People
ถา้ เมืองเราดี หรือมพี ื้นทีท่ ท่ี �ำใหค้ นรุ่นใหมร่ ู้สึกมี
ความหวัง พวกเขาจะกลบั มาเอง เพ่ือหาวิธีจะใช้
ชีวิตอยู่ และร่วมขบั เคลือ่ นใหบ้ ้านเกดิ ของเขา
เป็ นที่ส�ำหรับพวกเขาต่อไป
ต้งั แตน่ ้ันกเ็ ลยเหมอื นเป็ นชมรมพายเรอื ในกว๊านยามเยน็ เลย
ครับ (หัวเราะ) จากเรือคายัค ก็เป็ นแพดเดิ้ลบอร์ด รวมถึง
กจิ กรรมกลางแจง้ อน่ื ๆ อยา่ งเดนิ ขนึ้ ดอยหนอกและดอยหลวง
หรอื trekking ในเส้นทางอ่ืนๆ รอบกว๊าน ส่วนทีมงานก็ใช้คน
รุ่นใหม่ที่รู้จกั กันมา กลายเป็ นว่าจากตัวเมืองที่คนรุ่นใหม่ไม่รู้
จะไปทำ� กจิ กรรมทไี่ หน ทกุ เยน็ เขากม็ ารว่ มกบั เรา ไดร้ ายไดจ้ าก
การท�ำทวั รอ์ ีกต่างหาก
ทุกวันนี้ชีวิตผมค่อนข้างลงตัวนะครับ ไม่ได้ร่�ำรวยอะไร แต่รู้
ว่าเราชอบอะไร และไดท้ �ำส่ิงทีช่ อบท่บี ้านเกดิ ของตวั เอง ขณะ
เดียวกันก็ไดท้ ำ� พื้นท่ที ่ีอย่างนอ้ ยก็อาจช่วยจุดประกายคนรุน่
ใหม่ หรอื ท�ำใหเ้ มืองมีพ้ืนที่ใหค้ นรุ่นใหม่บ้าง เพราะสุดท้ายถ้า
เมืองเราดี หรอื มพี ้ืนทท่ี ่ที ำ� ใหค้ นรุน่ ใหมร่ ูส้ ึกมคี วามหวัง พวก
เขาจะกลบั มาเอง เพื่อหาวิธีจะใชช้ วี ิตอยู่ และรว่ มขบั เคลอ่ื นให้
บา้ นเกดิ ของเขาเป็ นที่ส�ำหรบั พวกเขาต่อไป”
https://www.facebook.com/Lakeland-Cafe
51
People
ครูจุย้ -ชลดา และครูโชะ-ศักดชิ์ ัย เวยื่อ
ครูโรงเรียนเทศบาลและเจา้ ของบา้ นดินคำ� ป้ ูจู้
หลายคนมักเข้าใจว่า
การที่เราเรียนศิลปะ
ปลายทางคือการเป็ นศิลปิ น
แตจ่ ริงๆ แลว้ ไม่ใช่เลย
ศิลปะคือการท�ำความเข้าใจชีวิต
มนั เปิ ดโอกาสใหเ้ รา
ได้ส�ำรวจความชอบของตัวเอง
“เราทั้งคไู่ ม่ได้มีพื้นเพอยูท่ นี่ ่ีแต่แรก จุย้ เป็ นคนน่าน ท�ำไมต้องเป็ นบ้านดินน่ะหรือ ข้อแรกคือความประหยัด
ข้อต่อมาคือมันสอดรับกับทุ่งนาและสวนบริเวณน้ี และ
ส่วนโชะเป็ นคนเชยี งราย เราเจอกันตอนบรรจุราชการ ในฐานะทเี่ ราทงั้ คสู่ นใจการเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการศลิ ปะ
ครูทห่ี าดใหญ่ พอตดั สนิ ใจอยดู่ ว้ ยกนั กม็ าคดิ ถงึ เมอื งที่ บา้ นดนิ จงึ ตอบโจทยท์ ีส่ ุด เราท�ำบา้ นเองทุกขั้นตอน ได้
อยู่ใกล้บ้าน แล้วก็มาลงเอยด้วยการย้ายมาท�ำงานท่ี ลองผดิ ลองถกู ไดใ้ ช้ชวี ิตและเรยี นรูไ้ ปกับมนั หลายคน
พะเยา มักมองว่าบ้านดินดูแลรักษายาก แต่ก็เพราะเราเรียนรู้
ไปกบั มนั ตลอดเวลานแ่ี หละ เราจงึ พบวิธีประยกุ ตใ์ หบ้ า้ น
พอตดั สนิ ใจแลว้ จะใชช้ วี ิตกนั ทเ่ี มอื งน้ี เราเลยลงมอื ปลกู ดินมีความย่ังยืน อยู่ง่าย และอยู่สบายด้วย เราต้ัง
บ้าน บ้านท่ีมีสวน มีพื้นที่ให้เราท�ำงานศิลปะและท�ำเวิร์ สโลแกนทแ่ี หง่ นไ้ี ว้ว่า live and learn mud house และ
กช็อปเล็กๆ (ครูจุย้ เป็ นครูศิลปะ ส่วนครูโชะสอนดนตรี ตง้ั ช่ือบา้ นว่า ‘บ้านดินค�ำป้ จู ู’้ โดยค�ำป้ จู ูแ้ ปลว่าดอกดาว
- ผู้เรียบเรียง) คุยกันหลายรอบว่าบ้านเราควรจะเป็ น เรอื งทเี่ ราปลกู ในบรเิ วณ
แบบไหน จนมโี อกาสไดอ้ า่ นบทสมั ภาษณข์ องพี่โจน จนั ได
เราชอบวิธีคดิ ในการสรา้ งสมดลุ ชวี ิตและปรชั ญาในการ
สรา้ งบา้ นดนิ ของเขา น่นั เป็ นส่วนส�ำคัญทีท่ ำ� ใหเ้ ราทัง้ คู่
ตดั สินใจท�ำบา้ นดิน
52
People
เพราะเราทั้งคเู่ ป็ นครูสายศิลปะดว้ ย เราจงึ ตระหนกั ว่าศิลปะมันไม่ควรเรยี นจบแค่ในหอ้ งเรยี น พอท�ำบา้ นหลัง
น้ีเสร็จก็เลยคิดจะเปิ ดเป็ นพื้นท่ีกิจกรรมเสริมใหแ้ ก่นักเรียน แต่ก็ไม่คิดว่าจะท�ำใหเ้ ป็ นทางการอย่างไร จนมาปี
2558 ส�ำนกั วัฒนธรรมเมอื งพะเยามาเหน็ ถงึ ศักยภาพในการพัฒนาทนี่ ใ่ี หก้ ลายเป็ นศูนยก์ ารเรยี นรูข้ องชมุ ชน
และของเมืองได้ ซึ่งก็สอดรับกับสิ่งที่เราสอนอยู่คือเคร่ืองป้ั นดินเผา โดยพะเยาก็มีแหล่งเตาเผาโบราณที่ชื่อ
เวียงบวั รวมถึงท่ีเราท�ำการเกษตรทฤษฎใี หมต่ ามพระราชดำ� รขิ องในหลวงรชั กาลท่ี 9 อยแู่ ลว้ เรากค็ ดิ ว่าถ้า
เปิ ดเป็ นพ้ืนทีเ่ รยี นรูก้ น็ ่าจะได้นะ
ตอนน้ันมีโครงการเปิ ดแหลง่ เรยี นรู้ 60 แหง่ ท่ัวประเทศ เพ่ือเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเดจ็ พระเทพรตั น
ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ้ืนทกี่ ารเรยี นรูแ้ หง่ อ่ืนๆ ทั้งหมดลว้ นเป็ นพิพิธภณั ฑ์ วัด หอ้ งสมดุ หรอื เป็ น
ศูนย์การเรยี นรู้ มีแค่ของเราทีเ่ ดยี วเลยท่เี ป็ นบา้ นคน บ้านทีเ่ ราอาศัยอยูจ่ รงิ ๆ
ที่น่ีสอนทุกอย่างเท่าท่ีเราได้เรียนรู้มาค่ะ หลักๆ คือการท�ำบ้านดินประยุกต์ ท�ำเตาดิน งานเซรามิก ไปจนถึง
การเกษตร ขณะเดยี วกนั เรากเ็ ปิ ดใหผ้ ทู้ ส่ี นใจใชพ้ ้ืนทเี่ ราทำ� เวิรค์ ชอ็ ปเรอ่ื งอ่ืนๆ อยา่ งดนตรี ศิลปะ ไปจนถงึ การ
ทำ� อาหาร เรามองสองแงม่ มุ อันดบั แรกคอื คณุ มาเรยี นเพ่ือเพิ่มทกั ษะทางวิชาชพี อยา่ งทเ่ี ราสอนทำ� บา้ นดนิ ก็
มีหลายคนมาเรยี นเพ่ือไปสรา้ งพื้นทข่ี องตวั เอง หรอื เรยี นเพ่ือเอาไปใชใ้ นเชงิ ธุรกิจ
สว่ นอันทสี่ องทสี่ ำ� คญั กว่าคอื การมาเรยี นเพ่ือไดร้ ูจ้ กั ตวั เอง
หลายคนมักเข้าใจว่าการท่ีเราเรียนศิลปะ ปลายทางคือการ
เป็ นศลิ ปิ น แตจ่ รงิ ๆ แลว้ ไมใ่ ชเ่ ลย ศลิ ปะคอื การทำ� ความเขา้ ใจ
ชีวิต มันเปิ ดโอกาสให้เราได้ส�ำรวจความชอบของตัวเอง
เขา้ ใจในธรรมชาตขิ องวัตถดุ บิ การถอดบทเรยี นจากสง่ิ ทเ่ี รา
ผดิ พลาด ไปจนถงึ เรอื่ งของสมาธิ และปรชั ญา
ยิ่งส่ิงที่เราสอนคืองานเครื่องป้ั นดินเผาด้วย เราใช้ดินเป็ น
เครอื่ งมือในการสื่อสาร ถ้าเอาดินเข้าเตาแลว้ มนั แตก ระเบิด
ไป คณุ รบั กบั ความไม่แน่นอนนีไ้ ดไ้ หม ขณะท่คี ณุ ป้ั นดนิ คณุ
คิดว่าน่ีดีที่สุดแล้ว แต่คุณอาจยังไล่อากาศออกจากดินไม่
หมด กม็ โี อกาสระเบดิ ในเตาไปโดนงานของคนอื่นดว้ ย เราจงึ
ต้องดแู ลของตัวเองใหด้ ีทส่ี ุด เพ่ืออยู่รว่ มกับคนอื่น
การศกึ ษาทถี่ กู ตอ้ งควรจะทำ� ใหช้ วี ติ เรางา่ ยขน้ึ แตค่ ณุ สงั เกต
ไหมว่ายิ่งเรียนในชั้นเรียนมาก เราจะยิ่งรู้สึกว่าท�ำไมยากจงั
ที่เป็ นอย่างน้ันก็เพราะเราอาจจะยังไม่รู้ว่าเราชอบอะไร การ
เรียนในห้องเรียนเป็ นส่ิงจำ� เป็ น เพราะท�ำให้เราได้ความรู้ไป
ประกอบอาชีพ แต่การเรียนนอกห้องเรียนก็เป็ นสิ่งส�ำคัญ
เพราะท�ำให้เราได้รู้จกั ตัวเอง และถ้าเรารู้จกั ตัวเองแต่เน่ินๆ
เราจะไม่มาเสียเวลาท�ำในสิ่งที่ไม่ชอบ และเราจะทุ่มไปทั้งตัว
เพื่อส่ิงที่เรารกั ซ่งึ ไม่ว่าปลายทางจะเป็ นอย่างไร แต่การคน้
พบเส้นทางนอ้ี ยา่ งนอ้ ยๆ มนั กท็ ำ� ใหเ้ ราภมู ใิ จ และพบว่าเรามี
ชีวิตและเรยี นรูไ้ ปเพื่ออะไร”
https://www.facebook.com/koompoojue
53
กว๊านพะเยา
People
การส่งเสริมเมอื งแหง่ การเรียนรู้
จงึ ไมเ่ พียงชว่ ยใหค้ นในเมอื ง
สามารถพัฒนาทกั ษะทางวิชาชพี
ของตวั เองได้ แตใ่ นอีกแง่ มันยัง
ทำ� ใหแ้ บรนดข์ องเมืองเราชดั เจนขน้ึ
และถ้าแบรนดข์ องเมืองเราชดั
เป้ าหมายเราจะชดั ตาม
“พ่ อผมเป็ นคนปั กษ์ใต้ แกข้ึนมาทำ� งานกรุงเทพฯ ก่อน แลว้ เจา้ นายส่ง เพราะเมืองทน่ี า่ อยู่ส�ำหรับทุกคน
คอื เมอื งท่ีผู้คนเข้าใจในจุดยนื ของตวั เอง
พ่อให้มาคุมการก่อสร้างตลาดพะเยาอาเขต และเป็ นผู้จดั การขายอาคาร สร้างโจทย์การพั ฒนาร่วมกนั
และพ้ื นท่ีในตลาด จนโครงการแล้วเสร็จ พ่ อก็เลยได้โบนัสเป็ นอาคาร และร่วมกนั ขับเคลอ่ื นไปสู่ทศิ ทางนัน้
พาณชิ ยห์ นง่ึ หลงั แกจงึ ตดั สนิ ใจปั กหลกั อยทู่ นี่ เี่ ลย ทำ� ธุรกจิ รา้ นอาหารชอ่ื
พะเยาภัตตาคาร เปิ ดในปี 2529 เป็ นร้านอาหารแรกๆ ในเมืองที่มีระบบ
แสงสที นั สมยั
สว่ นผม ตอนแรกไมม่ คี วามคดิ จะทำ� รา้ นอาหารเลยครบั ผมเป็ นวศิ วกรประจำ�
โรงงานที่จงั หวัดระยอง พอดีได้ภรรยาเป็ นคนพะเยาเหมือนกัน ภรรยาผม
เป็ นพยาบาลอยู่โรงพยาบาลในกรุงเทพฯ มีอยู่คร้ังหน่ึงท่ีแม่ของเธอป่ วย
ภรรยาเลยกลับมาคิดว่าด้วยอาชีพเธอ เธอดูแลคนอื่นมากมาย แต่กลับไม่
ไดด้ แู ลแมต่ วั เองเลย สุดทา้ ยเราจงึ ตัดสินใจยา้ ยกลบั มาทนี่ ่ี ก็พอดีกับท่พี ่อ
แมผ่ มเขาทำ� ธุรกจิ รา้ นอาหารอยกู่ อ่ นแลว้ จงึ รบั สตู รทำ� อาหารเขามา ผมซอื้
อาคารพาณิชย์ใหม่ใกล้ๆ กับศูนย์ท่ารถ ปรับปรุงรูปแบบธุรกิจที่พวกท่าน
ท�ำไว้ ต้งั ชอื่ รา้ นว่าเฮียอู๊ด ขา้ วตม้ โต้รุง่ ทีใ่ ช้ชอื่ นี้ เพราะเฮียอู๊ดคือช่ือพ่อผม
ความที่ผมโตมากับรา้ น ผมจงึ รู้ pain point ของธุรกิจนี้ดี รา้ นข้าวต้มส่วน
ใหญจ่ ะเป็ นทีน่ ยิ มเพราะรสชาตอิ รอ่ ย เสิรฟ์ เรว็ และราคาไม่แพง แต่ขอ้ เสีย
คอื รา้ นไมม่ ี service mind ไมม่ รี ะบบการจดั การทด่ี ี และพนกั งานกห็ มนุ เวยี น
กนั เขา้ -ออกบอ่ ยเกนิ ไป ทำ� ใหเ้ ราตอ้ งเสยี เวลาและตน้ ทนุ ในการฝึ กพนกั งาน
ใหม่
จะว่าผมน�ำวิธีการแบบวิศวกรมาท�ำแบรนด์ขา้ วต้มกไ็ ด้ คอื นอกจากเซท็ อัพ
สูตรอาหารให้เป็ นมาตรฐานที่พ่อครัวคนไหนมาท�ำก็จะท�ำอาหารกว่า 300
เมนูนี้ได้แบบเดียวกัน ผมก็ท�ำคู่มือการจัดการในร้าน ซ่ึงก็มีตั้งแต่วิธีการ
เสิรฟ์ การรกั ษาความสะอาด มาตรการการบรกิ ารและแกป้ ั ญหาใหล้ ูกคา้ ที่
ส�ำคญั คอื การสรา้ ง career path ใหพ้ นกั งาน ใหพ้ วกเขามีอนาคตกบั งาน
ที่ท�ำกับเรา มีโบนัสตอบแทนกับความตั้งใจ หรือมีทักษะต่อยอดไปท�ำอย่าง
อ่ืนได้ เป็ นต้น
56
People
ฉตั รชัย พรหมทอง หลงั จากรา้ นขา้ วตม้ อยตู่ วั ผมกม็ โี อกาสไดท้ ำ� งานเพ่ือ
สงั คมเมอื งดว้ ย โดยขณะนเ้ี ป็ นรองประธานชมรมรา้ น
เจา้ ของร้านเฮียอู๊ด ข้าวตม้ โตร้ ุ่ง และยนู ากริลล์ อาหารจังหวัดพะเยา และรองเลขาธิการหอการค้า
รองเลขาธิการหอการค้าจงั หวัดพะเยา จงั หวัด รวมถึงท�ำงานในกล่มุ นักธุรกิจรุ่นใหม่ YEC
ที่หนั มาท�ำงานดา้ นนี้ เพราะเหน็ ว่าในฐานะผ้ปู ระกอบ
การรุน่ ใหม่ กน็ า่ จะมสี ่วนในการน�ำความคดิ ใหม่ๆ ไป
สร้างกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมธุรกิจใหเ้ มืองได้ เพราะที่
ผา่ นมากจิ กรรมของเมอื งจะเกดิ จากมมุ มองของฝ่ าย
ขา้ ราชการเป็ นหลัก เรากส็ ่งเสรมิ สิ่งทด่ี ีอยแู่ ล้ว รวม
ถงึ ส่งเสรมิ คนรุน่ ใหม่ใหม้ ารว่ มสรา้ งสรรคง์ านใหก้ ับ
เมอื ง เชน่ งานว่ิงมาราธอน การส่งเสรมิ การแปรรูป
