แก่ งคอย - สระบุรี 100
101
แก่ งคอย - สระบุรี 102
อุโมงค์รถไฟพระพุทธฉาย จุด Check in แห่งใหม่ของ อ.แก่งคอย อุโมงค์รถไฟแห่งน้�คือ อุโมงค์รถไฟหน่�งเด้ยวของทางรถไฟสายชายฝ่�งตะวันออก ม้ความยาวรวม 1.19 กม. 103
แก ่ งคอย เรียนรู้ แก ่ งคอย คือแก่ งทอง นานมาแล้ วชื่อ ‘แก่ งคอย’ ถูกรับรู้และจดจํา ด้ วยวันเวลาและยุคสมัยแหงคว่ามรุ่ งเรือง ของกิจการรถไฟไทย คนแก่ งคอยยุคนั้นจึงมีคําเรียกขาน “ว่ าแก่ งคอยคือแก่ งทอง” แต่ณ ปั จจุบัน วันเวลาที่โลกทั้งใบเชื่อมต่ อเข้ าด้ วยกันเพียงปลายนิ้ ว จะมีเด็กรุ่ นใหม่ สักกี่คนที่รู้ จักเมืองเล็กๆ ชื่อคุ้ นหูเมืองนี้ ...เรื่องนี้เหมือนไม่ เป็ นปั ญหาใหญ่ สําหรับเมือง เล็ก แต่ การไม่ มีที่ทางและหมุดหมายบนโลกร่ วมสมัย เป็ นเรื่องที่น่ าคบคิด โดยเฉพาะ เมืองที่มีของอย่ างเมืองแก่ งคอย ว่ าจะใช้ โอกาส และวางตําแหน่ งแห่ งที่ของเมือง แหงนี้เป็ นอย ่ ่ างไรตั้งแต่ วันนี้ไปถึงอนาคต การวิจัยเพื่อพัฒนาเทศบาลเมืองแก่ งคอยเป็ นเมืองแห่ งการเรียนรู้ดําเนินการโดย นพดล ธรรมวิวัฒน์กรรมการผู้ จัดการบริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จํากัด (Saraburi City Development : SBCD) และคณะ สนับสนุนโดย หนวยบริหารและจัดการทุนด ่ านการพัฒนา ้ ระดับพื้นที่ (บพท.) คือ หนึ่งในงานวิจัย และพลังสําคัญที่เข้ ามาหนุนเสริมการพัฒนาเมือง แก่ งคอยในช่ วงปี 2564-2565 โดยงานนี้ถูกวางให้ เป็ นหนึ่งในจิกซอว๊ ์ พัฒนาเมือง ควบคู่ ไปกับโครงการ Smart City และการขับเคลื่อน Saraburi Food Valley ซึ่งสระบุรีพัฒนา เมืองมีส่ วนเข้ าไปรวมผลักดันเป็ นกํ ่าลังหลัก งานวิจัยชิ้ นนี้ได้ นําแนวคิด และกิจกรรมการเรียนรู้ มาเป็ นเครื่องมือในการขับเคลื่อนกลไก ภาคพลเมือง และการมีส่ วนรวมในพื้นที่ ่ เพื่อไปสู่ เป้ าหมาย 3 เรื่องหลัก เรื่องแรกคือการ ส่ งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวิตของคนในเมือง ให้ คนในเมืองเข้ าอกเข้ าใจเมืองของคนเอง มากขึ้น เรื่องที่สองหนุนเสริมศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจของเมือง และสาม สรางแนวทางการพัฒนาเมืองแห ้ งการเรียนรู ่ ้ เพื่อเป็ นแนวทางการทํางานรวมกันระหว ่ ่ าง ท้ องถิ่ น รัฐ เอกชน และประชาชนในพื้นที่ โดยใช้ ชุดงานวิจัยทั้งหมด 1 ชุดโครงการ และ 2 โครงการย่ อย ชุดโครงการ การวิจัยเพื่อพัฒนาเทศบาลเมืองแก่ งคอยเป็ นเมืองแห่ ง การเรียนรู้ Research for Development of Kaeng Khoi Learning City โครงการย่ อย ที่ 1 กลไกความร่ วมมือระหว่ างเทศบาลเมืองแก่ งคอยกับประชาชนในการ จัดการเรียนรู้ ของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองแกงคอยให ่ ้ เป็ นเมืองแหงการเรียนรู ่ ตลอดชีวิต ้ (Lifelong Learning City) และโครงการย่ อยที่ 2 สรางพื้นที่การเรียนรู ้ ้ (Kaengkhoi City Learning Space) ในกระบวน ทัศน์ ใหม่ ออกแบบเครื่องมือ นวัตกรรม และบริหารจัดการพื้นที่ให้ เป็ นสังคมแหงการเรียนรู ่ ้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning Society) เพื่อสรางทักษะใหม ้ ่ ของพลเมืองในเขตเทศบาลเมือง แก่ งคอย คณะนักวิจัยได้ ริเริ่ มงานโดยเริ่ มขับเคลื่อน มหาลัยแก่ งคอย หรือ สถาบันการเรียนรู้ ของ ชุมชนแกงคอย่กอตั ่ งขึ้นเพื่อเป็ นเครื่องมือในการสร ้างความร้ วมมือระหว ่ ่ างชุมชน เทศบาล เมืองแก่ งคอย ผู้ บริหารส่ วนท้ องถิ่ น ในการสร้ างระบบนิเวศน์ ของการเรียนรู้ ของคน แก่ งคอย เพื่อคนแก่ งคอย สรางเป็ นหลักสูตรเรียนรู ้ ้ เมืองแก่ งคอย สรางพื้นที่การเรียนรู ้ ้ 104
