The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และการขับเคลื่อนโครงการการวิจัยเพื่อพัฒนาเทศบาลเมืองแก่งคอยเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ ดำเนินการโดย นพดล ธรรมวิวัฒน์ กรรมการผู้จัดการบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จำกัด (Saraburi City Development : SBCD) เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย <br><br>WeCitizens เสียงแก่งคอย, สระบุรี: ดำเนินการจัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะ เพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens) สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WeCitizens, 2023-08-01 21:51:02

WeCitizens : เสียงแก่งคอย, สระบุรี

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และการขับเคลื่อนโครงการการวิจัยเพื่อพัฒนาเทศบาลเมืองแก่งคอยเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ ดำเนินการโดย นพดล ธรรมวิวัฒน์ กรรมการผู้จัดการบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จำกัด (Saraburi City Development : SBCD) เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย <br><br>WeCitizens เสียงแก่งคอย, สระบุรี: ดำเนินการจัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะ เพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens) สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.)

เสียงแก่ งคอย-สระบุรี WeCitizens เปลี่ยนบาดแผลประวัติศาสตร์ สู่ เมืองแหงการเรียนรู ่ ตลอดชีวิต ้ แกงคอย ยอนรอยสงครามโลก 1


2


แก่ งคอย - สระบุรี 3


แก่ งคอย - สระบุรี 4


5


เปลี่ยนบาดแผลประวัติศาสตร์ สู่ เมืองเรียนรู้ ตลอดชีวิต แกงคอย ยอนรอยสงครามโลก นอกจากจะถูกจดจําจากเพลงดังที่มีชื่อเดียวกับชื่ออําเภอของ ก้ าน แก้ วสุพรรณ และเพลงฮิตของคาราบาว ซึ่งสื่อถึงที่มาของชื่อ ‘แก่ งคอย’ อย่ าง ‘แร้ งคอย’ หากไม่ ใช่ คนในพื้นที่ อาจนึกภาพไม่ ออก ว่ าอําเภอของจังหวัดสระบุรีที่เป็ นปากทางขึ้นอุทยานแห่ งชาติเขาใหญ่ และประตูสู่ ภาคอีสาน มีความสําคัญอย่ างไร? ไม่ เพี ยงเป็ นเมืองท่ าที่สําคัญในการขนส่ งสินค้ าผ่ านแม่ น้าป่ าสักและ ทางรถไฟ อําเภอแก่ งคอย ยังเป็ นจุดเริมต่ ้ น (ต่ อจากอําเภอเมืองสระบุรี) ของถนนมิตรภาพ ถนนสายสําคัญที่รถทุกคันต้ องวิ่ งผ่ านจากกรุงเทพฯ สู่ ภาคอีสาน ไม่ เพียงเท่ านั้น อําเภอแห่ งนี้ยังเรียงรายไปด้ วยโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยเฉพาะโรงงานปูนซีเมนต์อันเป็ นแหล่ งผลิต ปูนที่ใหญที่สุดของประเทศ ่ นันทําให ่ ที่นี่ยังเป็ นอีกจุดเริ ้มต่ นของการพัฒนา ้ ประเทศด้ านการก่ อสรางมาช้ ้ านาน ขณะเดียวกัน ผ่ านแง่ มุมประวัติศาสตร์นอกจากแก่ งคอยและอีกหลาย เมืองในสระบุรีรวมถึงจังหวัดใกล้ เคียงจะเป็ นเมืองที่รัฐสยามไดกวาดต้อน้ ชาวลาว ไทพวน และไทดําจากที่ต่ างๆ มาตั้งรกรากในสมัยธนบุรีถึง ต้ นรัตนโกสินทร์ จนเกิดเป็ นอัตลักษณ์ ทางวัฒนธรรมอันเข้ มแข็งส่ ง ผ่ านมาถึงปั จจุบัน ในประวัติศาสตร์ ยุคใกล้ดังที่กล่ าวว่ าแก่ งคอยเป็ น เมืองยุทธศาสตร์ สําคัญของการขนส่ ง นั่นทําให้ กองทัพญี่ปุ่ นมาตั้งค่ าย ภายในอําเภอแห่ งนี้กระทั่งวันที่ 2 เมษายน 2488 กองทัพสัมพันธมิตร สงเครื่องบินมาทิ ่ งระเบิดปูพรมใส ้ ่ เมืองริมแมน้าป ่ ่ าสักที่เคยสุขสงบจนราบ เป็ นหน้ ากลอง จากบาดแผลสําคัญในหนาประวัติศาสตร ้ ์ชาวแกงคอยได ่ร้วมมือกันเปลี่ยน ่ โศกนาฎกรรมครังนั้ นเป็ นต ้นทุนทางวัฒนธรรม ้ จากการจัดพิธีกรรมรําลึก สู่ เทศกาลประจําปี ที่นําเสนอ ‘ของดี’ ของเมืองไปพร้ อมกับการรําลึก ประวัติศาสตร์ จนเกิดเป็ นงาน ‘เมืองแก่ งคอยย้ อนรอยสงครามโลก’ ซึ่งจัดขึ้น ณ วัดแก่ งคอย และย่ านการค้ าใจกลางเมืองในช่ วงต้ นเดือน เมษายนของทุกปี อย่ างไรก็ดีเมืองแห่ งนี้ก็หาได้ มีเพี ยงประวัติศาสตร์ บาดแผลจาก สงครามและโรงงานปูนซีเมนต์นั่นเป็ นเหตุผลหนึ่งที่ทําให้บริษัท สระบุรี พัฒนาเมือง จํากัด ขอรับงบประมาณงานวิจัยจาก บพท. (หน่ วยบริหาร และจัดการทุนดานการพัฒนาระดับพื้นที่ ้ ) เพื่อขับเคลื่อนพื้นที่เทศบาลเมือง แก่ งคอยให้ กลายเป็ นเมืองแห่ งการเรียนรู้ ตลอดชีวิต สร้ างกระบวนการ ความร่ วมมือระหว่ างภาครัฐและประชาชน ก่ อตั้ง ‘มหาลัยแก่ งคอย’ กลุ่ มคนที่ชวนกันสํารวจต้ นทุนทางสังคมและวัฒนธรรมของเมือง ไฮไลท์ จุดเด่ นและหาแนวทางแก้ จุดด้ อย เพื่อพัฒนาใหแก้ ่ งคอยกลายเป็ น ที่พรอมรองรับการเจริญเติบโต ้พรอมกับการเป็ นเมืองน ้ ่ าอยู่ อย่ างยั่งยืน ก่ อนที่จะพาผู้ อ่ านไปทําความรู้ จักชุดโครงการวิจัย ‘กลไกความร่ วมมือ ระหว่ างเทศบาลเมืองแก่ งคอยกับประชาชนในการจัดการเรียนรู้ ของ ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองแกงคอยให ่ ้ เป็ นเมืองแหงการเรียนรู ่ตลอด้ ชีวิต’ WeCitizens อาสาพาไปสํารวจพื้นที่เรียนรู้ ทางวัฒนธรรมและ ธรรมชาติของเมืองแหงนี้ ่ อันเป็ นต้ นทุนพื้นฐานของการพัฒนาเมืองไปสู่ เป้ าหมายของการพัฒนาเมืองดังที่ทีมงานวิจัยตั้งใจในบทความต่ อจากนี้ 6 Feature Feature


แก่ งคอยมาจากไหน? หลายคนจดจําชื่อ ‘แกงคอย่ ’ มาจากเพลงแรงคอยของวงคาราบาว้ ซึ่งมี เนื้อหาบอกเล่ าถึงที่มาของชื่ออําเภอแหงนี้ ่ส่ วนทําไมต้ อง ‘แรงคอย้ ’ จาก คําบอกเลาของผู่ ้ เฒาผู่แก้ ่ดวยชัยภูมิของพื้นที่ดังกล ้ าวเป็ นปากทางเข ่าสู้ ่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจากภาคกลางมาแต่ โบราณ กองคาราวานนัก เดินทางจําตองรอนแรมผ้ านป ่ ่ าใหญที่ชื่อว ่ ่ า ‘ดงพญาไฟ’ หลายครังที่กอง ้ คาราวานตองเสียชีวิตระหว ้ ่ างเดินทางดวยไข ้ ป้่ าหรือไมก็ถูกปล ่นฆ้า่ เมื่อมี ผูคนถูกพรากชีวิตในบริเวณนี้กันมาก ้ อีแรงจึงมักมาชุมนุมเพื่อรอคอยกิน ้ ซากศพ จึงเป็ นที่มาที่ทําใหผู้ คนจดจํ ้าพื้นที่แหงนี้ในชื่อแร ่งคอย้กอนจะถูก่ เรียกกรอนมาจนเป็ นแก ่ ่ งคอยในปั จจุบัน อย่ างไรก็ดีภายหลังที่ความเจริญมาถึง มีผู้ คนมาสร้ างบ้ านแปงเมืองริม แม่ น้าป่ าสักเป็ นจํานวนมาก พื้นที่ที่ผู้ คนขนานนามว่ าแร้ งคอยก็กลายเป็ น ชุมชนการเกษตรที่อุดมสมบูรณ์เช่ นเดียวกับบริเวณดงพญาไฟ ที่เมื่อ อันตรายลดนอยลงและไข ้ ป้่ าสรางซาไป ่ รวมถึงมีการตัดเสนทางรถไฟจาก ้ สระบุรีไปสู่ นครราชสีมาไดสํ ้าเร็จในสมัยรัชกาลที่ 5 ดงพญาไฟจึงไม่ ใชดิน่ แดนอาถรรพ์ อีกต่ อไป และชื่อของมันก็ถูกจดจําใหม่ ในนาม ‘ดงพญาเย็น’ มาถึงปั จจุบัน ขณะที่ในอีกที่มาหนึ่งของชื่ออําเภอแหงนี้ ่ มาจากบริเวณลําน้าป่ าสักที่ตัด ผ่ านเมือง แม่ น้าสายนี้แต่ เดิมเป็ นเส้ นทางคมนาคมสําคัญของนักเดินทาง และพ่ อค้ าจากเพชรบูรณ์ชัยบาดาล สระบุรีเสาไห้และอยุธยามาช้ านาน ความที่แม่ น้าป่ าสักช่ วงที่ผ่ านอําเภอแก่ งคอยมีแก่ งหินขนาดใหญ่ ขวาง ลํานา้อยู่ซึ่งในฤดูแลงที่ระดับ ้นา้ป่ าสักตา่กว่ าปกติแกงหินดังกล ่ าวจึงเป็ น ่ อุปสรรคสําคัญของการเดินเรือ นักเดินทางจึงต้ องจอดเรือคอย เพื่อรอ ให้ ระดับน้าขึ้นสูงจนสามารถสัญจรผ่ านได้เป็ นที่มาให้ ผู้ คนเรียกชุมชน บริเวณนี้ว่ า ‘แก่ งคอย’ ทวา่ เมื่อภายหลังมีการสรางเขื่อนป ้ ่ าสักชลสิทธิ์ทําให้ เกิดการควบคุมระดับ น้าในแม่ น้าป่ าสักไม่ ให้ ต่าเกินไปในฤดูแล้ งได้ สําเร็จ ชื่อแก่ งคอยในเชิง กายภาพจึงเหลือเพียงตํานาน และเหลือเพียงชื่อเรียกอําเภอแหงนี้อย ่ ่ าง เป็ นทางการในที่สุด 7 Feature Feature


สํารวจต้ นทุน พื้นที่เรียนรู้ แก ่ งคอย 8 Feature Feature


วัดแก่ งคอยและอนุสรณ์ สถาน สงครามโลกครั้ งที่ 2 วัดแก่ งคอยตั้งอยู่ ติดกับตลาดเทศบาลใจกลางเมืองแก่ งคอย เป็ น ศูนย์ รวมจิตใจชาวเมืองแก่ งคอยและแม่ เหล็กทางการท่ องเที่ยวของ เมือง รวมถึงจังหวัดสระบุรีทั้งในแงของประวัติศาสตร ่ และความเชื่อ ์ หรือที่คนรุนใหม ่ ่ รูจักกันตามนิยามว ้ ่ า ‘สายมู’ สรางขึ้นเมื่อปี ้พ.ศ. 2330 หรือราวตนยุครัตนโกสินทร ้ ์และเป็ นเฉกเชน่ ชื่อเมือง แต่ เดิมวัดแหงนี้มีชื่อว ่า่ ‘วัดแรงคอย้ ’ เนื่องจากสมัยที่ชาวบาน้ เข้ ามาบุกเบิกพื้นที่ทํากินในบริเวณนี้ใหม่ ๆ ได้ มีการตัดไม้ เพื่อแผ้ วถาง พื้นที่ไปไม่ น้ อย คงเหลือไว้ แต่ เพียงต้ นไม้ ใหญ่ ริมแม่ น้าป่ าสักด้ านหลัง วัดไม่ กี่ต้ น ด้ วยความที่เป็ นต้ นยางสูงใหญ่ ที่มีอายุไม่ ต่ากว่ าร้ อยปี ชาวบานจึงเชื่อว ้ ่ าเป็ นที่สถิตของรุกขเทวดา จึงไมมีใครกล ่ าตัด ้ และนัน่ ทําให้ ต้ นไม้ ใหญ่ เหล่ านี้กลายมาเป็ นที่อยู่ ของอีแร้ งที่มาคอยหาอาหาร บริเวณดังกล่ าว ชาวบ้ านจึงเรียกวัดแห่ งนี้ว่ าวัดแร้ งคอย ก่ อนจะ เปลี่ยนชื่อวัดตามชื่อชุมชนว่ าวัดแก่ งคอยในที่สุด วัดแกงคอยเป็ นที่ศรัทธาของชาวแก ่งคอยมาช่านาน้ โดยเฉพาะในชวง่ สงครามโลกครังที่ ้ 2 เมื่อกองทัพสัมพันธมิตรพบว่ าทหารญี่ปุ่ นมาตั้ง คายในเมืองแก ่งคอย่ ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2488 จึงมีการสงเครื่อง ่ บินทิ้ งระเบิด B24 ทั้งเมือง ส่ งผลให้ สถานที่ราชการ ตลาด และบ้ าน เรือนเสียหายเป็ นจํานวนมาก อย่ างไรก็ตาม ระเบิดที่ตกลงมาที่ วัดแกงคอยกลับไม ่ ทํ ่างาน ชาวบานจึงเชื่อกันว ้ าเป็ นอิทธิปาฏิหาริย ่ของ์ หลวงพ่ อลา (พระครูสุนทรสังฆกิจ พ.ศ. 2428-2497) เจ้ าอาวาส วัดแก่ งคอยในสมัยนั้น ซึ่งทําให้ ชาวบ้ านที่หนีระเบิดมาหลบในวัด รอดชีวิต ภายหลังสงครามยุติญาติพี่น้ องของผู้ เสียชีวิตได้ รวบรวมอัฐิของ ผู้ วายชนม์ มาไว้ บริเวณวัด และจัดสร้ างอนุสาวรีย์ ผู้ ประสบภัยทาง อากาศ โดยจําลองลูกระเบิดที่ดานลูกนั ้ นขึ้นมาเป็ นอนุสาวรีย ้์กอนจะมี ่ การจัดพิธีรําลึกถึงผูประสบภัยในวันที่ ้ 2 เมษายนของทุกปีตอเนื่องมา ่ ถึงปั จจุบัน โดยบริเวณด้ านหน้ าอนุสาวรีย์ ยังมีโมเดลหัวรถไฟแบบเครื่องจักร ไอน้าเขียนข้ างตัวรถว่ า ‘ร.ฟ.ล.’ ฉากหลังเป็ นงานศิลปะวาดรูปพื้นที่ รางรถไฟในอําเภอแกงคอยขณะที่ถูกทิ ่ งระเบิดลงมา้ กําแพงดานหลัง ้ อนุสาวรีย์ ฯ ก็มีงานศิลปะนูนต่าสีเงินจําลองพื้นที่ชุมชน ตลาด และ วัดในแก่ งคอย นอกจากนี้วัดแก่ งคอยยังเป็ นที่ตั้งของพระธาตุเจดีย์ ศรีป่ าสัก เจดีย์ องค์ ใหญ่ สีขาวตัดขอบทอง สถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ โดยผนังรอบด้ านในองค์เจดีย์ ยังมีจิตรกรรมฝาผนังเล่ าเรื่องพุ ทธ ชาดกและตํานานเทวดาต่ างๆ และรอบระเบียงคดขององค์ พระธาตุ เจดีย์ ประดิษฐานพระพุ ทธรูปหินทรายปางประจําวันเกิดพร้ อมโอ่ ง ใส่ น้าและแก้ วใบเล็กวางไว้ ด้ านข้ าง เปิ ดใหประชาชนได ้ ้ รดน้าขอพร พระพุ ทธไสยาสน์ นิมิตมงคลมุนีศรีแก่ งคอยที่ประดิษฐานภายใน พระวิหารของวัดแก่ งคอย ยังเป็ นหนึ่งในพระพุทธรูปคู่ เมือง โดยเป็ น พระพุทธรูปปางไสยาสน์ (พระนอน) ลักษณะสมบูรณ์ สวยงามมาก โดยพระพักตรหันไปทางด ์ ้ านแม่ น้าป่ าสัก ทั้งนี้ล่ าสุดทางวัดแก่ งคอยยังมีการต่ อเติมพื้นที่ริมแม่ น้าป่ าสักเป็ น ‘ถ้านาคา’ จําลองวังบาดาลของพญานาคพรอมประดับด ้ ้ วยหลอดไฟ หลากสีสัน ดึงดูดให้ นักท่ องเที่ยวสายมูได้ เข้ ามาเช็คอินและสักการะ ขอพร รวมถึงบริเวณเหนือถ้ายังเป็ นที่ตั้งของพระธาตุอินทร์ แขวน ที่จําลองต้ นแบบมาจากเมียนมารอีกด ์ ้ วย วัดแหงนี้จึงเป็ นทั ่งแหล้งท่ องเที่ยวเชิงพื้นที่การเรียนรู ่ด้ านวัฒนธรรม ้ ประวัติศาสตร์ ที่เชื่อมโยงกับเมือง ไปจนถึงคติความเชื่อของสายมูไป พร้ อมกัน เป็ นแลนด์ มาร์ คที่หากใครเดินทางผ่ านแก่ งคอยเพื่อเข้ าสู่ ภาคอีสาน ก็มักจะต้ องแวะมาขอพรให้ ได้ สักครัง้ 9 Feature Feature


