The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นุชอนงค์ คงเทศ, 2019-06-04 02:10:44

หลักพืชกรรม

หลักพืชกรรม

พชื มีความสําคัญตอ่ ชวี ิตประจาํ วนั ของมนษุ ย์โดยก่อให้เกดิ ปจั จยั ส่ี เป็นรากฐานของ
อาชพี อ่ืน ๆ ชว่ ยให้เกดิ โภคทรัพย์ตา่ ง ๆ ท่มี ีความสําคัญตอ่ เศรษฐกจิ ช่วยใหท้ รพั ยากรมคี ่ามาก
ขึ้น ทาํ ใหป้ ระชาชนมงี านทาํ ตลอดปี ช่วยให้เกิดสนั ติสขุ ข้นึ ในครอบครวั การครองชีพดีขน้ึ และ
ทําให้ประชาชนมีพลานามัยสมบรู ณ์ นอกจากนีพ้ ืชยังมีความสาํ คญั ตอ่ เศรษฐกจิ ของประเทศ ทํา
ให้มีการส่งสินคา้ ออกจาํ หน่ายตา่ งประเทศและนาํ เข้าสนิ คา้ จากต่างประเทศซึ่งมีผลทําใหเ้ กิด
รายไดข้ องประเทศและการไหลของเงินออกนอกประเท ศ

พืชมคี วามสาํ คัญตอ่ ชวี ติ ประจําวนั ของมนษุ ย์โดยก่อใหเ้ กิดปัจจยั ส่ี เป็นรากฐานของ
อาชีพ อืน่ ๆ ชว่ ยให้เกิดโภคทรพั ยต์ า่ ง ๆ ท่มี ีความสําคัญต่อเศรษฐกิจ ชว่ ยใหท้ รพั ยาก รมคี ่ามาก
ขึ้น ประชาชนมงี านทาํ ตลอดปี ชว่ ยใหเ้ กดิ สนั ติสุขในครอบครัว การครองชพี ดีขึ้น และทําให้
ประชาชนมพี ลานามยั สมบูรณ์

พืชก่อใหเ้ กดิ ปัจจยั ส่ี

ใชพ้ ชื เปน็ เคร่ืองยังชพี ของมนษุ ย์และทําให้มนษุ ยอ์ ย่ดู ีกินดี
1. ทาให้เกดิ อาหาร เชน่ ขา้ ว ผัก ผลไม้ พชื ไร่ ใช้เป็ นท้งั อาหารหลัก เชน่ ใชผ้ กั ทําส้มตาํ แกงจืด
แกงเลยี ง สลัดผกั หรอื อาจใช้เปน็ ของหวาน เช่น แตงโม มะม่วงแคนตาลบู ใช้บรโิ ภคสด
ฟักทองนําไปเชอ่ื มหรอื ทาํ ขนมหวานได้หลายชนดิ อาจใชเ้ ปน็ เคร่อื งเคียงหรือรับประทานเพ่อื
เรียกนํ้ายอ่ ย เช่น มะเขือเทศ แตงกวา ใช้ทําขนมขบเคยี้ วหลายชนิ ด เช่น มนั ฝรั่งแผน่ อบกรอบ
เมลด็ ถ่ัวลันเตาอบกรอบ เปน็ ตน้

2. ทาให้เกดิ วัตถทุ ใี่ ชท้ าเคร่อื งนุง่ หม่ เช่น ฝา้ ย ป่าน

3. ทาใหเ้ กิดมีไมแ้ ละอปุ กรณใ์ นการกอ่ สรา้ งทอี่ ยู่อาศัย

4. ทาให้เกดิ มียารักษาโรค เชน่ ฝ่ิน ควินนิ สมุนไพรตา่ ง ๆ พืชชว่ ยสรา้ งภมู ิต้านทานโรคให้
ร่างกาย พืชทุกชนิดเป็นแหลง่ ของวติ ามิน เกลอื แรห่ ลายชนดิ ทีจ่ าํ เป็นตอ่ รา่ งกาย ช่วยให้การ
ทาํ งานของร่างกายดาํ เนนิ ไปอย่างปกติ มีภูมติ า้ นทานโรคในยามเจบ็ ป่วย พชื บางชนดิ มี
สารอาหารและวิตามนิ ท่ีช่วยใหฟ้ ้ืนจากความเจบ็ ป่วย ได้เรว็ ทาํ ใหร้ า่ งกาย สามารถทนต่อการ
เปล่ยี นแปลงของสภาพแวดลอ้ มทผ่ี ันแปรได้ พืชหลายชนิดมีคณุ คา่ ทางยา ชว่ ยป้องกันและ
รกั ษาโรคได้ ตัวอยา่ งเช่น การบริโภคมะนาวเป็นประจําจะทําใหร้ ่างกายได้รับวิตามินซีสงู
ผิวพรรณดี มีภูมติ ้านทานโรคหวัดและชว่ ยลดการเส่ียงตอ่ การเป็นมะเร็งของอวยั วะต่าง ๆ
เปลือกของมะนาวยงั มนี า้ํ มันหอมระเหยทมี่ ีฤทธิข์ บั ลม แก้ท้องอืด ทอ้ งเฟ้อได้ วา่ นหางจระเข้ใช้
รักษาแผลไฟไหม้ น้ําร้อนลวก

พืชเปน็ รากฐานของอาชีพอ่นื ๆ

ได้แก่
1. การพาณชิ ย์ คือ การคา้ ขายผลผลติ ทางการเกษตรหรือผลผลติ ทีใ่ ช้ในการเกษตร เชน่ ยาฆ่า
แมลงปุย๋ เมล็ดพนั ธุ์พชื เปน็ ต้น
2. การอุตสาหกรรม เป็นการสร้างวตั ถุดิบในการอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น การทอผ้า การทํายาง
รถยนต์การแปรรูปอาหารตา่ ง ๆ
3. การเภสัชกรรม ไดแ้ ก่ การผลิตยารั กษาโรคต่าง ๆ เช่น ยาควินนิ สมุนไพรต่าง ๆ
4. การหตั ถกรรม ได้แก่ งานช่างฝีมอื ตา่ ง ๆ เชน่ การจักสาน

