“พี่ท�าบริษัททัวร์มา 30 กว่าปี เรียกได้ว่าเกือบทั้งชีวิต แต่ก่อนนี้ก็เหมือนคนในอุตสาหกรรมนี้ส่วนใหญ่คือท�าเรื่อง การท่องเที่ยวจ๋า พาทัวร์ไปดูน ั่ นนี่ทั้งในและต่างประเทศ ไปกินข้าว ไปช้อปปิ้ง ไปพักÿ่อน จนมีอยู่ครั้งหนึ่งที่จู่ๆ เราก็รู้สึกเหมือนที่ไหนก็เหมือนกันหมด พอสถานที่ใด สถานที่หนึ่งถูกเปลี่ยนให้กลายเป็นสินค้าด้านการท่อง เที่ยว หลายชุมชนก็ต้องเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อรองรับกระแส ของตลาด สูญเสียอัตลักษณ์ตัวเองไป ตรงนี้มันท�าให้ พี่ฉุกคิด และค่อยๆ เบนเข็มมาท�างานด้านการท่องเที่ยว โดยชุมชนอย่างเต็มตัว ก็เริ่มจากเข้าไปเรียนรู้ชุมชน หาจุดเด่น จุดด้อย และให้ เขาปรับปรุงบางเรื่องที่ช่วยอ�านวยความสะดวกต่อการ ท่องเที่ยวโดยไม่ไปกระทบกับวิถีชีวิตหรือรากเหง้าของเขา และก็ให้เขาน�าจุดเด่นที่มาจากตัวเองจริงๆ น�าเสนอไป ไม่ต้องไปหาของจากเมืองอื่นมาขายหรอก ขายของที่เรา กิน ที่เราใช้ หรือที่เราÿลิตเองนี่แหละ และพี่ก็จะบอกลูกค้าที่เปนน็ ักท่องเที่ยวพี่อยู่เสมอว่า เวลา คุณไปเยือนที่ชุมชนไหน คุณก�าลังเอาเงินไปอุดหนนุ ชุมชน เขา ท�าให้ชีวิตความเป็นอยู่เขาดีขึ้น ชุมชนเขาซื่อสัตย์กับ ความเป็นตัวเขาเอง คุณก็ต้องให้ความเคารพเขาด้วย และเพราะแบบนี้ พี่จึงมองว่าการท่องเที่ยวโดยชุมชนเนี่ย มันไม่เพียงช่วยรื้อฟื้นวัฒนธรรมของคนในพ ื้ นที่ แต่มันยัง เปน็ เครื่องมือพัฒนาชุมชน ไปจนถึงพัฒนาเมืองของเราได้ ก่อนหน้านี้เลยมีโอกาสไปท�างานส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยชุมชนหลายที่เลยโดยเฉพาะที่เชียงใหม่ ปราจีนบุรี รวมถึงได้ร่วมงานกับอาจารย์ทรงชัย วรรณกุล ที่ฟื้นฟู วัฒนธรรมไท-ยวน ที่เสาไห้ โดยท่านยังถือเปน็ ÿู้จุดประกาย แรงบันดาลใจในการน�าเสนอวัฒนธรรมกับพี่มากๆ ก่อนจะกลับมาราวปี 2558 พี่ท�างานส่งเสริมอยู่ในจังหวัด หนึ่งทางภาคตะวันออก ก็ขับรถไปๆ กลับๆ อยู่หลายรอบ จนÿู้ใหญ่ที่น ั่ นชวนให้พี่มาประจ�าที่จังหวัด เขาเสนอให้ พี่เป็นประธานสมาคมท่องเที่ยวประจ�าจังหวัดน ั้ นด้วย จะได้มีอ�านาจในการขับเคลื่อนอย่างเต็มที่ ตอนน ั้ นก็คิด ว่าจะย้ายไปอยู่แล้ว แต่จู่ๆ ก็มาฉุกคิดว่าเราเป็นคนเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ถ้าจะต้องท�างานประจ�าที่ไหนสักที่ ท�าไมไม่ กลับไปพัฒนาบ้านเกิดเราล่ะ สุดท้ายก็เลยปฏิเสธงานน ั้ น ไป และเลือกกลับมาอยู่บ้านที่สระบุรีแทน พอกลับมา พี่ก็หอบบริษัทที่มีในกรุงเทพฯ มาเปิดแบบ ออนไลน์ด้วย ท�าทั้งการขายทัวร์ ขายตั๋วเครื่องบิน ไปจนถึงท�าออร์แกไนซ์ด้านการท่องเที่ยว พอทุกอย่าง ลงตัว ก็เลยมีเวลาท�างานด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชนและ งานอาสาสมัครอย่างที่เราสนใจเหมือนเดิม จนมาปี 2561 ได้เข้าเป็นสมาชิกหอการค้าจังหวัดสระบุรี และได้รู้จักคุณ หม่อง (นพดล ธรรมวิวัฒน์) เลยได้มีโอกาสร่วมงานกับเขา ในหลายโครงการ ถึงปี 2563 คุณหม่องอยากฟื้นฟูตลาด ท่าน �้ าแก่งคอย เขาก็ชวนให้เรามาร่วมทีมด้วย เราก็โอเค เลย เพราะตลาดน ั้ นขับเคลื่อนโดยชุมชนเมืองแก่งคอยอยู่ แล้ว ซึ่งเราก็ถนัด น ั่ นจึงท�าให้พี่ได้มาช่วยงานที่แก่งคอย จนมาถึงโครงการเมืองแห่งการเรียนรู้ในปัจจุบัน พอได้คลุกคลีกับแก่งคอย พี่ก็เห็นทั้งข้อจ�ากัด ปัญหา และโอกาส เมืองนี้มีวิกฤตตรงที่ว่าคนรุ่นใหม่เลือกจะไป อยู่ที่อื่นเพราะเขามองไม่เห็นอนาคต และยิ่งเศรษฐกิจ พักหลังแย่ สถานการณ์ก็แย่ลงไปใหญ่ เราก็มองกันว่า งั้นท�าให้เศรษฐกิจดี ดึงคนให้มาเที่ยวเมืองด้วยการฟื้นฟู ย่าน พัฒนาพ ื้ นที่ที่มีให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ ก็เริ่มจาก ท�าถนนคนเดินในตลาดท่าน �้ านี้ก่อน พร้อมกันน ั้ นก็ลอง พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและสถานที่ท�ากิจกรรมบริเวณ แม่น �้าป่าสัก และภูเขารอบๆ ดึงคนรุ่นใหม่มาช่วยงาน ในอีกด้านคุณหม่องก็พยายามÿลักดันโครงการ food valley เสริมจุดแข็งด้านการเป็นแหล่งÿลิตอาหารระดับ ประเทศ People People 50
จินตนาภรณ์จิกิตศิลปิ น นักจัดการการท่ องเที่ยวโดยชุมชน และนักวิจัยโครงการเมืองแหงการเรียนรู ่ ้ แก่ งคอย การท ่ องเที่ยวโดยชุมชนเนี่ย ไม่ เพียงช่ วยรื้อฟื้ น วัฒนธรรมของคนในพื้นที่ แต ่ มันยังเป็ นเครื่องมือพัฒนาชุมชน ไปจนถึงพัฒนาเมืองของเราได้ People People 51
People People 52
จากที่ส�ารวจมา พี่ว่าแก่งคอยพร้อมจะเป็น เมืองท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้เลยนะ ด้วย ท�าเลที่อยู่ใกล้กรุงเทพฯ และเป็นทางÿ่าน ส�าคัญของถนนมิตรภาพ แต่ปัจจัยหลักตอน นี้ที่เราขาดคือที่พัก แก่งคอยไม่มีที่พักให้นัก ท่องเที่ยวเลย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นรีสอร์ทหรู ก็ได้ อาจเป็นที่พักขนาดเล็กหรือโฮมสเตย์ที่ ได้มาตรฐาน และดึงจุดแข็งด้านท�าเลออก มา ถ้าอย่างน้อยเรามีที่พัก การบริการอื่นๆ ก็ จะตามมา อาหารการกิน สินค้าที่ระลึก รวม ไปถึงกิจกรรมการท่องเที่ยวเพิ่มเติม People People ส�าหรับพี่แก่งคอยคือเมืองพักÿ่อนที่ดีมากๆ ด้วยท�าเลที่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ คุณไม่ต้อง ขับรถส่วนตัวมาก็ได้ นั่งรถไฟแป๊บเดียวก็ ถึง ถ้าเมืองมีที่พักอย่างที่บอก และมีระบบ ขนส่งมวลชนเล็กๆ ที่พานักท่องเที่ยวเดินทาง ต่อจากสถานีรถไฟได้นี่ก็จะลงตัว หรือความ พยายามจะท�าให้แก่งคอยเป็นเมืองเดินได้ นี่ก็ส�าคัญ ถ้าเมืองมันเดินสะดวกและร่มรื่น มันส่งเสริมเรื่องนี้มาก จากสถานีรถไฟคุณนั่งรถสาธารณะหรือเดิน ไปโรงแรม เอากระเป๋าไปเก็บ เดินเล่นใน เมือง ไปไหว้พระที่วัดและศาลเจ้า หาของ อร่อยกิน และนั่งเล่นริมแม่น �้าป่าสัก แค่น ี้ สองวันหนึ่งคืนคุณก็ได้ชาร์จพลังแล้ว ส่วน สายÿจญภัย แม่นาป�้ ่าสักมีเรือหรือซับบอร์ด ให้พายเลน่ ออกไปนอกเมืองหน่อยก็มีสถาน ที่แคมป์ปิ้ง หรือปีนเขา อย่างที่บอกเมืองมัน ค่อนข้างครบ แค่ตอนนี้มันยังขาดการเชื่อม โยง และยังไม่มี facility ที่พร้อม ซึ่งถ้ามี ต่อไปรถไฟความเร็วสูงÿ่านด้วย เชื่อเลย แก่งคอยจะเป็นจุดหมายของนักท่องเที่ยว หลายต่อหลายรุ่นที่ต้องไม่พลาด” อีกเรื่องที่เป็นจุดแข็งแต่ชาวบ้านอาจมอง ข้าม คือวัฒนธรรมอาหารที่มากับคนไทย เชื้อสายจีนที่เปนป็ ระชากรส่วนใหญ่ในตลาด หลายบ้านท�าขนมอาหารและขนมอร่อย มากๆ แต่พวกเขาคิดว่ามันก็เป็นอาหาร พ ื้ นๆ แต่ในมุมของคนที่อยู่ที่อื่นแบบพี่ซึ่งจะ บอกว่าเป็นนักท่องเที่ยวก็ได้ พี่ว่ามันไม่พ ื้ น ถ้ามันถูกยกระดับ มันจะขายได้ และถ้าการ ท่องเที่ยวเปิด อาหารเหล่านี้จะขายดีเปน็ แม่ เหล็กส�าคัญ 53
54
55
Interview Interview SARABURI FOOD VALLEY นิ่ ม - อรอุษา จึงยิ่ งเรืองรุ่ ง เป็ นนักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ที่เกิดและทํางานในสระบุรี เธอเป็ นรองประธานหอการค้ าจังหวัด รวมถึงหนึ่งในผู้ ก่ อตั้ง บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จํากัด รวมกับ ่ หม่ อง - นพดล ธรรมวิวัฒน์หัวหน้ าโครงการเมืองแหงการเรียนรู ่แก้ ่ งคอย เมื่อต้ นปี 2566 คุณนิ่ มและคุณหม่ องในฐานะตัวแทน บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จํากัด ได้ ทําข้ อตกลง ความรวมมือ ่ (MOU) เรื่องการขับเคลื่อนโครงการการศึกษาความเป็ นไปได้ ในการลงทุนและการยกระดับ พื้นที่จังหวัดสระบุรีสู่ การสรางมาตรการส้ ่ งเสริมการลงทุน ‘อุตสาหกรรมความมันคงทางอาหาร่ ’ หรือ ‘หุบเขาอาหาร’ ของประเทศไทย รวมกับทางจังหวัดสระบุรี ่ , จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ์ , สภาอุตสาหกรรม จังหวัดสระบุรี, สมาคมธนาคารจังหวัดสระบุรีและหอการคาจังหวัดสระบุรี ้ผานการสนับสนุนของ ่บพท. (หน่ วยบริหารและจัดการทุนด้ านการพัฒนาระดับพื้นที่) โดยการศึกษาดังกล่ าวมีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมโยงรูปแบบและโครงสร้ างภาคการเกษตรของพื้นที่ การวิเคราะหห์ วงโซ ่ ่ คุณค่ าภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และนวัตกรรมที่เกี่ยวข้ อง การวิเคราะห์ และออกแบบแผนผังพื้นที่ Food Valley รวมถึงการวิเคราะห์ ถึงความเป็ นไปได้ ของแผนการลงทุน (Feasibility) ในการพัฒนาพื้นที่ Food Valley ในจังหวัดสระบุรีให้ เป็ นพื้นที่ต้ นแบบ เพื่อกําหนดเป็ น พื้นที่ได้ รับสิทธิประโยชน์ ด้ านการลงทุนอุตสาหกรรมอาหารของประเทศไทย “จริงอยู่ ที่ผ่ านมาสระบุรีเป็ นเมืองอุตสาหกรรมหนักที่สร้ าง GDP ติดอันดับต้ นๆ ของประเทศ แตคําถามคือ ่ ในชวงหลายปี หลังมานี้ ่เราจะแน่ ใจไดอย้ างไรว ่ าอุตสาหกรรมที่เรามีจะยั ่ งยืน่ ในเมื่อประเทศ เพื่อนบานเขาก็สามารถผลิตสิ ้ งเดียวกับเราในราคาที่ย ่อมเยากว่ ่ า?” คุณนิมตั ่ งคําถาม้และนันเป็ นเหตุผล ่ หลักที่สระบุรีไดทําการสํารวจทรัพยากรและศักยภาพที่จังหวัดมี ้กอนจะพบถึง ่ ‘มูลคา่ ’ ของอุตสาหกรรม การผลิตอาหารที่กระทั่งคนสระบุรีเองหลายคนอาจมองข้ าม WeCitizens ชวนคุณนิ่ มสนทนาถึงศักยภาพดังกล่ าว และมุมมองต่ อการพัฒนาการศึกษาให้ สอดคล้ องกับบริบทเฉพาะตัวของสระบุรีในบทสัมภาษณ์ ต่ อจากนี้ สนทนากับ อรอุษา จึงยิ่ งเรืองรุ่ ง ว่ าด้ วยการขับเคลื่อนสระบุรี ให้ เป็ นเมืองอุตสาหกรรมอาหารยั่ งยืนของประเทศ 56
Interview Interview สระบุรีเป็ นแหล่ ง supply อาหารมานานมากแล้ ว โคนมเราผลิตได้ สูงสุดเป็ นอันดับที่ 2 ของประเทศ ปศุสัตว์ อย่ างไก่ และหมูก็มาจากฟาร์ มในจังหวัดเรา ข้ าว ข้ าวโพด มันสําปะหลัง และอื่นๆ นี่คือสิ่ งที่เรามีมานานแล้ ว แต่ ไม่ ได้ ถูกประกาศออกไป 57
Interview Interview 58