สถานีรถไฟชุมทางแก่ งคอย ด้ วยทําเลที่อยู่ ปากทางเข้ าภาคอีสานของไทย กระทั่งก่ อนมีการสร้ างทางรถไฟในสมัยรัชกาลที่ 5 อําเภอแก่ งคอยยังถือเป็ นทางแยกสําคัญของการสัญจรทางน้าที่สามารถเชื่อมไปทางฝั่งตะวันออก และภาคเหนือได้โดยเฉพาะบริเวณหนาวัดแก ้ งคอยที่เป็ นที่ตั ่งของเกาะแก้งตามลํ ่านา้อันเป็ นที่มาของ ชื่อแก่ งคอย และนั่นเอง เมื่อความเจริญนํามาซึ่งทางรถไฟและสถานีรถไฟในอําเภอแห่ งนี้สถานีรถไฟแก่ งคอย จึงเป็ นชุมทางสําคัญของนักเดินทางในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเป็ นชุมทางแยก ไปถึง 3 เส้ นทาง ได้ แก่เส้ นทางผ่ านอําเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรีและอําเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ กับเส้ นทางผ่ านอําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรีและอําเภอปากช่ อง จังหวัดนครราชสีมา (ปลายทาง จังหวัดอุบลราชธานี) ก่ อนจะไปบรรจบกันที่สถานีรถไฟชุมทางบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา (ปลาย ทางจังหวัดหนองคาย) นั่นหมายความว่ านักเดินทางที่จะเดินทางไป ภาคอีสานหรือจากอีสานเขากรุงเทพฯ้จะต้ อง มาเปลี่ยนเส้ นทางยังสถานีรถไฟแห่ งนี้มาแต่ ไหนแต่ ไร โดยในสมัยกอน่ผู้ โดยสารจําเป็ นตอง้ พักค้ างแรมที่อําเภอแก่ งคอย เพื่อรอเปลี่ยน ขบวนโดยสารในเชาวันถัดไป ้ จึงทําให้ เศรษฐกิจ ของอําเภอมีความคึกคักมากๆ อันปรากฏให้ เห็นถึงตึกรามบ้ านช่ องเก่ าแก่ อันสวยงามรอบ สถานีรถไฟ (ก่ อนที่ส่ วนหนึ่งจะถูกไฟไหม้ ไป) และทําให้ ที่นี่กลายเป็ นศูนย์ กลางความเจริญ ของอําเภอแก่ งคอยมาจนถึงปั จจุบัน ทั้งนี้ด้ วยทําเลที่ตั้งอยู่ ใจกลางเมือง เรายัง สามารถใชสถานีแห ้ งนี้เป็ นจุดเริ ่มต่ นในการเดิน ้ เล่ นชมเมืองเก่ าแก่ งคอยได้ ทั่ว ทั้งการเดินเท้ า ไปตามถนนเลียบสันติสุข ซึ่งเป็ นถนนสายที่ เชื่อมสถานีรถไฟเขากับท ้า่นา้ป่ าสัก หรือจะเดิน ไปยังถนนโภคสุพัฒน์ ยามเย็น ที่นั่นก็มีสตรีท ฟู้ ดอร่ อยๆ ให้ เลือกกินเพียบ โดยทั้งสองเส้ น ทางยังเชื่อมไปหาวัดแก่ งคอย ศาลเจาปุงเถ ้ ่ า กง-มา่ตลาดเทศบาล และตลาดทา่นา้แกงคอย่ โดยระหว่ างทางก็จะเห็นตึกรามบ้ านช่ องแบบ ดั้งเดิมผสมผสานกับอาคารที่ถูกสร้ างขึ้นใหม่ พอที่จะเห็นร่ องรอยของพัฒนาการของเมือง ได้ อย่ างอิ่ มเอม ผาเสด็จ ผาเสด็จตั้งอยู่ ในพื้นที่ตําบลทับกวาง อําเภอแก่ งคอย ห่ างจากเขตเทศบาลเมืองแก่ งคอยราว 20 กิโลเมตร โดยผาเสด็จตั้งอยู่ ห่ างจากสถานีรถไฟผาเสด็จไม่ ไกล มีลักษณะเป็ นก้ อนหินขนาดยักษ์ ริม ทางรถไฟที่ส่ วนปลายของมันดูเหมือนจะยื่นมาเกือบชิดเส้ นทางที่รถไฟผ่ าน ผาเสด็จถือเป็ นหนึ่งในสัญลักษณ์ ของความเจริญของเมืองแก่ งคอย ไม่ เพียงเพราะเป็ นสถานที่รับ เสด็จในหลวง รัชกาลที่ 5 เมื่อครันประพาสเมืองแก้งคอย่แตการเสด็จครั ่ งนั้ นยังถือเป็ นการมาสร ้าง้ ขวัญและกําลังใจใหคนงานก้อสร่ างทางรถไฟเพื่อตัดผ ้ านดงพญาเย็นเข ่าสู้ จังหวัดนครราชสีมาอีกด ่วย้ ดังที่เล่ าไปในตํานานเรื่องชื่อเมืองแก่ งคอย ดงพญาเย็น (หรือดงพญาไฟในอดีต) ที่อยู่ ติดกับเขตอําเภอแกงคอย่ เป็ นผืนป่ าขนาดใหญ่ ที่เต็มไปดวยไข ้ ป้่ าหรือมาลาเรีย มีคนงานหลาย คนจําต้ องเอาชีวิตมาทิ้งไว้ ที่นี่จนเกิดเป็ น ตํานานแร้ งคอย กระทั่งรัชกาลที่ 5 ที่ทรงมี พระราชดําริให้ สร้ างทางรถไฟไปยังมณฑล นครราชสีมา แต่ คนงานส่ วนใหญ่ ที่เป็ นคนจีน ต่ างเข็ดขยาดในการสร้ างทางรถไฟสายนี้ เพราะถูกฤทธิ์ของไข้ ป่ าเล่ นงาน จนไม่ มีใคร กล้ ารับงานต่ อ เพราะเชื่อว่ าเส้ นทางดังกล่ าว มีภูติผีปี ศาจคอยคุกคาม ดังนั้น ในหลวงรัชกาลที่ 5 จึงทรงเสด็จ ประพาสแคมป์สร้ างทางรถไฟด้ วยพระองค์ เอง และทําพิธีบวงสรวงขอทางต่ อเจาป้ ่ าเจา้ เขา เพื่อเปิ ดทางให้ ความเจริญก้ าวหน้ าของ บ้ านเมือง จุดที่ทําพิธีดังกล่ าวคือบริเวณแท่ น หินขนาดยักษ์ ที่ต่ อมากลายมาเป็ นพื้นที่ของ สถานีรถไฟผาเสด็จ หลังจากนั้นคนงาน ชาวอีสานก็ต่ างเข้ ามาช่ วยกันถางเส้ นทางและ ต่ อเติมทางรถไฟจนผ่ านดงพญาไฟ เปลี่ยน ความหมายของดงพญาไฟ ให้ กลายเป็ น ดงพญาเย็น และนําความเจริญจากกรุงเทพฯ เขาถึงแก ้ งคอยและจังหวัดต ่างๆ่ ในภาคอีสาน ในที่สุด 10 Feature Feature


ตลาดท ่ าน ้ าแก ่ งคอย หากอยากเห็นภาพเมืองแกงคอยในอดีตที่ใกล ่ ้ เคียงที่สุด แนะนําให้ เดินจากตลาดสดเทศบาลแกงคอย่ มาทางแมน่า้ป่ าสัก ผานตลาดลาว่ และเลี้ยวซายไปอีกหนึ่งล็อค ้ จะพบซอยเล็กๆ ที่เรียงรายดวยอาคาร้ ไม้ สูงสองชั้นสองข้ างทาง นั่นคือตลาดท่ าน้าแก่ งคอย อดีตศูนย์ กลางความเจริญของเมืองในยุคที่ ผู้ คนยังสัญจรด้ วยทางเรือเป็ นหลัก แมจะเป็ นอาคารที่สร ้ างขึ้นใหม ้ ยุคหลังสงครามโลกครั ่ งที่ ้ 2 (อาคารเดิมถูกระเบิดเผาไหม้ ไปหมดแลว้) แตตึกรามบ ่านช้ องในซอยแห ่ งนี้ก็ยังคงได ่ รับการอนุรักษ ้ ไว์อย้ างดี ่ ในยุคที่เมืองมีการสรางสถานีรถไฟ ้ แลว้หากผูคนส้ วนใหญ ่ ก็ยังคงสัญจรไปมาในระยะใกล ่ ทางเรือ ้ ที่นี่จึงเป็ นทา่นา้ที่เป็ นเหมือนสถานีหลัก ของเมืองแกงคอย่ ปั จจุบันกลุมหอการค่าแก้งคอย่ และมหาลัยแกงคอย่ ไดบูรณะตึกเก ้ าภายในตลาด ่ แหงนี้ให ่ กลายเป็ นห ้ องจัดแสดงนิทรรศการ ้บอกเลาถึงประวัติศาสตร ่และคุณค์ าของเมืองแห ่ งนี้ ่รวม ถึงแสดงภาพถ่ ายเก่ าๆ ของบรรพบุรุษหลายครอบครัวในพื้นที่ ทั้งนี้ในช่ วงต้ นเดือนเมษายนของทุกปี พรอมกับการจัดงานแก ้งคอยย่อนรอย้ สงครามโลก กลุ่ มหอการค้ าแก่ งคอย ก็ได้ จัด ‘ถนนคนอยากเดิน’ ชักชวน ชาวบ้ านและพ่ อค้ าแม่ ค้ าท้ องถิ่ นมา ออกรานขายของในบรรยากาศย ้อนยุค้ บนถนน ขณะที่ในวันปกตินอกจากจะ ไดชมนิทรรศการเมืองแล ้ว้ หากเดินลง บันไดไปยังตลิงริมแม่น่า้ป่ าสัก ที่นันยัง่ มีทางเดินเลียบแม่ น้า ให้ ได้ เดินชม ทิวทัศน์ ห รือวิ่งออกกําลังกาย ใน บรรยากาศสบายๆ ด้ วย โดยล่ าสุด ทางเทศบาลเมืองแก่ งคอย ยังมีแผน จะเชื่อมทางเดินเลียบแม่ น้าป่ าสัก ตั้งแต่ บ ริเ วณ โ ร ง สี ก า แ ฟ ไ ป ถึ ง วัดแก่ งคอยอีกด้ วย 11 Feature Feature


12 Feature Feature


หอมนสิการ (Manasikarn Hall) ข้ ามแม่ น้าป่ าสักจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันตกราว 10 กิโลเมตร บริเวณ เขาพระพุ ทธบาทน้ อย แนวเขาหินปูนที่เป็ นพื้นที่ปี นเขาขึ้นชื่อของเมือง และที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทโบราณภายในวัดพระพุทธบาทน้ อย ยังเป็ นที่ตั้งของหอมนสิการ (Manasikarn Hall) สถานที่ปฏิบัติธรรมและ แหล่ งเรียนรู้ ด้ านพุทธศาสนาร่ วมสมัยแห่ งใหม่ ของเมือง ภายในอาคาร สีขาวอันโอ่ อ่ าที่มีสถาปั ตยกรรมไทยร่ วมสมัยผูกลายกับศิลปะสุโขทัย อินเดีย และวิกตอเรีย เป็ นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์ ‘มรรคาของพระพุทธเจา้’ นําเสนอพุทธประวัติในรูปแบบอินเตอร์ แอคทีฟร่ วมสมัย เปลี่ยนเรื่องราว จิตรกรรมฝาผนังที่หลายคนคุ้ นชินสู่ การนําเสนอทั้งภาพ เสียง และสัมผัส อย่ างชวนให้ เพลิดเพลิน ขณะที่ด้ านข้ างยังเป็ นคาเฟ่ และแกลเลอรี่แสดง งานศิลปะที่เชื่อมโยงกับพุทธศาสนา โดยหอมนสิการแห่ งนี้เป็ นผลงาน รังสรรค์ ของอาจารย์ อัจฉราวดีวงศ์ สกล วิปั สสนาจารย์ ผู้ ก่ อตั้งสาย ธรรมเตโชวิปั สสนา และประธานมูลนิธิโนอิ้ ง บุดด้ า (Knowing Buddha) และมูลนิธิโรงเรียนแหงชีวิต ่ https://manasikarn.com/ ไม่ ไกลจากเขาพระพุ ทธบาทน้ อย โดยขับรถขึ้นไปทางทิศเหนือเพียง 1.5 กิโลเมตร ยังเป็ นที่ตังของ้ วัดถ้าพระธาตุเจริญธรรม หรือที่คนที่นี่รูจัก้ ในชื่อ ‘วัดถา้บอปลา ่ ’ วัดป่ าเชิงเขาหินปูนที่ภายในมีโถงถา้ขนาดใหญ่พรอม้ หินงอกหินยอยอันงดงาม ้ โดยวัดยังเปิ ดใหนักท ้ องเที่ยวเดินเข ่ าไปนมัสการ ้ พระพุ ทธรูปที่ประดิษฐานอยู่ ภายในโถงถ้าซึ่งมีด้ วยกัน 3 โถงใหญ่ โดยเปิ ดให้ เข้ าชมทุกวัน 8.00-17.00 น. 13 Feature Feature


