The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และผลลัพธ์จากการขับเคลื่อนพะเยาเมืองแห่งการเรียนรู้ ผ่านโครงการการพัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการเมืองแห่งการเรียนรู้บนพื้นที่เมืองพะเยาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของแรงงานนอกระบบบนพื้นฐาน BCG โมเดล โดย รศ. ดร. ผณินทรา ธีรานนท์ หัวหน้าโครงการวิจัย คณะวิจัย หน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และพลเมืองพะเยา

จัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะเพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WeCitizens, 2022-11-28 19:42:02

WeCitizens : เสียงพะเยา

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และผลลัพธ์จากการขับเคลื่อนพะเยาเมืองแห่งการเรียนรู้ ผ่านโครงการการพัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการเมืองแห่งการเรียนรู้บนพื้นที่เมืองพะเยาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของแรงงานนอกระบบบนพื้นฐาน BCG โมเดล โดย รศ. ดร. ผณินทรา ธีรานนท์ หัวหน้าโครงการวิจัย คณะวิจัย หน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และพลเมืองพะเยา

จัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะเพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens)

WeCitizensเสียงพะเยา

กว๊านคือชีวิต

สำ�รวจ ‘พะเยา’

สมาชิกเครือข่ายเมืองแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของยูเนสโก ปี 2565









22 รศ.ดร.ผณนิ ทรา ธรี านนท์
30 อัครา พรหมเผ่า
32 มนัส สายโกสุม
36 ดร.สุรพี ร โกมลธง
38 มณฑากาญจน์ ปรางคม์ ณรี ตั น์
40 ผศ.ดร. อัมเรศ เทพมา
42 ผศ.ดร.รฐั ภูมิ พรหมณะ
44 นันท์นภัส สำ�เภาเงนิ
44 รตั นาภรณ์ รตั นากรไพบูลย์
44 มารศรี เงินเยน็
44 อภชิ ญา ใจดว้ ง
46 กหุ ลาบ อนิ อน่ิ
48 นิวฒั น์ จำ�รัส
50 พันธกานต์ กันตโ์ ฉม
52 ครจู ้ยุ -ชลดา และครโู ชะ-ศักด์ชิ ัย เวยอ่ื
56 ฉัตรชัย พรหมทอง
60 Alex Wang และ Louise Cooper-Wang
62 แม่ทองปอน จำ�รัส
66 ณรงค์ พัวศิริ และสุดา พัวศิริ
68 ผศ.ดร.สันธวิ ฒั น์ พิทกั ษ์พล
70 ศ.ดร.เสมอ ถาน้อย
74 ดรุณวรรณ คำ�เจรญิ
76 เดน่ สุวรรณ
78 ผศ.นธิ ิศ วนชิ บรู ณ์
82 บงกช กาญจนรัตนากร
84 เพ็ญพิศุทธ์ิ พวงสุวรรณ
86 ชรีพร ยอดฟ้า
88 พิมพ์วไิ ล วงศ์เรอื ง
90 สมบรู ณ์ เรืองงาม
92 สุนทรีย์ มหาวงศ์
94 ยุพิน ด่านพิทักษ์ และอาคม ดา่ นพิทกั ษ์
96 สุทศั น์ ปทมุ วงศ์
100 ปวนิ ท์ ระมงิ ค์วงศ์







เรยี นรู้รมิ กวา๊ น เสริมสร้าง
‘พลงั คนพะเยา’

กว๊านพะเยา นอกจากจะเป็ นตวั แทนภาพจำ� รมิ กว๊านจงึ เหมาะสมสำ� หรบั การพัฒนา ทง้ั ในดา้ นสงิ่
แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสง่ เสรมิ การพัฒนาเมอื งตาม
ของจังหวัดพะเยา บึงขนาดใหญ่กินอาณาบริเวณ แนวคดิ เมอื งแหง่ การเรยี นรู้ UNESCO
ราวหนง่ึ หม่นื ไรเ่ ศษ รองรบั น้ำ� กว่า 31 ล้านลกู บาศก์
เมตรแห่งน้ี ถือได้ว่าเป็ นแหล่งอู่ข้าวอู่น้�ำและท่ีต้ัง โครงการ “กลไกการบริหารและพัฒนาเส้นทางแหง่
หมบู่ า้ นชมุ ชนขนาดใหญ่ของจงั หวัด สัมพันธ์ใกลช้ ิด การเรียนรู้ในเขตเมืองพะเยาเพื่ อพั ฒนาคุณภาพ
กบั คนพะเยาดดุ ง่ั ลมหายใจมาแตค่ รงั้ อดตี ชีวิตของแรงงานนอกระบบด้วย BCG โมเดล”
ด�ำเนินการโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ผณินทรา
สันนิษฐานกันว่าค�ำว่า “กว๊าน” น่าจะเพี้ยนมาจาก ธีรานนท์ สงั กดั คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พะเยา
“กว้าน” ในภาษาเหนอื แปลว่า “รวบรวม” (จากแหลง่ ได้นำ� ศักยภาพและความโดดเด่นระบบนเิ วศรมิ กว๊าน
ตา่ งๆ เข้าไว้ดว้ ยกันจำ� นวนมาก) สะท้อนความหมาย และความรู้ความสามารถของคนพะเยา ผสานพลัง
อยา่ งแจม่ ชดั ถึงการรวมลำ� หว้ ย จากทวิ ดอยหลวง ความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทั้งจังหวัด ได้แก่
ดา้ นทศิ ตะวนั ตก กบั ลำ� น้ำ� สายหลกั อยา่ งแมน่ ้ำ� องิ ไหล องค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา เทศบาลเมือง
ลงมาบรรจบกันเป็ นกว๊านพะเยา ก่อเกิดเป็ นความ พะเยา เทศบาลตำ� บล หอการคา้ จงั หวัดพะเยา หนว่ ย
อุดมสมบรู ณ์ และระบบนเิ วศทเ่ี หมาะสมกบั การสรา้ ง บรหิ ารจดั การทนุ วิจยั ด้านการพัฒนาพ้ืนท่ี (บพท.)
บ้านแปงเมือง และการริเร่ิมสร้างสรรค์วัฒนธรรม และ ชุมชนเมืองพะเยา ขับเคล่ือนโครงการวิจัย
ภูมิปั ญญา สร้างเศรษฐกิจ และสังคม ส่งผ่านกาล
เวลามารุน่ แล้วรุน่ เลา่ พะเยาเมอื งแหง่ การเรยี นรูเ้ พื่อตอบโจทยก์ ารพัฒนา
ศักยภาพและทักษะคนพะเยา ทั้งในเร่ืองการเรียน
ปั จจุบันรมิ กว๊านพะเยามีชุมชนตง้ั อย่รู ายรอบรวม รูค้ ณุ คา่ ของพ้ืนทต่ี นเอง และการสรา้ งอาชพี ขยาย
แล้วกว่า 6 ต�ำบล และยงั เป็ นท่ีต้งั ของพื้นท่ีเทศบาล โอกาสส�ำหรบั กล่มุ แรงงานนอกระบบ และประชาชน
เมืองพะเยา ศูนย์กลางการพัฒนา และความเจริญ ท่ัวไป โดยก�ำหนดเป้ าหมายของการขับเคลื่อนงาน
ของจงั หวัดพะเยา ดว้ ยความพรอ้ มเชน่ นพ้ี ื้นทช่ี มุ ชน วิจยั ไว้ดังน้ี

1) เพ่ือพัฒนาแรงงานนอกระบบอายุ 15 ปี ขึน้ ไปเข้าถึงการ 5. จดั กจิ กรรรมในหลกั สตู ร หลกั สตู รสนิ คา้ ทอ้ งถนิ่ สกู่ าร
กิจกรรมการเรียนรู้หลักสูตร “UP to Upskill / Reskill/ สร้างนวัตกรรมเพื่อสังคม (Local products to social
Newskill” 3 หลกั สูตร ที่สอดคลอ้ งกบั แนวคิดพ้ืนฐานของ innovation) ท�ำให้เกิดเป็ น Social Enterprises ระหว่าง
BCG โมเดล มีคณุ ภาพจากมหาวิทยาลยั พะเยาได้ไมต่ ่ำ� กว่า วิสาหกิจชุมชนกลุ่มบ้านรักขนมร่วมกับบริษัท สยามฮาร์บา
10,000 คน และมกี ารกลบั มาใชบ้ รกิ ารซ้�ำไม่ต่ำ� กว่า 50% ลา่ โฮลดง้ิ จำ� กัด - SIAM HARBALA COMPANY LIMITED

2) เพ่ือวเิ คราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหวา่ งชดุ ความคดิ (Mindset) 6. ผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้นที่ได้รับการพั ฒนาจากทาง
รวมถงึ ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ดา้ นความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม โครงการด้วยหลักการ BCG โมเดล ลดการปลดปล่อย
กบั รายไดบ้ นพ้ืนท่ีเมอื งแหง่ การเรยี นรู้ คารบ์ อนไดถ้ งึ 4.2147 kgCO2e โดยคดิ เป็ น 9.68% ของการ
ปลดปลอ่ ยคารบ์ อนของผลิตภัณฑ์ทั้งหมด
3) เพ่ือวเิ คราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงของชดุ ความคดิ (Mindset)
ทสี่ ่งผลตอ่ พฤตกิ รรมแรงงานนอกระบบรอบกว๊านพะเยา 7. ออกแบบพ้ืนที่การเรียนรู้ท�ำให้เกิดพื้นท่ีการเรียนรู้
15 แห่ง รวม 1 เส้นทางการเรียนรู้ท่ีพร้อมสร้างรายได้
4) เพื่อสรา้ งโมเดลการสรา้ งรายได้จากการเรยี นรูก้ ิจกรรม (Phayao Learning Route) เข้าสู่ชุมชนริมกว๊านฝ่ั งตะวัน
ในหลักสูตร “UP to Upskill / Reskill/ Newskill” 3 ออก ราว 448,419 บาท/ ปี
หลักสูตร ท่สี อดคลอ้ งกับแนวคดิ พ้ืนฐานของ BCG โมเดล
8. สรา้ ง 3 แพลตฟอรม์ การเรยี นรู้ (Learning Platforms)
ดว้ ยแผนและยทุ ธ์ศาสตรก์ ารวิจยั ทม่ี งุ่ เนน้ การใชข้ อ้ มลู ทอ้ ง คือ แหลง่ เรยี นรู้ (Onsite), Facebook Page (Online) และ
ถนิ่ ศึกษา (Local Study) การวิเคราะหก์ ลุม่ ผู้มีส่วนไดส้ ่วน กั บ ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ท่ี พ ร้ อ ม ส� ำ ห รั บ ผู้ ท่ี ส น ใจ
เสีย (Stakeholders Analysis) อย่างเขา้ ใจลึกซึ้ง และการ (On-demand)
ออกแบบกลยทุ ธก์ ารมสี ว่ นรว่ มทจ่ี บั ใจ และตอบโจทยผ์ มู้ สี ว่ น
เกยี่ วขอ้ ง จนประสบความส�ำเรจ็ ใน 2 กลมุ่ พลงั สำ� คญั ไดแ้ ก่ 9. สรา้ งตราสนิ คา้ และผลติ ภณั ฑร์ ว่ มกบั ชมุ ชน 8 ผลติ ภณั ฑ์
กลุ่มชุมชนและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน และกลุ่มองค์การ ไดแ้ ก่ 1) น้ำ� ผง้ึ หยดทอง 2) สบนู่ นดา 3) ตะกรา้ เดคพู าจสานสขุ
ปกครองส่วนท้องถ่ิน อบจ.พะเยา และเทศบาลเมืองพะเยา 4) กระเป๋ าสุนทรียา 5) บ้านรักขนม 6) ข้าวผ่อโต้ง
ท�ำให้การขับเคลื่อนงานวิจัยเกิดผลสัมฤทธิ์ 12 ประเด็นท่ี 7) แหนมทัพพีเงนิ 8) ชาสมุนไพรเชยี งดา
น่าสนใจ อาทิ
10. จัดตั้งวิสาหกิจชุมชนกลุ่มสูงวัย สังกัด ศพอส.
1. พะเยา ไดถ้ กู เสนอชอื่ เป็ นอันดบั ที่ 1 ใหเ้ ป็ นสมาชกิ เมอื ง เทศบาลเมอื งพะเยา ในชอื่ ‘วิสาหกจิ ชมุ ชนสานใจฮัก’ นำ� โดย
แหง่ การเรยี นรูข้ อง UNESCO Global Network of Learning
Cities ในปี 2565 คุณพิมวิไล วงคเ์ รอื ง และ วิสาหกจิ ชมุ ชนกล่มุ บ้านรกั ขนม
นำ� โดย คุณปาณิสา ดวงทพิ ย์
2. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการ
"พะเยา เมอื งแหง่ การเรยี นรู้ (Phayao Learning City)" 11. องค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา จัดตั้งกองการ
ศึกษา เป็ นกองงานใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน โดยมีนายอัษฎา
3. มีแหล่งเรียนรู้ Phayao Learning City และเส้น กรณ์ ฉัตรานนท์ เป็ นเลขานุการรับผิดชอบกองการศึกษา
ทางการเรยี นรู้ (Learning Route) รอบกว๊านพะเยา ท่เี ชือ่ ม ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดพะเยา
โยงกับศักยภาพของพ้ืนที่ ผู้คน และตอบโจทย์ความสนใจ
ของกลุม่ เป้ าหมาย 12. ผเู้ ขา้ มาเรยี นรูก้ ับ Phayao Learning City มจี ำ� นวน
รวม 51,401 คน สว่ นสดั สว่ นการกลบั มาเรยี นรูซ้ ้ำ� มคี า่ เทา่ กบั
4. หลักสูตร “UP to Reskill/ Upskill” 2 หลักสูตรหลกั 31.60%
3 หลักสูตรย่อย ท่ีสอดคล้องกับแนวคิดพื้นฐานของ BCG
โมเดล ได้แก่ หลักสูตรสินค้าท้องถ่ินสู่การสร้างนวัตกรรม แม้วันนี้เมืองพะเยาจะได้รับการรับรองโดย UNESCO ใน
เพื่อสังคม (Local Products to Social Innovation) และ ฐานะสมาชิกเมืองแห่งการเรียนรู้ แต่เป้ าหมายของทีมวิจยั
หลกั สตู ร การใชช้ วี ิตอยา่ งสรา้ งสรรคด์ ว้ ยผลติ ภณั ฑจ์ ากสงิ่ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องยังคงได้รับการสานต่อไม่หยุดนิ่ง ทั้ง
แวดลอ้ ม (Creative Activities for the Green World) การดำ� เนนิ การวจิ ยั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง การผลกั ดนั รูปธรรมความ
เปล่ียนแปลงจากกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือยกระดับทักษะ
รายได้ และคณุ ภาพชีวิตของคนพะเยา และการเดนิ หน้าเต็ม
ก�ำลังในการผลักดันเมืองพะเยาให้ได้รับการรับรองเป็ น
“เมืองแหง่ การเรยี นรูข้ อง UNESCO” ในอนาคตอันใกล้

ตดิ ตามการขับเคลอ่ื น โครงการพะเยาเมอื งแหง่ การเรียนรู้ ได้ท่ี Facebook Page : Phayao Live & Learn

Feature

กวา๊ น
คือ
ชีวติ

สำ�รวจแหล่งเรยี นรูแ้ ละวถิ ชี ีวติ รอบกว๊าน
ทส่ี ะท้อนความร่วมสมยั ของเมอื งพะเยา

เม่ือวันที่ 2 กันยายน 2565 ท่ีผ่านมา องค์การการศึกษา
วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก
ประกาศใหเ้ ทศบาลเมอื งพะเยาเป็ นสมาชกิ เครอื ขา่ ยเมอื งแหง่ การ
เรียนรู้ตลอดชีวิตของยูเนสโก (UNESCO Global Network of
Learning Cities) พรอ้ มกบั เมอื งสโุ ขทยั และหาดใหญ่ อนั เป็ นผล
จากความรว่ มมอื ในการยน่ื เอกสารระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั พะเยาและ
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั พะเยาเมอื่ ปลายปี ทแี่ ลว้

นอกจาก 3 เมอื งแหง่ การเรียนรู้ใหมห่ มาดทไ่ี ด้รับการรับรอง
ปั จจุบนั ประเทศไทยเรามเี มอื งทเี่ ป็ นสมาชกิ เครอื ขา่ ยเมอื งแหง่ การ
เรียนรู้อีก 4 เมือง ได้แก่ เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนคร
เชยี งราย เทศบาลนครภเู กต็ และเทศบาลเมอื งฉะเชงิ เทรา

