The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และผลลัพธ์จากการขับเคลื่อนพะเยาเมืองแห่งการเรียนรู้ ผ่านโครงการการพัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการเมืองแห่งการเรียนรู้บนพื้นที่เมืองพะเยาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของแรงงานนอกระบบบนพื้นฐาน BCG โมเดล โดย รศ. ดร. ผณินทรา ธีรานนท์ หัวหน้าโครงการวิจัย คณะวิจัย หน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และพลเมืองพะเยา

จัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะเพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WeCitizens, 2022-11-28 19:42:02

WeCitizens : เสียงพะเยา

หนังสือรวบรวมความคิด ประสบการณ์ และผลลัพธ์จากการขับเคลื่อนพะเยาเมืองแห่งการเรียนรู้ ผ่านโครงการการพัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการเมืองแห่งการเรียนรู้บนพื้นที่เมืองพะเยาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของแรงงานนอกระบบบนพื้นฐาน BCG โมเดล โดย รศ. ดร. ผณินทรา ธีรานนท์ หัวหน้าโครงการวิจัย คณะวิจัย หน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และพลเมืองพะเยา

จัดทำโดย โครงการการขับเคลื่อนผลงานวิจัยผ่านการสื่อสารสาธารณะเพื่อพัฒนาเมืองแห่งการเรียนรู้ (WeCitizens)

People

ความท่ีเราเรมิ่ ไว้แลว้ ผมจงึ คิดว่ายงั ไงกต็ อ้ งทำ� ตอ่ หลงั จากเว้นวรรค ปวินท์ ระมิงคว์ งศ์
ไปหลายปี ก็ได้อาคารที่อยู่ตรงข้ามโรงหนังเก่ามาท�ำ ผมตั้งชื่อใหม่ว่า
PYE Space มีรูปแบบคล้ายๆ เดมิ แต่รอบนมี้ ีพื้นที่ใหญข่ นึ้ ก็เลยไดท้ �ำ อาจารยป์ ระจำ� คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์
ห้องฉายหนัง และจดั กิจกรรมได้หลากหลาย โดยช้นั บนเรายังเปิ ดเป็ น และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
art residency ชวนนักศึกษาหรือศิลปิ นรุ่นใหม่ที่เห็นแววมาพ�ำนักกับ และผกู้ ่อต้งั PYE Space
เรา และใหพ้ ื้นทีเ่ ขาไดค้ ิด ไดท้ �ำงาน
101
หลงั ทำ� PYE Space มาได้ 2 ปี กว่า ความทพ่ี ื้นทีข่ องผมตง้ั อยู่ตรงข้าม
โรงภาพยนตรเ์ กา่ ของเมอื งทชี่ อื่ พะเยารามา ซงึ่ มนั ถกู ทงิ้ รา้ งไว้หลายปี
และมขี า่ วว่าโรงหนงั เกา่ แกค่ เู่ มอื งแหง่ นก้ี ำ� ลงั จะถกู รอ้ื และรโี นเวทไปทำ�
อย่างอื่น กเ็ ลยคดิ ว่าเราน่าจะเลน่ อะไรกับพื้นท่เี พ่ือเป็ นการบอกลา จงึ
ท�ำ proposal ไปเสนอเจา้ ของพ้ืนทีก่ ับเทศบาลว่าจะท�ำอีเวนทฉ์ ายหนงั
กับเทศกาลศิลปะตรงนั้นนะ ซึ่งทางเจ้าของเขาไม่ติด และทางนายก
เทศมนตรใี นตอนนัน้ กเ็ หน็ ดว้ ย กเ็ ลยระดมทนุ ช่วยกันปรบั ปรุงพ้ืนที่