สินค้าเกษตร ไปจนถึงการรวมกลุ่มธุรกิจกาแฟ
เป็ นต้น
ผมคิดว่าถึงพะเยาเป็ นเมืองเล็กๆ แต่ความอุดม
สมบรู ณข์ องเรากท็ ำ� ใหเ้ รามพี ื้นทไ่ี ดเ้ รยี นรูอ้ กี มาก ทงั้
ทรัพยากรและวิถีชีวิตรอบกว๊าน หรือองค์ประกอบ
ของเมอื งทคี่ อ่ นขา้ งลงตวั การสง่ เสรมิ เมอื งแหง่ การ
เรยี นรู้ จงึ ไม่เพียงชว่ ยใหค้ นในเมอื งสามารถพัฒนา
ทักษะทางวิชาชีพของตัวเองได้ แต่ในอีกแง่ มันยัง
ท�ำให้แบรนด์ของเมืองเราชัดเจนขึ้น และถ้าแบรนด์
ของเมอื งเราชัด เป้ าหมายเราจะชัดตาม
กล่าวตามตรงในฐานะท่ีผมท�ำงานเมือง ผมพบว่า
แผนพัฒนาจังหวัด 5 ปี ของเรามันยังคลุมเครือใน
ทิศทางอยู่ว่าจะไปทางไหนกันแน่ แต่พอมีแบรนด์นี้
เขา้ มา ไมไ่ ดแ้ ปลว่าเมอื งของเราจะพบเป้ าหมายทนั ที
นะครับ แต่มันก็ช่วยสร้างกระบวนเรียนรู้ ท�ำให้เรา
ยอ้ นกลบั มาสำ� รวจตวั เราหรอื ทรพั ยากรรอบตวั เพื่อ
คน้ หาว่าจรงิ ๆ แลว้ พะเยาจะพัฒนาไปยงั ทศิ ทางไหน
เพราะเมอื งทน่ี า่ อยสู่ ำ� หรบั ทกุ คน คอื เมอื งทผ่ี คู้ นเขา้ ใจ
ในจุดยืนของตัวเอง สร้างโจทย์การพัฒนาร่วมกัน
และร่วมกันขับเคลื่อนไปสู่ทิศทางน้ัน หาใช่การท่ีคน
อื่นมาบอกว่าเมอื งตอ้ งพัฒนาไปทางไหน และเพ่ือจะ
ไปสจู่ ุดนี้ บรรยากาศของการเรยี นรูจ้ งึ เป็ นสง่ิ สำ� คญั ”
https://www.facebook.com/HiaOodKhawTomToRung/
57
People
Alex Wang และ Louise Cooper-Wang
ศิลปิ น/ อาจารย์สาขาศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยพะเยา
ศิลปิ น/ ครูสอนภาษา
60
People
ด้วยข้อจำ� กัดทางภาษา ก็เป็ นสิ่งทา้ ทายให้
เราไดเ้ รียนรู้ตลอดเวลา
ท้งั เรียนรู้วัฒนธรรมของผู้คน
เรียนรู้ภาษาไทย และเรียนรู้ภาษาเหนอื แบบคนพะเยา
“ผมมาประเทศไทยครั้งแรกจากการเขา้ ร่วมเป็ นศิลปิ นพ�ำนักในโครงการศิลปะ One Year Project ของมูลนิธิท่ีนา
(The Land Foundation) ทอ่ี �ำเภอสันป่ าตอง จงั หวัดเชยี งใหม่ ในปี 2007 การมาใชช้ ีวิตครั้งนั้นนอกจากไดร้ ู้จกั
เพื่อนศิลปิ นในเชียงใหมห่ ลายคน ยังพบเสนห่ จ์ ากวถิ ชี นบทในภาคเหนอื ของประเทศไทย และนนั่ ทำ� ใหเ้ มอ่ื กลบั ไปทำ� งาน
ทส่ี หรฐั อเมรกิ า ผมกย็ งั มคี วามคดิ ถงึ บรรยากาศแบบนอี้ ยู่
จากนั้นไม่นาน ก็มีโอกาสได้กลับมาอีกครัง้ ในฐานะศิลปิ น จรงิ ๆ ซานฟรานซสิ โก ทเ่ี ราเคยอยดู่ ว้ ยกนั กอ่ นหนา้ น้ี กม็ ี
พ�ำนักของโครงการค�ำเปิ งในอ�ำเภอดอยสะเก็ด ที่น่ันไม่ บรรยากาศคลา้ ยกับพะเยาเลยครบั เมืองรมิ อ่าว อากาศ
เพียงท�ำให้ผมพบหลุยส์ คู่ชีวิต แต่ยังได้พบกับอาจารย์ ดี ผอ่ นคลาย และผคู้ นเป็ นมติ ร เพียงแตต่ อนทเี่ ราอยทู่ นี่ น่ั
โป้ ง (ปวินท์ ระมิงคว์ งศ์) ซ่งึ สอนศิลปะอยทู่ ่มี หาวิทยาลยั เราจะอยไู่ ดแ้ คใ่ นอพารท์ เมนตเ์ ลก็ ๆ ทม่ี พี ื้นทจ่ี ำ� กดั แตพ่ อ
พะเยา เราพู ดคุยกันถูกคอ ถึงขนาดอาจารย์โป้ งชวนให้ มาอยพู่ ะเยา เรามที อ่ี ยูอ่ าศัยทกี่ ว้างขวางขน้ึ เยอะในราคา
ผมมาสอนหนงั สอื ทน่ี น่ั ผมไมเ่ คยรูอ้ ะไรเกย่ี วกบั พะเยา แต่ ทถ่ี กู กว่าหลายเทา่ ทส่ี ำ� คญั ผมชอบอาหารของทนี่ ี่ ปลาสม้
รูส้ ึกว่าเป็ นงานท่ีน่าสนใจดี กเ็ ลยตามเขามา แกงอ่อม ไปจนถงึ ลาบ (หวั เราะ)
ทกุ วันนผ้ี มสอนหนงั สอื ทพ่ี ะเยามาได้ 5 ปี แลว้ โดยเชา่ บา้ น แนน่ อน บางครง้ั กเ็ หงาครบั ทน่ี ช่ี าวตา่ งชาตนิ อ้ ยมาก และ
อยใู่ นตวั เมอื งกบั หลยุ ส์ ก่อนหน้าน้ีผมอยบู่ อสตัน แอลเอ คนส่วนใหญ่ก็ไม่พู ดภาษาอังกฤษ แต่ขณะเดียวกัน ถ้า
และซานฟรานซสิ โก สว่ นหลยุ สเ์ คยอยปู่ ารสี และซดิ นยี ์ แต่ เ ที ย บ กั บ ชี วิ ต ป ร ะ จ�ำ วั น ท่ี ล ง ตั ว ไ ป ส อ น ห นั ง สื อ ท่ี
เราทง้ั คพู่ บว่าไม่มีเมอื งไหนเหมือนพะเยา
มหาวิทยาลัย ออกก�ำลังกายและพักผ่อนริมกว๊าน หรือ
พวกเราชอบความสขุ สงบ เมอื งเลก็ ๆ ทไ่ี มว่ า่ จะเดนิ ไปทาง การไดอ้ ยทู่ า่ มกลางบรรยากาศสงบ แตเ่ ปี่ ยมแรงบนั ดาล
ไหนกเ็ หมอื นทกุ คนรูจ้ กั กนั หมด และในทกุ เยน็ ราวกบั ผคู้ น ใจใหไ้ ด้ท�ำงานสรา้ งสรรค์ การอย่ทู ี่น่ีก็มีข้อดีกว่าเยอะ ท่ี
จะมาเดนิ เล่น ตกปลา หรอื พักผ่อนอย่รู มิ กว๊านพะเยากัน ส�ำคัญด้วยข้อจ�ำกัดทางภาษา ก็เป็ นส่ิงท้าทายให้เราได้
ทั้งเมือง ซึ่งก็รวมถงึ เราสองคนด้วย (หวั เราะ) เพราะเม่ือ เรยี นรูต้ ลอดเวลา ท้งั เรยี นรูว้ ัฒนธรรมของผู้คน เรยี นรู้
มองออกไป เห็นทะเลสาบท่ีมีภูเขาเป็ นฉากหลัง ให้ความ ภาษาไทย และเรยี นรูภ้ าษาเหนอื แบบคนพะเยา” (ย้มิ )
รูส้ ึกผ่อนคลาย และใหพ้ ลังไปพรอ้ มกนั
61
People
62
People
แม่ทองปอน จำ� รัส
เจา้ ของกิจการปลาส้มไร้กา้ งแม่ทองปอน
ขไมอ่มงปี ท่ีพลาะสเย้มาทไ่ี หนอร่อยเทา่
“กว๊านพะเยากับการท�ำปลาส้มคือสองสิ่งท่ีแมค่ ้นุ เคยมาตง้ั แต่เกดิ
กวา๊ นนเี้ พ่ิงมาสมยั พ่อแมข่ องแม่ สว่ นปลาสม้ นท่ี ำ� ขายกนั มาตง้ั แตร่ ุน่ ป่ ยู า่
ตอนเด็กๆ แม่ยังเคยรับจา้ งขอดเกล็ดปลาจนี ควักไส้และข้ีออกมา และ
ทุบปลาท้ังตัวเพื่อเอาไปท�ำปลาส้ม ได้ค่าจา้ งวันละหนึ่งบาทหา้ สิบสตางค์
นเ่ี ป็ นทกั ษะทไ่ี ดม้ าตง้ั แตเ่ ลก็ พอโตมาแมก่ ไ็ มไ่ ดท้ ำ� อยา่ งอ่ืนเลย ทำ� ปลาสม้
ขายอยา่ งเดยี ว น่กี ็ 40 กว่าปี แล้ว
เรม่ิ จากช�ำแหละปลากอ่ น แยกก้าง หวั หาง และไข่ออก เอาเฉพาะเนอ้ื หน่ั
เป็ นชน้ิ ล้างน้ำ� เปลา่ 5 ครงั้ และแชน่ ้�ำซาวข้าวประมาณ 15 นาที เพ่ือดับ
กล่นิ คาว จากนั้นคลุกกระเทียมท่ตี ้มแลว้ เกลอื ขา้ วสวย และหมกั ไว้ครงึ่
ชว่ั โมงกอ่ นแพ็ค ถา้ ไมช่ อบรสเปรยี้ ว แนะนำ� ใหก้ นิ ตอนเสรจ็ ใหมๆ่ แตถ่ า้ ใคร
ชอบเปรย้ี ว กอ็ าจทง้ิ ค้างคนื ไว้สัก 1-3 คืน แล้วเอาไปทอดสมนุ ไพร ไปคว่ั
หรอื นงึ่ ไปเจยี วกบั ไขก่ อ็ รอ่ ย
เมื่อก่อนท�ำกันเยอะค่ะ มีเกือบ 40 เจา้ ได้ ก็ใช้ปลาหางแดง ปลาจนี ปลา
ตะเพียนทหี่ าได้จากในกว๊านนั่นแหละ แต่หลงั ๆ ปลาไม่พอทำ� ก็เลยต้องไป
ซ้ือเขามาจากที่อื่น
แต่เดมิ คนแถวน้ีกท็ ำ� แบบวิถชี าวบ้านนีแ่ หละ ไม่ไดอ้ ะไรมาก แต่พอแมร่ ูว้ ่า
ถา้ ราชการมาส่งเสรมิ ธุรกจิ จรงิ จงั เรากค็ วรตอ้ งมชี อื่ ใหเ้ ป็ นทจ่ี ดจำ� และท่ี
ส�ำคญั คือมีกรรมวิธีที่สะอาดปลอดภัย เรากเ็ ลยเป็ นเจา้ แรกๆ ท่ผี า่ น อ.ย.
และในปี 2553 เรายงั ไดร้ างวัล OTOP 5 ดาวของจงั หวัดดว้ ย และพอชว่ ง
หลงั ๆ ลกู ชายและลกู สาวมาชว่ ยกจิ การ เขากร็ ว่ มกบั กลมุ่ อาจารยม์ าแปรรูป
ปลาส้มเป็ นอาหารส�ำเร็จรูปเอาไปขายตามรา้ นสะดวกซื้อ มีรับจา้ งผลิตให้
คนอื่น และขายของของเราทางอินเตอรเ์ น็ต ถ้าไม่มีพวกเขา เราก็อาจจะ
ท�ำขายแบบเดิมอยู่ คงไม่ดีเทา่ น้ี
จรงิ อยู่ เราไมไ่ ดใ้ ชป้ ลาในกว๊านแลว้ แตว่ ัตถดุ บิ อื่นๆ กล็ ว้ นมาจากในพะเยา
คนท�ำงานก็คนพะเยา ภูมิปั ญญาก็ของคนพะเยา ไม่มีปลาส้มท่ีไหนอร่อย
เทา่ ของที่พะเยาหรอกคะ่ ”
63
People
ณรงค์ พัวศิริ และสุดา พัวศิริ “ก่อนหน้านี้ ผมเป็ นสัตวแพทย์อยู่กองงานสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อม
กลุ่มจานใบไม้ศิริสุข ของเทศบาลเมืองพะเยา และมีโอกาสท�ำโครงการพลังงานทดแทนจากก๊าซ
ชีวภาพ ได้เป็ นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ในส่ิงที่เราท�ำ และพบว่าการได้แบ่ง
ชวี ิตเราสั้น อีกหนอ่ ยเราก็ตาย ปั นความรู้ใหค้ นอ่ืนๆ ไดใ้ ช้ประโยชน์นเี่ ป็ นเรื่องทด่ี ีและน่าภมู ิใจนะ
พอเราตาย ความรู้กจ็ ะตายไป
กับเราดว้ ย ดังน้นั กอ่ นจากไป หลังเออรรี่ ไี ทร์ ผมกับแฟนตดั สินใจยา้ ยบ้านไปอยนู่ อกเมอื ง เรามีที่ดนิ อย่สู อง
เรากค็ วรแบง่ ปั นสิ่งทเ่ี รามใี ห้ ไร่ ตอนแรกคดิ ว่าคงจะใช้ชวี ิตเกษียณ ท�ำสวนครวั และพักผ่อนทีน่ ่ี แต่ความท่ี
คนอ่ืนไม่ดีกว่าหรือครับ ผมมีทักษะเป็ นวิทยากรและมีเครือข่ายที่เทศบาล คนท่ีน่ันเขาก็ชวนให้เราทั้งคู่
ทำ� บา้ นใหเ้ ป็ นศนู ยเ์ รยี นรูด้ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง เพราะวิถชี วี ิตเรากเ็ ป็ นไปตาม
ครรลองนอี้ ยแู่ ลว้ กเ็ ลยเปิ ดพ้ืนทใ่ี หค้ นจากเทศบาลชวนเจา้ หนา้ ทหี่ รอื ผูท้ สี่ นใจ
มาเรยี นรู้
ขณะเดียวกัน ความที่ชุมชนเกษตรพัฒนาที่เราอยู่เน่ีย ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็ น
คนเฒา่ คนแก่ ตอนกลางวนั ถา้ ลกู หลานไมอ่ อกไปทำ� การเกษตรกจ็ ะไปเรยี นหรอื
ทำ� งานในเมอื ง ผู้สูงวัยก็อยู่บ้านกันเฉยๆ ไมไ่ ดท้ �ำอะไร แฟนผมจงึ ชักชวนพวก
เขามาเรียนท�ำขนมกินกัน พวกเขาก็พอใจ จงึ นัดกันว่างนั้ เรามาเจอกันทุกวัน
อังคารเว้นวันอังคารไหม จะได้มีกิจกรรมท�ำด้วยกันประจำ� กลับกลายเป็ นว่า
หลังจากน้นั พวกพ่อๆ แม่ๆ ก็หอ่ ขา้ วกันมาท่บี ้านเราทุกวันเลย (หวั เราะ)
จากศนู ยก์ ารเรยี นรูเ้ ลก็ ๆ พอเราเรมิ่ คนุ้ เคยกบั ชมุ ชนแลว้ ผใู้ หญบ่ า้ นแกกเ็ สนอ
วา่ นา่ จะทำ� ธุรกจิ ของชมุ ชนสกั อยา่ ง กพ็ อดกี บั ทแี่ กซอ้ื เครอ่ื งทำ� ภาชนะจากใบไม้
มา และความทเ่ี รากม็ สี วนป่ าอยบู่ นเนนิ ทแ่ี ตล่ ะวันตอ้ งเกบ็ ใบตองตงึ ทตี่ กพื้นทกุ
วัน เราเลยเหน็ ดว้ ยกบั ไอเดยี ของผใู้ หญ่ เอาใบไมท้ เ่ี กบ็ ไดม้ าอัดเป็ นจานใบไม้ จะ
ได้มีกิจกรรมใหศ้ ูนยเ์ รยี นรูแ้ หง่ น้เี พิ่มอีกอยา่ ง
66
People
เครอื่ งทำ� จานใบไมเ้ ป็ นเครอื่ งบบี อัดใบไมด้ ว้ ยความรอ้ นครบั กอ่ นอ่ืนเรา เสร็จกลับมา เราเห็นว่ากระบวนการนี้ใช้เวลาท้ังวันกว่าจะเสร็จ ก็เลย
ต้องทำ� บล็อกส�ำหรบั ขึ้นรูปจานหรอื ภาชนะอะไรก็ตาม จากนน้ั ก็เอาใบไม้ ทดลองต่อยอดด้วยวิธีการทุบใบไม้ผสมกับน้�ำด่างลงบนผืนผ้า ใช้เวลา
ทมี่ ขี นาดพอๆ กบั บลอ็ กมาอยา่ งนอ้ ยสามใบ ใชแ้ ป้ งเปี ยกตดิ ใหใ้ บซอ้ นกนั ไมถ่ งึ ชวั่ โมง กไ็ ดเ้ สอ้ื ยดื ทมี่ ลี ายใบไมแ้ ลว้ แถมยงั สามารถตดั ใบไมเ้ ป็ นตวั
แลว้ เอาใสบ่ ลอ็ ก ความรอ้ นจะอัดใหใ้ บไมแ้ ขง็ ตามบลอ็ กเกดิ เป็ นจานหรอื อักษร หรือรูปทรงต่างๆ บนเส้ือได้อีก เราก็เลยเปิ ดสอนวิชานี้ต่อด้วย
ชามขน้ึ มา เพราะคิดว่าถ้าสอนท�ำจานใบไม้อย่างเดียว คนมาเรียนกลับไป เขาไม่มี
ทนุ ทรพั ยท์ จี่ ะซอื้ เครอ่ื งทำ� กไ็ มม่ ปี ระโยชนอ์ ะไร แตส่ กรนี ลายใบไมบ้ นเสอ้ื