ท้ังน้ี หากเทียบกับทั้ง 7 เมืองแห่งการเรียนรู้ของบ้านเรา
เทศบาลเมืองพะเยาท่ีมีพ้ื นท่ีอยู่ราว 9 ตารางกิโลเมตร และมี
ประชากรไมถ่ งึ 20,000 คน เป็ นเมอื งทม่ี ขี นาดเลก็ กว่าใครเพ่ือน
จนแทบจะจินตนาการไม่ออกเลยว่า ด้วยขนาดกะทัดรัดเพียงนี้
พะเยาจะมแี หลง่ เรยี นรูอ้ ะไรมากมายถงึ ไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ป็ นเมอื ง
แหง่ การเรยี นรูต้ น้ แบบระดบั สากล

Feature

ตงั้ อยู่ทางทศิ ใตข้ องจงั หวดั เชยี งราย และวางตวั อยทู่ างขอบทศิ ตะวนั ออกของกวา๊ นพะเยาซง่ึ เป็ นทะเลสาบ

ที่มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมืองเกินสองเท่า เมืองพะเยาได้รบั การจดจำ� ในฐานะเมืองรมิ กว๊านอันเงยี บสงบ ผ้คู นมี
วิถีชวี ิตเรยี บงา่ ย และเต็มไปด้วยวัดเกา่ แกท่ ม่ี ีประวัตศิ าสตรม์ าหลายศตวรรษ

แม้จะมีความเงียบสงบเหมาะแก่การพั กผ่อน มีรากฐานทางศิลปวัฒนธรรม และมีกว๊านท่ีเป็ นแหล่ง
ทรัพยากรธรรมชาติที่ส�ำคัญเป็ นจุดเด่น กระน้ันในอีกมุม พะเยาก็หาได้ดึงดูดให้คนรุ่นใหม่ในท้องท่ีปั กหลัก
ท�ำมาหากนิ ทบ่ี า้ นเกดิ เมอื งขาดแรงจูงใจในการลงทนุ ขนาดใหญ่ และประชากรสว่ นใหญเ่ ป็ นผสู้ งู อายุ

อกี ทงั้ การระบาดของโควดิ -19 ในปี 2563 ทนี่ ำ� มาสวู่ กิ ฤต รูท้ กี่ ลายมาเป็ นจุดขายใหมท่ างการทอ่ งเทย่ี วเชงิ สรา้ งสรรค์
ทางเศรษฐกิจลากยาวมาถึงปั จจุ บัน ย้�ำเตือนให้เห็นถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือปี 2564 ท่ี อบจ. พะเยา เข้าร่วม
จุดออ่ นของเมอื งดงั ทวี่ า่ ผคู้ นทเ่ี คยมรี ายไดน้ อ้ ยอยแู่ ลว้ กม็ ี ขับเคลื่อนโครงการเมืองแห่งการเรียนรู้กับมหาวิทยาลัย
รายไดล้ ดลงเขา้ ไปใหญ่ หลายคนจำ� ตอ้ งตกงาน และโอกาส พะเยา จากพื้นทเี่ ลก็ ๆ ในเขตเทศบาล แหลง่ เรยี นรูท้ เ่ี คยมอี ยู่
ในการหางานของคนรุน่ ใหมก่ ล็ ดนอ้ ย แล้วและไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ก็ได้รับการฉายแสงสปอร์ต
ไลทส์ กุ สกาวทงั้ จงั หวดั และจากพ้ืนทเ่ี รยี นรูเ้ พียง 6 แหง่ ใน
กระนนั้ วิกฤตดงั กลา่ วกห็ าไดม้ แี ตค่ วามสนิ้ หวัง คนรุน่ ใหม่ ปี แรก (2563) ปั จจุบนั จงั หวดั พะเยามแี หลง่ เรยี นรูอ้ ยา่ งเป็ น
ในเมืองหลายคนกลับบ้านมาก่อร่างสร้างธุรกิจขนาดเล็ก ทางการทงั้ สน้ิ 26 แหง่
เสริมก�ำลังกับคนรุ่นใหม่ท่ีถางเส้นทางไว้ก่อนแล้ว ขณะ
เดียวกันเม่อื มหาวิทยาลัยพะเยาไดร้ บั ทุนจากหนว่ ยบรหิ าร และอาจดว้ ยกลไกการขบั เคลอื่ นและพลวตั เชน่ นเ้ี องทท่ี ำ� ให้
และจดั การทนุ ดา้ นการพัฒนาระดบั พื้นที่ (บพท.) เพ่ือขบั เคลอ่ื น เมอื งเลก็ ๆ อยา่ งพะเยาสมควรอยา่ งยงิ่ ทไ่ี ดร้ บั เกยี รตปิ ระวตั ิ
ใหพ้ ะเยาเป็ นเมอื งแหง่ การเรยี นรู้ กน็ ำ� pain point ดงั กลา่ ว ในฐานะตน้ แบบเมอื งแหง่ การเรยี นรูร้ ะดบั สากล
มาสร้างโอกาส ด้วยการหนุนเสริมการพัฒนาทักษะทาง WeCitizens ฉบับน้ี พาผู้อ่านเท่ียวชมเมืองพะเยาผ่าน
อาชพี ใหมๆ่ แกผ่ คู้ นในเมอื ง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ กลมุ่ เปราะบาง 7 พ้ืนทรี่ อบกวา๊ นทส่ี ะทอ้ นความเป็ นเมอื งแหง่ การเรยี นรูแ้ ละ
และผดู้ อ้ ยโอกาส วถิ ชี วี ติ รว่ มสมยั ของชาวพะเยา จากความอุดมสมบรู ณข์ อง
ทะเลสาบ สู่ภูมิปั ญญาสร้างสรรค์ และมรดกล้�ำค่าทาง
จากธุรกจิ ขนาดเลก็ ของชาวบา้ นทกี่ ระจายตวั รอบกวา๊ นก็ วฒั นธรรมและอาหารการกนิ เหลา่ นเี้ ป็ นเพียงสว่ นหนงึ่ ของ
เกดิ เป็ นวสิ าหกจิ ชมุ ชนอนั เขม้ แขง็ รวมถงึ พื้นทแ่ี หง่ การเรยี น ชน้ั เรยี นสาธารณะประจำ� เมอื ง ทพ่ี รอ้ มเปิ ดใหท้ กุ คนไดเ้ รยี น
รูต้ ลอดชวี ติ

14

Feature

กวา๊ นพะเยา

ดว้ ยพ้ืนทก่ี วา่ 20 ตารางกโิ ลเมตร กวา๊ นพะเยาและพ้ืนทโี่ ดยรอบไมเ่ พียง
เป็ นทะเลสาบทใ่ี หญท่ สี่ ดุ ในภาคเหนอื แตย่ งั เกย่ี วพันกบั ชวี ติ ผคู้ นในเมอื ง
แทบทกุ มติ ิ ไมว่ า่ จะเป็ นแลนดม์ ารค์ ทางการทอ่ งเทยี่ วของเมอื ง ศนู ยก์ ลาง
ศรัทธาจากวัดติโลกอารามบนเกาะกลางน้�ำ ห้องครัวช้ันเลิศจากปลาที่
แหวกว่ายในทะเลสาบหลายสบิ สายพันธุ์ ไปจนถงึ แหลง่ พักผอ่ นหยอ่ นใจ
ออกกำ� ลงั กาย และสถานทจ่ี ดั กจิ กรรมประจำ� เมอื ง

นทิ านบา้ นตน้ ไม้ การไดม้ านง่ั เรอื หรอื เพียงเดนิ เลน่ รมิ กว๊าน ไมเ่ พียงจะไดเ้ หน็ ทวิ ทศั นอ์ ัน
งดงามทม่ี ดี อยหลวงและดอยหนอกเป็ นฉากหลงั ตระการตา แตย่ งั ไดเ้ หน็
ตง้ั อยบู่ นถนนราชวงศ์ ถนนใจกลางเมอื งทเี่ ชอ่ื มพ้ืนทกี่ วา๊ นพะเยาสชู่ มุ ชน วถิ ชี วี ติ ของผคู้ นทกุ เพศวยั ตง้ั แตเ่ ชา้ จรดค่ำ� ตงั้ แตช่ าวประมงทมี่ าตกปลา
เมืองเก่า นิทานบ้านต้นไม้ ไม่เพียงเป็ นร้านอาหารและคาเฟ่ สุดชิค หาก ผ้คู นในเมอื งทมี่ าพักผอ่ นรมิ ชายฝ่ั ง ไปจนถึงคนรุน่ ใหมท่ ่ีมาจดั กิจกรรม
สวนอันร่มรื่นด้านหลังยังเป็ นพื้ นท่ีจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ของกลุ่ม กลางน้ำ� เชน่ ท่ี พันธกานต์ กนั ตโ์ ฉม แหง่ Lakeland Camp รเิ รมิ่ กจิ กรรม
Phayao Lovers ที่น�ำโดย บงกช กาญจนรัตนากร และเพ็ญพิศุทธ์ิ พายเรอื คายคั และซบั บอรด์ (sup board) เปลยี่ นภมู ทิ ศั นข์ องกวา๊ นทหี่ ลาย
พวงสุวรรณ ชกั ชวนคนในเมืองมาทำ� รว่ มเวิรค์ ชอ็ ปสนกุ ๆ หมนุ เวียนไป คนคนุ้ เคยใหม้ ชี วี ติ ชวี าและสรา้ งสรรค์
ตามวาระในแทบทุกสุดสัปดาห์ ทั้งงานหตั ถกรรม วาดสีน้�ำ ป้ั นเซรามิก https://www.facebook.com/profile.php?id=100067619026485
การแสดงดนตรี ไปจนถงึ จดั ตลาดนดั สนิ คา้ ทำ� มอื จนแพรข่ ยายไปส่กู าร
จัดถนนคนเดินอันแสนน่ารักอย่าง ‘กาดราชวงศ์ถนนต้นไม้’ ตลาดนัด ปลาสม้ ไรก้ า้ งแมท่ องปอน
ต้นไม้บนถนนราชวงศ์ รวมถงึ กจิ กรรมอื่นๆ ทเ่ี ช่ือมโยงกิจกรรมของคน
รุน่ ใหมเ่ ข้ากบั เมืองแหง่ นี้ ตั้งอยู่ในต�ำบลบ้านตุ่น ไม่ไกลจากท่าเรือโบราณบ้านทุ่งก่ิว ฝ่ั งตะวันตก
ของกว๊านพะเยา ทน่ี ไ่ี มเ่ พียงเป็ นโรงงานผลติ และจำ� หนา่ ยปลาส้มไรก้ า้ ง
https://www.facebook.com/nithanbaantonmai/ ตรา ‘แม่ทองปอน’ แบรนด์ปลาส้มขึน้ ชือ่ ของจงั หวัดพะเยา หากยงั เปิ ด
ใหผ้ ทู้ ส่ี นใจเขา้ มาเรยี นรูก้ รรมวิธีการผลติ ปลาสม้ อาหารพื้นถนิ่ ทอ่ี ยคู่ กู่ บั
วิถชี วี ิตชาวบา้ นรมิ กว๊านมาหลายทศวรรษ นำ� ชมโดย แมท่ องปอน จำ� รสั
เจา้ ของตำ� รบั ตวั จรงิ
https://www.facebook.com/PraSomThongPon/

15

Feature

PYE Space

พื้นที่ศิลปะร่วมสมัยแห่งเดียวของเมืองพะเยา ตั้งอยู่บนถนนรอบเวียง
ประตูชัย ขับเคล่ือนโดย ปวินท์ ระมิงค์วงศ์ อาจารย์จากคณะ
สถาปั ตยกรรมศาสตรแ์ ละศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พะเยา จดั แสดง
นิทรรศการศิลปะของทั้งอาจารย์ นักศึกษา และศิลปิ นไทยและต่างชาติ
รวมถึงจัดฉายภาพยนตร์นอกกระแส และงานเสวนาด้านศิลปะและ
การออกแบบแลว้ แตว่ าระ

ทงั้ น้ี PYE Space ยงั นบั ไดว้ า่ เป็ นฐานบญั ชาการกจิ กรรมสรา้ งสรรคข์ อง
คนรุน่ ใหมใ่ นพ้ืนทอี่ ่ืนๆ ในตวั เมอื ง เชน่ ในปี 2563 ทปี่ วินทก์ บั ทมี งานได้
เปลยี่ นโรงภาพยนตรร์ า้ งอยา่ งเมอื งทองรามา ใหก้ ลบั มามชี วี ติ อกี ครงั้ ใน
ฐานะพื้นทจี่ ดั เทศกาลสรา้ งสรรคอ์ นั แสนคกึ คกั หรอื เทศกาล Phayao Arts
& Creative Festival ทเี่ ปลย่ี นพ้ืนทช่ี น้ั สองของตลาดอารเ์ ขต ตลาดสด
ใจกลางเมอื งใหก้ ลายเป็ นพื้นทแ่ี สดงงานศลิ ปะ (จนทกุ วนั นพี้ ้ืนทดี่ งั กลา่ ว
กย็ งั จดั แสดงนทิ รรศการหมนุ เวยี นอยา่ งตอ่ เนอื่ ง) เป็ นตน้
https://www.facebook.com/pyespacethailand

บา้ นดนิ คำ� ป้ จู ู้ Live & Learn Mud House

หนึง่ ในพื้นท่กี ารเรยี นรูต้ ้นแบบแหง่ แรกๆ ของเมืองทด่ี ึงดดู ผ้คู นจากทั่ว
ประเทศใหเ้ ดินทางมาพะเยาเพื่อลงคอรส์ เรยี นทีน่ ่ี เปิ ดสอนคอรส์ การท�ำ
บ้านดนิ ประยุกตท์ ี่สามารถใช้ชวี ิตอยไู่ ด้จรงิ แถมยงั อยูส่ บายดว้ ย ยนื ยัน
จากผ้ใู ช้งานจรงิ อย่าง ครูจุย้ -ชลดา และครูโชะ-ศักดชิ์ ัย เวย่ือ สองสามี
ภรรยาที่เป็ นครูโรงเรยี นเทศบาล ผกู้ อ่ ตง้ั และใช้ชวี ิตอยทู่ น่ี ี่ นอกจากท�ำ
บา้ นดนิ ทง้ั คยู่ งั สอนการทำ� เซรามกิ การทำ� เตาดนิ ไปจนถงึ การอบพิซซา่
และทำ� อาหารจากเตาดนิ อกี ตอ่ หนง่ึ ดว้ ย! ทง้ั น้ี บา้ นดนิ คำ� ป้ จู ูย้ งั เป็ นแหลง่
เรยี นรูน้ ำ� รอ่ งของโครงการพะเยาเมอื งแหง่ การเรยี นรูต้ งั้ แตป่ ี แรกจนถงึ
ปั จจุบนั

https://www.facebook.com/koompoojue/

บา้ นสวนศริ สิ ขุ

บ้านสวนศิริสุขเป็ นท่ีต้ังของกลุ่มจานใบไม้ศิริสุขของ สุดา พัวศิริ และ
ณรงค์ พัวศริ ิ เป็ นศนู ยก์ ารเรยี นรูด้ า้ นเศรษฐกจิ ใหม่ หรอื BCG Model
จากการใชว้ ตั ถดุ บิ จากธรรมชาตแิ ละหมนุ เวยี นทรพั ยากรพรอ้ มเพ่ิมมลู คา่
ทงั้ การทำ� ภาชนะใสอ่ าหารจากใบไม้ การเพ้นทล์ ายเสอื้ จากใบไม้ ไปจนถงึ
งานเยบ็ ปั กถกั รอ้ ยและการทำ� ตงุ โดยคอรส์ เรยี นทงั้ หมดเปิ ดสอนภายใน
อาคารทา่ มกลางสวนรม่ รนื่

ทง้ั น้ี บา้ นสวนศริ สิ ขุ ยงั ตง้ั อยใู่ นหมบู่ า้ นเกษตรพัฒนาซงึ่ อยไู่ มไ่ กลจากบอ่
สบิ สอง แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วธรรมชาตแิ ละประวัตศิ าสตรท์ ส่ี ำ� คญั ของพะเยา
รวมถงึ วดั หว้ ยผาเกย๋ี ง วดั ทม่ี ปี ระตมิ ากรรมพุทธศลิ ป์ แกะสลกั บนหนา้ ผา
หนิ อนั แสนอลงั การ การมาเยอื นพื้นทก่ี ารเรยี นรูท้ นี่ ่ี จงึ ยงั ไดแ้ วะชมแหลง่
ทอ่ งเทย่ี วทส่ี วยงามถงึ สองตอ่
16