Interview Interview ก่ อนอื่น อยากให้ เล่ าบทบาทของคุณนิ่ มใน บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จํากัด ครับ นิ่มเป็นประธานกลุ่มนักธุรกิจรุ่นใหม่ (YEC) ของหอการค้าจังหวัด สระบุรีก่อนค่ะ ตอนนั้นพี่หม่อง (นพดล ธรรมวิวัฒน์) เป็นประธาน หอการค้าจังหวัด พี่หม่องเห็นว่าการพัฒนาเมืองสระบุรีที่ÿ่านมา มันยังมีช่องว่างที่เชื่อมระหว่างรัฐ สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน และ ภาคประชาชนเข้าด้วยกัน เขาก็เลยชวนเพื่อนนักธุรกิจมาตั้ง บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด ขึ้น บทบาทของนิ่มคือความพยายามเชื่อมแหล่งทุนจากองค์กรต่างๆ เข้ากับโครงการพัฒนาเมือง ดูว่าตรงไหนจะเหมาะไปหนุนเสริมหรือ พัฒนาเรื่องอะไร อย่างการเชื่อมทุน บพท. เข้ากับโครงการศึกษาการ จ้างงานในจังหวัด หรือโครงการ City Lab ของ สสส. เราก็ดึงงบนี้มา ร่วมท�ากับเทศบาลเมืองสระบุรี เป็นต้น เห็นโอกาสทุนจากที่ไหน ถ้าดึง มาใช้กับท้องถิ่นเราได้ ก็ดึงมา เพราะเป้าหมายของเราคืออยากให้สระบุรีพัฒนาไปภายใต้แÿนแม่บท ที่ÿู้คนทุกภาคส่วนร่วมกันก�าหนดขึ้น การวิจัยถึงศักยภาพต่างๆ ของ เมืองร่วมกับภาครัฐที่เป็นĀั่งก�าหนดนโยบาย จึงเป็นเรื่องส�าคัญ ล่ าสุด บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จํากัด กําลังศึกษาเรื่องการขับเคลื่อนเมือง ให้ เป็ น Food Valley เลยอยากให้ เล่ าว่ า เห็นโอกาสอะไรจากโครงการนี้ครับ ต้องเกริ่นก่อนว่า แต่ไหนแต่ไร สระบุรีเป็นเมืองที่ GDP สูงเป็นอันดับ ต้นๆ 1-12 ของประเทศ ที่เป็นเช่นนี้เพราะเรามีแหล่งอุตสาหกรรม หนักอย่าง โรงปูน โรงงานเซรามิก หรือโรงงานใหญ่ๆ มากมาย แต่ก็ต้องยอมรับว่าหลายปีหลังมานี้ ก�าลังÿลิตของเราลดลงอย่างมี นัยส�าคัญ อย่างกระเบื้องนี่ก็ÿลิตในไทยน้อยลงเยอะแล้ว เพราะตลาด หันมารับของจากจีนและเวียดนามมากกว่า รวมถึงโรงงานอื่นๆ ด้วย เพราะฉะนั้นมันไม่ใช่แค่ปัญหาว่ารายได้จากโรงงานหายไป แต่ยังหมายถึงรายรับของประชากรด้วย เพราะสระบุรีประชากร ประมาณ 600,000 กว่าคน ไหนจะประชากรแĀงอีกเยอะ คนย้ายมา เพื่อท�างาน พองานไม่มี ÿู้คนก็จ�าต้องย้ายออกไปหาโอกาสที่อื่น จริงอยู่ทุกวันนี้โรงงานปูนของเรายังมั่นคงเพราะเป็นของบริษัทใหญ่ ระดับประเทศ และจากการที่นิ่มเคยท�าวิจัยเรื่องแรงงาน เด็กที่เรียนใน สระบุรีส่วนใหญ่ก็มีความĀันที่จะท�างานโรงปูน เพราะมีรายได้มั่นคง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเด็กทุกคนจะได้เข้าไปท�างานที่นี่ แล้วที่เหลือ เขาจะท�าอะไรล่ะ? คือนอกจากโรงงานกับงานราชการ สระบุรีก็แทบ ไม่มีอาชีพอื่นให้เด็กๆ ที่นี่ได้ท�าเลย เราเห็นว่าถ้าเป็นแบบนี้ต่อไป คน รุ่นใหม่ก็ย้ายออกหมด ซึ่งปรากฏการณ์นี้ได้เกิดขึ้นมาแล้วในช่วงหลาย ปีหลังมานี้ จึงเป็นที่มาในการหารือกันว่าเราควรดึงต้นทุนอื่นที่จังหวัด มีมาเพิ่มมูลค่า ทั้งในแง่ของการส่งเสริมเศรษฐกิจภาพรวมและสร้าง งานสร้างอาชีพให้คนสระบุรี นั่นจึงเป็ นที่มาของการมองไปยัง อุตสาหกรรมอาหาร? ใช่ค่ะ จากสถิติคนในสระบุรีอยู่ในภาคการเกษตรถึง 70-80% และÿู้คน ในอุตสาหกรรมเกษตรนี้เกือบทั้งหมดเป็นคนไทยในพื้นที่ อย่างไรก็ตาม อย่างที่ทราบกันว่าก็เป็นเหมือนอีกหลายๆ จังหวัดในประเทศไทยที่ การมีอาชีพเกษตรกรประสบปัญหารายได้ไม่เพียงพอ แต่อย่าลืมว่า สระบุรีเป็นแหล่ง supply ด้านอาหารระดับประเทศมา นานมากแล้ว โคนมสระบุรีÿลิตได้สูงสุดเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ ปศุสัตว์อย่างไก่และหมูก็มาจากฟาร์มในจังหวัดเรา ข้าว ข้าวโพด มันส�าปะหลัง และอื่นๆ นี่คือสิ่งที่เรามีมานานแล้ว แต่ไม่ได้ถูกประกาศ ออกไป แบรนด์ÿลิตอาหารระดับอาเซียนหลายแบรนด์ก็ตั้งโรงงาน ที่นี่ คือเมื่อเป็นแบบนี้แล้ว จะดีกว่าไหม ถ้าเราÿลักดันให้สระบุรีเป็น food hub หรือศูนย์กลางอาหารไปเลย แต่ที่เราก�าลังจะท�าเนี่ย ไม่ใช่ การสนับสนุนทุนใหญ่ที่เป็นเจ้าของโรงงานซึ่งพวกนี้เขาลอยตัวอยู่แล้ว แต่เป็นการเชื่อมศักยภาพของเกษตรกรให้พวกเขาสามารถสร้างมูลค่า เพิ่มให้สิ่งที่ก�าลังÿลิตอยู่ รวมถึงท�าให้เกิดความยั่งยืนในภาคการเกษตร เข้ าใจว่ าในตัวโครงการคือการศึกษา ความเป็ นไปได้ ในการลงทุนใหสระบุรีเป็ น ้ Food Valley เลยอยากรู้ ว่ าเราจะ เริ่ มต้ นศึกษาเรื่องนี้อย่ างไรครับ เราอยู่ในระหว่างการศึกษาระดับปากทาง สิ่งที่เราค้นพบคือ ถ้าเราจะ สร้างระบบนิเวศของ Food Valley ให้ได้ดี เราต้องมีพาร์ทเนอร์เป็น ภาคการศึกษา สระบุรีเราโชคดีมีศูนย์การเรียนรู้เพื่อภูมิภาค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อยู่ที่อ�าเภอแก่งคอย ซึ่งมีห้องทดลองและ เครื่องมือด้านงานวิจัยพร้อมสรรพ โดยเราก็ได้จุฬาลงกรณ์มาเป็น พาร์ทเนอร์ส�าคัญในโครงการนี้ด้วย ขณะเดียวกันเราก็ส�ารวจเกษตรกรรายย่อยในจังหวัด ซึ่งเราพบ ว่าสระบุรีมีกลุ่มเกษตรกรรุ่นใหม่อยู่มาก เพียงแต่ที่ÿ่านมาเขายัง เข้าไม่ถึงโอกาสในการพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าÿลิตภัณฑ์ ยกตัวอย่างเช่น อย่างสระบุรีเราเป็นแหล่งÿลิตนมใช่ไหม ÿลิตภัณฑ์หลักของเราคือ นมโรงเรียน แต่ช่วงโควิดที่ÿ่านมา โรงเรียนปิด เราเลยส่งนมโรงเรียน ไม่ได้ เกษตรกรก็แย่เลยเพราะเขาส่งอยู่ช่องทางเดียว ก่อนหน้านี้ ตอนที่นิ่มอยู่ YEC เคยเสนอโปรเจกต์ให้สระบุรีเป็น ศูนย์กลางด้านแดรี่ (dairy) หรือนมและÿลิตภัณฑ์ใกล้เคียง ซึ่ง ประเทศไทยเราก็เป็นแหล่งÿลิตนมส�าคัญส่งไปทั่วอาเซียน รวมถึง สิงคโปร์ ฮ่องกง และจีนอยู่แล้ว อย่างไรก็ดี เราส่งออกนมจะได้ราคา หนึ่ง แต่ถ้าเราแปรรูปนมเป็นเนย เป็นไอศกรีม หรือเบเกอร์รี่ มูลค่าก็ จะสูงขึ้น ตรงนี้แหละ คือประเด็นที่เราก�าลังท�า คือการ matching กลุ่ม พัฒนาÿลิตภัณฑ์ ห้องทดลอง และงานวิจัย เข้ากับเกษตรกรในสระบุรี เพื่อยกระดับÿลิตภัณฑ์ที่เรามีอยู่แล้วให้สร้างมูลค่าเพิ่มได้ 59
Interview Interview เราเชื่อมจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยเข้ า กับกลุ่ มเกษตรกร เพื่อหาวิธีเพิ่มมูลค่ า และช่ วยเขาหาตลาด และไม่ใช่แค่โคนมอย่างเดียว สระบุรีมีÿลิตภัณฑ์เกษตรที่เป็น GI อยู่หลายตัว (Geographic Indication - สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์) เช่น ข้าวเจ๊กเชยเสาไห้ที่อ�าเภอหนองแซง เป็นข้าวที่มีน �้ าตาลต�่า โปรตีน สูง เหมาะส�าหรับคนที่มีอาการเบาหวาน ถ้าเราขายสิ่งนี้เป็นข้าวสาร ก็จะได้ราคาหนึ่ง แต่ถ้าเราท�าเป็นแป้งล่ะ นิ่มเคยถามทางนักวิจัยของ จุฬาฯ อย่างช่วงที่มีสงครามรัสเซีย แป้งสาลีขาด ชาวต่างชาติต้องกิน ขนมปัง นิ่มถามว่าข้าวไทยท�าเปน็แป้งขนมปังไม่ได้หรือ? ถ้าท�าได้เนี่ย ก็จะสามารถทดแทนข้าวสาลีจากรัสเซียได้ คือเราจะได้ไม่ต้องขายแค่ ข้าวเจ้า ถ้าเราขายเป็นแป้งขนมปังด้วย เราก็จะมีตลาดที่เติบโตขึ้น มหาศาล ข้าวเราอาจจะแพ้ประเทศเพื่อนบ้านไปแล้ว เราอาจจะต้อง คิดมูลค่าเพิ่มให้ออก นอกจากนี้ เรายังมีมะม่วงมันหนองแซง รวมถึง เÿือกหอม ที่เป็น GI ของบ้านเราด้วย และจริงๆ เราไม่ได้มองแค่การเป็นแหล่งÿลิตอย่างเดียว เพราะข้อ ได้เปรียบส�าคัญของเราอีกเรื่องคือเรามีท�าเลที่ดี อยู่จุดกึ่งกลางของ ประเทศ เรามีทางหลวงหมายเลข 1-2 ที่แยกไปทางภาคเหนือและภาค อีสาน เรามีชุมทางรถไฟที่อนาคตจะมีทั้งรถไฟรางคู่ และรถไฟความเร็ว สูงซึ่งเชื่อมไปถึงจีน ท�าเลการขนส่งจึงพร้อมมาก เป็ นทั้ งแหล่ งผลิตและ logistic ขนส่ งไปในตัว ไม่ใช่แค่นน ั้ ด้วยท�าเลตรงกลาง เรายังสามารถรวบรวมวัตถุดิบจากรอบ ข้างมาÿลิตที่เรา สามารถทั้งรับและกระจาย โลเคชั่นแบบนี้เราจะขนส่ง อะไรก็ได้ แต่สิ่งที่เราอยากพัฒนามันควรจะเปน็ ด้านอาหาร ด้วยต้นทุน ของจังหวัดเรามีมาด้านนี้ ถ้ าเราได้ พบข้ อมูลที่มายืนยันจาก การศึกษานี้ว่ าสมควรแก่ การลงทุนให้ เกิด เป็ นรูปธรรม โครงการนี้จะไปต่ อยังไงครับ ก่อนหน้านี้เราคุยเรื่องนี้กับจังหวัดไปแล้ว ในฐานะหอการค้าจังหวัด สระบุรี และบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด เราก็มีส่วนช่วยทาง จังหวัดร่วมท�าแÿนพัฒนา 20 ปี และจากการท�า MOU กับจังหวัด ก็ยืนยันในระดับหนึ่งว่าถ้าการศึกษาส�าเร็จ สิ่งนี้จะไปอยู่ใน master plan ของเขา และอีกทางหนึ่งเราก็หวังว่าข้อมูลพวกนี้จะถูกส่งขึ้นไป ในระดับนโยบาย ไปทางส�านักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ กระจายให้ไปทุกหน่วยงานเลย ให้เขาเข้าใจว่านี่คือศักยภาพของ สระบุรีนะ มันส่งÿลกระทบเชิงบวกต่อประเทศ เรามาร่วมขับเคลื่อน ไปด้วยกัน 60
Interview Interview เรื่องอาหารก็เรื่องหนึ่ง แล้ วในมุมมอง ภาคธุรกิจด้ านอื่นล่ ะครับหอการค้ าจังหวัด สระบุรีเองได้ พูดคุยกันไหมว่ าปั ญหาที่ เผชิญอยู่ ตอนนี้คืออะไร และเราจะ จัดการกันอย่ างไร สระบุรีก�าลังประสบปัญหาแบบเดียวกับอีกหลายจังหวัดในประเทศ คือ ย่านธุรกิจเก่าๆ ใจกลางเมืองก�าลังจะตายลง เพราะพฤติกรรมÿู้บริโภค เปลี่ยนไป รวมถึงการมาของโมเดิร์นเทรดและอี-คอมเมิร์ซ ทั้งหอการค้า และบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด เคยท�าโครงการฟื้นฟูย่านเก่ามา แล้ว ซึ่งเราพบว่านี่คือปัญหาเชิงโครงสร้างที่เกิดขึ้นระดับประเทศ รวม ถึงระดับนานาชาติ ลูกหลานเข้าไปท�างานเมืองใหญ่ เพราะไม่มีงานให้ ท�าที่บ้านเกิด และไม่อยากจะสานต่อธุรกิจที่บ้าน เมืองใหญ่กระจุกตัว เมืองเล็กๆ เงียบเหงาเพราะร้านรวงต่างๆ ถูกปิดไว้ แต่ไม่ใช่ว่าเรื่องนี้แก้ไขไม่ได้ สิ่งที่เราพบคือเรื่องการศึกษาในระดับท้อง ถิ่นที่ไม่สอดรับกับบริบทของเมืองน ั้ นๆ ยกตัวอย่าง สระบุรีมีวิทยาลัย อาชีวะศึกษาที่เปิดสอนด้านการโรงแรม แต่ถ้าคุณเรียนโรงแรมที่น ี่ จบออกมา คุณจะท�างานโรงแรมในสระบุรีไหม ในเมื่อเมืองของเรา มีโรงแรมจ�ากัด และไม่มีโรงแรมหรือรีสอร์ทระดับ 5 ดาวที่ต้องการ บุคลากรเฉพาะทางเลย หรือสระบุรีก�าลังจะเปน็ ศูนย์กลางระบบขนส่ง ทางราง เรามีสถาบันการศึกษาในท้องถิ่นที่ช่วยสร้างบุคลากรที่ไปป้อน อุตสาหกรรมนี้หรือยัง ที่ÿ่านมาเราก็ยังไม่เห็น สระบุรีเรามีวิทยาลัยอาชีวะของทั้งรัฐและเอกชนทั้งหมด 9 แห่ง ทุก แห่งสอนเหมือนกันหมดเลย เป็นหลักสูตรที่ท�าขึ้นเมื่อ 20 กว่าปีที่แล้ว ช่างยนต์ก็เป็นช่างยนต์เหมือนเดิม บัญชีก็ยังบัญชีเหมือนเดิม ซึ่งสัก 10 ปีก่อนมันอาจจะเวิร์ค แต่กับสถานการณ์โลกที่เป็นอยู่ตอนนี้ เรา ช้ากว่าที่เป็นอยู่ไปมาก เปลี่ยนหลักสูตรในสถาบันการศึกษา ท้ องถิ่ นให้ เท่ าทันโลกและสอดรับกับ บริบทท้ องถิ่ นด้ วย ใช่ค่ะ อย่างที่เราพยายามขับเคลื่อน Food Valley หรือโครงการต่างๆ ก็ เพื่อท�าให้สระบุรีเข้าถึงโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน อยาก ให้คนรุ่นใหม่ที่นี่จากที่เคยคิดว่าถ้าไม่ท�างานโรงปูน ก็คงจะไปหางาน ท�าในกรุงเทพฯ หรือจังหวัดอื่น กลับมาค้นพบเส้นทางในอนาคตของ พวกเขาที่สระบุรี หรือคุณเป็นลูกหลานเกษตรกรที่นี่ ก็สามารถสร้าง รายได้ได้ดีไม่ต่างจากคนท�างานโรงปูน ความตั้งใจของเราคือการที่คุณเป็นลูกหลานคนสระบุรี มีอาชีพที่ดี มี รายได้ที่มั่นคง และมีความภูมิใจที่ได้ใช้ชีวิตอยู่ที่นี่ ซึ่งน ั่ นแหละ การมี master plan ในการพัฒนาเมืองจึงเป็นสิ่งส�าคัญ 61