5. การขนส่ง เกิดการขนส่งผลติ ภณั ฑท์ างการเกษตรตา่ ง ๆ
6. การเล้ียงสัตว์ ใช้พชื เป็นอาหารหลกั ในการเลี้ยงสตั วท์ ั้งอาหารขน้ และอาหารหยาบ
7.การคมนาคม จะเจริญข้ึนเม่ื อองคป์ ระกอบข้างตน้ พรอ้ ม

พชื ช่วยให้เกิดโภคทรพั ยต์ า่ ง ๆ ท่ีมีความสาคญั ต่อเศรษฐกจิ

ถ้ากิจการทางการเกษตรได้ผลดี กจิ การดา้ นตา่ ง ๆ กม็ ักจะดีข้นึ ด้วย แต่ถา้ ผลผลิตทางการเกษตร
ตกตา่ํ กิจการดา้ นต่าง ๆ กจ็ ะซบเซา

พชื ชว่ ยใหท้ รั พยากรมีคา่ ข้นึ

ท่ีดนิ ซ่งึ ปลอ่ ยใหร้ กร้างวา่ งเปล่า เมอื่ มีการเกษตรกรรมเกิดขึ้น ท่รี กรา้ งเหล่าน้ัน กจ็ ะถกู นํามาใช้
ประโยชน์ แหลง่ นา้ํ ต่าง ๆ ตามธรรมชาติก็จะถูกนาํ มาใช้ในการชลประทานเพ่ือการเกษตรได้

พืชช่วยให้ประชาชนมงี านทาตลอดปี

การใช้แรงงานใหม้ ีประโยชนแ์ ละมีค่ายงิ่ ขนึ้

พืชชว่ ยให้เกิดสันติสขุ ขน้ึ ในครอบครวั และก ารครองชีพดขี นึ้

อาชีพเกษตรกรรม นอกจากจะเปน็ อาชพี ทที่ ําใหผ้ ูป้ ระกอบการได้ผลทางเศรษฐกจิ แลว้ ยงั ทาํ
เพอื่ เปน็ การพกั ผอ่ น เปน็ งานอดเิ รก ซ่งึ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเพลดิ เพลินกับธรรมชาติได้เปน็ อยา่ งดี
บุคคลในครอบครัวมคี วามสุขเพราะทุกคนมงี านทํา ไม่เอารัดเอาเปรยี บซง่ึ กันและกนั

พชื ช่วยใหป้ ระชาชนมีพลานามยั สมบรู ณ์

เพราะอาชีพเกษตรกรรมสว่ นมากเปน็ งานกลางแจง้ เรม่ิ ทํางานตง้ั แตเ่ ชา้ ทาํ ใหไ้ ด้รับอากาศสด
ชนื่ มีการออกกําลงั กายโดยการใชแ้ รงงานประกอ บกับการรบั ประทานอาหารสด จงึ ทําใหม้ ี
สขุ ภาพสมบรู ณ์

ประเทศไทยมรี ายไดจ้ ากการสง่ ออกพืชและผลิตภัณฑ์จากพืชไปจาํ หน่ายตา่ งประเทศเปน็
จาํ นวนมาก เชน่ การสง่ ออกข้าว ยางพารา ข้ าวโพด มนั สาํ ปะหลัง ทเุ รยี น กลว้ ยไม้ เปน็ ต้น เปน็
รายไดท้ ี่กระจายไปส่ปู ระชากรส่วนใหญ่ของประเทศ

มพี ืชแลผลิตภณั ฑจ์ ากพืชหลายประเภท ที่ไม่สามารถผลิตได้เพียงพอตอ่ ความต้องการ ตอ้ ง
นาํ เข้าจากตา่ งประเทศ เช่น พืชอาหารบางชนดิ กระดาษและผลิตภณั ฑ์จากกระดาษ ทําให้มีการ
ไหลของเงินตราออกนอกประเทศ

พืชทสี่ ง่ ออกไปจําหน่ายตา่ งประเทศ สว่ นใหญเ่ ปน็ การส่งในรปู วัตถุดิบที่ยงั ไม่มกี ารแปรรูปเป็น
ผลิตภณั ฑ์ แตพ่ ืชนําเขา้ มาจาํ หนา่ ยภายในประเทศ มที ้งั พืชไร่และพชื สวน ส่วนใหญ่สง่ เขา้ มาใน
รปู ของสนิ คา้ สาํ เร็จรปู หรือผลิตภณั ฑ์ เช่น

ช่อื พืช ผลติ ภณั ฑ์ทีน่ าเขา้
1. ยางพารา 1. ยางรถยนต์ เครอ่ื งมือทางการแพทย์

2. ไม้ผลตา่ ง ๆ 2. ผลไม้แปรรูป ไวน์

3. ฝา้ ย 3. เส้นด้าย ผ้าฝา้ ย ผ้าลกู ไม้

4. อ้อย 4. น้ําตาลทราย

5. ข้าวสาลี 5. แปง้ สาลี

ความสาคญั ของพืชเศรษฐกิจ

พืชมีความสําคัญด้านเศรษฐกิจเป็นอยา่ งมาก เพราะมนุษยท์ ัง้ หลายใชพ้ ืชเปน็ เครอ่ื งบริโภค และ
เครื่องอปุ โภค ครอบครวั ใดทีส่ ามารถผลิตพืชไดม้ าก ก็มีอาหารกินและนําไปจาํ หน่าย สรา้ ง
รายไดใ้ หก้ บั ครอบครวั สังคม และประเทศชาติ ในส่วนของเศรษฐกิจระดับประเทศ ประเทศ
ไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มกี ารผลิตพชื มากมายหลายชนิด และส่งเป็นสินคา้ ออกทาํ รายได้
ใหป้ ระเทศเปน็ อนั ดับหนึ่ง ปีใดท่ีมีการสง่ พืชเป็ นสนิ ค้าออกไปขายไดม้ าก ปีนนั้ เศรษฐกิจของ
ประเทศจะดีมาก ดังนั้นพืชจึงมคี วามสาํ คัญอยา่ งย่ิงตอ่ เศรษฐกิจ