Feature

สวนนนดา

สวนสมนุ ไพรของสามภี รรยาขา้ ราชการเกษียณ สมบรู ณ์ เรอื งงาม และ
สทุ ศั น์ เรอื งงาม ทงั้ คเู่ ปิ ดสวนแหง่ นเ้ี ป็ นแหลง่ เรยี นรูด้ า้ นเกษตรปลอดภยั
การทำ� อาหารพ้ืนถิ่นจากสวนครวั ในรวั้ บ้าน ไปจนถงึ การทำ� สบสู่ มุนไพร
ซง่ึ เปิ ดใหผ้ เู้ รยี นไดช้ มสวน เรยี นรูว้ ิถกี ารกนิ อยกู่ บั ธรรมชาตอิ ยา่ งยงั่ ยนื
และมีโอกาสเก็บวัตถุดิบสมุนไพรจากในสวนมาเรียนรู้วิธีแปรรูปเป็ น
ผลติ ภณั ฑแ์ ละอาหารทห่ี ลากหลาย

https://www.facebook.com/suannonnada/

หมายเหต:ุ บา้ นสวนศริ สิ ขุ สวนนนดา บา้ นดนิ คำ� ป้ จู ูแ้ ละนทิ านบา้ นตน้ ไม้ เป็ น 4 ใน 25

พ้ืนทกี่ ารเรยี นรูใ้ นโครงการพะเยาเมอื งแหง่ การเรยี นรูข้ องมหาวทิ ยาลยั พะเยา สามารถ

เขา้ ไปดไู ดจ้ ากเวบ็ ไซตข์ องโครงการไดท้ ่ี

http://www.phayaolearningcity.com/

Facebook: Phayao Live&Learn 17









Interview

ภมู ิปั ญญารอบกว๊าน BCG โมเดล

และแรงงานนอกระบบ

ว่าดว้ ยเมอื งแหง่ การเรียนรู้
‘ทั้งจงั หวัด’ พะเยา

สนทนากบั รศ.ดร.ผณนิ ทรา ธรี านนท์

เมอ่ื ตน้ ปี 2565 ทผ่ี า่ นมา มหาวิทยาลยั พะเยา รว่ มกบั องคก์ ารบรหิ าร ขอเร่ิมที่จุดเร่ิมต้นของโครงการก่อนครับ อะไร
ส่วนจงั หวัด และเทศบาลเมอื งพะเยา ส่งช่อื พะเยาเขา้ สู่กระบวนการ คอื ความทา้ ทายของเมอื งพะเยาทอ่ี าจารยพ์ บ จน
พิจารณาเป็ นเครือข่ายเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning City) ของ นำ� มาสกู่ ารใชเ้ ครอื่ งมอื ทชี่ อ่ื เมอื งแหง่ การเรยี นรู้
ยูเนสโก พร้อมกับจดั งานฉลองด้วยบรรยากาศช่ืนมื่นและเปี่ ยมด้วย มาแกป้ ั ญหาเมอื งครบั
ความหวังร่วมกับเครือข่ายภาคประชาชน ณ ลานหน้าอุทยาน
วิทยาศาสตรแ์ ละดาราศาสตร์ รมิ กว๊านพะเยา เราดจู ากขอ้ มลู สถติ ทิ ม่ี หาวทิ ยาลยั พะเยาไดท้ ำ� ไวจ้ ากโครงการ 1 คณะ
1 ชุมชนนวัตกรรม ซึ่งเป็ นโครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนผ่านการ
นอกเหนอื จากการใชเ้ ครอื่ งมอื สดุ สมารท์ ทที่ มี วจิ ยั นำ� กลไกการบรหิ าร ท�ำงานร่วมกันระหว่างเครือข่ายในชุมชนกับคณะวิชาต่างๆ ใน
จดั การแบบสตาร์ทอัพอย่าง Hackathon หรือโมเดลเศรษฐกิจใหม่ มหาวิทยาลัย เราพบว่าจังหวัดพะเยามีแรงงานนอกระบบที่มีอายุ
BCG มาปรบั ใชก้ บั พื้นทก่ี ารเรยี นรูท้ อ้ งถน่ิ และกลมุ่ แรงงานนอกระบบ ระหวา่ ง 15-65 ปี เยอะมาก ซงึ่ มากกวา่ แรงงานในระบบ 2-3 เทา่ สว่ น
ความเจง๋ อีกเรอื่ งของโครงการเมอื งแหง่ การเรยี นรูข้ องทน่ี ค่ี อื การท่ี หนง่ึ ของแรงงานนอกระบบเหลา่ นม้ี าจากกลมุ่ คนทไี่ มไ่ ดเ้ ขา้ ระบบการ
ทมี นกั วจิ ยั รว่ มกบั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั พะเยา เสนอพื้นทใี่ นการ ศกึ ษาปกติ หรอื มเี หตใุ หต้ อ้ งหลดุ จากระบบการศกึ ษา ซง่ึ สง่ิ นกี้ เ็ ป็ นลกู โซ่
เป็ นเครอื ข่ายเมอื งแหง่ การเรยี นรูท้ งั้ จงั หวัด ตอ่ ไปอกี

กลา่ วคือในขณะทีเ่ มืองในเครอื ข่ายเมอื งแหง่ การเรยี นรูข้ องยูเนสโก เพราะเม่อื แรงงานนอกระบบมีบุตรหลาน
ส่วนใหญ่จะมีขอบเขตอย่ใู นระดบั เทศบาลเมืองหรอื ในระดบั ต�ำบล ดว้ ยขอ้ จำ� กดั ดา้ นเศรษฐกจิ บตุ รหลานของ
เทา่ นนั้ แตก่ บั เมอื งพะเยา เมอื่ จบั มอื กบั อบจ. ทมี่ โี ครงการพัฒนาศนู ย์ พวกเขากไ็ มส่ ามารถเขา้ เรยี นในระบบไดอ้ ีก
สามวัยทั่วจงั หวัดพรอ้ มรองรบั กับการเป็ นพื้นท่พี ัฒนาทักษะใหม่ๆ ยงิ่ มาเจอวิกฤตเศรษฐกิจจากสถานการณ์
และการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการเมืองแห่งการเรียนรู้ของพะเยา โควิด-19 ก็ย่ิงท�ำให้ปั ญหาหนักเข้าไป ท้ัง
จงึ มีพลวัตมากเป็ นพิเศษ คุณภาพชีวิต ความเครียด ปั ญหาใน
ครอบครวั และทสี่ ำ� คญั คอื การทเ่ี ดก็ ๆ อ่าน
พรอ้ มไปกับการรอผลการรบั รองจากยูเนสโก ในปี 2565 น้ีทีถ่ อื เป็ น ไม่ออกเขียนไม่ได้ ซึ่งเป็ นต้นทุนส�ำคัญใน
ปี ทส่ี ามทโี่ ครงการพะเยาเมอื งแหง่ การเรยี นรูข้ บั เคลอ่ื นมา (ภายใตช้ อื่ การประกอบอาชีพ
‘กลไกการบรหิ ารและพัฒนาเสน้ ทางแหง่ การเรยี นรูใ้ นเขตเมอื งพะเยา
เพื่อพัฒนา คณุ ภาพชีวิตของแรงงานนอกระบบด้วย BCG โมเดล’) ทนี เ้ี รากม็ องเหน็ แลว้ ว่าชว่ งทมี่ นั หายไปในการศกึ ษาในระบบ พวกเขา
ทมี นกั วิจยั กย็ งั คงเดนิ หนา้ ตอ่ ในการสรา้ งการรบั รู้ สานความรว่ มมอื ควรจะไดร้ บั การเรยี นรูอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพื่อยกระดบั ตวั เองใหก้ ลายเป็ น
ระหว่างพ้ืนท่ีการเรียนรู้ในจงั หวัด และใช้โมเดลเศรษฐกิจใหม่ BCG แรงงานท่ีมีทักษะที่เหมาะกับสภาพปั จจุบัน แนวทางเรื่องการศึกษา
และธุรกิจสรา้ งสรรคย์ กระดับผปู้ ระกอบการธุรกจิ ในท้องทอี่ ยา่ งต่อ ตลอดชีวิตจึงเป็ นส่ิงที่ควรเข้ามาเติมเต็ม ก็พอดีกับท่ีทาง บพท.
เนื่อง WeCitizens จึงถือโอกาสพู ดคุยกับหัวหน้าโครงการ รอง สนบั สนนุ โครงการเมอื งแหง่ การเรยี นรูท้ เ่ี นน้ เรอื่ งการศกึ ษาตลอดชพี
ศาสตราจารย์ ดร. ผณนิ ทรา ธีรานนท์ ผชู้ ว่ ยอธิการบดี มหาวิทยาลยั ทางเราจงึ เหน็ วา่ เป็ นโอกาสอนั ดใี นการขบั เคลอื่ นเมอื งพะเยาเป็ นเมอื ง
พะเยา เกย่ี วกบั ทม่ี าและทท่ี จี่ ะไปตอ่ ในฐานะเมอื งแหง่ การเรยี นรู้ ‘ทง้ั แหง่ การเรยี นรู้
จงั หวดั ’ พะเยา วา่ ทเ่ี ครอื ขา่ ยเมอื งแหง่ การเรยี นรูข้ องยเู นสโกเมอื งน้ี

22



Interview

ทราบมาว่าทางมหาวิทยาลัยพะเยากม็ ปี ณิธาน เป็ นการใชภ้ มู ปิ ั ญญามาเป็ นแมเ่ หลก็ ดงึ ดดู การทอ่ งเทยี่ วเชงิ กจิ กรรม
และโครงการทเ่ี นน้ ใชอ้ งคค์ วามรยู้ กระดบั คณุ ภาพ การเรยี นรู้ ใหค้ นจา่ ยเงนิ เขา้ มาเรยี นรูภ้ มู ิปั ญญาตา่ งๆ เราจงึ น�ำสิ่งนี้
ชีวิตของผ้คู นในท้องถน่ิ อย่แู ลว้ โครงการน้เี ติม มาผสมกับความต้องการของผเู้ รยี น และองค์ความรูใ้ นมหาวิทยาลัย
เตม็ สิ่งท่ีมหาวิทยาลยั ด�ำเนนิ การอยู่อยา่ งไร พัฒนาเป็ นหลกั สูตรการศึกษาท่ีสามารถปรบั ได้ตามความตอ้ งการ
ของผเู้ รยี น และเปิ ดใหแ้ รงงานนอกระบบ รวมถงึ ใครกต็ ามทสี่ นใจเขา้
ใช่ค่ะ มหาวิทยาลัยพะเยามีปณิธานมาตั้งแต่ก่อต้ังว่า ปั ญญาเพื่อ ศึกษาได้
ความเข้มแข็งของชุมชน เราตั้งใจสรา้ งบัณฑติ และงานวิจยั เพ่ือกลบั
เข้ามารับใช้การพัฒนาท้องถิ่น นอกจากโครงการ 1 คณะ 1 ชุมชน ทราบมาว่าการเปิ ดคอร์สนี้สามารถนับรวมเป็ น
นวัตกรรม ในเชงิ การพัฒนาเศรษฐกิจทอ้ งถ่นิ เรายงั มศี ูนย์บม่ เพาะ หน่วยกติ ของมหาวิทยาลยั ด้วย
วิสาหกิจ ที่ถอดความรูเ้ ชงิ สตารท์ อัพและเทคโนโลยใี หมๆ่ ที่เกดิ จาก
งานวิจยั มาชว่ ยส่งเสรมิ และยกระดบั ผปู้ ระกอบการท้องถน่ิ ใช่ค่ะ เรามองว่ามหาวิทยาลัยต้องขยายโอกาสทางการศึกษาใหม้ าก
ทส่ี ดุ เราจงึ ออกแบบหลกั สตู รโดยบรู ณาการภมู ปิ ั ญญาทอ้ งถน่ิ ไปกบั
อย่างไรก็ตาม สิ่งท่ีเราท�ำนี้ยังอยู่ในระดับ ความรู้ในมหาวิทยาลัย และน�ำหลักสูตรน้ีเข้าสภามหาวิทยาลัย เป็ น
มหาวทิ ยาลยั แตก่ ารทำ� ใหพ้ ะเยาอยใู่ นเครอื หลักสูตร non-degree เพื่อใหค้ นเข้ามาเรียนเก็บหน่วยกิต เข้าเป็ น
ข่ายเมืองแห่งการเรียนรู้ ส่ิงส�ำคัญคือ นิสิตมหาวิทยาลัยพะเยาได้
ความร่วมมือกบั หนว่ ยงานรัฐท่ีจะท�ำงาน
ครอบคลมุ ทง้ั ระดบั เทศบาลหรือในระดับ อีกส่ิงหนึ่งท่ีเราท�ำเป็ นอันดับต้นๆ ก่อนสร้างหลักสูตรคือ การเข้าไป
อ�ำเภอตอ่ ไป เราจงึ เหน็ วา่ นเี่ ป็ นเรอ่ื งสำ� คญั หานายกเทศมนตรีเมืองพะเยาในขณะน้ัน (จุฬาสินี โรจนคุณก�ำจร)
ซ่ึงเขาก็เหน็ ด้วย เพราะมีแนวคิดอยากจะพัฒนาบุคลากรในเทศบาล
นอกจากน้ีพอโควิด-19 เข้ามา เรายงั พบว่ามอี าชพี หลายๆ อาชพี ที่ ให้ได้ท�ำงานกับทางมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว ก็เลยได้ผู้ร่วมขับเคล่ือน
สญู หายไป และถกู แทนทด่ี ว้ ยอาชพี ใหมๆ่ ทเี่ รยี กรอ้ งใหแ้ รงงานจำ� เป็ น โครงการท่สี �ำคัญมากๆ อย่างเทศบาลเมืองพะเยาเข้ามา
ตอ้ งมที กั ษะใหมๆ่ มารองรบั การเสรมิ ทกั ษะใหมๆ่ เหลา่ นใี้ หค้ รอบคลมุ
จงึ เป็ นสิ่งจำ� เป็ น และสงิ่ ทส่ี าม เพ่ือทำ� ใหก้ ารทำ� งานกบั เทศบาลและมหาวิทยาลยั เป็ นไป
อย่างราบร่ืน เรายังได้จัดกิจกรรมบ้านดินริมกว๊าน คือการชวน
อาจารยเ์ รม่ิ ออกแบบโครงการนอ้ี ยา่ งไรครบั บุคลากรมาร่วมเรียนรู้และท�ำบ้านดินริมกว๊านพะเยาข้ึนมา ก็ให้ทีม
อาจารยค์ ณะสถาปั ตยกรรมศาสตรอ์ อกแบบบา้ นดิน ขอใชพ้ ื้นทขี่ อง
หลงั จากประชุมกับคณะทำ� งาน และอ่านทฤษฎีตา่ งๆ เราก็สรุปไดว้ ่ามี อบจ. และชวนเจา้ หน้าท่ีจากหน่วยงานต่างๆ ของเทศบาลมาร่วมย่�ำ
อยู่ 3 ประเดน็ ส�ำคญั ทค่ี วรจะอย่ใู นโครงการนี้ ไดแ้ ก่ หนง่ึ . โครงการ ดินและท�ำบ้านดินร่วมกันกับเรา กิจกรรมน้ียังเป็ นเหมือนการละลาย
บรหิ ารเมอื ง สอง. เครอ่ื งมือท่ที ำ� ใหผ้ คู้ นสามารถเรยี นรูไ้ ด้ตลอดชวี ิต พฤตกิ รรม สรา้ งความรบั รูว้ า่ เรากำ� ลงั จะทำ� อะไร และจะประสานความ
และ สาม. การออกแบบเมอื งและพื้นทเ่ี รยี นรูต้ ่างๆ ท้งั 3 ส่วนนี้เป็ น ร่วมมือกันอย่างไร ท่ีส�ำคัญเรายังได้เครือข่ายพ้ืนที่การเรียนรู้แห่ง
เหมือนจกิ๊ ซอว์ท่เี ราตอ้ งนำ� มาเรยี งตอ่ กนั เป็ นภาพใหญท่ จ่ี ะช่วยส่ง ส�ำคญั อยา่ งกลุม่ บา้ นดนิ คำ� ป้ ูจู้ ซง่ึ เขารว่ มงานกบั เทศบาลอยูแ่ ลว้ มา
เสริมการเรียนรู้แก่ผู้คนในเมือง จากนั้นเราก็ออกไปส�ำรวจด้วยการ รว่ มโครงการกบั เราดว้ ย ในปี แรกเรามแี หลง่ เรยี นรูใ้ นเขตเทศบาลมา
สมั ภาษณก์ ลมุ่ แรงงานนอกระบบทเ่ี ป็ นเป้ าหมายหลกั ของเรา ว่าพวก รว่ มโครงการ 11 แหง่ ส่วนปี ที่สองกม็ ีเพิ่มมา รวมท้งั หมด 18 แหง่
เขาต้องการเสริมทักษะหรือความรู้เรื่องอะไร และเปิ ดคอร์สส่งเสริม
น้นั ก่อน ในปี แรกเรามแี หลง่ เรยี นรู้
ในเขตเทศบาล
จากการทไ่ี ดส้ ำ� รวจความคดิ เหน็ แรงงานนอก
ระบบมา สว่ นใหญเ่ ขาอยากใหเ้ ราหนนุ เสรมิ เรอื่ ง มารว่ มโครงการ 11 แหง่
อะไรครบั สว่ นปี ทส่ี องกม็ เี พิ่มมา
รวมทง้ั หมด 18 แหง่
หลักๆ คือการฝึ กอาชีพค่ะ ทั้งด้านเทคโนโลยีการเกษตร และงาน
บรกิ าร ขณะเดียวกันเรากว็ ิเคราะหจ์ ากสถานการณ์จงั หวัด แมเ้ มือง
ของเราจะมีธุรกิจจากงานบริการอยู่พอสมควรก็จริง แต่ว่าเราก็มี
ภูมิปั ญญาท้องถิ่นที่เป็ นจุดแข็ง ข้อมูลจากฐานโครงการ 1 ชุมชน 1
นวัตกรรมของมหาวิทยาลัย พบว่าพะเยามีภูมิปั ญญาเยอะมากท่ี
สามารถเอามาท�ำแบรนดิ้งได้ โดยในท่ีน้ีอาจจะไม่ใช่แงข่ ายสินค้า แต่