“ที่นี่เป็นโรงสีตั้งแต่สมัยช่วงสงครามโลก ก๋งÿมเป็น คนบุกเบิกก่อนส่งต่อมาที่รุ่นพ่อ เปน็ โรงสีโบราณที่ใช้แกลบ ให้พลังงาน และเพราะเป็นแบบน ั้ น พอโรงสียุคใหม่เขาใช้ แก๊สกันหมด ไหนจะเรื่องปล่องควัน รวมถึงรถสิบล้อที่ใช้ ขนส่งวิ่งเข้ามาในเมืองจนมีส่วนสร้างมลภาวะ ช่วงราวๆ ปี 2530 พ่อÿมก็เลยตัดสินใจหยุดกิจการน ี้ ลง และหันมา ท�าขนส่ง เป็นโกดังให้เช่าแทน ตอนแรกÿมไม่มีไอเดียจะท�าอะไรกับโรงสีนี้เลย ÿมเรียน มาทางสายคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมเมอร์ท�างานอยู่ กรุงเทพฯ ความที่ภรรยาÿมเป็นคนแก่งคอย เขาก็อยาก กลับมาดูแลครอบครัวที่นี่ ÿมก็ตามใจ เพราะÿมก็อยาก กลับมาดูพ่อแม่ตัวเองด้วย จึงตัดสินใจลาออกกลับมา อยู่บ้าน ตอนน ั้ นน่าจะยุคปี 40 กว่าๆ คอมพิวเตอร์ยังไม่แพร่หลาย อินเทอร์เน็ทก็ยังเป็นแบบต่อสายโทรศัพท์อืดๆ ยังไม่มี กระแส work from home เหมือนทุกวันนี้ ก็คิดหนักเหมือน กันนะว่าจะกลับมาท�าอะไร ช่วงแรกๆ ก็เลยท�าฟรีแลนซ์ ไอทีตามโรงงานต่างๆ ไปก่อน และก็ดูธุรกิจที่บ้านด้วย จนมาราวๆ ปี 50 นี่แหละที่ÿมเห็นว่าโรงสีซึ่งอยู่ในบริเวณ บ้านเราเนี่ยมันน่าจะเอาไปท�าอย่างอื่นได้มากกว่าปิดร้าง ไว้ ซึ่งท�าเลก็ดีด้วยเพราะอยู่ริมแม่น �้าป่าสักและอยู่ใกล้ ตลาดใจกลางเมือง ก็เลยชวนคุณพ่อว่ามาท�าอะไรสักอย่าง เถอะ ตอนน ั้ นกระแสกาแฟยังไม่ฮิตเท่าทุกวันนี้ แต่ÿม ค่อนข้างเชื่อมั่นว่าร้านกาแฟอีกหน่อยจะมา เลยตัดสินใจ ฟื้นฟูที่นี่เป็นร้านกาแฟ ตั้งชื่อไปตรงๆ เลยว่า ‘โรงสีกาแฟ’ เปิดเมื่อปี 2554 โรงสีกาแฟได้รับเสียงตอบรับที่ดีเลยครับ อาจเพราะเมือง มันยังไม่เคยมีแบบนี้มาก่อน จนทุกวันนี้ก็ยังดีใจที่มีคน บอกว่า ร้านเราเปน็ เหมือนเปน็หนึ่งในห้องรับแขกของเมือง แก่งคอย หรือเปน็อีกแห่งที่ช่วยท�าให้คนในเมืองมองเห็นว่า ต้นทุนเดิมอย่างบ้านเก่าหรือย่านเก่าที่เราคุ้นตา สามารถ น�ามาฟื้นฟูให้กลายเป็นจุดเช็คอินทางการท่องเที่ยวได้ อย่างÿมเจอกับตัวเลย ÿมโตมาในโรงสีนี้ เห็นแÿ่นสังกะสีก็ รู้สึกขวางหูขวางตาอยากรื้อออก แต่นักท่องเที่ยวมาก็บอก ว่าตรงนี้เท่ดี ตราชั่งข้าวเปลือกที่อยู่เดิม ÿมก็เฉยๆ กับมัน ช่างภาพมาบอกว่านี่คือมุมถ่ายรูปที่สวย เหล่านี้ก็เริ่มท�าให้ ÿมรู้สึกว่า ถ้าเรามองในมุมคนที่อื่น มันมีคุณค่าบางอย่าง ที่เรามองไม่เห็นมัน จนกว่าจะมีคนมาบอกมัน อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ในช่วงหลังๆ จะมีกระแสของการ ฟื้นฟูย่านเก่าตามเมืองต่างๆ แต่ก็ต้องยอมรับว่าแก่งคอย ถึงจะมีต้นทุนทางประวัติศาสตร์ดีแค่ไหน แต่ด้วยสภาพ เมืองมันไม่เอื้อ ที่จอดรถไม่เพียงพอ ทางเท้าไม่เอื้อต่อ การเดิน เมืองร้อนเพราะไม่มีพน ื้ ที่สีเขียวให้ร่มเงา นน ั่ ก็ท�าให้ ตลาดแก่งคอยยังคงซบเซา เพราะกายภาพเมืองไม่เอื้อ นักท่องเที่ยวคิดจะมา แต่พบว่ามันช่างล�าบาก เขาก็ เลือกจะไปที่มันสบายกว่า ÿมจึงเห็นว่าแนวคิดเรื่อง ‘เมืองสีเขียว’ หรือ ‘เมืองเดินได้’ เนี่ย มันจ�าเป็นต่อเมืองที่มีข้อจ�ากัดแบบเรามากๆ เพราะ มันไม่ใช่แค่ดึงดูดให้คนมาเยือน แต่ยังหนุนเสริมให้เกิด เศรษฐกิจหมุนเวียนในเมือง พอเมืองมันเดินสะดวก แทนที่ คนจะไปซื้อของตามซูเปอร์สโตร์ขนาดใหญ่นอกเมือง เขาก็จะเลือกมาซื้อของในตลาดหรือในย่านเก่าเป็นหลัก มากกว่า แต่แค่เมืองเดินง่ายยังไม่พอ เมืองต้องมีที่จอดรถที่เพียง พอ อันนี้ขอวงเล็บให้มันเป็น smart parking ด้วย ใช้ IOT มาบริหารจัดการ คือเทศบาลไม่ต้องไปเช่าที่จอดรถขนาด ใหญ่ที่ไหนเลย เราใช้ที่ว่างที่เรามีอยู่เต็มเมืองนี่แหละ และ ใช้ระบบคอยอัพเดตว่าตรงไหนมีที่ว่างบ้าง คนจากข้าง นอกก็เข้าไปจอด จากน ั้ นก็ขึ้น EV Bus หรือระบบขนส่ง สาธารณะที่คอยรับส่งÿู้คนจากมุมต่างๆ เข้ามาใช้พ ื้ นที่ ในเมือง อย่างร้านÿมก็มีที่จอดรถเยอะแยะ ÿมก็อาจเอาที่ ของÿมไปเข้าระบบนี้ ให้คนมาจอดได้ เขามาจอดเสร็จ ก็รอ รถสาธารณะมารับเพื่อไปซื้อของในเมือง พอเรามีสามตัวนี้ (เมืองเดินได้, ที่จอดรถอัจฉริยะ, ระบบ ขนส่งมวลชน) เมืองมันจะดึงดูดให้คนมาใช้ แล้วจริงๆ แก่งคอยมันเล็กมาก แค่ 2x2 ตารางเมตรเอง ถ้ามีพ ื้ นที่ สีเขียวเยอะ เช้าๆ เย็นๆ คุณเดินเล่นได้ทั้งเมือง คนมีอายุ หน่อยก็อาจนั่งรถบัสหรือรถไฟฟ้าไป เปน็ ต้น พอโครงสร้าง พ ื้ นฐานดี คุณท�าธุรกิจอะไรในเมืองก็ขึ้น หรือคุณจะ ท�าการท่องเที่ยว เปลี่ยนย่านเก่า เปลี่ยนตลาดท่าน �้ า หรือ วัดแก่งคอยเป็นแหล่งท่องเที่ยว หรืออย่างที่พยายามท�า กิจกรรมล่องเรือแม่น �้าป่าสักกันอยู่ คนก็จะมากัน ในฐานะที่ÿมเกิดแก่งคอย ÿมก็เคยสงสัยว่าสมัยตอนÿม เด็กๆ ที่เมืองยังไม่ทันสมัยอย่างทุกวันนี้ ท�าไมย่านใจกลาง เมืองถึงคึกคักและเศรษฐกิจดีจัง แล้วก็พบว่าเพราะ สมัยก่อนทุกบ้านยังไม่มีรถส่วนตัว การคมนาคมหลักคือ การใช้รถไฟไปต่างอ�าเภอหรือจังหวัด ส่วนการคมนาคม ในตัวเมืองคือไม่ปั่ นจักรยานก็เดินเท้าเอา เศรษฐกิจของ เมืองมันจึงหมุนเวียนเพราะมีคนไปมาหาสู่กันตลอดเวลา ไม่ได้หมายความว่า ÿมอยากให้เมืองเรากลับไปล้าสมัย แบบในอดีตนะครับ แต่ถ้าเราน�าวิถีสมัยน ั้ นอย่างการ เดินเท้าหรือปั่ นจักรยานมาเป็นทางเลือกหลัก ภายใต้ การพัฒนาในเมืองร่มรื่นน่าเดิน มีระบบขนส่งสาธารณะ ที่พร้อม สิ่งนี้ไม่เพียงท�าให้เศรษฐกิจในตลาดกลับมาดี แก่งคอยจะยังเป็นเมืองน่าอยู่ และมลภาวะที่ก�าลังเป็น ปัญหาในเมืองก็จะลดลงตามมาด้วย” People People 62
นพพล ธรรมวิวัฒน์ เจา้ของร้ านโรงสีกาแฟ เราอาจจะเฉยๆ กับสิ่ งเก ่ าๆ ที่เราเห็นทุกวัน แต ่ ใครจะรู้ ว ่ า พอคนที่อื่นมาเห็น เขาอาจเห็นคุณค่ า บางอย ่ างที่เราไม่ เคยสนใจมัน People People 63
64
แก่ งคอย - สระบุรี 65
ชุติมา วุฒิสุข เจา้ของร้ านอเล็กซ์ ข้ าวเหนียว People People 66
ที่ใช้ ชื่ออเล็กซ์ ข้ าวเหนียว เพราะพี่ชื่อเล่ นชื่อเล็ก ก็อยากให้ ลูกค้ าสงสัยว่ า ทําไมร้ านมีชื่อฝรั่ ง พี่เห็นว่ าร้ านขนมเขาใช้ ชื่อแม่ นําหน้ ากันเยอะ แม่ นู้ น แม่ นี้ พี่ใช้ อาขึ้นดีกว่ า แต่ เป็ นอาฝรั่ งด้ วย “พี่เรียนจบด้านพลศึกษา ก่อนเรียนจบมีโอกาสได้เรียน ท�าขนม เราชอบท�า แล้วดันขายดีตอนท�าขายเลน่ ๆ ระหว่าง เรียน รายได้โอเคเลย สุดท้ายพอเรียนจบ ก็ไม่ได้ใช้สิ่งที่ เรียนมา ขายขนมมาจนถึงทุกวันนี้ (หัวเราะ) จ�าได้เลยว่า ตอนจบมาใหม่ๆ นี่ย่าบ่นมากๆ ไปเปิดร้านขนมที่สระบุรีก่อน ชื่อร้านแตงโมอยู่หน้า เทศบาลเมืองสระบุรี เปิดมาตั้งแต่ปี 2525 ขายขนมปัง คุกกี้ เบเกอรี่Āรั่ง แล้วค่อยหันมาท�าขนมไทย ก็เรียนรู้สูตร ใหม่ไปเรื่อยๆ คิดว่าจะท�าตรงนี้สักพัก แล้วหาลู่ทางไปท�า ธุรกิจที่อื่นต่อ มีอยู่ช่วงหนึ่งที่ลูกไปเรียนต่อมหาวิทยาลัย บูรพาที่บางแสน ยังคิดจะไปเปิดร้านที่หน้ามหาวิทยาลัย เขาด้วยซ�้า แต่น ั่ นล่ะ สุดท้ายไม่ได้เปิด เพราะตอนปี 2548 พี่ดันเจอโรคมะเร็งล�าไส้เสียก่อน ซึ่งเป็นระยะที่ 3 เสียด้วย จากคิดว่าจะท�างาน หาเงิน และไปเที่ยวที่ต่างๆ สุดท้าย ต้องมาพักฟื้นที่แก่งคอย บ้านเกิด ก็คิดว่ากลับมารักษา ก่อน คิดว่าเอาเถอะ…ชีวิตคนเราเกิดมาก็ต้องตาย ไม่วัน นี้ พรุ่งนี้ ก็สักวัน ปรากฏว่าเกือบๆ สองปีÿ่านไป ปรากฏ ว่ารักษาหาย และกลายเป็นว่าเราอยู่ติดบ้านที่แก่งคอย เสียแล้ว ก็กลับมาท�าขนมใหม่ แต่คราวนี้ขายแต่ขนมไทย พี่เปิดร้าน เล็กๆ ชื่อว่า อเล็กซ์ข้าวเหนียว อยู่หน้าร้านเชี่ยวชาญ ที่เปน็ ร้านเครื่องเขียนเจ้าดังของอ�าเภอ หลักๆ จะขายข้าวเหนียวมูน ถ้าเป็นหน้ามะม่วง ก็จะขาย ข้าวเหนียวมะม่วง ถ้านอกฤดูก็จะเป็นข้าวเหนียวหน้า กุ้งแห้งÿัดมะพร้าว ข้าวเหนียวมูนกับสังขยา หรือข้าว เหนียวทุเรียน แต่ที่ขายดีที่สุดคือข้าวเหนียวมูนเปล่าๆ เพราะเอาเข้าจริงแก่งคอยÿลไม้เยอะ ลูกค้าพี่ก็คนแก่งคอย ทั้งน ั้ น เขาก็ซื้อไปกินกับÿลไม้ที่บ้านที่มีอยู่แล้ว มะม่วง ขนุน ทุเรียน หรือกินเปล่าๆ ที่ลูกค้าติดใจข้าวเหนียวมูนร้านพี่เพราะพี่มูนด้วยกะทิแท้ๆ ขายวันต่อวัน ถ้าสังเกตข้าวเหนียวบางเจ้าในกรุงเทพฯ ที่เงาวับๆ เค้าใช้น �้ ามันพืชทาเพื่อลดต้นทุน มันดูดีนะ แต่รสชาติสู้ที่มูนจากกะทิจริงๆ ไม่ได้ ก็จะขายทุกเช้า ไปจนถึงตอนบ่ายโมง ถ้าวันไหนเหลือกลับมา ก็เอามา ขายที่หน้าบ้านในตลาดลาวประมาณบ่ายสามจนถึงค�่า ขายลดครึ่งราคาเลย เพราะอยากขายให้หมด ไม่หมดก็ แจก สามีพี่เขาเปิดบ้านขายอาหารแมว ลูกค้ามาซื้อ พ ี่ ก็แถมข้าวเหนียวให้เขาไปด้วย เพราะถ้าเหลือค้างคืน เราจะไม่ให้ใครกินทั้งน ั้ น ส่วนมะม่วงน �้ าดอกไม้นี่มาจากสวนชาวบ้านในแก่งคอย เลย มะม่วงบ้านเราจะติดเปรี้ยว ไม่ได้บ่มแก๊ส แล้วก็เอา ÿ้าปิดไว้ สุกเมื่อไหร่ ก็ขายลูกที่สุกไป มะม่วงน �้ าดอกไม้ แก่งคอยอร่อย แต่แนะน�าให้กินเฉพาะฤดูกาลของมัน ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคมนี่อร่อยเลย นอกฤดูกาลน ี่ อย่าไปกิน เขาใช้ยากันเยอะ ชาวสวนบางเจ้าเขาท�าส่ง ออกต่างประเทศนอกฤดูกาลนี่ขายดีนะ แต่พอใช้สารเคมี มากๆ พี่เคยเป็นมะเร็งมาก่อน ก็แอบกลัวว่าเขาจะไม่ได้ อยู่ใช้เงินกัน เมื่อก่อนขายดี เพราะคนท�างานโรงงานจากรอบๆ เขา เข้ามาซื้อเราหมด ยิ่งหน้าร้อนนี่ข้าวเหนียวมะม่วงขายดี มากๆ พี่เป็นคนที่จดรายรับ-จ่ายตลอด เคยขายได้เดือน นึงแสนกว่าบาทก็มี จนช่วงหลังๆ มาเจอโควิดและโรงงาน หลายแห่งก็ย้ายไปอยู่ที่อื่น รายได้ลดลงมาเยอะ แต่พี่ก็ขาย ราคาเท่าเดิมมาตลอด ถึงข้าวเหนียวจะราคาสูงขึ้นก็เถอะ อยากให้คนได้กิน พี่ไม่ได้ลา� บากอะไร ท�าเพราะความสนุก ได้คุยกับลูกค้า เป็นชีวิตประจ�าวันเราด้วย อย่างปีนี้ช่วงนี้เริ่มมีขนุน ขายข้าวเหนียวมูนวันนึงได้ 3 กิโลกรัมนี่ก็หรูแล้ว ก็ขายให้พอมีก�าไรใส่กระเป๋าไว้กินไว้ จ่ายก็พอ ไม่หวังเอามากมาย และท�าแล้วไม่เหลือทิ้ง จริงๆ วันหนึ่งอยากท�าแค่หนึ่งกิโลฯ ด้วยซ�้า แบบให้แย่งกันซื้อ เพราะเราไม่เหนื่อยดี แต่พอขายหมดเร็ว ลูกค้าประจ�าบาง คนไม่ได้กิน เขาก็ÿิดหวัง เลยท�าเÿื่อนิดหน่อยให้พอเหลือ ที่ใช้ชื่ออเล็กซ์ข้าวเหนียว เพราะพี่ชื่อเล่นชื่อเล็ก ก็อยาก ให้ลูกค้าสงสัยว่าท�าไมร้านมีชื่อĀรั่ง พี่เห็นว่าร้านขนมเขา ใช้ชื่อแม่น�าหน้ากันเยอะ แม่นู้น แม่นี้ พี่ใช้อาขึ้นดีกว่า แต่เป็นอาĀรั่งด้วย คนแก่งคอยเขาก็จดจ�าไปแล้ว ข้าวเหนียวอเล็กซ์หน้าร้านเชี่ยวชาญ ขาย 7 โมงครึ่งถึง บ่ายโมง” People People 67