14


20 32 34 36 38 42 44 48 50 56 62 66 68 70 72 76 78 80 82 88 90 92 96 98 นพดล ธรรมวิวัฒน์ จําเนียร โกจันทึก ชวลิต โยธานารถ จงรักษ์แสงพัธสีมา คุณยายสดสีโภคสุพัฒน์ โชค มะลิซ้ อน จรูญ จันทครอบ ธัชชัยม์สุรินทอง จินตนาภรณ์จกิิตศิลปิ น อรอุษา จึงยิ่ งเรืองรุ่ ง นพพล ธรรมวิวัฒน์ ชุติมา วุฒิสุข จิระวัฒน์ตั้ งใจ พรเพ็ญ เทพสนธิ สมคิด ดวงแก้ ว วันเพ็ญ หร่ารัศมี สมชาย วรกิจเจริญผล ป้ าน้ อย เจริญ น้ อยธะรงค์ สานิตย์แซ่ จึง สุกัญญา ตรีสุนทรรัตน์ ประสิทธิ์พิบูลย์ ชัยสิทธิ์ สุนีย์สุวรรณตระกูล สิรภพ แซ่ จึง สุนัดดา กงขุนทด เสียงแก่ งคอย-สระบุรี 15


18


แก่ งคอย - สระบุรี 19


Interview Interview เบื้องหลังภารกิจ ‘เดินเมือง’ จากเมืองแหงการเรียนรู ่ ้สู ่ เมืองเดินได้ และชุมทางเศรษฐกิจยั ่ งยืน สนทนากับ นพดล ธรรมวิวัฒน์ กรรมการผู้ จัดการ บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จํากัด WeCitizens นัดพบ หม่ อง - นพดล ธรรมวิวัฒน์ที่อาคารใกล้ สถานีรถไฟชุมทางแก่ งคอย ใจกลางตลาดเก่ าเมืองแก่ งคอย จังหวัดสระบุรีอาคารที่ว่ าเป็ นอาคารพาณิชย์ มีป้ ายติดด้ านหน้ า ว่ า ‘ห้ องนั่งเล่ นแก่ งคอย’ คุณหม่ องเล่ าว่ าแต่ เดิมอาคารหลังนี้เคยเป็ นร้ านขายวัสดุก่ อสร้ างของ ครอบครัว เมื่อครอบครัวไม่ ได้ ทํากิจการนี้ต่ อแล้ วจึงปิ ดไว้กระทั่งเขาได้ มาเป็ นโต้ โผในการขับเคลื่อน โครงการเมืองแหงการเรียนรู ่แก้งคอย่ จึงกลับมาฟื้นฟูอาคารนี้อีกครัง้ เปลี่ยนเป็ นหองนั ้งเล่น่ ในความ หมายของการเป็ นห้ องรับแขกบ้ านแขกเมือง และห้ องที่ให้ ผู้ คนมาสุมหัวคิด เพื่อสร้ างสรรค์ กิจกรรม การพัฒนาเมืองแก่ งคอยรวมกัน ่ ใช่ , เราคิดถึงหองประชุมในรูปแบบ ้ city lab ซึ่งน้ อยเหลือเกินที่จะได้ เห็นพื้นที่แบบนี้ในระดับอําเภอ หม่ อง – นพดล ธรรมวิวัฒน์เป็ นคนแก่ งคอย เป็ นนักธุรกิจด้ านอสังหาริมทรัพย์และเคยเป็ นประธาน หอการค้ าจังหวัดสระบุรีในปี 2560 เขากับเพื่อนนักธุรกิจในจังหวัดร่ วมกันก่ อตั้ง บริษัท สระบุรี พัฒนาเมือง จํากัด เพื่อร่ วมกําหนดทิศทางการพัฒนาเมืองกับภาครัฐ ก่ อนที่ปี 2564 เขาได้ รับทุน สนับสนุนจาก บพท. (หน่ วยบริหารและจัดการทุนด้ านการพัฒนาระดับพื้นที่) สร้ างความร่ วมมือกับ เทศบาลเมืองแก่ งคอย พัฒนาเมืองแก่ งคอยสู่ เมืองแหงการเรียนรู ่ ตลอดชีวิต ้ และเพราะเหตุนี้ WeCitizens จึงนัดพบกับเขาที่นี่เพื่อพูดคุยถึงที่มาที่ไปของโครงการดังกลาว่ โครงการ ที่เขาชวนผู้ คนจากภาคส่ วนต่ างๆ ร่ วมกันทํากิจกรรมเดินและปั่นจักรยานสํารวจเมืองภายใต้ โจทย์ ที่ ต่ างกัน ร่ วมกันสร้ างพื้นที่เรียนรู้จัดตลาดนัดวัฒนธรรม ไปจนถึงสร้ างกลุ่ มนักพัฒนาเมืองรุ่ นใหม่ ที่ คอยประสานความรวมมือกับหน ่ ่ วยงานต่ างๆ ทั้งรัฐและเอกชน ที่เล่ ามาข้ างต้ นเป็ นเพียงสังเขปของกิจกรรมที่ บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จํากัด ได้ ทําในพื้นที่เทศบาล เมืองแก่ งคอย ตลอดปี 2564-2565 ที่ผ่ านมา ส่ วนเนื้อหาต่ อจากนี้คือขยายความของสังเขปที่ว่ า รวมถึงสิ่ งที่เกิดขึ้นในปี 2566 และแนวโน้ มของการพัฒนาที่กําลังจะเกิดขึ้นต่ อเมืองแก่ งคอย หรืออาจ เป็ นสระบุรีทั้งจังหวัดในอนาคต 20


Interview Interview บ้ านเกิดใคร ใครก็อยากเห็นการพัฒนาทั้ งนั้ น แต่ ที่ผ่ านมา เราอาจเห็นว่ าเราต่ างเป็ นคนตัวเล็กๆ จะทําอะไรได้หรือไม่ รู้ ว่ าปั ญหาที่แท้ จริงของเมือง เกิดจากอะไร ถ้ าทุกคนได้ รู้ และได้ เห็นว่ า ถ้ าร่ วมมือกัน มันจะนํามาสู่ การแก้ ปั ญหา อย่ างยั่ งยืนได้ 21


Interview Interview ในฐานะที่บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จํากัด เป็ นเจาภาพในการขับเคลื่อนโครงการ ้เมืองแหงการเรียนรู ่ ้ แก่ งคอย จึงอยากขอให้ เล่ าย้ อนไปหน่ อยว่ า บริษัทนี้มีที่มาอย่ างไรครับ มันเริ่มมาจากการที่กลุ่มนักธุรกิจในสระบุรีอยากเห็นบ้านเกิดพวกเรา เองมีการพัฒนาในแบบที่มันเท่าทันการเปลี่ยนแปลงโลก พวกเราเลย ได้แรงบันดาลใจจากขอนแก่นที่เขาตั้งบริษัท ขอนแก่นพัฒนาเมือง จ�ากัด มาก่อน และสามารถเข้าร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นในการก�าหนด ทิศทางการพัฒนาเมืองได้ ก็เลยคิดว่าถ้าสระบุรีมีรูปแบบการท�างาน ร่วมกันแบบนี้ เมืองเราก็น่าจะพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการ ของÿู้คนในเมืองจริงๆ ได้เช่นกัน สิ่งที่เราพูดกันในก่อนวันที่จะตั้งบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด เนี่ย คือว่าเราจะท�ายังไงให้มี master plan การพัฒนาเมืองที่เป็นของÿู้คน ในพ ื้ นที่จริงๆ ร่วมกับส่วนราชการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองใหม่ สิ่งที่ เราอยากเห็นก็คือ เมืองมันจะต้องมีทิศทางที่ชัดเจน มีการพัฒนาโดย ใช้ทรัพยากรและศักยภาพของÿู้คนและพ ื้ นที่อย่างสร้างสรรค์ ให้คน สระบุรีทั้งในปัจจุบันและอนาคตอยากที่จะอยู่และกลับมาอยู่เมืองน ี้ มากกว่าเดิม อะไรคือปั ญหาหลักของสระบุรีในมุมมอง ของบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จํากัด ครับ ค่อนข้างเยอะเลยครับ แต่หลักๆ คือเรื่องมลภาวะทางอากาศที่มี มาอย่างยาวนานจากการเป็นแหล่งอุตสาหกรรมบางประเภท ขณะ เดียวกัน ด้วยเงื่อนไขด้านÿังเมือง ยังท�าให้การพัฒนาอุตสาหกรรม และการลงทุนในพน ื้ ที่สระบุรีถูกแช่แข็งไว้ และอีกประเด็นที่ส�าคัญคือ เศรษฐกิจ ที่เรามองว่าส�าคัญที่สุดเลย คือต่อให้ไม่มีÿังเมืองมาคอยปิด กั้นการพัฒนา แต่ถ้าเมืองยังไม่มี master plan การพัฒนาเมืองมันก็ ยังคงไร้ทิศทางอยู่เหมือนเดิม เศรษฐกิจไม่เกิดการกระจายตัวอย่างทั่ว ถึง และมันก็วนกลับมาลูปเดิมอยู่ดี ÿมจึงเห็นว่าถึงเวลาแล้วที่เราต้อง คุยกันเพื่อก�าหนดทิศทางการพัฒนาเมืองร่วมกัน ท�าให้ทุกคนและทุก ภาคส่วนได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเท่ากัน อย่ างไรก็ตาม ในโครงการเมืองแหงการ่เรียนรู้บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จํากัด เลือกทํางานในพื้นที่อําเภอแก่ งคอย อยากทราบว่ าทําไมต้ องเป็ นที่นี่ด้ วย เราตั้งใจจะพูดคุยเรื่องการพัฒนาเมืองกันทั้งจังหวัดสระบุรีอยู่แล้ว ครับ แต่ก็ต้องยอมรับว่าบริษัทเรายังใหม่และการท�างานในสเกลทั้ง จังหวัดมันใหญ่ และประเด็นปัญหามันก็กระจัดกระจายมาก จึงเป็น ที่มาว่าเราควรน�าร่องในพ ื้ นที่ที่จ�ากัดพอให้เราขับเคลื่อนได้ก่อน ก็เลย คิดถึงอ�าเภอแก่งคอยที่เป็นบ้านเกิดÿม ซึ่งÿมก็มีเครือข่ายภาคเอกชน ที่พร้อมจะรับฟังและร่วมงานด้วย ถือเป็นแต้มต่อที่ท�าให้เราสามารถ บรรลุเป้าหมายได้ 22


Interview Interview แล้ วถ้ าไม่ ใช่ เพราะบ้ านเกิด คุณคิดว่ า แก่ งคอยมีข้ อท้ าทายหรือศักยภาพใด ที่ควรนํากลไกเมืองแหงการเรียนรู ่ ้ มาขับเคลื่อน แก่งคอยเป็นเมืองเศรษฐกิจอันดับต้นๆ ของจังหวัดสระบุรี ซึ่งมีโอกาส หลายอย่างในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอนาคต อันดับแรกเลยคือ แก่งคอยเป็นเมืองชุมทางซึ่งแต่ก่อนเป็นที่รู้จักมากกว่าเมืองสระบุรี เสียอีก เพราะที่นี่คือโหนด (node) ของการเปลี่ยนÿ่านสินค้าในสมัย ก่อน ชื่อของแก่งคอยมาจากการที่ว่าเรือขนส่งสินค้าล่องไปทางแม่น �้ า ป่าสักมาถึงที่นี่ และต้องเทียบเรือรอที่แก่งเพื่อคอยระดับนา �้ให้เรือแลน่ ÿ่านได้ จากนน ั้ ก็จะมีการขนส่งสินค้าขึ้นĀั่งเพื่อเปลี่ยนถ่ายไปทางรถไฟ จนทุกวันนี้เราไม่ได้ใช้เรือขนส่งสินค้าเหมือนเมื่อก่อนแล้ว แต่ logistics ก็ยังคงเป็นหัวใจหลักของแก่งคอย เราก�าลังÿลักดันให้แก่งคอยเปน็ ศูนย์กลางเศรษฐกิจใหม่ อย่างที่กล่าว ไปว่าเมืองเรามีการเติบโตของภาคอุตสาหกรรม น�ามาสู่ก�าลังซื้ออะไร ต่างๆ เกิดขึ้นในเมือง ทว่าอุตสาหกรรมในอดีตจนถึงปัจจุบันมันยังอยู่ แบบเดิม ไม่มีการพัฒนา และมันก�าลังถูก disrupt ด้วยอุตสาหกรรม ต้นทุนต�่าจากที่อื่น ฉะน ั้ นมันจึงท�าให้อุตสาหกรรมอย่างเช่นเซรามิก และวัสดุก่อสร้างหลากหลายประเภทถูกกระทบ และก็มีอุตสาหกรรมที่ ไม่ส่งÿลดีต่อสิ่งแวดล้อมในเมืองของเราเท่าไหร่ เลยคิดกันว่ามันควรจะ มีอะไรใหม่ๆ เกิดขึ้น โจทย์ก็คือเราต้องมองให้ออกก่อนว่าอะไรที่เราจะ ไป แล้วอะไรเป็นอุปสรรคที่มันล็อคเราอยู่ เพื่อจะได้ปลดล็อคมัน แล้ว หาÿู้สนับสนุนที่จะไปจุดๆ น ั้ น กลไกเมืองแห่งการเรียนรู้จึงเข้ามาช่วย ตรงนี้ได้พอสมควร ในการท�าความเข้าใจทุกองคพายพในเมืองของเรา ก่ อนจะเริ่ มโครงการเมืองแหงการเรียนรู ่ ้ดูเหมือนบริษัทได้ ขับเคลื่อนโครงการวิจัย เรื่องฟื้ นฟูตลาดเก่ าแก่ งคอยไว้ ก่ อนแล้ ว อยากให้ เล่ าถึงโครงการนี้พอสังเขป เพื่อเชื่อมโยงมาถึงโครงการปั จจุบันครับ โครงการนี้เราท�าตอนปี 2562 ครับ ตอนน ั้ นร่วมกับนักวิจัยจาก คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และสถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดยโจทย์คือการฟื้นฟูตลาดเก่าเมือง แก่งคอยให้มันมีความยั่งยืนและน่าอยู่ เราเก็บข้อมูลในพ ื้ นที่ เพื่อท�า ข้อเสนอในการรีโนเวทย่านให้กับเทศบาลเมืองแก่งคอย ให้เขาเห็น ภาพว่าถ้ามีการปรับปรุงพ ื้ นที่เชิงกายภาพ มันจะเอื้อต่อความน่าเดิน และน่าใช้งานอย่างไร นี่ก็เป็นชุดการวิจัยตอนน ั้ น ระหว่างน ั้ น บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด ก็มีการท�ากิจกรรมที่ หลากหลาย เรามีการพาตัวแทนชาวบ้านไปดูงานเมืองระยอง ไปดูรูป แบบการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เมืองเก่ายมจินดา รวมถึง มหาลัยบ้านนอก บ้านจ�ารุง ที่สร้างโมเดลของการท่องเที่ยวด้วย กระบวนการมีส่วนร่วมกับชุมชน เป็นต้น ซึ่งการไปดูงานที่ระยองน ี่ ส�าคัญกับพวกเรามาก เพราะนอกจากเราจะได้เครือข่ายเพิ่มขึ้นและ ได้ถอดบทเรียนจากการท�างานของÿู้คนที่นน ั่ เรายังได้ไอเดียเรื่องเมือง แห่งการเรียนรู้กลับมาด้วย เราเห็นว่าทางกลุ่มยมจินดาเขาขับเคลื่อนเรื่องนี้ด้วยการสร้าง กระบวนการการมีส่วนร่วมกับÿู้คนในชุมชน และเครื่องมือนี้แหละที่ จะมาช่วยขยายพ ื้ นที่จากเดิมที่เราอยู่แค่ในตลาดเก่า ให้ครอบคลุม ทั้งเขตเทศบาลเมืองแก่งคอย น ั่ นจึงเป็นเหตุÿลให้เรากลับมาขอรับ งบประมาณจาก บพท. เพื่อร่วมมือกับเทศบาล สร้างกลไกความ ร่วมมือขับเคลื่อนให้แก่งคอยเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต 23