24

Interview

ในโครงการยอ่ ยทง้ั 3 โครงการทขี่ บั เคลอื่ นใน เราเหน็ ว่า BCG โมเดล หรอื การพัฒนาเศรษฐกิจแบบองค์รวม คอื
ปี ที่ 2 จะเหน็ ได้ว่าอาจารยใ์ ชโ้ มเดลเศรษฐกจิ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular
ใหม่ หรือ BCG มาเป็ นกลไกขบั เคลือ่ นทัง้ หมด Economy) และเศรษฐกิจสีเขยี ว (Green Economy) ทง้ั หมดมงุ่ เน้น
อาจารย์มวี ิธีชกั จูงใหช้ าวบ้านเข้าใจเร่ืองนี้ การพัฒนาเศรษฐกิจไปพร้อมกับสังคมและส่ิงแวดล้อม ซ่ึงเป็ นส่ิงท่ี
อยา่ งไรครับ คนทั้งโลกก�ำลงั ใหค้ วามส�ำคญั ในฐานะหน่ึงในกลไกการพัฒนาอย่าง
ยงั่ ยนื ในขณะเดยี วกนั พ้ืนทเี่ รยี นรูใ้ นเครอื ขา่ ยของเราเขากม็ รี ูปแบบ
อาจตอ้ งขอเท้าความโครงการย่อยทง้ั 3 โครงการกอ่ น เราเรม่ิ จาก เศรษฐกจิ นี้อยแู่ ลว้ ไม่ว่าจะเป็ น กลุม่ บา้ นดนิ คำ� ป้ จู ู้ หรอื กลุ่มจานใบไม้
โครงการแรก คือการพัฒนาระบบและกลไกการบริหารจดั การเมือง ศริ สิ ขุ ทใ่ี ชท้ รพั ยากรชวี ภาพในพ้ืนทมี่ าสรา้ งมลู คา่ หรอื กลมุ่ สานใจฮัก
ท่ีเกิดจากการรวมตัวของแม่บ้าน น�ำเศษผ้าเหลือใช้จากโรงงานมาส
และพื้นที่การเรยี นรูข้ องเมืองพะเยา ดว้ ย BCG โมเดล เพ่ือเศรษฐกจิ รา้ งสรรคเ์ ป็ นผลติ ภณั ฑใ์ หม่ กเ็ ป็ นเศรษฐกจิ หมนุ เวียน เป็ นตน้ พะเยา
สรา้ งสรรคแ์ ละสังคมทยี่ ั่งยืน โครงการทส่ี อง. การพัฒนาเครอื่ งมือ จงึ มตี น้ ทนุ เรอ่ื งนท้ี ด่ี อี ยแู่ ลว้ เรากแ็ คเ่ ขา้ ไปสอ่ื สาร หาวิธีพัฒนาความ
การเรยี นรู้บนพ้ืนฐาน BCG โมเดล เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ด้าน รว่ มมอื ดว้ ยโมเดลแบบ BCG ไปจนถึงการท�ำแบรนด้งิ เพื่อเพ่ิมมลู คา่
เศรษฐกิจให้แรงงานนอกระบบบนเส้นทางแห่งการเรียนรู้ พะเยา ทางการตลาด รวมถงึ เปิ ดพื้นทเี่ พื่อใหเ้ ขาแชรอ์ งคค์ วามรูแ้ กผ่ ทู้ สี่ นใจ
Learning city และโครงการทส่ี าม. การสรา้ งสรรคเ์ ส้นทางและพื้นท่ี และสรา้ งเส้นทางพ้ืนทเี่ รยี นรูเ้ หล่านีเ้ ชอ่ื มโยงเขา้ หากัน
กิจกรรมการเรียนรู้ในเขตพื้ นที่เมืองพะเยาด้วยการออกแบบ
ทางสถาปั ตยกรรมเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาเส้นทางแหง่ การเรยี นรู้ 25
จงั หวัดพะเยาตามแนวทาง BCG โมเดล

Interview

กลายเป็ นวา่ เราไดแ้ นว
รว่ มทง้ั เทศบาลเมอื ง และ
อบจ. ซง่ึ กม็ แี ผนจะขยาย
พื้นทกี่ ารเรยี นรูไ้ ปทวั่
จงั หวดั ตอ่ ไป

อาจารยเ์ รม่ิ ตน้ โครงการในปี ทห่ี นง่ึ กบั เทศบาล ติดภารกิจก็จะส่งเลขาฯ มาร่วมวางแผนกับเราทุกคร้ัง ส่วนทาง
นครพะเยา แตพ่ อขน้ึ โครงการปี ทส่ี องเรารว่ มมอื เทศบาลก็ด้วย โครงการจงึ เดินหน้าไปอย่างราบรนื่ มาก
กบั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั พะเยา ชว่ ยเลา่ ให้
ฟั งหนอ่ ยครบั วา่ เป็ นมาเป็ นไปอยา่ งไรครบั เหน็ วา่ ในปี ทสี่ ามนจี้ ะมกี ารขยายพื้นทเ่ี รยี นรูไ้ ปทวั่
จงั หวดั ดว้ ย ชว่ ยเลา่ ใหฟ้ ั งหนอ่ ยครบั
จะบอกว่าเปล่ียนวิกฤตเป็ นโอกาสก็ได้ค่ะ ช่วงท้ายโครงการปี ที่หน่ึง
นายกเทศมนตรที รี่ ว่ มงานกบั เราเขากห็ มดวาระพอดี ทมี งานกม็ คี วาม เป็ นความคดิ ของนายก อบจ. ทา่ นเสนอมาว่า อบจ. มศี นู ยส์ ามวัยตาม
กังวลว่าถ้านายกเทศมนตรีคนใหม่เข้ามา ท่านอาจไม่ขับเคลื่อนต่อ อ�ำเภอตา่ งๆ อยแู่ ลว้ ท่านก็เปิ ดใหเ้ ราใช้ BCG โมเดลเข้าไปจบั พรอ้ ม
เพราะการเสนอชอื่ เขา้ ยเู นสโกเนยี่ เราตอ้ งไดร้ บั ความรว่ มมอื จากภาค พัฒนาให้เป็ นศูนย์เรียนรู้ท้องถิ่นของพ้ืนท่ีนั้นๆ ได้เลย แต่ก็ยังเป็ น
รัฐ ระหว่างท่ีเป็ นสุญญากาศกันอยู่นั้น พะเยาก็ได้นายกองค์การ แผนการที่เราก�ำลงั คุยกันต่อไปค่ะ
บรหิ ารส่วนจงั หวัดทา่ นใหมพ่ อดี (อัคร พรหมเผา่ ) ทีมงานก็เลยเหน็
ตรงกนั วา่ งน้ั เรานำ� โครงการไปเสนอทา่ นดกี วา่ เราเขา้ ไปหาทา่ นตงั้ แต่ พู ดถึงภาพรวมระดับจังหวัด นอกจากในเขต
วันแรกที่ได้รับการเลือกต้ัง ท่านก็งงว่าเรามาท�ำไม ก็อธิบายถึง เทศบาลเมือง หรือแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่เดิมแล้ว
โครงการทเี่ ราจะเสนอยเู นสโกใหฟ้ ั ง ซง่ึ จากแนวทางทท่ี า่ นหาเสยี งมา อาจารยม์ องวา่ พื้นทไี่ หนทมี่ ศี กั ยภาพในการเปิ ด
ก็พบว่าเรามีเป้ าหมายร่วมกัน อย่างไรก็ดี ภายหลังเทศบาลเมือง เป็ นพื้นทเี่ รยี นรูไ้ ดอ้ ีกบา้ งครบั
พะเยาได้นายกเทศมนตรีคนใหม่ ท่านก็เห็นด้วย และเดินหน้าร่วม
โครงการกบั เราตอ่ กลายเป็ นว่าเราไดแ้ นวรว่ มท้งั เทศบาลเมือง และ มีหลายท่ีเลยค่ะ แต่ถ้าจะสะท้อนความเป็ นพะเยาได้ดี อาจารย์คิดว่า
อบจ. ซง่ึ กม็ แี ผนจะขยายพ้ืนทกี่ ารเรยี นรูไ้ ปทว่ั จงั หวัดตอ่ ไป ต�ำบลเวียงลอ อ�ำเภอจุน เพราะที่นั่นเป็ นที่ตั้งของโบราณสถานและ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ า นกยูงที่เป็ นสัตว์สัญลักษณ์ของพะเยาก็ได้รับ
อาจารยม์ วี ธิ นี ำ� เสนอโครงการให้ อบจ. รว่ มงาน การขยายพันธุใ์ นพื้นทน่ี น้ั มานานมากแลว้ ตอนนท้ี างโครงการไดเ้ ขา้ ไป
กบั เราอยา่ งไรครบั ทำ� MOU กบั เขตรกั ษาพันธุ์สตั ว์ป่ า เพ่ือจะทำ� เสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติ
อยู่ โดยก่อนหน้าน้ีทางมหาวิทยาลัยก็ได้ชวนเยาวชนในเขตเทศบาล
ความเป็ นเครอื ขา่ ยเมอื งแหง่ การเรยี นรูม้ นั มจี ุดแขง็ อยแู่ ลว้ เพราะเรา เข้าไปท�ำโป่ งเทียมเพ่ือเป็ นแหล่งอาหารสัตว์จำ� ลอง และติดต้งั กล้อง
จะไดแ้ ลกเปลย่ี นองคค์ วามรูแ้ ละกลยทุ ธ์ในการพัฒนาเมอื งจากเครอื วิดีโอบันทกึ พฤตกิ รรมสัตว์ เพื่อใหเ้ ราได้ศึกษาและเรยี นรูพ้ วกนกยงู
ขา่ ยเมอื งชนั้ นำ� ทวั่ โลก เรมิ่ แรกนายกฯ มคี วามกงั วลใจเรอ่ื งกฎหมาย ละมั่ง เน้อื ทราย และสัตว์ป่ าหายากอื่นๆ
เก่ยี วกับเมอื งเล็กน้อย แตท่ ่านกใ็ หท้ มี ไปตรวจสอบ รวมถงึ ไปส�ำรวจ
ความคิดเห็นชาวบ้าน ซ่ึงชาวบ้านก็ยืนยันมาอีกเสียงว่าโครงการน้ี
ชว่ ยยกระดบั เศรษฐกจิ ไดจ้ รงิ ทา่ นกเ็ ลยเอาดว้ ย กลายเป็ นว่าทกุ วันนี้
ถา้ มกี ารประชมุ โครงการเมอื่ ไหร่ นายกฯ กม็ ารว่ มประชมุ หรอื ถา้ ทา่ น

26

Interview

ปลายทางของเมอื ง นอกจากนี้เส้นทางแม่น้�ำในเขตน้ีก็ส�ำคัญ เพราะแม่น้�ำอิงที่ไหลอยู่ใน
แหง่ การเรยี นรู้ เขตรกั ษาพันธุ์สัตว์ป่ าเป็ นสายน้�ำทมี่ าจากดอยหลวง ผ่านเวียงลอลง
อ่างน้�ำจุน ก่อนจะไหลต่อไปยังแม่น้�ำโขง ตรงน้ีก็มีศักยภาพในการ
ทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ เรยี นรูแ้ ละสรา้ งรายได้จากการท่องเทยี่ วเชงิ เรยี นรูไ้ ด้อีกเชน่ กันค่ะ
มนั เรมิ่ ตน้ จากสงิ่ เลก็ ๆ ตรงน้ี
สถานที่อีกแห่งที่มีการขับเคล่ือนอย่างน่าประทับใจ คือวัดต๊�ำม่อนท่ี
ตำ� บลบา้ นต๊ำ� เจา้ อาวาสวดั นท้ี า่ นเกง่ มากๆ ทา่ นเปิ ดศนู ยเ์ รยี นรูส้ ำ� หรบั
ผู้สูงอายุทุกวันอังคาร และก็น�ำเงนิ ที่ญาติโยมมาท�ำบุญไปจา้ งรถรับ
ส่งผู้สูงอายุมาที่โรงเรียน เพราะเห็นว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีข้อจำ� กัด
ด้านการเดินทาง แล้วท่ีโรงเรียนนั้นท่านก็จา้ งผู้เช่ียวชาญให้มาสอน
เรอ่ื งการพัฒนาผลติ ภณั ฑต์ า่ งๆ ทน่ี า่ ประทบั ใจคอื ทางเจา้ อาวาสทา่ น
เริ่มสร้างพื้นท่ีเรียนรู้ด้วยตัวเองโดยอาศัยเงนิ ท�ำบุญเองทั้งหมด ไม่
ไดร้ องบประมาณจากหนว่ ยงานไหนมาบอกใหท้ า่ นทำ� ซงึ่ ทางโครงการ
ของเราก็เข้าไปร่วมมือกับท่านด้วย โดยมีแผนจะเชิญท่านมาเป็ น
วิทยากรด้านการจดั การพ้ืนทเี่ รยี นรูส้ อนพระในเขตเทศบาลเมืองใน
โอกาสต่อไป

อาจารยม์ องภาพไกลๆ ของเมอื งพะเยาไว้
อยา่ งไรบา้ งครบั

จริงๆ พะเยาตอนน้ีมีสองภาพท่ียังคลุมเครือกันอยู่ค่ะ คือถ้าไปถาม
ภาคเอกชนและหนว่ ยงานเทศบาล เขาอยากเหน็ พะเยาเป็ น smart city
เอาเทคโนโลยีมาพัฒนาเมือง แต่จริงๆ โดยพ้ืนฐานชุมชนในจงั หวัด
พะเยามคี วามเป็ น creative city ทชี่ ดั มาก ทง้ั ดา้ นวิถชี วี ิต ภมู ปิ ั ญญา
และการประยุกต์ศิลปวัฒนธรรมเป็ นสินค้า อันนี้ก็อยู่ระหว่างหาจุด
รว่ มกนั อยู่

แลว้ สว่ นตวั อาจารยม์ องวา่ ยงั ไงครบั

คิดว่าคงเป็ น smart city แบบพะเยาคะ่ คงไม่ได้สมารท์ แบบระยอง
หรอื พื้นทเี่ ขตเศรษฐกจิ ภาคตะวันออกทที่ กุ อยา่ ง digitalized ทง้ั หมด
แตค่ ดิ ว่าเราน�ำเทคโนโลยีมาพัฒนาเมอื งรว่ มกบั ใชต้ ้นทุนทาง
ภูมิปั ญญาและความคดิ สรา้ งสรรค์ได้ ก็ตอ้ งค่อยๆ ปรบั จูนเขา้ หากนั