“สมัยก่ อนถ้าเป็นคนที่อื่นมาอยู่สระบุรี จะภาคเหนือหรืออีสาน เขาก็จะเรียกว่าคนลาวหมดครับ พอเมืองสระบุรีเริ่มเติบโตเพราะมีโรงงานอุตสาหกรรม มาตั้ง คนจากที่อื่นก็ย้ายมาท�างานที่นี่กันเยอะ อย่างตลาดที่ÿมขายของอยู่ทุกวันนี้ในเทศบาลเมือง แก่งคอย ก็เป็นตลาดที่ขยายมาจากตลาดเทศบาลĀั่ง ตรงข้าม ก็มีพ่อค้าแม่ค้าหาบเร่มาตั้งแÿงขายบนถนน จนเทศบาลเขาก็ÿ่อนÿันให้เป็นตลาดชั่วคราว โดยให้ขาย แค่ช่วงเย็น ความที่คนต่างถิ่นมาขายตรงนี้เยอะ เลยเรียก ต่อๆ กันว่าตลาดลาวมาจนถึงวันน ี้ ก่อนหน้านี้ ÿมท�างานบริษัทบริษัทÿลิตสุขภัณฑ์ของ แบรนด์ต่างประเทศที่มาเปิดโรงงานในแก่งคอย ÿมเจอ แฟนที่บริษัท แม่ของแฟนขายขนมไทยอยู่ตลาดลาวนี่ ขายมา 50 ปีแล้ว มีขนมชั้น ขนมหม้อแกง ขนมวุ้น และ ข้าวเหนียวมะม่วงตามฤดูกาล รวมถึงกระยาสารท แล้วแฟนก็ลาออกมาช่วยขาย รวมถึงท�ากับข้าวใส่ถุงมา ขายข้างๆ ร้านของแม่ ขายมา 20-30 ปีแล้ว พอÿมเออร์ลี่รีไทร์จากบริษัท ก็มาช่วยแฟนขายกับข้าว บางวันก็เอากับข้าวและขนมจากแม่ยายบางส่วนไปขายที่ ตลาดโต้รุ่งด้วย เพราะต้องยอมรับว่าช่วงหลังๆ มันมีตลาด เกิดขึ้นเยอะ คอยดักคนที่ท�างานโรงงานรอบๆ แถมหา ที่จอดรถง่ายกว่า เขาก็เข้ามาซื้อในตัวเมืองแก่งคอยน้อย ลง เราก็เลยเอาของที่เราท�าไปหาลูกค้าบ้าง ส่วนในตัว เมืองนี้ก็มีก�าลังซื้อจากคนที่อยู่ในเขตเทศบาลอยู่ รวมถึง นักท่องเที่ยวที่มาไหว้พระวัดแก่งคอย โดยเฉพาะเสาร์- อาทิตย์นี้ รถติดยาวบนถนนหน้าวัด ตลาดเราที่ขายตั้งแต่ บ่ายสามโมงลงมาก็ได้อานิสงส์ไปด้วย ควบคู่ไปกับการช่วยแฟนขายกับข้าว ÿมก็ท�างานสังคม โดยเป็นประธานชุมชนสันติสุข ชุมชนที่ตลาดแห่งนี้และ วัดแก่งคอยตั้งอยู่ด้วย และความที่ท�างานต�าแหน่งนี้ เลยได้ ร่วมกับทาง บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด ท�าโครงการ วิจัยบ้าง รวมถึงโครงการเมืองแห่งการเรียนรู้นี้ด้วย ก็ไปร่วมอบรม ไปแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทุกคนมีโจทย์ เดียวกันคือต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจ ท�ายังไงให้ย่าน การค้าเก่าแก่ในเขตเทศบาลมันฟื้น รวมถึงหาวิธีดึงดูดให้ คนรุ่นใหม่ที่เปนล็ูกหลานคนแก่งคอยกลับมาท�างานที่บ้าน เพื่อท�าให้เมืองมีชีวิตชีวา ก็มองกันหลายวิธี แต่ส่วนตัวÿมนะ ÿมว่าถ้าเราท�า แก่งคอยให้ดึงดูดการท่องเที่ยวได้ ก็น่าจะช่วยกระตุ้น เศรษฐกิจได้เยอะ เพราะเรามีถนนมิตรภาพตัดÿ่าน ใครจะเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปเขาใหญ่ หรือไปภาค อีสานต้องÿ่านเราหมด จะท�ายังไงไม่ให้เขาÿ่านไปเฉยๆ แวะเข้ามาไหว้พระ มาเดินตลาด หรือมาเดินถนนคนเดิน บ้างอะไรแบบน ี้ ซึ่งก็มีแนวโน้มที่ดีนะครับ เพราะวัดแก่งคอยเขาก็พยายาม สร้างจุดดึงดูดตลอด มีถ�้าพระยานาค มีพระธาตุอินทร์ แขวนจ�าลอง มีเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อลาเป็น จุดขาย คนก็เริ่มมาเยอะ แต่ก็คิดกันว่าน่าจะมีแม่เหล็กเพิ่ม ขึ้น หรือกิจกรรมสักอย่างที่ท�าให้นักท่องเที่ยวตัดสินใจแวะ พักสักหนึ่งคืน คือแก่งคอยก็มีแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ไม่น้อยนะครับ เป็นจุดปีนเขาและกีฬากลางแจ้งที่ได้รับ ความนิยม เพียงแต่มันยังเฉพาะทางอยู่ ถ้ามีอะไรเพิ่ม กว่านี้ก็คงดี ถามว่าแก่งคอยมีอะไรที่นักท่องเที่ยวอาจจะยังไม่รู้อีก จริงๆ แล้ว เมืองเรานี่อาหารอร่อยเยอะนะครับ สามารถ ท�าเส้นทางตระเวนกินยังได้ มีร้านโรงสีกาแฟที่เขาท�าคาเฟ่ ในโรงสีเก่า ร้านราดหน้า ร้านข้าวมันไก่นี่ก็ดัง ส่วนตลาด โต้รุ่งที่ขายตอนเย็น ก็มีร้านอร่อยๆ เยอะ ส่วนตลาดลาวนี้ก็ด้วยครับ ร้านแม่ยายÿมเอง ‘ขนมหวาน แม่อนงค์’ ใครมาก็ต้องแวะซื้อขนมกลับไป ไม่ได้แนะน�า เพราะเป็นร้านแม่ยายหรอกนะครับ ร้านนี้เขาขึ้นชื่อจริงๆ (หัวเราะ)” People People 68
จิระวัฒน์ตั้ งใจ ประธานชุมชนสันติสุข เทศบาลเมืองแก่ งคอย ถามว ่ าแก ่ งคอยมีอะไร ที่นักท่ องเที่ยวอาจจะยังไม่ รู ที่นักท่ องเที่ยวอาจจะยังไม่ รู้ อีก จริงๆ แล้ ว เมืองเรานี่อาหารอร เมืองเรานี่อาหารอร่ อย ที่นักท่ องเที่ยวอาจจะยังไม่ รู้ อีก จริงๆ แล้ ว เมืองเรานี่อาหารอร่ อย ที่นักท่ องเที่ยวอาจจะยังไม่ รู ที่นักท่ องเที่ยวอาจจะยังไม่ รู้ อีก จริงๆ แล้ ว เมืองเรานี่อาหารอร่ อย ที่นักท่ องเที่ยวอาจจะยังไม่ รู้ อีก จริงๆ แล้ ว เมืองเรานี่อาหารอร่ อย เยอะนะครับ สามารถทําเส้ นทาง ตระเวนกินยังได้ ถามว ่ าแก ่ งคอยมีอะไร ที่นักท่ องเที่ยวอาจจะยังไม่ รู้ อีก จริงๆ แล้ ว เมืองเรานี่อาหารอร่ อย เยอะนะครับ สามารถทําเส้ นทาง ตระเวนกินยังได้ People People 69
อยากให้ แก่ งคอยเป็ นเมืองท่ องเที่ยวเชิงสุขภาพ เรามีทรัพยากรที่พร้ อมทั้ งบุคคล สถานที่ และบรรยากาศ อยากให้ เมืองกลายเป็ น หนึ่งทางเลือก สําหรับคนเมือง ที่คิดอยากมาพักผ่ อน พรเพ็ญ เทพสนธิ รองนายกเทศมนตรีเมืองแก่ งคอย People People 70
“พี่เกิดแก่งคอยค่ะ โตมาในเมืองนี้ ได้ ไปเรียนที่อื่นอยู่พักหนึ่ง หลังเรียนจบ เพราะ เราÿูกพันกับบ้านเกิด ก็เลยกลับมาท�างาน ที่นี่ อยากมีส่วนท�าให้บ้านเมืองเราพัฒนา พี่เลยท�างานอยู่เทศบาลเมืองแก่งคอยได้ 30 ปีแล้ว ถ้าย้อนกลับไปสมัยก่อน ตอนที่พี่กลับมา ท�างานที่นี่ใหม่ๆ เงื่อนไขของเมืองแก่งคอย ในเชิงสังคมก็ไม่ค่อยต่างจากปัจจุบันนี้ นัก เด็กที่เติบโตที่นี่ พอไปเรียนกรุงเทพฯ หรือเมืองอื่นๆ ส่วนใหญ่ก็เลือกจะไป ท�างานที่เมืองนั้น น้อยคนจะกลับมาท�างาน ที่บ้าน เพราะนอกจากงานราชการกับ โรงงาน แก่งคอยก็ไม่ได้มีทางเลือกด้าน วิชาชีพเท่าใดนัก หรือกระทั่งงานในโรงงาน อุตสาหกรรมก็ตาม ถึงแม้จะอยู่ในอ�าเภอ แก่งคอย แต่ทั้งหมดก็ล้วนอยู่นอกเขต เทศบาล พื้นที่เทศบาลแก่งคอยจึงเป็นสังคม ÿู้สูงอายุเต็มรูปแบบ พอเมืองเรามีแต่ÿู้สูงอายุเป็นส่วนใหญ่ ความกระตือรือร้นก็ลดน้อยลง เพราะÿู้ สูงอายุเขาก็ท�างานมาทั้งชีวิตแล้ว พ่อส่ง ลูกหลานเรียนจบกันหมด จึงไม่ได้คิดถึง การต่อยอดอะไรมาก ซึ่งก็เป็นธรรมชาติที่ เราเข้าใจได้ เมืองเราเงียบสงบดีก็จริง แต่ มันก็ขาดชีวิตชีวา ขาดสีสัน รวมถึงธุรกิจ ใหม่ๆ ที่ช่วยดึงดูดให้ÿู้คนมาอยู่อาศัย หรือ ให้คนรุ่นใหม่กลับบ้าน ก็เป็นเหมือนงูกินหาง มาจนถึงปัจจุบัน เทศบาลเมืองแก่งคอยก็อยากให้คนรุ่นใหม่ กลับมาท�างานที่บ้านเกิดแหละค่ะ เพราะคน รุ่นใหม่คือก�าลังส�าคัญของการพัฒนาเมือง แต่เมื่อความเป็นจริงเรามีก�าลังตรงนี้น้อย ท่านนายกเทศมนตรี (สมชาย วรกิจเจริญÿล) ก็เลยพยายามÿลักดันให้ทรัพยากรบุคคล ที่เรามีอยู่แล้ว ช่วยท�าให้เมืองน่าอยู่ ซึ่งนั่น ก็คือกลุ่มเด็กและเยาวชนและÿู้สูงอายุ นั่นจึงเกิดโครงการหรือกิจกรรมที่เรา พยายามดึงคนทั้งสองรุ่นมาเจอกัน เชื่อม หน่วยงานต่างๆ มาช่วยสร้างจิตส�านึกรัก บ้านเกิดให้เด็กๆ หรือท�าโครงการให้ÿู้สูง อายุได้มีส่วนร่วม และช่วยเป็นแรงสนับสนุน ให้คนรุ่นใหม่ โดยเฉพาะเรื่องหลัง (กิจกรรมส่งเสริมÿู้สูง อายุ) เทศบาลเราภายใต้การท�างานของกอง สวัสดิการสังคมได้ท�า ‘โรงเรียนÿู้สูงอายุ’ ขึ้น โดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้ÿู้สูงอายุใน พื้นที่ของเราอยู่ดีกินดี ได้เข้าสังคม และ เรียนรู้เรื่องราวใหม่ๆ รวมถึงท�ากิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ครอบคลุมตั้งแต่เรื่องสุขภาพไป จนถึงกิจกรรมสันทนาการ ปัจจุบันเรามีนักเรียนที่เป็นÿู้สูงอายุประมาณ 70 คน ในแต่ละสัปดาห์โรงเรียนก็จะมี กิจกรรมที่หมุนเวียนให้ÿู้สูงอายุที่สนใจ เข้าร่วม โดยเฉลี่ยจะมีนักเรียนเข้าร่วม ประมาณ 30-40 คน บางสัปดาห์ก็เป็น กิจกรรมออกก�าลังกาย บางสัปดาห์เป็นเรื่อง อาหารการกิน เป็นทักษะหัตถกรรมส�าหรับ ประกอบอาชีพเสริม รวมถึงทักษะดิจิทัล ส�าหรับโลกสมัยใหม่ เป็นต้น ถึงจะบอกว่าเป็นโรงเรียน แต่บรรยากาศการ เรียนÿ่อนคลายกว่านั้นเยอะ เหมือนชั่วโมง ชมรมให้ÿู้สูงวัยมาร่วมสนุกกันมากกว่า พวกท่านจะได้ไม่เครียด ไม่ต้องเหงาอยู่บ้าน หรือได้ตระหนักในคุณค่าของตัวเอง เพราะ คนวัยเกษียณหลายคน พอไม่ได้ท�างานแล้ว อยู่บ้านเฉยๆ บางทีพวกเขาก็คิดว่าตัวเอง ไม่มีคุณค่า และพอเครียดมากๆ เข้า ก็ส่งÿล ต่อสุขภาพ กลายเป็นคนป่วยง่าย เป็นภาระ ให้ลูกหลาน พื้นที่ตรงนี้จึงเหมือนเป็นเครื่อง เยียวยาจิตใจของพวกท่านไปพร้อมกัน ซึ่งพี่ก็ดีใจที่ช่วงหลังๆ ทางหอการค้าแก่งคอย ก็ดี บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด ก็ดี เขาพยายามร่วมกันท�าโครงการเพื่อพัฒนา เมือง ด้วยการดึงกลุ่มÿู้สูงอายุเข้ามาด้วย อย่างงานแก่งคอยย้อนรอยสงครามโลกที่ เป็นงานประจ�าปีของอ�าเภอ ทางกลุ่มเขาก็ ชวนÿู้สูงอายุจากโรงเรียนของเรามาขึ้นเวที บอกเล่าเรื่องราวในอดีตของเมืองแก่งคอย ให้ลูกหลานที่นี่ได้ฟัง บางท่านทันเห็น ช่วงสงครามโลก ก็เล่าได้เป็นฉากๆ สิ่งนี้ ยังสะท้อนต้นทุนทางประวัติศาสตร์ของ เมืองเราได้ดีอีกด้วย People People ในฐานะตัวแทนของเทศบาล พี่ก็ดีใจที่มี กลุ่มภาคเอกชนมาร่วมพัฒนาเมืองกับเรา แบบนี้ เพราะต้องยอมรับว่าเทศบาลทำ Āายเดียวไม่ไหว ไหนจะระบบระเบียบ ราชการที่ทำให้การดำเนินงานล่าช้ากว่าที่ ควรจะเป็น อันนี้ไม่รู้พูดได้หรือเปล่า ทุกวันนี้ เทศบาลเราใช้รถขนขยะคันเก่ามากว่า 30 ปีแล้ว รถคันเดิมท�าหน้าที่ต่อไปแทบไม่ไหว แถมยังสร้างมลภาวะให้กับเมืองด้วย ท่าน นายกฯ มีแÿนจะของบประมาณเพื่อซื้อรถ ขยะใหม่ ก็ต้องท�าเอกสารไปยื่นส่วนกลาง หลายรอบมาก จนÿ่านมา 2 ปีแล้ว เรายัง ไม่ได้รถขยะเลย ทั้งที่จริงๆ นี่เป็นสิ่งพื้นฐาน ส�าหรับการบริหารจัดการเมืองที่สุดแล้ว นั่นแหละค่ะ พี่จึงมองว่าการร่วมมือกับ เอกชนที่มีมุมมองไม่ติดกรอบราชการและ มีความคล่องตัว จะช่วยท�าให้เมืองเรา พัฒนาได้ดีกว่าที่เป็นอยู่มาก ถามว่าอยากเห็นแก่งคอยพัฒนาไปใน ทิศทางไหน? พี่ขอตอบจากต้นทุนที่เรา มีและจากการที่ท�างานกับÿู้สูงอายุ พี่ว่า แก่งคอยน่าจะเติบโตเป็นเมืองท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ เพราะนอกจากเรามีกลุ่มÿู้สูง อายุที่เป็นเหมือนฐานความรู้เกี่ยวกับเมือง ประวัติศาสตร์ และด้านการดูแลร่างกาย ต่างๆ เรายังมีทรัพยากรที่พร้อมทั้งวัด แม่น�้า และแหล่งธรรมชาติที่อยู่รอบเมือง รวมถึง บรรยากาศÿ่อนคลายไม่เร่งรีบ การมา เยือนแก่งคอย เหมือนได้มาพักÿ่อนกับวิถี ชุมชนและธรรมชาติ ที่ส�าคัญ เราอยู่ห่าง จากกรุงเทพฯ เพียงขับรถชั่วโมงกว่าเท่านั้น ก็อยากให้เมืองกลายเป็นหนึ่งทางเลือก ส�าหรับคนเมืองที่คิดอยากมาพักÿ่อน” 71