โปรเจกต์ ‘พะเยารามา 2516-2564’ (จดั ขน้ึ ในเดอื นมกราคม 2564) ได้
รับเสียงตอบรับท่ีดีมาก เพราะพ้ืนท่ีมันเช่ือมโยงกับความทรงจำ� ของ
คนในเมือง ขณะเดียวกันเมืองเราก็ไม่เคยมีกิจกรรมสร้างสรรค์แบบนี้
มากอ่ น ซง่ึ ยงั เปิ ดมมุ มองใหค้ นในเมอื งเหน็ ว่าเราสามารถเอาพื้นทท่ี ถ่ี กู
มองขา้ มอยา่ งนมี้ าจดั กจิ กรรมได้ หลงั จากนน้ั เฮยี หมู (คงศกั ดิ์ ธนานศิ ร)
เจา้ ของโรงหนงั เมอื งทองรามา โรงหนงั แบบสแตนดอ์ โลนคเู่ มอื งอกี แหง่
ก็ชวนใหผ้ มใช้พ้ืนท่ีเขาท�ำกิจกรรม ก็เลยได้เทศกาลฉายหนังและแสดง
งานนกั ศึกษาเพิ่มอีกแหง่

ในปี น้ันเองส�ำนักส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (CEA) ก็ยังให้ทุน
สนับสนุนมาท�ำงานกับพ้ืนที่ในเมืองต่อ จึงเกิดงาน Phayao Art &
Creative Festival (วนั ท่ี 7 สงิ หาคม – 3 ตลุ าคม 2564) ครง้ั แรกขนึ้ มา
โดยคราวน้ี ผมได้ใช้พ้ื นที่ชั้นสองของตลาดอาเขต ตลาดสดเก่าแก่
กลางเมืองทบ่ี รเิ วณชั้นสองถูกทง้ิ รา้ งไว้ และจนทุกวันน้ี ทางตลาดเขา
กใ็ หพ้ ้ืนทผี่ มจดั แสดงงานศลิ ปะตอ่ เนอื่ ง กเ็ ลยกลายเป็ นหอศลิ ป์ อยา่ งไม่
เป็ นทางการของนกั ศึกษาไปโดยปรยิ าย

นบั ตงั้ แตเ่ รมิ่ อยา่ เหน็ แกต่ วั สถานมาจนถงึ ทกุ วนั นก้ี เ็ กนิ 10 ปี แลว้ ถงึ ผม
ภมู ใิ จทไี่ ดร้ เิ รม่ิ โครงการหลาย อยา่ งขน้ึ มา แตเ่ อาจรงิ ๆ ผมไมไ่ ดด้ ใี จทท่ี กุ
วนั น้ี PYE Space ยงั คงเป็ นพ้ืนทศ่ี ลิ ปะแหง่ เดยี วของเมอื งอยนู่ ะ พะเยา
ควรมพี ื้นทสี่ รา้ งสรรคม์ ากกวา่ นคี้ รบั จรงิ อยแู่ มจ้ ะเหน็ ความหวงั จากคน
รุน่ ใหมท่ ก่ี ลบั มาทำ� กจิ กรรมทขี่ บั เคลอื่ นความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นเมอื งอยู่
แตเ่ ราตอ้ งอาศยั แรงขบั เคลอ่ื นมากกวา่ นจ้ี ากผใู้ หญแ่ ละหนว่ ยงานตา่ งๆ

ทกุ วันนี้พะเยาน่าอยูแ่ ละมีเสนห่ ใ์ นตัวเองอย่แู ลว้ แตถ่ า้ คุณนำ� ความคดิ
สรา้ งสรรคม์ าช่วยพัฒนาเมอื ง ผมว่าพะเยาจะสรา้ งโอกาสใหน้ กั ศึกษา
และผคู้ นในเมืองมากกว่าน้ีอีกเยอะครบั ”









พะเยา

ขน้ึ สู่มาตรฐานระดบั โลก

นาทนี อี้ าจกลา่ วไดว้ า่ คนทอ่ี ยพู่ ะเยาและไดร้ บั ทราบขา่ วดนี ี้ คงยมิ้ กนั อยา่ งมี
ความสขุ สง่ ทา้ ยปี เมอื่ UNESCO ประกาศรบั รองเมอื งพะเยาใหเ้ ป็ นเมอื งแหง่

การเรียนรู้ตลอดชีวิต อยา่ งเป็ นทางการเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2565