พืชเศรษฐกจิ หมายถึง พชื ที่มีความเป็นในการดาํ รงชีวติ ของมนุษยแ์ ละสตั ว์ มีการผลิตและสง่
จําหนา่ ยเปน็ จํานวนมากทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศมีผลต่อเศรษฐกิจของประเทศ พชื
เศรษฐกิจมที ง้ั พืชไร่ และพืชสวน สามารถแบง่ ออกเป็น 2 พวก ไดแ้ ก่

1) พืชส่งออก หมายถึง พชื ทเี่ ราผลิตเป็นจํานวนมากและนาํ ส่งออกไปจาํ หน่ายในตา่ งประเทศ
เป็นผลให้เกดิ การไหลของเงนิ ตราเขา้ ประเทศ พืชทไ่ี ทยสง่ ออก ไดแ้ ก่ ข้าว ขา้ วโพด มัน
สําปะหลงั ยางพารา เป็นตน้

2) พชื นาเข้า หมายถึง พชื ที่เราผลิตไดน้ ้อยหรือผลิตไม่ได้เลย และและต้องส่ังซอื้ จาก
ตา่ งประเทศ เปน็ ผลใหเ้ กดิ การไหลของเงินตราออกนอกประเทศ พืชทไ่ี ทยนําเข้าสว่ นใหญ่อยู่
ในรปู ผลติ ภณั ฑ์ ไดแ้ ก่ แป้งสาลี ผ้าสาํ เรจ็ รปู ยางรถยนต์ เป็นตน้

การร้จู กั ชนิดของพืชและสามารถจาํ แนก พชื เปน็ ประเภทต่าง ๆ ได้ จะทาํ ใหส้ ามารถ
จดั การดูแลรักษาได้สะดวกและถกู ต้อง เนอื่ งจากพชื ประเภทเดยี วกันจะมวี ธิ ีการดแู ลรักษา
คลา้ ยคลึงกัน

การจาแนกพชื ตามลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์

พืชใบเลี้ยงเดีย่ ว
คอื พืชท่ีมใี บเลี้ยงเพียง 1 ใบ ลักษณะเสน้ ใบขนานตามความยาวหรือความกว้างของใ บ เช่น พชื
ตระกูลหญา้ ไดแ้ ก่ ขา้ ว ข้าวโพด ฯลฯ ซ่ึงมีความสําคัญทางเศรษฐกิจ สําคัญต่อชีวติ ประจําวัน
ของมนุษยแ์ ละเปน็ อาหารสัตว์ นอกจากน้ียงั มพี ชื อน่ื ๆ เชน่ พืชตระกลู ปาล์ม เป็นต้น

พืชใบเล้ยี งคู่
คอื พชื ทมี่ ีใบเลีย้ ง 1 คู่ หรือ 2 ใบ ลักษณะเส้นใบเปน็ รา่ งแห ไดแ้ ก่ พชื ตระกูลถวั่ และพชื อนื่ ๆ ท่ี
มีลักษณะดังกลา่ ว มคี วามสําคัญทางเศรษฐกจิ และชีวติ ประจาํ วันของมนษุ ยร์ องจากพืชใบเลีย้ ง
เดย่ี ว

การจาแนกพชื ตามชว่ งอายุ

พืชลม้ ลุกหรือพชื ฤดเู ดยี ว
หมายถงึ พชื ท่เี จริญเติบโตจนกระทัง่ ใหผ้ ลผลิต ภายใน 1 ปี หรือภายในฤดูกาลหนึ่ง

แล้วกต็ ายไป เชน่ ขา้ ว ขา้ วโพด ข้าวฟา่ ง ถัว่ เหลอื ง ถ่วั ลิสง เป็นต้น

ถั่วลิสง
พืชสองฤดู

หมายถงึ พชื ทเี่ จรญิ เติบโตจนกระท่งั ให้ผลผลติ ใช้เวลานานถึง 2 ปี หรือ 2 ฤดูกาล เชน่
หวั บที (Sugar beet) ปกตปิ แี รก จะเจรญิ เตบิ โตทางด้านลาํ ตน้ สร้างและสะสมอาหาร จะผลดิ อก
ออกผลในปที ี่ 2

Sugar beet

พืชทีม่ ีอายุมากกวา่ สองฤดู
หมายถึงพชื ทสี่ ามารถเจริญเตบิ โตให้ผลผลติ ติดต่อกันหลายครั้งตอ่ การปลกู คร้งั หน่งึ ๆ เชน่
ออ้ ย สับปะรด หญ้าอาหารสัตว์ เปน็ ตน้

อ้อย

ยางพารา

การจาแนกพื ชตามการใช้ประโยชน์

ใช้พืชในการบรโิ ภคเป็นอาหาร
พชื ทีส่ ามารถใช้เพอ่ื การบรโิ ภคมมี ากมายหลายชนดิ ไดแ้ ก่ ข้าวสาลี ข้าวไรน์ ขา้ ว