“ผมเออร์ลี่รีไทร์ปี พ.ศ. 2555 ก่อน หน้านี้ÿมใช้ชีวิตโชกโชนพอสมควร เคยเป็น เด็กเกเรหนีออกจากบ้าน เคยเป็นกะลาสี เรือในต่างประเทศ ก่อนจะกลับมาท�างาน โรงปูนเกือบทั้งชีวิต คือนอกจากทักษะที่ได้ มา ได้เรียนรู้สารพัด ทั้งวัฒนธรรมการท�างาน แบบĀรั่ง การเมืองแบบพวกพ้องของคนไทย ความกล้าที่จะสื่อสารสิ่งที่เราคิด และอื่นๆ และสิ่งที่พอจะบอกได้ว่าเป็นบทเรียน จากชีวิตของÿมเองนี้ คือความรู้เป็นของ สาธารณะ เป็นสิ่งที่คนรุ่นก่อนควรต้องส่งต่อ ให้คนรุ่นหลัง อย่าหวงวิชา อย่างท�าปูนซีเมนต์มานี่เห็นได้ชัด ÿมโต มาในยุคที่คนรุ่นเก่าเขากีดกันคนรุ่นใหม่ ความรู้เป็นสิ่งที่ไม่มีใครยอมแบ่งปัน ซึ่ง น่าเศร้าที่หลายคนก็ตายไปกับความรู้ที่มี ความรู้เลยสูญหายไปด้วย ÿมÿ่านมาได้ก็ เพราะต้องขวนขวายความรู้ด้วยตัวเอง ครู พักลักจ�าเขาบ้าง หรือบางครั้งไซท์หน้างาน ÿมยังแอบไปĀกขับรถตักตินเลย คือเข้าใจ ได้ว่าบางงานอุปกรณ์มันแพง ซ่อมบ�ารุงยาก กลัวเด็กจะท�าเสียหาย แต่ถ้าคุณไม่สอนงาน แต่เนิ่นๆ งานก็ค้างที่คุณอยู่ไม่กี่คน มันไม่มี ประสิทธิภาพ ÿมแอบเรียนจนเป็น ทีนี้พอรุ่น ÿมเป็นซีเนียร์บ้าง มีความรู้อะไรนี่บอกคนรุ่น หลังหมดเลย เนื่องจากตอนท�างานÿมสนุกกับงานมาก พอ เกษียณออกมา ช่วงแรกๆ ที่ว่างมันก็เคว้ง ไม่รู้จะท�าอะไร ÿมก็ไม่ใช่นักวิชาการที่จะ เที่ยวไปสอนใครเขาได้ แต่คิดว่าตัวเองพอมี ประสบการณ์และมีแรง เลยหันไปท�างานจิต อาสา ท�าหลายชมรมเลย ชมรมสิ่งแวดล้อม เครือข่ายอนุรักษ์วิถีเกษตรกรรม ไปจนถึง เป็นจิตอาสาโรงพยาบาล ซึ่งหน้าที่หลัง ÿมท�าต่อเนื่องมาถึงทุกวันนี้ ต้องบอกอย่างนี้ จนทุกวันนี้ การที่ชาวบ้าน ไปโรงพยาบาลรัฐ ก็ยังต้องเจอกับขั้นตอน การลงทะเบียนและรักษาที่หลากหลาย บาง ครั้งเขาก็สื่อสารกับหมอและพยาบาลไม่ เข้าใจ ทางโรงพยาบาลเขาก็มีความคิดชวน คนวัยเกษียณอย่างพวกÿมมาเป็นจิตอาสา คอยอธิบายล�าดับขั้นตอน 1-2-3-4 ว่าคนไข้ ใหม่ต้องท�ายังไงบ้าง ต้องไปชั่งน�้าหนักตรงนี้ ไปตรวจความดันตรงนั้น เป็นต้น และความที่ÿมชอบเรียนรู้อยู่แล้ว ÿมเลย พูดได้หมดทั้งอังกฤษและภาษาถิ่น คนไข้ เป็นลาวมาÿมก็พูดลาว คนญวนมาÿมก็ พูดญวน เลยช่วยเหลือเขาได้ เรื่องภาษาถิ่น นี่ก็ตลกดี สมัยเด็กๆ ÿมไม่กล้าพูดเลยนะ ÿมคนหนองแซงมีเชื้อลาว แต่ตอนเด็กๆ ไม่ กล้าพูดลาว กลัวเพื่อนล้อ ไม่มั่นใจเลย มา เปลี่ยนเอาตอนไหนก็ไม่รู้ที่พบว่าจริงๆ เรา พูดได้หลายภาษานี่คือแต้มต่อ มันเป็นเสน่ห์ ด้วย (หัวเราะ) นอกจากงานที่โรงพยาบาล ถ้าแก่งคอยมี งานอะไรที่ต้องการความร่วมมือจากชาว บ้าน ÿมก็พยายามไปร่วมกับเขาหมดแหละ เพราะมีภาพĀันลึกๆ อยากให้เมืองเราเป็น เหมือนเมื่อสัก 50 ปีก่อน ที่ÿู้คนถ้อยทีถ้อย อาศัย เอื้อเฟื้อเÿื่อแÿ่ และไม่ได้เห็นเงินเป็น ที่ตั้ง เดี๋ยวนี้วัฒนธรรมแบบนี้มันหายไป พอ เห็นความเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่ที่จะ เชื่อมโยงชุมชนเข้ากับการท�าให้แก่งคอยเป็น เมืองน่าอยู่ ให้ ‘ÿู้คน’ เป็นศูนย์กลางของการ พัฒนา หาใช่การเอา ‘เงิน’ เป็นที่ตั้ง จึงรู้สึก ถึงบรรยากาศแบบในอดีต ก็ยินดีที่ไปร่วม งานกับเขา ไปร่วมทั้งในฐานะที่ช่วยประสานนู่นนี่ ไป แต่งเพลง แต่งบทกวีอ่านให้คนร่วมกิจกรรม ฟัง และไปเรียนรู้ศาสตร์ใหม่ๆ กับเขา อย่าง People People ปีที่แล้ว หม่อง (นพดล ธรรมวิวัฒน์) เขา ท�าโครงการเมืองแห่งการเรียนรู้ ชวนคน แก่งคอยเดินส�ารวจเมืองตัวเอง และพา วิทยากรที่เป็นอาจารย์ดังๆ ระดับประเทศ มาแบ่งปันบทเรียนจากเมืองต่างๆ มาเปรียบ เทียบกับแก่งคอย ÿมก็ไปฟังกับเขา ได้ความ รู้ใหม่ๆ มาเยอะ และก็เพิ่งเห็นว่าบ้านเราเนี่ย ยังมีต้นทุนในการพัฒนาอีกไม่น้อย ถามว่าในเมื่อต้นทุนเมืองเรามีพร้อม ท�าไม ยังไม่เดินหน้าอย่างที่ควรจะเป็นใช่ไหม? แหม่… ÿมมันก็ไม่ได้เรียนสูงด้วย บอกไป ท่านๆ เขาก็ไม่ฟังกันหรอกครับ แต่ถ้าให้ตอบ ÿมมองว่าไม่ใช่แค่แก่งคอยบ้านเรา แต่มัน คือประเทศทั้งประเทศ ที่ยังติดกับระเบียบ ราชการที่ไม่ทันความเปลี่ยนแปลง ÿมอยู่ มาหกสิบกว่าปีแล้ว ระบบมันไม่ต่างจาก สมัยก่อนเท่าไหร่ ต่างคนต่างท�าหน้าที่ของ ตัวเองไป เมืองมันเคลื่อนต่อได้ก็จริง แต่ถาม ว่าพัฒนาไหม… ก็ไม่ เพราะวิสัยทัศน์มันไม่ ได้ถูกĀังในระบบ และยิ่งวัฒนธรรมที่เจ้านายพูดอะไรถูก หมดทุกอย่างนี่ด้วย คนต�าแหน่งต�่ากว่า ไม่กล้าแย้งคนต�าแหน่งสูงกว่านี่เห็นได้ชัด ÿมจึงเห็นว่าจะโครงการหรือกิจกรรมอะไร ก็ตามแต่ การมีระบบระเบียบน่ะจ�าเป็น แต่ คุณต้องค�านึงถึงการมีส่วนร่วมของทุกคน ที่มีส่วนกับโครงการนั้นด้วย คนต้องเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนา และทุกคนล้วนมี ศักดิ์ศรีเท่ากัน รับฟังกันและกัน ไม่ใช่บอก ว่าฉันต�าแหน่งสูง ฉันเรียนมาสูง ฉันรู้ดีที่สุด เป็นแบบนี้ก็ไม่มีใครอยากแย้ง โครงการใดๆ มันก็ไปต่อไม่ได้” 72
สิ่ งที่พอจะบอกได้ ว ่ า เป็ นบทเรียนจากชีวิตของผมเองนี้ คือความรู้ เป็ นของสาธารณะ เป็ นสิ่ งที่คนรุ่ นก ่ อนควรต้ องส ่ งต ่ อ ให้ คนรุ ่ นหลัง อย ่ าหวงวิชา สมคิด ดวงแก้ ว พลเมืองแก่ งคอย People People 73
แก่ งคอย - สระบุรี 74
75
“หนูชอบท�ากิจกรรมนอกห้องเรียนอยู่แล้วค่ะ เพราะ ได้เรียนรู้อะไรใหม่ๆ ที่ไม่มีในต�าราเรียนดี แถมได้ท�า กิจกรรมที่ถ้าเป็นปกติก็คงไม่มีโอกาสได้ท�า ถ้าโรงเรียนมี โครงการอะไรมาเสนอให้เราเข้าร่วม ส่วนใหญ่หนูก็เลือก เข้าร่วมหมด อย่างงานแก่งคอยย้อนรอยสงครามโลกรอบนี้ หนูมาเป็น มัคคุเทศก์อาสา ได้แต่งตัวย้อนยุคและน�านักท่องเที่ยว เข้าชมสถานที่ต่างๆ ในเมือง เช่น วัดแก่งคอย ถ�้าบาดาล ศาลเจ้า และตลาดเก่า สถานที่เหล่านี้อยู่ใกล้โรงเรียนหนู หมดเลย แต่นอกจากเรื่องประวัติศาสตร์ช่วงที่สัมพนัธมิตร เอาระเบิดมาลงช่วงสงครามโลกและวัดแก่งคอยเป็น วัดเดียวที่รอดพ้นจากระเบิด หนูก็รู้เรื่องสถานที่อื่นๆ จากห้องเรียนในโรงเรียนน้อยมาก ดีหน่อยที่หนูมีปู่ที่ชอบพาไปนั่ นนี่และเล่าเรื่องต่างๆ ให้ฟัง พอมาเป็นมัคคุเทศก์อาสาโครงการนี้ ก็เหมือน ได้ทบทวนเรื่องเล่าจากปู่ ขณะเดียวกัน พี่ๆ ในโครงการ ก็ได้ให้ข้อมูลให้หนูรู้เพิ่มเติม เพื่อจะได้น�าชมให้แขกบ้าน แขกเมืองได้เข้าใจ ก่อนหน้านี้ก็มีไปร่วมกับโครงการของหอการค้าแก่งคอย และสระบุรีพัฒนาเมืองบ้าง อย่างไปท�าเวิร์คช็อปที่พี่ๆ ให้หนูกับเพื่อนๆ ลองดูสินค้าชุมชนเช่น น �้ ากระชาย ทองม้วน หรือขนมไทยต่างๆ และคิดกันว่าจะท�าแบรนด์ดิ้ง หรือมีวิธีสื่อสารสินค้าเหล่านี้ให้ขายได้ในวงกว้างยังไง ได้บ้าง หรืองานแถลงข่าวต่างๆ ที่หนูกับเพื่อนๆ ถูกเกณฑ์ ไปร่วม ก็ได้ความรู้กลับมาเยอะดี ซึ่งนอกจากได้ความรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ ในฐานะ ที่เป็นคนแก่งคอย ก็อยากเห็นบ้านเมืองพัฒนาด้วย อย่างการหาช่องทางยกระดับสินค้าชุมชน หรือการเปิด เมืองให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว ถ้าหนูพอช่วยอะไรได้ ก็อยากช่วยค่ะ ตอนนี้หนูอยู่ ม.5 แล้ว คิดว่าจะเรียนอะไรต่อไป? จริงๆ Āันอยากเป็นทหารค่ะ เพราะทั้งปู่ พ่อ และพี่ชายล้วนเป็น ทหารกันหมด หนูโตมาแบบนี้ก็อยากเป็นบ้าง ก็เอาเรื่อง นี้ไปบอกกับที่บ้าน เขาบอกว่าไม่อยากให้เป็น อาจเห็น ว่าหนูเป็นÿู้หญิงด้วยแหละ เขาอยากให้ไปเรียนเป็น พยาบาลมากกว่า และก็เพราะเหตุนี้ หนูเลยเอาสองอาชีพ มารวมกัน โดยตั้งใจจะไปเรียนต่อด้านพยาบาลทหาร เพราะครอบครัวอยากให้เป็นพยาบาล หนูก็เป็นให้ได้อยู่ ส่วนความĀันจะเป็นทหารก็ยังคงท�าต่อไปได้ ที่ส�าคัญ สระบุรีเรามีโรงพยาบาลค่ายอดิสร ที่เป็น โรงพยาบาลทหาร ถ้าเรียนจบออกมา แล้วได้บรรจุที่น ั่ น ก็ดี จะได้อยู่ใกล้บ้านค่ะ” อยากเป็ นทหารค่ ะ แต ่ ที่บ้ านอยากให้ เป็ นพยาบาล เลยคิดว่ าจะเอาสองสิ่ งนี้มารวมกัน โดยไปเรียนเป็ นพยาบาลทหาร วันเพ็ญ หร่ารัศมี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนเทศบาลบ้ านม่ วง People People 76
People People 77
ต ่ อให้ เราได้ รับจัดสรรงบประมาณ มาพัฒนาเมืองมากแค่ ไหน แต ่ ถ้ าขาดแผนแม ่ บท สระบุรีก็จะพัฒนาอย่ างไร้ ทิศทาง และไม่ เติบโตอย่ างที่ควรจะเป็ น สมชาย วรกิจเจริญผล นายกเทศมนตรีเมืองแก่ งคอย People People 78
People People “จริงอยู่ที่แก่งคอยจะเป็นอ�าเภอที่ได้ประโยชน์ จากโรงงานอุตสาหกรรม หากพ ื้ นที่ในเขตเทศบาลเมือง แก่งคอยกลับไม่มีโรงงานขนาดใหญ่ตั้งอยู่ น ั่ นท�าให้ เราเก็บภาษีได้น้อย ทั้งยังต้องจัดสรรงบประมาณมา แก้ปัญหาÿลกระทบจากโรงงานที่ไม่ได้อยู่ในพน ื้ ที่แต่ส่งÿล มาถึงÿู้คนในเขตของเราโดยตรงอีกด้วย ทั้งมลภาวะทาง อากาศเอย การขาดแคลนน �้ าเอย และอื่นๆ ในฐานะนายกเทศมนตรีเมืองแก่งคอย ÿมก็พยายาม สื่อสารเรื่องนี้เพื่อให้มีการจัดสรรงบประมาณใหม่ รองรับ กับÿลกระทบจริงในพน ื้ ที่ ไม่ใช่ค�านวณจากจ�านวนโรงงาน ที่ตั้งอยู่ในเขต อย่างไรก็ตาม เรื่องการจัดสรรงบประมาณยังไม่ใช่ปัญหาที่ ส�าคัญที่แก่งคอยก�าลังเÿชิญ เพราะจากการที่ÿมมีโอกาส มาด�ารงต�าแหน่งนี้หลายสมัยจึงเห็นว่าการที่เมืองของ เรา… ซึ่งไม่ใช่แค่ในระดับเทศบาลเมือง แต่เป็นอ�าเภอ ทั้งอ�าเภอ รวมถึงจังหวัดทั้งจังหวัด ยังคงขาดแÿนแม่บท ในการพัฒนา เพราะต่อให้เราได้รับจัดสรรงบประมาณมา พัฒนาเมืองมากแค่ไหน แต่ถ้าขาดแÿนแม่บท สระบุรีก็ จะพัฒนาอย่างไร้ทิศทาง และไม่เติบโตอย่างที่ควรจะเป็น พอไม่มีแÿนแม่บท มันก็เกิดภาพที่หลายคนชินตา หน่วย งานต่างหน่วยงานต่างท�างานของตัวเองไป หน่วยหนึ่งท�า ถนนเสร็จ อีกหน่วยเพิ่งได้งบมาท�าเดินท่อประปา ก็รื้อถนน ที่เพิ่งท�าเสร็จใหม่เพื่อท�าท่อ หรือหน่วยงานอื่นมาก่อสร้าง สาธารณูปโภคขนาดใหญ่ในเขตเมืองเรา ก็ไม่ได้มี การคุยกับท้องถิ่นก่อนเรื่องเส้นทางระบายน �้ า พอĀนมา น �้ าก็ท่วม เราก็ต้องแก้ไขกันอีก เหมือนวิ่งตามปัญหา ไม่จบสิ้น นี่ยังไม่รวมระบบระเบียบราชการที่มีข้อก�าหนดจุกจิกอีก หลากหลาย ซึ่งท�าให้หน่วยงานต่างๆ ไม่กล้าที่จะท�าอะไร เกินไปกว่ากรอบงานของตัวเอง เราจึงไม่สามารถตัดสินใจ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ทันที ทั้งๆ ที่ไอ้การไม่มีแÿนแม่บท เนี่ยแหละที่ท�าให้เมืองของเราต้องพบปัญหาเฉพาะหน้า ทุกเมื่อเชื่อวัน และก็เพราะเมืองไม่มีแÿนมาตั้งแต่ต้น ที่ดินมันจึงไม่ได้ ถูกจัดสรรอย่างเหมาะสม พ ื้ นที่สีเขียวและสวนสาธารณะ เราจึงไม่พอ ที่ÿ่านมา ÿมเล็งเห็นเรื่องนี้ ก็พยายามดึงงบ ประมาณจากน ั่ นนี่ ถ้าเจอตรงไหนที่ดินไม่แพง ก็จะให้ เทศบาลซื้อไว้เÿื่อเพิ่มพน ื้ ที่สีเขียว แต่ไม่วายได้รับค�าครหา ว่าจะซื้อไปท�าไม ล่าสุด ÿมจึงประสานไปทางกรมโยธาธิ การฯ ให้เขาท�าทางเดินริมตลิ่งเลียบแม่นาป�้ ่าสักให้เลย จะ ได้มีที่สาธารณะเพิ่มมา รวมถึงÿู้คนยังได้ใช้ประโยชน์จาก แม่น �้ ากลางเมืองด้วย ตอนนี้ท�าไปได้พอสมควรแล้ว จาก นี้ก็พยายามเพิ่มพ ื้ นที่สีเขียวให้ทางเดินมันร่มรื่น และท�า เพิ่มไปยังวัดบ้านม่วง รวมถึงเชื่อมตรงตลาดท่าน �้ าเข้ากับ วัดแก่งคอย จะได้กลายเป็นที่ท่องเที่ยวไปในตัวพร้อมกัน ซึ่งอย่างที่บอก ÿมจึงเห็นด้วยกับ บริษัท สระบุรีพัฒนา เมือง จ�ากัด ของคุณนพดล ธรรมวิวัฒน์ ที่เขาพยายาม จะประสานความร่วมมือระหว่างเอกชนกับท้องถิ่นในการ ÿลักดันให้จังหวัดเรามีมาสเตอร์แพลน หรือแÿนแม่บท ขึ้น ท้องถิ่นจ�าเป็นอย่างยิ่งต้องมีพันธมิตรแบบนี้ ถึงแม้ ระบบราชการบางอย่างในปัจจุบันอาจไม่เอื้อให้ท้องถิ่น ท�างานร่วมกับเอกชนได้อย่างเต็มที่ก็ตาม แต่การได้พูดคุย หารือ และท�า MOU ร่วมกันในบางโครงการ มันก็มีส่วนให้ โครงการดีๆ หลายอย่างเข้าไปอยู่ในนโยบายที่บังคับให้เจ้า หน้าที่ท�าต่อในอนาคต อย่างล่าสุดเทศบาลเมืองแก่งคอยเพิ่งเซ็น MOU ร่วมกับ บรษิัท สระบรุีพัฒนาเมือง จำกัด ในการขับเคลื่อนแก่งคอย เป็นเมืองอัจฉริยะ (smart city) ซึ่งนั่นก็เป็นสัญญาณที่ ทำให้ภาคประชาชนเหนว็ ่าเทศบาลพร้อมเปิดรับหน่วยงาน หรือองค์กรที่มีนวัตกรรมที่จะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิต คนในเมือง มาเสนอโครงการหรือแนวทางในการทำงาน ร่วมกันต่อไปได้ ในฐานะคนแก่งคอย จริงอยู่ เรามีปัญหาหลายประการที่ ต้องแก้เฉพาะหน้า กระนั้น ในภาพรวมของเมือง แก่งคอย ก็ยังมีความน่าอยู่และÿู้คนก็เป็นมิตร ถ้าหน่วยงานระดับ บริหารของเมืองและทั้งจังหวัดมาคุยกนั หรือมีการกระจาย อำนาจให้ท้องถิ่นมากกว่านี้ ÿมคิดว่าเราสามารถตั้งแÿน แม่บทของอำเภอและจังหวัดได้ เมืองจะเติบโตด้วย ความน่าอยู่กว่านี้ และปากท้องÿู้คนจะอิ่มกว่านี้ซึ่งนี่คือ สิ่งที่ÿมอยากให้เป็น” 79