เราลองผดิ ลองถกู อยูส่ ักพัก เพราะไมใ่ ชว่ ่าจะเอาใบไมจ้ ากไหนมาทำ� จาน นี่ไมต่ อ้ งใชท้ นุ อะไรเยอะ คนมาเรยี นกเ็ อาไปท�ำเป็ นอาชพี ได้อีกตอ่
ชามกไ็ ด้ อย่างใบไมท้ ่เี ป็ นรู พอทำ� จานออกมา จานกจ็ ะเป็ นรู หรอื ถ้าคณุ
เอาใบสักเน่ยี พื้นผวิ มนั จะมีขนตดิ ไปกบั อาหารทีเ่ ราใส่ ใบยอมีรสขม ถา้ ถามว่าเราขายของทีเ่ ราทำ� ด้วยไหม ขายครบั แตข่ ายถกู จานชามใบไม้
เอาไปทำ� ชามใส่น้ำ� แกง รสชาตนิ ้�ำแกงกจ็ ะเปล่ียนไป โชคดที สี่ วนป่ าของ เราขายอันละ 5 บาท มคี นมาซอื้ เขาไปขายตอ่ 10-15 บาท เสื้อสกรนี ลาย
เรามีใบตองตึงกับใบทองกวาวอยู่แล้ว ใบตองตึงน่ีชาวบ้านเขาใช้ห่อ เราขายแคต่ วั ละ 300 บาท คนมาซอื้ บอกว่าขายแบบนแี้ ลว้ เราจะไดก้ ำ� ไร
อาหาร ใบทองกวาวกถ็ กู ใชห้ อ่ ขนมเทยี น พอเอามาทำ� เป็ นจานชามจงึ ไมม่ ี อะไร ผมกบ็ อกว่าเราไมไ่ ดค้ ดิ ว่านคี่ อื ธุรกจิ สงิ่ ทเี่ ราขายคอื กจิ กรรมทเี่ ปิ ด
ปั ญหา แขง็ แรงทนทาน ทำ� ชามกย็ งั ใสน่ ้ำ� แกงแบบขลกุ ขลกิ ได้ ใสข่ นมจนี ให้ผู้ท่ีสนใจมาเรียนกับเรา เพื่อเอาความรู้ไปท�ำธุรกิจ จุดประสงค์หลัก
กนิ ก็ได้ ใชเ้ สรจ็ ลา้ งท�ำความสะอาดก็สามารถใช้ต่อได้อีก 2-3 ครงั้ ของเราคอื การไดแ้ บง่ ปั นความรู้ สว่ นสนิ คา้ ทเ่ี ราขาย เป็ นแคผ่ ลพลอยได้
ส่วนเศษใบไม้ท่ีหลงเหลือจากการเอาไปใส่บล็อก เราก็เอาไปอัดรวมท�ำ นอกจากจานใบไม้กับเสื้อ แฟนผมเขายงั มีทกั ษะเรอ่ื งเย็บปั กถักรอ้ ยและ
เป็ นกระถางสำ� หรบั เพาะพันธุ์ตน้ ไม้ ใชแ้ ทนถงุ ดำ� ไดอ้ ีก กระบวนการนเี้ ลย ตัดตงุ กเ็ ปิ ดสอนดว้ ย คนเฒา่ คนแกใ่ นชมุ ชนมาเรยี นฟรี แถมพอของที่
ไมเ่ หลอื ของตกคา้ ง ลดปรมิ าณการเผาใบไมท้ ี่ตกในสวนไปพรอ้ มกัน พวกเขาทำ� ขายได้ เขากไ็ ดร้ ายไดจ้ ากสง่ิ นนั้ ซงึ่ ทกุ วันนผ้ี มกด็ ใี จทมี่ หี นว่ ย
งานให้ความสนใจมาเรียนรู้กับเราอย่างต่อเนื่อง มีกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
พอองค์ความรู้เร่ืองท�ำจานใบไม้อยู่ตัว เราจงึ ต้ังชื่อศูนย์การเรียนรู้ว่า จากพ้ืนที่ตา่ งๆ กล่มุ แมเ่ ลย้ี งเดี่ยว กระท่งั คณาจารย์ท่ีอย่ไู กลถึงจงั หวัด
‘จานใบไม้ศิริสุข’ ในปี 2563 หลังจากน้ัน มหาวิทยาลัยพะเยาเขาท�ำ ยะลา เขาก็สนใจมาเรยี นกับเรา
โครงการเมืองแห่งการเรียนรู้ ก็เลยมาชวนเราร่วมเป็ นเครือข่ายพ้ืนท่ี
แหง่ การเรยี นรูพ้ อดี อย่างท่ีบอกครบั ว่าความสุขของเราสองคน คือการได้แบ่งปั นส่ิงที่เรารู้
ใหค้ นอื่นไปต่อยอด ผมว่าองคค์ วามรูค้ ือส่ิงทีท่ กุ คนควรเขา้ ถึงอยา่ งเทา่
ท่ีผมชอบโครงการนี้เป็ นพิเศษ คือเขาไม่ได้แค่ชวนให้ชาวบ้านมาเรียนรู้ เทยี มและไมค่ วรมอี ะไรมาขวางกน้ั ชวี ิตเราสน้ั อีกหนอ่ ยเรากต็ าย พอเรา
ในพ้ืนทขี่ องเราอยา่ งเดยี ว แตย่ งั ชวนใหเ้ ราไปเรยี นรูจ้ ากพื้นทอ่ี ่ืนๆ ดว้ ย ตาย ความรูก้ ็จะตายไปกบั เราดว้ ย ดงั น้นั ก่อนจากไป เรากค็ วรแบง่ ปั น
ซง่ึ กท็ ำ� ใหเ้ รามโี อกาสไปเรยี นรูก้ ารสกรนี ผา้ ดว้ ยกรรมวธิ นี งึ่ ใบไม้ ไปเรยี น สิ่งท่ีเรามีใหค้ นอ่ืนไมด่ กี ว่าหรอื ครบั ”
67
People
“พะเยาเรามที รพั ยากรธรรมชาตแิ ละภมู ปิ ั ญญาทางศลิ ป
วัฒนธรรมท่ีมีคุณค่ามากนะครับ ปั ญหาก็คือที่ผ่านมาเรายัง
ไมส่ ามารถพัฒนาตน้ ทุนทางคณุ ค่าใหเ้ ป็ นมูลค่าได้อยา่ งเตม็
ท่ี ซ่ึงก็อาจจะเพราะเจา้ ของต้นทุนไม่รู้จะแปลงมันให้เป็ นเงิน
อย่างไรดี ไม่รู้จักตลาด หรือเพราะขาดการเชื่อมประสาน
ระหว่างหนว่ ยงานท่ีใหก้ ารสนับสนนุ
เป้ าหมายหน่งึ ของมหาวิทยาลัยพะเยานับตง้ั แต่กอ่ ต้ังคอื การ
บริการชุมชน ร่วมงานกับชาวบ้าน เกษตรกร ชาวประมง
ผู้เลี้ยงปศุสัตว์ และผู้ประกอบการในพ้ืนท่ี เพ่ือใช้ความรู้ทาง
วิชาการและงานวิจยั ช่วยยกระดับเศรษฐกิจและคณุ ภาพชีวิต
ของผคู้ น ซง่ึ จะเหน็ ไดว้ ่า เรามโี ครงการและหนว่ ยงานทท่ี ำ� งาน
ด้านนี้อยู่ไม่น้อย ต้ังแต่ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ อุ ทยาน
วิทยาศาสตร์ ศูนย์วิจัยสัตว์ทดลอง ศูนย์เคร่ืองมือกลาง
เป็ นต้น
แต่ก็เชน่ เดียวกบั ท่ีเรามองเหน็ ถึงความไม่เช่ือมประสานท่ีเกิด เราตอ้ งรวมกลมุ่ ภาคเอกชนในเมอื งให้
ขนึ้ ในเมือง ในระดบั มหาวิทยาลัย เรากพ็ บว่าแตล่ ะหนว่ ยงานก็ เข้มแข็งใหไ้ ดก้ ่อน เพราะถา้ เอกชนต่อตดิ
มกี ารทำ� งานไปในทศิ ทางของตวั เองแบบตา่ งหนว่ ยตา่ งทำ� จน พวกเขาจะเหน็ ประโยชนแ์ ละมีส่วน
มาปี พ.ศ. 2561 ท่ีเราเห็นตรงกันแล้วว่าทุกหน่วยงานต้อง ในการขบั เคลอื่ นโครงการไดด้ ้วยตวั เอง
ประสานความรว่ มมอื จนเกดิ การจดั ตัง้ สถาบนั นวัตกรรมและ ทสี่ �ำคัญการเช่อื มร้อยกับราชการทอ้ งถ่ิน
ถ่ายทอดเทคโนโลยี ท�ำงานเชื่อมประสานและขับเคลื่อนไปใน และชุมชนกจ็ ะงา่ ย”
ทศิ ทางเดยี วกัน
ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็ นประเด็นอะไรก็ตามแต่ ท้ังอุตสาหกรรม
เทคโนโลยี ศิลปวัฒนธรรม และภูมปิ ั ญญาท้องถน่ิ สิ่งส�ำคัญ
ที่เช่ือมโยงหน่วยย่อยๆ ของการพัฒนาเมืองได้เข้มแข็งที่สุด
คือการท�ำให้เมืองมีบรรยากาศของการเรียนรู้ ซึ่งก็ตรงกับ
ทที่ าง บพท. พยายามขบั เคลอื่ นโครงการในเมอื งตา่ งๆ อยู่ และ
ก็ประจวบเหมาะกับท่ีเชียงราย เพื่อนบ้านของเรา เพ่ิงได้รับ
เลอื กเขา้ เป็ นเครอื ขา่ ยของยเู นสโก เราจงึ เหน็ ว่าเป็ นโอกาสดที ่ี
จะถอดบทเรียนจากเขา เพื่ อมาปรับใช้ในเมืองพะเยาให้มี
ศักยภาพมากท่สี ุด
บทบาทหลักของผมต่อโครงการเมืองแหง่ การเรียนรู้คือ การ ก็เลยคิดกนั ว่าในชว่ งปี แรกท่ีทำ� เราต้องรวมกลุ่มภาคเอกชนในเมอื งให้
สร้างกลไกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ รวมถึงหาก เขม้ แขง็ ใหไ้ ดก้ อ่ น คอื ถา้ เอกชนตอ่ ตดิ พวกเขาจะเหน็ ประโยชนแ์ ละมสี ว่ น
ระบวนการท่ีท�ำให้โครงการเดินต่ออย่างย่ังยืน โดยท่ีไม่ต้อง ในการขับเคล่ือนโครงการได้ด้วยตัวเอง ที่ส�ำคัญการเชื่อมร้อยกับ
พ่ึ งพางบวิจัยในอนาคต เพราะเรามีบทเรียนจากหลาย ราชการทอ้ งถิน่ และชุมชนก็จะงา่ ย
โครงการแล้วว่า แมห้ ลายโครงการจะมศี ักยภาพเพียงใด แต่
เม่ืองบประมาณจากแหล่งทุนหมดตามวาระ โครงการก็ไม่
สามารถเดินตอ่ ได้
68
People
ผศ. ดร.สันธิวัฒน์ พิทักษ์พล
ผ้อู �ำนวยการสถาบนั นวัตกรรม
และถา่ ยทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั พะเยา
และนกั วิจยั ในโครงการพะเยาเมืองแหง่ การเรียนรู้
ซึ่งผลตอบรับค่อนข้างดีทีเดียวครับ ยิ่งเฉพาะเราวาง
กลมุ่ เป้ าหมายคอื การชว่ ยยกระดบั ผดู้ อ้ ยโอกาสใหเ้ ขา้ ถงึ
องคค์ วามรูแ้ ละทรพั ยากรดว้ ย ท่ีส�ำคญั อีกอยา่ งคอื คน
ท่ีมาร่วมเป็ นวิ ทยากรให้ความรู้ หาได้มาจากฝ่ั ง
มหาวทิ ยาลยั ของเราเลย แตก่ เ็ ป็ นคนพะเยาทม่ี อี งคค์ วาม
รู้เฉพาะมาร่วมแบ่งปั นเป็ นหลัก ทางเราช่วยเหลือแค่
ขอ้ มลู เชงิ วิชาการ และการเป็ น facilitator อ�ำนวยความ
สะดวกใหก้ จิ กรรมเกดิ ขนึ้ เทา่ นน้ั และอยา่ งทบ่ี อก พอเรา
เชื่อมโยงหน่วยท�ำงานในเบื้องต้นได้ส�ำเร็จ การร่วมมือ
กับรัฐจงึ ไม่ยาก อย่างล่าสุดโครงการเราก็ได้ความร่วม
มือทั้งเทศบาลเมืองพะเยา และองค์การบริหารส่วน
จงั หวัด ในการขบั เคลือ่ นเมอื งไปในทศิ ทางเดียวกัน
ผมมองว่าการเป็ นเมอื งแหง่ การเรยี นรู้ กค็ ลา้ ยๆ กบั การ
ทผี่ ลติ ภณั ฑไ์ ดต้ ิดฉลาก OTOP น่นั แหละครบั เพราะการ
ไดป้ ระดับสิ่งนี้ ไมไ่ ด้การนั ตวี ่าคณุ จะประสบความส�ำเรจ็
แตต่ อ้ งยอมรบั ว่ามนั คอื แบรนดท์ ที่ กุ คนรบั รู้ ยง่ิ พอเมอื ง
มนั เชื่อมโยงกับมาตรฐานระดับนานาชาติของยูเนสโก
คนในพื้นที่รับรูก้ ็เกิดความภาคภูมิใจ สิ่งท่ีตามมาคือเขา
กอ็ ยากมีส่วนรว่ ม แรงใจกเ็ รมิ่ มา
ชว่ งแรกเราจงึ เนน้ การสรา้ งความรบั รูใ้ นเมือง ผ่านการจดั ประชมุ หรอื กจิ กรรมที่ชักชวน ทสี่ ำ� คญั พอเราอยใู่ นเครอื ขา่ ย คนจากทว่ั โลกกจ็ ะรูจ้ กั เรา
ใหต้ วั แทนจากหนว่ ยตา่ งๆ อยา่ งหอการคา้ สมาพันธ์เอสเอ็มอี สมาคมธุรกจิ ทอ่ งเทยี่ ว และ เมืองในเครอื ขา่ ยกจ็ ะมาเย่ยี มชม หรอื แบ่งปั นกลยทุ ธ์ใน
กลุ่มผู้ประกอบการต่างๆ มาร่วมกัน สร้างบทบาทให้ตัวแทนทุกฝ่ ายเป็ นเหมือนคณะ การพัฒนาเมอื งมาใหเ้ ราไดป้ รบั ใช้ ผมมองเหน็ ประโยชน์
กรรมการขับเคลื่อนเมืองในรูปแบบไม่เป็ นทางการ กล่าวคอื ไมถ่ งึ กบั บังคบั ใหใ้ ครมาเป็ น แบบน้ี หนง่ึ . พะเยาเป็ นทร่ี ูจ้ กั สอง. ทำ� ใหเ้ มอื งมมี าตรฐาน
แต่เป็ นการสรา้ งกลไกใหท้ ุกฝ่ ายเหน็ ว่าพวกเขามสี ่วนรว่ มในการกำ� หนดทศิ ทางของเมือง ในการจัดการและพัฒนา และสาม. ช่วยยกระดับการ
ทำ� งานใหผ้ คู้ นในเมอื ง
พอบุคลากรท่ีขับเคล่ือนเมืองได้รับการยกระดับ เมืองก็
จะมีพลวัต สุดท้ายมันก็กลับมาท่ีเศรษฐกิจและคุณภาพ
ชวี ติ ของคนในเมอื งดขี น้ึ จากเมอื งทเี่ ราตระหนกั ในคณุ คา่
อย่แู ล้ว ก็สามารถสรา้ งมลู ค่าได้ในทส่ี ุด”
69
People
ศ.ดร.เสมอ ถาน้อย
รองอธิการบดีฝ่ ายวิจยั และนวัตกรรม
มหาวิทยาลยั พะเยา
“คณุ ทราบไหมว่าสาเหตทุ รี่ ัฐตัง้ วิทยาเขตของมหาวิทยาลยั นเรศวร กลไกในการขับเคลือ่ น
การเรียนรู้ไมไ่ ด้มาจาก
ไว้ที่จงั หวัดพะเยา ซึ่งมีท�ำเลค่อนข้างห่างไกลกว่าจงั หวัดอื่นๆ ในภาค พวกเราในฐานะคณะนักวิจยั
เหนอื ส่วนหน่งึ มาจากธุรกิจค้าบริการ แตเ่ ป็ นชาวบา้ นในพะเยา
ทเี่ ป็ นวิทยากรใหค้ วามรู้
ในอดีต พ้ืนท่ีหนึ่งในจงั หวัดพะเยา ขึ้นช่ือเรอ่ื งการท่ีผ้หู ญิงท้องถ่นิ ออก ในด้านตา่ งๆ
จากหมบู่ า้ นเพ่ือเขา้ ทำ� งานคา้ บรกิ ารในเมอื งใหญๆ่ จะเป็ นเพราะถกู หลอก
สมคั รใจด้วยตนเอง หรอื พ่อแม่เป็ นคนตดั สินใจกต็ าม แตจ่ ำ� นวนผหู้ ญิง
ทเ่ี ขา้ สธู่ ุรกจิ ทมี่ ากเป็ นพิเศษนี้ ทำ� ใหม้ หี ลายฝ่ ายเหน็ ตรงกนั ว่าเพราะผคู้ น
ในพื้นท่ียังเข้าไม่ถึงการศึกษา ท�ำใหผ้ ู้หญิงหลายคนตัดสินใจด�ำเนินชีวิต
ดว้ ยรูปแบบน้ี
และในเมอ่ื เราตอ้ งการใหผ้ คู้ นในพื้นทเ่ี ขา้ ถงึ การศึกษา เรากจ็ ำ� เป็ นตอ้ งมี
พ้ืนที่การศึกษา จงึ มกี ารจดั ตัง้ มหาวิทยาลัยขึ้นน่นั เอง
