผา้ บาตกิ ไปจนถงึ วิถชี วี ิตของยา่ นการคา้ ในเมอื งมา
เล่าในมุมมองใหม่อันสร้างสรรค์ จนเทศบาลนครยะลา
ผู้ร่วมจัดงาน ยินดีท่ีจะสนับสนุนให้มีกิจกรรมนี้เป็ นงาน
ประจำ� ปี ของเมือง
แตเ่ หนอื สง่ิ อ่ืนใด เชน่ ที่ บอล-เอกรตั น์ และทมี งานคนอ่ืนๆ
ไดเ้ หน็ เทศกาลนจี้ ุดประกายใหค้ นยะลามองเหน็ ความหวัง
และความฝั นที่อยากเป็ นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเมอื ง
ท�ำให้เศรษฐกิจดี และมีวิถีชีวิตท่ีมีความสุขและปลอดภัย
และกล่าวได้ว่าแม้นี่จะไม่ใช่ก้าวแรก แต่ก็เป็ นก้าวส�ำคัญ
ของการปลุกเมอื งยะลาด้วยการเรยี นรูแ้ ละความคดิ
สรา้ งสรรค์

29





Yala, Retelling for Beloved City

เลา่ ใหม่ ใหร้ ่วมเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาเมืองยะลาทรี่ ัก

โครงการวิจยั Yala Learning City ไดร้ วบรวม และประมวลข้อมูลท้องถ่นิ ศึกษา (Local Study)
ทุนทางเศรษฐกจิ สังคม และวัฒนธรรมของเมอื งยะลาเอาไว้ ครอบคลมุ ต้งั แต่เรอ่ื งราวประวัตศิ าสตรค์ วามเป็ นมาของเมอื งยะลา ความหลาก

หลายของชาตพิ ันธุ์ ความเช่ือ วิถีชวี ิต การค้าขายอยกู่ นิ ไปจนถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ
WeCitizens คัดสรรและเรยี บเรยี งข้อมูลบางส่วนมานำ� เสนอเพื่อใหท้ ุกท่านรว่ มชน่ื ชมความรุม่ รวยของเมอื งยะลาไปพรอ้ มกนั ดงั นี้

ยะลา สังคมพหวุ ัฒนธรรม

• คาบสมุทรมลายู • พ.ศ.400-500 • พุทธศตวรรษที่ 7 – 23
จุดเชือ่ มโยงทางการค้าส�ำคญั
เป็ นเป้ าหลอมหลากหลายวัฒนธรรม จดหมายเหตุ อาณาจกั รลงั กาสุกะ
มาแตช่ า้ นาน เฉยี น ฮั่น ซู (Chein ปกครองคาบสมทุ รมลายู
Han Shu) กลา่ วถงึ
การเดนิ เรอื ของคนจนี • เมอื งยะลา
มาถึงคาบสมุทรมลายู สืบความเป็ นมา
มีการท�ำการคา้ และ จากตอนปลายของ
การส่งราชทตู ไปเยอื น อาณาจกั รลังกาสุกะ
ราชส�ำนกั จนี

• 2,000-3,000ปี • มชี าวพ้ืนถิ่นอยูอ่ าศัยมาแต่เดมิ • พุทธศตวรรษที่ 1 • พุทธศตวรรษท่ี 14 – 15
กอ่ นประวัติศาสตร์
โอรงั ลาอุต (Orang Laut) ชาวอินเดยี อาณาจกั รลงั กาสุกะ ตกอยู่
หลักฐานภาพเขียนสี มนุษย์ยคุ กอ่ น หรอื อุรลั ลาโว้ย น�ำอารยธรรม ภายใตอ้ �ำนาจของอาณาจกั ร
ประวัตศิ าสตร์ ณ เขายะลา, (ชาวน้ำ� หรอื ชาวเล) ฮินด-ู พราหมณ์ ศรวี ิชัย และอาณาจกั ร
ถ้�ำมืด วัดคูหาภมิ ุข และโอรงั บูกิต (ชาวป่ า เข้าสู่คาบสมทุ รมลายู มชั ปาหติ แหง่ ชวา มีการน�ำ
และ ถ้ำ� ศิลป์ อารยธรรมโบราณ หรอื ชาวเขา) หรอื ศาสนาอิสลามเข้ามาในพื้นท่ี
ตามรอยสายน้�ำปั ตตานี โอรงั อัสลี (Orong Asli) และเป็ นทย่ี อมรบั ในวงกว้าง
และสายน้ำ� สายบุรี หรอื ชาวป่ าซาไก และชาวป่ า
กอ่ นชาวสยาม ชาวอินเดีย
และชาวจนี จะเข้ามา
ตง้ั ถิน่ ฐานทำ� การคา้ ขาย
และนำ� เขา้ วัฒนธรรม

อ.เมือง Quick Fact ยะลา : จงั หวัดชายแดนใต้
จงั หวัดยะลา
8 อ�ำเภอ และมี อ.เบตง พ้ืนทที่ ปี่ ระมาณ
อ.เบตง เป็ นอ�ำเภอใต้สุดของ
ประเทศไทย ติดกับ 4.5
แผนท่ีจงั หวัดชายแดนใต้ จุดสีแดง คอื ด่านเบตง รฐั เปรคั ประเทศมาเลเซยี ตร.กม.

จำ� นวนประชากร (ใหญ่เป็ น 3 เทา่ ของกรุงเทพฯ)

538,715 คน GPP

(*ขอ้ มลู เดอื นตุลาคม 2563) (ผลติ ภัณฑม์ วลรวมระดบั จงั หวัด)

จำ� นวนประชากร 43,006 ล้านบาท
ในเขตเทศบาลนครยะลา
อันดบั ที่ 52 ของประเทศ
60,595 คน (*ข้อมลู ปี 2561)

(*ข้อมูลเดอื นตลุ าคม 2563) รายได้ตอ่ คนตอ่ ปี

สถาบนั อุดมศึกษา 6 แหง่ 91,815 บาท

และโรงเรยี นตั้งแตร่ ะดบั ชั้นอนบุ าล
ถงึ มธั ยม ท้ังของรฐั และเอกชนรวม

40 แหง่

ยะลา สังคมพหวุ ัฒนธรรม

• รัชกาลท่ี 1 • พ.ศ.2464 • ทางรถไฟสายใต้ • พ.ศ.2480 - 2488
โปรดใหเ้ มอื งยะลา เกิดเส้นทางรถไฟ สร้างเสร็จถงึ ผังเมอื งยะลา สรา้ งในสมยั
ขึน้ อยใู่ นระบบหวั เมอื ผ่าน “เมอื งนิบง” อ�ำเภอสุไหง-โกลก พระรฐั กจิ วิจารณ์ นายก
งของรฐั ปั ตตานีตาม (ปั จจุบนั คอื ทตี่ ัง้ เมอื งยะลา) เทศมนตรคี นแรกของเมอื ง
โครงสรา้ งการปกครอง น�ำพาผู้คนจากหลากหลาย ยะลา โดยมีที่ปรกึ ษาเป็ น
• ราว พ.ศ. 2000 แบบเจด็ หวั เมอื ง วัฒนธรรมเข้าสู่เมืองยะลา ชาวอังกฤษรว่ มออกแบบ
ชาวมสุ ลิมมลายู ชาวจนี
พญาอินทิรา • รัชกาลท่ี 2 จากปั ตตานี ชาวไทยจาก • ยะลา
เจา้ เมืองลงั กาสุกะ เมืองยะลาอยู่ในความ สุราษฎรธ์ านี ชาวอินเดีย เป็ นเมืองทีผ่ คู้ นหลากหลาย
ซึง่ เดิมนับถือศาสนาพุทธ ดแู ลของเจา้ เมอื ง (ซกิ ข์) จากภาคกลาง วัฒนธรรมความเชอ่ื ท้งั พุทธ
ได้เปลีย่ นมานบั ถือ สงขลา ชาวจนี โพ้นทะเล จนี อิสลาม ครสิ ต์ ซกิ ข์
ศาสนาอิสลาม เป็ นสุลตาน ฮกเกีย้ น จนี แคะ จนี ไหหลำ� อยูร่ ว่ มกันอย่างผาสุก
อิสมาอีบชาร์ สถาปนารฐั • รัชกาลที่ 5 และจนี กวางตุง้
ปาตานีเป็ น “รฐั อิสลาม” ปรบั เปล่ยี นระบบการ จากประเทศมาเลเซยี
เรยี กว่า “ปาตานดี ารุสลาม” ปกครองเป็ นแบบระบบ โดยเฉพาะจากเกาะปี นงั
เทศาภบิ าล นำ� มาซึง่ ขนบธรรมเนยี ม
ประเพณี และคตคิ วามเชอื่
• ต�ำนานการท�ำเหมอื งแร่ แบบ “เพอรานากัน”
ของชาวจนี ฮกเก้ียนใน (Peranakan) เข้ามา
พื้นท่ีบนั นงั สตา