ป้ าน้ อย-เจริญ น้ อยธะรงค์ ผู้ ประกอบการขายกระเป๋ าสานในแก่ งคอย บางคนชอบคิดไปเอง ว ่ าคนแก ่ ไม่ จําเป็ น ต ้ องเรียนรู้ อะไรแล้ ว อันนี้ไม่ จริง “พื้นเพป้าเป็นคนปากช่อง ได้สามีเป็นคนแก่งคอย เลยย้าย มาอยู่ที่นี่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2514 สามีป้าขายล็อตเตอรี่ ส่วนป้าเคยขาย ขนมครกที่ตลาดเช้าแก่งคอย ขายจนส่งลูก 3 คน เรียนจนจบปริญญา พอลูกแต่ละคนท�างานแล้ว ป้าก็เลยเลิกขาย อยู่บ้านเฉยๆ แล้วมันเหงาค่ะ พอเทศบาลเมืองแก่งคอย หรือหน่วย งานท้องถิ่นที่ไหนเขามีโครงการหรือกิจกรรมอะไรให้คนแก่อย่างป้าได้ เข้าร่วม ป้าก็ร่วมกับเขาหมด คนแก่ถ้าคิดว่าแก่ เราก็แก่จริงๆ แต่ถ้า เราคิดว่ายังไม่แก่ หาอะไรท�า เราก็จะยังไม่แก่ ป้าเลยพยายามท�าตัว ให้สาวไว้ตลอด (หัวเราะ) อย่างงานขายกระเป๋าสานนี้ ก็เกิดจากศูนย์ส่งเสริมอาชีพของจังหวัด เขาชวนให้เรามาเรียนท�ากระเป๋าสานจากเศษพลาสติก ป้าไปเรียน แล้วชอบ ก็เลยติดลม ท�าเลน่ๆ จนได้กระเป๋ามามากพอจะเปิดร้านขาย เลยไปขายที่ตลาดแถวปากช่องก่อน แล้วพอแก่งคอยเขามีการจัดถนน คนเดินตลาดท่าน �้ าแก่งคอย ป้าก็ไปจองบูธเอาของไปวางขายด้วย อย่างวันนี้มีงานแก่งคอยย้อนรอยสงครามโลก ทีมงานเขาก็จัดล็อคให้ ป้าขายด้วย โดยนอกจากกระเป๋าสานที่ป้าท�าเอง ป้ายังเอาสบู่สมุนไพร จากลพบุรีมาขายด้วย กระเป๋าขายใบละ 150-250 บาทค่ะ ขึ้นอยู่กับขนาดและความยาก ป้าสานเองด้วยมือทุกใบ วันไหนขยันหน่อย ใบนึงท�าวันเดียวก็เสร็จ พลาสติกนี่สั่งมาจากโรงงานแถวทับกวาง ได้มา ก็ลงมือสานเอง ไม่ได้คิดถึงก�าไรอะไรหรอก ท�าเอาสนุกมากกว่า มีคนยุให้ท�าขายทาง ออนไลน์ ป้าบอกท�าไม่เป็น ป้าอายุ 75 ปีแล้ว บางอย่างก็ให้เป็นเรื่อง ของคนรุ่นใหม่ดีกว่า ส่วนป้าเองไม่ได้ล�าบากอะไร ลูกหลานทุกคน ก็ลงตัวหมด คนโตท�างานอยู่กรุงเทพฯ อีกคนอยู่หนองแคนี่เอง และ คนเล็กอยู่ศูนย์โตโยต้าสระบุรี เขาก็มาอยู่เป็นเพื่อนป้าที่แก่งคอย ป้าว่าดีนะที่มีหน่วยงานมาสนับสนนุ กิจกรรมให้ÿู้สูงวัยน่ะ บางคนชอบ คิดไปเองว่าคนแก่ไม่จ�าเป็นต้องเรียนรู้อะไรแล้ว อันนี้ไม่จริง เพื่อนป้า อีกหลายคนเขาก็อยากท�าน ั่ นท�านี่เป็น อย่างป้าเองยังคิดจะท�าแหนม ขายต่อจากนี้ด้วย รอสูตรให้มันนิ่งๆ ก่อน” People People 80
People People 81
ถ้ าเราร ่ วมมือกัน แก ่ งคอยจะไม่ เพียงน่ าอยู ่ สําหรับคนท้ องที่ แต ่ จะน ่ าอยู ่ และ น ่ ามาเที่ยวสําหรับคนที่อื่นด้ วย เราจะเป็ นได้ มากกว ่ าเมืองผ่ าน บนถนนมิตรภาพอย่ างแน ่ นอน สานิตย์แซ ่ จึง หัวหน้ าหอการค้ าแก่ งคอย และกลุ่ มแก่ งคอยเมืองน่ าอยู่ “ผมเกิดและโตที่แก่งคอย เตี่ยเปิดร้านขายของช�า อยู่ในตลาดเทศบาล เปิดมาตั้งแต่สมัยสงครามโลก เมื่อก่อนตอนÿมเป็นเด็ก ÿมชอบเดินจากร้านไปวิ่งเล่น แถวตลาดท่าน �้ า ตรงน ั้ นจะเห็นเรือขนสินค้าจากที่ต่างๆ มาเทียบท่า บางส่วนเขาก็ขนสินค้าขึ้นĀั่งเพื่อขนถ่ายไป ทางรถไฟต่อ แก่งคอยสมัยน ั้ นเศรษฐกิจดี ค้าขายคล่อง ตัว คนจากที่อื่นน�าÿลÿลิตทางการเกษตรมาขาย คนใน ตลาดก็ตั้งตารอว่าแต่ละวันจะมีÿลÿลิตอะไรมาให้ซื้อบ้าง ซื้อขายกันเสร็จ ก่อนกลับพวกเขาก็จะซื้อข้าวของเครื่องใช้ หรือเสื้อÿ้าในตลาดกลับไป คนขายและคนซื้อรู้จักกันหมด มันมีบรรยากาศแบบถ้อยทีถ้อยอาศัย เหมือนทุกคนเป็น เพื่อนบ้านกัน ซึ่งเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ว่า พอยุคสมัยเปลี่ยน สภาพสังคม หรือพฤติกรรมการจับจ่ายใช้สอยก็เปลี่ยนตาม เดี๋ยวน ี้ ทางเลือกของการจับจ่ายใช้สอยของคนแก่งคอยกลายเปน็ ซูเปอร์สโตร์ใหญ่ๆ ตลาดที่เคยคึกคักจึงซบเซา ขาดความ สัมพันธ์แบบเมื่อก่อน ในฐานะที่ÿมท�าธุรกิจที่นี่ ก็อยากมี ส่วนช่วยเหลือÿู้ประกอบการ ท�าให้ตลาดและย่านกลับมา มีชีวิตชีวา ไม่ได้คิดว่ามันต้องเหมือนเดิม แต่อย่างน้อยให้ คนดั้งเดิมยังสามารถค้าขายได้ต่อ ให้ลูกหลานมีก�าลังใจ อยากกลับมาสานต่อกิจการ หรือท�าสิ่งใหม่ๆ ในบ้านเกิด จึงร่วมกับเพื่อนÿู้ประกอบการด้วยกันตั้งกลุ่มหอการค้า แก่งคอยขึ้นเมื่อราว 15 ปีที่แล้ว หลักๆ กลุ่มนี้คือการร่วมกันจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้น เศรษฐกิจแก่งคอยครับ ตั้งแต่การชวนพ่อค้าแม่ค้าใน ตลาดท�าถนนคนเดินโดยจัดอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง จัด กิจกรรมประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ไปจนถึงหาจุดเด่น ใหม่ๆ เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว อย่างล่าสุด เราก�าลังส�ารวจ เส้นทางล่องแพและพายซับบอร์ดบริเวณแม่น �้าป่าสัก โดยดึงประวัติศาสตร์ของเมืองแก่งคอยกับล�าน �้ าสายนี้มา เป็นจุดขาย มีการล่องเรือไปชมทิวทัศน์ถ�้าหมีเหนือ-เสือ ใต้ ซึ่งอีกไม่นานก็น่าจะได้โปรโมทกัน ในหมวกอีกใบ สมาชิกกลุ่มหอการค้าแก่งคอย ยังทำ กลุ่มแก่งคอยเมืองน่าอยู่ กลุ่มนี้ตั้งมาเพื่อจัดกิจกรรม สร้างจิตสำนึกให้คนรักแก่งคอย และส่งเสริมให้แก่งคอย เป็นเมืองน่าอยู่ เราทำภายใต้โครงการแก่งคอยเมืองแห่ง การเรียนรู้ร่วมกับ บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จำกัด ก็มี การชวนตัวแทนจากภาคส่วนต่างๆ ของเมืองทำกิจกรรม walk rally เดินสำรวจเมืองด้วยมุมมองใหม่ เพื่อมองหา ปัญหาและวิธีการแก้ไข ไปจนถึงโอกาสใหม่ๆ ในการกระตุ้น เศรษฐกิจของเมืองกัน ทั้งยังมีการร่วมหุ้นกันบูรณะ อาคารเก่าในย่านตลาดท่าน้ำ ไว้สำหรับเป็นที่ทำกิจกรรม และนิทรรศการบอกเล่าเรื่องเมือง โดยสอดรับไปกับ กลุ่มหอการค้าแก่งคอย ที่พยายามท�าถนนคนเดินตลาด ท่าน �้ าแก่งคอย กระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างพ ื้ นที่การเรียน รู้ของเมือง สร้างบรรยากาศของเมืองน่าอยู่ไปพร้อมกัน People People 82
People People 83
People People 84
อย่างล่าสุด ทางกลุ่มหอการค้าแก่งคอยก็ร่วมท�าถนนคนเดินในงาน แก่งคอยย้อนรอยสงครามโลกด้วย เรารับÿิดชอบตรงโซนงานตั้งแต่ หลังสถานีรถไฟยาวลงมาถึงตลาดท่าน �้ าฯ ซึ่งนอกจากออกร้านและ มีการแสดงบนเวที ก็มีการเชิดสิงโต ไปจนถึงท�าเวทีให้คนเฒ่าคนแก่มา เล่าประสบการณ์ในอดีต โดยเฉพาะบางคนที่ยังทันเห็นตอนแก่งคอย ถูกระเบิดลงในสงครามโลก เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้เข้าใจความเป็นมา และเป็นไปของเมืองเราร่วมกัน ส�าหรับÿมแก่งคอยเป็นเมืองน่าอยู่อยู่แล้ว มีความเงียบสงบ ค่อนข้าง สะอาด ÿู้คนเปน็ มิตร ปลอดภัย เรื่องฉกชิงวิ่งราวแทบไม่มี ที่ส�าคัญเรา ยังมีต้นทุนทางประวัติศาสตร์ที่สามารถนา� มาสื่อสารหรือเพิ่มมูลค่ากับ เมืองได้ ทั้งตลาดเก่า แม่นาป�้ ่าสัก ท่านา �้ แก่งคอย วัดแก่งคอย ไปจนถึง เรื่องสงครามโลก คือถ้าเราร่วมมือกัน และหน่วยงานท้องถิ่นมาร่วมงาน กับเรามากกว่านี้ แก่งคอยจะไม่เพียงน่าอยู่ส�าหรับคนท้องที่ แต่น่าอยู่ และน่ามาเที่ยวส�าหรับคนที่อื่น เราจะเปน็ ได้มากกว่าเมืองÿ่านบนถนน มิตรภาพอย่างแน่นอน อยากให้เมืองเรามีการหนนุ เสริมอะไร ÿมมองว่าแก่งคอยเรายังขาดจุด เด่นด้านอาหาร คนมาที่นี่ยังไม่รู้ว่าจะกินอะไร ทั้งที่เอาเข้าจริง ของกิน ของคนไทยเชื้อสายจีนในตลาดนี่อร่อยเยอะ เพียงแต่เขาก็ไม่ท�าขายกัน คุณเข้าใจค�าว่ามรดกอาหารไหม หลายบ้านในนี้ท�าขนมกุยช่ายอร่อย มาก บางคนท�าบ๊ะจ่างรสชาติดีกว่าร้านดังๆ เสียอีก ไหนจะหมูกรอบ ขนมÿักกาด ไปจนถึงน �้ าเต้าหู้ ซึ่งที่ว่ามานี้ พวกเขาท�ากินกันเอง และ แจกจ่ายเพื่อนบ้านเป็นหลัก ÿมก็พยายามคุยกับเขาว่าน่าจะท�าขาย บ้างนะ ไม่ต้องขายทุกวันก็ได้ อาจขายเป็นวาระ หรือช่วงสุดสัปดาห์ ท�าให้คนที่มาเที่ยวแก่งคอยได้ลองชิม ÿมยืนยันเลยว่า ถ้าได้มาชิมแล้ว รับรองว่าจะต้องกลับมาที่นี่อีก” People People 85
แก่ งคอย - สระบุรี 86
87
ก็เข้ าใจนะว่ าถ้ าเรื่องพื้นฐานของเมืองยังไม่ พร้ อม สมาร์ ทซิตี้ก็อาจเป็ นเรื่องรอง แต่ ในอีกมุม เราสามารถทําสองเรื่องนี้ ไปพร้ อมกันได้และการเป็ นสมาร์ ทซิตี้ ก็สามารถช่ วยแก้ ปั ญหา ขั้ นพื้นฐานของเมืองได้ เช่ นกัน สุกัญญา ตรีสุนทรรัตน์ นักดิจิทัลพัฒนาเมือง People People 88