แม้เรื่องท่ีเล่ามานี้จะไม่ใช่สาเหตุหลัก แต่ภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย
นเรศวร วิทยาเขตพะเยา หรือท่ีต่อมาจะถูกเปล่ียนชื่อเป็ นมหาวิทยาลัย
พะเยา นับต้ังแต่การก่อตั้งจนถึงทุกวันน้ี คือน�ำความรู้มาใหบ้ ริการและ
พัฒนาชมุ ชน ตลอดเวลาทผ่ี า่ นมา มหาวิทยาลยั จงึ มโี ครงการหรอื หนว่ ย
70
People
งานทชี่ ว่ ยยกระดบั ชมุ ชนมากเป็ นพิเศษ และโครงการเมอื งแหง่ การเรยี น ตอ้ งบอกอย่างนีค้ รบั สิ่งนี้สรา้ งความภูมใิ จแก่ผูเ้ รยี นได้ว่าอย่างน้อยกม็ ี
รู้ ที่เราได้รบั ทุนจาก บพท. ก็คอื หนึ่งในนน้ั ผลสมั ฤทธิ์ทางการศกึ ษา เพราะเมอื่ เรานำ� เครดติ แบงคม์ าใช้ เรากจ็ ำ� เป็ น
ตอ้ งท�ำการสอบวัดผลผเู้ รยี นเพื่อใหไ้ ดห้ น่วยกิต จงึ ชว่ ยจูงใจใหพ้ วกเขา
พะเยามีแหล่งทรัพยากรท่ียังมีบทบาทในฐานะแลนด์มาร์คส�ำคัญของ มีความต้ังใจเรียน ขณะเดียวกันผู้ท�ำการสอนก็ต้องหาวิธีท�ำให้ผู้เรียน
เมอื งอย่างกว๊านพะเยา โดยพ้ืนท่ีรอบๆ กว๊านยังมีทรพั ยากรทีช่ าวบา้ น เขา้ ใจ หรอื สนกุ ไปกับบทเรยี น
แปลงเป็ นสินคา้ ไปจนถงึ การพัฒนาเป็ นพ้ืนทีก่ ารเรยี นรู้ โครงการของ
เราจึงมีแต้มต่อไม่น้อย แต่โจทย์ส�ำคัญของโครงการหาใช่การน�ำเสนอ มีตัวอย่างท่ีชัดเจนคือกลุ่มบ้านดินค�ำป้ ูจู้ ท่ีสอนงานป้ั นดิน ทางกลุ่มใช้
พ้ืนท่เี หลา่ นั้น แต่เป็ นการเชอ่ื มโยงผมู้ ีความรูใ้ นพ้ืนทีต่ ่างๆ มาใหบ้ รกิ าร กศุ โลบายทางความเชอื่ ดว้ ยการใหผ้ เู้ รยี นใชด้ นิ ป้ั นบลอ็ คพระเครอื่ ง คน
ชมุ ชน ชว่ ยฝึ กอาชพี แกผ่ ทู้ ดี่ อ้ ยโอกาส และสรา้ งกระบวนการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ที่เรียนก็รู้สึกว่ามีแรงจูงใจ เพราะถ้าท�ำเสร็จก็จะมีพระเครื่องเป็ นของที่
ระลึก หรือจะเอาไปปลุกเสกก็ยังได้ จงึ ตั้งใจในบทเรียนและพิถีพิถันกับ
เหตนุ ี้ จุดเดน่ ของโครงการพะเยาเมอื งแหง่ การเรยี นรูท้ น่ี า่ จะตา่ งจากเมอื ง การทำ� งานเป็ นพิเศษ
อ่ืนๆ ส่วนใหญ่คอื กลไกในการขับเคลื่อนการเรยี นรูไ้ ม่ไดม้ าจากพวกเรา
ในฐานะคณะนักวิจยั แตเ่ ป็ นชาวบา้ นในพะเยาท่เี ป็ นวิทยากรใหค้ วามรูใ้ น ขณะเดยี วกนั หนว่ ยกติ ทส่ี ะสมน้ี ผเู้ รยี นยงั สามารถนำ� ไปใชเ้ ป็ นตน้ ทนุ หนง่ึ
ดา้ นตา่ งๆ เป็ นรูปแบบของชาวบา้ นสอนชาวบา้ น ชมุ ชนหนง่ึ สอนอกี ชมุ ชน ในการยน่ื ขอประกาศนยี บตั รรบั รองจากคณะตา่ งๆ ของทางมหาวทิ ยาลยั
หน่ึง แลกเปลี่ยนศาสตร์ความรู้ซ่ึงกันและกัน และเผยแพร่ไปสู่ผู้อื่นอีก รวมถงึ องคก์ รอน่ื ๆ วา่ ไดผ้ า่ นการเรยี นรูห้ รอื มคี วามเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น
ทอดหน่ึง ได้อีกด้วย เช่นคุณเรียนรู้การแปรรูปอาหารมาแล้ว คุณต้องการน�ำไป
พัฒนาเป็ นอาชีพต่อ คุณก็น�ำหน่วยกิตที่ได้มาเป็ นองค์ประกอบเพื่อยื่น
นกั วจิ ยั ในโครงการนม้ี หี นา้ ทเ่ี พียงเชอื่ มตอ่ วทิ ยากรเขา้ กบั ผเู้ รยี น ไปจนถงึ ขอรบั ประกาศนยี บตั รรบั รองความช�ำนาญได้อีกดว้ ย
เชอ่ื มโยงผเู้ ชย่ี วชาญ ซง่ึ อาจรวมถงึ อาจารยจ์ ากมหาวิทยาลยั พะเยาเอง
ไปเป็ นโคช้ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระกอบการในการยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์ และรวมถงึ อยา่ งไรกต็ าม ทสี่ ุดแล้ว ตวั ชว้ี ัดจรงิ ๆ ของเรา คือการทีท่ ัง้ ผสู้ อนและผู้
การสรา้ งแรงจูงใจใหแ้ กผ่ เู้ รยี น การทำ� เครดติ แบงค์ หรอื การใหผ้ เู้ รยี นที่ เรียนสามารถต่อยอดความรู้ของตัวเองให้เป็ นมูลค่าได้ ทุกคนสละเวลา
สามารถเกบ็ หนว่ ยกติ ไปใชก้ บั มหาวิทยาลยั พะเยาอยา่ งเป็ นทางการได้ ก็ มาเรยี น เพราะรูว้ ่าจะไดป้ ระโยชน์กลบั ไป ไดผ้ ลติ ภัณฑ์ หรอื สินค้าเอาไป
เป็ นเครอ่ื งมอื หนงึ่ ขายได้ และเมอื่ โครงการนส้ี ิน้ สดุ ลง หากผรู้ ว่ มโครงการยงั คงตอ่ ยอดสงิ่
ที่เรียนมาเพื่อเป็ นอาชีพต่อโดยไม่มีพวกเรา น่ันหมายถึงโครงการเมือง
ถามว่าคนมาเรยี นหลายคนเป็ นผู้ใหญท่ ท่ี �ำงานท�ำการกันหมดแล้วหรอื แหง่ การเรยี นรูข้ องเรา ประสบความส�ำเรจ็ ”
กลุ่มผู้สูงอายุ พวกเขาจะใช้คะแนนสะสมจากมหาวิทยาลัยไปท�ำอะไร ก็
71
72
People
“เมอ่ื กอ่ นกซ็ อื้ แหนมกนิ จากทอี่ ่ืนคะ่ แตค่ วามทเี่ ราไมร่ ูเ้ ลยว่าคนอ่ืนเขาทำ� ดรุณวรรณ คำ� เจริญ
แหนมยงั ไง เขาใส่ดนิ ประสิวมากเกนิ มาตรฐานไหม หรือกระบวนการทเ่ี ขาทำ� ข้าราชการเกษียณ และผูก้ อ่ ตง้ั แบรนด์ ‘ทัพพีเงนิ ’
น่ีถูกสุขอนามัยมากแค่ไหน คุณยายพี่เขาก็เลยท�ำเอง เลือกใช้แต่วัตถุดิบท่ี
สดใหม่ สะอาด และทราบถงึ ทมี่ า และใชด้ นิ ประสิวไมเ่ ยอะ คอื ถา้ ไมใ่ ชเ้ ลยกไ็ ม่ ถ้าเราน�ำเกษตรปลอดภยั มา
ได้ แตถ่ ้าใช้เยอะก็เป็ นอันตราย เป็ นจุดแขง็ และต่อยอดดว้ ย
เทคโนโลยแี ละการตลาด
นอกจากทำ� กินกันเองในครอบครวั คุณยายท่านกเ็ อาแหนมไปแบง่ เพื่อนๆ ก็ ใหม่ๆ ส่ิงนี้จะดึงดูดใหค้ นรุ่น
มกี ารบอกตอ่ เรอื่ ยๆ จนมคี นมาขอซอื้ กข็ ายกนั เลก็ ๆ โดยไมไ่ ดท้ ำ� แบรนดอ์ ะไร ใหมก่ ลับบ้านมาช่วยพัฒนา
เรอ่ื ยมา จนภายหลงั คณุ ยายท�ำตอ่ ไมไ่ หว จงึ ไมไ่ ด้ขายมาหลายปี แล้ว ธุรกิจ พะเยาก็จะไมใ่ ชเ่ มอื ง
แค่ของผู้สูงอายุอีกต่อไป
พอพี่เกษียณ จากทเ่ี ราเป็ นพยาบาลมาทง้ั ชวี ิต ใหอ้ ยบู่ า้ นเฉยๆ กค็ งจะเฉา เลย
ไปทำ� กจิ กรรมทช่ี มรมผสู้ งู อายขุ องเทศบาลเมอื งพะเยา เราชอบเรยี นรูก้ ารทำ� เรามีผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นที่เป็ นอาหารปลอดภัยมากกว่านี้ เมือง
น่ันท�ำน่ีจากยูทูปอยู่แล้ว ก็เลยเอาสิ่งท่ีเรียนมาไปสอนเพื่อนๆ ในชมรม เช่น ของเราเป็ นเมืองเกษตร กน็ า่ จะสนับสนนุ ใหเ้ กิดเกษตรปลอดภยั
การท�ำสบู่ สานตะกรา้ เดคูพาจ และอื่นๆ เทา่ ทเ่ี ราจะทำ� และสอนคนอื่นได้ และ ที่ไม่เพียงท�ำให้ผู้บริโภคมีสุขภาพที่ดี ห่างไกลโรค แต่เกษตร
พอดกี บั ทม่ี หาวิทยาลยั พะเยาทำ� โครงการเมอื งแหง่ การเรยี นรู้ ทมี นกั วิจยั เขา ปลอดภยั ชว่ ยเพ่ิมมลู คา่ สนิ คา้ และเป็ นทต่ี อ้ งการของตลาดระดบั
กแ็ นะน�ำว่าน่าจะทำ� ผลติ ภัณฑ์มาจำ� หนา่ ยนอกเหนอื จากส่ิงท่ีเราเปิ ดการเรยี น สากล
การสอนอยู่ กเ็ ลยคดิ ถึงแหนมอนามัยสูตรของคุณยายขน้ึ มา ในขณะเดียวกัน อย่างท่ีทราบกันว่าพอพะเยาไม่ใช่เมือง
อุตสาหกรรม คนรุน่ ใหมส่ ว่ นใหญก่ เ็ ลยตอ้ งออกจากบา้ น ยา้ ยไป
จากแหนมสูตรคุณยายที่ไม่เคยมีช่ือเรียก ทางทีมวิจยั ก็ช่วยพี่ท�ำแบรนด์และ ท�ำงานท่เี มืองใหญๆ่ ถ้าเราน�ำเกษตรปลอดภยั มาเป็ นจุดแขง็ ใช้
ออกแบบโลโก้ เป็ นสินค้าจริงจังขึ้นมา ก็เร่ิมเอาไปขายในกลุ่มไลน์ของโรง เทคโนโลยี หรือรูปแบบการตลาดใหม่ๆ มาต่อยอดต้นทุนตรงน้ี
พยาบาลท่ีเคยท�ำก่อน พ่ีตั้งชื่อแบรนด์ว่า ‘ทัพพีเงนิ ’ เพราะเราขายอาหารก็ ใหก้ ลายเป็ นสินค้าขึ้นชื่อของจงั หวัด ส่ิงน้ีจะดึงดูดใหค้ นรุ่นใหม่
เลยคดิ ถงึ ทพั พี แตแ่ ทนทจี่ ะตกั ขา้ ว เราเอามาใชต้ กั เงนิ ตกั ทองจากสินคา้ ของ กลบั บา้ นมาชว่ ยกนั พัฒนาธุรกจิ ผสู้ งู อายใุ นเมอื งกไ็ มเ่ ดยี วดาย
เราเอง (ยิ้ม) เพราะลกู หลานกลบั มา พะเยากจ็ ะไม่เงยี บเหงาอีกต่อไป”
ถึงจะพู ดแบบน้ัน พ่ีก็ไม่ได้คิดจะท�ำเป็ นอุตสาหกรรมหรือธุรกิจจริงจังอะไร
เพราะเราท�ำกับผู้ชว่ ยอีกหนง่ึ คนแค่นัน้ และจรงิ ๆ เราท�ำเพราะความสนกุ ที่ได้
มอี ะไรทำ� และหวงั ใหล้ กู คา้ ไดก้ นิ แหนมทมี่ คี ณุ ภาพและปลอดภยั มากกวา่ เดอื น
หนงึ่ จะทำ� ขายแคส่ องรอบผา่ นทางไลนก์ ลมุ่ กลายเป็ นว่าลกู คา้ หลกั ของเราคอื
หมอ พยาบาล และบคุ ลากรในโรงพยาบาลเสียเกือบทัง้ หมด เว้นแต่จะมีออก
รา้ นเล็กๆ ตามงานบ้าง
ทางโครงการเมอื งแหง่ การเรยี นรูก้ ม็ แี ผนใหพ้ ่ีเปิ ดคอรส์ สอนทำ� แหนมเหมอื น
กนั พ่ีก็ยินดเี พราะอยากแบ่งปั นความรู้ และเผอื่ ใครเอาไปตอ่ ยอดเป็ นธุรกิจก็
ดเี ขา้ ไปใหญ่ แตพ่ ี่กย็ ้ำ� เสมอเรอ่ื งวัตถดุ บิ และกระบวนการผลติ ตอ้ งสะอาดและ
ไดม้ าตรฐาน ใหเ้ ขาเอาสตู รเราไปทำ� แบรนดข์ ายของตวั เองไดเ้ ลย ซง่ึ นอกจาก
แหนมสูตรคุณยายพ่ีแล้ว ทัพพีเงนิ ก็ยังมีผลไม้แช่อ่ิมตามฤดูกาล ซ่ึงอันนี้พี่
เรยี นมาจากยทู ปู และเอาผลไม้ทปี่ ลูกในบ้านมาทำ� ฤดูกาลนเ้ี ป็ นตะลงิ ปลงิ ต่อ
ไปก็อาจเป็ นมะมว่ งหาวมะนาวโห่ กแ็ ล้วแตช่ ว่ งว่าต้นไหนจะออกผลเมือ่ ไหร่
การทำ� ใหค้ นอ่ืนมอี าชพี กเ็ รอื่ งหนง่ึ แตส่ งิ่ สำ� คญั อีกเรอื่ งกค็ อื พ่ีอยากใหพ้ ะเยา
74
People
หลายคนมกั คิดว่าการมี
มหาวิทยาลยั ท�ำใหเ้ ดก็ ๆ
ได้เรียนหนงั สือ แตใ่ นอีก
ทางชาวบา้ นรอบๆ ก็มี
โอกาสไดท้ ำ� งานมากขึน้
“กอ่ นหนา้ นผี้ มขบั รถส่งของใหห้ า้ งค้าปลีกแหง่ หน่งึ ที่
กรุงเทพฯ ทำ� มาสบิ กวา่ ปี แลว้ รูส้ กึ อมิ่ ตวั กพ็ อไดข้ า่ ววา่ ใกลๆ้
บา้ นแมก่ า บา้ นเกดิ ผมทจ่ี งั หวดั พะเยา กำ� ลงั จะมมี หาวทิ ยาลยั
นเรศวรตั้งขึ้น (ช่ือสมัยนั้น ปั จจุบันคือมหาวิทยาลัยพะเยา
- ผเู้ รยี บเรยี ง) ผมจงึ ตดั สนิ ใจลาออกจากงานประจำ� เอาเงนิ
ท่เี กบ็ มาส่วนหน่ึงไปซื้อรถตู้
จรงิ ๆ ความคดิ เรอ่ื งขบั รถตูร้ บั จา้ งไมเ่ คยอยใู่ นหวั ผมมากอ่ น
เพราะพะเยาเป็ นเมืองเล็กๆ ใครจะจา้ งรถตู้กัน แต่พอรู้ว่ามี
มหาวิทยาลยั เกดิ ขน้ึ คนกน็ า่ จะมาอยู่กันมากขน้ึ เศรษฐกิจก็
น่าจะดีขึน้ ตาม
76
People
หลายคนมกั คดิ ว่าการมมี หาวิทยาลยั ทำ� ใหเ้ ดก็ ๆ ไดเ้ รยี นหนงั สอื
แต่ในอีกทางชาวบ้านรอบๆ ก็มีโอกาสได้ท�ำงานมากขึ้น อย่าง
ภรรยาผมกไ็ ดง้ านเป็ นแมบ่ า้ นอยรู่ สี อรท์ เพื่อนๆ อีกหลายคนขบั
รถตู้ประจำ� คณะในมหาวิทยาลัย เป็ นเจา้ หน้าที่ บ้างไปเป็ นยาม
หรอื ถ้ามีเงนิ ทุนหนอ่ ยกเ็ ปิ ดรา้ นคา้ ทำ� รา้ นอาหาร หรอื ทำ� หอพัก
แถวหน้ามหาวิทยาลยั เศรษฐกจิ ในละแวกน้ดี ีมากๆ
ผมเคยขบั รถประจำ� ในมหาวิทยาลยั อยพู่ ักหนงึ่ เหมอื นกนั แตพ่ อ
หมดสญั ญา กป็ ระมลู ตอ่ ไมไ่ ด้ จงึ ออกมารบั จา้ งขบั รถตอู้ ิสระ แต่
กไ็ ดอ้ าจารยแ์ ละนกั วิจยั หลายทา่ นเรยี กใชอ้ ยู่ เชน่ ถา้ คณะไหนรถ
ตู้ไม่พอ เขาก็โทรศัพท์เรียกผม เลยได้งานข้างนอกกับงาน