คุณมองเห็นศักยภาพอะไรของเมือง แหงการเรียนรู ่ ้ ในการพัฒนาเมืองได้ มันคือการสร้างกระบวนการให้คนในเมืองรู้จักเมืองของตัวเองให้ดีก่อน ที่ÿ่านมา เวลาท�าโครงการวิจัยด้านสังคมจะเรื่องอะไรก็ตามแต่ ก็จะ มีนักวิจัยลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์ÿู้คนในชุมชน และน�าข้อมูลมาร้อยต่อ กันจนเห็นภาพทั้งหมด ก่อนจะหาวิธีส่งคืนชุดความรู้นี้กลับสู่ชุมชน โดยชุมชนหรือหน่วยงานท้องถิ่นจะน�าข้อมูลชุดนี้ไปท�าอะไรต่อก็แล้ว แต่ ซึ่งบ่อยครั้ง ชุดข้อมูลดังกล่าวอาจไม่ได้รับการต่อยอดหรือท�าให้ เป็นรูปธรรม แต่มองกลับกัน ถ้าÿู้คนในชุมชนซึ่งอยู่ในพื้นที่นี้อยู่แล้วได้เรียนรู้เรื่อง ราวในพื้นที่ของตัวเองอย่างรอบด้านตั้งแต่ต้น ซึ่งบางเรื่องพวกเขารู้ อยู่แล้ว แต่มองข้ามไปหรือเพราะความคุ้นชินจึงท�าให้เขาไม่สนใจ เรา เข้ามาเป็นตัวกลางสร้างกระบวนการให้เขาได้เห็นบ้านเมืองตัวเองใน เชิงลึก ให้ตระหนักถึงปัญหาและศักยภาพ สิ่งนี้จะน�ามาสู่กระบวนการ สร้างความร่วมมือพัฒนาบ้านเกิดของพวกเขาเอง ÿมมองว่าบ้านเกิดใคร ใครก็อยากเห็นการพัฒนาทั้งนั้น แต่ที่ÿ่าน มา เราอาจมองว่าเราต่างเป็นคนตัวเล็กๆ จะท�าอะไรได้ หรืออาจไม่รู้ ว่าปัญหาที่แท้จริงของเมืองเกิดจากอะไร ถ้าทุกคนได้รู้และได้เห็นว่า ถ้าร่วมมือกัน มันแก้ปัญหาได้ ตรงนี้แหละคือประเด็นส�าคัญ นั่นเป็ นที่มาของการสร้ างกิจกรรม เดินเมืองแก่ งคอย หรือ Walk & Bike Rally ที่เป็ นกิจกรรมหลักของ โครงการเมืองแหงการเรียนรู ่ ้ ใช่ครับ Walk & Bike Rally เป็น 1 ใน 5 ขั้นตอนของการด�าเนินงาน วิจัย กิจกรรมนี้เราชวนตัวแทนทุกภาคส่วน ทั้งÿู้คนในตลาด ชุมชน เอกชน หน่วยงานส่วนท้องถิ่น สถานศึกษา และอื่นๆ มาเดินและปั่น จักรยานส�ารวจเมืองกัน พร้อมกันนั้นก็เชิญÿู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา มาเป็นวิทยากรช่วยถอดรหัสเมืองของเรา หรือชี้ให้เห็นถึงแง่มุมต่างๆ ที่หลายคนอาจมองข้าม กิจกรรมนี้จัดอยู่ 4 ครั้ง ครั้งหนึ่งจะชวนตัวแทนมาร่วมกิจกรรมประมาณ 30 คน ในธีมที่แตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ ที่เลือกกิจกรรมเป็น Walk & Bike Rally เพราะเรามีเป้าหมายไว้ด้วยว่า ถ้าเราท�าให้แก่งคอยเป็น เมืองเดินได้ (walkable city) ท�าให้การเดินเท้าสะดวกสบาย มันช่วย เชื่อมโหนดทางเศรษฐกิจต่างๆ ได้ และท�าให้เมืองน่าอยู่ขึ้นด้วย แล้ วในการเดินแต่ ละครั้ ง มีประเด็น ใหคนที่เข ้ ้ าร่ วมได้ เรียนรู้ อะไรบ้ างครับ ในกิจกรรมทั้ง 4 ครั้งจะมีโจทย์และวิทยากรรับเชิญที่แตกต่างกัน ครั้ง แรกเราจัดในช่วงต้นเดือนตุลาคม 2564 ใช้ชื่อว่า ‘ค้นหาเกาะแก่งใน แก่งคอย’ ชวน รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา นายกสมาคมÿังเมืองไทย มา เป็นวิทยากร ก็ร่วมกันเดินส�ารวจกายภาพเมืองว่าในเขตเทศบาลเรามี ปัญหาอะไรบ้าง ทางเท้าไม่ต่อเนื่อง เป็นหลุมบ่อ ไม่เอื้อต่อÿู้สูงอายุและ ÿู้พิการ ให้ทุกคนได้เห็นว่าเออเมืองเรามีปัญหานะ แต่ขณะเดียวกัน ถ้า แก้ปัญหาตรงนี้ มันจะกลับท�าให้เมืองเราน่าอยู่ขึ้นด้วยเช่นกัน โดยแบ่งทีมÿู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็น 4 ทีม ทุกคนจะได้สมุด Walk Rally และเอกสารค�าใบ้ในการค้นหา Item ลับ เพื่อให้ÿู้เข้าร่วมกิจกรรม สังเกตปัญหาที่มีอยู่ในภาคพื้นที่ แล้วน�ามาสรุปประเด็นข้อคิดเห็นต่อ ปัญหาของแต่ละกลุ่ม โดยอาจารย์พนิตก็จะมาถอดบทเรียนปัญหา เรื่องทางเท้า และศักยภาพในการพัฒนาให้เมืองเราเป็นเมืองเดินได้ ในตอนท้าย กิจกรรมครั้งที่ 2 เราจัดช่วงปลายเดือนตุลาคม ใช้ชื่อว่า ‘แก่งคอย “คอย” ได้’ ม้คุณนําชัย แสนสุภา นายกสมาคมภูมิสถาปนิก ประเทศไทยมาเป็นวิทยากร รอบนี้เป็นการขี่จักรยานส�ารวจเมืองใน เชิงภูมิสถาปัตยกรรม และค้นหาของดีของเมืองเราเพื่อน�าไปต่อยอด โดยหลักๆ เราจัดกิจกรรมที่สวนสาธารณะของเมือง โดยในตอนท้ายก็ ยังมีเวิร์คช็อปให้ทุกคนไปคิดถึงรูปแบบการพัฒนาสวนสาธารณะ พื้นที่ สีเขียว และพื้นที่ริมน�้าในเมืองด้วย ส่วนกิจกรรมครั้งที่ 3 เราจัดในเดือนพฤศจิกายน ใช้ชื่อว่า ‘แก่งคอย อายุน้อยร้อยป’ ได้ คุณพรนริศ ชวนไชยสิทธิ์ นายกสมาคม อสังหาริมทรัพย์ไทย มาบรรยาย รอบนี้เป็นการเดินเพื่อค้นหา ประวัติศาสตร์เมืองแก่งคอย โดยเฉพาะการไปเยือนร้านค้าในตลาด เก่าเพื่อค้นหาถึงต้นทุนและศักยภาพการพัฒนา ในตอนท้ายกิจกรรม จะมีโจทย์ให้ÿู้เข้าร่วมแต่ละทีมได้ระดมความคิดหาแนวทางการพัฒนา ตลาดเก่า คุณพรนริศยังบรรยายถึงเกาะ Naoshima ของญี่ปุ่น เมืองเล็กๆ ที่มี ทรัพยากรทางประวัติศาสตร์คล้ายกับแก่งคอย แต่ด้วยการจัดการรูป แบบการเดินเท้าและปั่นจักรยานอย่างเป็นระบบ เกาะเล็กๆ แห่งนี้จึง สร้างเศรษฐกิจจากการท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืน ถือเป็น case study ที่ดีมากๆ และกิจกรรมเดินเท้าครั้งสุดท้าย ‘ปาสักสวัสด้’ ม้คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นวิทยากร รอบ นี้เราเดินส�ารวจเลียบแม่น�้าป่าสัก เพื่อส�ารวจจุดเด่นในการพัฒนาพื้นที่ ริมแม่น�้ามากระตุ้นเศรษฐกิจ เดินดูทั้งท่าเรือเก่าแก่ วัดแก่งคอยที่ติดกับ แม่น�้า ร้านกาแฟที่เคยเป็นโรงสีมาก่อน (โรงสีกาแฟ) เป็นต้น กิจกรรม ทั้ง 4 ครั้งก็ประมาณนี้ครับ Interview Interview 24


Interview Interview 25


อยากให้ เล่ าถึงผลตอบรับจากผู้ เข้ าร่ วม กิจกรรมหรือได้ บทเรียนอะไรเป็ นพิเศษ ที่สามารถนําไปเป็ นข้ อเสนอของการพัฒนา เมืองบ้ างครับ หลายประการเลยครับ หลักๆ คือÿู้ร่วมกิจกรรมเกือบทั้งหมดเป็นชาวแก่งคอย แต่ถึงอย่างน ั้ น ด้วยกิจวัตรประจ�าวันของแต่ละคน ส่วนใหญ่ก็แทบไม่เคยได้ เดินหรือเห็นแง่มุมหลายๆ อย่างของเมืองเราเลย การมาเดินครั้งนี้จึงท�าให้ทุก คนได้มุมมองใหม่ๆ มาแลกเปลี่ยนกัน รวมถึงได้ฟังข้อเสนอและความรู้จาก วิทยากรด้วย อย่างกิจกรรมการเดินครั้งที่ 3 ที่ส�ารวจตลาดเก่าเนี่ย เราก็คุยกัน ว่าอย่างตลาดนา �้อัมพวาหรือตลาด 100 ปีสามชุก เขาก็มีหลายอย่างเหมือนเรา แต่ประเด็นส�าคัญคือ มันไม่ใช่แค่ตัวอาคารหรือสถาปัตยกรรมเก่าที่ท�าให้พน ื้ ที่ เขาโดดเด่น แต่เปน็เพราะเขามีÿู้คนที่แอคทีฟ มีคนรุ่นใหม่มาร่วมกันสร้างสรรค์ ย่านร่วมกับคนเฒ่าคนแก่ ซึ่งแก่งคอยเรายังขาดตรงนี้ แล้วเราจะท�ายังไงดีให้ ดึงดูดคนรุ่นใหม่กลับมา หรือกิจกรรมครั้งที่ 4 ที่เราไปส�ารวจริมนา �้ เพื่อหาแนวทางฟื้นฟู ก็ได้ไอเดียเรื่อง การปรับปรุงพน ื้ ที่เพื่อไปเสนอเทศบาล เพราะเทศบาลก็เห็นศักยภาพริมแม่นา �้ ป่าสักแบบเดียวกับเรา โดยทางน ั้ นได้ให้กรมโยธาธิการและÿังเมืองมาสร้าง ทางเดินเลียบแม่น �้ า แต่มันยังเป็นทางเดินแข็งๆ เราก็เห็นว่าเราท�าให้มันสวย หรือน่าดึงดูดกว่าน ั้ นได้ เป็นต้น Interview Interview 26


อันนี้คือขั้นตอนที่ 3 ใช่ครับ ขั้นตอนที่ 4 คือการสร้างกระบวนการการเรียนรู้ให้กับเมือง เรามองถึงการหาบุคลากรคนรุ่นใหม่มาช่วยขับเคลื่อนกิจกรรมที่จะ เกิดหลังจากหมดโครงการน ี้ ลง เพื่อจะท�าให้กลไกมันเดินต่ออย่าง ยั่งยืน ÿมก็ไปคุยกับส�านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (Depa) ที่เขา มีโครงการÿลักดันนักดิจิทัลพัฒนาเมืองอยู่แล้ว เพื่อให้เทศบาลเมือง แก่งคอยได้เข้าร่วมโครงการ และก็ไปคุยกับทางเทศบาลเมืองแก่งคอย ให้ช่วยสนับสนุนค่าจ้างคนมาท�างานตรงนี้หนึ่งคน ทางบริษัท สระบุรี พัฒนาเมือง จ�ากัด ก็สนับสนุนค่าจ้างให้อีกหนึ่งคน จึงได้นักดิจิทัล พัฒนาเมืองรุ่นใหม่ที่เปน็คนแก่งคอย 2 คนมาท�างานประจ�า คอยเชื่อม ระหว่างหน่วยงานพัฒนาเมืองต่างๆ เข้ากับเทศบาล และสถานศึกษา ในพ ื้ นที่ ในการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงท�าโครงการด้าน เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ไม่ว่าจะท�าเวิร์คช็อปพัฒนาสินค้าท้องถิ่น ท�าสื่อ หรืออะไรก็ตาม และขั้นตอนที่ 5 คือการส่งต่อชุดข้อมูลสู่แÿนบริหารจัดการเมืองรวม ถึงแÿนธุรกิจ เราก็มีบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด, บริษัท แก่งคอย เน็กซ์ จ�ากัด, กลุ่มตลาดท่าน �้ าแก่งคอย, กลุ่มหอการค้าแก่งคอย และ เครือข่ายอื่นๆ น�าข้อมูลที่ได้ไปหาทางเพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการ ในเมืองของเราอยู่แล้ว รวมไปถึงเชื่อมไปยังกลุ่ม OTOP ของ 16 ชุมชน ในเขตเทศบาลแก่งคอยด้วย และอีกส่วนที่ส�าคัญ คือการส่งแÿนแม่บทการพัฒนาแก่เทศบาลเมือง แก่งคอย ต้นเดือนเมษายนที่ÿ่านมา ทางสระบุรีพัฒนาเมืองก็ได้ท�า MOU กับทางเทศบาลในการพัฒนาเมืองน่าอยู่ในกรอบของสมาร์ท ซิตี้ร่วมกัน ทีนี้ข้อเสนอจากงานวิจัยของเราก็สามารถเข้าไปเป็นส่วน หนึ่งของการก�าหนดนโยบายของภาครัฐได้ นอกจากนี้ พอÿมน�าแÿน นี้และน�าไปคุยกับทางเทศบาลเมืองสระบุรี ทางน ั้ นเขาก็สนใจ และมี แÿนจะท�างานร่วมกันต่อไปในอนาคต คุณมีวิธีการโน้ มน้ าวเพื่อสร้ าง ความร่ วมมือกับหน่ วยงานท้ องถิ่ นอย่ างไร เรามีข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยและข้อเสนอไปเสนอแล้ว และอย่าลืมว่า เราท�างานในฐานะบริษัท จึงมีแÿนธุรกิจที่ชัดเจน มีการแจกแจงว่า เทศบาลจะต้องหางบมาสนับสนุนโครงการตรงไหนอย่างไร บริษัทเรา สนับสนุนตรงไหนอย่างไร ภาพมันจึงเคลียร์ อย่างไรก็ดี แÿนที่เราวาง ไว้คือการพัฒนาเมืองเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจให้กลับมาฟื้นตัวอีกครั้ง ซึ่งยังถือเป็นภาพย่อย ในภาพใหญ่ที่เราตั้งใจไว้คือการท�าให้สระบุรี ทั้งเมืองเป็นหุบเขาอาหาร (Food Valley) ของประเทศไทย เป็นพ ื้ นที่ อุตสาหกรรมความมั่นคงทางอาหาร ซึ่งด้วยท�าเลที่ตั้ง ศักยภาพที่เรา มี พ ื้ นที่ทั้งทางด้านอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม เราพร้อมหมด เมื่อเดือนมกราคมที่ÿ่านมา บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด ก็เพิ่งเซ็น MOU กับÿู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรี ในโครงการศึกษาความเป็นไปได้ ในการลงทุนและยกระดับให้สระบุรีเปน็ หุบเขาอาหารทั้งจังหวัด ซึ่งÿม คิดว่าอีก 5-10 ปีข้างหน้า มันเป็นไปได้ Interview Interview เข้ าใจว่ ากิจกรรมเดินเมืองเป็ นขั้นตอนหนึ่ง ของโครงการวิจัย เลยอยากให้ เล่ าถึงขั้น ตอนต่ อจากนั้นใหฟั งดัวยครับ ้ ใช่ครับ กิจกรรมเดินเมืองอยู่ในขั้นตอนที่ 2 โดยขั้นตอนแรกคือการท�า local study ศึกษาข้อมูลของเมืองÿ่านการท�าสัมภาษณ์และเอกสาร ส่วนขั้นตอนที่ 3 ที่ต่อจากการเดินเมืองคือการสร้างพ ื้ นที่การเรียนรู้ ซึ่งเราก็ไม่ได้ไปสร้างพ ื้ นที่ใหม่จากไหน นอกจากเอาที่ที่มีอยู่แล้วมา พัฒนา อย่างอาคารที่เรานั่งคุยอยู่ตรงนี้ (ห้องนั่งเล่นแก่งคอย) ซึ่งแต่เดิมเป็น ร้านขายวัสดุก่อสร้างของครอบครัวÿม พอไม่ท�ากิจการนี้แล้ว ÿมเลย ขอใช้พ ื้ นที่ รีโนเวทให้กลายเป็นห้องประชุมเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกิดขึ้น ในเมือง หรือเวลารับแขกที่เป็นทีมนักวิชาการหรือนักพัฒนา เราก็เปิด พ ื้ นที่นี้รองรับ กับอีกจุดหนึ่งคือ บ้านไม้แก่งคอยในตลาดท่านา �้แก่งคอย ตรงนี้เปน็จุด ที่เราพยายามจะสร้างเศรษฐกิจใหม่ในย่านการค้าเก่าแก่ที่มันซบเซา ลงไปแล้ว ก็ได้ÿู้ประกอบการในแก่งคอยร่วมลงขันตั้งบริษัท แก่งคอย เน็กซ์ จ�ากัด ขึ้นมา และเช่าตึกไม้ในตลาดมารีโนเวท ท�าในนาม มหาลัย แก่งคอย กลุ่มที่คอยขับเคลื่อนกิจกรรมด้านการเรียนรู้ต่างๆ โดยบ้าน ไม้นี้เราได้ท�าพน ื้ ที่ส่วนหนึ่งเปนน็ ิทรรศการที่บอกเล่าเรื่องราวของเมือง ห้องหนึ่งแสดงรูปถ่ายเก่าๆ และมีที่นั่งประชุม โดยอีกส่วนก็ชักชวน คนในชุมชนมาท�าตลาดถนนคนอยากเดินขึ้น ก็ได้รับÿลตอบรับค่อน ข้างดีครับ เพียงแต่พอท�าไปสักพัก โควิด-19 ก็กลับมาระบาดอีกครั้ง เลยต้องพักไป เพิ่งจะกลับมาจัดอีกครั้งร่วมกับงานแก่งคอยย้อนรอย สงครามโลกครั้งนี้ (สัมภาษณ์เมื่อเดือนเมษายน 2566 - ÿู้เรียบเรียง) ภาพใหญ่ ที่เราตั้ งใจไว้ คือ การทําให้ สระบุรีเป็ นหุบเขาอาหาร (Food Valley) ของไทย เป็ นพื้นที่อุตสาหกรรม ความมั่ นคงทางอาหาร ซึ่งด้ วยทําเลที่ตั้ งและศักยภาพ ที่เรามีสระบุรีพร้ อมหมด 27