“บทบาทของหนูคือนักดิจิทัลพัฒนาเมือง เป็นตัวกลาง ที่เชื่อมระหว่างเทศบาลเมืองแก่งคอยกับทางส�านักส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทัล (Depa) ในการขับเคลื่อนเมืองแก่งคอย ให้เป็นสมาร์ทซิตี้ ก็ท�าทั้งเขียนโครงการที่พยายามใช้ เทคโนโลยีใหม่ๆ มาช่วยพัฒนาเมืองหรือท�าให้เมืองน่าอยู่ หรือถ้าทาง Depa เขามีทุนสนับสนุนที่น่าจะสอดคล้องกับ เมืองของเราได้ หนูก็จะน�าเสนอไปที่เทศบาล เป็นต้น พอมาอยู่ตรงนี้ก็เห็นโอกาสหลายอย่างเลยค่ะ อย่างการ ท�าสมาร์ทบัส (smart bus) เส้นทางรถสาธารณะที่คอยรับ ส่งÿู้คนในเมือง เพราะที่ÿ่านมาเมืองเราไม่มีรถสาธารณะ วิ่งในเมืองเลย หรือการท�าป้ายรถเมล์อัจฉริยะส�าหรับเส้น ทางรถประจ�าทางที่วิ่งระหว่างอ�าเภอหรือวิ่งเข้าตัวอ�าเภอ เมืองสระบุรี เป็นป้ายที่แจ้งข้อมูลรถแบบเรียลไทม์ว่า รถถึงจุดไหนแล้ว เป็นต้น อีกเรื่องที่พยายามท�าอยู่คือ CDP หรือ City Data Platform แพลทฟอร์มข้อมูลกลางของเมือง เช่น ข้อมูลประชากร สถิติด้านอาชีพ ข้อมูลนักท่องเที่ยว เป็นข้อมูลกลางที่ง่าย ต่อการสืบค้นและน�าไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาเมืองต่อไป เพราะต้องยอมรับว่าที่ÿ่านมา แก่งคอยเราขาดการเก็บ ข้อมูลตรงนี้ โดยเฉพาะข้อมูลของประชากรแĀง พอจะ ขับเคลื่อนโครงการอะไรที นักวิจัยเขาก็ต้องเข้ามาท�าข้อมูล ใหม่ซ�้าแล้วซ�้าเล่า หรือแก่งคอยเราเป็นเมืองÿู้สูงอายุ จึงมีความคิดของ หลายภาคส่วนที่จะน�าสมาร์ทโพล (smart pole) หรือเสา ไฟอัจฉริยะ ที่เป็นทั้งเสาไฟ ที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด ล�าโพง ส�าหรับเสียงตามสาย ไปจนถึงปุ่มแจ้งเหตุฉุกเฉินส�าหรับ ÿู้สูงอายุหรือคนในเมืองมาใช้ ให้เสานี้กระจายไปตาม จุดต่างๆ ของเมือง เพื่อเชื่อมไปยังหน่วยงานที่รับÿิดชอบ หรืออาสาสมัครดูแลเมือง ซึ่งก็จะช่วยดูแลÿู้คนในพื้นที่ ได้ดีมากๆ ที่ÿ่านมา หนูได้เขียน proposal ให้กับทางเทศบาลเพื่อยื่น ไปทาง Depa เพื่อให้ได้ตราสัญลักษณ์เขตส่งเสริมเมือง อัจฉริยะแล้ว ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่ระบุว่าแก่งคอยก�าลัง ขับเคลื่อนสาธารณูปโภคให้รองรับกับการเป็นสมาร์ทซิตี้ อยู่ เราได้ตราสัญลักษณ์นี้มาสักพักแล้ว เพียงแต่ตรานี้ ไม่มีเงื่อนไขเรื่องระยะเวลาว่ามีข้อก�าหนดกี่ปี และต้อง ยอมรับว่า ที่ÿ่านมา เทศบาลให้ความส�าคัญกับการแก้ ปัญหาพื้นฐานเป็นหลัก เช่น เรื่องปากท้อง รวมถึงปัญหา น�้าประปา ทางเทศบาลจึงยังมองว่าสมาร์ทซิตี้ยังเป็นเรื่อง รอง โครงการที่เล่ามาข้างต้นจึงยังคงอยู่ในระดับแนวคิด และข้อเสนอ ไม่ได้คืบหน้าเท่าที่ควร ซึ่งก็เข้าใจได้ค่ะ เพราะถ้าเรื่องพื้นฐานของเมืองยังไม่พร้อม เรื่องเทคโนโลยีใหม่ๆ เขาก็อาจจะยังไม่มีเวลาให้ความ ส�าคัญนัก แต่ในอีกมุม หนูก็คิดว่าสองเรื่องนี้ท�าพร้อม กันได้ หลายๆ โครงการของสมาร์ทซิตี้ ก็สามารถน�ามา แก้ปัญหาขั้นพื้นฐานของเมืองได้ อย่างไรก็ดี ในช่วงหลังๆ หนูก็เห็นว่าเป็นแนวโน้มที่ดีที่ทางเทศบาลเริ่มรับฟังข้อ เสนอจากหน่วยงานเอกชนที่เข้ามา และรับเข้ามาอยู่ ในแÿนของเมืองแล้ว ก็อยากให้มีการขับเคลื่อนร่วมกัน จนเกิดเป็นรูปธรรมได้ในที่สุด ถามว่าท�าไมคนรุ่นใหม่อย่างหนูถึงเลือกมาท�างาน แก่งคอย? หนูเป็นลูกคนเล็ก และเป็นลูกหลงด้วยค่ะ (หัวเราะ) พ่อแม่อายุมากแล้ว พอเรียนจบ (มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ) เลยกลับมาช่วยกิจการของครอบครัว ก่อน แล้วพอดี Depa เขาเปิดรับสมัครงานนี้ก็เลยมาท�า นอกจากนี้ หนูยังเขียนนิยายออนไลน์เป็นอาชีพเสริมด้วย เลยไม่ได้คิดว่าจะต้องไปท�างานในกรุงเทพฯ หรือที่อื่น อยู่บ้านเราที่นี่ก็สบายดี แล้วได้ดูแลพ่อแม่ด้วย (ยิ้ม) ถามว่าเหงาไหม? ก็นิดหน่อยค่ะ เพราะเพื่อนรุ่นเดียวกัน ที่เจอกันในเมืองมีอยู่แค่ 3 คนเอง ถ้าคนรุ่นใหม่ที่ท�างาน โรงงาน เขาก็จะไปพักที่พักใกล้โรงงาน ไม่มีใครอยู่ ในตัวเมืองเลย ถึงอยากให้มีเพื่อนในเมืองเยอะกว่านี้ แต่ก็เข้าใจข้อจ�ากัดของเมืองที่ไม่ได้เอื้อให้คนรุ่นหนู สามารถท�างานอยู่ที่นี่ได้นัก ก็อยากเห็นแก่งคอยพัฒนามากกว่านี้ อยากให้มีโครงการ ที่ท�างานร่วมกันระหว่างรัฐกับภาคเอกชนเยอะๆ เพราะ ไม่เพียงโครงการจะดึงให้คนรุ่นใหม่มาท�างาน แต่ถ้าเมือง มันพัฒนา โอกาสใหม่ๆ ก็จะเกิด เพื่อนๆ ในแก่งคอยก็อาจ จะเยอะขึ้นตามไปด้วย” People People 89
ระเบิดทําให้ แก่ งคอยทั้ งเมืองลุกเป็ นไฟ ท้ องฟ้ าเป็ นสีแดงไปหมด บ้ านเรือนไม่ เหลือ คนเสียชีวิตเยอะ เคราะห์ ดีที่คนในครอบครัวผม ปลอดภัยหมด นั่ นเป็ นภาพติดตามาตั้ งแต่ เด็ก “ก ๋ งกับเตี่ยÿมมาจากเมืองจีน ย้ายมาท�าโกดังเก็บ ข้าวเปลือกที่อ�าเภอแก่งคอย เพราะแก่งคอยเคยมีกรมทหารม้าอยู่ เราก็ส่งข้าวเปลือกให้ที่นั่น ÿมเกิดปี พ.ศ. 2482 ที่แก่งคอย พอปี 2488 ตอนÿมอายุ 6 ขวบ เป็น ช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา ทหารญี่ปุ่นมาตั้งค่ายอยู่ที่แก่งคอย ÿมยังไม่ค่อยรู้เรื่องอะไรหรอก แต่ได้ยินÿู้ใหญ่เขาเล่าว่าวันที่ 1 เมษายน 2488 เครื่องบินสัมพันธมิตรบินÿ่านแก่งคอยมาตีกากบาทไว้ก่อนแล้ว และเช้ารุ่งขึ้นของวันที่ 2 ระหว่างที่อาม่าจะพาÿมไปอาบน�้าที่ท่าน�้า ป่าสัก เพราะสมัยก่อนยังไม่มีน�้าประปา ก็เห็นเครื่องบินบินสวนมา และทิ้งลูกระเบิดลงไปในเมือง เห็นเป็นลูกด�าๆ หล่นลงมาจากท้องฟ้า เต็มไปหมด เสียงดังสนั่นหวั่นไหว อาม่าก็พาÿมวิ่งไปหลบตรงริมน�้า นั่นเป็นภาพติดตามาตั้งแต่เด็ก ระเบิดท�าให้แก่งคอยทั้งเมืองลุกเป็น ไฟ ท้องฟ้าเป็นสีแดงไปหมด บ้านเรือนไม่เหลือ คนเสียชีวิตเยอะ บางคนแขนขาด บ้างขาขาด เคราะห์ดีที่คนในครอบครัวÿมปลอดภัย หมด ตอนระเบิดลง ต่างคนก็ต่างอยู่กันคนละที่ ก็หนีกันไปหลบ ของใครของมัน จนพอเหตุการณ์สงบช่วงเย็น เราก็มาเจอกัน ระเบิดในเช้าวันนั้นท�าให้ครอบครัวÿมสูญเสียทุกอย่าง ทั้งโกดัง ทั้งร้าน และบ้าน ดีที่ก๋งมีเครือข่ายพี่น้องชาวจีนที่กรุงเทพฯ ให้เงินทุนมาก่อร่าง สร้างตัวกันใหม่ ก็หันมาขายพวกพืชไร่ ข้าวโพด ข้าวสารที่เป็นÿลิตÿล ของแก่งคอย ก่อนที่ก๋งจะส่งต่อธุรกิจให้เตี่ยท�าต่อ จนÿมเรียนหนังสือใกล้จบนั่นแหละ เตี่ยก็มาประเมินว่าถ้าท�าธุรกิจ ขายข้าวโพดและข้าวสารต่ออาจไม่ยั่งยืน เพราะเราต้องรับซื้อจาก เกษตรกรมาอีกที ซึ่งเกษตรกรเขาก็ต้องพึ่งพาฟ้าĀน ถ้าฟ้าĀนไม่เป็นใจ ÿลÿลิตไม่ออก เงินที่เราลงทุนให้เขาไปท�าไร่ก็สูญเปล่า แล้วเขาก็เป็น หนี้เสียกับเราด้วย ซึ่งก็พอดีกับช่วงนั้นÿมชอบขับรถ เพราะการที่ซื้อขายข้าวเปลือกมัน ต้องมีรถยนต์ไปรับเขา ÿมเลยขับรถเป็นตั้งแต่เป็นวัยรุ่นและชอบเล่น รถมาตั้งแต่นั้น คิดว่าถ้าเอาความชอบของเรามาท�าเป็นธุรกิจก็ดี และ อีกหน่อยทั้งรถยนต์และมอเตอร์ไซค์จะเป็นพาหนะที่คนแก่งคอยขาด ไม่ได้ หลังเรียนจบ ÿมกับเตี่ยก็เบนเข็มมาท�าธุรกิจขายอะไหล่รถเป็น รายแรกของอ�าเภอ ตอนนี้ท�ามาไม่ต�่ากว่า 40 ปีแล้ว ขายที่นี่มาตั้งแต่แรกเลยครับ เมื่อก่อนเป็นบ้านไม้ชั้นเดียว เช่าเขาอยู่ จนเขาตัดสินใจขาย ห้องหนึ่งสมัยก่อนที่เราท�าอยู่มันสามเมตรครึ่ง แล้วเปลี่ยนมาเป็นตึกคอนกรีต ข้างหน้า 4 ห้อง ข้างหลังอีก 4 ห้อง เขาขายเราห้องละ 8 หมื่นบาท ก็ค่อยๆ ÿ่อนส่งจนหมด 8 หมื่นบาท สมัยก่อนนี่เงินใหญ่นะ ก๋วยเตี๋ยวที่ÿมกินตอนเรียนหนังสือยังชาม ละ 50 สตางค์ ÿมนั่งรถประจ�าทางไปเรียนในกรุงเทพฯ ก็แค่ 10 บาท น�้ามันดีเซลลิตรละ 90 สตางค์ได้มั้ง คิดดูว่า 8 หมื่นบาท 4 ห้อง กว่าจะÿ่อนหมดนี่ก็เหนื่อยอยู่ ธุรกิจอะไหล่รถของÿมก็เติบโตแปรÿันไปกับความเจริญของเมือง อย่างที่เห็น จากหน้าร้านเดินต่อไปหน่อยก็เจอสถานีรถไฟชุมทาง แก่งคอย ตึกแถวหน้าสถานีรถไฟเมื่อก่อนนี่ขายอะไรก็ขายดีไปหมด เพราะสมัยก่อนคนเดินทางด้วยรถไฟเป็นหลัก แล้วชุมทางแก่งคอย มันเชื่อมกรุงเทพฯ กับอีสาน แล้วเขาต้องมาพักเปลี่ยนขบวนที่แก่งคอย สมัยก่อนรถไฟเป็นหัวรถจักรไอน�้าอยู่ มันวิ่งยาวไม่ได้เหมือนทุกวัน นี้ อย่างถ้าคุณเดินทางจากสุรินทร์ตอนเช้าก็ต้องมาแวะค้างคืนที่ แก่งคอยหนึ่งคืน เพื่อรอเปลี่ยนรถเข้ากรุงเทพฯ ตอนเช้า เขาก็ต้องเข้า พักที่โรงแรม จับจ่ายใช้สอยในตลาด พอเศรษฐกิจแก่งคอยดี คนก็ ขยับขยาย ซื้อรถซื้อลามาใช้ ร้านขายอะไหล่รถÿมก็ได้อานิสงส์ไปด้วย ถึงเดี๋ยวนี้ถึงÿู้คนจะใช้รถส่วนตัวเป็นหลัก และธุรกิจÿมก็ไม่ได้ดีเหมือน เมื่อก่อน เพราะแก่งคอยกลายเป็นเมืองหัวแตก ถึงถนนมิตรภาพจะตัด ÿ่านแต่คนขับรถÿ่านแล้วก็ÿ่านเลย ไม่ได้แวะพัก ดีที่ÿมท�าธุรกิจมา นานจนมีลูกค้าประจ�าเลยอยู่ได้ ซึ่งถ้ามองภาพรวม ทุกวันนี้หลายๆ อย่างของเมืองก็ดีขึ้น สาธารณูปโภคอะไรก็พร้อมกว่า น�้าไหล ไฟสว่าง ถนนหนทางก็พร้อม เมืองจึงดีขึ้นกว่าแต่ก่อน แต่ถ้าถามเฉพาะเรื่อง เศรษฐกิจ ก็ต้องบอกว่าสมัยก่อนแก่งคอยดีกว่าเยอะ ทุกวันนี้ ลูกสาวÿมดูร้านนี้เป็นหลัก (ร้านประสิทธิ์ÿลอะไหล่) ÿมก็มา ช่วยด้วย และมีอีกร้านเป็นของลูกชาย (เอกÿลอะไหล่) เปิดอยู่ตรงถนน มิตรภาพ ก็ดีใจครับที่ลูกๆ กลับมาช่วยสานต่อธุรกิจ ได้อยู่ ได้เห็นลูกๆ หลานๆ กันทุกวัน (ยิ้ม)” People People 90
ประสิทธิ์พิบูลชัยสิทธิ์ เจา้ของร้ านประสิทธิ์ผลอะไหล่ People People 91
สุนีย์สุวรรณตระกูล อาจารย์เกษียณและผู้ เขียนหนังสือ ‘คนเก่ าเล่ าอดีตเมืองแก่ งคอย’ ความทรงจําตรงนี้ เป็ นมรดกชิ้ นสุดท ้ ายที่เตี่ยมอบให้ พี่ไม่ อยากให้ มันถูกลืม เลยเขียนเป็ นหนังสือไว้ People People 92
“เตี่ยพี่แกเคยอยู่ซัวเถา มีวันหนึ่งก็มีเพื่อนบ้านมา บอกว่าจีนก�าลังจะมีการปฏิวัติ ถ้าเป็นได้ ให้เดินทางไป เมืองไทยดีกว่า เดี๋ยวจะหนีออกมาไม่ได้ เตี่ยก็เลยนั่งเรือ หนีออกมา แกเล่าให้พี่ฟังว่าระหว่างนั่งเรืออยู่ ดันไปเจอ พวกทหารญี่ปุ่นบุกยึดเรือ และเอาพวกเตี่ยไปทิ้งที่เกาะ ไหหล�า เตี่ยกับเพื่อนก็ต้องเดินเท้าจากไหหล�ากลับมา ตั้งหลักที่ซัวเถา แล้วค่อยวางแÿนเดินทางใหม่ จนอายุ 12 แกถึงอพยพมาอยู่เมืองไทยได้ แกเริ่มต้นจาก การเป็นลูกจ้างแถวบ้านหม้อที่กรุงเทพฯ ท�าได้สักพัก ช่วงนั้นมีสงครามมหาเอเชียบูรพา ก็มีข่าวว่าที่กรุงเทพฯ จะมีระเบิดอีก ก็เลยหนีมาเริ่มต้นชีวิตใหม่ที่แก่งคอย โดยมาเริ่มต้นขายน�้าแข็งไสในตลาด แต่ก็ไม่วายมีระเบิด ตามมาลงที่แก่งคอยอีก แต่เตี่ยก็รอดชีวิตมาได้ ก่อน จะได้รับความช่วยเหลือจากอากงของอาหม่อง (นพดล ธรรมวิวัฒน์) ให้เอาของมาขาย จนเปิดร้านขายของช�า ส�าเร็จ ร้านช�าของเตี่ยชื่อเบ๊ย่งเส็ง ตั้งอยู่ถนนหน้าสถานีรถไฟ เยื้องกับตลาดเทศบาล ตอนพี่เกิดนี่มีร้านนี้แล้ว และเตี่ย ก็ตั้งตัวได้แล้ว ชีวิตพี่กับพี่ๆ น้องๆ เลยไม่ค่อยล�าบาก เท่าไหร่ เตี่ยก็ส่งลูกทุกคนเรียนให้สูงที่สุดเท่าที่จะท�าได้ พี่เรียนด้านคณิตศาสตร์ และจบออกมาเป็นอาจารย์ภาค วิชาคณิตศาสตร์ที่พระจอมเกล้าบางมด (มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) ท�ามาเกือบทั้งชีวิต จนเตี่ย กับแม่อายุมาก พี่ก็เลยเออร์ลี่รีไทร์ออกมาดูแลแกที่แก่งคอย ช่วงที่พี่กลับมาดูแลเตี่ยก่อนแกจะเสียชีวิตนี่แหละ ที่เตี่ย เล่าเรื่องเก่าๆ ในอดีตให้ฟังเยอะมาก หลายเรื่องพี่ไม่เคย ได้ฟังมาก่อน ไม่รู้ด้วยซ�้าว่าแกเคยล�าบากขนาดไหน พี่ฟัง แล้วคิดว่าดีจังน่าจะให้พี่ๆ น้องๆ คนอื่นได้รู้ด้วย ไม่อยาก ให้ถูกหลงลืม ก็เลยจดบันทึกไว้ และเรียบเรียงออกมาเป็น บันทึกความทรงจ�าเตี่ย คิดว่าความทรงจ�าตรงนี้เป็นมรดก ชิ้นสุดท้ายที่เตี่ยให้เรา เราเลยอยากเก็บไว้ ไม่ให้ถูกลืม People People 93
