The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ จากคณะวิจัย โครงการวิจัย “ยะลาเมืองแห่งการเรียนรู้: กระบวนการสร้างสรรค์เมืองแบบมีส่วนร่วมบนความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม” ดำเนินการในปี 2564-2565 <br><br>โดย นายอภินันท์ ธรรมเสนา นักวิชาการจาก ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เป็นหัวหน้าชุดโครงการวิจัย ร่วมด้วย คณะวิจัยจากศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร นักวิชาการจากสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และเทศบาลนครยะลา <br><br>ดำเนินการจัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะ<br>เพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens)<br><br>สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WeCitizens, 2023-01-05 09:17:03

WeCitizens : เสียงยะลา

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และการขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ จากคณะวิจัย โครงการวิจัย “ยะลาเมืองแห่งการเรียนรู้: กระบวนการสร้างสรรค์เมืองแบบมีส่วนร่วมบนความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม” ดำเนินการในปี 2564-2565 <br><br>โดย นายอภินันท์ ธรรมเสนา นักวิชาการจาก ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เป็นหัวหน้าชุดโครงการวิจัย ร่วมด้วย คณะวิจัยจากศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร นักวิชาการจากสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และเทศบาลนครยะลา <br><br>ดำเนินการจัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะ<br>เพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens)<br><br>สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

People

101

People

///
เราจะไม่ท�ำใหช้ าวบ้าน
ขายของได้ เพียงเพราะ
ผซู้ ื้อรู้สึกสงสาร แตต่ อ้ ง
เกิดจากที่ผู้ซอ้ื ตระหนัก
ถึงมลู คา่ ของผลติ ภณั ฑ์