กลับมาที่แก่ งคอย ตอนนี้เราได้ ทํา MOU ร่ วมกันพัฒนาเมืองกับ เทศบาลแล้ วเลยอยากรู้ ว่ าถ้ ามองในมุมของคนแก่ งคอย พวกเขา ควรไดรับการสนับสนุนการเรียนรู ้ด้ านไหนเป็ นพิเศษเพื่อให ้ สอดรับ ้กับการพัฒนาเมืองครับ Interview Interview น่าจะเรื่องการท�ามาหากินเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจครับ ท�ายังไงให้สินค้าและบริการของเรามันตอบโจทย์กับ ÿู้บริโภคในยุคปัจจุบันและในอนาคตได้ เราจะ transform ต้นทุนที่เรามียังไง นี่แหละส�าคัญ และก็เปน็ โจทย์ ที่ท้าทายต่อคนแก่งคอยเหมือนกัน เนื่องจากที่ÿ่านมา พอเมืองมันกระจายตัวมากขึ้น ตลาดก็กระจายตาม คนที่ท�างานโรงงานที่เปนล็ ูกค้าหลักของพ่อค้าแม่ค้าในตลาดดั้งเดิมก็ลดน้อยลง ส่วนเศรษฐกิจด้านการท่อง เที่ยว ตอนนี้เรามีวัดแก่งคอยที่เขาหันไปโฟกัสกับถ�้านาคาเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวสายมู ก็ได้รับความนิยมสูง ทีเดียว แต่ÿมไม่มั่นใจว่าสิ่งนี้ (ความเชื่อสายมู) จะยั่งยืนอะไรต่อเมือง กลไกเมืองแห่งการเรียนรู้ที่เราท�าอยู่ ส่วนหนึ่งมันก็ท�าให้คนแก่งคอยได้เห็นนะว่าเมืองเรามีต้นทุนอะไรบ้างที่มากกว่าที่เป็นอยู่ และเราจะหาวิธี เพิ่มมูลค่าหรือสร้างแรงดึงดูดให้นักท่องเที่ยวแวะเข้ามายังไง อันนี้ก็ต้องคุยกันต่อไป กับอีกเรื่องคือ การเรียนรู้ว่าจะท�าอย่างไรให้คนรุ่นใหม่หรือลูกหลานของเรากลับมาช่วยพัฒนาเมือง เราควร เรียกร้องเรื่องอะไร หรือเราควรจะต้องร่วมกันท�าอะไร ที่ไม่ใช่แค่เรื่องการท�าธุรกิจ ถ้าเกิดเราสร้าง community มี learning space อะไรต่างๆ เพื่อเปิดให้เห็นถึงโอกาสใหม่ๆ ในการท�างานหรือการอยู่อาศัยในบ้านเกิด ก็ น่าจะสร้างแนวโน้มที่ดีได้เช่นกัน 28


คําถามสุดท้ าย เข้ าใจว่ างานแก่ งคอย ย้ อนรอยสงครามโลก ซึ่งปี นี้จัดเป็ นครั้ งที่ 12 ส่ วนหนึ่งมาจากความคิดของคุณด้ วย นี่เป็ นตัวอย่ างของการนําต้ นทุนของ การเรียนรู้ เกี่ยวกับเมืองมาใช้ เป็ นเครื่อง มือขับเคลื่อนเศรษฐกิจอย่ างที่คุณอยาก ให้ เป็ นด้ วยใช่ ไหมครับ ใช่ครับ งานนี้ไม่ได้ท�าในฐานะบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด แต่เป็นงานที่ÿมร่วมท�าในฐานะตัวแทนของหอการค้าจังหวัดสระบุรี ซึ่งร่วมมือกับทางเทศบาลเมืองแก่งคอย และองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสระบุรี ปีนี้จัดเป็นครั้งที่ 12 แล้ว แต่เดิมเนี่ย ทุกๆ วันที่ 2 เมษายน คนแก่งคอยเขาจะจัดพิธีร�าลึก ÿู้เสียชีวิตในสงครามโลกที่วัดแก่งคอยกันอยู่แล้ว หอการค้าฯ ก็เลยมา คิดกันว่า ในเมื่อเรามีต้นทุนทางประวัติศาสตร์ ก็น่าจะใช้เปน็จุดขายดึง ให้คนมาเที่ยวและรู้จักแก่งคอยให้มากขึ้น จึงนา� มาซึ่งการริเริ่มจัดถนน วัฒนธรรม ชวนคนร่วมงานให้แต่งตัวย้อนยุค และสร้างบรรยากาศให้ เหมือนได้มาเดินตลาดย้อนยุค น�าคนเฒ่าคนแก่ที่ยังทันเหตุการณ์ขึ้น เวทีบอกเล่าประสบการณ์ ขณะที่ทาง อบจ. เขาก็ไปจ้างทีมแสงสีเสียง มาท�าโชว์บอกเล่าประวัติศาสตร์ตรงเวทีริมแม่น �้ า และมันก็ประจวบเหมาะกับช่วงก่อนที่เราจะจัดงานปีแรก ย่านการ ค้าในเมืองมันซบเซา งานนี้เลยน่าจะช่วยสร้างชีวิตชีวาให้ย่านด้วย ÿมกับทีมงานจึงไประดมหาสปอนเซอร์จากคนในตลาดนี่แหละ เพื่อท�าให้งานมันเกิดขึ้นมาได้ อย่างไรก็ตาม ปีแรกÿู้ประกอบการบางร้านเขาก็ไม่โอเค เพราะเรา ต้องปิดถนนหน้าร้านเขา ก็โดนต่อต้านเหมือนกัน แต่พอจัดขึ้นปีที่สอง เสียงที่เคยต่อต้านก็ค่อยๆ หายไปแล้ว เพราะพอจัดงาน ตลาดมันก็ กลับมาคึกคัก เขาก็พลอยขายของได้ด้วย จากพิธีกรรมเลยกลายเป็ นเทศกาล ประจําปี ขึ้นมาเลย เอาจริงๆ เลยนะ หลังจากจัดงานมา 4 ปี ส่วนตัวÿมมองว่ามันอาจ พอได้แล้ว เพราะคิดว่าการจัดงานอาจไม่สามารถกระตุ้นเศรษฐกิจใน ระยะยาวได้มากเท่าที่ควร แต่ก็มีอีกหลายเสียงบอกว่าอยากให้จัดต่อ ไป อยากให้มันเปนป็ระเพณีของแก่งคอยไปเลย ก็เลยโหวตกันปรากฏ ว่าเสียงที่บอกว่าอยากให้จัดต่อชนะ เนื่องจากเราท�างานด้วยการเคารพ เสียงส่วนใหญ่ เลยจัดต่อร่วมกัน ซึ่งมาคิดทีหลังอีกครั้ง ก็พบว่าดีแล้วที่ได้จัดต่อ เพราะเมื่อÿมได้ฟัง เสียงสะท้อนแม่ค้าพ่อค้าหลายรายที่เป็นคนแก่งคอยและมาออกร้าน ตั้งแÿงขายของในงาน เขาบอกว่าทุกครั้งที่จัดงาน หนึ่งเขาได้ค่าเทอมลูก สองได้จ่ายค่าเช่าบ้าน หรือเคลียร์หนี้ต่างๆ ซึ่งตรงนี้ÿมไม่เคยคิดมา ก่อน จัดงานครั้งนึงมีคนมาเดินเป็นหมื่น บางร้านวันหนึ่งขายได้ถึง สองหมื่นก็มี ก็เลยเห็นว่าเปนป็ระเพณีประจ�าปีแล้วไม่มีÿู้ประกอบการ ในเมืองคนไหนต่อต้าน ก็น่าจะดีเหมือนกัน ขณะเดียวกัน ในฐานะที่เราท�าบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด รวมถึง กลุ่มมหาลัยแก่งคอย เราก็พยายามร่วมกับภาคส่วนต่างๆ หาจุดขาย ใหม่ๆ หรือกิจกรรมทางการท่องเที่ยวใหม่ๆ เพื่อช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ให้เมืองแก่งคอยเกิดความยั่งยืนต่อไปด้วยเช่นกัน Interview Interview 29


แก่ งคอย - สระบุรี 30


31


จําเนียร โกจันทึก ประธานวิสาหกิจชุมชน กลุ่ มแม่ บ้ านเกษตรกรบ้ านป่ า “พี่เป็ นคนอยุธยา แต่ สามีเป็ นคนแก่ งคอย พอแต่ งงานกัน ก็เลยย้ ายมาอยู่ ที่นี่ มาช่ วย สามีทํากระชังปลาที่ตําบลบ้ านป่ า (พงศ์ ศักดิ์ แพปลา) สามีพี่ท�าแพปลาจนอยู่ตัวและส่งลูกเรียนจนจบหมด พี่ก็เริ่มมีเวลาว่าง เลยชวนแม่บ้านมาตั้งกลุ่มสัมมาชีพ ชุมชนด้วยกัน เพราะเห็นว่าแต่ละคนก็มีทักษะการท�า ขนม เลยเอาความรู้มาแบ่งปันกัน และท�ากลุ่มท�าขนมส่ง ขายตามที่ต่างๆ เราตั้งกลุ่มในปี 2561 มีสมาชิก 47 คน แต่หลักๆ จะมีแม่บ้านหมุนเวียนมาท�าขนมราวๆ 6-7 คน ท�าขนมไทยค่ะ ทองหยิบ ทองหยอด เม็ดขนุน ขนมชั้น ขนมเปียกปูน ข้าวเหนียวสังขยา และอื่นๆ พวกขนมสด นี่เราจะไม่ได้วางขายที่ไหน ท�าตามออร์เดอร์เป็นหลัก เช่นท�าเป็นของว่างส�าหรับงานสัมมนาหรือประชุม ท�าให้ เจ้าภาพไปแจกในงานบุญ เป็นต้น ส่วนขนมแห้งที่เก็บ ไว้ได้นานหน่อย เช่น ทองม้วน ดอกจอก โรตีกรอบ นี่ จะท�าขายโดยĀากขายตามร้านต่างๆ ในแก่งคอยและ อ�าเภอใกล้เคียง ถ้าขนมตัวไหนหมด เราก็จะมารวมกัน ท�าด้วยกันที่นี่ ตรงนี้เดิมเป็นศูนย์เกษตรชุมชน แต่ทางศูนย์เขาไม่ได้ ด�าเนินการต่อ หน่วยงานราชการท้องถิ่นเขาเลยชวนกลุ่ม พี่มาใช้พื้นที่ตรงนี้เพื่อท�าขนม ก็จะมาเจอกันที่นี่ ไม่ได้ท�า ทุกวันค่ะ ถ้ามีออร์เดอร์เราถึงจะมา หรือขนมแห้งตัวไหน หมด เราก็นัดกันเข้ามาท�า ขนมขายได้เท่าไหร่ เราก็แบ่งให้คนท�าเท่าๆ กัน โดยส่วน หนึ่งก็แบ่งเข้ากลุ่มส�าหรับค่าน�้าไฟหรืออื่นๆ ไม่ใช่เงินที่ เยอะอะไร แต่ก็พอเป็นรายได้เสริมให้แม่บ้านทุกคน แต่ ส�าคัญกว่านั้น คือการที่เรามีพื้นที่และมีกิจกรรมให้ท�าร่วม กัน เหมือนมาเจอเพื่อน มาคุยเล่นกัน ไม่เหงาดี ทุกวันนี้กลุ่มสัมมาชีพชุมชนเราได้งบจากส�านักงาน เกษตรอ�าเภอแก่งคอยมาขับเคลื่อนด้วย และขยับมา เป็น ‘วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านป่า’ เลย ได้โอกาสเป็นที่ศึกษาดูงานให้กับกลุ่มอื่นๆ หรือถ้ามีงบ ประมาณมา เขาก็จะพากลุ่มเราไปศึกษาดูงานวิสาหกิจ ชุมชนอื่นด้วย ก็ได้เรียนรู้วิธีการท�างานหรือการหาช่อง ทางการตลาดของชุมชนอื่นไปพร้อมกันด้วย เป็นประโย ชน์มากๆ พี่มีลูกสองคน คนโตแต่งงานไปอยู่กับครอบครัวเขาที่ อยุธยา ส่วนลูกคนเล็กเป็นพนักงานองค์การบริหารส่วน ต�าบล และก็ช่วยพ่อเขาท�ากระชังปลา ถามว่าแก่งคอย ในมุมพี่เป็นยังไง? จริงๆ ถ้าไม่ได้แต่งงานมาอยู่ที่นี่ พี่ก็ ไม่คิดจะมาอยู่เลยนะ เพราะไม่รู้จะมาท�าไม แต่พอมา อยู่แล้วก็ÿูกพัน แก่งคอยน่าอยู่นะ ถึงเมืองมันมีโรงงานอุตสาหกรรมเยอะ แต่ก็มีป่า มีภูเขา มีพื้นที่ธรรมชาติไม่น้อยไปกว่ากัน ขณะ เดียวกัน พอเป็นเมืองอุตสาหกรรม มันก็ท�าให้เราหากิน ง่าย ÿู้คนมีก�าลังซื้อ และถ้าให้เปรียบกับบ้านเกิดพี่ที่ อยุธยา พี่ชอบแก่งคอยมากกว่า เมืองมันสงบ ไม่วุ่นวายดี และหน่วยงานท้องถิ่นที่นี่เขาค่อนข้างแอคทีฟ ทั้งภาครัฐ และเอกชนเขามีโครงการมาส่งเสริมอาชีพชาวบ้านเยอะ ดี ช่วยหาตลาด หรือส่งเสริมเรื่องการท�ามาหากินให้เรา ถึงเมืองมันสงบ แต่ก็ไม่เงียบเหงา” แก ่ งคอยเป็ นเมืองที่สงบ แต ่ ก็ไม่ เงียบเหงา People People 32