(Learning Space) ของท้ องถิ่ นในเมืองแก่ งคอย 7 แหง่ ได้ แก่ศูนย์เรียนรูชุมชนแก้ ่ งคอย (มหาลัยแก่ งคอย) ถนนแห่ งเรียนรู้ เลียบสันติสุข ศูนย์ ศิลปะวิทยาการ พิพิธภัณฑ์ มีชีวิต (สถานีรถไฟชุมทางแกงคอยและโรงรถ ่ จักรแกงคอย่ ตลาดสินคาชุมชนและศูนย้ เศรษฐกิจ ์ สร้ างสรรค์ (ตลาดท่ าน้าแก่ งคอย) เส้ นทางท่ องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เมืองแก่ งคอย และถนนสีเขียว(ถนนสุดบรรทัด) เครื่องมือและกิจกรรมในการสรางการเรียนรู ้ ของโครงการ ้ ได้ แก่ กิจกรรมการอบรมเชิง ปฏิบัติการการจัดทําแผนที่ปั ญหา และ กิจกรรมเดินเมือง Walk & Bike Rally กิจกรรมนี้ ชวยให ่ ้ เกิดการเรียนรูและทํ ้าความเขาใจเมือง ้ การระบุปั ญหา ขอเสนอแนวทางแก้ ้ ไขปั ญหา ผานการใช ่ หมุดสีที่แยกประเด็นปั ญหาออกเป็ น ้ 5 ดาน้ ไดแก้ ่ ดานประชากร ้ สังคม เศรษฐกิจ สิ่ งแวดล้ อม และ ระบบโครงสร้ าง สาธารณูปโภคของเมือง และโอกาสการพัฒนาเมือง ให้ เติบโตในด้ านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ งแวดล้ อม นอกจากนี้กิจกรรมการเรียนรู้ยังช่ วยให้ ผู้ เข้ าร่ วมงาน และตัวแทนเทศบาลเทศบาล เมืองแก่ งคอย สามารถคุณค่ าเป็ นต้ นทุนเมือง โดยเฉพาะทุนท้ องถิ่ นทางด้ านวัฒนธรรม ภูมิปัญญาจากภายในทองที่เทศบาลเมืองแก ้ งและใกล ่ ้ เคียง นําไปสูการต่ อยอดพัฒนาตลาด ่ โบราณ ตลาดทา่นา้อาคารหองแถวเก้า่ ใหกลายเป็ นพื้นที่การเรียนรู ้ ้ และสรางรายได ้ ้ ใหกับ้ เมือง โดยมีเครือข่ ายหอการค้ าสระบุรีแก่ งคอย และอาสาสมัครชุมชนรวมแรงร่ วมใจกัน ่ จัดตลาดท่ าน้าแก่ งคอย และงานเทศกาลประจําปี แก่ งคอยย้ อนรอยสงครามโลกครังที่ ้ 2 ผลลัพธ์ ที่สําคัญของโครงการวิจัยเมืองแห่ งการเรียนรู้ เมืองแก่ งคอย คือ การเชื่อมร้ อย และผสานความร่ วมมือกลไกทางสังคมของคนแก่ งคอย ให้ ประชาชน และหน่ วยงาน ท้ องถิ่ น ทั้งรัฐ และเอกชน ได้ มาพบปะ แลกเปลี่ยน มองและคิดถึงเมืองแก่ งคอยในมุมที่ อาจไม่ มีโอกาสมองด้ วยกันมาก่ อน พร้ อมกับการทดลองลงมือปฏิบัติการ ผ่ านกิจกรรม เรียนรู้ เมือง การค้ าการขาย และการส่ งเสียงความคิดเห็นเป็ นข้ อเสนอแนะไปให้ กับทาง ท้ องถิ่ นเพื่อขับเคลื่อนต่ อไป ติดตามการขับเคลื�อนเมืองแก่งคอยได้ท้� Facebook Page สระบุร้พัฒนาเมือง https://www.facebook.com/SaraburiCityDevelopment มหาลัยแก่งคอย https://web.facebook.com/LearningcityKaengkoi แก่ งคอย - สระบุรี 105