• รัชกาลที่ 6
ตั้งเมืองยะลาเป็ น
จงั หวัดยะลา

Yala ‘More’ Story

บางส่วนของงานค้นคว้า “ความเป็ นยะลา” จากโครงการวิจยั ยะลาเมอื งแหง่ การเรียนรู้

ศิลปะ การแสดง ภาษา • ตลาดนัดพังยอ
(ตลาดมะพรา้ ว)
• วงดนตรอี อรเ์ คสตรา ภาษาไทยถน่ิ ยะลา แตกต่างจากภาษาไทย ดว้ ยส�ำเนียง
เทศบาลนครยะลา คำ� ศัพท์ และการผสมภาษามลายู • ตลาดเสรี
• สวนสาธารณะ
• ลิเกฮูลู (Dikir Hulu) “นาบิ้งบิ้งแพง = นาแตล่ ะแปลงแพงมาก”
• ปั นจกั สีลัต (Pancak silat) สนามช้างเผือก
• ลวดลายตกแต่งบ้าน อาหารการกนิ • สวนขวัญเมอื ง
• สวนศรเี มอื ง
ของชาวมสุ ลิม ลังแข (ภาษาถิ่น เวาะแด) ผลไม้ • สวนสาธารณะบา้ นรม่
• เพลงทอ้ งถ่นิ (เพลงบาดีเก รสชาติคล้ายมะไฟ, นาซิดาแฆ
ข้าวหงุ กะทริ าดแกงปลาหรอื ไก่
หรอื เพลงดังดตุ )

การแต่งกาย เทศกาล และประเพณี
และเส้ือผา้ อาภรณ์
• เทศกาลแหพ่ ระลยุ ไฟ ศาลเจา้ แมก่ อเหนยี่ ว
เส้ือแบบมลายู เสื้อผู้ชายเรยี ก ฉ่ือเซ่ียงตง้ึ ยะลา (15 วันหลงั ตรุษจนี )
“ตอื โละบลางอ – baju teluk belanga”
ผ้หู ญิงจะเรยี กว่าชุด “กรู ง – baju • ประเพณวี ่าวนิบง (ก.พ.-มี.ค.)
kurung” และผ้าบาตกิ หรอื ผ้าปะลางงิ • งานสมโภชเจา้ พ่อหลักเมอื ง

ความเชื่อ และต�ำนานท้องถ่นิ (งานกาชาด) (พ.ค.)
• ประเพณที �ำบญุ รบั ส่งเทวดา (ม.ิ ย.)
เชน่ ตำ� นานยักษ์ศักด์ิสิทธิ์แหง่ เมืองยะลา • วันส�ำคญั ทางศาสนาอิสลาม เชน่

ฮารรี ายออดิ ลิ ฟิตรี (Hari Raya Idilfitri) ฯลฯ
• เทศกาลถอื ศีลกินเจศาลเจา้ แม่ฮุดโจ้

(ก.ย.-ต.ค.)
• มหกรรมแข่งขันนกเขาชวาเสียงอาเซยี น

(ก.ย.)

ตดิ ตามความเคลือ่ นไหว การเรยี นรู้ และพัฒนาเมอื งยะลาได้ที่ https://www.facebook.com/yalalearningcity

Behind the Scenes

กว่าจะเป็ น Yala Stories

เยาวชนยะลากับเรื่องเลา่
เกี่ยวกบั เมืองของพวกเขา

กบั วรานุช ชนิ วรโสภาค

วรานชุ ชนิ วรโสภาค เป็ นหวั หนา้ โครงการการพัฒนาตน้ แบบพ้ืนทกี่ ารเรยี นรูเ้ พื่อสรา้ ง
สังคมแหง่ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตและบรู ณาการการเรยี นรูใ้ นบรบิ ทชวี ิตจรงิ ส�ำหรบั ทุก
คน ซง่ึ เป็ นโครงการวิจยั ยอ่ ยในโครงการยะลาเมอื งแหง่ การเรยี นรู้ โดยกอ่ นหนา้ น้ี เธอ
เป็ นเอ็นจโี อท่ีทำ� งานประเดน็ สาธารณสุขและเพศศึกษาในเยาวชน และรว่ มกบั อาจารย์
ชยั วฒั น์ สภาอานนั ท์ ในการขบั เคลอื่ นโครงการทกั ษะวฒั นธรรมเพื่อฟื้นฟูความสมั พันธ์
ของผคู้ นหลากวฒั นธรรมในพื้นท่ี 3 จงั หวดั ชายแดนใต้ ซงึ่ เธอทำ� โครงการนมี้ าเขา้ ปี ท่ี 14

ดว้ ยพื้นเพเป็ นคนยะลา และเขา้ ใจบรบิ ทของความเป็ นพหวุ ัฒนธรรมในพื้นท่ี 3 จงั หวัด
จากการทำ� งานต่อเนอ่ื งมาหลายปี เมอื่ บพท. สนับสนนุ โครงการเมอื งแหง่ การเรยี นรู้
ยะลา ผา่ นสถาบนั มานษุ ยวิทยาสริ นิ ธร วรานชุ จงึ ไดร้ บั มอบหมายใหข้ บั เคลอ่ื นโครงการ
ยอ่ ยโครงการนี้ ซงึ่ มวี ัตถปุ ระสงคห์ ลกั คอื การสรา้ งกระบวนการทำ� งานกบั เยาวชนตา่ ง
ศาสนาและชาติพันธุ์ เพ่ือให้พวกเขามีส่วนในการออกแบบกระบวนการและพ้ืนท่ีการ
เรยี นรูค้ วามหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรมของเมอื งยะลา

ท้งั นี้ หนง่ึ ในผลลพั ธ์ท่ีเป็ นรูปธรรมของการทำ� งานในปี แรก (ม.ิ ย. 2564 - พ.ค. 2565)
ของวรานุช คือการผลักดันใหเ้ ยาวชนในพ้ืนท่ีรวบรวมข้อมูลและคัดสรรเร่ืองเล่าของ
พวกเขาเอง และรวมพลงั กบั กล่มุ นักออกแบบ Soul South Studio และเทศบาลเมือง
ยะลา จดั ทำ� เป็ นนทิ รรศการ ‘ยะลาสตอร’่ี (Yala Stories) เทศกาลทบ่ี อกเล่าถึงเมือง
ยะลาในมติ ทิ หี่ ลากหลายและรว่ มสมยั ผา่ นมมุ มองของคนหลากรุน่ โดยจดั ขนึ้ ทโ่ี รงแรม
เมโทรในยา่ นสายกลาง ใจกลางเมอื งยะลา เมอ่ื วนั ที่ 27-29 พฤษภาคม 2565 ทผ่ี า่ นมา

WeCitizens ชวนวรานุชทบทวนกระบวนการท�ำงานของเธอกับกล่มุ เยาวชนในพ้ืนท่ี
ถงึ กระบวนการปลกุ พลงั เยาวชนจนเกิดมาเป็ นเทศกาลรว่ มสมัยของเมืองยะลาอยา่ ง
ที่ไมเ่ คยมีมากอ่ นงานน.ี้ ..
(อ่านต่ออย่างเข้มขน้ ในเว็บไซต์ www.wecitizensthailand.com)