People People 33


ชวลิต โยธานารถ เจา้ของร้ าน Café 33 https://www.facebook.com/mycafe33 ผมไม่ ได้ คิดอะไรซับซ้ อน อยากให้ บ้ านเรามีบรรยากาศแบบไหน ก็ลงมือทําให้ มีแบบนั้ น People People 34


“ผมเรียนจบด้ าน ไอที โดยทํางานอยู่ กรุงเทพฯ ต่ ออีกประมาณ 2 ปี แล้ ววัน หนึ่ง ผมก็บอกแม่ ว่ าอยากกลับมาทําธุรกิจ รานกาแฟที่บ ้ ้ าน แม่รีบปฏิเสธ เขาอยากให้ÿมท�างานในสายที่เรียนมา มากกว่า เพราะเห็นว่าเป็นงานที่มั่นคงดี จะกลับมาเสี่ยง ดวงกับการเปิดธุรกิจที่เราไม่เคยท�าที่นี่ท�าไม แต่ÿมก็ยัง ยืนยันค�าเดิม จ�าได้ว่าช่วงที่ท�าร้าน แม่ไม่เข้ามาดูเลย กว่า จะมาก็ตอนร้านเปิด ท�าไมจึงอยากกลับมาอยู่ที่นี่หรือครับ? ÿมÿูกพันกับ แก่งคอย ความทรงจ�าดีๆ อยู่ที่ไหน เราก็อยากอยู่ที่นั่น และ คิดว่าเมืองนี้มันยังมีโอกาสในการท�าธุรกิจอีกพอสมควร ตอนที่ตัดสินใจจะกลับมาอยู่คือเมื่อ 9 ปีที่แล้ว แก่งคอย แทบไม่มีร้านกาแฟสด มีก็แค่โรงสีกาแฟของพี่ต้อม (นพพล ธรรมวิวัฒน์) คิดว่าถ้าเปิดในแบบของเราอีกร้านก็น่าจะมี ลูกค้า และเอาจริงๆ ตอนนั้นค่อนข้างไฟแรง ไม่ได้คิดอะไร ซับซ้อน อยากให้บ้านเรามีบรรยากาศแบบไหน ก็ลงมือ ท�าให้มีแบบนั้น Café 33 มาจากบ้านเลขที่ของอาคารหลังนี้คือ 33 ÿมยัง เกิดปี 2533 และมีชื่อเล่นชื่อเอ็ม (M) ที่เมื่อเอียงข้างก็ออก มาเป็นเลข 3 มันพ้องกันหมด ก็เลยตั้งชื่อนี้… ÿมไม่ซื้อหวย ครับ ไม่แน่ใจว่าเลขนี้ออกไปหรือยัง (ยิ้ม) ตอนเปิดแรกๆ ก็เหนื่อยหน่อย อย่างที่บอกว่าร้านกาแฟเมื่อ 9 ปีที่แล้ว มันใหม่มากๆ คนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจว่าท�าไม ต้องกินกาแฟราคาสูงกว่ากาแฟที่สามารถชงเองที่บ้านได้ ไหนจะเรื่องความขม ความเปรี้ยวของรสอีก ก็ค่อยๆ ขาย ไป ดีหน่อยที่ได้ลูกค้าเป็นคนท�างานโรงงานรอบๆ แก่งคอย ก็เลยพอถูไถ จนขึ้นปีที่สามถึงลงตัว มั่นใจว่าอยู่ได้ล่ะ อย่างที่บอกครับว่าลูกค้าหลักคือคนท�างานโรงงานรอบๆ ส่วนใหญ่เป็นคนเจนวายที่มองหาสถานที่พักÿ่อนหรือนั่ง เล่น นักท่องเที่ยวก็เยอะรองลงมา ซึ่งก็ได้มาจากโซเชียลมี เดียที่มีคนมารีวิวต่อๆ ไป หรือกลุ่มคนที่แวะพักแก่งคอยสัก แป๊บนึงก่อนเดินทางต่อไปเขาใหญ่หรืออีสาน คนแก่งคอย เองยังถือว่าน้อยครับ แต่ก็พอมีลูกค้าประจ�าในเมืองบ้าง ÿมใช้เมล็ดกาแฟหลักจากจอมทอง เชียงใหม่ และก็มีของ ต่างประเทศอย่างเอธิโอเปียและบราซิลด้วย ตอนแรกก็ รับกาแฟจากโรงคั่วมา จนราว 5 ปีก่อนก็ท�าโรงคั่วของตัว เองไว้ที่ร้าน จะได้ควบคุมคุณภาพหรือลองท�าอะไรใหม่ๆ บ้าง โดยนอกจากกาแฟก็มีขนมเค้กครับ ÿมอยู่กับแฟนแค่ สองคน เลยไม่คิดถึงการขายอาหาร เราถนัดกาแฟกับเค้ก มากกว่า ร้านก็ไม่ได้ใหญ่มาก เท่านี้จึงเอาอยู่ คราฟท์เบียร์นี่เอาไว้ดื่มเองมากกว่าครับ (หัวเราะ) แต่ เร็วๆ นี้ มีแÿนจะเปิดบาร์ช่วงเย็น ร้านที่ติดกันนี้เลย ก�าลัง ก่อสร้างอยู่ ก็คิดว่าได้ลูกค้ากลุ่มเจนวายที่ท�างานโรงงาน นี่แหละครับ เป็นที่ÿ่อนคลาย ที่ฟังเพลงตอนเย็น ท�าไมคนรุ่นใหม่ในเมืองน้อย? เรื่องนี้เข้าใจได้ เพราะเมือง ไม่มีงานหรือพื้นที่ให้เขาน่ะครับ แต่ถ้ารอบนอกเมือง ก็มี คนรุ่นใหม่ท�างานโรงงานอยู่เยอะนะครับ เพื่อนÿมที่เรียน มัธยมด้วยกันที่แก่งคอย 4-5 คน เขาก็กลับมาท�างานที่นี่ หมด ท�างานการไฟฟ้าบ้าง เครือซีเมนต์ไทยบ้าง หรือท�า ธุรกิจส่วนตัว เอาจริงๆ คนรุ่นใหม่ก็ไม่น้อยนะครับ เพียง แต่ในย่านตัวเมืองยังไม่ค่อยมีสถานที่ให้คนกลุ่มนี้ได้ใช้ ประโยชน์หรือมีกิจกรรมอะไรให้พวกเขาท�ามากกว่า และเพราะย่านใจกลางเมืองไม่มีพื้นที่ คนรุ่นใหม่ก็ไม่อยู่ กัน เมืองมันจึงขาดแรงÿลักดัน ทั้งที่อันที่จริงเรามีต้นทุน ที่สามารถขับเคลื่อนหรือต่อยอดไปได้มากกว่านี้ อย่างไร ก็ตาม พักหลังๆ มาก็เห็นแนวโน้มที่ดีนะครับ มีภาคเอกชน ที่รวมตัวกันพยายามโปรโมทเรื่องการท่องเที่ยว มีเทศกาล ใหม่ๆ ขึ้นมาสร้างสีสัน ลูกค้าร้านกาแฟÿมหลายรายเขา มาจากที่อื่นเพื่อที่จะไปปีนเขาที่แก่งคอย หรือที่ต�าบล ชะอมก็ก�าลังเป็นจุดหมายใหม่ของกิจกรรมแคมป์ปิ้ง ซึ่ง ได้รับความนิยมมาก ส�าหรับÿม แก่งคอยมาเที่ยวได้เรื่อยๆ นะ ไม่ไปธรรมชาติ ก็มีบรรยากาศสงบๆ ริมแม่น�้าป่าสักในเมืองได้พักÿ่อน อย่างร้านÿมขายมา 9 ปี ก็ยังไม่เจอฤดูกาลไหนที่เป็น โลว์ซีซั่นจริงๆ บางช่วงอาจเงียบหน่อย แต่ก็พอจะไหล ไปได้เรื่อยๆ ถ้าโลว์จริงๆ ก็น่าจะเป็นวันที่ 1 และ 16 ของ ทุกเดือนมากกว่า เพราะความที่ลูกค้าเป็นคนท�างาน โรงงานเสียเยอะ ช่วงนั้นเขาอาจจะลุ้นรางวัลอยู่บ้านหรือ ที่ออฟฟิศ มีหลายครอบครัวที่อยากให้ลูกหลานกลับมาอยู่ด้วยกัน ที่บ้านตอนที่พ่อแม่แก่ชรา แต่ÿมก็เห็นหลายครอบครัว กว่าลูกหลานจะกลับมาได้ ก็อาจสายไปแล้วหรือมีเวลา อยู่ด้วยกันน้อยเกินไป ส่วนตัวของÿม ไม่ต้องรอวันนั้น เลยครับ ทุกวันนี้ได้กลับมาท�างานที่รักและใช้เวลากับที่ บ้าน ถ้าเกิดใครคนหนึ่งต้องจากไปก่อน ÿมไม่เสียดาย เลย เพราะได้กลับมาดูแลและใช้เวลาร่วมกันกับเขาตอน ที่ยังแข็งแรงอยู่ ตอนนี้ÿมมีลูกแล้ว คิดว่าจะให้เขาเรียนที่นี่ก่อน ส่วนใน อนาคตเขาอยากเรียนต่อหรือท�างานที่ไหนก็เรื่องของเขา ไม่ได้จะบังคับอะไร แต่ส�าหรับÿม ÿมตั้งใจจะอยู่ที่นี่จน บั้นปลาย ไม่ไปไหนแล้ว” People People 35


“บางครั้ งผมรู้ สึกเหมือนตลาดแก่ งคอย มีรูปแบบเหมือนกรุงเทพฯ ตรงที่หาที่จอดรถยากมาก และถ้ าคุณมาทําธุระในเมือง คุณต้ องใช้ วิธีวนรถ ให้ เพื่อนลงไปทําธุระ และคุณขับไป หาที่จอดที่อื่นรอก่ อน” “ผมเปน็ ÿู้รับเหมามาก่อน ท�าได้พักใหญ่ๆ ก็กลับมาสานต่อธุรกิจ ของแม่ที่แก่งคอย เป็นรุ่นสอง ร้านทองร้านนี้เริ่มโดยคุณแม่ แม่เป็น คนไทยเชื้อสายจีนที่เกิดในแก่งคอย ตอนเด็กๆ แกเคยเล่าให้ฟังว่ายัง วิ่งหนีลูกระเบิดอยู่เลย หลังสงครามโลกสิ้นสุด ÿู้คนที่รอดชีวิตในสมัย น ั้ นก็มาเริ่มธุรกิจจากศูนย์กันใหม่ๆ แม่ก็เริ่มท�างานหลากหลายจนได้ มาเปิดร้านทอง ลูกค้าหลักๆ คือคนแก่งคอยและอ�าเภอใกล้เคียง ทั้งÿู้ประกอบการใน ตลาด ข้าราชการ รวมถึงคนท�างานโรงงานรอบๆ ÿมก็จะไปเลือกทองค�า รูปพรรณจากร้านขายส่งที่เยาวราช พิจารณาจากความนิยมของคนที่นี่ และน�ามาวางขายที่ร้าน ข้อได้เปรียบของการขายทองคือต่อให้เศรษฐกิจแย่ยังไง ถึงก�าลังซื้อ ลดลง แต่มันก็ยังคงเป็นที่ต้องการ ถ้าช่วงไหนเศรษฐกิจแย่ คนก็จะซื้อ น้อยลงและเลือกมาขายกับร้านมากขึ้นเพื่อเอาเงินสดไปหมุนเวียน หรือ บางคนถูกล็อตเตอรี่ เขาก็จะเลือกซื้อทองเพื่อสะสมหรือมองว่าเปน็การ ลงทุน ราคาทองจะขึ้น-ลงตามราคาตลาดโลก และมันไม่ได้ซื้อขายกัน แค่ในท้องถิ่น อย่างช่วงไหนทองมีราคาถูกลง ต่างประเทศเขาก็มารับซื้อ ที่ร้านขายส่ง ซื้อ-ขายทองก็เหมือนน �้ าที่เทกันไปเทกันมา ช่วงที่ขายดีที่สุดน่าจะเปน็ช่วงสมัยรัฐบาลชาติชาย ชุณหวัณ หรือก่อน ฟองสบู่แตกครับ ตอนนน ั้ ราคาทองไม่แพง บาทละหกถึงเจ็ดพนั บาทได้ แล้วเศรษฐกิจโดยรวมดี โรงงานในสระบุรีดีมากๆ ร้านเราได้ลูกค้ากลุ่ม โรงงานเยอะ หรือก่อนที่ÿมจะมาท�าร้านนี้ แม่เล่าว่าสมัยที่ÿู้คนนิยมเดิน ทางด้วยรถไฟ และเขายังขนส่งพืชไร่ทางเรือมาลงท่าน �้ าแก่งคอยอยู่ ทองที่ร้านก็ขายดี เพราะÿู้ประกอบการหลายครอบครัว เขาเอาพืชไร่ มาส่งหรือมาขายที่นี่ ได้เงินสดกลับไป เขาก็จะเอาบางส่วนไปซื้อทอง เพื่อสะสมหรือเก็งก�าไร และร้านเราอยู่บนถนนหน้าสถานีรถไฟที่เชื่อม ไปยังท่าน �้ าด้วย เลยได้ขายไปด้วย ส่วนช่วงนี้เงียบลงเยอะครับ เข้าใจว่าเศรษฐกิจไม่ดี และพอเมืองมัน ขยาย ก็มีร้านทองใหม่ๆ มาเปิดรอบนอก ดักคนท�างานโรงงานไว้ แต่ เราดีหน่อยที่มีลูกค้าประจ�า ก็พอได้อยู่ ถามว่าปัญหาของเมืองคืออะไร ถ้ามองแค่ในเขตเทศบาลแก่งคอยที่ÿม อยู่ หลักๆ ก็เรื่องเศรษฐกิจซบเซา ทั้งจากเศรษฐกิจภาพรวมและÿู้คน ย้ายออกไปอยู่ที่อื่นเสียเยอะ หรือเลือกที่จะไปจับจ่ายใช้สอยในตลาด หรือศูนย์การค้าใหม่ๆ รอบนอก ถ้าใกล้ตัวลงมาหน่อยก็เรื่องที่จอดรถ เพราะแก่งคอยมันเป็นเมืองที่ โตมาในยุคที่คนยังไม่มีรถส่วนตัวกันเยอะเหมือนทุกวันนี้ ย่านตลาด และย่านการค้าจึงมีที่จอดรถไม่เพียงพอ แถมเราก็ยังไม่มีระบบขนส่ง มวลชนด้วย อันนี้เปนป็ ัจจัยหลักที่ท�าให้ชาวแก่งคอยนอกเขตเทศบาล หลายคน ตัดสินใจไม่เข้ามาซื้อของในตลาดถ้าไม่จ�าเป็น เพราะเขา มีทางเลือกอยู่รอบนอกหมดแล้ว และพอเข้ามาหาที่จอดรถไม่ได้อีก เขาก็เซ็งกัน ในขณะเดียวกัน ÿู้ประกอบการที่เปน็ เจ้าของตึกในย่านเขาก็เลือกที่จะ จอดรถส่วนตัวไว้ริมถนนหน้าบ้านตัวเอง ลูกค้ามาก็หาที่จอดรถไม่ได้ อีก บางครั้งÿมรู้สึกเหมือนที่นี่เป็นกรุงเทพฯ ในแง่ที่ว่า ถ้าคุณจะขับรถ มาซื้อของหรือท�าธุระในเมือง พอหาที่จอดรถไม่ได้ คุณก็จะส่งคนที่มา ด้วยลงไปท�าธุระ และคนขับก็วิ่งวนไปหาที่จอดที่อื่นไกลๆ เพื่อรอให้อีก คนท�าธุระเสร็จ ค่อยวนกลับมาเข้ามารับในตลาด อันนี้ส่วนหนึ่งก็ต้องโทษÿู้ประกอบการเราเองด้วย หลายบ้านเขาก็จอด รถตายไว้ในตลาดเลย ลูกค้ามา เขาก็หาที่จอดไม่ได้ เรื่องนี้เป็นปัญหา เรื้อรังมานาน เทศบาลก็เคยชวนชาวบ้านมาคุยกันเรื่องการจัดสรรที่ จอดรถ แต่ก็ยังไม่เห็นÿลอะไร แต่ก็เข้าใจได้ บางคนมีบ้านหลังเดียวในตลาด เขาก็ไม่รู้จะไปจอด ไว้ตรงไหน ÿมดีหน่อยที่มีบ้านอีกหลังที่มีที่จอดรถ ปกติก็จะใช้ มอเตอร์ไซค์ขี่มากับภรรยามาเปิดร้าน ไปไหนมาไหนก็ใช้มอเตอร์ไซค์ ถ้าจ�าเป็นต้องใช้รถ ก็ขี่มอเตอร์ไซค์ไปเปลี่ยนที่บ้านหลังน ั้ น แต่น ั่ นล่ะ หลายคนไม่ได้มีทางเลือกแบบนี้ ÿมจึงคิดว่าถ้าเทศบาลคิดถึงการท�า ที่จอดรถกลางและมีรถรับ-ส่ง ก็อาจช่วยบรรเทาปัญหานี้ไปได้เยอะ” People People 36