น้นั จริงๆ
///

People

ยะลาไอคอน (Yala Icon) มีท่ีมาเช่นนี้ ผูป้ ระกอบการ ผลจากงานครั้งน้ัน ไม่เพียงท�ำให้เรารู้จกั ยะลาในแง่
เขามผี ลติ ภณั ฑข์ องตวั เองอยแู่ ลว้ สว่ นเราเขา้ ไปเรยี น มมุ ใหม่ รวมถงึ แงม่ มุ ทเ่ี ราอาจหลงลมื ไปแลว้ ยงั ทำ� ให้
รู้ และใช้ทักษะทางการออกแบบและความคิด เรามนั่ ใจอีกว่าเราสามารถเปิ ดครเี อทฟี สตดู โิ อทเ่ี มอื ง
สร้างสรรค์ไปช่วยพั ฒนาสินค้าร่วมกับเขา หัวใจ บา้ นเกดิ ของเราได้ เราพบว่ามนี ักออกแบบ ครเี อทฟี
ส�ำคัญคือ เราจะไม่ท�ำให้ชาวบ้านขายของได้ เพียง รวมถงึ คนท�ำงานดา้ นส่ือรุน่ ใหม่จำ� นวนไม่น้อยอยาก
เพราะผซู้ อื้ รูส้ กึ สงสาร แตต่ อ้ งเกดิ จากทผ่ี ซู้ อื้ ตระหนกั กลับมาท�ำงานที่บ้านเกิดของตัวเอง ขณะเดียวกันผู้
ถงึ มูลค่าของผลติ ภณั ฑ์นั้นจรงิ ๆ ประกอบการหลายๆ คน รวมถึงหน่วยงานรฐั ก็เรม่ิ
ยะลาไอคอนตอบโจทยช์ วี ติ การทำ� งานทย่ี ะลาใหก้ บั เรา ตระหนกั ถึงความส�ำคญั ของการยกระดับสินค้าและ
มาก จากที่เคยคิดว่าคงไมไ่ ดท้ �ำงานครเี อทีฟในยะลา บรกิ ารด้วยความคดิ สรา้ งสรรค์ โดยเราสามารถเป็ น
เทา่ ไหร่ กลบั กลายเป็ นวา่ เราไดก้ ลบั มาทำ� สงิ่ ทเ่ี ราชอบ ตวั กลางเชอื่ มสองฝ่ั งนี้ใหเ้ ขา้ หากันได้
ถนัด และอยากท�ำอยแู่ ลว้ แถมยงั ได้ชว่ ยเหลอื คนใน
พื้นทอี่ กี เราทำ� ยะลาไอคอนจนเป็ นทรี่ ูจ้ กั ประมาณหนงึ่ ทุกวันนี้เราเปิ ดสตูดิโอครีเอทีฟท่ีช่ือว่า SoulSouth
และมโี อกาสไปรว่ มแสดงผลงานในเทศกาลดา้ นความ Studio โดยรวมทีมกับน้องๆ ที่จบศิลปะจาก
คิดสร้างสรรค์ที่เมืองอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งพอ ม.อ.ปั ตตานี ซึ่งก็เป็ นทีมที่อยู่เบ้ืองหลังงานออกแบบ
ออกงานท่ีอื่นอยู่หลายครั้ง ก็มาแอบคิดน้อยใจว่า ของยะลาสตอรด่ี ว้ ย นอกจากจะใชท้ ักษะทเี่ ชยี่ วชาญ
ทำ� ไมยะลาของเราถึงไมม่ งี านแบบน้จี ดั ขน้ึ บา้ ง ช่วยเหลือผู้ประกอบการ เรายังหวังใหอ้ อฟฟิ ศเล็กๆ
แห่งน้ี เป็ นหนึ่งในกลไกขับเคล่ือนการพัฒนาเมือง
กพ็ อดีกบั ทางศูนยม์ านุษยวิทยาสิรนิ ธรกำ� ลังทำ� ยะลา ขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์ในพ้ืนท่ีสาธารณะ
โครงการเมืองแหง่ การเรยี นรู้ โดยรว่ มกับเยาวชนใน อยา่ งสรา้ งสรรค์ รวมถงึ มสี ว่ นเพ่ิมและยกระดบั พ้ืนท่ี
พื้นทจ่ี ดั ทำ� นทิ รรศการบอกเลา่ แงม่ มุ ตา่ งๆ ของเมอื ง การเรยี นรูใ้ หก้ บั เมือง
ในชอ่ื ‘ยะลาสตอร’่ี โดยทางศูนย์ฯ ชวนใหเ้ รามารว่ ม
โครงการในฝ่ั งครีเอทีฟ รวมถึงชักชวนเครือข่าย เราเชอ่ื ว่ายะลาจะพัฒนาไดม้ ันต้องเกดิ จากการรว่ ม
ต่างๆ มารว่ มงาน แน่นอน เรายินดชี ว่ ยเต็มท่ี เพราะ มือกันของคนหลากรุ่น เมื่อเมืองเกิดการพัฒนาและ
เราเห็นว่ายะลามีของดี แต่เราแค่กลุ่มเดียวก็ไม่ มคี วามนา่ อยู่ มนั จะดงึ ดดู ใหเ้ กดิ การพัฒนาเศรษฐกจิ
สามารถผลักดันสิ่งน้ีออกไปได้ เมื่อมีคนมาช่วย มี และเม่ือเศรษฐกิจดี เมืองก็จะตอบโจทย์การใช้ชีวิต
เ ค รื อ ข่ า ย ม า ร่ ว ม ด้ ว ย เ ท ศ ก า ล ท า ง ค ว า ม คิ ด ของผู้คน เรามองภาพไกลๆ ให้คนรุ่นใหม่มองยะลา
สรา้ งสรรคข์ องเมอื งทเี่ ราฝั นอยากเหน็ มาตลอดจงึ ได้ อย่างท่ีเราเห็น มองเห็นถึงความเป็ นไปได้ใหม่ๆ ใน
ฤกษ์เกิดข้นึ เสียที เมืองเมืองนี้ มองเห็นถึงความเป็ นเมืองที่คนรุ่นใหม่
อยู่ได้ และสามารถท�ำงานที่ตอบโจทย์ความฝั นของ
พวกเขาไปพรอ้ มกัน”

103





ยะลา

กลบั บ้านเรา รักรออยู่

ใครเป็ นคนคดิ ประโยคนา่ รกั นข้ี น้ึ มากไ็ มร่ ู้ แตเ่ ชอื่ วา่ หลายคนจะอมยม้ิ พอใจเพราะมนั ใหค้ วามรสู้ กึ อบอุน่ มาก โดยเฉพาะหากคน
ทไ่ี ดย้ นิ หา่ งบา้ นไปนานๆ ประโยคนน้ี า่ จะมากระทบใจอยา่ งมาก เพราะบา้ นทจี่ ากมานานจะมคี วามหมายมากกวา่ ปกตเิ กนิ กวา่ จะ