เบ้ืองหลังความสำ�เร็จคร้ังนี้มาจากความร่วมไม้ร่วมมือจากหลากหลายผู้คน
และเครือข่าย ตงั้ แต่มหาวิทยาลยั พะเยา องค์การบริหารส่วนจงั หวัดพะเยา
เทศบาลเมืองพะเยา และชมุ ชนพะเยา ช่วยกบั ขบั เคลือ่ นใหพ้ ะเยาเป็ นเมือง
แหง่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Phayao Learning City) บนฐานของภมู ปิ ั ญญา
ท้องถิ่น เพื่อสร้างรายได้ สร้างความสุขใหค้ นพะเยาอยา่ งยง่ั ยนื ซ่งึ ตรงตาม
หลกั เกณฑ์ขององคก์ ารยูเนสโก ซง่ึ หน่วยงานสำ�คญั ทส่ี ุดทจี่ ะไม่กล่าวถึงในที่
นม้ี ไิ ด้ เพราะมองเหน็ ศกั ยภาพของเมอื งพะเยาและใหก้ ารสนบั สนนุ มาตงั้ แตต่ น้

คอื ...หนว่ ยบริหารและจดั การทุนดา้ นการพัฒนาระดับพ้ืนท่ี (บพท.)

ขอแสดงความยินดกี ับจงั หวัดพะเยาดว้ ยครับ

November, 2022

หน่วยบริหารและจดั การทุนด้านการพัฒนาระดบั พื้นที่ (บพท.)
สำ�นักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา

วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรมแหง่ ชาติ (สอวช.)

ทป่ี รึกษา และผทู้ รงคณุ วุฒิ กรอบการวิจยั
“การพัฒนาเมืองแหง่ การเรียนรู้ (Learning City)”

รศ.ดร.ป่ นุ เท่ยี งบรู ณธรรม
รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ

ดร.สมคดิ แกว้ ทิพย์
รศ.ดร.ฉวีวรรณ เด่นไพบลู ย์

106

ผลติ โดย
โครงการการขบั เคลื่อนผลงานวิจยั ผ่านการส่ือสารสาธารณะ

เพื่อพัฒนาเมืองแหง่ การเรยี นรู้ (WeCitizens)

สนับสนุนโดย
หน่วยบรหิ ารและจดั การทนุ ดา้ นการพัฒนาระดับพื้นท่ี (บพท.)

และสมาคมเพื่อออกแบบและส่งเสรมิ การมพี ื้นทีส่ าธารณะ
และพ้ืนทส่ี ีเขยี ว Greening Up Public Space

หวั หนา้ โครงการ
สามารถ สุวรรณรตั น์

บรรณาธิการ
นพดล พงษ์สุขถาวร

เร่ืองเล่าจากผู้คน (เสียงพะเยา)
นพดล พงษ์สุขถาวร
จริ ฎั ฐ์ ประเสรฐิ ทรพั ย์
ปิ ยะลักษณ์ นาคะโยธิน
ธิตินัดดา จนิ าจนั ทร์
สามารถ สุวรรณรตั น์

ออกแบบปก/รูปเลม่
ไข่มกุ แสงมอี านภุ าพ

อินโฟกราฟิ กส์
acid studio

ถ่ายภาพ
กรนิ ทร์ มงคลพันธุ์
พรพจน์ นันทจวี รวัฒน์

วิดโี อ
ธรณศิ กรี ติปาล
วัชระพันธ์ ปั ญญา
เอกรนิ ทร์ นนั ปิ นตา

สีน้ำ�
ธเนศ มณีศรี 15.28 studio

ประสานงาน
ลลติ า จติ เมตตาบรสิ ุทธ์ิ

wecitizen2022 wecitizensvoice wecitizens
@gmail.com thailand.com

107

“ไมว่ า่ พะเยาจะเป็ นเมืองแบบไหน เราก็อยากให้ทีน่ ่เี ป็ นเมืองทม่ี ี
เศรษฐกิจที่ดี ผู้คนอยูด่ มี ีสุข การได้ท�ำ โครงการเมอื งแหง่ การเรียนรู้
และมผี ู้รว่ มกจิ กรรมมาบอกเราวา่ พวกเขาขายของไดด้ ขี ้นึ กวา่ แต่ก่อน

แคน่ เ้ี ลย เราภูมใิ จมากแลว้ ปลายทางของเมอื งแหง่ การเรียนรู้
ที่ประสบความสำ�เรจ็ มนั เริ่มตน้ จากส่ิงเลก็ ๆ ตรงนี้”

รองศาสตราจารย์ ดร. ผณินทรา ธรี านนท์
ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยพะเยา


Click to View FlipBook Version