จงรักษ์แสงพัธสีมา เจา้ของร้ านทอง ‘หา้งทองปราณี’ People People 37


คุณยายสดสีโภคสุพัฒน์ ชาวตลาดท่ าน้าแก่ งคอย สมัยก่ อนถ้ าจะไปไหนก็ต้ องนั่ งเรือไป คนแก่ งคอยนิยมนั่ งเรือไปเรียนหนังสือ ที่อยุธยากันเยอะ แต่ ถ้ าจะไปกรุงเทพฯ เขาก็นั่ งเรือมาขึ้นที่ท่ าน ้ าแก่ งคอยและเดินต่ อไป ที่สถานีรถไฟเพื่อไปยังหัวลําโพง” People People 38


“กงของยาย ๋ เป็ นคนจีนแต่ เดิมแกอยูกรุงเทพฯ่ ก่ อนจะตามย่ าล้ อม-พี่สาวของก๋ ง มาอยู่ แก่ งคอย ย่ า ล้ อมแต่ งงานกับนายอําเภอแก่ งคอย และมีที่ดินเยอะ ความที่ย่ าล้ อมไม่ มีลูก ก็เลยแบ่ งให้ พี่ๆ น้ องๆ ก๋ งก็ได้ ที่ดินจากย่ าล้ อมมา ก๋งมีลูก 3 คน โป๊ะ โภคสุพัฒน์ เป็นลูกชายคนโต และเป็นเตี่ยของยาย ฉนวน โภคสุพัฒน์ และนางบุตรจันทร์ อิ่มรังสี ทั้งสามคนนี้เป็นหุ้นส่วน ของตลาดแก่งคอยในยุคนั้น โดยอาฉนวน น้องของก๋ง เขาท�าโรงหนัง แห่งแรกของเมือง ชื่อ ‘แก่งคอยรามา’ แต่ตอนนี้ปิดตัวไปหลายปีแล้ว ยายเกิดที่ต�าบลบ้านป่า อยู่กับคุณย่าที่ท�านาปีเลี้ยงชีพ พอโตขึ้นมา ย่าก็ส่งให้ยายมาเรียนในตัวเมืองแก่งคอย มานอนค้างกับพี่สาวบ้าน อาฉนวนใกล้ๆ โรงหนังนี่แหละ สมัยนั้นยังไม่มีการตัดถนน รถราแทบ ไม่มี ก็ต้องนั่งเรือเป็นหลัก นั่งตั้งแต่ยังเป็นเรือกรรเชียงจนเปลี่ยนมา เป็นเรือติดเครื่องยนต์ สมัยนั้นถ้าจะไปไหนก็ต้องนั่งเรือไป คนแก่งคอย นิยมไปเรียนหนังสือที่อยุธยากันเยอะ เขาก็นั่งเรือกันไป แต่ถ้าจะไป กรุงเทพฯ ส่วนใหญ่เขาก็นั่งเรือมาขึ้นที่ท่าน�้าแก่งคอย แล้วเดินต่อไป ที่สถานีรถไฟ นั่งไปลงที่หัวล�าโพง ยายเรียนหนังสือไม่จบ ขึ้นมัธยมแล้วก็คิดถึงบ้าน เลยหนีกลับมาเสีย ก่อน ยายกลับไปท�านาจนสาว แต่งงานและมีลูกที่บ้านป่า จนสามี ยายเสีย ยายเลยไม่ท�านาต่อแล้ว ย้ายมาอยู่ในตัวเมืองแก่งคอยโดย ไปขายก๋วยเตี๋ยวอยู่ในโรงงานกะรัต แล้วมานอนบ้านเตี่ยตรงท่าน�้านี้ (ตลาดท่าน�้าแก่งคอย) บ้านเตี่ยอยู่หลังสุดท้ายของตลาด อยู่ติดแม่น�้า สมัยก่อนตรงนี้คึกคัก เพราะเป็นท่าน�้าหลักของเมือง พ่อค้าแม่ค้าจาก อ�าเภอต่างๆ เขาจะเอาสินค้ามาขึ้นĀั่งที่นี่ บางคนก็มาจอดเรือเพื่อ รอระดับน�้าข้ามแก่งละแวกนี้ ที่ชื่อ ‘แก่งคอย’ ก็มาจากตรงนี้ เขามา คอยแก่งอยู่แถวนี้ ตอนที่ยายมาอยู่บ้านนี้ การเดินทางและขนส่งทางเรือหายไปเยอะ ถนน มิตรภาพสร้างเสร็จสักพักใหญ่แล้ว และรถราก็กลายเป็นพาหนะหลัก บ้านตรงนี้เลยเงียบหน่อย แต่ก็ยังมีการค้าขายกันคึกคักอยู่ แต่เดี๋ยว นี้เปลี่ยนไปเยอะ ซอยบ้านยายแทบไม่มีใครเปิดร้านแล้ว กระทั่งใน ตัวตลาดหน้าสถานีรถไฟก็เงียบลงไปเยอะ ก็เข้าใจได้ว่ายุคสมัย มันเปลี่ยนไปแล้วน่ะ จะให้ท�ายังไงได้ ยายมีลูกสามคน ลูกสาวคนโตเขาอยู่กับสามีที่บ้านป่า เมื่อก่อนยาย อยู่กับลูกคนเล็กที่บ้านหลังนี้ แต่เขาอายุสั้นกว่ายายก็เลยจากไปก่อน ทุกวันนี้ลูกคนกลางมาอยู่ด้วย” People People 39


40


แก่ งคอย - สระบุรี 41


วัดแก่ งคอย เป็ นจุดเดียวในเมืองที่รอดพ้ น จากระเบิดช่ วงสงครามโลก วัดจึงเป็ นที่ศรัทธาของคนแก่ งคอย อย ่ างมากจนถึงทุกวันนี้ “ที่ผมได้มาเป็นไวยาวัจกรวัดแก่งคอย เนื่องจากพ่อÿมเคย เป็นมัคนายกมาก่อน ÿมจึงÿูกพันกับวัดนี้มาตั้งแต่เด็ก พอต�าแหน่ง นี้ว่างลง ท่านเจ้าอาวาสก็อยากหาคนที่ไว้ใจได้มาท�าต�าแหน่งนี้ ÿมเกษียณงานประจ�ากลับจากกรุงเทพฯ พอดี เลยมารับช่วงต่อ ตอนนี้ท�ามาเกือบ 10 ปีแล้ว ช่วงที่ÿมมาเริ่มงานที่นี่ใหม่ๆ ท่านเจ้าอาวาส พระครูประภัศร์วรญาณ (ทรัพย์ ญาณวโร) มีวิสัยทัศน์มาก ก็มีการจัดสร้างวังบาดาล ถ�้าพญานาค พระธาตุอินทร์แขวนจ�าลอง มีการบูรณะกุฏิ และท�าวัด ให้มีความสะอาด สวยงาม และดึงดูดให้ลูกหลานมาสักการะบูชา รวมถึงจัดศาสนพิธีต่างๆ ท�าให้วัดกลายเป็นที่รู้จักมากขึ้น ซึ่งอานิสงส์ นี้ก็ส่งÿลให้วัดแก่งคอยเปน็ ที่รู้จักในฐานะสถานที่ท่องเที่ยวของอ�าเภอ แก่งคอยถึงปัจจุบัน วัดแก่งคอยเป็นวัดหลักของคนที่นี่ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพ ญี่ปนุ่ มาตั้งฐานทัพที่อ�าเภอเรา ท�าให้ทัพสัมพนัธมิตรส่งเครื่องบินมาทิ้ง ระเบิด เมืองถูกระเบิดราบ แต่บริเวณวัดแก่งคอย ระเบิดกลับไม่ท�างาน คนที่หนีมาอยู่ในวัดจึงรอดชีวิต ชาวบ้านเลยเชื่อกันว่าเปน็เพราะบารมี หลวงพ่อลา ชัยมงฺคโล (พระครูสุนทรสังฆกิจ) เจ้าอาวาสในยุคน ั้ น หลังสงครามสิ้นสุด ก็มีการตั้งอนุสรณ์สถานร�าลึกถึงÿู้เสียชีวิตภายใน วัด และมีพิธีร�าลึกทุกวันที่ 2 เมษายนของทุกปี จนมาช่วงหลังทาง หอการค้าจังหวัดสระบุรี เทศบาลเมืองแก่งคอย และทางจังหวัด ร่วมกันต่อยอดพิธีกรรมประจ�าปีนี้ให้เป็นเทศกาล ‘แก่งคอยย้อนรอย สงครามโลก’ ขึ้น มีการชวนชาวแก่งคอยแต่งตัวย้อนยุคมาออกร้าน ท�าถนนคนเดินสายวัฒนธรรม การแสดงคอนเสิร์ต รวมถึงการแสดง แสงสีเสียงบอกเล่าประวัติเมืองแก่งคอยและเหตุการณ์ช่วง สงครามโลก โดยมีวัดแก่งคอยเป็นศูนย์กลางการจัดงานเชื่อมไป กับย่านการค้าใจกลางเมือง และสถานีรถไฟ ซึ่งจัดมาได้ 3 ปีแล้ว นอกจากมีอนุสรณ์สถานÿู้ประสบภัยทางอากาศช่วงสงครามโลก วัดแก่งคอยยังมีพระธาตุเจดีย์ศรีป่าสัก อันเป็นที่บรรจุพระบรม สารีริกธาตุ รวมถึงยังมีชื่อเรื่องการท�านา �้ มนต์และเขียนÿ้ายันต์มาตั้งแต่ สมัยหลวงพ่อลา เล่ากันว่าเวลาที่หลวงพ่อท่านเขียนยันต์ พอน �้ าตา เทียนไหล เวลาลูกศิษย์วัดจับ ท่านจะรู้ทันทีว่าถ้าน �้ าตาเทียนออกมา เป็นสีแดงจะมีเคราะห์ ถ้าเป็นสีเหลืองจะแคล้วคลาด ถ้าเป็นคนที่มา ท�ากับท่านแล้วเป็นสีแดง ท่านจะอาบน �้ ามนต์ให้ สะเดาะเคราะห์ไป ในตัว สิ่งที่ร้ายก็จะหาย ขึ้นโรงขึ้นศาล คดีความ หรือเจ็บป่วยอะไร ต่างๆ จะทุเลา นายควง อภัยวงศ์, จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไปจนถึงพระยาพหล พลพยุหเสนา ต่างก็มาเป็นลูกศิษย์ มาให้หลวงพ่อลาท่านอาบ น �้ ามนต์สะเดาะเคราะห์ให้ หรือเรื่องÿ้ายันต์ ก็เล่ากันว่าที่ระเบิดของ สัมพันธมิตรด้านตอนสงครามโลกก็มาจากÿ้ายันต์ของหลวงพ่อลา ÿ้ายันต์จึงเปน็อีกสิ่งที่นักท่องเที่ยวจะแวะมาบูชากลับไปจนถึงทุกวันน ี้ อย่างไรก็ดี วัดเราก็ยังมีจุดที่ต้องแก้ไขอยู่ ซึ่งÿมเชื่อว่าถ้าแก้ไขได้ จะส่งÿลบวกต่อเมืองของเราด้วย เพราะช่วงหลังมานี้ วัดได้รับความ นิยม ประชาชนหลั่งไหลมามาก โดยเฉพาะช่วงวันหยุด รถจะติดยาว ไปถึงตลาด และเมืองเราเล็กแค่นี้ มันจึงกระทบไปทั้งเมือง ÿมจึงมี ความคิดว่า ถ้าเราประสานกับเทศบาลเมืองแก่งคอย ให้มีการจัดหา ที่จอดรถข้างนอกเขตตลาดให้ และมีรถพ่วงหรือรถขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า รับนักท่องเที่ยวจากที่จอดรถมาส่งยังวัดหรือตลาด ตรงนี้มันกระตุ้นให้ นักท่องเที่ยวได้เดินชมเมืองหรือจับจ่ายใช้สอยร้านรวงในเมืองได้มาก ซึ่งอย่าลืมว่าไม่เพียงวัดเราติดตลาด ยังอยู่ริมแม่นาป�้ ่าสัก ใกล้ศาลเจ้า ตลาดท่าน �้ าแก่งคอยที่เป็นตลาดโบราณ และสถานีรถไฟชุมทาง แก่งคอย ทั้งหมดสามารถเที่ยวชมด้วยการเดินเท้าได้ภายในครึ่งวัน ถ้าเทศบาลท�ารถรับ-ส่ง และท�าทางเท้าให้น่าเดิน แก่งคอยเราน่าจะ ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้เยอะ คนในเมืองก็ไม่ต้องเจอปัญหารถติด แถม ยังมีทางเท้าที่ชวนให้เดิน ไม่ต้องใช้รถส่วนตัวอีก ÿมเห็นว่าเทศบาล เขาก็มีแÿนจะท�าวิสาหกิจชุมชนส่งเสริมการท่องเที่ยว ก็อยากเสนอ ความคิดนี้ให้เขาไปพิจารณาด้วยครับ” People People 42