อธบิ ายใหใ้ ครเขา้ ใจ ฉะนน้ั การไดน้ งั่ ฟั งหนมุ่ สาวคนยะลาวยั ทำ�งานเลา่ วา่ หลงั เรยี นจบแลว้ ไดใ้ ชช้ วี ติ และทำ�งานทก่ี รุงเทพฯ
สกั ระยะหนงึ่ กเ็ กดิ ความรสู้ กึ อยากกลบั บา้ น จงึ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งเกนิ ความเขา้ ใจได้

อยา่ งไรกด็ ี การตดั สนิ ใจทงิ้ กรุงเทพฯ เพ่ือกลบั บา้ นเกดิ ทย่ี ะลาอาจไมใ่ ชก่ ารตดั สนิ ใจทงี่ า่ ยดายสำ�หรบั ทกุ คนเสมอไป เพราะตอ้ ง
ยอมรบั วา่ กรุงเทพฯ คอื ศนู ยร์ วมของทกุ สง่ิ โดยเฉพาะแหลง่ งานและเงนิ ทจ่ี ะใชใ้ นการดำ�รงชวี ติ และแนน่ อนวา่ สภาพเมอื งยะลา
ตอ้ งเงยี บกวา่ กรุงเทพฯ ความทนั สมยั กน็ อ้ ยกวา่ ถงึ เวลาตดั สนิ ใจกค็ งตอ้ งถามใจตวั เองกลบั ไปกลบั มาอยหู่ ลายรอบวา่ รบั ไดไ้ หม
กบั งานเงนิ ทอี่ าจไมด่ เี ทา่ เมอื งใหญ่ แตส่ งิ่ ทแ่ี ลกมาคอื คา่ ครองชพี ทบี่ า้ นเกดิ จะถกู กวา่ แถมดว้ ยสขุ ภาพจติ ทด่ี กี วา่ สำ�หรบั บางคน

อาจโชคดสี าขาทเ่ี รยี นสามารถหางานจากกรุงเทพฯ แลว้ ทำ�ทยี่ ะลาสง่ กลบั ไปได้ หรอื บางคนกลบั มาเปิ ดธุรกจิ เลก็ ๆ
ใช.่ ..การเรม่ิ ตน้ มนั อาจไมห่ วอื หวา แตเ่ มอ่ื หกั กลบลบหนก้ี นั แลว้ รายไดท้ เี่ หลอื สทุ ธอิ าจดกี วา่ ดว้ ยซ้ำ�
.

ในอดตี สำ�หรบั เมอื งยะลา เพชรเมด็ งามเมด็ หนงึ่ ของภาคใต้ ภาพจำ�ของคนรนุ่ หนง่ึ อาจไมค่ อ่ ยดนี กั ดว้ ยคา่ ทว่ี า่ มเี หตคุ วามไมส่ งบ
เกดิ ขน้ึ บอ่ ยครงั้ แมร้ ะยะหลงั จะทงิ้ ชว่ งไปบา้ ง และทกุ วนั นย้ี งั เหน็ บงั เกอรป์ นู ซเิ มนตต์ ามหวั มมุ ถนนในเมอื งทสี่ รา้ งไวแ้ ลว้ ยงั
ไมเ่ อาออก อกี ทงั้ ยงั มเี ตน็ ทท์ หารตามจุดตรวจทฝี่ ่ ายความมง่ั คงเหน็ วา่ ยงั คงตอ้ งเฝ้ าระวงั

แตภ่ าพจำ�ดา้ นบวกของยะลากม็ อี ยหู่ ลายเรอ่ื ง อนั ดบั แรกนา่ จะการมผี งั เมอื งทสี่ วยมากทสี่ ดุ ในประเทศ ซง่ึ กลายเป็ น
เครอื่ งหมายการคา้ ของยะลาไปแลว้ นอกจากนยี้ ะลายงั มสี วนสาธารณะพ้ืนทใ่ี หญม่ ากเมอ่ื เทยี บกบั ขนาดของตวั เมอื ง และไดร้ บั
การดแู ลอยา่ งดี สะอาดสะอา้ น เป็ นสวนสาธารณะทไ่ี มม่ ที ง้ั รว้ั หรอื ประตกู นั้ (นา่ จะแหง่ เดยี วของประเทศอกี อยา่ งกระมงั ) นกึ อยาก

จะเขา้ ตรงไหนกเ็ ขา้ ไดท้ กุ ทศิ ทกุ ทาง ซง่ึ หากใชเ้ กณฑม์ าตรฐานของเมอื งชน้ั นำ�ของโลก
คณุ ภาพของสวนสาธารณะสามารถใชบ้ ง่ บอกคณุ ภาพชวี ติ ของคนในเมอื งนนั้ ๆ ไดด้ ว้ ย