บาร์เลย์ ข้าวโพด ข้าวโอ๊ ด ขา้ ว ขา้ วฟา่ ง รวมทง้ั พืชไรช่ นดิ อ่นื ๆ ผัก ผลไม้ ตา่ ง ๆ

ใชพ้ ชื ในการทาเครื่องนุง่ ห่ม
เช่น ฝ้าย ปา่ น

ใชพ้ ืชทาให้เกิดมีไม้และอุปกรณ์ในการกอ่ สร้างที่อยอู่ าศัย
เช่น ไมส้ ัก ไมเ้ ต็ง ไมย้ าง

ใชพ้ ืชเป็นพชื อาหา รสัตว์
เป็นพชื ทีใ่ ห้สตั วก์ นิ เป็นอาหาร ไมว่ า่ จะอยู่ในรูปแหง้ หรอื สด เชน่ ถั่ว ขา้ วฟ่าง หญา้

ตา่ ง ๆ ข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ มันสาํ ปะหลงั เป็นต้น

ใช้พืชเพอ่ื ความสวยงาม ประดับตกแต่งอาคารสถานท่ี ท้ังไมด้ อกและไม้ประดบั
ไม้ดอก เช่น กุหลาบ เยอบีรา่ ขิงแดง ดาหลา ปทมุ มา หน้าววั เบญจมาศ คารเ์ นชนั่ ลลิ ลี ชบา
บานไมร่ ้โู รย ดาวกระจ าย เปน็ ตน้

ไมป้ ระดับ ทป่ี ลูกเพื่อประดบั อาคารตา่ ง ๆ เชน่ บอน เฟริ ์น โกศล ปรกิ สาวนอ้ ยประแปง้ ไม้
เล้ือยต่างๆ ไม้ตระกูลปาล์ม ตะบองเพชร เปน็ ต้น

ใช้พชื เปน็ ย ารกั ษาโรค

พชื ชว่ ยสรา้ งภูมติ า้ นทานโรคให้ร่างกาย พชื ทกุ ชนดิ เป็นแหล่งของวิตามนิ เกลอื แร่
หลายชนดิ ทจ่ี ําเปน็ ต่อร่างกาย ชว่ ยให้การทํางานของรา่ งกายดาํ เนนิ ไปอยา่ งปกติ มีภูมิตา้ นทาน
โรคในยามเจบ็ ปว่ ย พืชบางชนิดมสี ารอาหารและวติ ามินทช่ี ว่ ยให้ฟืน้ จากความเจบ็ ป่วยไดเ้ รว็
ทาํ ให้รา่ งกายสามารถทนตอ่ การเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดล้อมทผี่ ันแปรได้ พชื หลายชนิดมี
คณุ ค่าทางยา ชว่ ยปอ้ งกันและรักษาโรคได้ ตวั อยา่ งเชน่ มะเขอื เทศ มะนาว วา่ นหางจระเข้ เปน็
ตน้

การจาแนกพชื ตามสาขาวิชาทางพืช

พชื ไร่

พืชไร่คอื พืชท่ีปลกู ในพื้นทม่ี าก ๆ มกี ารปฏิบัติดแู ลรกั ษาอย่างไม่พถิ พี ถิ นั อายุการเก็บเก่ยี วไม่
ยาวนาน สว่ นใหญใ่ หผ้ ลผลิตแลว้ กจ็ ะตายไป เปน็ พชื ท่ีมคี วามสาํ คัญทางเศรษฐกจิ และชีวิตของ
มนุษยม์ าก ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด มันสาํ ปะหลงั ขา้ วฟา่ ง ละหงุ่ ฝา้ ย การจาํ แนกประเภทของพชื ไร่
สามารถจําแนกไดด้ งั นี้

พชื ไร่ คอื พชื ที่ปลูกในพนื้ ท่ีมาก ๆ มกี ารปฏบิ ตั ดิ แู ลรักษาอยา่ งไม่ พถิ ีพิถัน อายุ การเกบ็ เกี่ยวไม่
ยาวนาน สว่ นใหญ่ใหผ้ ลผลิตแล้วก็จะตายไป
เป็นพชื ท่ีมคี วามสําคัญทางเศรษฐกิจแล ะชีวิตของมนุษยม์ าก ไดแ้ ก่ ขา้ ว ขา้ วโพด มนั สาํ ปะหลัง
ข้าวฟ่าง ละหงุ่ ฝา้ ย การจาํ แนกประเภทของพชื ไร่
สามารถจาํ แนกได้ดังนี้

1. จาแนกตามลักษณะของการใช้พนื้ ท่ี โดยอาศัยความสูงตา่ํ ของพื้นท่ีและความต้องการของพชื
แบ่งไดด้ ังนี้

1.1 พืชท่ีปลกู ทีด่ อน คือ พืชที่สามารถเจริ ญเติบโตและใหผ้ ลผลิตในสภาพพ้ืนทท่ี ีน่ า้ํ ไม่ ทว่ ม มี
ความตอ้ งการน้ําในปรมิ าณปานกลาง
ได้แก่ ขา้ วโพด มันสําปะหลงั ออ้ ย สบั ปะรด เป็นตน้

มนั สาปะหลัง พนั ธุ์ ระยอง 5 ขา้ วโพดพันธน์ุ ครสวรรค์ 1

1.2 พชื ทีป่ ลกู ทล่ี มุ่ คือ พืชที่ สามารถเจริญเตบิ โตงอกงามและใหผ้ ลผลิต ได้ดีในสภาพพื้นทลี่ ุ่ม
ต้องการน้าํ ในการเจริญเติบโตในปริมาณมาก
เช่น ข้าว หนอ่ ไม้น้ํา เปน็ ตน้