โชค มะลิซ้ อน ไวยาวัจกรวัดแก่ งคอย และประธานชุมชนหลวงปู่ พรหม People People 43


ป้าขายกระชายมาก่ อนคนจะนิยมดื่มกันช่ วงโควิดอีก พอโควิดมา เลยขายดีมาก มีเท่ าไหร่ ก็ไม่ พอ นี่ถึงกับเดินไปที่สวนแงะดูเช้ า-เย็น ลุ้ นให้ กระชาย ที่ปลูกมันแก่ ได้ ที่ ลุ้ นทุกวันเลย “กระชายมันชอบขึ้นริมตลิ่ง สังเกตดูที่ดิน ริมแม่น�้าป่าสัก หมู่ 8 (บ้านช่องใต้ ต�าบลบ้านป่า อ�าเภอ แก่งคอย) เนี่ย จะมีกระชายขึ้นเองเยอะไปหมด ชาวบ้าน แถวนี้เขาก็เก็บส่งขายพ่อค้าคนกลาง เป็นรายได้กันจริงจัง จนมีอยู่วันหนึ่งสักสิบกว่าปีที่แล้ว ช่วงนั้นกระชายล้นตลาด และราคามันตก ชาวบ้านเขาก็เก็บกระชายมากองรวมกัน 3-400 กิโลกรัมได้นี่แหละ ปรากฏว่าพ่อค้าคนกลางเขา ไม่มารับซื้อ ก็ไม่รู้จะท�ายังไงกันดี วันนั้นนั่นแหละที่ป้าเอากระชายที่กองไว้ส่วนหนึ่งกลับบ้าน เอาไปขัดล้างท�าความสะอาด ที่บ้านป้ามีเครื่องบดอยู่ตัว หนึ่ง ก็เลยลองบดกระชายและคั้นออกมาเป็นน�้า ตอนนั้น สามีป้าเขายังมีชีวิตอยู่ เขาเป็นÿู้ใหญ่บ้านก็บอกให้เขา ไปบอกเด็กๆ ให้ช่วยรวบรวมขวดเหล้าตามบ้านที่เขาจัด งานเลี้ยงให้หน่อย ได้ขวดมาป้าก็เอามาท�าความสะอาด ฆ่าเชื้อด้วยน�้าร้อน ล้างแล้วล้างอีกจนสะอาด ก็เอาขวด พวกนี้มาบรรจุน�้ากระชายที่คั้นได้ ก็คิดว่าถ้าเราท�าน�้า กระชายขาย ก็อาจจะช่วยแก้ปัญหากระชายล้นตลาดได้ อีกทาง ตอนแรกก็ยังไม่ขายหรอก ป้าก็ลองÿสมน�้าÿึ้งและน�้าตาล ลองสูตรอยู่หลายรอบ เวลามีแขกมาเยี่ยมÿู้ใหญ่ฯ ที่บ้าน ป้าก็หยิบมาเสิร์ฟ หรือมอบให้เป็นของĀาก หลายคนชอบ เขาก็ขอซื้อกลับไป ÿู้ใหญ่ฯ แกก็ช่วยประชาสัมพันธ์ให้ โดยเอาไปĀากคนนั้นคนนี้บ่อยๆ กระทั่งมีอยู่ครั้งหนึ่งทางอ�าเภอแก่งคอยเขาจัดกิจกรรม อ�าเภอเคลื่อนที่ เขาก็ให้หมู่ 8 ต�าบลบ้านป่า ไปออกงาน ให้เอาของดีประจ�าหมู่บ้านไปจัดบูธที่ต�าบลชะอม ชุมชน เราก็เอาหมอนวดไปนวดเท้าแขก ป้าก็ได้โอกาสเอา น�้ากระชายไปขายด้วย นั่นน่าจะเป็นการออกร้านครั้งแรก ก็ได้รับเสียงตอบรับที่ดีเลย จากนั้นก็มีงานเลี้ยงส่งนายอ�าเภอ เขาจะย้ายไปท�างาน จังหวัด นายอ�าเภอท่านก็บอกให้ป้าเอาน�้ากระชายไป เลี้ยงแขกด้วย เลยเป็นที่รู้จักมากขึ้น ถึงตรงนี้ ก็เริ่มมีหน่วย งานมาช่วยส่งเสริม ออกแบบโลโก้ ท�าบรรจุภัณฑ์ และหา ช่องทางการตลาดให้ ก็ค่อยๆ ปรับมาจนเปิดเป็นแบรนด์ OTOP ชื่อ ‘เข็ม’ (KHEM) ท�าในนามวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแปรรูปกระชายบ้านช่องใต้ ในที่สุด แบรนด์นี้ป้าท�ามา 10 กว่าปีแล้ว แต่แรกก็เป็นน�้ากระชาย เหลืองที่หาได้จากสวนเราอย่างเดียว มีลูกค้าถามว่า ไม่มีกระชายด�าหรอ? ก็เÿอิญÿู้ใหญ่ฯ แกไปประชุมที่ สมุทรสงครามพอดี แกไปซื้อกระชายด�ากลับมาโดยคิดว่า มันคือขมิ้น แกอยากเอาขมิ้นไปท�าน�้าจิ้มข้าวมันไก่ พอกลับ มา ป้าเห็นเป็นกระชายด�า ก็เลยลักมาลองคั้นท�าเครื่องดื่มดู ÿู้ใหญ่กลับจากที่ท�างานมาก็ถามหาขมิ้นแกไปไหน ป้า ก็บอกว่ามันไม่ใช่ขมิ้น และตอนนี้มันกลายเป็นน�้า กระชายด�าแล้ว กินข้าวมันไก่มากๆ ก็จะอ้วนเข้าไปใหญ่ ดื่มน�้ากระชายด�าดีกว่า (หัวเราะ) พอทดสอบสูตรแล้ว มันเวิร์ค ป้าก็เลยหากระชายด�าจากใกล้ๆ แก่งคอยมาท�า เครื่องดื่มอีกตัว จรูญ จันทรครอบ เจาของผลิตภัณฑ ้ ์เครื่องดื่มกระชาย KHEM Facebook : KHEM เข็ม เครื่องดื่มน้ากระชาย People People 44


People People 45


หมายเหตุ: เครื่องดื่ม KHEM ของป้าจรูญยังได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง ÿลิตภัณฑ์สมุนไพรประเภทอาหารและเครื่องดื่ม การประกวดÿลิตภัณฑ์สมุนไพร จังหวัดสระบุรี โดยส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด ในปี 2564 People People 46


ปัจจุบัน นอกจากมี น�้ ากระชายเห ลืองแ ล ะ น�้ ากระชายด� า กระชายแช่อิ่ม แ ละกระชายอบแห้ง รวมถึงกระชายสด จ� า ห น่าย ก็เอากระชายมาจากสวนป้าเอง เ พราะ ป้าท� าแบบ ปลอดสารเคมี ถ้าช่วงไห นไม่ พอก็รับซื้อจากเกษตรกรที่เรา มั่นใจว่าเขาไม่ใช้สารเคมีหลักๆ ก็ขายที่บ้านป้าเอง ก็ท� า ห น้าบ้า นให้เ ป็ นร้า นขาย จริงจัง ข้างๆ ร้า น ป้าก็ท� าสว นÿักออร์แก นิก ตั้งใจปลูกÿักไว้ กิ นเอง แต่ก ลายเ ป็ นว่า พอมี ลูกค้ามาซื้อสิ นค้าเรา เขาก็ขอ ซื้อÿักเราด้วย ป้ามีเห ลือก็ขายให้เขาถูกๆ แบ่งๆ กัน ไ ปกิ น นอกจากห น้าร้า น ก็มีออกร้า นบ้าง น า นๆ ที แ ละมีไ ปĀาก ขายที่ ปั้ม ปตท. ห นองยาว ใ นอ� าเภอเมืองสระบุรี แ ละร้า น สว นริมเขา อยู่ใก ล้ๆ กับโรบิ นสัน ที่เห ลือก็จะเ ป็ นการขาย ทางโทรศัพท์ส� าหรับ ลูกค้า ประจ� า แ ละขายทางออ น ไลน์ ใ นเฟซบุ๊คด้วย ป้าขายกระชายมาก่อ น ค นจะ นิยมดื่มกันช่วงโควิดอีก ซึ่ง พอโควิดมา ป้าเ ลยขายดีมาก มีเท่าไหร่ก็ไม่ พอ นี่ถึงกับ เดิ น ไ ปที่สว นแงะดูเช้า-เย็ น ลุ้ นให้กระชายที่ปลูกมันแก่ ได้ที่ ลุ้ นทุกวัน เ ล ย ทุกวันน ป ี้ ้าก็แ ปรรู ป ค นเดียว โดยมีค นงา นมาช่วยดูสว นให้ ป้าอยู่กับ ลูกสาว เขาท� างา น ใ นเมือง วันเสาร์-อาทิตย์ก็ก ลับ มาอยู่เ ป็ น เ พื่อ น ส่ว นÿู้ใหญ่บ้า นแกเสียชีวิตไ ป 4 ปีแ ล้ว ก็ คิดถึงแกแห ละ สมัยแกยังอยู่ แกเ ป็ น ค นช่างเจรจา ก็ช่วย ป้าขายของได้เยอะ เว ลาไ ปออกบูธที่ไห น แกก็จะไ ปส่ง ช่วย ตั้งบูธให้ แ ละอยู่ช่วยขายช่วงแรกๆ จาก นั้นแกก็ไ ปท� าธุระ ของแก เสร็จงา นก็มารับ ทุกวันน ี้ ป้าก็ไม่ได้ ล� าบากอะไร ไม่มีห นี้สิ น ลูกก็ท� างา น มั่นคงแ ล้ว จริงๆ ไม่ท� าแบร นด์นี้ก็ได้ แต่ที่ท� าอยู่เ พราะ มัน ส นุก ได้ไ ปสว น ได้เจอÿู้ค น รวมถึงยังท� าให้ ป้า นึกถึง ÿู้ใหญ่แกด้วย Peopl e Peopl e 47


ธัชชัยม์สุรินทอง นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ เทศบาลเมืองแก่ งคอย People People 48


จริงอยู่ ที่การทํางานหลายหัว ย่ อมดีกว่ าหัวเดียว แต่ พอการทํางานหลายหัวโดย ไม่ ได้ มีทิศทางร่ วมที่ชัดเจน การจะเห็นความเปลี่ยนแปลงมันก็ยาก “พื้ นที่เทศบาลเมืองแก่งคอยจะมีขนาดเล็ก 4.05 ตาราง กิโลเมตร โดย 15-20% ของพ ื้ นที่น ั้ นเป็นพ ื้ นที่ของการรถไฟ มีบ้านพัก อาศัยราว 60% ที่เหลือคือพน ื้ ที่ราชการและอื่นๆ จากตัวเลขนพ ี้ อจะเห็น ภาพว่าเทศบาลเราเล็กขนาดไหน เล็กในแบบที่ในย่านใจกลางเมือง เราสามารถเดินเท้าหากันได้ทั่ว แต่ถึงเป็นแบบน ั้ น ที่ÿ่านมา แก่งคอยเรากลับไม่มีพ ื้ นที่กลางที่คนใน พ ื้ นที่จะมาพบปะหรือท�ากิจกรรมร่วมกันสักเท่าไหร่ หรือที่มีอยู่แล้ว เช่น สวนสาธารณะก็ยังคงถูกใช้ในมุมของสถานที่พักÿ่อนหรือ ออกก�าลังกายของคนในเมืองมากกว่า และมันค่อนข้างขาดการเชื่อม โยงกับพ ื้ นที่อื่นๆ ในเมือง ÿมมองว่าการไม่มีพ ื้ นที่กลางเหมือนที่เมืองอื่นๆ อาจจะมีในรูปแบบ ของศาลาประชาคม ลานคนเมือง หรือจัตุรัสกลางเมือง เป็นส่วนหนึ่ง ที่ท�าให้การรวมกันของภาครัฐและประชาชนในการขับเคลื่อนการ พัฒนาเมืองไม่ได้เดินหน้าเท่าที่ควร รวมถึงการที่ประชากรกว่าครึ่งของ แก่งคอยเป็นประชากรแĀง คือเป็นคนจากที่อื่นซึ่งมาอยู่ในแก่งคอย เพื่อทำงานตามโรงงานต่างๆ เมืองจึงมีรูปแบบของการต่างคนต่างอยู่ หลายคนไม่รู้ด้วยซ้ำว่าชุมชนที่เขาอยู่ชื่อชุมชนอะไร ซึ่งก็โทษเขาไม่ได้ เพราะเขามาที่นี่เพื่อทำงานเป็นหลัก ÿมไม่ได้หมายความว่าที่ÿ่านมาแก่งคอยไม่มีความเคลื่อนไหวของ การภาครัฐและประชาชนในการขับเคลื่อนเมืองนะครับ เพราะหลาย ปีหลังมานี้ ก็ยังมีกลุ่มต่างๆ ที่เขาท�างานของเขา ทั้งด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมการท่องเที่ยว หรือการฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น แต่น ั่ นล่ะ เมื่อเราขาดพ ื้ นที่กลาง รวมถึงขาดบุคลากรที่ช่วยขับเคลื่อน กิจกรรมในพ ื้ นที่ มันก็ขาดการเชื่อมร้อยการท�างาน และเป็นไปใน รูปแบบของต่างคนต่างท�าในกรอบความสนใจของตัวเองไป ทั้งที่จริงๆ ถ้าทุกกลุ่มมารวมกัน และมีการก�าหนดทิศทางการพัฒนาให้เห็นภาพ ตรงกัน แก่งคอยมีขนาดเล็กแค่นี้ พวกเราท�าได้อยู่แล้ว จริงอยู่ที่การทำงานหลายหัวย่อมดีกว่าหัวเดียว แต่พอการทำงาน หลายหัวโดยไม่ไดม้ทีิศทางร่วมที่ชัดเจน การจะเหน็ความเปลี่ยนแปลง มันก็ยาก ขณะเดียวกัน ในฐานะที่ÿมท�างานเทศบาลเมืองแก่งคอย ก็ต้อง ยอมรับว่าเทศบาลเราก�าลังเÿชิญภาวะชักหน้าไม่ถึงหลัง เนื่องจาก งบประมาณที่เราได้รับการจัดสรรค่อนข้างจ�ากัด มันเพียงพอแค่ การจ้างบุคลากรและขับเคลื่อนโครงการที่มีอยู่แล้วในเมือง แต่ไม่ สามารถน�าไปลงทุนกับโปรเจกต์ใหญ่ๆ ส�าหรับการเปลี่ยนแปลง เมืองได้ ÿมจึงเห็นด้วยกับที่ทาง บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด หอการค้า แก่งคอย และนายกเทศมนตรี (สมชาย วรกิจเจริญÿล) ที่ต่างเห็นตรง กันว่าเราควรท�าแÿนแม่บทที่ครอบคลุมทั้งอ�าเภอได้แล้ว เพื่ออย่าง น้อยจะได้มีทิศทางของการพัฒนาร่วมกันเทศบาลแต่ละแห่งร่วม กับภาคประชาชนก่อน พร้อมกันน ั้ น เทศบาลเมืองแก่งคอยก็พยายาม จะดึงงบประมาณหรือดึงการสนับสนุนจากภาคส่วนต่างๆ มาสร้าง พ ื้ นที่สาธารณะเพิ่มเติม พ ื้ นที่ที่เราหวังจะเป็นพ ื้ นที่กลางให้เราพูดคุย นอกจากนี้ ÿมยังเสนอว่าระหว่างที่ยังไม่มีพ ื้ นที่กลางที่เป็นรูปธรรม เราควรเปิดพ ื้ นที่ออนไลน์ ให้ชาวแก่งคอยมาร่วมสะท้อนปัญหาและ หาทางออกร่วมกัน เพื่อสะท้อนให้หน่วยงานรัฐส่วนท้องถิ่นรับฟัง เพื่อหาวิธีการประสานความร่วมมือ ส่วนปัญหาอื่นๆ ที่ÿมเห็นในแก่งคอยทุกวันนี้ ก็น่าจะเปน็ เรื่องที่จอดรถ ในย่านการค้าที่ไม่เพียงพอ รวมไปถึงทางเท้าที่ไม่เอื้ออ�านวยต่อการเดิน ซึ่งสองเรื่องนี้มันก็สัมพนัธ์กันโดยตรง เพราะทางเท้าเดินไม่ได้และไม่มี ร่มเงาบัง แม้จะไปท�าธุระใกล้ๆ คนแก่งคอยก็ไม่อยากเดิน และเลือก ขับรถไปมากกว่า แต่พอจะขับรถไป ก็กลับหาที่จอดรถไม่ได้อีก น ั่ นล่ะครับ อย่างน้อยๆ ถ้าแก่งคอยมีการจัดระเบียบทางเท้าให้เดิน ได้สะดวก รถก็จะติดน้อยลง ปัญหาที่จอดรถก็จะหายไป และถ้ามี พ ื้ นที่กลางสักแห่งที่ÿมเสนอมา หรือพ ื้ นที่สีเขียวที่มากยิ่งขึ้น รวมถึงมี กลุ่มคนมาช่วยขับเคลื่อนกิจกรรม อย่างน้อยที่สุด มันก็ช่วยสร้าง บรรยากาศให้คนท้องที่รวมถึงประชากรแĀง อยากออกมาจากบ้าน มาใช้พ ื้ นที่ในเมือง ที่ซึ่งเมืองเราถูกใช้ประโยชน์หรือÿู้คนเห็นความ เคลื่อนไหวÿ่านกิจกรรมในเมืองมากๆ เข้า นอกเหนือไปจากแค่ การขับรถÿ่านไปมา พวกเขาก็จะมีความคิดอยากจะช่วยกันท�าให้เมือง เราพัฒนาให้มากกว่านี้ตามมา” People People 49


Click to View FlipBook Version