มหาวิทยาลยั ไปพรอ้ มกนั
อย่างช่วงโควิด-19 มา ไมม่ นี กั ทอ่ งเที่ยวเลย แต่ท่รี อดมาได้คือ
หลงั จากทเี่ ขาเปิ ดใหเ้ ดินทาง อาจารย์ก็เรยี กใช้ผมพาเขาลงพื้น
ที่วิจัยด้วย แต่เอาเข้าจริงก็อยากท�ำประจ�ำที่นั่นเลยมากกว่า
เพราะการนั ตีรายไดป้ ระจำ� (หวั เราะ)
ทเี่ คยวิ่งไกลสุดคือการส่งนักศึกษาคณะแพทยศ์ าสตรไ์ ปแขง่
กีฬาท่ีสงขลาครับ ตอนนั้นขับจากพะเยามาแวะค้างคืนท่ี
ปราณบรุ ี จากน้ันกข็ บั ตอ่ ไปพักสุราษฎรธ์ านี กอ่ นจะถึงสงขลา
ในอีกวัน เท่ียวน้นั แวะซ้ือของที่ปาดังเบซาร์ด้วย ผมชอบขับรถ
ลอ่ งใตน้ ะ ขบั สบายดี ปกตอิ ยแู่ ตก่ บั ถนนบนภเู ขาในภาคเหนอื ซงึ่
ขับรถเหน่ือยกว่า (ยิม้ )
ผมอายุหา้ สิบกว่าแล้ว ก็พยายามรกั ษาสุขภาพ เพราะคิดว่าจะ
ขบั รถตอ่ ไปจนกว่ารา่ งกายจะไมไ่ หว ส่วนหลงั จากนน้ั จะทำ� ยงั ไง
ต่อ ใหเ้ ป็ นเรอื่ งของอนาคตครบั ”
เดน่ สุวรรณ
คนขับรถตูร้ ับจา้ งอิสระ
77
People
ผศ.นิธิศ วนิชบรู ณ์ ไมว่ ่าพวกเขาจะเลือกดำ� เนนิ ชวี ิต
ไปทางไหน อยา่ งนอ้ ยที่สุด การได้
อาจารยป์ ระจำ� คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ เรียนศิลปะท�ำใหน้ ักศึกษามคี วามคดิ
และศิลปกรรมศาสตร์ สร้างสรรค์ไปพัฒนาสิ่งท่เี ขาทำ� หรือ
มหาวิทยาลยั พะเยา เป็ นอยู่ ตรงนี้แหละที่ผมมองว่าคอื
คณุ คา่ ทแ่ี ทจ้ ริงของศิลปะ”
“จริงๆ ก็เป็ นการจบั ผลัดจบั ผลูพอสมควรครับ ก่อนหน้านี้ผม
เป็ นอาจารยพ์ ิเศษสอนศิลปะที่มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณโุ ลก สอน
อยู่สักพั ก เพ่ื อนรุ่นพี่ เขาท�ำหลักสูตรศิลปะข้ึนมาใหม่ให้วิทยาเขต
พะเยา (ปั จจุบันคือมหาวิทยาลัยพะเยา) ผมอ่านหลักสูตรแล้วสนใจ
เลยย้ายมาสอนประจำ� ท่ีนี่ ทกุ วันน้สี อนมา 8 ปี แลว้
ผมสนใจหลกั สูตรนตี้ รงท่เี ขามงุ่ เน้นใหศ้ ิลปะ งานออกแบบ และความ
คิดสร้างสรรค์รับใช้ชุมชน หาใช่การผลิตบัณฑิตศิลปะเพื่ อเข้าหา
แวดวงศิลปะเป็ นศูนย์กลาง ต้องเข้าใจก่อนว่าเวลาคุณเป็ นนักเรียน
มัธยมปลายท่ีอยากเรียนปริญญาด้านศิลปะ คุณก็จะมุ่งไปหามหา
วิทยาลัยศิลปากร ลาดกระบัง หรอื วิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่
นอ้ ยคนนกั ทอี่ ยากจะเรยี นศิลปะในมหาวิทยาลยั ทเี่ พิ่งเปิ ดใหม่ แถมยงั
อยู่ถึงจงั หวัดพะเยา แต่หลักสูตรเราก็สร้างโอกาสจาก pain point
ตรงน้ี โดยเน้นทีก่ ารเรยี นรูแ้ ละพัฒนาการศึกษารว่ มกัน
แลว้ สงิ่ นก้ี ส็ อดคลอ้ งกบั วิธีคดิ ผมทก่ี ำ� ลงั อิ่มตวั กบั ความคดิ ทว่ี ่าศลิ ปะ
รว่ มสมยั ตอ้ งผกู อยแู่ ตก่ บั มหานครอยา่ งนวิ ยอรก์ ลอนดอน ปารสี หรอื
ในกรุงเทพฯ คือแตเ่ ดิมผมกแ็ สวงหาทจ่ี ะไปอย่จู ุดนั้น แตพ่ อมโี อกาส
ได้ไปอยู่ (อาจารย์นิธิศ เรียนจบจาก Kent Institute of Arts and
Design ประเทศอังกฤษ) เรากพ็ บว่าเราอยากเหน็ แงม่ มุ อ่ืนทศี่ ิลปะมนั
จะพาเราไปได้บา้ ง
หรอื ทอี่ าจารย์ฤกษ์ฤทธ์ิ ตรี ะวนชิ เคยใหส้ ัมภาษณไ์ ว้ว่าโลกศิลปะตอน
น้กี �ำลังใหค้ วามสนใจเรอ่ื งเลา่ หรอื สุนทรยี ะจากความเป็ นชายขอบทั้ง
หลาย เพราะในเมอื งใหญ่ๆ มนั ถกู เลา่ ไปหมดแล้ว และตรงน้เี องทผี่ ม
พบว่า อันที่จริงงานศิลปะดีๆ ไม่จ�ำเป็ นต้องอยู่ในหอศิลป์ ดังๆ ตาม
เมืองใหญ่เสมอไป บางทีวิถีชีวิตของคนในท้องถ่ินก็อาจเป็ นศิลปะใน
วิถขี องพวกเขาเอง ท่สี รา้ งแรงบันดาลใจใหผ้ ูช้ มกไ็ ด้
78
People
ซ่ึงกพ็ อดไี ด้รว่ มงานกับอาจารย์โป้ ง (ปวินท์ ระมิงค์
วงศ์) ซ่ึงเขาพยายามขับเคล่ือนให้มหาวิทยาลัย
พะเยามีหอศิลป์ มาตลอด แต่เม่อื ไม่ได้ เขากล็ งมอื ทำ�
ด้วยตวั เอง ทง้ั จากพื้นที่ทเ่ี ขาท�ำ (PYE Space) ไป
จนถึงการเปลี่ยนพ้ืนที่โรงหนังร้าง ตลาดสด หรือ
พื้นที่สาธารณะของเมืองพะเยาใหเ้ ป็ นอาร์ทสเปซ น่ี
จึงเป็ นความท้าทายใหม่ๆ ของทั้งผู้เรียนและผู้สอน
ด้านศิลปะ
แน่นอน พะเยาไม่มีระบบนิเวศทางศิลปะในแบบท่ี
หลายคนเข้าใจ เมืองของเราไม่มีท้ังแกลเลอร่ี นัก
สะสมผลงาน ภณั ฑารกั ษ์ หรอื กระทงั่ กลมุ่ คนดอู ยา่ ง
เป็ นทางการ ประกอบกับท่ีลูกศิษย์ของเราส่วนใหญ่
เป็ นลกู หลานเกษตรกรหรอื ผปู้ ระกอบการทอ้ งถน่ิ ซง่ึ
พอเรยี นจบพวกเขากต็ ้องกลบั ไปสานตอ่ กจิ การท่ี
บ้าน มีบางส่วนไปท�ำงานด้านการออกแบบในเมือง
ใหญ่ และมีน้อยคนมากๆ ในหนึ่งรุ่นท่ีจะด�ำเนินชีวิต
ในฐานะศิลปิ น
แตน่ นั่ ละ่ ไมว่ ่าพวกเขาจะเลอื กดำ� เนนิ ชวี ิตไปทางไหน
อย่างน้อยท่ีสุด การได้เรียนศิลปะก็ช่วยปลดล็อค
ความคดิ ของนกั ศึกษา ไดม้ อี ิสระในการไดท้ ดลองทำ�
ในส่ิงที่เขาอยากท�ำสักครง้ั ในชวี ิต หรอื ได้มีความคดิ
เชงิ สรา้ งสรรคไ์ ปพัฒนาสิง่ ทเี่ ขาทำ� หรอื เป็ นอยู่ ตรง
นแ้ี หละทผี่ มมองว่ามนั คอื คณุ คา่ ทแ่ี ทจ้ รงิ ของศลิ ปะ”
79
People
บงกช กาญจนรัตนากร
เจา้ ของร้านนิทานบ้านต้นไม้
ตัวแทนจากกลมุ่ Phayao Lovers
และนายกสโมสรโรตารี่พะเยา
“ทน่ี ี่เป็ นบา้ นเดมิ คณุ ตา ภายหลงั แมต่ อ่ เตมิ ขา้ งหนา้
เป็ นคลนิ กิ ทำ� ฟั น แตต่ อนนแ้ี มไ่ มท่ ำ� แลว้ พอเราเรยี นจบ
กลับมาก็เห็นบ้านหลังนี้มีศักยภาพ พร้อมกับท่ีเห็นว่า
พะเยายังไม่พื้นท่ีสร้างสรรค์ หรือพื้นที่ที่คนรุ่นใหม่ได้
เชื่อมโยงกับชุมชน เลยไม่ไปท�ำงานที่ไหน กลับมาเปิ ด
ร้านที่บา้ นเลย
ที่นีเ่ ป็ นรา้ นอาหารกง่ึ คาเฟ่ มีไอศกรมี และขนม ท่ตี ั้งชื่อ
วา่ ‘นทิ านบา้ นตน้ ไม’้ กต็ ามตวั เลยคะ่ เราสนใจเรอ่ื งความ
สัมพันธ์กบั คนกับธรรมชาตแิ ละคนกบั สังคม โดยสังคม
ที่ใกล้ตัวเราที่สุดก็คือครอบครัว เลยใช้ค�ำว่าบ้านมา
แทนคณุ คา่ ของครอบครวั แลว้ ใหต้ น้ ไมเ้ ป็ นตวั แทนของ
ธรรมชาติ
เราเชือ่ ว่าทกุ สิ่งทกุ อยา่ งและทกุ คนล้วนมคี ณุ คา่ ในตวั
เอง แต่ด้วยปั จจยั หลายอย่าง อาจทำ� ใหเ้ รามองขา้ มส่ิง
น้ีไป ก็คิดว่าถ้าเราใช้พื้นที่แห่งนี้เป็ นเครื่องมือท�ำให้เขา
คน้ พบคณุ คา่ ของตวั เองไดค้ งดไี มน่ อ้ ย ขณะเดยี วกนั เรา
ก็สามารถท�ำธุรกิจไปพร้อมกันได้ ตอนน้ีก็เปิ ดมา 8 ปี
แลว้ ค่ะ
เราเป็ นคาเฟ่ ทขี่ ยนั จดั กจิ กรรมโดยใชส้ วนหลงั บา้ นเราน่ี
แหละจดั งานเรอื่ ยมา ทงั้ ตลาดนดั สนิ คา้ ทำ� มอื เวิรค์ ชอ็ ป
วาดสีน้�ำ ป้ั นดิน ถักไหมพรม โดยชวนเครือข่ายที่เป็ น
เพื่อนๆ กันมาร่วม และวางคอนเซปต์ของกิจกรรมใน
แต่ละช่วง หมุนเวียนไปเรื่อยๆ เราอยากใหค้ นในชุมชน
มาใช้ ครอบครวั มาทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั และมองว่ามนั จะ
เป็ นกลไกในการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ชมุ ชนผา่ นพื้นทขี่ อง
การเรยี นรูแ้ ละผลติ ผลิตภัณฑส์ รา้ งสรรค์
82
People
ขณะท่ีปลูกตน้ ไม้ เราทุกคนก็ จากยา่ นเล็กๆ ถ้าได้แรงเสริม
ลว้ นเป็ นดอกไม้ทเ่ี บ่งบานตาม มันก็อาจทำ� ใหเ้ มืองทงั้ เมือง
วิถขี องตัวเองด้วยเชน่ กนั เป็ นเมอื งสร้างสรรค์
ท่ีมาชว่ ยยกระดบั คณุ ภาพชีวิต
https://www.facebook.com/nithanbaantonmai/ ของผู้คนไดต้ ่อไป
พอจดั งานไปแต่ละครงั้ กเ็ หมอื นเราได้เจอคนที่ชอบสรา้ งสรรคผ์ ล
งานเหมอื นๆ กัน จงึ รวมกลุ่มกนั ขนึ้ ช่ือว่า Phayao Lovers ไปรว่ ม
กับหน่วยงานอ่ืนๆ จดั งานในเมืองบ้าง เช่น งานลอยกระทงของ
เมือง (ลา้ ’ลา’ลอย คอยเธอที่กว๊านพะเยา) หรอื งานเทศกาลกาแฟ
และชา (Phayao Coffee & Tea Lovers)
ซง่ึ นอกจากเรามสี ว่ นชว่ ยเมอื งดา้ นการทำ� อีเวนทก์ ระตนุ้ เศรษฐกจิ
ใหก้ บั เมอื ง เรากย็ งั สามารถทำ� ตามเป้ าหมายทค่ี ดิ ไวแ้ ตแ่ รก คอื การ
ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจของผู้คนในสังคมผ่านการรว่ มมอื กัน
ท�ำงาน ซึ่งความเข้าใจตรงน้ีน่ีแหละจะเป็ นเคร่ืองมือส�ำคัญในการ
พัฒนาเมอื ง
เรามภี าพฝั นไกลๆ วา่ อยากพัฒนายา่ นทเี่ ราอยู่ (ถนนราชวงศเ์ ชอื่ ม
สู่กว๊านพะเยา – ผูเ้ รยี บเรยี ง) ใหเ้ ป็ น creative district โดยเริม่
เล็กๆ จากรอบๆ ร้าน เพราะเห็นว่าพะเยาเรามีต้นทุนทางศิลป
วฒั นธรรมเยอะ และเมอ่ื ทำ� อเี วนทไ์ ปเรอ่ื ยๆ กพ็ บวา่ เรามที รพั ยากร
บคุ คลทมี่ ศี กั ยภาพไมน่ อ้ ยเลย ตน้ ทนุ ดอี ยแู่ ลว้ แคต่ อ้ งหารวิธีเชอื่ ม
เข้ากบั ภาพใหญข่ องเมือง จากยา่ นเล็กๆ ถ้าได้แรงเสรมิ มนั กอ็ าจ
ทำ� ใหเ้ มอื งทงั้ เมอื งเป็ นเมอื งสรา้ งสรรค์ ทม่ี าชว่ ยยกระดบั คณุ ภาพ
ชวี ิตของผคู้ นได้ต่อไป
เราเชอื่ วา่ ถา้ อยากเหน็ ดอกไม้ คณุ กต็ อ้ งลงมอื ปลกู ตน้ ไม้ แตด่ อกไม้
จะไม่สวยเลยถ้ามันมีต้นไม้แคต่ น้ เดยี ว เราจำ� เป็ นตอ้ งช่วยกนั ปลูก
เพื่อจะไดช้ นื่ ชมดอกไมท้ สี่ วยงามดว้ ยกนั การไดร้ ว่ มมอื กนั เชน่ น้ี ยงั
ท�ำให้เราได้เห็นศักยภาพของกันและกัน เช่นน้ันแล้ว ขณะท่ีปลูก
ตน้ ไม้ เราทกุ คนกล็ ว้ นเป็ นดอกไมท้ เี่ บง่ บานตามวิถขี องตวั เองดว้ ย
เชน่ กนั ”
83
People
ถ้าเราอยากเหน็ เมืองเป็ นแบบไหน เราพอมีพลัง
ก็จะขบั เคลื่อนใหเ้ มืองมนั ใกล้เคียงกับภาพนั้น
“เราเรยี นมาทางดรุ ยิ างคศลิ ป์ หลงั จากเรยี นจบกเ็ ป็ น เรากบั ศลิ ปิ นในพะเยาจดั การแสดง มชี วนคนนนั้ คนนม้ี าจดั
เวิรค์ ชอ็ ปทำ� งานศิลปะ ทำ� ขนม และงานหตั ถกรรม รวมถงึ
ครูสอนดนตรี และเลน่ ดนตรีกลางคนื อยเู่ ชยี งใหมอ่ ยพู่ ัก ตลาดนัดในธีมต่างๆ
ใหญ่ๆ จนประมาณ 5 ปี ท่ีแล้ว เราอกหัก ตอนน้ันเป็ น
อารมณช์ วั่ วูบเหมอื นกนั ตดั สนิ ใจขบั รถกลบั บา้ นทพ่ี ะเยา จนพอคนมาร่วมงานมากขึ้น สวนในร้านเอาไม่อยู่แล้ว ก็
แม่ก็เปิ ดประตูบ้านรับ หลังจากนั้นก็ไม่ให้ไปไหนเลย เลยขออนญุ าตเทศบาลจดั ตลาดนดั ตรงถนนราชวงศ์ซงึ่
(หวั เราะ) อยู่หน้าร้านทุกวันอาทิตย์ต้นเดือน และจากถนนหน้าร้าน
ต่อมาเราก็ได้งานที่ริมกว๊านพะเยา ก็ร่วมกับหอการค้า
ตอนแรกก็ไม่รู้จะท�ำอาชีพอะไรหรอก พ่ อแม่เราเป็ น จังหวัด และกลุ่มคนท�ำกาแฟในเมืองจัดงาน Phayao
ขา้ ราชการเกษียณ พ่ีชายขายกว๋ ยเตี๋ยวเป็ ด ส่วน ค่าจา้ ง Coffee & Tea Lovers เป็ นเทศกาลกาแฟครงั้ แรกของ
นกั ดนตรขี องทนี่ กี่ ถ็ กู กวา่ เชยี งใหมเ่ กอื บครงึ่ ทำ� เป็ นอาชพี เมอื ง