แตไ่ มว่ ่าเมอื งจะไปยงั ภาพไหน ขอแคใ่ หเ้ ศรษฐกจิ ดี ผคู้ นอยดู่ มี สี ขุ เรา
กพ็ อใจมากแลว้ มภี าพหนงึ่ ทอ่ี าจารยเ์ หน็ แลว้ รูส้ กึ ว่าสงิ่ ทเี่ รากำ� ลงั ทำ�
อยู่เนี่ยมาถูกทางแล้ว คือการที่ผู้ประกอบการท่ีมาเรียนรู้ร่วมกับเรา
เขาสง่ ขอ้ ความทางไลนม์ าบอกว่าวันนเี้ ขาขายของไดด้ ขี นึ้ กว่าแตก่ อ่ น
หรอื อีกทา่ นทมี่ าบอกว่าเขาเอาความรูท้ ไ่ี ดจ้ ากโครงการเราไปสอนคน
อื่น แค่นีเ้ ราก็ดีใจมากเลย

เหมอื นมบี รรยากาศของเมอื งแหง่ การเรยี นรูเ้ กดิ
ขน้ึ จรงิ ๆ แลว้

ใช่ค่ะ เหมือนคนที่เข้ามาร่วมงานกับเราเขาได้เรียนรู้เพื่ อที่จะ
เปลยี่ นแปลงและพัฒนาตวั เอง กอ่ นทจี่ ะเอาสงิ่ นไ้ี ปถา่ ยทอดใหค้ นอน่ื ๆ
ต่อ เพื่อให้คนอื่นมีรายได้หรือคุณภาพชีวิตที่ดีเหมือนเขา ปลายทาง
ของเมอื งแหง่ การเรยี นรูท้ ป่ี ระสบความสำ� เรจ็ มนั เรม่ิ ตน้ จากสง่ิ เลก็ ๆ
ตรงน้ี

27





People

อัครา พรหมเผ่า

นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั พะเยา

“กอ่ นเขา้ รบั ตำ� แหนง่ ผมมโี อกาสลงพ้ืนทไ่ี ปยงั หมบู่ า้ น อยา่ งวยั แรกคอื เดก็ และเยาวชน เราสง่ เสรมิ การเรยี นรูน้ อก
ห้องเรียน โดยเฉพาะการท�ำงานร่วมกับคณะเทคโนโลยี
และอำ� เภอตา่ งๆ ในจงั หวดั พะเยา และพบโรงเรยี นทถ่ี กู ปิ ด สารสนเทศและการสื่อสาร ของ ม.พะเยา และรว่ มกบั ทาง
และท้ิงร้างหลายแหง่ บางแหง่ ยังมีอาคารท่ีมีสภาพดีอยู่ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย (มจร.) พะเยา ให้
เลย จงึ นกึ เสยี ดายทจี่ งั หวดั เรามสี ถานทที่ มี่ ศี กั ยภาพหลาย เขามาชว่ ยแกป้ ั ญหากล่มุ เด็กท่ีสุ่มเสี่ยงตอ่ ยาเสพตดิ
แหง่ แตไ่ ม่ได้ถกู ใชง้ าน
วัยทส่ี องคอื วัยคนทำ� งาน เราพบว่าแมพ้ ะเยาเราจะมสี ินคา้
และระหว่างส�ำรวจความต้องการของประชาชน ผมพบว่า OTOP หรือผลิตภัณฑ์จากชุมชนค่อนข้างมาก แต่ปั ญหา
เมอื งของเรากำ� ลงั เผชิญกับความท้าทายสองเรอื่ งส�ำคญั สำ� คญั คอื ผปู้ ระกอบการขายของไมไ่ ด้ เพราะเขาไมร่ ูว้ ิธีการ
คอื หนงึ่ . การจดั สรรอ�ำนาจและงบประมาณทม่ี กั กระจุกตวั ทำ� การตลาด ศูนย์แหง่ นกี้ จ็ ะเช่ือมโยงกบั ผูเ้ ชยี่ วชาญเก่ยี ว
อยู่ในตัวเมือง พ้ืนที่ห่างไกลบางแห่งไม่ได้รับการพัฒนา กบั แบรนดจ์ ากโครงการเมอื งแหง่ การเรยี นรู้ โดยทาง อบจ.
บางหม่บู ้านยงั ไม่มไี ฟฟ้ าใช้ ไม่ต้องพูดถงึ เดก็ ๆ ที่ไม่เคยได้ กช็ ่วยจดั หาอุปกรณใ์ ห้
ใช้คอมพิวเตอรเ์ ลยด้วยซ้�ำ
ขณะเดียวกัน เมื่อเราปลูกฝั งเด็กๆ ในวัยแรก(เด็กและ
และสอง. ในเชิงสังคม ทง้ั ในแงท่ ่เี มืองเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เยาวชน)ได้แล้วก็ท�ำให้เด็กๆ สามารถท�ำงานกับผู้ใหญ่ใน
และปั ญหาที่เกดิ จากช่องว่างระหว่างวัย ตรงนเ้ี องที่ผมคิด ด้านการขายสินค้าออนไลน์ ช่วยลดช่องว่างระหว่างวัยไป
ว่าเรานา่ จะพัฒนาโรงเรยี นทถ่ี กู ทงิ้ รา้ งตามพื้นทต่ี า่ งๆ เป็ น พรอ้ มกันดว้ ย
ศูนยก์ ารเรยี นรูท้ เี่ ชอ่ื มโยงและส่งเสรมิ การเรยี นรูร้ ะหว่าง
ผคู้ นสามรุน่ ด้วยกนั และวัยท่ีสามคือผู้สูงอายุ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าผู้สูงอายุท่ีเป็ น
อัลไซเมอรห์ รอื ผ้ปู ่ วยติดเตียงเป็ นภาระท่ีปิ ดกัน้ โอกาสของ
นั่นก็พอดีกับท่ีทางโครงการเมืองแห่งการเรียนรู้ของ ลกู หลาน อบจ. กไ็ ดร้ ว่ มกบั คณะแพทยศ์ าสตรแ์ ละพยาบาล
มหาวิทยาลัยพะเยาเข้ามาเป็ นแนวร่วม จากเดิมท่ีทาง ศาสตร์ ในการใช้ศูนย์สามวัยเป็ นเดย์แคร์ส�ำหรับผู้สูงอายุ
โครงการทำ� ในเขตตวั เมอื งพะเยาอยา่ งเดยี ว ผมเหน็ ว่าเป็ น ดึงนักศึกษาแพทย์และพยาบาลฝึ กงานจากคณะมาฝึ ก
โอกาสอันดีที่จะขยายพ้ืนท่ีการเรียนรู้ไปทั่วทั้งจังหวัด จึง ทกั ษะการดแู ลคนชราใหก้ บั อาสาสมคั รสาธารณสขุ ในพ้ืนที่
ประสานไปทกี่ รมธนารกั ษ์ทีด่ แู ลโรงเรยี นตามอ�ำเภอตา่ งๆ รวมถงึ ลกู หลานทต่ี อ้ งดแู ลคนเฒา่ คนแกห่ รอื ผปู้ ่ วยตดิ เตยี ง
ทถ่ี กู ท้งิ รา้ ง เพื่อขอพัฒนาพื้นทต่ี รงนัน้ ใหเ้ ป็ นศูนย์สามวัย กส็ ามารถเรยี นรูไ้ ดจ้ ากนกั ศกึ ษาแพทยแ์ ละพยาบาลโดยตรง
พ้ืนที่การเรียนรู้ส�ำหรับคนสามวัยในระดับท้องถิ่น ซึ่งเริ่ม
ดำ� เนนิ การนำ� รอ่ งไปแลว้ 9 ศูนยใ์ น 9 อ�ำเภอของจงั หวัด ปั จจุบันเราขับเคลอื่ นศูนยส์ ามวัยอย่างเตม็ รูปแบบไปแล้ว
พะเยา 2 พ้ื นท่ี คือในอ�ำเภอเมืองและอ�ำเภอแม่ใจ โดยให้ทาง
มหาวิทยาลัยส่งนักศึกษาที่เชี่ยวชาญในศาสตร์ต่างๆ มา
แนวความคดิ ของศนู ยส์ ามวัยคอื การใชก้ ารศกึ ษาเชอื่ มโยง ประจ�ำที่ศูนย์เพื่ ออบรมชาวบ้านในพ้ื นที่ผ่านรู ปแบบของ
คนสามรุ่นเข้าด้วยกัน และช่วยแก้ปั ญหาท่ีคนแต่ละรุ่นพบ หลักสูตรการฝึ กงานของนักศึกษา นอกจากน้ี ทาง อบจ.
โดย อบจ. ในฐานะเจา้ ของพ้ืนทกี่ ป็ ระสานความรว่ มมอื ดา้ น ยงั จดั ตงั้ กองการศกึ ษาขนึ้ มาโดยเฉพาะ ซง่ึ มหี นา้ ทดี่ แู ลและ
ทรพั ยากรบคุ คลและองคค์ วามรูจ้ ากสถาบนั การศกึ ษาตา่ งๆ จัดการเร่ืองการศึกษาของท้ังจังหวัด รวมถึงขับเคลื่อน
ในพ้ืนทีใ่ นรูปแบบของการทำ� MOU อย่างเป็ นทางการ โครงการศูนย์สามวัยน้ีดว้ ย

30

People

ผมตง้ั ใจใหศ้ ูนยแ์ หง่ น้ีเป็ น
นโยบายหลกั ในการพัฒนาเมอื ง
เป็ นเครื่องมือกระจายความรู้
และความเจรญิ ไปทว่ั ทงั้ ภมู ภิ าค
และท�ำใหค้ วามรู้เป็ นต้นทุนใน
การดำ� รงชวี ิตของชาวบ้าน
อย่างย่งั ยืน

ผมตั้งใจใหศ้ ูนยแ์ หง่ น้เี ป็ นนโยบายหลกั ในการพัฒนาเมอื ง
เป็ นเครื่องมือกระจายความรู้และความเจริญไปทั่วทั้ง
ภูมิภาค และท�ำให้ความรู้เป็ นต้นทุนในการด�ำรงชีวิตของ
ชาวบา้ นอย่างยั่งยืน

ที่ส�ำคัญ พะเยาของเราเป็ นเมืองเกษตร เราอาจไม่เจริญ
ทางวัตถุเท่าเชียงรายหรือเชียงใหม่ แต่จุดแข็งของเราคือ
เราเป็ นคลงั อาหารเลย้ี งคนทง้ั ประเทศ รวมถงึ สง่ ออกไปยงั
ต่างประเทศ การทเ่ี กษตรกรและผปู้ ระกอบการได้ตดิ อาวุธ
ด้านความรู้ การตลาด และเทคโนโลยี มีส่วนให้พวกเขา
สามารถยกระดับผลผลิตทางการเกษตรให้มีมาตรฐาน
มีความเขา้ ใจเรอื่ งการทำ� เกษตรปลอดภยั ซง่ึ เป็ นทตี่ อ้ งการ
ของตลาดโลก ไปจนถงึ การใชก้ ารตลาดนำ� การผลติ ไมต่ อ้ ง
ถกู กดราคาจากพ่อคา้ คนกลางอีกต่อไป

ในฐานะ อบจ. นอกจากดูแลและส่งเสริมสวัสดิภาพของ
ประชาชนตามบทบาทหนา้ ทแ่ี ลว้ เรายงั จะมงุ่ มนั่ ขยายโอกาส
และเชอ่ื มประสานหนว่ ยงานตา่ งๆ เพื่อยกระดบั องคค์ วามรู้
และคุณภาพชีวิตของชาวพะเยาทุกๆ คนอย่างทั่วถึงและ
เท่าเทยี มตอ่ ไป”

31

People

รางวัลส�ำหรับเมอื ง มนัส สายโกสุม

กเ็ ป็ นเพียงรางวัลครับ รองนายกเทศมนตรีเมอื งพะเยา

แต่หวั ใจจริงๆ คอื

ชวี ิตความเป็ นอยู่

ของคนในเมอื ง

“แม้เทศบาลเมอื งพะเยาจะมนี โยบายทจ่ี ะขบั เคลอื่ นพะเยาให้ แน่นอนท่ีว่าการศึกษาของแต่ละคนไม่เท่ากัน เด็กบางคนอาจมี
ความสามารถเรยี นรูไ้ ดเ้ รว็ แตเ่ ดก็ บางคนกห็ วั ชา้ ดงั นน้ั เทศบาล
เป็ นเมืองที่น่าอยู่ เศรษฐกิจดี และมีสุขภาวะท่ีดี ซึ่งเป็ นหน้าท่ี จงึ มุ่งม่นั ในการจดั สรรและมสี ่วนสนบั สนุนใหเ้ กิดพื้นที่การเรยี น
ข อ ง เ ร า อ ยู่ แ ล้ ว แ ต่ ก า ร ไ ด้ ร่ ว ม มื อ กั บ ที ม นั ก วิ จั ย ข อ ง รูใ้ นเมอื งพะเยาใหค้ รอบคลมุ และรองรบั กบั เดก็ ในทกุ ระดบั ใหไ้ ด้
มหาวทิ ยาลยั พะเยา กช็ ว่ ยยกระดบั การทำ� งาน รวมถงึ เพ่ิมมลู คา่ มากที่สุด แต่การจัดหาพื้นที่อย่างเดียวคงไม่มีทางจะท�ำให้เป้ า
ทางธุรกจิ ใหก้ บั ชาวบา้ นไดอ้ ยา่ งมาก โดยเฉพาะในแงข่ องความ หมายของเราส�ำเร็จได้ หากขาดบุคลากรที่มีความเช่ียวชาญ
คิดสร้างสรรค์และการส่งเสริมทกั ษะความรู้ใหม่ๆ พิเศษมาร่วมงานกับเรา ผมจงึ หวังให้ มหาวิทยาลัยพะเยา ใน
ฐานะที่ผมมองว่าเป็ นเหมือนพี่เล้ียงของเทศบาล รว่ มขบั เคลอ่ื น
ทเ่ี หน็ ไดช้ ดั คอื การทมี่ ที มี อาจารยร์ ว่ มกบั ผปู้ ระกอบการทท่ี ำ� สนิ คา้ พะเยาของเราใหเ้ ป็ นเมอื งแหง่ การเรยี นรูท้ ยี่ ัง่ ยนื ต่อไป
OTOP ออกแบบฉลากสินคา้ บรรจุภณั ฑ์ การถนอมอาหาร ไป
จนถึงแบรนด์ด้ิง เปลี่ยนภาพลักษณ์จากสินค้าท้องถ่ินที่เป็ นมา ส่วนการเป็ นเครอื ขา่ ยเมอื งแหง่ การเรยี นรูเ้ น่ยี ส่วนตัวผมก็ดใี จ
ใหด้ มู คี วามเป็ นสากลมากขนึ้ ชว่ ยขยายตลาดใหส้ นิ คา้ ไดม้ ากกวา่ เดมิ ครบั ทเี่ ราไดร้ บั การพิจารณาขน้ึ ทะเบยี นจากยเู นสโก แตก่ ม็ องสงิ่
นี้เป็ นแค่ประกาศนียบัตรรูปแบบหนึ่ง ได้มาเราก็ภูมิใจ แต่หัวใจ
หรอื อยา่ งเรอื่ งการศึกษา ในฐานะตวั แทนสำ� นกั งานเทศบาล ผม ส�ำคัญคือเราจะทำ� ยังไงใหช้ าวบ้านอยู่ดีมีสุข สามารถพึ่งพาตัว
รูส้ กึ ปลมื้ ใจทท่ี มี งานจากมหาวทิ ยาลยั ไดป้ ระสานใหเ้ กดิ วชิ าใหมๆ่ เองทางเศรษฐกจิ อยา่ งยงั่ ยนื มากกว่า รางวัลสำ� หรบั เมอื งกเ็ ป็ น
ในโรงเรยี นสังกัดเทศบาล อยา่ งวิชาการเขียน coding ซง่ึ เป็ น เพียงรางวัลครบั แตห่ วั ใจจรงิ ๆ คอื ชวี ิตความเป็ นอยขู่ องคนใน
ทกั ษะทที่ �ำใหเ้ ดก็ ๆ สามารถเท่าทันโลก ขยายขอบเขตของการใช้ เมือง ซ่ึงผมก็รู้สึกดีใจท่ีทีมงานขับเคล่ือนโครงการเห็นตรงกับ
สมารท์ โฟนใหเ้ ป็ นมากกวา่ เครอ่ื งมอื ตดิ ตอ่ สอื่ สารหรอื เลน่ โซเชยี เราในข้อน้ี และใช้รางวัลที่เราก�ำลังจะได้นับจากน้ี มีส่วนเชื่อม
ลมเี ดยี แตเ่ ป็ นเครอื่ งมอื ทสี่ ามารถตอ่ ยอดเป็ นอาชพี ได้ นอกจาก ความรูเ้ พื่อยกระดับเมอื งใหผ้ ้คู นมีความสุข”
นยี้ ังมีวิชาสมารท์ ฟารม์ (smart farm) รวมถงึ การใชง้ านโดรน
ท่ีน�ำร่องไปแล้วในโรงเรียนเทศบาล 2 และโรงเรียนเทศบาล 3
โดยกองการศึกษาของเราจะมีการเปิ ดหลักสูตรในโรงเรียน
แห่งอื่นๆ ต่อไป