34



Story 1: Story 2: มาบอกกับเราว่า ถ้ามีโครงการประเภทนี้จดั
ขึ้นผ่านทางโรงเรียน คุณครูมักจะคัดเลือก
เพราะเยาวชนคือคนทจ่ี ะมา กจิ กรรมที่ทกุ คนควรเข้าถงึ ได้อยา่ ง เด็กนักเรยี นท่เี รยี นเกง่ หรอื ท�ำกจิ กรรมอยู่
ก�ำหนดชะตากรรมของเมอื งเมอื งน้ี เทา่ เทยี ม ก่อนแล้วไปเข้าร่วม เด็กที่ร่วมกิจกรรมของ
แตล่ ะโรงเรยี นจงึ มกั เป็ นคนหนา้ เดมิ ๆ การเปิ ด
“พอทราบว่าจะไดท้ ำ� โครงการเมืองแหง่ การ “ตอนแรกมเี ยาวชนท่สี นใจเข้ารว่ มโครงการ สาธารณะแบบนี้ท�ำใหพ้ วกเขาและเธอมี
เรยี นรู้ กลมุ่ เป้ าหมายแรกทเี่ ราคดิ ไดท้ นั ทเี ลย ประมาณ 40 กวา่ คน แตด่ ว้ ยสถานการณโ์ ควดิ โอกาสได้รว่ มกจิ กรรมบา้ ง
คือการมีส่วนร่วมของเยาวชน เพราะท่ีผ่าน (ช่วงเดอื นมถิ ุนายน 2564 – ผเู้ รยี บเรยี ง) ก็
มา เวลาเราพู ดถึงงานวิจัยเกี่ยวกับการ ทำ� ใหบ้ างคนไมส่ ะดวกเขา้ รว่ มกจิ กรรมทมี่ ขี อ้ เราว่าอันนี้ส�ำคัญมากเลยนะ เพราะว่าถ้าเรา
พัฒนาเมอื ง สว่ นมากมนั จะเป็ นงานทเ่ี ป็ นการ บังคับว่าต้องร่วมเวิร์คช็อปต่อเน่ือง 4 ครั้ง พู ดเร่ืองพ้ืนที่เรียนรู้ พื้นที่หรือกิจกรรมการ
ปรกึ ษาหารอื กนั ในกลมุ่ ผใู้ หญ่ เดก็ ๆ ไมค่ อ่ ยมี สุดท้ายจงึ เหลือคนเข้าร่วมโครงการจริง 17 เรยี นรูน้ ต้ี อ้ งกระจายอยา่ งท่วั ถงึ ใหเ้ ด็กๆ ไม่
ส่วนร่วม แต่เราเหน็ ว่าเยาวชนน่ีแหละคือคน คน ก็มีท้ังน้องๆ ไทยพุทธและมุสลิมในพ้ืนท่ี ว่าจะเรียนเก่งหรือไม่เก่ง ถ้าเขาอยากร่วมก็
ทจ่ี ะมากำ� หนดชะตากรรมของเมอื งทเี่ ขาอยใู่ น เป็ นนกั เรยี นมธั ยมเกอื บทงั้ หมด จากโรงเรยี น ควรต้องได้เข้าร่วม ซ่ึงเราก็คิดว่าเป็ นการ
ปั จจุบันและในอนาคต สอนศาสนากม็ ี ตดั สนิ ใจทถ่ี กู ตอ้ งทป่ี ระกาศรบั สมคั รกจิ กรรม
ผ่านทางสาธารณะ ขณะเดียวกันเด็กๆ ท่ีมา
เรากใ็ ชบ้ ทเรยี น กระบวนการ และเครอ่ื งมอื ที่ มเี รอื่ งน่าสนใจในขัน้ ตอนการรบั สมัคร รว่ มกบั เราเขากม็ คี วามกระตอื รอื รน้ ในการทำ�
เรามอี ยแู่ ลว้ ในโครงการทกั ษะวฒั นธรรมทที่ ำ� เน่อื งจากกจิ กรรมน้เี ราท�ำประกาศเป็ น กจิ กรรมอย่างจรงิ จงั ”
อยู่ นำ� เขา้ ไปปรกึ ษากบั ทางเทศบาลเมอื งยะลา สาธารณะ โดยไม่ใช่การท�ำจดหมายไปขอ
เพ่ื อชวนให้เขาเป็ นเจ้าภาพหลัก ซึ่งทาง ความร่วมมือจากสถาบันการศึกษาต่างๆ ให้
เทศบาลเขากม็ ี TK Park ทีเ่ ป็ นพ้ืนที่ของการ คดั เลอื กตวั แทนนกั เรยี นมารว่ มงาน ซง่ึ ทำ� ให้
เรยี นรูใ้ นการดแู ลของเขาดว้ ย จากนนั้ เรากใ็ ช้ พบว่าภายหลังท่ีเราได้รับใบสมัคร มีเด็ก
เพจเฟซบุ๊คของเทศบาลและ TK Park นกั เรยี นหลายคนที่ไม่เคยท�ำกิจกรรมนอก
ประกาศรบั สมคั รเยาวชนอายรุ ะหว่าง 15-24 ห้องเรียนท�ำนองน้ีมาก่อนเลย ซ่ึงพวกเขา
ปี ในเมอื งยะลาทสี่ นใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมเรยี นรู้
เมืองของตัวเอง

36

Story 3:

เราต่างเป็ นเจา้ ของเรื่องเลา่ ของเมือง

“อย่างท่ีบอกด้วยสถานการณ์โควิด เราจึงเริ่มท�ำเวิร์คช็อปครั้งแรกผ่านทาง
โปรแกรมซูม โดยเราชวนเยาวชนทั้ง 17 คนมาแบง่ ปั นเรอื่ งราวของเมืองยะลา
ในมุมมองของพวกเขาก่อน ส่ิงท่ีเขาประทับใจในบ้านเกิดของตัวเอง หรือสิ่งที่
เขาอยากน�ำเสนอเป็ นตน้

การคยุ กนั ในครงั้ แรกมนั เป็ นการละลายพฤตกิ รรมในระดบั หนงึ่ เพราะกอ่ นจะคยุ
กนั เรากใ็ หเ้ ขาทำ� การบา้ นเกย่ี วกบั เรอื่ งทอ่ี ยากนำ� เสนอของเมอื งมากอ่ น แตส่ ว่ น
ใหญ่เขาก็หยิบข้อมูลส�ำเร็จรูปจากอินเตอร์เน็ทมา พวกสถานที่ท่องเที่ยวอะไร
แบบน้ี เรากพ็ ยายามชวนคยุ ตอ่ ใหเ้ ขาขดุ เรอื่ งที่เขาสนใจส่วนตวั จรงิ ๆ เก่ยี วกบั
เมอื งออกมาใหไ้ ด้ เชน่ มคี นหนงึ่ สนใจเรอ่ื งเสาหลกั เมอื งยะลา เรากช็ วนเขาคยุ ถงึ
ประสบการณ์การไปเที่ยวงานหลักเมือง (งานสมโภชหลักเมืองและงานกาชาด
ประจำ� ปี - ผเู้ รยี บเรยี ง) เพื่อหาแงม่ มุ ไปเช่อื มกบั ตัวเขา

เพราะจุดประสงคข์ องกจิ กรรมนค้ี อื การทำ� ใหเ้ ยาวชนรูส้ กึ ว่าเขาเป็ นคนเลา่ เรอื่ ง
เมอื งได้ ใหพ้ วกเขาเป็ นเจา้ ของเรอื่ งเลา่ พอทกุ คนเรม่ิ เขา้ ใจ กใ็ หล้ องจบั คกู่ นั เพ่ือ
แบง่ ออกเป็ น 8 ทมี และใหแ้ ต่ละทีมไปหาขอ้ มลู เพิ่มเตมิ มา กอ่ นจะนดั พบกันครง้ั
ที่ 2 พรอ้ มเรอ่ื งทแี่ ตล่ ะคนอยากเลา่ ”

///

พ้ืนที่และกจิ กรรม
การเรียนรู้ ต้องมี
การกระจายอย่าง
ท่วั ถงึ ใหเ้ ด็กๆ ไม่
ว่าจะเรียนเกง่ หรือ
ไม่เกง่ ถา้ พวกเขา
อยากร่วมก็ควร

ต้องได้เขา้ ร่วม

///

37

Story 4: ส่วนครงั้ ที่ 3 เมื่อเรอ่ื งเล่าเรมิ่ เป็ นรูปเป็ นรา่ ง
ข้ึน เราก็คิดต่อว่าเราจะน�ำเสนอสิ่งเหล่าน้ี
เสริมเร่ืองเลา่ ใหเ้ ป็ นรูปร่าง อยา่ งไร กไ็ ดค้ วามรว่ มมอื จากคณุ บอล - เอกรตั น์
สวุ รรณรตั น์ ทที่ ำ� สตดู โิ อครเี อทฟี Soul South
“เวิร์คช็อปครั้งท่ี 2 เรานัดหมายกันที่ห้อง Studio ซึ่งมีประสบการณ์ในการทำ� ครเี อทฟี
ประชุมของเทศบาลเมืองยะลา หลังจากท่ี อเี วนทแ์ ละแบรนดด์ ง้ิ มากอ่ น เราตง้ั ใจแตแ่ รก
แต่ละคนมีประเด็นที่อยากเล่าแล้ว เราก็เลย แลว้ ว่าหลังจากสกดั เรอื่ งเล่าจากนอ้ งๆ ออก
ชวนวิทยากรทีเ่ ป็ นมืออาชีพดา้ นท�ำส่ือตา่ งๆ มา เพื่อมารวมกบั โครงการวจิ ยั ยอ่ ยเรอ่ื งการ
มาใหค้ วามรูน้ อ้ งๆ ทง้ั คนทำ� บทละคร ผกู้ ำ� กบั ศึกษาความหลากหลายทางวัฒนธรรมของ
ภาพยนตรส์ ารคดี และอ่ืนๆ เพ่ือใหน้ ้องๆ ได้
เหน็ ว่าเรอื่ งเล่าของพวกเขาสามารถแปลง รศ.ฤทธริ งค์ จวิ ากานนท์ และการศกึ ษาความ
เป็ นอะไรได้บ้าง ซ่ึงเร่ืองเล่าของน้องๆ ก็มี หลากหลายทางชวี ภาพของอาจารยศ์ ภุ ราภรณ์
ความหลากหลายและความเฉพาะตัวที่นา่ ทวนน้อย และ ดร.ธนกร จนั ทสุบรรณ และ
สนใจ ตั้งแต่เรอ่ื งหลักเมอื ง ไก่เบตง อาหาร แปลงขอ้ มลู เหลา่ นอี้ อกมาเป็ นนทิ รรศการ
มุสลิม การรับมือกับเหตุการณ์ความรุนแรง เสนอกลบั ใหค้ นในเมอื งไดร้ บั รู้
ในอดีต และอื่นๆ ทมี วิทยากรกม็ าชว่ ยกรอบ
มมุ มอง จดั ระเบียบ และหาแงม่ ุมที่น่าสนใจใน พอครง้ั ที่ 4 เรากเ็ ลยเปลยี่ นจากเวริ ค์ ชอ็ ปเป็ น
การนำ� เสนอ คลินิกเป็ นแบบมาเจอตัวต่อตัว แล้วเอา
โครงการของท้งั หมด 8 ทีม 17 คนมาสรุปกนั
เสรมิ เตมิ แตง่ อะไร แลว้ ให้ Soul South Studio
มาชว่ ยออกแบบวิธีการนำ� เสนอ เมอื่ บวกรวม
กับของน้อง 8 โครงการ และของทมี วิจยั เรา
อกี 2 โครงการ เรากม็ เี รอื่ งเลา่ ใน Yala Stories
ทัง้ หมด 10 เรอื่ ง”