และทเ่ี หนอื ชน้ั ขนึ้ ไปอกี ของเมอื งยะลา นอกเหนอื จากผงั เมอื งทส่ี วยงามแลว้ คอื การสง่ เสรมิ ใหม้ สี ถานศกึ ษาคณุ ภาพจำ�นวนมาก
สามารถรองรบั ประชากรของยะลาไดเ้ ตม็ ทโี่ ดยทไี่ มต่ อ้ งสง่ เขา้ ไปเรยี นถงึ หาดใหญ่ รวมทงั้ พ้ืนทเ่ี รยี นรนู้ อกหอ้ งเรยี นอยา่ ง

เชน่ TK Park ทม่ี ขี นาดใหญท่ ส่ี ดุ ในภาคใตแ้ ละใหญก่ วา่ TK Park กรุงเทพฯ เสยี อกี ซงึ่ นน่ั ไมใ่ ชส่ ง่ิ ทจี่ ะทำ�ไดง้ า่ ยๆ แตย่ ะลาทำ�ได้

เพราะวสิ ยั ทศั นข์ องทมี ผบู้ รหิ ารเมอื ง ทมี่ องเหน็ การใหก้ ารศกึ ษาเหมอื นกบั การลงทนุ หวา่ นเมลด็ พืชและใหป้ ๋ ยุ ดๆี กบั ลกู หลาน
ชาวยะลา แบบเตบิ โตไปอยา่ งมตี น้ ทนุ ทดี่ ตี ง้ั แตเ่ รม่ิ ตน้ วยั เรยี น ดว้ ยตระหนกั ดวี า่ ‘การศกึ ษาทด่ี สี ามารถเปลย่ี นชะตาชวี ติ ได’้

ทงั้ หมดเหลา่ นี้ เกดิ ขนึ้ ทยี่ ะลา

December, 2022

หน่วยบริหารและจดั การทนุ ด้านการพัฒนาระดับพ้ืนที่ (บพท.)
สำ�นักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา

วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรมแหง่ ชาติ (สอวช.)

ทป่ี รึกษา และผู้ทรงคณุ วุฒิ กรอบการวิจยั
“การพัฒนาเมอื งแหง่ การเรียนรู้ (Learning City)”

รศ.ดร.ป่ ุน เท่ยี งบรู ณธรรม
รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ

ดร.สมคดิ แก้วทพิ ย์
รศ.ดร.ฉวีวรรณ เดน่ ไพบูลย์

106

ผลิตโดย
โครงการการขบั เคลอ่ื นผลงานวิจยั ผา่ นการส่ือสารสาธารณะ

เพื่อพัฒนาเมืองแหง่ การเรยี นรู้ (WeCitizens)

สนบั สนนุ โดย
หนว่ ยบรหิ ารและจดั การทุนดา้ นการพัฒนาระดับพ้ืนที่ (บพท.)

และสมาคมเพ่ือออกแบบและส่งเสรมิ การมีพ้ืนทสี่ าธารณะ
และพื้นที่สีเขยี ว Greening Up Public Space

หวั หน้าโครงการ
สามารถ สุวรรณรตั น์

บรรณาธิการ
นพดล พงษ์สุขถาวร

เรื่องเลา่ จากผู้คน (เสียงยะลา)
นพดล พงษ์สุขถาวร
จริ ฎั ฐ์ ประเสรฐิ ทรพั ย์
ปิ ยะลักษณ์ นาคะโยธิน
ธิตินดั ดา จนิ าจนั ทร์
สามารถ สุวรรณรตั น์

ออกแบบปก/รูปเล่ม
ไขม่ กุ แสงมอี านุภาพ

อินโฟกราฟิ กส์
acid studio

ถา่ ยภาพ
กรนิ ทร์ มงคลพันธุ์
พรพจน์ นนั ทจวี รวัฒน์

วิดีโอ
ธรณศิ กรี ติปาล
วัชระพันธ์ ปั ญญา
เอกรนิ ทร์ นันปิ นตา

สีน้ำ�
ธเนศ มณีศรี 15.28 studio

ประสานงาน
ลลิตา จติ เมตตาบรสิ ุทธ์ิ

wecitizen2022 wecitizensvoice wecitizens
@gmail.com thailand.com

107

YALA
Beyond Stories


Click to View FlipBook Version