การทานาปลูกขา้ ว

2. การจาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ แบ่งไดด้ ังนี้
2.1 ธัญพืช ธญั พชื ที่สําคญั ของโลก ได้แก่ ขา้ วสาลี ข้าวไรน์ ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโพด ขา้ วโอ๊ต

ข้าว ขา้ วฟา่ ง เป็นตน้

ข้าวฟา่ งพันธุ์”สุพรรณบุรี 60” ข้าวสาลี

2.2 พวกถ่ัว หมายถึงพชื ท่ีอย่ใู นตระกูลถัว่ อาจเป็นพชื ลม้ ลกุ หรอื พืชยืนต้ นกไ็ ด้ เชน่ ถัว่
เหลือง ถ่วั เขยี ว ถัว่ ลิสง จามจรุ ี เปน็ ต้น

ถัว่ เขยี วผิวดํา ถั่วลิสงพนั ธุ์ขอนแกน่ 60-1

2.3 พชื อาหารสตั ว์ หมายถึงพืชพวกหญ้า ผกั หรือถว่ั ไมว่ ่าจะอย่ใู นรปู แห้งหรอื สดก็ตามใช้
ในการเล้ียงสัตว์ เชน่ ถั่ว ขา้ วฟา่ ง หญา้ ตา่ ง ๆ ข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์

2.4 พืชทใี่ ช้รากเป็นประโยชน์ หมายถงึ พชื ท่ีสามารถนํารากมาใช้เปน็ ประโยชนใ์ นดา้ น
อาหารของมนษุ ย์และสัตว์ เช่น มันเทศ มันสําปะหลงั เปน็ ต้น

มนั สําปะหลังพนั ธ์ุ ระยอง 90 มนั เทศ

2.5 พชื เส้นใย หมายถึง พืชทป่ี ลูกเพือ่ ใช้เสน้ ใยในทางอุตสาหกรรม เชน่ ทาํ เชอื ก กระสอบ
เสือ้ ผา้ การเยบ็ ปักถักรอ้ ยตา่ ง ๆ พืชพวกน้ไี ดแ้ ก่ ฝา้ ย ปอ ป่าน เปน็ ตน้

ปอคิวบาพันธุ์”ขอนแกน่ 60” ฝา้ ย

2.6 พืชใช้หวั หมายถงึ พชื ทล่ี าํ ตน้ ขนาดใหญ่อยู่ใต้ดินสาํ หรบั เก็บสะสมอาหารและสามารถ
นาํ มาใช้ประโยชนไ์ ด้ เชน่ มันฝรงั่

มันฝรงั่
2.7 พืชให้นาํ้ ตาล หมายถงึ พชื ทส่ี ามารถนาํ ส่วนใดสว่ นหน่ึงมาผลิตนํา้ ตาลได้ เชน่ อ้อย

อ้อย

2.8 ประเภทกระตนุ้ ประสาท หมายถงึ พืชทช่ี ่วยกระตุ้นประสาท ถ้าใชม้ าก ๆ หรือนาน ๆ จะทาํ
ใหต้ ดิ ได้ เช่น ยาสบู ชา กาแฟ

ยาสบู กาแฟ
2.9 พืชให้นา้ํ มนั หมายถึง พชื ท่ีให้ผลผลิตซึ่งสามารถนาํ มาแปรรูปเป็นนาํ้ มันใชป้ ระโยชน์ได้
เชน่ ถ่ัวเหลือง ถว่ั ลิสง ละห่งุ งา ข้าวโ พด เป็นตน้

ถว่ั เหลอื งพันธุ์ เชยี งใหม่ 60
2.10 พืชใหน้ าํ้ ยาง หมายถึงพืชทใ่ี ห้น้ํายางเพ่อื ใช้ประโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ เช่น ยางพารา ยางสน
เป็นตน้

3 . การจาแนกพืชไรโ่ ดยจดุ หมายเฉพาะอยา่ ง จําแนกได้ดงั น้ี

3.1 พชื คลุมดินและพชื บํารงุ ดิน หมายถึง พืชทีป่ ลูกเพอื่ คลมุ ดนิ รักษาความชุม่ ช้ืนของดิน
ปอ้ งกนั การพังทลายของดิน ปอ้ งกนั วชั พชื ตา่ ง ๆ
โดยมากใช้พชื ตระกูลถ่ัวซึง่ สามารถเจรญิ เติบโตไดเ้ รว็ และไถกลบเปน็ ปยุ๋ พชื สดได้ดว้ ย

3.2 พชื ทป่ี ลูกเพ่ือไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสด หมายถงึ พชื ท่ีปลกู ใหเ้ จรญิ เติบโตไดร้ ะยะหนง่ึ แลว้
ไถกลบลงไปใ นดนิ เพื่อใหเ้ นา่ เป่อื ยเปน็ ปุ๋ย
สําหรบั พชื ทจี่ ะปลกู ในฤดูต่อไป ส่วนมากนยิ มใช้พืชตระกลู ถัว่ ทีอ่ ายสุ ัน้ เพราะพชื ตระกลู ถ่ัว
สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศ ทําให้ดนิ มคี วาม
อุดมสมบูรณส์ งู ข้นึ

3.3 พชื เงนิ หรือพชื ฉุกเฉิน หมายถึงพืชทน่ี ํามาปลูกเพ่ือทดแทนพืชหลักท่ีได้รบั ความเสยี หาย
จากสาเหตตุ ่าง ๆ เชน่ ภัยธรรมชาติ ศตั รพู ชื รบกวน
พืชพวกน้ีควรเป็นพืชท่เี จรญิ เติบโตเรว็ ไดร้ บั ผลตอบแทนในเวลาไม่นาน เชน่ ถวั่ ต่าง ๆ