แทบไมไ่ ด้ ทส่ี ำ� คญั เราพบวา่ พะเยาเงยี บมากๆ คอื ในแงก่ าร
ใชช้ วี ิตอยู่ มันกส็ งบและสะดวกสบายดหี รอก แตถ่ ้าเทียบ พอท�ำหลายๆ งานเข้า ผู้ใหญ่เขาก็เริ่มเห็นศักยภาพของ
กับเชียงใหมท่ ีเ่ ราอย่มู า บ้านเกดิ เราก็แทบไมม่ สี ีสันอะไร พวกเรา หลงั งานกาแฟ เขากเ็ ลยใหเ้ ราจดั งานลอยกระทง
ของเมืองไปเลย
จนพี่แตง (บงกช กาญจนรตั นากร) เจา้ ของรา้ นนทิ านบา้ น
ตน้ ไม้ ซ่ึงเป็ นเพื่อนบ้านเรามาตง้ั แตเ่ ดก็ มาชวนเราไปทำ� ตอนน้ันโควิดเพิ่งซา คนก็ยังกล้าๆ กลัวๆ จะออกมาข้าง
ตลาดเชา้ คอื หลงั รา้ นพ่ีแตงมสี วนเลก็ ๆ รม่ รน่ื พี่แกกช็ วน นอก เขากค็ งคิดกันว่าควรจะใช้งานนี้ปลุกเมือง โปรเจกต์
คนรุน่ ราวคราวเดยี วกันมาขายของ พวกงานแฮนดเ์ มด ลา้ ’ ลา’ ลอย คอยเธอทีร่ มิ กว๊าน จงึ เกิดขึ้น เป็ นงานลอย
บา้ ง ของแตง่ บ้าน เสื้อผา้ มือสองบา้ ง เรากไ็ ปช่วยพ่ีแตง กระทงแนวเรโทรจดั ทขี่ ว่ งนกยงู รมิ กว๊านพะเยา เราหาจุด
และกเ็ ล่นดนตรใี นสวนใหค้ นมาตลาดไดฟ้ ั ง รว่ มของงานท่ีผ้ใู หญ่และคนรุ่นใหม่สนุกไปด้วยกันได้ เลย
จดั งานที่มเี ดรสโค้ด เป็ นชุดยอ้ นยคุ แบบเรโทร มีงานบอล
ตรงน้ีแหละท่ีจุ ดประกายเรามาก เหมือนงานแบบนี้มัน รูม รำ� วงย้อนยคุ เตน้ ลีลาศ มคี อนเสิรต์ ของวงดนตรบี าร์
ดึงดูดคนท่ีมคี วามสนใจแบบเดยี วกบั เรามาเจอกนั เพราะ ขาว ซง่ึ เป็ นวงดนตรรี ุน่ เดอะของเมอื งทกี่ ลบั มารวมตวั กนั
ท่ีผ่านมาพะเยาไม่มีพ้ืนที่ประมาณน้ีเลยนะ ก็ได้รู้จกั คนท�ำ คร้ังแรกในรอบ 50 ปี ขณะเดียวกันก็มีการแสดงดนตรี
กาแฟ ครูสอนวาดรูปสีน้ำ� หรอื นกั ออกแบบที่ย้ายกลบั มา ของคนรุน่ ใหม่ มกี ารประกวดดนตรแี ละวาดรูป ตอนนนั้ จดั
อยู่พะเยา และอีกหลายอาชีพ ก็กลายเป็ นเพื่อนกัน อีก 3 วัน (30 ตลุ าคม – 1 พฤศจกิ ายน 2563) ไดร้ บั เสยี งตอบ
อยา่ งพอทำ� ตลาดเชา้ กม็ เี ดก็ ๆ หนา้ ใหมๆ่ มารว่ มงานเสมอ รบั ดมี าก หลงั จากนน้ั กไ็ ดจ้ ดั งานนนั่ นตี่ อ่ เนอ่ื งมาถงึ ทกุ วัน
ก็ทำ� ใหไ้ ด้คิดว่า เราอยากอย่เู มอื งแบบไหน ก็ควรช่วยกนั น้ี
ท�ำให้เมืองเป็ นแบบน้ัน ก็เลยร่วมกันจัดอีเวนท์แนว
สรา้ งสรรคต์ ง้ั แต่นั้นเป็ นต้นมา จะบอกว่าเป็ นบรษิ ัทอีเวนท์ก็ไมไ่ ดเ้ ป็ นทางการขนาดน้นั ค่ะ
เราไมไ่ ดม้ องในระดบั ของการทำ� เป็ นอาชพี แตอ่ ยา่ งทบี่ อก
เราต้ังชื่อกลุ่มว่า Phayao Lovers เพราะจะได้เห็นว่านี่ ว่าถา้ เราอยากเหน็ เมอื งเป็ นแบบไหน เราพอมพี ลงั กจ็ ะขบั
เป็ นกลมุ่ กอ้ นของคนรุน่ ใหมใ่ นพะเยาทรี่ กั พะเยา และพรอ้ ม เคลื่อนใหเ้ มอื งมนั ใกลเ้ คียงกับภาพนัน้
จะท�ำงานรว่ มกบั หน่วยงานอื่นๆ เพื่อทำ� ใหเ้ มอื งเราน่าอยู่
กเ็ รม่ิ จากในสวนรา้ นพ่ีแตงกอ่ น มมี นิ คิ อนเสริ ต์ การกศุ ลท่ี
84
People
เพ็ญพิศุทธ์ิ พวงสุวรรณ ทกุ วันนก้ี ย็ งั เลน่ ดนตรอี ยคู่ ะ่ เราเลน่ ประจำ� ทบ่ี ารบ์ นดาดฟ้ า
ของโรงแรม M2 Waterside ช่วงสุดสัปดาห์ บางครงั้ ก็ไป
นักดนตรีอิสระ เจา้ ของร้านบ้านบ่อเลคแคมป์ เลน่ ในอีเวนทข์ องเมอื ง อยา่ งงานวัฒนธรรมทตี่ ้องการมอื
“บ้านบอ่ ครูไท” สลอ้ ซอซึง เรากเ็ ลน่ นะ (หวั เราะ)
และตวั แทนจาก Phayao Lovers
ยอ้ นกลบั ไปคดิ กร็ สู้ กึ ตลกดี จากทก่ี ลบั มาอยบู่ า้ นใหมๆ่ แลว้ งงๆ
https://www.facebook.com/PhayaoLovers/ ไม่รู้จะใช้ชีวิตในเมืองนี้อย่างไร หรือจะท�ำงานอะไร จากท่ี
มองพะเยาเป็ นเมืองเล็กๆ ท่ีดูไม่มีอะไร ทุกวันน้ีเราพบแต่
โอกาสทท่ี ำ� ใหเ้ มอื งเป็ นในแบบทพ่ี วกเราอยากใหเ้ ป็ น”
85
People
ชรีพร ยอดฟ้ า
ประธานสภาคนพิการทุกประเภทประจำ� จงั หวัดพะเยา
ประธานชมรมผู้ปกครองบคุ คลออทสิ ตกิ จงั หวัดพะเยา
เมอ่ื ยสี่ ิบปี ทแี่ ลว้ เรามลี กู ชายและพบว่านอ้ งทมี อกเลย แตน่ กี่ เ็ ป็ นแรงผลกั ดนั ใหพ้ ่ีลกุ ขนึ้ มาทำ� อะไร
เยอะแยะ เพ่ือใหล้ กู เรา รวมถงึ เดก็ พิเศษคนอ่ืนๆ ได้
ลูกของพี่มีอาการออทสิ ตกิ คณุ หมอกบ็ อกว่าการ มสี ิทธิ์เข้าถึงการเรยี น
ใชช้ วี ิตในเมอื งที่คอ่ นขา้ งพลกุ พล่านอยา่ ง
เชียงใหม่อาจไม่เหมาะต่อพั ฒนาการ เราก็เลย พ่ีเรม่ิ จากตงั้ ชมรมผ้ปู กครองบคุ คลออทิสตกิ
ตดั สินใจพาลกู กลับมาบา้ นท่ีพะเยา จงั หวัดพะเยา เพื่อทำ� ใหช้ มรมนีเ้ ข้าไปอยใู่ นสภาคน
พิการ รวบรวมแมๆ่ ทมี่ ลี กู เป็ นเดก็ พิเศษเหมอื นกบั
ตอนนัน้ ไมม่ ีความรูอ้ ะไรเรอื่ งดแู ลเด็กทมี่ ีอาการอ เรา เพราะพ่ีเลยี้ งนอ้ งทมี มาสบิ กว่าปี พี่เขา้ ใจว่าคน
อทิสติกเลย แต่ก็ค่อยๆ เรยี นรูไ้ ป ส่งเข้าโรงเรียน เป็ นแมต่ อ้ งเจออะไรบา้ ง พ่ีตงั้ ชมรมในปี 2552 ชว่ ง
อนุบาลก็ผ่านมาได้ แต่พอขึ้น ป.1 น้องทีมปรับตัว แรกๆ กล็ ม้ ลกุ คลกุ คลาน เพราะเราตอ้ งเรยี นรูเ้ รอ่ื ง
เข้ากับโรงเรียนไม่ได้ เพราะโรงเรียนไม่มีครูหรือ การประสานงาน ไปพร้อมๆ กับต้องเล้ียงลูกด้วย
หลักสูตรท่ใี ช้สอนเดก็ ออทิสติกเลย ย้ายไปมาอยู่ 3 ขณะเดยี วกันเรากเ็ ขา้ ไปเป็ นอาสาสมัครพัฒนา
โรงเรียน จนมาเจอศูนย์การศึกษาเด็กพิเศษ และ สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ และอาสาสมัคร
พบผปู้ กครองเด็กพิเศษท่ีประสบปั ญหาเหมือนเรา ของกระทรวงแรงงาน เพราะเรามีบทเรียนว่าการ
ก็เลยมีการรวมตัวกัน ขอใหศ้ ูนย์จดั ท�ำหอ้ งเรียนคู่ จะขอสิทธ์ิอะไรที ก็ไมแ่ นว่ ่าเราจะได้ หรอื บางครง้ั ก็
ขนานส�ำหรับเด็กออทิสติก ซึ่งทางศูนย์ก็ประสาน รอจนท้อ กเ็ ลยเขา้ ไปอาสาท�ำงานใหเ้ ขาเลย จะไดร้ ู้
โรงเรยี นในพะเยาใหส้ ่งครูมาสอนประกบคู่กับเจา้ ว่าเรามีสิทธิอะไรบ้าง และจะได้ช่วยดูแลสิทธ์ิให้
หน้าทที่ ี่มที กั ษะสอนเด็กพิเศษของศูนย์ จนเกดิ เป็ น เด็กๆ พิการคนอื่นๆ รวมถึงคนชรา และคนท่ีขาด
หอ้ งเรยี นคขู่ นานเกดิ ขึน้ ครงั้ แรกในพะเยา โอกาส
จนน้องทีมจบ ป.6 และต้องขนึ้ ม.1 เรากเ็ จอปั ญหา ท่ีส�ำคัญ พ่ียังท�ำโครงการเรื่องฝึ กอาชีพให้ทั้งผู้
อีกคร้ัง สมัยนั้นห้องเรียนคู่ขนานยังไม่มีถึงระดับ ปกครองและเด็กพิเศษ เพราะพบว่าเด็กหลายคน
มธั ยม และนอ้ งทมี เขากม็ คี วามตอ้ งการอยากเรยี น เข้าโรงเรียนไม่ได้ ก็ต้องอยู่บ้าน เราก็ควรมีทักษะ
ที่โรงเรียนพะเยาพิทยาคม ซ่ึงเป็ นโรงเรียนประจำ� ทางอาชพี เพื่อสามารถหาเงนิ จากทบ่ี า้ นได้ อยา่ งพ่ี
จังหวัด แต่โรงเรียนก็ไม่มีโปรแกรมส�ำหรับเด็ก เองน่ีเจอโดยตรง เพราะพอหาโรงเรยี นต่อ ม.1 ให้
พิ เศษ พอใกล้เปิ ดเทอม หลังจากพยายามหา น้องไม่ได้ ก็เลยตัดสินใจให้ลูกไปเรียน กศน. แต่
โรงเรยี นใหน้ อ้ งเรยี นตอ่ จนหมดหนทางแลว้ น้องก็ กศน. ตอนนนั้ กบ็ อกวา่ นอ้ งเขา้ เรยี นไมไ่ ด้ เพราะอายุ
ชวนพ่ีไปซื้อชุดนักเรียน น้องตั้งใจจะเรียนที่พะเยา ยงั ไมถ่ งึ 15 ปี เรากบ็ อก อ้าว…ไหนคณุ เป็ นโรงเรยี น
พิทยาคมจรงิ ๆ พี่กเ็ ลยบอกเขาว่า ทมี เรยี นทนี่ ่นั ไม่ ขยายโอกาสให้ประชาชน เขาก็บอกว่าเขารับ แต่
ไดน้ ะลกู เพราะทมี เป็ นเดก็ พิเศษ เดย๋ี วแมจ่ ะสอนลกู ตอ้ งอายุ 15 ก่อน! กเ็ ลย โอเค งน้ั รอใหน้ ้องอายุ 15
ท่บี า้ นเอง กอ่ นก็ได้
ลูกก็ตอบเราว่าเขาเข้าใจว่าเขาเป็ นเด็กพิเศษ แต่ท่ี ระหว่างน้ันก็ให้น้องเรียนรู้เองท่ีบ้าน เราก็ไปเรียน
ไมเ่ ขา้ ใจคอื ทำ� ไมเขาถงึ ไปโรงเรยี นไมไ่ ด้ อกี อยา่ งแม่ เรอื่ งการท�ำเดคูพาจ กระถางต้นไม้ งานเยบ็ ปั กถกั
ก็ไม่ใช่ครู บ้านก็ไม่ใช่โรงเรียน เขาจะเรียนได้ ร้อยเป็ นอาชีพเสริม และชวนแม่บ้านเด็กพิเศษมา
อย่างไร… ได้ฟั งอย่างนั้นพี่น้�ำตาคลอและจุกอยู่ใน
86
People
ลูกกต็ อบเราว่าเขา เรยี นดว้ ยกนั เพ่ือท�ำผลติ ภณั ฑ์ขายหารายได้ ซ่ึงก็โชคดที ี่ไดค้ ณาจารย์จาก
เขา้ ใจว่าเขาเป็ นเด็ก โครงการเมอื งแหง่ การเรยี นรูม้ าชว่ ยเสรมิ กำ� ลงั สง่ วทิ ยากรและผเู้ ชยี่ วชาญ
พิเศษ แต่ที่ไม่เข้าใจ ในงานทักษะอาชีพต่างๆ ต้ังแต่งานหตั ถกรรมมาจนถึงการท�ำอาหาร รวม
คือท�ำไมเขาถึงไป ไปถึงองค์ความรู้ท่ีคุณแม่ต้องมี อาทิ การท�ำบัญชี ทักษะการขายของ
โรงเรียนไมไ่ ด้ ออนไลน์ การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ไปจนถงึ เรอ่ื งการดแู ลสุขภาพกายและใจ
เป็ นตน้
ทกุ วันนนี้ อ้ งทมี อายุ 20 เพิ่งเรยี นจบ ม.6 จากกศน. นอ้ งอาศัยอยบู่ า้ นกบั พี่
ซง่ึ พ่ีกเ็ พิ่งเปิ ดบา้ นเป็ น ‘ศนู ยบ์ รกิ ารคนพิการทวั่ ไป ชมรมผปู้ กครองออทสิ ติ
กพะเยา’ ดแู ลและฝึ กอาชพี ผปู้ กครองคนพิการทตี่ อนนมี้ สี มาชกิ ราว 40 คน
ขณะเดียวกัน ก็ขับเคลื่อนเรื่องการขยายสิทธิ์ให้กับผู้ปกครองคนพิการ
เพราะจากทเี่ ราสมู้ า 20 ปี เนย่ี เราเหน็ ปั ญหาหลายอยา่ งทห่ี นว่ ยงานราชการ
ผใู้ หท้ ุนไม่เหน็
เช่น แม้คนพิ การจะได้สิทธิ์รักษาฟรี แต่การจะเดินทางไปหาหมอที่โรง
พยาบาลทีเนี่ย เราก็ต้องมีค่าเดินทาง หลายครอบครัวมีบุตรหลานที่ไม่
สามารถใช้รถสาธารณะได้ ก็ต้องเสียเงินเหมารถเดินทาง และสมัยก่อน
พะเยาไม่มีโรงพยาบาลส�ำหรับเด็กออทิสติก ไปหาหมอทีก็ต้องเหมารถเดิน
ทางไกลไปถงึ เชยี งใหม่ หรอื การพัฒนาพื้นทใี่ หร้ องรบั กบั เดยแ์ คร์ เนอื่ งจาก
ถา้ คณุ เป็ นแมเ่ ลยี้ งเดยี่ ว ชวี ิตประจำ� วันคณุ กแ็ ทบจะไมไ่ ดท้ ำ� อะไรเลย เพราะ
ตอ้ งดแู ลลกู ทงั้ วัน เดยแ์ ครต์ รงนก้ี จ็ ะชว่ ยแบง่ เบาภาระคณุ แมไ่ ด้ เป็ นตน้ ซงึ่
ขณะน้กี พ็ ยายามขบั เคล่ือนอยู่
แนน่ อน พ่ีอยากเหน็ สวัสดกิ ารของผพู้ ิการทกุ ประเภทดขี นึ้ แตท่ อ่ี ยากเหน็ ไม่
นอ้ ยกว่ากัน คือกระบวนการทรี่ ฐั ส่งเสรมิ สวัสดกิ ารประชาชนมคี วามคล่อง
ตวั กวา่ น้ี อยา่ งโครงการหลายๆ อยา่ งทพ่ี ่ีรเิ รมิ่ กวา่ จะทำ� ไดก้ ต็ อ้ งทำ� เอกสาร
ซับซ้อนวุ่นวาย และต้องขอ ISO เพ่ือผ่านมาตรฐานน่ันนี่ ซึ่งพี่เข้าใจใน
ระเบียบนะคะ เพียงแตพ่ อเราทำ� ตามขัน้ ตอนทุกอยา่ ง ก็ต้องใช้เวลาอีกพัก
ใหญ่กว่ารัฐจะอนุมัติ บางคร้ังเอกสารท่ีย่ืนไปก็ยังถูกดองอีก ถ้าเราไม่
ติดตามเอกสารที่ส�ำนักงานเอง ก็อาจต้องรอนานขึ้นอีก หรืออย่างท่ีเห็น
โดยตรงท่ีพ่ีไปขอใหน้ ้องทีมเข้าเรียน กศน. ก็ต้องมาเจอระเบียบอีกว่าต้อง
อายุ 15 ปี ถงึ เข้าเรยี นได้ แต่การศึกษามนั รอไม่ได้!