32

People

33

34



People

การเรียนรู้

เป็ นแค่กระบวนการเทา่ นัน้
เพราะปลายทางท่ีเราวางไว้
คอื จะทำ� อย่างไรใหค้ นพะเยา

มคี วามสุข อิ่มท้อง
และค้าขายมกี �ำไร

“ดิฉันเห็นว่ากองสวัสดิการสังคม เทศบาลเมืองพะเยา กับ

โครงการพะเยาเมอื งแหง่ การเรยี นรูข้ องมหาวทิ ยาลยั พะเยา มปี ลาย
ทางเดียวกัน นั่นคือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซ่ึงในที่นี้หมายถึง
ประชาชนชาวพะเยาของเราน่เี อง

เพราะไมว่ า่ เราจะออกแบบกจิ กรรมดว้ ยการดงึ ตน้ ทนุ ของเมอื งพะเยา
ดว้ ยวิธีการไหน การชวนกนั ทำ� บา้ นดนิ รมิ กว๊านเอย เพ้นทผ์ า้ จากใบไม้
เอย ทำ� ขนมเอย หรอื ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดวิชาชีพใดๆ สุดทา้ ยผลลัพธ์ท่ีเรา
มองตรงกนั คอื การทำ� ใหช้ าวบา้ นทด่ี อ้ ยโอกาสกลบั มามคี วามสามารถ
ในการพึ่งพาตนเอง นกั เรยี นมที กั ษะทางวิชาชพี ใหมๆ่ ทมี่ ากกว่าสง่ิ ท่ี
เรียนรู้ในห้องเรียน และผู้สูงอายุมีกิจกรรมที่ช่วยสร้างคุณค่าและ
ความภมู ใิ จใหเ้ ขาเอง

อยา่ งไรก็ดี ในอีกมุมหนงึ่ การไดร้ ว่ มงานกบั ทางโครงการเมอื งแหง่
การเรยี นรู้ ก็ทำ� ใหเ้ จา้ หนา้ ทีใ่ นสังกัดเทศบาลไดเ้ รยี นรูท้ ักษะใหม่ๆ อัน
หลากหลายด้วย ทั้งจากกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีโครงการส่งเสริมชาว
บ้าน และการเรยี นรูจ้ ากการทำ� งานรว่ มกนั กับคณาจารย์และนกั วิจยั
โดยเฉพาะเรยี นรูก้ ระบวนการสรา้ งเครอื ขา่ ยและดึงผ้เู ชยี่ วชาญใน
สาขาตา่ งๆ มาแลกเปลยี่ นความรู้ เพื่อเสรมิ ศกั ยภาพซง่ึ กนั และกนั ไป
จนถึงการต่อยอดและขยายขอบเขตการท�ำงาน เช่นที่ในปี ล่าสุด
โครงการได้ร่วมกับ อบจ. ขยายพื้นท่ีเมืองแหง่ การเรียนรู้ออกไปทั่ว
จงั หวดั ขยายโอกาสการฝึ กทกั ษะวชิ าชพี ใหมๆ่ ใหแ้ กป่ ระชาชนในพ้ืนทอ่ี น่ื

36

People

ดร.สุรีพร โกมลธง

ผู้อ�ำนวยการกองสวัสดิการสังคม
เทศบาลเมอื งพะเยา

ปี 2 5 6 5 นี้ ถื อ เ ป็ น ปี ที่ ส า ม ท่ี เ ท ศ บ า ล ร่ ว ม กั บ
มหาวิทยาลยั พะเยาขบั เคลอ่ื นโครงการน้ีต่อ โดยเรา
ไดว้ างคอนเซปต์รว่ มกันไว้ท่ี ‘กนิ อ่ิม อบอุ่นใจ มกี ำ� ไร
หนี้ลด’ และอย่างท่ีบอกว่า การเรียนรู้เป็ นแค่
กระบวนการเท่านัน้ เพราะปลายทางทเี่ ราวางไว้ คือ
จะท�ำอย่างไรให้คนพะเยามีความสุข อ่ิมท้อง และ
ค้าขายมีก�ำไร โดยเราก็อยู่ระหว่างการออกแบบ
กจิ กรรมเพื่อบรรลเุ ป้ าหมาย
ส่วนในฐานะกองสวัสดิการสังคมท่เี รามีศูนยพ์ ัฒนา
คุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เป็ นพ้ืนท่ี
แนวร่วมของโครงการอยู่แล้ว เราไม่เพียงใช้ศูนย์
แหง่ นขี้ บั เคลอื่ นกจิ กรรมอยา่ งตอ่ เนอื่ ง แตด่ ว้ ยความ
ท่ีเราพบข้อจ�ำกัดในการเดินทางของผู้สูงอายุใน
ชุมชนต่างๆ เราจงึ จดั ศูนย์เรียนรู้ย่อยตามวัดต่างๆ
ทอี่ ยใู่ กลบ้ า้ นของผสู้ งู อายุ โดยออกแบบกจิ กรรมการ
เรยี นรูท้ สี่ อดรบั กบั ความตอ้ งการของคนในพื้นท่ี และ
นดั หมายใหผ้ สู้ งู อายเุ ขา้ ไปรว่ มเรยี นรู้ ทำ� ใหก้ ารเรยี น
รูเ้ กดิ ขนึ้ ไปกบั วิถชี วี ิตและเกดิ ขนึ้ ไดท้ กุ ทอี่ ยา่ งไมม่ ขี อ้
จำ� กัด

37

People

“แม้กองการศึกษา เทศบาลเมอื งพะเยา จะมีหนา้ ที่ เพราะไม่ใชเ่ ดก็ ๆ ทกุ คนจะสามารถมไี อแพด
ส่วนตวั หรือเขา้ ถงึ เทคโนโลยีแบบเด็ก
ในการจดั การและส่งเสริมการศึกษาทัง้ ในและนอก ในเมืองได้ เราจงึ เชื่อว่าการจดั การศึกษา
หอ้ งเรยี น รวมถงึ กบั ทกุ เพศทกุ วยั ตง้ั แตแ่ รกเกดิ จนถงึ ใหท้ ่วั ถงึ และเทา่ เทียมทส่ี ุด มีส่วนยกระดับ
ผู้สูงอายุอยู่แล้ว แต่ก็ต้องยอมรับว่า ที่ผ่านมาล�ำพัง คุณภาพชีวิตของประชาชนในเมอื งได้
หนว่ ยงานเทศบาล เราหาไดม้ กี ลยทุ ธเ์ ชงิ วชิ าการมากนกั
ทกั ษะและความเขา้ ใจในการออกแบบหน้าตาอาหารให้
การร่วมงานกับโครงการเมืองแห่งการเรียนรู้ ที่ขับ ขนมและของว่างดูดี ช่วยเพ่ิมเสน่ห์ของผลิตภัณฑ์ไป
เคลื่อนโดยมหาวิทยาลัยพะเยา จงึ สร้างแต้มต่อให้การ พรอ้ มกัน อันนต้ี ้องยกเครดิตใหแ้ นวคิด จาก ‘Local สู่
ขบั เคลอ่ื นการศกึ ษาในเมอื งของเราใหร้ ุดหนา้ มากยงิ่ ขน้ึ เลอคา่ ’ ของคณุ ขาบ-สทุ ธิพงศ์ สรุ ยิ ะ ฟู้ดสไตลสิ ตท์ เ่ี ปิ ด
โดยทที่ างมหาวิทยาลยั พะเยามาเสรมิ ใหเ้ รา คอื การสาน สตดู โิ ออยทู่ บ่ี งึ กาฬ ซง่ึ คณะของเรามโี อกาสไปดงู านมา
เครือข่ายจนท�ำให้นักเรียนและประชาชน เข้าถึงการ มากๆ
ศึกษาทีต่ อบโจทยก์ ับการท�ำงาน การใช้ชวี ิต และทักษะ
ในศตวรรษที่ 21 ในสว่ นของพื้นทก่ี ารเรยี นรูข้ องเทศบาลเมอื งพะเยาเอง
เรากำ� ลงั มแี ผนปรบั ปรุงอุทยานการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
ทเ่ี หน็ ไดช้ ดั คอื เมอื่ มองหลกั สตู รการศกึ ษาของโรงเรยี น และดาราศาสตร์ ให้เกิดเป็ นอุทยานการเรียนรู้จังหวัด
ในสังกัดเทศบาล เรามีวิชาวิทยาการค�ำนวณเปิ ดสอน พะเยา หรอื TK Park เป็ นแหลง่ เรยี นรูท้ ค่ี รอบคลมุ ตง้ั แต่
เป็ นปกติอยู่แล้ว แต่โครงการเมืองแห่งการเรียนรู้ได้ เรอ่ื งเกี่ยวกับเมอื ง ประวัตศิ าสตร์ เทคโนโลยี ไปจนถึง
เชอื่ มวิชาน้เี ข้ากับผ้เู ชี่ยวชาญจากบรษิ ัทโทรคมนาคม การมีเครอ่ื งไม้เครอ่ื งมือท่สี ่งเสรมิ การเรยี นรูแ้ ละสตดู ิ
แห่งชาติ (NT) ยกระดับภาควิชาสู่การเขียนโค้ดค�ำส่ัง โอทเ่ี ด็กๆ สามารถเรยี นและฝึ กซ้อมดนตรี พรอ้ มพ้ืนท่ี
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และท�ำให้บทเรียนสนุกข้ึนด้วย จดั แสดงไปดว้ ย และไมจ่ ำ� กดั เฉพาะเดก็ ๆ ในเขตเทศบาล
การจดั หาหนุ่ ยนต์ใหน้ กั เรยี นไดท้ ดลองเขยี นโค้ดเพ่ือ แตร่ วมถงึ นกั เรยี นทกุ คนใน 9 อ�ำเภอของจงั หวัดพะเยา
บงั คบั เจา้ หนุ่ ยนตน์ ก้ี นั จรงิ ๆ จากวิชาวิทยาการคำ� นวณ ซ่ึงเราพยายามจะดงึ ใหเ้ ด็กๆ จากรอบนอกมาใชบ้ รกิ าร
ท่ีเคยเรยี นอย่างแหง้ ๆ ตอนน้เี ด็กๆ ไม่เพียงเหน็ ภาพว่า หรอื ทำ� กจิ กรรมไปพรอ้ มกบั เรา
จะเรยี นไปทำ� ไม แตย่ ังสนกุ และมีทกั ษะท่ีสามารถนำ� ไป
ตอ่ ยอดได้จรงิ เชิงวิชาชีพอีกด้วย เพราะไมใ่ ชเ่ ดก็ ๆ ทกุ คนจะสามารถมไี อแพดสว่ นตวั หรอื
เข้าถึงเทคโนโลยีแบบเด็กในเมืองได้ เราจึงเช่ือว่าการ
และนน่ั ทำ� ใหน้ กั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาในโรงเรยี นเทศบาล จดั การศึกษาใหท้ ัว่ ถงึ และเทา่ เทียมที่สุด มีส่วนยกระดับ
4 (ภูมนิ ทรร์ าษฎรน์ ุกูล) น�ำทักษะน้ีไปเตมิ ความครเี อทฟี คุณภาพชวี ิตของประชาชนในเมืองได้
จนเกดิ เป็ นโครงการ Smart Kids จติ อาสา ออกแบบชดุ
ค�ำส่ังใหห้ นุ่ ยนต์เก็บหน้ากากอนามัยหรอื อุปกรณก์ าร
แพทย์ท่ีอาจติดเชื้อ ชนะเลิศการประกวดห่นุ ยนต์ระดับ
จังหวัดมาแล้ว ขณะเดียวกันเทศบาลของเรายังได้รับ
รางวัลการจดั การศกึ ษาดเี ดน่ ขององคก์ รปกครองสว่ น
ท้องถิน่ ในระดับประเทศเมื่อปี 2564 ทีผ่ ่านมาอีกด้วย
ส�ำหรับการจัดประชุมหรืองานเสวนาต่างๆ ได้พัฒนา

38

People

มณฑากาญจน์ ปรางคม์ ณีรัตน์

หวั หนา้ ฝ่ ายส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
กองการศึกษา เทศบาลเมืองพะเยา

39

People

เมอื งพะเยาของเราจงึ มพี ื้นท่ีการเรียนรู้
ทีห่ มายถงึ พื้นทีเ่ รียนรู้จริงๆ ทั้งของเอกชน
และของ อบจ. กบั พ้ืนท่กี ารเรียนรู้ที่สอดรับไปกบั ความ

เป็ นไปของเมืองจริงๆ ท่ีซอ้ นอยู่
ในวิถชี ุมชน ผ่านกจิ กรรมเรียนรู้ของผสู้ ูงอายุ

“ในสมยั ลา้ นนา นอกจากพะเยาจะมภี มู ศิ าสตรเ์ ป็ น พรอ้ มไปกบั การทำ� Local study ด้านประวัติศาสตร์
และตน้ ทนุ ทรพั ยากรของเมอื ง ในปี แรกของโครงการ
เสมอื นหอ้ งครัวทค่ี อยปลกู ข้าวหลอ่ เล้ียงผคู้ นใน เรายงั ไดใ้ ชศ้ าสตรเ์ รอื่ งการทำ� บา้ นดนิ มาเป็ นตวั เชอื่ ม
อาณาจักร เรายังเป็ นเหมือนห้องสมุดแห่งภูมิภาค การทำ� งานใหค้ นในพ้ืนท่ี เพราะมองว่าบา้ นดินน่ีตอบ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็ว่าได้ เพราะในสมัยนั้นยัง โจทย์เร่ืองต้นทุนการผลิต ถ้าคุณมีความรู้ในการท�ำ
ไมม่ กี ระดาษ แหลง่ ความรูท้ งั้ หมดจะถกู บนั ทกึ ลงศลิ า ถึงงบประมาณจ�ำกัด ก็ยังสามารถสร้างท่ีอยู่อาศัย
จารึก และพ้ืนที่ในจงั หวัดพะเยาน่ีแหละท่ีเป็ นแหล่ง จากดินได้ เราร่วมงานกับบ้านดินค�ำป้ ูจู้ ถ่ายทอด
ตดั หนิ สำ� หรบั ทำ� ศิลาจารกึ ดงั นน้ั มนั จงึ มกี ารพัฒนา ความรูเ้ รอ่ื งบา้ นดนิ กบั ผคู้ นในเครอื ขา่ ย เป็ นกจิ กรรม
ตัวอักษรฝั กขามส�ำหรับจารลงศิลาที่น่ีด้วย และ เพื่ อละลายพฤติกรรม และสร้างการรับรู้ในเขต
อักษรรูปแบบนี้ยงั ถูกใชส้ �ำหรับการถา่ ยทอดความรู้ เทศบาล รวมถึงร่วมกันสร้างสรรค์แลนด์มาร์ค
หรือการสื่อสารที่เป็ นทางการในเมืองต่างๆ ท่ัว ส�ำหรบั ระบุพ้ืนทแี่ หง่ การเรยี นรูด้ ้วยโครงสรา้ งบา้ น
อาณาจกั รเมื่อครั้งอดตี ดิน

หรอื ยคุ สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ พื้นทีใ่ นเขตผายาว ก็ ส่วนปี ทีส่ อง เน้นเรอ่ื งขบั เคล่อื นกลไก BCG ในพ้ืนที่
มรี อ่ งรอยของการตดั หนิ และขวานหนิ โบราณ และตอ่ แหง่ การเรียนรู้ 18 แหง่ โดยทางโครงการย่อยของ
เ น่ื อ ง ม า ถึ ง ส มั ย ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ท่ี มี ก า ร แ ก ะ ส ลั ก เรากเ็ ขา้ ไปมสี ว่ นใชง้ านออกแบบอัตลกั ษณแ์ ละบรรจุ
พระพุทธรปู ในพ้ืนท่ี รวมถงึ แหลง่ ผลติ เครอื่ งป้ั นดนิ เผา ภัณฑ์ของสินค้าในพื้นที่ ให้สอดรับกับแนวคิด BCG
เตาเวียงบวั แหลง่ อารยธรรมเหลา่ นสี้ ะท้อนใหเ้ หน็ ว่า และมีความดึงดูดในด้านการตลาด ก่อนมีแผนจะ
พะเยามีต้นทุนทางการเรียนรู้มาตั้งแต่อดีต และ ต่อยอดสู่การจดั จำ� หน่ายทางออนไลนต์ ่อไป
กระจายอยทู่ ่ัวท้ังจงั หวัด