3.4 พชื ใช้สด หมายถึงพชื ท่สี ามารถตดั ไปเลย้ี งสัตวไ์ ดเ้ ลยในขณะท่ีต้นยังเขียวอยู่ เช่น หญา้
ขน หญา้ เนเปยี ร์ หญ้ากนิ นี พืชพวกถว่ั เปน็ ตน้

3.5 พืชเกบ็ แหง้ หมายถงึ พชื ท่สี ามารถเก็บสงวนไวส้ ําหรับ เล้ียงสัตวใ์ นสภาวะที่ขาดแคลน
อาหารสด โดยเกบ็ ไวใ้ นรูปทําเปน็ ท่อน เปน็ มดั เป็นกาํ
อาจมบี างส่วนทีย่ ังมีชีวติ อยู่ เชน่ ฟางข้าว ต้นขา้ วโพด ข้าวฟ่าง ถวั่ เหลือง เป็นตน้

3.6 พืชแซม หมายถึงพืชท่ปี ลกู ในระหว่างแถวหรอื ระหวา่ งต้นของพืชหลัก โดยคํานงึ การใช้
ประโยชนข์ องทด่ี ินใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากทสี่ ดุ
ประโยชน์ท่ไี ด้รับและเวลาในการเก็บเก่ยี วทต่ี า่ งกันเพ่อื สะดวกในการปฏบิ ัติ เช่น ปลกู แตงโม
ในแปลงมะพรา้ ว ปลกู ข้าวโพดในแปลงปลกู อ้อย
เป็นต้น

นอกจากนี้ก ารจําแนกพืชไรต่ ามจดุ มุ่งหมายเฉพาะอย่าง ยงั อาจแบง่ เปน็ พชื ดักแมลง ซ่ึง
หมายถึงการปลกู พชื ไร่บางชนดิ ทมี่ ดี อก ฝัก เปน็ พเิ ศษ
สามารถปดิ เปดิ ได้ เชน่ หมอ้ ขา้ วหม้อแกงลงิ กาบหอยแครง เป็นตน้ แต่ยงั ไม่มคี วามสําคัญทาง
เศรษฐกิจ

พืชสวน

พืชสวนคือพืชท่ปี ลูกในพน้ื ทม่ี ากหรอื น้อยกไ็ ด้ ตอ้ งการการปฏิบัตดิ ูแลรกั ษาอยา่ งพิถีพิถัน ส่วน
ใหญอ่ ายุการเก็บเกย่ี วยาวนาน ยกเวน้ พืชผกั เป็นพืชท่มี ีความสาํ คัญทางเศรษฐกิจและ
ชีวิตประจาํ วนั ของมนษุ ย์มาก ไดแ้ ก่
พืชสวน สามารถจําแนกออกเปน็ 5 ประเภท

1. ไม้ผล
2. ผกั
3. ไมด้ อกไมป้ ระดับ
4. การตกแต่งสถานท่ี

การตกแตง่ สถานที่ คอื การวางผงั ปรับปรงุ พน้ื ทเี่ พ่ื อปลกู ไม้ดอกไมป้ ระดับ ตกแต่งให้บรเิ วณ
สถานท่นี น้ั สวยงามเปน็ ทน่ี ่าอยู่อาศัย โดยคํานงึ ถึงประโยชนใ์ นการใช้สอยดว้ ย ปัจจบุ นั การจดั
ตกแต่งบรเิ วณอาคาร สถานท่ี บา้ นเรอื น สถานทร่ี าชการ นิยมแพร่หลายย่งิ ข้นึ การจัดตกแตง่
สถานท่ีตอ้ งอาศยั ความรู้ ความสามารถ ศิลปะ และจนิ ตนาก ารต่าง ๆ ต้องมีความรเู้ กี่ยวกบั ไม้
ดอก ไมป้ ระดบั วธิ กี ารปลูก การปฏิบัตดิ แู ลรักษา หรอื อาจเรยี กงา่ ยๆ วา่ การจดั สวน
วิธีการจัดสวนแบง่ เป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ
3.4.1 การจัดสวนตามรูปแบบเรขาคณติ ( Formal style) ส่วนมากจะพบตามสถานทีร่ าชการ
ตอ้ งการความเป็นระเบยี บเรยี บ ร้อย ทําใหส้ ถานทน่ี ัน้ สง่ายง่ิ ข้นึ มกั จัดเป็น รูปเหลย่ี มตา่ ง ๆ
วงกลม รปู ไข่ เปน็ ต้น จัดบนพน้ื ที่ราบเรยี บ มถี นน สนามหญ้าเป็นระเบยี บอยู่แล้ว การปลูก
ตน้ ไมม้ ักคํานงึ ถึงขนาดรปู รา่ ง ทรงต้น ปลูกให้สมดุลกนั และสามารถตดั แต่งพนั ธ์ไุ ม้ให้เปน็
รปู ทรงตามตอ้ งการได้

การจดั สวนตามรูปแบบเรขาคณิต

3.4.2 การจัดสวนเลยี นแบบธรรมชาติ ( Informal style) หมายถงึ การปลกู ไม้ดอกไมป้ ระดับ
ใหม้ สี ภาพใกล้เคียงธรรมชาตมิ ากที่สุด อาจจําลองมาจากปา่ เขา ลําเนาไพร มีนาํ้ ตกในสวน การ
จดั สวนแบบน้นี ยิ มจัดภายในบริเวณบา้ น สวนสาธารณะต่าง ๆ เพอื่ ใหเ้ กดิ บรรยากาศทีร่ ม่ ร่ืน
คล้ายคลึงธรรมชาติมากท่ีสุด เช่น สวนญี่ปุ่น