///

นิทรรศการน้กี เ็ หมือน
เป็ นการนำ� เสนอมติ ิความ
หลากหลายท่ีแท้จริงของ

เมอื งยะลา
ทัง้ ประวัตศิ าสตร์
อนั ทรงคณุ คา่ ความทรงจำ�

ภูมิปั ญญา
ทรัพยากรธรรมชาติ และ

อีกหลากแงม่ มุ น่ารักๆ
ของความเป็ นเมืองและ

ความเป็ นมนษุ ย์

///

Story 5: “เราไมค่ ดิ มาก่อนว่าเสียงตอบรบั จะเยอะ
ขนาดน้ี มีนายกเทศมนตรีมาเปิ ดงาน มีเวที
Yala Stories การแสดง มีการออกรา้ น และท่ีส�ำคญั คือมผี ู้
ชมลน้ หลามท้งั คนพุทธและมสุ ลิมซ่ึงมีมาทกุ
“ตอนแรกเราไม่คดิ ว่างานจะใหญข่ นาดนี้ วัย หลายคนเห็นตรงกันว่าเรื่องท่ีถูกเล่าใน
วางแผนจะทำ� เป็ นนทิ รรศการเลก็ ๆ ในโรงแรม งานส่วนใหญเ่ ป็ นเรอื่ งท่หี ลายคนค้นุ เคยแต่
เมโทร ซง่ึ เป็ นโรงแรมเกา่ แกย่ า่ นใจกลางเมอื ง กลับหลงลืมมันไป หรือไม่ได้เห็นค่าความ
ซ่ึงผู้คนในเมืองล้วนมีความทรงจำ� ร่วม โดย ส�ำคัญเท่าใด แต่เมื่อมันถูกเล่า ก็เหมือนไป
ใชช้ ื่อ Yala Stories ซ่ึงเป็ นช่ือโครงการเวิรค์ กระตนุ้ เตอื นความทรงจำ� และประสบการณ์
ช็อปของเรามาตั้งแต่ต้น แต่ก็พอดีกับทาง ร่วม และพบว่าพวกเขาก็เป็ นส่วนหนึ่งของ
คุณต้น - อภินันท์ ธรรมเสนา หัวหน้าชุด หลายๆ เรอื่ งในนทิ รรศการท่จี ดั แสดง
โครงการ คดิ วา่ ในเมอื่ จดั แลว้ กน็ า่ จะชวนภาคี
เครือข่ายในยะลามาร่วมด้วย และคุณบอลก็ “ขณะเดยี วกนั นทิ รรศการนก้ี เ็ หมอื นเป็ นการ
มีไอเดียต่ออีกว่า ยะลาเรามีศิลปิ นและนัก นำ� เสนอมิตคิ วามหลากหลายทแ่ี ทจ้ รงิ ของ
ออกแบบรุน่ ใหมไ่ มน่ อ้ ยเหมอื นกนั กน็ า่ จะชวน เมืองยะลา ซึ่งแตกต่างจากภาพจ�ำจากคน
เขามารว่ มแจมดว้ ยเหมอื นกัน ภายนอกตลอดหลายปี ทผี่ า่ นมาทม่ี องวา่ ยะลา
“งานจงึ ออกมาเป็ น 2 ส่วนหลักๆ คือส่วนที่ เป็ นพ้ืนทส่ี ีแดงท่ีเตม็ ไปดว้ ยความรุนแรงและ
เป็ นนทิ รรศการของเยาวชนซงึ่ จดั บรเิ วณช้นั ไม่น่าไว้วางใจ หากแต่เป็ นประวัติศาสตร์อัน
2 ของโรงแรม ส่วนโชว์เคสของเครือข่าย ท ร ง คุ ณ ค่ า ค ว า ม ท ร ง จ� ำ ภู มิ ปั ญ ญ า
ยะลาจะอยชู่ ้ัน 3 และรอบๆ งาน พรอ้ มมีการ ทรัพยากรธรรมชาติ และอีกหลากแง่มุมน่า
แสดงศิลปวัฒนธรรมรว่ มสมยั จากศิลปิ นใน รกั ๆ ของความเป็ นเมืองและความเป็ นมนุษย์
พื้นทีด่ ้วย

40

Story 6:

Next Stories

“มีการคยุ กันว่างานแบบนคี้ วรจะจดั อีกเป็ นครงั้ ท่ี 2 หรอื อาจจดั เป็ น
งานประจ�ำปี ด้วยซ้�ำ ซ่ึงก็เป็ นนิมิตหมายที่ดีท่ีเราทราบว่าทาง
มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา กม็ โี ครงการวิจยั เกย่ี วกบั การพัฒนาเมอื ง
ยะลาด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์ งานนี้จึงน่าจะเป็ นสะพานเชื่อมไปสู่
โครงการใหมๆ่ ตอ่ ไป ขณะเดยี วกนั ยะลาสตอรยี่ งั ทำ� ใหเ้ ราเหน็ ว่ายะลา
มเี ครอื ขา่ ยและบคุ ลากรทม่ี ศี ักยภาพอยูม่ าก แตท่ ผ่ี า่ นมาคนเหลา่ นไ้ี ม่
เคยมโี อกาสไดท้ ำ� งานรว่ มกนั งานนจี้ งึ เป็ นคลา้ ยพ้ืนทก่ี ลางทที่ ำ� ใหท้ กุ
คนได้มาพบปะและมองอนาคตเมืองไปพรอ้ มกนั

อย่างไรก็ตาม เรามองอีเวนต์ของเมืองนี้ในฐานะเครื่องมือของการ
วิจยั เพ่ือการพัฒนาเมอื ง เพราะอยา่ งทบี่ อกว่างานนเ้ี ป็ นกจิ กรรมเชงิ
research based กว่าจะเป็ นรูปรา่ งได้ ในทกุ องค์ประกอบลว้ นมีงาน
วิจยั มารองรบั แตน่ ัน่ ล่ะ ผลส�ำเรจ็ ทีแ่ ทจ้ รงิ ของงานวิจยั ไม่ใชก่ ารได้
เห็นว่าเรามีงานในเมืองจดั ขึ้นตลอด 3 วันและมีผ้เู ข้าร่วมงานอย่าง
ล้นหลาม แต่เป็ นการท่ีทุกคนได้รู้แล้วว่าใครก�ำลังท�ำอะไรอยู่ในยะลา
และแต่ละคนตระหนกั ถงึ ศักยภาพของตัวเองในการรว่ มกำ� หนด
อนาคตของเมอื งทพี่ วกเขาอาศยั ตรงนแี้ หละทเี่ ป็ นผลลพั ธ์อันแทจ้ รงิ
ของงานวิจยั ”

///

การท่ีงานน้ที �ำใหท้ ุกคนได้
รู้ว่าใครเป็ นใครในยะลา
และแต่ละคนตระหนกั ถงึ
ศักยภาพของตวั เองใน
การร่วมก�ำหนดอนาคต
ของเมืองท่พี วกเขาอาศัย
ตรงน้แี หละทเี่ ป็ นผลลพั ธ์
อันแทจ้ ริงของงานวิจยั

///

41

Interview

‘ยะลาศึกษา’

กับการสร้างหนุ้ ส่วนสรรค์สร้างเมอื ง

สนทนากับ อภินันท์ ธรรมเสนา

ว่าดว้ ยการแปลงตน้ ทุนความหลากหลาย
และการมีส่วนร่วมสู่เครื่องมอื พัฒนาเมืองยะลา

///

กบั แง่มุมของการพัฒนาเมือง คุณเหน็ ว่ายะลามีดอี ย่างไร?
ผูใ้ หส้ ัมภาษณ:์ โครงสรา้ งของเมอื งทีด่ ี มนี โยบายในการพัฒนาเมอื ง ผู้นำ� มีวิสัยทศั น์ และ

รุม่ รวยดว้ ยทนุ ทางวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอ้ ม
แล้วยะลายงั ขาดอะไร? เราถามตอ่

ผูใ้ หส้ ัมภาษณ์หยุดคดิ หนึ่งอึดใจ: ผู้คนยงั ไม่ตนื่ ตัวต่อการเปล่ยี นแปลงในเมอื งนกั ขาดการ
มีส่วนรว่ ม และแม้เมืองจะมพี รอ้ มดว้ ยสถาบนั การศึกษาในทกุ ระดับ หากอ้างอิงจากงาน

วิจยั ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาในเมอื งก็อยูใ่ นระดบั ต่�ำ สวนทางกบั ความพรอ้ มท่ีมี