ในโครงการพะเยาเมอื งแหง่ การเรยี นรู้ ผมรบั ผดิ ชอบ จนเข้าสู่ปี น้เี ป็ นปี ท่ีสามทีจ่ ะท�ำตอ่ ไปนี้ เราพยายามน�ำ
โครงการย่อยท่ี 3 เรื่องการสร้างสรรค์เส้นทางและ เสนอมิติความทรงจ�ำในแต่ละพื้ นท่ี น�ำเสนอภาพ
พ้ืนท่กี จิ กรรมการเรยี นรูใ้ นเมืองพะเยาดว้ ยการ ประวัตศิ าสตรท์ ่ีซ้อนไปกับภาพปั จจุบันตามเส้น
ออกแบบทางสถาปั ตยกรรมใหส้ อดรบั กบั กจิ กรรม ทางการเรยี นรู้ เพื่อใหเ้ หน็ วา่ เรามตี น้ ทนุ ทางการเรยี น
การเรยี นรูต้ ามโมเดล BCG พ้ืนท่ีที่ผมท�ำงานจงึ ค่อน รู้มาต้ังแต่อดีต เราพยายามเล่นกับการน�ำเสนอเชิง
ข้างครอบคลมุ ทัง้ จงั หวัด เพื่อสรา้ งเส้นทางเชือ่ มตอ่ ปรากฏการณ์ แล้วการกระจายตัวออกไปยังแหล่ง
พื้นที่แห่งการเรียนรู้เข้าด้วยกัน และเปล่ียนให้เมือง การเรยี นรูข้ า้ งนอก เข้าไปประสานกับแหล่งศูนย์การ
พะเยาใหเ้ ป็ นมากกว่าเมืองผ่าน แตเ่ ป็ นเมอื งที่คนเข้า
มาเยือนเพ่ือเรยี นรูภ้ ูมปิ ั ญญาจากพ้ืนท่ตี า่ งๆ

40

People

เรียนรู้ท่ีเป็ นศูนย์ฝึ กอาชีพต่างๆ ภายใต้การบริหาร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อัมเรศ เทพมา
ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด เพื่อท�ำให้ศูนย์ฝึ ก
อาชีพมบี ทบาทในการสรา้ งองค์ความรูใ้ นมติ ิอ่ืนๆ ไป อาจารยป์ ระจำ� คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์
พรอ้ มกัน และศิลปกรรมศาสตร์
และนกั วิจยั ในโครงการพะเยาเมอื งแหง่ การเรียนรู้
นอกจากน้ี ด้วยความท่พี ะเยาเป็ นเมอื งผู้สูงอายุ และ
มแี นวโนม้ จะกา้ วเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายอุ ยา่ งเตม็ รูปแบบ
โครงการเมอื งแหง่ การเรยี นรูเ้ ราจงึ ตระหนักถงึ การ
สร้างพื้นท่ีกิจกรรมเพื่อรองรับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะ
การฝึ กทกั ษะทางอาชพี ในการผลิตงานหตั ถกรรม
อาหาร และสินค้าต่างๆ โดยส่งผู้มคี วามรูล้ งชุมชนไป
ฝึ กอาชพี ผูส้ ูงอายถุ งึ ท่ีเลย และชวนใหพ้ วกท่านผลิต
สนิ คา้ มาวางจำ� หนา่ ย เพราะนอกจากการสรา้ งรายได้
แล้ว กิจกรรมเหล่าน้ียังท�ำใหพ้ วกท่านได้ใช้เวลาว่าง
อย่างเป็ นประโยชน์ ได้ตระหนักในคุณค่าของตัวเอง
และสร้างความภูมิใจ ท�ำให้พวกเขาเห็นว่าตัวเองก็
สามารถมีส่วนในการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองของ
เราได้

ด้วยเหตนุ ้ี เมอื งพะเยาของเราจงึ มีพ้ืนทก่ี ารเรยี นรูท้ ี่
หมายถึงพ้ืนท่ีเรียนรู้จริงๆ ท้ังของเอกชน และของ
อบจ. กับพื้นท่ีการเรียนรู้ที่สอดรับไปกับความเป็ นไป
ของเมืองจริงๆ ท่ีซ้อนอยู่ในวิถีชุมชน ผ่านกิจกรรม
เรยี นรูข้ องผู้สูงอาย”ุ

41

People

ส่วนในปี ท่สี าม เรายังเน้นไปทกี่ ารสร้าง
ความยงั่ ยืนทางเศรษฐกจิ ใหก้ ับผูป้ ระกอบการ
เท่าๆ กบั ท่หี ารูปแบบการดำ� เนนิ โครงการของ
เราใหย้ ั่งยนื โดยอาจไมต่ ้องพ่ึงพา
ทุน บพท. ในอนาคต

ผศ.ดร.รัฐภมู ิ พรหมณะ

รองผ้อู �ำนวยการสถาบันนวัตกรรม
และถา่ ยทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั พะเยา
และนกั วิจยั ในโครงการพะเยาเมืองแหง่ การเรียนรู้

จะไม่มปี ระโยชน์อะไรเลยถา้
คนในเมอื งแอคทีฟ
ผ้ปู ระกอบการแอคทีฟ
และผ้บู ริหารเมอื งกแ็ อคทฟี
แต่ระบบการจดั การเมือง
ไม่แอคทีฟตาม

42

People

เมืองแหง่ การเรียนรู้จงึ ไมใ่ ช่แค่
การสนบั สนุนใหค้ นในเมืองได้เรียนรู้
แต่ภาครัฐจำ� เป็ นต้องเรียนรู้ดว้ ยเหมือนกัน

“พะเยาเป็ นหนงึ่ ในสเี่ มอื งของไทย ทไี่ ดร้ บั การเสนอชอื่ รูต้ อ้ งหยดุ ลง หากเกดิ เราไมไ่ ดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ ตอ่ กค็ ดิ ว่างน้ั
จะท�ำยังไงได้ ผู้ประกอบการจะมีส่วนขับเคลื่อนโครงการได้
ข้ึนทะเบียนเครือข่ายเมืองแห่งการเรียนรู้ของยูเนสโก ซึ่ง ด้วยตวั เองอยา่ งไร ซงึ่ หน่งึ ในวิธีท่ีคดิ ไว้คอื การกอ่ ต้งั บรษิ ัท
กอ่ นหนา้ นเ้ี ราในฐานะทมี นกั วิจยั จากมหาวิทยาลยั พะเยา ได้ พัฒนาเมอื ง แสวงหาการรว่ มทนุ หรอื การทช่ี มุ ชนมาเป็ นหนุ้
ขับเคล่ือนโครงการเมืองแห่งการเรียนรู้ต่อเนื่องมาสองปี ส่วนในโครงการพัฒนาเมือง ซ่ึงก็ต้องสร้างความรู้ความ
ปี น้ีเป็ นปี ที่สามแล้วครับ (ท้ังสี่เมืองประกอบด้วยเชียงใหม่ เข้าใจกบั เครอื ขา่ ย เพื่อรว่ มกนั ขบั เคลอ่ื นต่อไป
สโุ ขทยั และหาดใหญ่ โดยเมอ่ื วนั ที่ 2 กนั ยายน 2565 จงั หวดั
พะเยา ไดร้ ับการรับรองเป็ นสมาชิกเครือขา่ ยเมืองแหง่ การ ผมมองว่าในหลายปี หลังมาน้ี คนพะเยาและเครือข่ายชุมชน
เรียนรู้ของยเู นสโกอยา่ งเป็ นทางการ) ต่างๆ มีความต่ืนตัวในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ที่เข้ามาส่งเสริม
อาชพี หรอื พัฒนาธุรกจิ ไดพ้ อสมควรเลยนะครบั ตดิ อยกู่ ต็ รง
ในปี แรกของโครงการพะเยาเมืองแห่งการเรียนรู้ เราเน้นท่ี ทก่ี ารบรหิ ารจดั การของหนว่ ยงานราชการทยี่ งั ลา่ ชา้ กวา่ โลก
การประชาสัมพันธ์ใหผ้ ู้คนในเขตเทศบาลเมอื งเข้าใจกอ่ นว่า ปั จจุบันพอสมควร เช่น พวกงานทะเบียนเอกสาร ซึ่งเป็ น
เราจะเป็ นเมืองแห่งการเรียนรู้ไปท�ำไม เป็ นแล้วมันจะดีต่อ อุปสรรคต่อผู้ประกอบการ
เมอื ง หรอื ช่วยปากท้องชาวบ้านไดอ้ ยา่ งไร

พอเข้าปี ที่สอง นอกจากเราจะได้ขยายพื้นท่ีโครงการจาก คุณดูอย่างธนาคารทุกวันน้ีสิ เขามีแอปพลิเคชั่นรองรับ
ความรว่ มมอื ขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เรายงั มงุ่ สรา้ ง ธุรกรรมทางการเงินรวดเร็วมากๆ แต่พอมาเป็ นราชการ
เครือข่ายพื้นท่ีการเรียนรู้ในเมืองเป็ นหลัก โดยใช้กลไกจาก ตดิ ต่อเรอื่ งทะเบยี นอะไรที กอ็ าจเสียเวลารอ หรอื คนป่ วยไป
โมเดลเศรษฐกิจใหม่ หรอื BCG ใชบ้ รกิ ารโรงพยาบาลรฐั ทกุ วนั นคี้ ณุ ยงั ตอ้ งไปจองควิ ตงั้ แต่
ตีสี่ตีหา้ อยเู่ ลย
BCG เป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจแบบองค์รวม ประกอบด้วย
เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เน้นการใช้ทรัพยากร ผมมองวา่ ถา้ ระบบราชการเปลยี่ นได้ ไมเ่ พียงทำ� ใหก้ ารพัฒนา
ชีวภาพเพื่ อเพิ่ มมูลค่าผลิตภัณฑ์ เศรษฐกิจหมุนเวียน เมอื งมนั เคลอ่ื นไดเ้ รว็ คณุ ภาพชวี ิตคนในเมอื งกจ็ ะดี และชว่ ย
(Circular Economy) ท่ีค�ำนึงถึงการหมุนเวียนทรัพยากร ลดความเหล่ือมล้�ำในสังคมได้มากด้วย
และเศรษฐกจิ สีเขยี ว (Green Economy) มงุ่ เน้นการพัฒนา
เศรษฐกิจไปพรอ้ มกบั สังคมและสิ่งแวดล้อม เมอื งแหง่ การเรยี นรูจ้ งึ ไมใ่ ชแ่ คก่ ารสนบั สนนุ ใหค้ นในเมอื งได้
เรยี นรู้ แตภ่ าครฐั จำ� เป็ นต้องเรยี นรูด้ ว้ ยเหมอื นกนั เรยี นรูใ้ น
แม้ดูเป็ นค�ำท่ใี หม่ แตเ่ อาเข้าจรงิ ผปู้ ระกอบการในพะเยามรี ูป การใชเ้ ทคโนโลยใี หมๆ่ เรยี นรูท้ จี่ ะลดขน้ั ตอนการทำ� งานไมใ่ ห้
แบบการทำ� ธุรกจิ และวถิ ชี วี ติ เชอื่ มโยงกบั BCG อยแู่ ลว้ ไมว่ ่า เชือ่ งช้าอุ้ยอ้าย เรยี นรูท้ ีจ่ ะปรบั ตัวไปตามโลกทีเ่ ปลีย่ นไป
จะเป็ นเครอ่ื งแต่งกายหรอื อาหารการกินส่วนใหญ่กม็ าจาก
ทรพั ยากรธรรมชาติในพ้ืนที่ทง้ั น้นั เพราะอย่าลืมว่ารฐั คอื กลไกส�ำคญั ทจี่ ะท�ำใหเ้ มืองพัฒนา จะ
ไม่มีประโยชน์อะไรเลยถ้าคนในเมืองแอคทีฟ ผู้ประกอบการ
ส่วนในปี ที่สาม เรายังเน้นไปที่การสร้างความย่ังยืนทาง แอคทีฟ และผู้บริหารเมืองก็แอคทีฟ แต่ระบบการจัดการ
เศรษฐกจิ ใหก้ บั ผปู้ ระกอบการ เทา่ ๆ กบั ทห่ี ารูปแบบการดำ� เนนิ เมืองไม่แอคทฟี ตาม”
โครงการของเราให้ย่ังยืนโดยอาจไม่ต้องพ่ึงพา ทุน บพท.
ในอนาคต เพราะเราไมอ่ ยากใหโ้ ครงการเมืองแหง่ การเรยี น

43

People

นนั ท์นภสั ส�ำเภาเงนิ
รัตนาภรณ์ รัตนากรไพบลู ย์
มารศรี เงนิ เย็น
อภชิ ญา ใจด้วง

ผู้ช่วยนักวิจยั โครงการพะเยาเมอื งแหง่ การเรียนรู้

ความโชคดีของพวกเราก็คือนอกจากมโี อกาสได้ท�ำงานกับชุมชน
ความท่ีเราท�ำโครงการที่ชวนนวัตกรต่างๆ มาใหค้ วามรู้แกผ่ คู้ น

กท็ ำ� ใหเ้ ราไดค้ วามรู้และทักษะจากนวัตกรไปด้วย
กต็ ง้ั แตง่ านหตั ถกรรม สบู่ น้�ำพริก ขนม ไปจนถึงท�ำบ้านดินเลยค่ะ

44

People

ถา้ ไมห่ ยุดเรียนรู้
ชวี ิตกจ็ ะไมม่ ีทางพบกบั ทางตนั

“ปี แรกบจี ะลงพื้นทก่ี บั อาจารยเ์ อ (รศ.ดร. ผณนิ ทรา จงึ ได้ทักษะการเป็ นพิธีกร การท�ำส่ือ ไปจนถึงการตัด
ตอ่ วิดโี อดว้ ย เหนอ่ื ยเหมอื นกนั แตก่ ส็ นกุ ทไี่ ดเ้ รยี นรูส้ งิ่
ธีรานนท)์ เป็ นหลกั กอ่ น ไปส่ือสารกับชมุ ชนและหน่วย ใหม่ๆ ผา่ นการทำ� งาน
งานต่างๆ ในเขตเทศบาลเมืองพะเยาว่าเราก�ำลังท�ำ
โครงการเมืองแห่งการเรียนรู้ และเราทุกคนจะได้ ทส่ี ำ� คญั คอื การไดเ้ ปิ ดโลก เพราะจากทเ่ี ราทำ� แตง่ านใน
ประโยชน์อะไรจากโครงการน้ี ส่วนน้องๆ คนอื่นๆ จะ ออฟฟิ ศ พอลงพ้ืนทพ่ี ูดคยุ กบั ชมุ ชนทหี่ ลากหลาย รวม
เป็ นผชู้ ว่ ยนกั วิจยั แยกกนั ไป จะทำ� พวกสบื คน้ งานวิจยั ถงึ หนว่ ยงานตา่ งๆ จงึ ไดร้ ูว้ า่ แตล่ ะคนมมี มุ มองอยา่ งไร
งานสถติ ิ ประสานงาน หรือท�ำเอกสาร หรือคิดจากฐานความคิดแบบไหน ท�ำใหเ้ ราได้มุมมอง
ใหม่ๆ และทักษะการทำ� ความเข้าใจผคู้ นเพิ่มเขา้ มา
เราไม่รูจ้ กั กนั มาก่อน มาเจอกนั ท่ีน่ี ทกุ คนมีพื้นเพตา่ ง
กัน บีเรียนรัฐศาสตร์ ต้องตาเรียนบริหารธุรกิจ ส่วน รูส้ ึกดีใจคะ่ ท่โี ครงการลุล่วงมาด้วยดี โดยเฉพาะอยา่ ง
แตงกวาและเนสเรียนวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เอา ย่ิงท่ีได้เห็นพ่ี ๆ ลุงๆ และป้ าๆ ในชุมชนที่ร่วมกับ
จรงิ ๆ แมท้ กุ คนจะมคี วามรูแ้ ละทกั ษะเรอื่ งการสนบั สนนุ โครงการและสามารถตอ่ ยอดไปสอู่ าชพี ใหมๆ่ หรอื ทำ� ให้
งานวิจยั แตน่ อกจากบี กไ็ มม่ ใี ครไดล้ งพ้ืนทที่ ำ� งานวิจยั ธุรกจิ ทีพ่ วกเขาท�ำอย่แู ล้วมีรายได้เพ่ิมมากขึ้นจรงิ ๆ
เชงิ สังคมมากอ่ น โดยเฉพาะอย่างย่ิงพี่ๆ จากกลุ่มคนหูหนวกพะเยา ท่ี
พวกเขาเหมอื นเรม่ิ ตน้ จากศนู ย์ พอโควิดมากห็ ารายได้
ซงึ่ แนน่ อน ในชว่ งแรกๆ กระทงั่ พวกเราเองทเ่ี ป็ นผชู้ ว่ ย ไม่ได้ สื่อสารกับใครก็ล�ำบาก แต่พอได้มาเรียนรู้กับ
นักวิจยั กย็ งั ไมค่ อ่ ยเข้าใจดีนกั ว่าโครงการเมอื งแหง่ โครงการเรอ่ื งการทำ� น้ำ� พรกิ ก็สามารถต่อยอดไปเป็ น
การเรยี นรูค้ อื อะไร การทำ� งานของพวกเราจงึ เป็ นการ อาชพี ใหมไ่ ดจ้ รงิ และมคี วามกระตอื รอื รน้ ในการพัฒนา
ท�ำความเข้าใจและเรียนรู้ร่วมกัน ก่อนออกไปประสาน สูตรไปขายกบั เครอื ขา่ ยคนหหู นวกในจงั หวัดอื่นๆ ตาม
งาน และส่ือสารกบั คนอื่นๆ เพื่อใหท้ ุกคนเหน็ ภาพตรง งานต่างๆ
กนั ว่าการทเ่ี ราได้มาเรยี นรูร้ ว่ มกันนี่แหละท่จี ะชว่ ยยก
ระดบั ทกั ษะและองค์ความรูเ้ ฉพาะของผ้คู นและชมุ ชน เหน็ แบบน้ีกร็ ูส้ ึกว่าส่ิงท่ีเราช่วยนักวิจยั ท�ำโครงการมี
ของเราเองได้ ซงึ่ จะนำ� ไปสกู่ ารสรา้ งอาชพี หรอื พัฒนา ค ว า ม ส� ำ เ ร็ จ ที่ เ ป็ น รู ป ธ ร ร ม อ ย่ า ง น่ า ช่ื น ใจ แ ล ะ
ธุรกจิ ในภาพรวมของเมืองพะเยา ประสบการณ์จากโครงการกย็ ังสอนพวกเราด้วยว่า