ถามว่าเหนอ่ื ยไหม เหนอื่ ยมากคะ่ แตท่ ข่ี บั เคลอื่ นมาไดถ้ งึ วันนี้ หาใชแ่ คเ่ พราะ
เราเรมิ่ ตน้ ชมรมขนึ้ มาจงึ ตอ้ งทำ� เป็ นหนา้ ท่ี แตท่ งั้ หมดทงั้ มวล กย็ อ้ นกลบั มา
ทคี่ วามมงุ่ หมายแรก คอื การตอ่ สใู้ นฐานะแม่ พ่ีเชอ่ื ว่าปั ญหาคอื แรงผลกั ดนั
ท�ำใหเ้ รารวมพลังกับคนอื่นๆ ต่อสู้มาได้ และสุดท้ายดอกผลก็ไม่ใช่แค่สิทธ์ิ
ของลูกเราคนเดยี ว แต่ยงั หมายถึงลูกของแมๆ่ และผู้ดอ้ ยโอกาสในสังคมนี้
อีกหลายคน
87
People
“ที่คนแก่ชอบส่งสติ๊กเกอร์ไลน์หากัน ก็เพราะ พิมพ์วิไล วงศ์เรือง
คดิ ถงึ เพ่ือน คดิ ถงึ ลกู หลาน บางครง้ั หลายคนอาจ ประธานศูนย์พัฒนาคณุ ภาพชีวิต
ลมื ไปวา่ คนชรากต็ อ้ งการเพื่อน ตอ้ งการเขา้ สงั คม และส่งเสริมอาชีพผ้สู ูงอายุ เทศบาลเมอื งพะเยา
เหมือนคนวัยอ่ืนๆ
ถ้าไปดูสัดส่วนของสถติ ปิ ระชากรในเขตเทศบาล
เมืองพะเยา เรามีคนสูงวัยเกินกว่าครึ่งของ
ประชากรทงั้ หมด แตใ่ นขณะทคี่ นวัยอื่นๆ มพี ้ืนทใี่ ห้
ได้พบปะ หรือมีกิจกรรมใหไ้ ด้ท�ำร่วมกัน ในขณะที่
พื้นท่ีของผสู้ ูงอายุ พะเยากลับมีน้อย และผู้สูงอายุ
ส่วนใหญ่กไ็ ดแ้ ต่อยบู่ ้าน ซึ่งกส็ ่งผลใหพ้ วกเขาเกดิ
อาการซึมเศร้า หรือพอไม่มีพื้นที่ได้ผ่อนคลาย ก็
อาจท�ำให้งา่ ยต่อการเจบ็ ป่ วย ไม่นับรวมบางคนที่
ตอ้ งป่ วยติดเตยี งอยบู่ ้านอีกไมน่ อ้ ย
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ เป็ น
พ้ื นท่ีท่ีเทศบาลเมืองพะเยาตั้งขึ้น เพ่ื อรองรับ
กิจกรรมของผู้สูงอายุในเมือง โดยก่อนโควิด-19
เรามีสมาชิกท่ีอาศัยอยู่ใน 15 ชุมชนของเขต
เทศบาลมากถึง 200 กว่าคน ก็ผลัดเปล่ียนกันเขา้
มาร่วมกิจกรรม ท้ังการออกก�ำลังกาย เต้น
แอโรบิค ร�ำวงมาตรฐานและร�ำวงประยุกต์ เล่น
อังกะลงุ ไปจนถึงรำ� ไทเก็ก หรอื การฝึ กทักษะทาง
หตั ถกรรม อย่างไรก็ตาม พอโควิด-19 มา พ้ืนท่ีนี้
กต็ อ้ งหยดุ ทำ� การไปพักใหญ่ และเทศบาลกจ็ ำ� ตอ้ ง
นำ� งบประมาณไปแก้วิกฤตเรง่ ดว่ นของเมือง การ
ดำ� เนนิ การของพื้นทจี่ งึ ชะงกั ไปพอสมควร
ดีที่ปี 2563 ท่ีทางมหาวิทยาลัยพะเยาเริ่มด�ำเนิน
โครงการเมืองแห่งการเรียนรู้ และทางโครงการ
มองเหน็ ว่า การสรา้ งกจิ กรรมการเรยี นรู้ สามารถ
ช่วยใหผ้ สู้ ูงอายุมโี อกาสไดเ้ ข้าสังคมและคลาย
ความเครยี ด กเ็ ลยมาสนบั สนนุ งบประมาณและเปิ ด
คอรส์ พัฒนาทกั ษะอาชพี จากนน้ั ป้ ากใ็ ชก้ ลมุ่ ไลนท์ ่ี
คยุ กบั เพ่ือนผสู้ งู อายทุ เ่ี คยมารว่ มกจิ กรรมในพ้ืนท่ี
นอี้ ยแู่ ลว้ ใหท้ กุ คนโหวตกนั ว่าอยากเรยี นอะไร แลว้
ทางมหาวิทยาลยั พะเยาจะหาผเู้ ชย่ี วชาญมาสอน
เราให้
88
People
จงึ มีกิจกรรมหลากหลายเกิดขึ้น อาทิ เรียนท�ำ
ตะกรา้ เดคพู าจ หมอนพิงปั กผา้ ดน้ มอื พวงกญุ แจ
ด้นมือ และสบู่สมุนไพร ที่เป็ นแบบน้ีเพราะส่วน
ใหญเ่ ราทำ� กนั เองโดยไมต่ อ้ งใชเ้ ครอื่ งจกั ร มาทำ�
พร้อมกันท่ีน่ี หรือพอเรียนรู้จนเป็ นแล้ว ก็
สามารถนำ� กลับไปท�ำทบี่ ้านของตัวเองได้
จรงิ อยทู่ โ่ี ควดิ ทำ� ใหเ้ พ่ือนสมาชกิ หลายคนไมก่ ลา้
มาร่วมงาน แต่กิจกรรมก็ช่วยฟื้ นฟู ชีวิตชีวา
พ้ืนที่ของเราได้ไม่น้อย โดยเราจะจัดเป็ นกลุ่ม
เล็กๆ กลุ่มละ 15-20 คน มาเจอกันท่ีนี่ทุกวัน
อังคาร เรยี นรูจ้ นเป็ น และใครอยากเรยี นอย่าง
อื่น ก็รวมตัวกันมาใหม่
“ทคี่ นแก่ชอบส่งสตก๊ิ เกอร์ไลนห์ ากนั
ก็เพราะคดิ ถึงเพ่ือน คดิ ถงึ ลกู หลาน
บางครั้งหลายคนอาจลืมไปว่าคนชราก็
ตอ้ งการเพ่ือน ต้องการเขา้ สังคมเหมือน
คนวัยอ่ืนๆ
ส่วนผลงานที่เราท�ำ ทางเทศบาลก็รบั ไปช่วยจำ� หนา่ ยในตลาดสินค้า OTOP ตรงรมิ
กว๊านพะเยา ในนามของ กลุม่ วิสาหกจิ ชมุ ชน ‘สานใจฮัก’ ขายไดเ้ ขากแ็ บง่ เปอรเ์ ซน็ ต์
ให้ คนแกก่ ม็ รี ายไดเ้ สรมิ แตส่ ว่ นใหญพ่ วกเราไมไ่ ดค้ ดิ ถงึ เรอื่ งนห้ี รอกคะ่ บางคนทำ�
ไว้ใชเ้ อง หรอื แจกลกู หลาน คอื คดิ กนั ว่าขอแคไ่ ดม้ อี ะไรใหท้ ำ� รว่ มกนั มพี ื้นทใ่ี หไ้ ดค้ ยุ
กนั เพราะทกุ คนไมอ่ ยากอยบู่ า้ นเหงาๆ หรอื คดิ วา่ ตวั เองเป็ นภาระของลกู หลานหรอก
การได้มารวมกลุ่มกันตรงนี้ ก็เป็ นเหมือนเป็ นท่ีท่ีท�ำให้หลายคนพบว่าตัวเองยังมี
คณุ คา่ ตอ่ คนอื่นๆ อยู่ หลงั จากไดเ้ รยี นกบั โครงการแลว้ กน็ ำ� ทกั ษะทเ่ี รยี นหรอื ทกั ษะ
อื่นๆ มาสอนเพ่ือนคนแกด่ ว้ ยกนั เพ่ิมเตมิ อีก
อยา่ งไรกต็ าม พวกตะกรา้ เดคูพาจ หรอื กระเป๋ าผ้านีข่ ายดีนะคะ คอื ทางเทศบาลกบั
ทางโครงการเขาก็ช่วยหาตลาดให้ กลายเป็ นว่าทุกวันนี้ท�ำตามออร์เดอร์กันไม่ทัน
แลว้ ” (หวั เราะ)
89
People
“ทัง้ ราก ใบ หรือผลของตน้ ไมท้ เี่ ราปลกู สามารถนำ� ไปกนิ
หรือไปแปรรูปไดห้ มด นี่แหละสมบัติท่เี รามีกินไมม่ วี ันหมด”
90
People
สมบูรณ์ เรืองงาม
สวนนนดา
นอกจากผกั และผลไมท้ ไ่ี ดโ้ ดยตรงจากสวน สามพี ี่ (สทุ ศั น์ เรอื ง
งาม) ปลกู มอ่ นเอาลกู มอ่ นไปขาย และไปหมกั ทำ� ไวน์ สว่ นพี่สนใจ
เร่ืองการท�ำสบู่ เพราะมีโอกาสได้เรียนรู้จากครูหลายคน (พ่ี
สมบรู ณเ์ คยเป็ นขา้ ราชการประจำ� สำ� นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
พะเยา - ผ้เู รยี บเรยี ง) รวมถึงเรยี นจากในอินเทอร์เน็ต ก็เลย
ทดลองใช้สมนุ ไพรในสวนอย่างอบเชย ใบเตย ฟั กขา้ ว หรอื ใบ
ย่านางมาท�ำเป็ นสบู่สมุนไพร หรือผลไม้รสเปร้ียวอย่างมะนาว
หรือมะม่วงหิมพานต์ ก็น�ำมาหมักท�ำน้�ำยาล้างจานได้ และ
ทั้งหมดท้ังมวล วัตถุดิบเหล่านี้เรายังไปประกอบอาหารเป็ น
กบั ข้าวรบั แขกท่ีมาในสวนได้
กท็ ำ� ขายคณุ ครู เพื่อนๆ หรอื คนรูจ้ กั กอ่ นคะ่ หลงั ๆ กม็ คี นมาซอ้ื
ถงึ ในสวน จนทางมหาวทิ ยาลยั พะเยาทำ� โครงการเมอื งแหง่ การ
เรยี นรู้ เขาก็มาชวนพ่ีเข้ารว่ มโครงการ เปิ ดเป็ นพ้ืนทกี่ ารเรยี น
รูข้ องเมืองได้
“พ่ี กับสามีเริ่มท�ำสวนนนดาปี 2548 เนื่องจากเราเป็ น พ่ีเป็ นวทิ ยากรสอนทำ� สบสู่ มนุ ไพรและน้ำ� ยาลา้ งจานใหโ้ ครงการ
เปิ ดสอนตั้งแต่ตอนยังไม่ออกจากราชการเลยนะ จึงสอนได้
ข้าราชการท้ังคู่ ก็เลยจะมีเวลาท�ำสวนแห่งนี้เฉพาะวันเสาร์ เฉพาะวันเสาร์และอาทิตย์ ทางโครงการก็เปิ ดรับสมัครคนมา
อาทิตย์ จงึ เรียกกนั เล่นๆ ว่าสวนวันหยดุ ท�ำไปไดส้ ักพัก สามี เรยี น มีตัง้ แต่ นักศึกษามหาวิทยาลัย คนวัยทำ� งาน ไปจนถงึ วัย
พ่ีตัดสินใจลาออกจากราชการมาท�ำสวนเต็มตัว ส่วนพ่ีเพิ่ง เกษียณ
ออกมาเม่อื เดอื นเมษายน 2565 นเี้ อง
รูส้ ึกว่าสิ่งน้เี ตมิ เตม็ ชวี ิตนะ เพราะแมเ้ ราจะทำ� งานในส�ำนักงาน
เราทำ� เกษตรปลอดสารและสวนสมุนไพร เพราะเหน็ ว่าสองสิ่ง ดา้ นการศกึ ษา แตก่ ไ็ มไ่ ดส้ อนใครมากอ่ น ทส่ี �ำคญั คอื สอนในสิง่
นคี้ ือขมุ สมบัติดีๆ นเี่ อง ไมไ่ ดห้ มายถงึ ว่าสวนนเ้ี ป็ นแหลง่ ธุรกจิ ท่ผี ู้เรยี นสามารถเอาไปต่อดยอดเป็ นอาชพี เลี้ยงปากเล้ยี งท้อง
จรงิ จงั อะไร แต่ทั้งราก ทง้ั ใบ หรอื ผลของตน้ ไม้ที่เราปลูก เรา ไดอ้ ีก รวมถงึ ท�ำใหค้ นอื่นๆ ได้ทราบว่าผลหมากรากไม้ใกลต้ ัวท่ี
สามารถน�ำไปกนิ หรอื ไปแปรรูปเป็ นอยา่ งอื่นไดห้ มด จงึ มองว่า หลายคนมองขา้ ม มปี ระโยชนม์ ากกวา่ ทเ่ี ราคนุ้ เคยอกี เยอะ อยา่ ง
น่ีแหละสมบตั ิทีเ่ รามีกินไมม่ วี ันหมด ทบี่ อกว่าถา้ เรามที ด่ี นิ ใหเ้ วลากบั มนั ฟูมฟั ก ทำ� เกษตรปลอดสาร
เคมี และเรยี นรูไ้ ปกบั มนั ท่ีดินที่เรามีก็จะกลายเป็ นสมบัติใหเ้ รา
มีกินได้ไมร่ ูจ้ กั หมด”
https://www.facebook.com/suannonnada/
91
People
สุนทรีย์ มหาวงศ์ “พี่ เริ่มรวมกลุ่มก่อนโควิดมาหลายปี แล้ว ตอนน้ันทางเทศบาล
กลมุ่ กระเป๋ าผ้าดน้ มอื วัดเมืองชุม เมอื งพะเยาเขา้ มาสง่ เสรมิ อาชพี ใหก้ บั แมบ่ า้ นและคนวยั เกษียณท่ี
อยบู่ า้ นเฉยๆ ในชมุ ชน กร็ วมกลมุ่ กนั ไดส้ ามสบิ กวา่ คนมาคยุ กนั วา่
92 อยากท�ำอะไร แล้วสรุปได้ว่าเป็ นงานกระเป๋ าที่ท�ำจากผ้า พวก
กระเป๋ าเป้ กระเป๋ าสะพาย และกระเป๋ าสตางค์ รวมถงึ งานผ้าอื่นๆ
เพราะทกุ คนสามารถทำ� เองไดจ้ ากท่ีบา้ น
ชว่ งแรกๆ กไ็ ดเ้ ทศบาลน่แี หละทหี่ าตลาดให้ เพราะเขาจะมเี ทศกาล
หรือพวกงานออกร้านสินค้าจากชุมชนอยู่บ่อยๆ หรือเวลา
ข้าราชการจากองคก์ รไหนท่านเกษียณ เขากอ็ อรเ์ ดอรใ์ หท้ างกลมุ่
ทำ� กระเป๋ าเป็ นของทรี่ ะลกึ ซงึ่ กส็ รา้ งรายไดใ้ หท้ างกลมุ่ ใหท้ กุ คนพอ
อยไู่ ด้ แตพ่ อโควดิ เขา้ มา งานจดั ไมไ่ ด้ เรากข็ ายกระเป๋ ากนั ไมไ่ ด้ ทาง
กลุม่ แมบ่ ้านก็เลยหยุดไปพักหนงึ่
People
จนมกี ระเป๋ าผา้ ทรงปลานีแ่ หละ
พอจะอวดได้ว่าเป็ นของทรี่ ะลกึ
หรือของฝากจากเมอื งพะเยา
มาจน อาจารย์เอ (รศ.ดร.ผณินทรา ธีรานนท์) ท�ำโครงการ
เมอื งแหง่ การเรยี นรู้ และชวนพี่และทางกลุม่ เขา้ รว่ ม โดยใหพ้ ่ี
และเพื่อนๆ ในกลมุ่ ไปสอนเด็กๆ และผู้สูงอายใุ นชุมชนอ่ืนเยบ็
กระเป๋ า ตอนแรกเรากแ็ ปลกใจนะ เพราะโควิดก�ำลังมา ล�ำพัง
ท่ีเราขายอยู่ก็ขายไม่ค่อยได้แล้ว แล้วจะท�ำการเรียนการสอน
ในชว่ งนัน้ ท�ำไมอีก
แต่ต่อมาก็พบว่าเขาไม่ใชแ่ ค่ใหเ้ ราไปสอนคนอื่นอยา่ งเดียว
ทางโครงการหาคนมาสอนเราด้วย ก็จัดการเรียนเป็ นกลุ่ม
เล็กๆ มีการเว้นระยะ วิทยากรที่มาสอนเราก็เหมือนมาเติมใน
ส่ิงที่ขาด เช่นพวกดีไซน์ใหม่ๆ การเลือกใช้เศษผ้าท่ีเหลือจาก
โรงงานตัดผ้ามาสร้างสรรค์เป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ไปจนถึงวิธี
การขายทางออนไลน์ ซ่ึงกล่มุ เราอยากจะท�ำมาตลอด แตไ่ ม่รู้
จะทำ� ยงั ไง