เหลา่ นค้ี อื สง่ิ ท่ี อภนิ นั ท์ ธรรมเสนา นกั วจิ ยั จาก ส่วนแรก การศึกษาต้นทุนทางวัฒนธรรมและสิ่ง
แวดลอ้ ม ผา่ นโครงการยอ่ ยที่ 1 “ยะลาศกึ ษา: ความ
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรประมวลให้เราฟั ง หลัง หลากหลายของผ้คู น ชมุ ชน และวัฒนธรรม” และ
จากเขาใชเ้ วลามากกวา่ หนงึ่ ปี ลงพื้นทเี่ พื่อขบั เคลอ่ื น โครงการยอ่ ยที่ 2 “โครงการวจิ ยั ยะลาศกึ ษา: ความ
งานวิจยั เรอ่ื งเมอื งแหง่ การเรยี นรูท้ ่นี ่ี หลากหลายทางชวี ภาพ”
‘ยะลาเมอื งแหง่ การเรยี นรู:้ กระบวนการสรา้ งสรรค์
เมอื งแบบมีส่วนร่วมบนความหลากหลายทาง ส่ ว น ที่ ส อ ง ก า ร อ อ ก แ บ บ พ้ื น ที่ เ รี ย น รู้ ด้ ว ย
ชวี ภาพและวัฒนธรรม’ คอื ชอ่ื โครงการทต่ี น้ สงั กดั กระบวนการการมสี ว่ นรว่ ม ผา่ นโครงการวิจยั ยอ่ ย
ของอภินันท์ได้รับทุนจาก บพท. เพื่อขับเคลื่อนใน ท่ี 3 “ยะลาเมอื งแหง่ การเรยี นรู:้ การพัฒนาตน้ แบบ
พื้นทเ่ี ขตเทศบาลเมอื งยะลา โดยมเี ขาเป็ นหวั หนา้ ชดุ พื้นทกี่ ารเรยี นรูเ้ พ่ือสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้
โครงการ ตลอดชวี ติ และบรู ณาการการเรยี นรูใ้ นบรบิ ทชวี ติ
จรงิ สำ� หรบั ทกุ คน” (ผลสมั ฤทธข์ิ องโครงการน้ี ยงั
“ใจความส�ำคญั ของโครงการคอื การสรา้ งหนุ้ ส่วน รวมถงึ การเกดิ ขนึ้ ของงานยะลาสตอร่ี เทศกาลบอก
พัฒนาเมอื ง ผา่ นการชวนใหผ้ ูค้ นเรยี นรูต้ ้นทุนของ เลา่ เมอื งยะลาในแงม่ มุ ทไี่ มเ่ คยเป็ นมากอ่ น)
เมอื งและการมสี ว่ นรว่ ม เพื่อใหท้ กุ คนรว่ มเป็ นกลไก
ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของพวกเขาเองบนฐาน และส่วนสุดท้าย เป็ นการถอดบทเรียนการท�ำงาน
แนวคิดของการเรียนรู้ตลอดชีวิต” นักวิจัยหนุ่ม เพื่อวางแนวทางในการการสรา้ งกลไกความรว่ มมอื
อธิบายภาพรวมของโครงการโดยสังเขป ระดับเมือง ผ่านโครงการวิจยั ย่อยที่ 4 “เครอื ขา่ ย
ทางสงั คมกบั การพัฒนาเมอื งยะลาสูเ่ มอื งแหง่ การ
ทงั้ น้ี อภนิ นั ทไ์ ดอ้ อกแบบโครงการยอ่ ยทหี่ นนุ เสรมิ เป้ า เรยี นรู”้
หมายของโครงการได้ 3 สว่ น ดงั 3 พารากราฟลา่ ง

“อยา่ งท่ีบอกไปว่ายะลามีตน้ ทนุ ท่ีดพี รอ้ มอยแู่ ลว้
ครับ ถ้าไม่ได้มองในส่ิงที่ขาด เมืองก็สามารถขับ
เคลอ่ื นต่อได้ แตใ่ นทางกลบั กนั ถา้ เตมิ ส่ิงที่ขาด ผม
มองวา่ เมอื งจะพัฒนาตอบโจทยผ์ คู้ นมากกวา่ น้ี เป็ น
เมืองท่นี ่าอยู่ของทกุ คนมากกว่าน”้ี อภนิ นั ท์ กลา่ ว
We C i t i z e n s ส น ท น า กั บ นั ก วิ จั ย จ า ก ศู น ย์
มานุษยวิทยาสิรนิ ธรและหวั หนา้ โครงการยะลา
ศกึ ษาทา่ นน้ี โดยขอใหเ้ ขาชว่ ยขยายความสง่ิ ทเี่ มอื ง
ขาด โอกาส และการพัฒนาเมืองยะลาส่เู มืองแหง่
การเรยี นรูท้ ี่ตอบโจทย์ผคู้ นอยา่ งยงั่ ยนื มาดกู ัน

Interview

เราทราบว่าคุณไมใ่ ช่คนในพ้ืนที่
ศูนยม์ านุษยวิทยาสิรินธรก็ด้วย จงึ อยาก
ทราบความเป็ นมา ว่าคุณเขา้ มาทำ�
โครงการน้ีได้อยา่ งไร

อาจารยแ์ พร ศริ ศิ กั ดด์ิ ำ� เกงิ รองผอู้ �ำนวยการ สกสว. เป็ น
ผู้มอบหมายใหท้ างศูนยม์ านุษยวิทยาสิรนิ ธรรบั ทนุ จาก
บพท. มาขบั เคลอื่ น อาจารยแ์ พรพื้นเพเป็ นคนจงั หวดั ยะลา
ขณะเดยี วกันอาจารย์ก็มีงานวิจยั เรอื่ งทักษะทาง
วัฒนธรรมในพ้ืนท่ี 3 จงั หวัดชายแดนภาคใต้ ทท่ี �ำอย่กู บั
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธรมาก่อนแล้วหลายปี
โครงการทกั ษะทางวัฒนธรรมมีเป้ าหมายใหผ้ ูค้ นในสาม
จงั หวัดชายแดนใต้ มีทักษะทางวัฒนธรรมในการอยู่ร่วม
กนั อยา่ งสันตผิ า่ นการเรยี นรูซ้ งึ่ กนั และกนั ทผี่ า่ นมาเราทำ�
วจิ ยั เรอ่ื งนรี้ ว่ มกบั สถาบนั การศกึ ษาในระดบั ชมุ ชน เป็ นการ
เพ่ิมทักษะนี้แก่คุณครูเพ่ือน�ำไปสอนแก่นักเรียน โดยเรามี
แผนการที่จะขยายผลการวิจยั ไปตดิ ตั้งในกลไกปกครอง
ส่วนท้องถิ่น พอดีกบั จงั หวะที่ บพท. ขับเคล่ือนโครงการ
เมืองแห่งการเรียนรู้ ซ่ึงเปิ ดโอกาสให้คณะนักวิจัยได้ท�ำ
ร่วมกับเทศบาลเมืองยะลา ก็เป็ นการประจวบเหมาะที่เรา
จะสรา้ งกลไกรว่ มกบั ภาครฐั ไปพรอ้ มกัน

หมายถงึ สร้างกลไกในการเสริมทกั ษะทาง
วัฒนธรรมไปพร้อมกับการขบั เคล่ือนให้
ยะลาเป็ นเมอื งแหง่ การเรียนรู้

ใช่ครบั ทกั ษะทางวัฒนธรรมเราครอบคลมุ 3 จงั หวัด แต่
โครงการยะลาเมอื งแหง่ การเรยี นรูพ้ ุ่งเป้ าไปทเ่ี ขตเทศบาล
เมืองยะลา โดยเน้นไปท่ีการเรียนรู้ต้นทุนทางความหลาก
หลายทางวัฒนธรรมและชวี ภาพ แมจ้ ุดประสงคจ์ ะตา่ งกนั
แต่ปลายทางกค็ ลา้ ยกัน คือไมว่ ่าเราจะเรยี นรูเ้ พ่ืออยู่รว่ ม
กนั อยา่ งสันติ หรอื เรยี นรูเ้ พ่ือรูจ้ กั ต้นทุนของเมอื งเราเอง
สิ่งเหล่านี้มนั จะนำ� ไปสู่กลไกการพัฒนาเมอื งเพื่อยกระดบั
คุณภาพชีวิตของผู้คนในเมืองเหมือนกัน

44

Interview

ทกุ คนทราบดวี ่าเมอื งแหง่ การเรยี นรู้ เกย่ี วพันกบั เรอ่ื งการศกึ ษา
ผคู้ น สังคม และวัฒนธรรม แตเ่ ราสนใจงานวิจยั ยอ่ ยของคณุ ท่ี
มีการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพด้วย อยากให้ขยาย
ความตรงน้หี นอ่ ย