ความโชคดขี องพวกเรากค็ อื นอกจากมโี อกาสไดท้ ำ� งาน ถา้ ไม่หยดุ เรยี นรู้ ชีวิตกจ็ ะไมม่ ีทางพบกบั ทางตนั เช่นที่
กับชุมชน ความที่เราท�ำโครงการที่ชวนนวัตกรต่างๆ เราพบโอกาสและความเป็ นไปได้ใหม่ๆ จากส่ิงท่ีเราได้
มาให้ความรู้แก่ผู้คน ก็ท�ำให้เราได้ความรู้และทักษะ เรยี นรูใ้ นโครงการนี้”
จากนวัตกรไปดว้ ย กต็ ง้ั แต่งานหตั ถกรรม สบู่ น้ำ� พรกิ
ขนม ไปจนถึงท�ำบ้านดินเลยค่ะ (หัวเราะ) และในขณะ
เดียวกัน เพราะเราต้องประสานงานในโครงการวิจัย

45

กหุ ลาบ อินอิ่น People

ชา่ งกระจกและอลมู เิ นยี ม “ถ้าไม่ติดงานอะไร ผมมักจะป่ั นจักรยานมาน่ังด่ืมกาแฟริมกว๊านอย่างนี้ทุกเช้า

ตอนแรกก็ท�ำกาแฟดริปขายคนท่ีมาเดินเล่นเหมือนกันครับ แต่พอมีข้อห้ามไม่ให้มี
รถเข็นมาขายเกิน 11 โมง ผมก็เลยไม่ขาย ใครอยากด่ืมกาแฟ ผมท�ำเสิร์ฟเลย ก็
กลายเป็ นวา่ พอมคี นมาดมื่ ของผมไป คราวตอ่ มาเขากเ็ อาเมลด็ กาแฟมาแบง่ ใหล้ อง
เป็ นการตอบแทน

อาชีพของผมคือช่างกระจกและอลูมิเนียมครับ ก่อนหน้าน้ีเคยท�ำงานอยู่กรุงเทพฯ
แตอ่ ยจู่ นถงึ จุดจุดหนง่ึ แลว้ คดิ ว่าเราอยกู่ รุงเทพฯ ตอ่ ไมไ่ หว เลยกลบั มาทำ� งานทบี่ า้ น
กรุงเทพฯ อะไรกเ็ ป็ นเงนิ เป็ นทองไปหมด แคอ่ ยากจะมานงั่ สวนสาธารณะหรอื รมิ แมน่ ้ำ�
แบบน้ี ก็ต้องเสียค่าเดินทาง และความทีเ่ ป็ นเมืองใหญ่กบ็ บี คน้ั ใหค้ นต้องแขง่ ขนั ไม่
ค่อยเอ้ือเฟ้ื อกนั

46

People

เพราะส่ิงท่ีผมอยากเหน็ จริงๆ

คือการได้เหน็ กว๊านพะเยา
ทสี่ ุขสงบในทุกเชา้ แบบนี้

ผมชอบพะเยาตรงทเี่ งนิ ทองไมใ่ ชเ่ รอื่ งหลกั ใหญ่ ไมไ่ ดบ้ อกว่าเงนิ ไมส่ ำ� คญั
นะครบั เป็ นเรอ่ื งส�ำคญั แตค่ นพะเยาหลายคนกไ็ มถ่ งึ กบั ดนิ้ รนหนกั ในการ
หาเงนิ ไปซื้อข้าว เพราะคุณแค่ออกเรอื ไปท่กี ว๊านคุณกห็ าปลาได้แล้ว เขา้
ป่ าหาหนอ่ ไม้ หาเหด็ หลายคนเป็ นเกษตรกรก็ปลกู ขา้ วกินเอง และพะเยา
ยงั มสี งั คมแบบชมุ ชนทใ่ี ครมอี ะไรกเ็ อามาแบง่ หรอื มาแลกกนั อยู่ เราจงึ อยู่
ไดใ้ นแบบชวี ิตทีไ่ มไ่ ด้เรง่ เรา้ อะไร และทำ� ใหค้ นทน่ี ไ่ี มค่ ่อยเครยี ด

ผมไม่ได้เรยี นสูงอะไร เลยอาจตอบไดไ้ มด่ นี กั ว่าอยากเหน็ การพัฒนาอะไร
ในเมืองนี้ ก็คงอยากเหน็ ผ้คู นผ่อนคลาย มีความสุข เหน็ เมืองที่เติบโตไป
พรอ้ มกับความยัง่ ยืนของสิ่งแวดลอ้ ม เพราะสิ่งที่ผมอยากเหน็ จรงิ ๆ คอื
การได้เหน็ กว๊านพะเยาท่ีสุขสงบในทุกเชา้ แบบน”้ี

47

People

“หลังเรียนจบผมไปเป็ นทหารมา 25 นิวัฒน์ จำ� รัส

ปี แต่ความท่ีเราโตมากับธุรกิจปลาส้ม ทายาทธุรกจิ ปลาส้มไร้กา้ ง
ของแม่ และที่บ้านก็มีผมกับน้องสาวกัน แมท่ องปอน
สองคน ก็เลยตัดสินใจลาออกมาสานตอ่
กจิ การ โดยผมกบั นอ้ งจะอยโู่ รงงานชว่ ย
แม่ทำ� ปลาส้ม ดแู ลเรื่องวัตถุดบิ และการ
จัดส่ง ส่วนแฟนผมไปเปิ ดร้านขายที่
ตลาดสดแม่ทองคำ� ท่ีตำ� บลแม่ต๋ำ�

แมท่ องปอนมาจากชอ่ื แมผ่ ม แตไ่ หนแตไ่ ร
คนพะเยากท็ ำ� ปลาสม้ กนิ หรอื ขายกนั เลก็ ๆ
อยู่แล้ว จนช่วงหนึ่งท่ีรัฐบาลส่งเสริม
สินค้า OTOP เราจึงต่อยอดเป็ นธุรกิจ
จริงจัง เราเป็ นเจ้าแรกในพะเยาที่น�ำ
เครื่องจักรเข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต
รวมถึงการท�ำฉลากและแบรนดิ้ง อย่าง
ค�ำว่าปลาส้มไร้ก้าง เราก็เป็ นเจ้าแรกท่ี
หยิบมาใส่ในช่ือ เป็ น ‘ปลาส้มไร้ก้างแม่
ทองปอน’ จริงๆ เจา้ อื่นเขาก็ไร้ก้างครับ
แต่เราหยิบมาใส่ก่อน เป็ นแบรนดิ้งใหค้ น
จดจำ�

สมัยแม่ยังสาวๆ ก็ใช้ปลาจากในกว๊าน
พะเยาน่ีแหละครับ แต่พอคนหันมาท�ำ
ปลาส้มขายกันเยอะ ปลาในกว๊านเลยไม่
พอ ทุกวันน้ีผู้ประกอบการแทบทุกราย
ตอ้ งซอ้ื ปลาจากสะพานปลาจากกรุงเทพฯ
เพ่ือมาท�ำปลาส้ม เขาก็ส่งมาเป็ นรอบๆ
เรากเ็ อาไปเขา้ หอ้ งเยน็ แล้วแปรรูป

48

People กรมประมงเคยพยายามสง่ เสรมิ ใหใ้ ชป้ ลา
ทุกวันนผ้ี ้ปู ระกอบการแทบทกุ ราย พ้ืนถ่ินอยู่เหมือนกันครับ โดยเพาะพันธุ์
ต้องซอื้ ปลาจากสะพานปลาจากกรุงเทพฯ ปลาจนี ให้เป็ นวัตถุดิบหลัก แต่ปลามันโต
แตห่ วั เอามาทำ� ปลาสม้ ไมไ่ ด้ หรอื ผมกเ็ คย
ทดลองใช้ปลาทหี่ างา่ ยอย่างดอรล์ ม่ี าทำ�
ดว้ ย แตป่ ลาดอรล์ ม่ี นั ไมม่ เี กลด็ พอมาทำ�
แล้วเป็ นเมือก เนอ้ื ไม่จบั กนั ก็เลยกลบั ไป
ใชป้ ลาจากสะพานปลาดีกว่า

แต่สิ่งทีย่ ังบ่งบอกว่าปลาส้มเป็ นของ
พะเยาอยคู่ อื ไสป้ ลาครบั เพราะไสป้ ลาทม่ี า
จากท่ีอื่นมันคาว เอามาปรุงไม่อรอ่ ย เรา
กเ็ ลยซอื้ ไสป้ ลาจากชาวบา้ นทที่ ำ� ประมงใน
กว๊านนี้แหละครบั ส่วนกระเทียมก็ใช้ของ
เกษตรกรในพะเยา

ทกุ วันน้นี อกจากขายที่โรงงานตรงนี้ ก็มหี นา้ รา้ นท่ตี ลาดสดแม่ทองค�ำ แล้วก็
ไปวางตามรา้ นตา่ งๆ ในพะเยา ส่วนจงั หวัดอื่นๆ ก็มคี นมาส่ังไปขายเหมอื นกัน
อย่างที่เชียงใหม่ เชียงราย และล�ำปางก็เยอะ นอกจากนี้ก็มีเพจเฟซบุ๊ค
https://www.facebook.com/PraSomThongPon/ รับส่ังซื้อแบบออนไลน์
ส่งทั่วประเทศ

ส่วนตัวผมชอบสะสมอาวุธโบราณ ยนั ต์ และของเก่า และกช็ อบดืม่ กาแฟด้วย
ครบั เลยเปิ ดรา้ นกาแฟเลก็ ๆ ไว้ท่โี รงงาน เอาของสะสมมาจดั แสดง ใชเ้ ป็ นท่ี
รบั แขก หรอื ผมใชน้ งั่ พักผ่อนเวลาท่งี านทำ� ปลาส้มไม่เยอะ แตร่ า้ นกาแฟผมไม่
ได้เปิ ดเป็ นทางการนะครบั

คอื ปกตไิ มข่ าย จะขายเฉพาะตอนไมป่ กติ อยา่ งถา้ มคี ณะมาศกึ ษาดงู านทโี่ รงงาน
ผมก็เปิ ดขาย (ยม้ิ )”

49

People

พันธกานต์ กันต์โฉม

เจา้ ของแบรนด์ Lakeland Life
และเจา้ ของร้าน Lakeland Café

“ผมเคยเป็ นผู้จดั การร้านเหลา้ ที่เชียงใหม่ซึง่ เป็ นงานทท่ี ำ�

ระหว่างเรียนปริญญาตรีจนกระทัง่ เรียนจบ จากน้นั กไ็ ปลอง
ใช้ชวี ิตและทำ� งานหลายอย่างท่ีแอลเอ ราว 2 ปี กอ่ นกลบั มา
หางานท�ำที่เชียงใหม่อีกสักพัก แล้วกลับมาอยู่บ้านท่ีพะเยา
กไ็ ดร้ ูจ้ กั อาจารยโ์ ป้ ง (ปวนิ ท์ ระมงิ คว์ งศ)์ ซงึ่ เป็ นอาจารยส์ อน
ศิลปะอย่ทู ม่ี หาวิทยาลยั พะเยา

อาจารยโ์ ป้ งเป็ นอีกคนทที่ ดลองใชช้ วี ิตมาหลายทก่ี อ่ นจะมาปั ก
หลักท่ีพะเยา ผมกับอาจารย์โป้ งเห็นตรงกันว่าพะเยายังขาด
พ้ืนที่สร้างสรรค์ของคนรุ่นใหม่ เราจึงร่วมหุ้นกันเปิ ด Junk
Yard เป็ นทงั้ บารแ์ ละอารท์ สเปซ มกี จิ กรรมฉายหนงั แสดงงาน
ศิลปะ และดีเจ น่นั คอื เม่ือเกือบ 10 ปี ท่ีแลว้ ครบั ช่วงนน้ั สนุก
มาก มคี นรุน่ ใหมเ่ ข้ามาใช้พ้ืนท่อี ยา่ งหลากหลาย

หลังท�ำ Junk Yard ผมก็ออกมาเปิ ดร้านขายเส้ือผ้ามือสอง
และเร่ิมแบรนด์ผลิตเสื้อผ้าของตัวเองช่ือ Lakeland Life
เพราะอยากมเี ส้ือผ้าแบบ custom ทตี่ อบโจทย์กับการใชง้ าน
ของเรา และอีกอย่างคือพะเยายังไม่มีร้านแบบน้ี ท่ีตั้งชื่อว่า
เลคแลนด์ก็ตามตัวเลยครับ ร้านเราอยู่ริมกว๊านพะเยา และ
เมืองเราก็เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกับกว๊าน คิดไกลๆ ว่าอยากให้
แบรนดน์ ้ีมันเป็ นแบรนด์ของคนรุน่ ใหมใ่ นเมอื ง

ซ่ึงความเป็ นแบรนด์แบบนี้มันก็ต่อยอดได้หลายอย่าง เพราะ
หลังจากธุรกิจเส้ือผ้าอยู่ตัว ผมก็ท�ำ Lakeland Store ขาย
สนิ คา้ มอื สอง Lakeland Café เป็ นรา้ นกาแฟและขนมทท่ี ำ� รว่ ม
กับแฟน ตามมาด้วย Lakeland Camp ท่ีเป็ นกิจกรรมท่อง
เทยี่ วเชิงนิเวศในพื้นท่ี ซึง่ อันหลังน้ีเพ่ิงเปิ ดไดไ้ มน่ าน

ท่ีท�ำกิจกรรมท่องเที่ยวน่ีจะว่าบังเอิญก็ใช่ คือมีเพื่อนรุ่นน้อง
คนหน่ึงเขาท�ำทัวร์กับเพื่ อนท่ีกรุงเทพฯ แล้วเขาเอาเรือ
คายัคมาฝากผมไว้ ผมกเ็ ลยยมื เขาเอาไปพายเลน่ ในกวา๊ น ตอน
นน้ั กไ็ มไ่ ดค้ ดิ มากอ่ นว่าทผี่ า่ นมาในกว๊านเรามแี ตค่ นพายเรอื ไป
ไหวพ้ ระกบั หาปลา แตจ่ รงิ ๆ เราพายคายคั ชมววิ ชลิ ๆ กไ็ ด้ จากนนั้
กม็ ีคนมาถามว่าขอเชา่ เรอื หรอื ใหเ้ ราพาเขานั่งเรอื เล่นได้ไหม
ผมกบ็ อกว่าไดส้ ิ ส่วนเรอ่ื งเงนิ แล้วแตจ่ ะให้

50


Click to View FlipBook Version