พี่ก็เก็บเรื่องราวของเตี่ยมาเรื่อยๆ จนพี่สาวพี่ได้อ่าน เขาก็ชอบ ยุให้พ ี่ รวบรวมเพื่อพิมพ์ออกมาเป็นหนังสือเพื่อให้คนอื่นอ่านด้วย และก็น่า จะเขียนถึงคนเฒ่าคนแก่อื่นๆ ในแก่งคอย เป็นเหมือนบันทึกความ ทรงจ�าแก่งคอย เขาเสนอจะออกทุนค่าพิมพ์ให้ หนังสือขายได้เท่าไหร่ ก็เอาไปบริจาคให้โรงพยาบาล พี่ก็เห็นดีด้วย เราเกษียณแล้ว ก็เลยนัดหมายเพื่อนบ้านมานั่งสัมภาษณ์ กัน ตอนนี้เขียนได้ 40 กว่าคนแล้ว พี่มีเพื่อนท�างานศึกษาธิการ ก็ส่ง ต้นฉบับให้เขาช่วยตรวจทานว่าส�านวนพ ี่ พอได้ไหม เพราะจริงๆ เรา ก็เรียนทางวิทยาศาสตร์ ไม่เคยเขียนหนังสือมาก่อน แต่เพื่อนบอกว่า โอเคเลย พิมพ์ได้ พี่ก็มีก�าลังใจ จนอาหม่อง (นพดล ธรรมวิวัฒน์) เขาท�าบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด และท�าโครงการแก่งคอยเมืองแห่งการเรียนรู้ เมื่อปีที่แล้วนี่แหละ เขามาเห็นว่าพี่ก�าลังเขียนหนังสือเกี่ยวกับคนแก่งคอย ที่รู้เพราะหนึ่ง ในน ั้ นพี่เขียนถึงครอบครัวเขาด้วย เนื่องจากอากงเขาเป็นเพื่อนกับ เตี่ยพี่ เขาก็เลยเสนอว่าจะให้ทางโครงการจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ให้ เพื่อเปน็หลักฐานทางเอกสารที่บ่งบอกถึงที่มาที่ไปของÿู้คนในแก่งคอย พี่ตั้งชื่อหนังสือไว้ว่า ‘คนเก่าเล่าอดีต’ โดยในเล่มยังมีเนื้อหาที่ รวบรวมภาพถ่ายไว้ ก็ตั้งชื่อส่วนน ั้ นว่า ‘ภาพเก่าเล่าอดีต’ ตอนน ี้ น่า อยู่ในกระบวนการปรับปรุงเนื้อหา เพื่อพิมพ์เป็นเล่มออกมา พอได้คุยกับคนแก่งคอยมากๆ เลยรู้ว่าชีวิตกว่าจะมาถึงทุกวันนี้มัน ไม่ง่ายเลยนะ คนที่นี่ส่วนมากเป็นลูกหลานชาวจีนที่อพยพมาจาก แÿ่นดินเกิด บางคนแอบมากับท้องเรือข้ามทะเลมาเป็นเดือนๆ หลาน ของแม่พี่กว่าเดินทางออกจากเมืองจีนได้ ตอนเด็กๆ เขาต้องถูกยก ให้พ่อแม่บุญธรรม เพราะพ่อแม่จริงๆ ไม่มีปัญญาเลี้ยง จนพวกเขา ตั้งตัวได้ ก็ตามหากันจนเจอเมื่อเด็กโตแล้ว บางครอบครัวก็ได้เห็นมุมมองแปลกใหม่ อย่างเขาไม่อยากให้ลูก หลานลืมรากเหง้าหรือลืมภาษาจีน เขาก็สอนให้ลูกเรียนภาษาจีน ÿ่านการอ่านวรรณกรรมสามก๊ก เป็นต้น อย่างชีวิตเตี่ยพี่ดีหน่อย เคยล�าบากตอนแรก แต่มาอยู่เมืองไทย ก็ได้กัลยาณมิตรคอยช่วยเหลือตลอด ทั้งที่บ้านหม้อและที่แก่งคอย และเพราะเหตุน ั้ น อาจท�าให้เตี่ยพี่เป็นคนชอบช่วยเหลือคนและ ชอบท�าบุญท�าทานเป็นนิสัย ทุกวันนี้ร้านเบ๊ย่งเส็งของเตี่ยไม่เหลือแล้ว ปี 2560 จู่ๆ ก็เกิดไฟไหม้ ร้านเรารวมถึงตึกแถวหน้าสถานีรถไฟ ตอนไฟไหม้ พวกเรานอนกัน อยู่อีกบ้านที่เยื้องกับส�านักงานอ�าเภอ ตื่นเช้ามาจะเปิดร้าน ก็มาเห็น ว่าตึกแถวตรงน ั้ นเหลือแต่ซาก นี่เราก็เพิ่งสร้างเสร็จใหม่ โดยพี่ก็ให้ ช่างเขายึดรูปแบบใกล้เคียงกับแบบเดิมให้มากที่สุด โดยยังใช้ประตู ไม้บานเฟี้ยมแบบเดิมไว้ เพราะมันเป็นประตูที่ÿูกพันกับพวกเรามา ตั้งแต่เด็ก” People People 94
People People 95
People People สิรภพ แซ ่ จึง นักดิจิทัลพัฒนาเมือง แก่ งคอยไม่ มีขนส่ งสาธารณะ ใครจะมาเที่ยวก็ต้ องขับรถส่ วนตัวมา ช่ วงเสาร์ -อาทิตย์รถจึงติดหนัก คนจากรอบนอกก็ไม่ อยากเข้ ามา จับจ่ ายใช้ สอยในตลาด ถ้ าเรามีสมาร์ ทบัสวิ่ งตามจุดต่ างๆ มันจะอํานวยความสะดวกทั้ ง คนท้ องถิ่ นและนักท่ องเที่ยว ได้ เยอะครับ 96
People People “ผมเรียนจบด้านไบโอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยบูรพา จบมาช่วงโควิดพอดี เลยคิดว่ากลับมาตั้งหลักที่แก่งคอย บ้านเกิดเราก่อน เพราะที่บ้านมีÿู้สูงอายุเยอะ ก็กลับมา ช่วยพ่อดูแลอากง อาม่า และอาโก พอดีกับตอนที่กลับทางบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จ�ากัด ได้ร่วมกับ Depa (ส�านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล) และเทศบาลเมืองแก่งคอย ท�าโครงการนักดิจิทัลพัฒนา เมือง เปิดรับสมัครคนรุ่นใหม่มาท�างานโครงการสมาร์ท ซิตี้เชื่อมกับทางเทศบาล ÿมเลยสมัครเข้ามาท�างานนี้ และ ความที่ÿมท�าธุรกิจส่วนตัวปลูกÿักไฮโดรโปนิกในโรงเรือน ที่บ้านอยู่แล้วด้วย โดยส่งขายที่ร้านของพ่อในตลาดสด เป็นหลัก งานใหม่นี้ก็เลยลงตัว ได้ท�างานออฟฟิศตอน กลางวัน ได้ปลูกÿักขายหารายได้เสริมที่บ้าน และมีเวลา ให้ครอบครัว ที่ส�าคัญงานประจ�านี้ ยังมีส่วนในการร่วมหา ทิศทางพัฒนาบ้านเกิดÿมไปพร้อมกันด้วย บทบาทของนักดิจิทัลพัฒนาเมืองของÿม นอกจาก ประสานระหว่าง Depa กับทางเทศบาล คือคิดโครงการ ที่น่าจะช่วยพัฒนาเมืองหรือส่งเสริมอาชีพÿู้คนในเมืองได้ ก็มีเขียนโครงการ ‘สวนÿักกินได้กินดี’ ส่งเสริมให้ชาวบ้าน ทั้ง 16 ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองมีสวนÿักเป็นของตัวเอง โดยสวนที่ว่าไม่จ�าเป็นต้องมีที่ดินขนาดใหญ่ แค่มีพื้นที่สัก 1x1 ตารางเมตร ก็ท�าสวนในรูปแบบแนวตั้งได้แล้ว เริ่มน�า เข้าแÿน เพื่อที่จะหางบประมาณมาลง และให้ทางเทศบาล ร่วมขับเคลื่อนต่อไป ที่ÿมอยากท�าให้โครงการนี้มันเกิด ส่วนหนึ่งก็มาจาก ÿมเองด้วย ก่อนหน้านี้พ่อÿมเปิดร้านขายÿักในตลาด (เฮียนิตย์ÿักออร์แกนิก) ซึ่งประสบปัญหาว่าบางครั้งคน ปลูกÿักส่งประจ�าให้เรา เขาก็ไม่มีของส่ง เราก็เลยไม่มีของ มาขาย ÿมก็เลยเสนอว่างั้นเราศึกษาวิธีจากอินเทอร์เน็ท และปลูกÿักไฮโดรโพนิกของเราเองแล้วกัน ก็ทดลองเรื่อย มาจนทุกอย่างนิ่ง กลายเป็นว่าÿมก็มีรายได้เสริมมาอีก และธุรกิจพ่อก็สามารถรันต่อได้อย่างราบรื่น เรื่องนี้เลยท�าให้ÿมคิดว่าถ้าเราส่งเสริมองค์ความรู้ให้ÿู้คน ในเทศบาลปลูกÿักกินเองที่บ้าน หรือแต่ละชุมชนมีสวน กลางสักแห่งที่ให้คนในชุมชนได้มาปลูกและใช้ประโยชน์ ร่วมกัน ก็จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย รวมถึงบางคนยัง สามารถต่อยอดไปเป็นอาชีพเสริมได้อีก เพราะช่วงหลังๆ ÿู้คนเริ่มหันมาสนใจกินอาหารเพื่อสุขภาพกันมากขึ้นแล้ว ÿักปลอดสารเคมีก็เป็นอีกÿลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ ÿมเลย เขียนโครงการนี้ไปให้ทางเทศบาลเอาเข้าแÿนต่อไป นอกจากโครงการสวนÿัก ทางส�านักงานÿมยังร่วมกับทาง หอการค้าแก่งคอยมีแÿนจะพัฒนาแพลทฟอร์มส่งเสริม การท่องเที่ยวตลาดท่าน�้าแก่งคอย ท�าในรูปแบบสมาร์ท ไกด์ (smart guide) มีการติดตั้งว่าถ้าใครอยากรู้ความเป็น มาของพื้นที่ อาจจะเข้าไปกดปุ่มฟังเสียงดู เป็น qr code ลองเปิดดูว่าที่นี่มีประวัติความเป็นมายังไง โดยน�าร่องจาก พื้นนี้ก่อน แล้วค่อยขยายไปตามจุดต่างๆ ทั่วเมือง อีกโครงการที่อยากให้เกิดมากๆ คือสมาร์ทบัส (smart bus) อยากให้แก่งคอยเรามีรถวิ่งรอบเมือง เป็นรถพลังงาน ไฟฟ้าเพื่อลดมลภาวะ เพราะที่ÿ่านมา แก่งคอยไม่มีขนส่ง สาธารณะ ใครจะมาเที่ยวแก่งคอยก็ต้องขับรถส่วนตัว ช่วงเสาร์-อาทิตย์ รถจึงติดหนัก คนจากรอบนอกก็ไม่ อยากเข้ามาจับจ่ายใช้สอยในตลาด ถ้าเรามีสมาร์ทบัสวิ่ง ตามจุดต่างๆ ทั่วเมือง มันจะอ�านวยความสะดวกทั้งคน ท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวได้เยอะครับ อาจเพราะÿมเกิดและโตที่นี่ด้วย ÿมจึงÿูกพันกับที่นี่ และ ไม่รู้สึกว่าจะต้องย้ายไปท�างานที่ไหน มันเป็นความÿูกพัน แบบที่เห็นคนในตลาดทักทายกันทุกวัน ไปไหนก็เจอคน รู้จัก ขาดเหลืออะไรก็มีคนคอยช่วยเหลือกัน อบอุ่นประ มาณนี้น่ะครับ ซึ่งมันแตกต่างจากเมืองใหญ่ที่ถึงÿู้คนจะ เยอะแยะกว่านี้ จะคึกคักกว่านี้มาก แต่กลับรู้สึกว่าท�าไม มันเหงาเหลือเกิน เพราะทุกคนต่างใช้ชีวิต ต่างคนต่างอยู่ แต่นั่นล่ะครับ ถ้ามองในมุมของคนรุ่นใหม่ที่นี่อาจเหงา สักหน่อย เพราะคนรุ่นÿมอยู่กันน้อยมากๆ ซึ่งก็เข้าใจได้ว่า เมืองในปัจจุบันมันยังไม่รองรับ และนั่นเป็นเหตุÿลที่ท�าให้ ÿมอยากท�างานนี้ (นักดิจิทัลพัฒนาเมือง) เพื่อเปิดพื้นที่ หรือโอกาสใหม่ๆ ให้คนรุ่นใหม่กลับเข้ามาอยู่ด้วยกันที่นี่” 97
หลายคนบ ่ นว ่ าหาทางเข้ า แก ่ งคอยยาก ถ้ าไม่ ใช่ คนคุ้ นเคยพื้นที่ หรือเปิ ด GPS มา เขามักจะขับรถ เลยกันไปหมด ไม่ แน ่ ใจว่ าป้ายอาจไม่ ชัด หรือเพราะอะไร “พี่เป็นคนแก่งคอย เคยท�างานโรงงานÿลิตอะไหล่ คอมพิวเตอร์และเครื่องจักรอยู่ที่อ�าเภอบางปะอิน ก็จะ นั่งรถจากแก่งคอยไปท�างานที่นั่นทุกเช้า ส่วนสามีพี่เป็น คนต่างถิ่น แต่มาได้งานที่โรงงานปูนซีเมนต์นครหลวง ที่แก่งคอย เลยมาอยู่ด้วยกันที่นี่ ความที่เราสองคนท�างานโรงงาน เลยต้องส่งลูกไปให้ญาติ ช่วยเลี้ยง จนลูกขึ้น ม.1 พี่ก็พบว่าลูกค่อนข้างเกเรและมี อาการÿิดปกติทางอารมณ์ ปัญหาก็อยู่ที่เราเองนี่แหละ ที่มีเวลาให้เขาไม่มากพอ ไม่ใช่เรื่องอื่น เลยตัดสินใจลา ออกจากงานที่โรงงาน และเอาเขากลับมาเลี้ยงเอง จะได้ มีเวลาดูแลเขาเต็มที่ พอออกจากงาน ก็ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับลูก พาเขาไป หาหมอที่โรงพยาบาลในอ�าเภอเมืองเป็นประจ�า และอยู่ เป็นเพื่อนเขา โดยช่วงหลังๆ พอไม่ได้ท�างานเข้า เราก็รู้สึก เหงา เลยท�าอาหารแจกเพื่อนบ่อยๆ เราเป็นคนชอบท�า หมูสะเต๊ะ ครั้งหนึ่งก็เลยท�าหมูสะเต๊ะให้เพื่อน เพื่อนชม ว่าอร่อย และยุให้เราท�าขาย ตอนแรกเราก็ไม่กล้าขาย หรอก แต่พอยุมากเข้า ก็เลยลองขายดู ตอนนั้นทางหอการค้าแก่งคอยเขาพยายามจะฟื้นฟูย่าน ตลาดท่าน�้าแก่งคอย ซึ่งเป็นตลาดเก่าริมแม่น�้าป่าสักของ เมืองให้กลับมามีชีวิตชีวา จึงมีการจัดถนนคนเดินพอดี พี่เลยทดลองตลาดโดยการเอาหมูสะเต๊ะที่ท�าไปขาย ปรากฏว่าได้รับเสียงตอบรับที่ดี ก็ได้ขายต่อเนื่อง แต่ไม่นาน โควิดก็กลับมาระบาดเสียก่อนเลยต้องหยุดขาย นี่เพิ่ง จะได้กลับมาขายอีกครั้งเมื่อต้นปีนี้เอง ชื่อร้านสุดนัดดาหมูสะเต๊ะ เป็นชื่อพี่เองเลย ก็เราเป็นคน ท�านี่ (ยิ้ม) พี่ท�าของพี่คนเดียวหมักหมูเอง เอาเสียบไม้ ปิ้งเอง และขายเอง ที่ลูกค้าชมมาคือเนื้อหมูเรานิ่ม กินโดย ไม่ต้องจิ้มน้ำจิ้มยังได้ People People สาเหตุก็เพราะพี่ให้ความสำคัญกับการหมักหมูมาก จะหมักทิ้งไว้สองคืนเพื่อให้ซอสมันเข้าเนื้อ ให้รสชาติมัน กลมกล่อม อย่างงานแก่งคอยย้อนรอยสงครามโลก พี่ก็ไปออกร้าน ด้วย ตั้งแÿงอยู่หน้าสถานีรถไฟ ส่วนวันศุกร์และเสาร์ พี่ไป ขายที่ตลาดนัดบ้านแก้ง (อ.เฉลิมพระเกียรติ) ขายได้เดือน กว่าๆ แล้ว ก็พอได้อยู่ ส่วนวันอื่นยังไม่มีแÿน พี่ท�าของพี่ คนเดียว ก็เหนื่อยอยู่ ขายทุกวันคงไม่ไหว พี่ไม่ได้คิดจะขายหมูสะเต๊ะเป็นอาชีพหลักน่ะ อาทิตย์นึง น่าจะขายสัก 2-3 วันแบบนี้ ก็ก�าลังมองว่าจะท�าธุรกิจแบบ ซื้อมาขายไปมากกว่าในอนาคต จะได้มีเวลาดูแลลูกด้วย ก็อยู่ที่แก่งคอยนี่แหละ บ้านพี่อยู่นี่ จะให้ไปไหน เมืองมัน โอเคส�าหรับเรานะ ไปไหนมาไหนสะดวก หากินง่าย อาหาร ก็มีให้เลือกหลากหลายดีด้วย แต่ถ้าให้มองในมุมนักท่องเที่ยว จริงๆ แก่งคอยมายาก นะ หลายคนบ่นว่าหาทางเข้าเมืองยาก ไม่รู้เป็นเมือง ลับแลหรืออย่างไร คือถ้าไม่ใช่คนคุ้นเคยพื้นที่หรือเปิด GPS มา ส่วนใหญ่เขาขับรถเลยกันไปหมด ไม่แน่ใจว่า ป้ายอาจไม่ชัดหรือเพราะอะไร ในขณะเดียวกัน ถ้าจะออก จากแก่งคอยเพื่อเข้าไปทางอ�าเภอเมืองสระบุรีก็ยากอีก คุณต้องขับรถขึ้นสะพานและวนไปกลับรถอีกหลาย กิโลเมตรมาก ยิ่งคุณออกจากเมืองช่วงเย็นๆ ที่เขาเลิกงาน กัน กว่าจะได้กลับรถนี่ติดยาวเลย แก่งคอยอยู่ห่างจาก อ�าเภอเมืองสระบุรีแค่นี้ บางทีใช้เวลาเหมือนไปต่างจังหวัด ได้ยินมาว่า มีความพยายามของหลายหน่วยงานจะท�าให้ แก่งคอยเป็นเมืองท่องเที่ยว ก็อยากĀากเรื่องป้ายบอกทาง หรือการจราจรตรงนี้ด้วย” 98
สุนัดดา กงขุนทด เจาของร้ ้ านสุนัดดาหมูสะเต๊ะ People People 99