การจัดสวนเลียนแบบธรรมชาติ
5. แขนงย่อย
แขนงย่อย หมายถึงสาขาของพชื สวนทนี่ อกเหนือไปจากไม้ผล สวนผกั ไม้ดอกไมป้ ระดับ และ
การตกแต่งสถานท่ี ซ่ึงพอจะพิจารณาได้ดังนี้
5.1 สถานเพาะชา ( Nursery) คือสถานท่ีสําหรับการขยายพนั ธุไ์ ม้และปฏบิ ัติดูแลรักษาพนั ธุ์ไม้
ที่ยงั มีอายนุ ้อ ยเพอ่ื ให้มีลาํ ต้นแข็งแรงพรอ้ มท่ีจะนําไป ปลกู ต่อไป สรุปไดว้ า่ “ สถานเพาะชําคือ
สถานทีป่ ฏบิ ตั ิดแู ลรักษาพนั ธไ์ุ มท้ เ่ี พ่งิ เกดิ หรอื เพ่งิ ขยายพนั ธ์ุจนโตไดข้ นาดทีจ่ ะนําไปปลูก “
5.2 การถนอมอาหาร ( Food preservation) หมายถงึ การเก็บรักษาอาหารโดยกรรมวิธตี ่าง ๆ
เพ่อื ใหอ้ ยู่ ในสภาพทใ่ี กลเ้ คียงของสดมากที่สดุ โดยไม่ให้เสยี คณุ ภาพและคุณคา่ ทาง โภชนาการ
ตลอดทั้งยงั คงมคี ุณลักษณะทางคณุ ภาพเปน็ ทต่ี ้องการของผูบ้ รโิ ภค เช่น ผลไม้กระปอ๋ ง ผลไม้
แชอ่ ิ่ม ผกั ดอง เป็นต้น

5.3 พชื สมนุ ไพร ( Spice crops) คือพชื ทีม่ ีคณุ สมบตั ิใชส้ ว่ นใดสว่ นหนงึ่ อาจ เป็นราก ใบ ดอก
ผล มีคุณคา่ ทางรักษาโรคบางอยา่ งได้ อาจใชเ้ พียงอย่างเดียวหรอื นํามาผสมกันเขา้ หลาย ๆ ชนิด
เชน่ ใช้ฟา้ ทะลายโจร แกไ้ ข้ แก้พิษบวม แก้อาการเจ็บคอ ทอ้ งเสยี บดิ กระเพาะปสั สาวะอักเสบ
โรคทางเดินหายใจ ไฟไหม้ น้ําร้อนลวก งกู ัด คางทูม

ฟ้าทะลายโจร
ใชว้ า่ นหางจระเข้ ใช้รักษาแผลไฟไหม้ น้ําร้อนลวก

ว่านหางจรเข้
เหงือกปลาหมอ ใชแ้ กโ้ รคหดื อมั พาต แกไ้ ข้ ขบั เสมหะ รกั ษาวณั โรค ทาแกโ้ รคเหนบ็ ชา แก้ฝี
นาํ้ เหลอื งเสยี เบาหวาน แก้ท้องเฟ้อ

เหงอื กปลาหมอ

ยอ ใช้แก้ไอ แก้ม้ามโต จกุ เสี ยด แก้ไข้ ใช้ปดิ ตามแขนขาแก้อาการปวดเมือ่ ย ใช้ใบสด ตาํ พอก
ศรีษะแก้เหา ใชป้ ิดพอกรกั ษาแผล รบั ประทานผลออ่ นแก้คล่นื เหียนอาเจยี ร

ยอ
ยงั มีพืชทีเ่ ป็นพชื สมนุ ไพรอกี ม ากมายหลายชนดิ เช่น ว่านต่างๆ ราชพฤกษ์ ขีเ้ หลก็ พรกิ ไทย
ดปี ลี เสลดพังพอน ฯลฯ
5.4 การผลิตเมลด็ พนั ธ์พุ ืช ( Seed production) หมายถงึ การผลติ เมลด็ พนั ธ์ุพืชทม่ี ีความสําคัญ
ทางเศรษฐกิจ พันธุ์พชื ที่กําลงั ไดร้ บั ความนิยมในการปลกู ได้แก่ เมล็ดพนั ธุ์ผกั เมลด็ พนั ธุ์ไม้
ดอก

ป่าไม้

ปา่ ไม้ คอื อาณาบริเวณทพี่ ืชขึ้นหนาแน่น มีพืน้ ทก่ี วา้ งขวางพอท่ีจะมีผลตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม
ตา่ ง ๆเชน่ ลมฟา้ อากาศในทอ้ งถิน่ นั้น ๆ ปา่ ไม้เปน็ ทรัพยากรท่ีหมด สิ้น และสูญพนั ธ์ไุ ปได้ แต่
สามารถรักษาให้คงทีห่ รอื ปรับปรงุ ให้ดขี ึ้น โดยการสรา้ งสวนปา่ ขึ้นทดแทนป่าที่ถกู ทําลาย

1. ป่าดงดบิ หรือป่าไม่ผลัดใบ เป็นระบบนิเวศน์ของป่าไม้ชนิดท่ปี ระกอบด้วยพนั ธ์ุไม้
ชนดิ ไม่ผลดั ใบคือมใี บเขยี วตลอดเวลา แบ่งออกเปน็ 4 ชนดิ คือ

1.1 ปา่ ดิบเมอื งร้อน เป็นปา่ ท่ีอยูใ่ นเขต ลมมรสมุ พดั ผ่านเกอื บตลอดปี มปี ริมาณ
นา้ํ ฝนมาก แบง่ ออกเปน็

1.1.1 ป่าดงดบิ ชืน้ เปน็ ปา่ ในระดับความสูงจากระดับน้ําทะเลไมเ่ กิน 1,000 เมตร
มฝี นตกชุกตลอดปี พันธ์ุไมม้ หี ลากหลายมาก แบ่งออกเปน็ 2 พวกตามระดบั ความสูง คือ ไม้ชั้น
บนและไมช้ น้ั ลา่ ง