ผมมองว่ามนั เป็ นสงิ่ ทเ่ี กยี่ วพันกนั อยา่ งไมอ่ าจแยกขาด เพราะพ้ืนทไ่ี หนมคี วามหลาก
หลายทางวัฒนธรรม พ้ืนที่นั้นก็ต้องมีความหลากหลายทางชีวภาพด้วย ถ้าเราท�ำ
เรื่องเมืองแห่งการเรียนรู้ การเรียนรู้แค่วัฒนธรรมในเมืองอย่างเดียว คงไม่ตอบ
โจทย์อะไร และท่ีส�ำคัญโจทย์ท่ีแท้จริงของการเรียนรู้คือการค้นหาต้นทุนของเมือง
ยะลา พอพู ดถึงความหลากหลายทางชีวภาพอาจจะฟั งดูเป็ นการศึกษาเชิง
วิทยาศาสตร์ แตจ่ รงิ ๆ แลว้ มนั ก็คอื ทุนทางกายภาพ สิ่งท่ธี รรมชาติสรา้ งใหเ้ รา ผูค้ น
ในเมอื ง สง่ิ แวดลอ้ ม ทรพั ยากรธรรมชาตติ า่ งๆ เหลา่ นค้ี อื ตน้ ทนุ ทเี่ มอื งนมี้ ี และมคี วาม
อุดมสมบรู ณด์ ว้ ย

แลว้ ทนุ ทางวัฒนธรรมล่ะ คณุ เหน็ อะไรในพื้นที่

การผสมผสานแบบพหวุ ฒั นธรรมเป็ นจุดเดน่ มากๆ ของยะลา สงิ่ นเ้ี กดิ จากหลายปั จจยั
ตั้งแต่ภูมิประเทศที่อยู่คาบสมุทร มีลักษณะเป็ นเมืองศูนย์กลางของสามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ซึง่ มีการไหลบา่ และหมนุ เวียนของผูค้ นตั้งแต่อดีต มชี าติพันธุ์พื้นถิ่น
อยา่ งโอรงั อัสลี ชาวจนี ชาวมสุ ลมิ ชาวซกิ ข์ กระทงั่ ชาวอินเดยี ตรงนแ้ี หละทที่ ำ� ใหเ้ กดิ
การผสานวัฒนธรรมอันเป็ นตน้ ทนุ สำ� คญั ของเมอื ง หรอื อยา่ งการเป็ นศนู ยก์ ลางการ
ศกึ ษาเชน่ ทห่ี ลายคนนยิ ามทนี่ ว่ี ่าเป็ นตกั ศลิ าทางการศกึ ษาของภาคใตต้ อนลา่ ง แตท่ นี ี้
พอยะลาเกิดเหตุการณ์ไม่สงบข้ึน ทุนแบบน้ีก็พลอยหายไปหมด เราเห็นว่าสิ่งน้ีเป็ น
pain point ของเมือง การท�ำวิจยั เพ่ือค้นหาความหลากหลายทางวัฒนธรรม ก็เป็ น
วิธีการหนงึ่ ทจี่ ะชว่ ยฟื้ นฟูความสมั พันธ์ของผคู้ นในสงั คมใหก้ ลบั มาเป็ นเหมอื นเดมิ ได้

แลว้ จากการทค่ี ณุ ไมใ่ ชค่ นในพื้นที่ ไดพ้ บขอ้ จำ� กดั ในการทำ� งานท่ี
ตอ้ งลงไปคุยกบั คนพื้นท่บี า้ งไหม

ขอ้ จำ� กดั หลกั ๆ นา่ จะเป็ นสถานการณโ์ ควิด-19 ทเี่ กดิ ขนึ้ ในปี 2564 ทเี่ ราเริม่ งานวิจยั
มากกว่าครบั เพราะอันทจ่ี รงิ ทมี วิจยั เราทงั้ อาจารยฤ์ ทธิรงค์ จวิ ากานนท์ และอาจารย์
วรานุช ชินวรโสภาค หัวหน้าโครงการย่อยที่ 1 และท่ี 3 ล้วนเป็ นคนพ้ืนเพที่นี่ โดย
อาจารยว์ รานชุ กเ็ ป็ นนกั วจิ ยั ในโครงการทกั ษะทางวฒั นธรรมทที่ ำ� งานรว่ มกบั อาจารย์
แพรอยู่ก่อนแล้วด้วย จงึ มีความคุ้นเคยและเขา้ ใจบรบิ ทในพ้ืนทอ่ี ย่างดี หรอื อาจารย์
ศุภราภรณ์ ทวนนอ้ ย และอาจารยธ์ นกร จนั ทสุบรรณ ทด่ี แู ลโครงการยอ่ ยท่ี 2 ก็เป็ น
อาจารยท์ ่ี ม.อ.ปั ตตานี ซึง่ กใ็ กล้ชิดกับพ้ืนทน่ี ี้อยแู่ ลว้

ในส่วนของผม การเป็ นคนนอกก็อาจมองว่าเป็ นข้อจ�ำกัด แต่ถ้ามองอีกมุม การมี
สายตาแบบคนนอกท่ีมาท�ำงานในพ้ืนที่ ก็ท�ำให้เราเห็นศักยภาพท่ีน่าสนใจของเมือง
มากมายในแบบท่ีคนในทอ้ งที่อาจมองขา้ มมนั ไป เชน่ บางอย่างคนยะลาอาจค้นุ ชนิ จน
ไมเ่ หน็ ว่ามนั น่าสนใจอยา่ งไร แต่เรากลบั ตื่นตากับเรอื่ งนมี้ าก เราเหน็ ถึงความเฉพาะ
ตวั ของเมือง เหน็ ถงึ โอกาส และข้อจำ� กัดบางประการ

45

Interview

อะไรคอื ขอ้ จำ� กัดในสายตาคนนอกท่ีคุณเหน็ ใหป้ ระชาชนรว่ มเป็ นเจา้ ภาพรว่ มพัฒนาเมอื งกบั รฐั

เช่นเร่ืองการบริหารสั่งการ ยะลามีสาธารณูปโภคที่ดี นโยบายท่ีดี รตั น์ สุวรรณรตั น์ Soul South Studio) และทีมงาน และทส่ี �ำคญั
และมีนายกเทศมนตรีท่ีมีวิสัยทัศน์และมีความสามารถมาก ซึ่งเป็ น คอื นอ้ งๆ เยาวชนทรี่ ว่ มจดั งานยะลาสตอรมี่ ารว่ มกนั กบั เรา เพราะ
เรอ่ื งดี แตใ่ นทางกลบั กนั เมอื่ ทกุ คนเหน็ ว่านายกฯ เก่ง ทุกคนจงึ ไป อยา่ งทบ่ี อกเราเป็ นคนนอก ศนู ยม์ านษุ ยวิทยาสริ นิ ธรกเ็ ป็ นคนนอก
ฝากความหวังไว้ที่ทา่ นคนเดยี ว กลายเป็ นว่าไมว่ ่าจะมงี านอะไร ทกุ เมอื่ เราทำ� งานวิจยั เสรจ็ เรากต็ อ้ งออกจากทน่ี ไี่ ป ส่งิ ส�ำคญั คอื การ
คนกย็ กใหท้ า่ นทำ� ตรงนแี้ หละทท่ี ำ� ใหเ้ ราเหน็ วา่ กระบวนการการมสี ว่ น ติดตั้งกลไกให้ผู้คนในเมืองขับเคล่ือนได้ต่อเอง ซ่ึงทางบอลเขามี
รว่ มของเมอื งเกดิ ขน้ึ นอ้ ยมาก พอผนู้ ำ� เกง่ คนยะลาสว่ นหนง่ึ กค็ ดิ ว่า ความตั้งใจอยู่แล้ว และมีศักยภาพสูงมาก
ฉันอยู่เฉยๆ ให้ท่านท�ำไป เดี๋ยวทุกอย่างก็ดีเอง พอผมลงพื้ นท่ี
สอบถามคนในยะลาว่ามปี ั ญหาอะไรไหม เขาก็บอกว่าไมม่ ี เรยี บรอ้ ย แลว้ ทางโครงการมีการวางกลไกใหส้ ิ่งทีเ่ ริ่มไว้ขบั
ดที กุ อย่าง เคล่อื นตอ่ ได้เองอย่างไรบา้ ง