กเ็ ลยเหมอื นเป็ นการแลกเปลย่ี นทไ่ี ดป้ ระโยชนก์ นั หมด เราแบง่
ปั นทักษะทางการท�ำกระเป๋ าให้คนอ่ืนๆ ท่ีอยากเรียนรู้ ทาง
โครงการกแ็ บ่งปั นวิธีการท�ำใหก้ ระเป๋ าที่เราทำ� อยูแ่ ลว้ มีความ
น่าซ้อื ต้นทุนถูกลง และขายได้มากขึ้น
ทพี่ ่ีชอบทสี่ ดุ คอื ทางโครงการรว่ มกบั กลมุ่ เราออกแบบกระเป๋ า
รูปแบบใหม่ เป็ นกระเป๋ าทรงปลาทส่ี ะทอ้ นความเป็ นกวา๊ นพะเยา
เราก็ขายกระเป๋ ามานานแล้วนะ แต่ก็ต้องยอมรับว่าที่ผ่านมา
แบบกระเป๋ าทเี่ ราขายกเ็ หมอื นๆ คนอน่ื จนมกี ระเป๋ าผา้ ทรงปลา
นแ่ี หละ พอจะอวดไดว้ ่าเป็ นของทร่ี ะลกึ หรอื ของฝากจากเมอื ง
พะเยา” (ยม้ิ )
Facebook: กระเป๋ าดน้ มอื วัดเมอื งชุม
93
People
ยุพิน ดา่ นพิทกั ษ์ และอาคม ดา่ นพิทักษ์
เกษตรกรอินทรีย์
เจา้ ของผลติ ภณั ฑข์ ้าวอินทรีย์ ‘ผ่อโต้ง’
“ในฐานะที่พ่ีเคยเป็ นพยาบาล ก็คิดว่าหนึ่งใน เราตงั้ ชอ่ื สวนว่า ‘ผอ่ โตง้ ’ ซง่ึ เป็ นคำ� เมอื ง แปลว่า
ดสู วน คดิ อยา่ งตรงไปตรงมาว่าเราอยากทำ� การ
ผลส�ำเร็จของอาชพี เราก็คอื การไดเ้ หน็ ผคู้ นมี เกษตรท่ีพิถีพิถันตั้งแต่ต้นจนถึงปลายน้�ำ การ
สุขภาพท่ีดี แล้วสุขภาพท่ีดีเริ่มจากอะไร ก็เริ่ม หมนั่ ไปดสู วนของเราเองนแี่ หละคอื หวั ใจหลกั เรา
จากอาหารการกนิ ทีม่ ปี ระโยชน์และไมท่ ำ� ใหเ้ รา เร่ิมจากปลูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์พันธุ์ 105 ซ่ึง
ป่ วย ความคิดเร่ืองการทำ� เกษตรอินทรีย์จงึ เกดิ เป็ นสายพันธุ์ทท่ี กุ คนตา่ งเหน็ ตรงกนั ว่าถา้ มาจาก
ขนึ้ ตั้งแต่กอ่ นท่พี ่ีจะเออร์ล่ีรีไทร์ ดนิ ในอ�ำเภอดอกคำ� ใต้นจ่ี ะหอมและอรอ่ ยทสี่ ุด
แฟนพ่ี เป็ นคนพะเยา เขาเป็ นวิศวกรในบริษัท นอกจากข้าว เราก็มีมะพรา้ วน้�ำหอม มะม่วงเบา
รถยนต์ ก่อนท่ีจะเกษียณออกมา เราใช้เงินเก็บ มะม่วงโชคอนันต์ ฝรั่ง มะยงชิด มัลเบอร์รี่ แต่
ส่วนหนึ่งซื้อท่ีดินที่อ�ำเภอดอกค�ำใต้ไว้ เราท้ังคู่ก็ พวกนสี้ ว่ นใหญป่ ลกู แลว้ แจกเพื่อนๆ เราขายขา้ ว
กลบั มาดอกคำ� ใต้ เรมิ่ สิ่งท่ีตั้งใจไว้ตง้ั แตป่ ี 2559 เป็ นหลัก
94
People
เราขายไม่แพงเลยค่ะ เพราะอยากท�ำให้ทุกคนเข้าถึงผลผลิตอินทรีย์ได้ พ่ีอยู่
กรุงเทพฯ มาก่อน ประจกั ษ์ในเรอ่ื งนดี้ ี พืชผกั ออรแ์ กนิกทน่ี ัน่ มีราคาทีค่ ่อนข้าง
สูง คนหาเช้ากนิ ค่�ำเขาจงึ ไม่คิดจะซือ้ จงึ คดิ ว่าไหนๆ เราก็ท�ำกันเองแล้ว ตน้ ทนุ
เรอ่ื งแรงงานกล็ ดไป ป๋ ยุ หมกั ก็ท�ำกันเอง
อีกอยา่ งคอื เราไมไ่ ดม้ องว่านเี่ ป็ นธุรกิจ เราท�ำใหเ้ ราพออยู่ได้ เพ่ือนๆ พ่ีๆ นอ้ งๆ
ได้กินข้าวที่ดีและปลอดภัย ขณะเดียวกันก็อยากส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาท�ำ
เหมอื นเราดว้ ย เพราะไดป้ ระโยชนท์ งั้ ขนึ้ ทง้ั ลอ่ ง เราไมม่ หี นา้ รา้ น ออนไลนก์ ไ็ มข่ าย
(หวั เราะ) คือใชล้ กู ๆ หลานๆ รบั ไปขายให้ หรอื บางทีมผี ้ปู ระกอบการมาซ้ือไปแปะ
แบรนด์ของเขาเองขาย เรากย็ นิ ดี
สวนผอ่ โตง้ เป็ นหนง่ึ ในพื้นทเี่ รยี นรูข้ องโครงการพะเยาเมอื งแหง่ การเรยี นรูใ้ นเฟส
ท่ีสามน้ีด้วยค่ะ ก่อนหน้านี้ทางโครงการก็มาช่วยเราในการพัฒนาแบรนด์ มา
ออกแบบโลโกใ้ หด้ ดู เี ลย รวมถงึ หาชอ่ งทางการจดั จำ� หนา่ ยเพิ่มเตมิ พอโครงการ
ขนึ้ เฟสใหม่ ความทเี่ ราอยากสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การทำ� เกษตรอนิ ทรยี อ์ ยแู่ ลว้ จงึ ยนิ ดี
เปิ ดพ้ืนทีใ่ หค้ นท่ีสนใจมาเรยี นรูอ้ ย่างเตม็ ที่
ผ่อโตง้ เป็ นค�ำเมือง เราออกแบบกจิ กรรมไวว้ า่ จะใหผ้ เู้ รยี น
แปลว่าดสู วน มาผ่อโต้งกบั เราตง้ั แตต่ น้ น้�ำถึงปลาย
เราอยากทำ� การเกษตร น้�ำเลยค่ะ มาดูว่าถ้าจะเร่ิมท�ำอินทรีย์
ที่พิถพี ิถันต้ังแต่ต้นน้�ำ ตอ้ งท�ำอะไรบ้าง เรยี นรูว้ ิธีท�ำป๋ ยุ หมกั
จนถึงปลายน้ำ� การหมั่น จุลนิ ทรยี จ์ ากหน่อกล้วยและเศษใบไม้
ไปดูสวนด้วยตวั เราเอง การปลกู ขา้ ว เกบ็ เกย่ี ว และแปรรูป ไป
นแี่ หละคอื หวั ใจหลกั จนถงึ การตงั้ ราคาขาย คอื มาเรยี นกบั
เรา ก็กลบั บา้ นไปท�ำกับทข่ี องคณุ หรอื
ไปประยกุ ตใ์ ช้ หรอื สอนคนอื่นได้เลย
พ่ี ไม่ได้มองภาพฝั นไกลๆ ไว้เลยนะ
เพราะสิ่งท่ีเราท�ำอยู่ทุกวันน้มี ันตอบ
โจทยก์ ับชีวิตและความต้องการของ
เราสองคนอยแู่ ลว้ ถา้ รากฐานตรงนด้ี ี
สังคมเราก็จะดี สิ่งแวดล้อมก็ดี แล้ว
ทุกอย่างก็จะขบั เคลือ่ นไปในทศิ ทางที่
ดขี องมนั เอง”
95
People
กว๊านพะเยาส�ำหรับผมจงึ เป็ นทั้งแหล่งทำ� มาหากิน
แหลง่ อาหารประทังชีวิต แหลง่ พักผ่อน
และเป็ นสถานทศ่ี ักดิ์สิทธิ์ไว้ยดึ เหนยี่ วจติ ใจ
96
People
สุทศั น์ ปทุมวงศ์
คนรับจา้ งพายเรือในกว๊านพะเยา
“นกั ทอ่ งเทีย่ วมกั ถามผมว่าทำ� ไมจงึ มบี ่อน้�ำผุดขึ้น จนมาปี 2550 นี่แหละที่มีการคน้ พบศิลาจารกึ ทร่ี ะบวุ ่า
วดั นส้ี รา้ งขนึ้ สมยั พระเจา้ ตโิ ลกราช ซง่ึ กร็ าว 500 ปี แลว้
มาในกว๊าน กใ็ นเมอ่ื ตรงนเี้ ป็ นแหลง่ น้ำ� ทำ� ไมยงั มบี อ่ น้ำ� ทา่ นธนเษก อัศวานวุ ัตร ผวู้ ่าราชการจงั หวัดพะเยาสมยั
อยู่ (หวั เราะ) คอื กระทั่งคนพะเยาเองบางคนก็อาจลืม นั้นกม็ ีความคดิ ในการบรู ณะวัดรา้ งกลางกว๊านแหง่ น้ี
ไปแลว้ ว่าเมอื่ 80 กว่าปี กอ่ น พื้นทีก่ ว๊านตรงนท้ี ั้งหมด โดยอัญเชิญพระพุ ทธรูปที่ขุดพบเม่ือ 24 ปี ท่ีแล้วมา
เคยเป็ นหมู่บ้าน คนท่ีอยู่ทันเห็นสภาพเดิมส่วนใหญ่ก็ ประดิษฐาน พระพุทธรูปได้รับการต้ังช่ือว่า ‘หลวงพ่อ
เสียชีวิตไปหมดแล้ว บ่อน้�ำตรงน้ันจึงเป็ นอนุสรณ์ให้ ศิลา’ โดยวัดเกาะกลางแห่งนี้ถูกเรียกว่า ‘วัดติโลก
เรายงั จำ� ได้อยวู่ ่าเม่ือก่อนตรงน้เี คยเป็ นอะไร อาราม’
ผมเป็ นคนต�ำบลบ้านตุ่น ตรงท่าเรือโบราณบ้านทุ่งกิ่ว ตั้งแต่น้ันใครมาเยือนพะเยา ก็มักจะน่งั เรือมานมัสการ
เมอื่ ก่อนพ่อผมเป็ นทหารรบั ใชจ้ อมพล ผิน ชณุ หะวัน ที่ หลวงพ่อบนเกาะนี้ ซ่ึงผมก็ได้งานเป็ นคนขับเรือข้าม
กรุงเทพฯ แกย้ายมาอยู่พะเยาช่วงสงครามโลก สมัย ฟากไปด้วย ช่วงไหนไม่มีงานก็ไปรับจา้ ง และก็ท�ำงาน
นนั้ พะเยายงั มถี นนไมท่ ว่ั ถงึ การจะเดินทางไปโรงเรยี น เป็ นผ้ชู ว่ ยผูใ้ หญบ่ ้านไปพรอ้ มกนั
ซง่ึ อย่ใู นเขตตวั เมือง คอื ตอ้ งน่งั เรอื ข้ามกว๊านไป ผมจำ�
ได้ว่าค่าเรือรอบหน่ึงแค่ 50 สตางค์ ราคาเท่ากับ ต้องชื่นชมวิสัยทัศน์ของท่านธนเษก ท่ีท�ำให้วัดแห่งน้ี
ขา้ วสารหนงึ่ กโิ ลกรมั สมยั กอ่ นคนเรอื หาเงนิ ไดว้ นั ละ 10 กลายเป็ นหนึ่งในสัญลักษณ์ประจ�ำเมืองพะเยา โดยมี
บาทนก่ี ็ดใี จกันมากแลว้ การจดั ประเพณีเวียนเทียนรอบกว๊านในทุกวันมาฆบูชา
วิสาขาบชู า และอาสาฬหบชู า ปี ละสามครงั้ ทน่ี นี่ า่ จะเป็ น
พ่อผมเสียชีวิตต้ังแต่ผมยังเด็ก สมัยน้ัน พลเอก ชาติ แหง่ เดยี วในประเทศดว้ ยนะครบั ทม่ี กี ารเวียนเทยี นดว้ ย
ชาย ชณุ หะวัน เป็ นนายกรฐั มนตรี ทา่ นยงั สง่ เงนิ มาชว่ ย เรอื รอบเกาะ แลว้ พอจดั ชว่ งเยน็ ทพ่ี ระอาทติ ยค์ อ่ ยๆ ตก
งานศพพ่อ พอไม่มีพ่อ ผมกเ็ ลยท�ำงานรบั จา้ งช่วยแม่ จนมืดแล้วเหน็ แสงเทียนรอบวัด ภาพกว๊านพะเยายาม
มาต้ังแต่เด็ก หาปลาในกว๊านบ้าง ไปท�ำสวนบ้าง แล้ว เย็นสวยงามอยูแ่ ล้ว พอไดแ้ สงเทียนกลางน้�ำก็งดงาม
แตช่ ว่ ง จนมกี ารขดุ พบวดั ตโิ ลกอารามนแี่ หละ จงึ ไดง้ าน เข้าไปใหญ่
ขับเรอื พานกั ท่องเที่ยวไปไหว้พระ
เรอื่ งเรม่ิ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2526 เกาะทเ่ี ป็ นทตี่ ง้ั ของวดั ตอน กว๊านพะเยาส�ำหรับจงึ เป็ นทั้งแหล่งท�ำมาหากิน แหล่ง
น้ี เมอ่ื กอ่ นเป็ นเกาะเลก็ ๆ มตี น้ ไมใ้ หญต่ ง้ั อยู่ วันหนงึ่ เกดิ อาหารประทังชีวิต แหล่งพั กผ่อน และเป็ นสถานท่ี
พายแุ ละตน้ ไมห้ กั ชาวบา้ นกท็ ราบอยบู่ า้ งว่าแถวนน้ั เคย ศักดิส์ ิทธ์ิไว้ยดึ เหนย่ี วจติ ใจ”
เป็ นวัด กเ็ ลยพากันไปขุดหาพระยอดขนุ พล ซงึ่ เดยี๋ วน้ี
เชา่ กนั เป็ นแสนเลยนะครบั ขดุ ๆ กนั ไป กม็ าพบพระพุทธ
รูปปางมารวิชยั อย่ใู ตร้ ากต้นไมล้ กึ ลงไปกว่าสองเมตร
ทางจงั หวัดกเ็ ลยอัญเชญิ พระพุทธรูปไปแหร่ อบเมอื ง 7
วัน 7 คนื กอ่ นจะประดษิ ฐานท่ีวัดศรอี ุโมงคค์ �ำ
97
People
ถึงผมภมู ิใจทไ่ี ด้ริเริ่ม “ในฐานะอาจารยส์ อนศิลปะและการออกแบบทีม่ หาวิทยาลัยพะเยา
โครงการหลายอย่างขึ้นมา
แต่เอาจริงๆ ผมไมไ่ ดด้ ใี จที่ ผมพยายามสื่อสารกับทางมหาวิทยาลยั มาตลอดว่าเราควรมหี อศิลป์
ทกุ วันน้ี PYE Space ยงั คง ไวแ้ สดงงานนกั ศกึ ษานะ เพราะเรามคี ณะทางศลิ ปะ แตไ่ มม่ ที แี่ สดงงาน
เป็ นพื้นที่ศิลปะแหง่ เดยี วของ ให้พวกเขา มันก็ไม่ใช่ หลังจากขับเคลื่อนเรื่องนี้อยู่พักหน่ึง แต่ด้วย
เมอื งอย่นู ะ ปั จจยั อะไรสักอยา่ งหอศิลป์ จงึ เกดิ ไม่ไดเ้ สียที ผมจงึ ตดั สินใจลงมือทำ�
ดว้ ยเงนิ ทุนตวั เอง
จะบอกว่าเป็ นหอศิลป์ ก็ไม่ถูกหรอก เป็ นพื้นที่ศิลปะเสียมากกว่า ผมก่อ
ตั้ง ‘อย่าเห็นแก่ตัวสถาน’ ข้ึนจากการรีโนเวทบ้านไม้ให้เช่าในตัวเมือง
พะเยา ชั้นบนเป็ นแกลเลอรี่แสดงงาน ส่วนชั้นล่างเป็ นบาร์ขายเหล้า
สาเหตทุ ีเ่ ลอื กในตวั เมอื ง เพราะตอนน้นั พะเยายังไมม่ อี ารท์ สเปซ และก็
อยากให้นักศึกษาเข้ามามีปฏิสัมพันธ์ในเมืองด้วย ไม่ใช่แค่แสดงงาน
นักศึกษาอย่างเดียว อาจารย์ก็แสดงด้วย ศิลปิ นที่อ่ืนอยากมาแสดงก็
มาได้ จะจดั เสวนา เวิรค์ ชอ็ ป และปารต์ ผ้ี มเปิ ดเตม็ ที่ ใหม้ นั เป็ นพ้ืนทก่ี งึ่ ๆ
สาธารณะของเมอื งไปพรอ้ มกนั แตเ่ ปิ ดไดป้ ี กว่า เจา้ ของตกึ เขาขอคนื ก็
เลยตอ้ งคืนเขาไป
100