หน่ วยบริหารและจัดการทุนด้ านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) สํานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมแหงช่าติ (สอวช.) ที่ปรึกษา และผู้ ทรงคุณวุฒิกรอบการวิจัย “การพัฒนาเมืองแหงก่ารเรียนรู้ (Learning City)” รศ.ดร.ปุ่ น เที่ยงบูรณธรรม รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ ธนวสุ ดร.สมคิด แก้ วทิพย์ รศ.ดร.ฉวีวรรณ เด่ นไพบูลย์ Ageing society ใช่ ว่ าจะน่ ากลัวเสมอไป เชื่อว่าพวกเราคงเคยได้ยินค�าว่าสังคมสูงอายุ หรือ Ageing society กันบ่อยๆ โดยเฉพาะปีน ี้ ที่ทางราชการยอมรับว่า ตัวเลขประชากรของไทยเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างเต็มรูปแบบแล้ว อันหมายถึง ประชากรไทยที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมีมากกว่า 12 ล้านคน หรือคิดเป็นสัดส่วนราว 1 ใน 6 ของประชากรไทย ซึ่งถือเป็นอันดับ 2 ในกลุ่มประเทศอาเซียน รองจากประเทศสิงคโปร์ แต่โชคร้ายที่สิงคโปร์ถึงจะมีÿู้สูงอายุ มากก็จริง แต่เขาก็ก้าวข้ามไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือเรียกภาษาชาวบ้านว่ารวยก่อนแก่น ั่ นเอง ในขณะที่ประชาชนคนไทยสูงอายุส่วนใหญ่ยังไม่รวยแถมยังแก่ให้เป็นภาระคนในครอบครัวหรือ ประเทศอีกต่างหาก น ั่ นคือ ปัญหาหรือระเบิดเวลาของรัฐบาลใหม่ที่จะต้องแสดงĀีมือหาวิธีพา ทุกคนให้ก้าวข้ามปัญหานี้ไปให้ได้อย่างปลอดภัย เกริ่นมาข้างต้นคือภาพรวมของทั้งประเทศ แต่ส�าหรับอ�าเภอแก่งคอย หากเทียบกับประเทศไทย แก่งคอย อาการน่าจะหนักกว่าประเทศไทยเสียอีก เพราะทั้งอ�าเภอมีแต่คนสูงวัย มีหนุ่มสาวคนวัยท�างานอยู่ ในตัวอ�าเภอไม่น่าเกิน 10 คนเท่าน ั้ น เพราะส่วนใหญ่ออกไปเรียนหนังสือแล้วไม่กลับมาบ้านเกิด เหมือนหลายๆ คนในอ�าเภออื่นๆ แต่ความพยายามของคนในอ�าเภอนี้ก็ไม่ยอมจ�านนต่อวิกฤติสังคม สูงอายุในแก่งคอย และพยายามหาทางแก้ไขในการท�าอย่างไรให้คนรุ่นใหม่กลับบ้าน โดยท�าให้แก่งคอย เจริญขึ้น ในขณะที่หากมองกลับไปจากภาพรวมจากการสัมภาษณ์ ลึกๆ แล้วพวกเขาอาจจะแอบชอบ สังคมแบบนี้เสียอีก เพราะบ้านเมืองสงบสุข ปลอดภัย ทุกคนรู้จักกันหมด เพราะบางครั้ง การอยู่ในพ ื้ นที่ที่ตื่นขึ้นมาแล้วรู้สึกแสนสบาย ในบ้านของตัวเองที่มีแม่น �้าป่าสัก สีเขียวเข้มไหลÿ่าน แบบไม่ต้องดิ้นรนให้เราเหมือนใคร ก็อาจเป็นค�าตอบที่ดีที่สุดก็ได้ May, 2023 106
ผลิตโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่ านการสื่อสารสาธารณะ เพื่อพัฒนาเมืองแหงการเรียนรู ่ ้ (WeCitizens) สนับสนุนโดย หน่ วยบริหารและจัดการทุนด้ านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) และสมาคมเพื่อออกแบบและส่ งเสริมการมีพื้นที่สาธารณะ และพื้นที่สีเขียว Greening Up Public Space หัวหน้ าโครงการ สามารถ สุวรรณรัตน์ บรรณาธิการ นพดล พงษ์ สุขถาวร เรื่องเล่ าจากผู้ คน (เสียงแก่ งคอย-สระบุรี) นพดล พงษ์ สุขถาวร จิรัฎฐ์ประเสริฐทรัพย์ ปิ ยะลักษณ์นาคะโยธิน ธิตินัดดา จินาจันทร์ สามารถ สุวรรณรัตน์ ออกแบบปก/รูปเล่ ม วิจิตรา ชัยศรี อินโฟกราฟิ กส์ วิจิตรา ชัยศรี ถ่ ายภาพ กรินทร์มงคลพันธุ์ พรพจน์นันทจีวรวัฒน์ วิดีโอ ธรณิศ กีรติปาล วัชระพันธ์ปัญญา เอกรินทร์นันปิ นตา สีน้า ธเนศ มณีศรี 15.28 studio ประสานงาน ลลิตา จิตเมตตาบริสุทธิ์ wecitizensvoice wecitizen2022 @gmail.com wecitizens thailand.com 107
เรียนรู้ แก ่ งคอย คือแก่ งทอง แก ่ งคอย 108