เขาอาจมองว่านน่ั ไม่ใช่ปั ญหา ผมมองไว้ 3 จุด จุดแรกคือการสร้างเยาวชนให้เป็ นผู้เล่นหลักใน
การพัฒนาเมืองในอนาคต ซ่ึงเราได้เรม่ิ ไว้แลว้ ผา่ นกิจกรรมอบรม
แตเ่ ราเหน็ มนั จากสายตาคนนอก ยะลามผี ้บู รหิ ารเก่ง และมีกลมุ่ คน เยาวชนจนเกดิ เป็ นยะลาสตอร่ี
ท�ำงานด้านพัฒนาสังคมไม่น้อย แต่พอขาดกระบวนการการมีส่วน
รว่ ม เมอื งกข็ าดแพลตฟอรม์ กลางทเ่ี ชอื่ มใหท้ กุ คนไดท้ ำ� งานรว่ มกนั จุดท่สี อง คอื การส่งต่องาน เราพบว่ายะลามนี ักวิจยั ทท่ี �ำงานเรอื่ ง
ซึ่งถ้าไม่มีงานยะลาสตอรี่ ซึ่งเป็ นหนึ่งในผลลัพธ์ของงานวิจยั เร่ือง พั ฒนาเมืองอยู่แล้ว อย่างล่าสุด อาจารย์เกสรี ลัดเลีย รอง
การสร้างพ้ืนท่ีต้นแบบการเรียนรู้ของโครงการย่อยท่ีเราท�ำ เราก็ อธิการบดฝี ่ ายวิจยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา กเ็ พิ่งไดร้ บั ทนุ บพท.
อาจจะไม่รู้เลยว่ายะลามีคนรุ่นใหม่ท�ำงานสร้างสรรค์อะไรบ้าง มี มาท�ำเรอ่ื งการท่องเท่ยี วเชงิ พหวุ ัฒนธรรม ทางเราก็พรอ้ มส่งต่อ
ผลิตภัณฑ์จากภูมิปั ญญาอะไรใหม่ หรือมีทรัพยากรอะไรบ้างท่ีตก ข้อมลู ของเราน้ใี หท้ างทีมวิจยั ของอาจารย์ไปขับเคลือ่ นตอ่
ส�ำรวจไป เป็ นตน้
และจุดท่สี าม จรงิ ๆ ตอนนอ้ี าจยังไม่คอ่ ยชดั นกั แตเ่ ป็ นความคาด
แล้วนอกจากเห็นว่าเมืองขาดการมีส่วนร่วม ภาย หวังของเราตั้งแต่แรก คือการสร้างกลไกในภาคธุรกิจให้มีความ
หลังจากจัดงานยะลาสตอรี่ คุณเห็นโอกาสในการ เช่ือมต่อกัน กล่าวคือเราจะท�ำใหน้ ักธุรกิจในเมืองมารว่ มกันมีส่วน
จดั การขอ้ ทา้ ทายเร่ืองนีอ้ ย่างไร ขบั เคล่อื นการพัฒนาเมืองไดอ้ ย่างไร

อันนเี้ ป็ นสิง่ ทผ่ี มพบระหว่างลงพ้ืนทแี่ ละกอ่ นจดั งาน ทมี วิจยั รวมถงึ
คนในพื้นท่ีที่เราร่วมงานด้วย ต่างเห็นตรงกันว่าทุนวัฒนธรรมนี่
แหละที่เป็ นตัวเช่ือมท่ีมีประสิทธิภาพ ด้วยข้อได้เปรียบของยะลาคือ
เป็ นสงั คมพหวุ ฒั นธรรมทอี่ ยรู่ วมกนั ในเมอื งขนาดเลก็ ทกุ คนจงึ แทบ
รู้จกั กันหมด และมีประสบการณ์และความทรงจำ� ร่วมกัน เช่นที่เรา
เลือกพื้นท่ีโรงแรมเมโทรในการจดั งาน ก็เพราะว่าโรงแรมและย่าน
สายกลางทโี่ รงแรมตั้งอย่เู ป็ นยา่ นเศรษฐกจิ เกา่ แก่ทที่ กุ คนลว้ นมี
ความทรงจ�ำร่วม จึงเช่ือมร้อยคนต่างวัยและต่างวัฒนธรรมให้
เข้าหากนั ไดง้ า่ ย และกอ็ ยา่ งที่บอกว่ายะลาเป็ นเมืองเลก็ พอยะลา
สตอรม่ี นั ฉายภาพใหท้ กุ คนเหน็ ว่าใครทำ� อะไรและมศี กั ยภาพอยา่ งไร
ทุกอย่างจงึ ต่อติดกันได้เร็ว เพราะส่วนใหญ่ก็รู้จกั หรือเคยเหน็ หน้า
คา่ ตากนั อยูแ่ ล้ว แค่ไม่รูว้ ่าแตล่ ะคนท�ำอะไร

อีกโอกาสทผ่ี มเหน็ หลงั งานนแี้ ลว้ เสรจ็ คอื การทผ่ี คู้ นตระหนกั ไดเ้ อง
วา่ เราทกุ คนสามารถมสี ว่ นรว่ มในการขบั เคลอ่ื นเมอื งได้ เพราะอยา่ ง
ทผ่ี ่านมา เทศบาลเมืองยะลาเขาท�ำไว้ไดด้ ีอยูแ่ ลว้ แต่โดยมากจะเป็ น
รูปแบบของเทศบาลคิดและท�ำมอบให้ประชาชน เช่น โครงการท�ำ
สตรที อารท์ ใจกลางเมอื ง แตก่ บั ยะลาสตอรมี่ นั ขบั เคลอ่ื นใหป้ ระชาชน
ไม่ได้อยใู่ นบทบาทแค่คู่รว่ มงาน แต่เป็ นคสู่ รา้ งงานของรฐั ต่อไปได้

46

Interview

ทีบ่ อกว่าการสร้างกลไกในภาคธุรกิจยังเหน็ นอกจากคุณเป็ นหัวหน้าชุดโครงการ คุณยังเป็ น
ไม่ชดั นกั อะไรคือปั ญหาทที่ ำ� ใหภ้ าพยังไมช่ ัด หวั หนา้ โครงการยอ่ ยท่ี 4 คอื การจดั ทำ� ขอ้ เสนอเชงิ
นโยบาย ขอ้ เสนอทว่ี ่าคืออะไร
เราถอดประเดน็ ออกมาไดว้ ่า หลงั จากยะลาประสบเหตกุ ารณค์ วาม
ไมส่ งบเมอ่ื สิบกว่าปี กอ่ น ผปู้ ระกอบการในเมอื งทเ่ี คยเป็ นเครอื ขา่ ย ขอ้ เสนอการพัฒนายะลาใหเ้ ป็ นเมอื งแหง่ การเรยี นรูโ้ ดยการมสี ว่ น
อันเข้มแข็งก็ต่างกระจัดกระจาย ถอยออกจากเมืองกันพักใหญ่ ร่วมจากคนรุ่นใหม่ ซ่ึงเราก็ได้ร่วมกับเทศบาลในการติดตั้งกลไก
แล้วพอทุกอย่างกลับมาเป็ นปกติ ผู้ประกอบการหลายคนกลับเข้า เชอื่ มตอ่ ระหว่างผใู้ หญก่ บั เยาวชน ทง้ั การตดิ ตง้ั กลไกการศึกษาใน
มาในเมอื ง แตค่ วามรว่ มมือแบบเดมิ กก็ ลบั เลือนหายไป ซง่ึ ต้องใช้ ระบบ ผ่านการจดั ท�ำหลักสูตรยะลาศึกษาในโรงเรียนของเทศบาล
เวลาฟื้ นกลับมาใหม่ เพราะผู้ประกอบการยงั ขาดความเชอ่ื ม่นั เรา และกลไกนอกห้องเรียน ผ่านการสร้างและส่งเสริมเครือข่าย
มองว่าถ้าเวลาผ่านไปและความม่นั ใจตรงน้ีกลับมา ความคิดเรอ่ื ง เยาวชนในพ้ืนทใี่ หพ้ วกเขาไดร้ ว่ มงานกนั อนั นำ� มาสบู่ รรยากาศของ
การมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาเมอื งกจ็ ะงอกเงยตาม อยา่ งไรกด็ ี เรา การเรยี นรูน้ อกหอ้ งเรยี น
กไ็ ดพ้ ยายามฝั งกลไกนผี้ า่ นนกั ธุรกจิ รุน่ ใหมท่ พี่ ยายามดงึ เขา้ มารว่ ม
งาน และใหเ้ ขาเหน็ ว่ามันมโี อกาส ซ่งึ ตรงนีเ้ ราคิดว่าจะเขา้ มาชว่ ยแกป้ ั ญหาอีกเรอ่ื งของยะลาไดค้ ือ
ผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษาในยะลายงั อยใู่ นระดบั ต่ำ� กว่าทคี่ วรจะเป็ น
และจุดท่ีส�ำคญั อีกเรอ่ื ง คือการทำ� ใหเ้ ทศบาลเหน็ งานนี้ และรบั เอา ไดด้ ว้ ย เพราะถา้ เยาวชนรูจ้ กั ตวั เอง รูจ้ กั ตน้ ทนุ ของตวั เอง และเขา้
เรอื่ งน้ไี ปเป็ นนโยบายระดบั เทศบาลใหไ้ ด้ ซ่งึ ผมมองว่ามแี นวโนม้ ที่ ถงึ โอกาสในการตอ่ ยอดความชอบของตวั เองนอกชน้ั เรยี น สง่ิ นมี้ นั
ดี เพราะทางนายกเทศมนตรีท่านก็มีความคิดจะจดั งานในท�ำนอง ไปหนนุ เสรมิ ภาพรวมทางการศึกษาของเมืองได้จรงิ
ยะลาสตอรอี่ ีกในปี หน้า กลไกตรงนก้ี ็น่าจะจุดติดประมาณหน่งึ
นอกจากน้ี การสรา้ งกลไกใหเ้ อกชนเขา้ มามสี ว่ นในการพัฒนาเมอื ง
กส็ ำ� คญั ซง่ึ ทง้ั หมดทง้ั มวล นายกเทศมนตรเี หน็ ดว้ ย ทา่ นมองตรง
กับเราว่าจริงๆ แล้วผู้เล่นหลักในการก�ำหนดทิศทางและพัฒนา
เมืองคือประชาชน ส่วนหน่วยงานรัฐมีหน้าท่ีคือการอ�ำนวยความ
สะดวกและหนุนเสรมิ ใหก้ ารพัฒนาเกิดข้นึ อยา่ งเป็ นรูปธรรม

และเทา่ ทคี่ ยุ กนั ทา่ นกม็ แี ผนทำ� โครงการทดี่ งึ เยาวชนและผปู้ ระกอบ
การมารว่ มขบั เคลอ่ื นเมอื ง สรา้ งจติ สำ� นกึ ของการเป็ นเจา้ ของเมอื ง
รว่ มกัน ไปจนถงึ การพัฒนา TK Park ของเมืองใหม้ ี Future Lab
ซง่ึ เป็ นพ้ืนทใี่ หเ้ ยาวชนมารว่ มแลกเปลย่ี นมมุ มองและกำ� หนดทศิ ทาง
การพัฒนาเมอื งต่อไป

เราคดิ วา่ เหลา่ นเี้ ป็ นความหวังทมี่ โี อกาสจะเกดิ ขนึ้ ไดจ้ รงิ การไดเ้ หน็
ประชาชนเป็ น ‘หนุ้ ส่วน’ ของรฐั ในการขับเคล่ือน พัฒนา หรอื แก้
ปั ญหาของเมอื งเมอื งน้ีไปพรอ้ มกนั

47





People

พงษ์ศักด์ิ ย่งิ ชนมเ์ จริญ

นายกเทศมนตรนี ครยะลา

“ยะลาเป็ นเมืองตักศิลาของการศึกษา เราเป็ นเมือง เช่นที่งานยะลาสตอรี่ (Yala Stories) ซ่ึงเกิดจากศูนย์
มานษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร รว่ มกบั กลมุ่ เยาวชน ชาวเมอื งยะลา และ
ศนู ยก์ ลางการศกึ ษาในระดบั ภมู ภิ าคทม่ี สี ถาบนั การศกึ ษาใน เครอื ขา่ ยภาคประชาสงั คมในพ้ืนท่ี นเี่ ป็ นงานทไ่ี มเ่ คยมมี ากอ่ น
ทกุ ระดบั ขนาดมหาวทิ ยาลยั การกฬี าแหง่ ชาติ วทิ ยาเขตภาค ซึ่งไม่เพี ยงน�ำเสนอแง่มุมอันหลากหลายของยะลา และ
ใต้ตอนลา่ ง กย็ งั ตัง้ อยูท่ ่ีน่ี ผมตระหนักถึงเรอื่ งน้ดี ี และนั่น ศักยภาพของกลุม่ ต่างๆ ในเมอื ง แตท่ ่นี ่าภูมใิ จคือเป็ นงานท่ี
ทำ� ใหต้ งั้ แตว่ ันแรกทเ่ี ขา้ มาทำ� งานในเทศบาลนครยะลา จงึ มี ท�ำใหค้ นรุน่ ใหมม่ ี sense of belonging หรอื ความรูส้ ึกรว่ ม
วิสัยทศั นอ์ ันเด่นชัด โดยวาง motto ไว้ว่า ‘สรา้ งเมอื งใหน้ ่า ในการเป็ นเจา้ ของเมือง รวมถึงการมจี ติ สาธารณะ และการ
อยู่ สรา้ งความรูส้ ู่มวลชน’ มองเหน็ ถงึ อนาคตของเมอื งรว่ มกัน ซ่ึงตรงน้แี หละคือหวั ใจ
สำ� คญั ของการพัฒนาเมอื ง เพราะเมอื งจะไมม่ ที างเจรญิ หาก
และเพราะเหตนุ ี้ เทศบาลนครยะลาจงึ ใหค้ วามสำ� คญั กบั พื้นที่ คนในเมอื งเอาแตจ่ ะคดิ วา่ ปั ญหาทเี่ กดิ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งของกู แตเ่ มอื่
การเรียนรู้ของเมืองเป็ นพิเศษ โดยเฉพาะการพัฒนาพ้ืนท่ี ผมเหน็ คนรุน่ ใหม่ที่มาในงานไม่ไดค้ ิดแบบน้ี นแ่ี หละที่ทำ� ใหผ้ ม
สาธารณะและพื้นที่สีเขยี วใหเ้ ป็ นพ้ืนท่ีการเรยี นรู้ เพราะเรา มีความหวัง
เหน็ ว่าพื้นทข่ี องการใชช้ วี ิตและพื้นทขี่ องการเรยี นรูค้ อื พื้นที่
เดยี วกนั ในฐานะตัวแทนของเทศบาลนครยะลา เรายินดีสนับสนุน
โครงการเพื่อการเรยี นรูข้ องเมอื งอยา่ งเตม็ ท่ี ถา้ โครงการนนั้
เรามีอุทยานการเรยี นรู้ TK Park ที่เปิ ดเป็ นสาขาแรกในตา่ ง เป็ นประโยชน์ตอ่ เยาวชนและผู้คนในเมือง ขณะเดียวกันเราก็
จงั หวัดอยู่ภายในศูนย์เยาวชนของเทศบาล ซ่ึงเป็ นท้ังสวน มงุ่ พัฒนาพ้ืนทกี่ ารเรยี นรูใ้ นความดแู ลของเราตอ่ ไป ซงึ่ ไมใ่ ช่
สาธารณะและท่ีออกก�ำลังกายของเมือง ขณะเดียวกันเรา แค่การอ�ำนวยความสะดวกใหผ้ ้มู าใชพ้ ้ืนที่ แตย่ งั รวมถึงการ
ยังท�ำ exploring garden หรือสวนสร้างสรรค์ทางการ สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมสร้างสรรค์อย่างต่อเน่ือง เพราะ
ศึกษาในพื้นที่ และท�ำมินิทีเคพาร์ค หรืออุทยานการเรียนรู้ พื้นท่ีการเรยี นรูจ้ ะมีประโยชนส์ ูงสุด พื้นทก่ี ารเรยี นรูน้ น้ั ต้อง
ขนาดยอ่ มกระจายตวั อยใู่ นพื้นทชี่ มุ ชนและพื้นทเี่ ทศบาล เพื่อ มีชีวิต และชีวิตท่ีว่าจะมีได้ก็ต้องมาจากการจัดกิจกรรมที่
ส่งเสรมิ บรรยากาศของการเรยี นรูน้ อกหอ้ งเรยี นใหเ้ กิดขนึ้ ดงึ ดูดคนทกุ กล่มุ ใหม้ ารว่ มงานอยู่เสมอ
ท่วั เมือง
ถามว่าผมภมู ใิ จอะไรในยะลา? (นงิ่ คดิ ) ไมร่ ูส้ ิ ผมตอบไมไ่ ด้ ผม
ถงึ เราจะเป็ นเจา้ ของพ้ืนที่และส่งเสรมิ ใหม้ ีศูนยก์ ารเรยี นรู้ คดิ ว่าความภมู ใิ จไมไ่ ดเ้ กดิ เพราะเหน็ อะไรในเมอื งแลว้ มคี วาม
เกิดข้ึนในพื้นที่ แต่เทศบาลก็ตระหนักดีว่ากับการขับเคล่ือน ภาคภูมิใจ แต่ผมคิดว่าอย่างน้อยท่ีสุด สิ่งที่ท�ำให้เรามีลม
การพัฒนาเมือง เราหาใช่ผู้เล่นหลัก (key player) แต่ หายใจอยู่ในเมืองอย่างทุกวันน้ี อาจเป็ นความรู้สึกสบายใจ
แท้จรงิ เราเป็ นผู้อ�ำนวยความสะดวก หรอื facilitator คอย หรอื อาจเป็ นความรกั ผมมองยะลาเหมือนคนรกั น่ะ อาจไมใ่ ช่
เชอ่ื มประสานใหเ้ กดิ การรว่ มงานหรอื กจิ กรรมในการพัฒนา ผหู้ ญงิ ทส่ี วยอะไรมาก แตเ่ รารกั ทจี่ ะอยรู่ ว่ มกนั กบั เขาอยา่ งนี้
เมือง เราจงึ ไมใ่ ชผ่ ูน้ �ำการพัฒนา แตเ่ ป็ นผูอ้ �ำนวยสะดวกให้ เรอ่ื ยไป
ภาคประชาชนและองคก์ รตา่ งๆ รว่ มกนั ขบั เคลอื่ นเมอื งยะลา
อยา่ งท่ีทกุ คนอยากใหเ้ ป็ นมากทีส่ ุด วันนี้ผมในฐานะเด็กที่เกิดยะลา ผมก็ภูมิใจของผม ภูมิใจใน
ผังเมืองท่ีเป็ นแบบนี้ ภูมิใจในสภาพอากาศ ภูมิใจในวิถีชีวิต
50 ของผู้คน สิ่งท่ีเมืองยะลาเป็ นตอนน้ีดีอยู่แล้ว แต่นั่นก็ไม่ใช่
เหตผุ ลทที่ ำ� ใหผ้ มตอ้ งหยดุ พัฒนาเมอื งของพวกเราเอง ยะลา
ดอี ยู่แล้วครบั แตถ่ ้าเรารวมพลงั กนั เราทำ� ใหเ้ มอื งทเ่ี รารกั ดี
ขึ้นกว่านอี้ ีกได”้


Click to View FlipBook Version