ปา่ ดงดิบชน้ื ภาคใต้

1.1.2 ปา่ ดงดบิ แลง้ มอี ยู่ในทุกภาคของประเทศใไนทรยะดบั ความสงู จากนา้ํ ทะเลไม่
เกนิ 500 เมตร เรอื นยอดของไม้ไมห่ นาทบึ นกั ไมช้ ้ันบน ได้แก่ กระบากดาํ มะคา่ โมง ยางแดง ยาง
นา ตะแบก

ป่าดงดิบแล้งภาคเหนือ
1.1.3 ปา่ ดงดิบเขา เปน็ ปา่ ท่ีอยสู่ ูงจาก ระดับนํ้าทะเล 1000 เมตรขน้ึ ไป มี
ปริมาณนํา้ ฝนมาก ความช้ืนสงู อากาศเยน็ สว่ นมากอย่ทู างภาคเหนอื เช่น ที่ดอยอินทนนท์ ดอยอ่าง
ขาง จงั หวดั เชียงใหม่ ไมท้ ่สี าํ คัญของปา่ ประเภทนี้ ได้แก่ ไม้ตระกลู กอ่

ปา่ ดงดิบเขา

1.2 ป่าสน ไมใ้ นสังคมและไม้เดน่ นาํ อาจเป็นสนสองใบหรือสนสามใบ

ปา่ สน
1.3 ป่าพรหุ รือป่าบงึ พบตามทีร่ าบลุม่ มนี ํ้าขังอยูเ่ สมอ และตามริมฝงั่ ทะเลทม่ี โี คลนเลน
ทว่ั ๆ ไป แบง่ ออกเป็น

1.3.1 ปา่ พรุ เปน็ สงั คมป่าท่ีอยู่ถัดจากบรเิ วณสงั คม ปา่ ชโายดเยลอนาจจะเปน็ พนื้ ทล่ี มุ่
ที่มีการทบั ถมของซากพืชและอนิ ทรียวตั ถุที่ไม่สลายตวั มีน้าํ ทว่ มขงั หรือชน้ื แฉะตลอดปี

ป่าพรุ

1.3.2 ป่าชายเลน เป็นสงั คมป่าไม้บริเวณชายฝ่งั ทะเลในจงั หวัดทางภาคใต้ ภาคกลางและ
ภาคตะวันออก มนี า้ํ ขึ้น นาํ้ ลงอย่างเดน่ ชัดในรอบวนั

ปา่ ชายเลน
1.4 ป่าชายหาด แพรก่ ระจายอย่ตู ามชายฝ่ังทะเลทเ่ี ปน็ ดนิ กรวด ดินทราย และโขด
หิน ดนิ มีฤทธิ์เปน็ ด่าง

2. ป่าผลัดใบ เป็นระบบนเิ วศนป์ ่า ชนิดท่ปี ระกอบด้วยพนั ธไ์ุ มช้ นิดผลัดใบหรือทง้ิ ใบเกา่ ในฤดู
แลง้ เพอ่ื จะแตกใบใหมเ่ มื่อเข้าฤดูฝน ยกเว้นพชื ชน้ั ลา่ งจะไม่ผลัดใบ พบปา่ ชนิดน้ีต้งั แตร่ ะดับ
ความสงู 50-800 เมตร เหนอื ระดับน้ําทะเล แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คอื

2.1 ปา่ เบญจพรรณ ลักษณะท่วั ไปเปน็ ปา่ โปรง่ มีความอุดมสมบูรณแ์ ละชุ่มช้นื พน้ื ที่
ป่าไม้ไม่รกทึบ มีไมไ้ ผ่ชนดิ ต่าง ๆ ขึ้นอย่มู าก อาจมไี มส้ กั ปะปนกับไมก้ ระยาเลย มอี ยู่ท่ัวไปตาม
ภาคตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ ทรี่ าบหรือตามเนินเขา พันธ์ุไมจ้ ะผลัดใบในฤดแู ลง้ มีปรากฏทรี่ ะดับความสูงตั้งแต่
50 เมตรถึง 800 เมตร หรือสูงกวา่ นีใ้ นบางจดุ

ปา่ ไมเ้ บญจพรรณ

ปา่ ไม้เบญจพรรณเมื่อผลดั ใบ
2.2 ป่าแดง ป่าแพะหรือป่าเต็งรงั พบขนึ้ สลับกบั ปา่ เบญจพรรณ ลกั ษณะเปน็ ปา่ โปร่ง
ไมอ่ ดุ มสมบรู ณ์ แห้งแลง้ มีต้นไม้ขนาดเล็กและขนาดกลาง พนั ธไุ์ ม้เปน็ พวกท่ี ทนความแหง้
แล้งไดด้ ี เชน่ ไม้จําพวกเต็ง รัง เหยี ง พลวง ฤดแู ล้งจะผลดั ใบ และมไี ฟปา่ เป็นประจํา ปา่ เต็งรงั มีถน่ิ
กระจายโดยกว้าง ๆ ซอ้ นทับกันอยู่กบั ป่าเบญจพรรณ แต่อาจแคบกว่าเล็กนอ้ ยทง้ั นีเ้ น่ืองจากมีปัจจัย
กําหนดท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั ความแห้งแล้ง มปี รากฏทรี่ ะดบั ความสงู จากระดับนํา้ ทะเล 50-1,000 เมตร

ปา่ แดงหรือปา่ เตง็ รงั

2.3 ปา่ หญ้า เกดิ จากการทําลายสภาพปา่ ไม้ที่อดุ มสมบรู ณ์ ดินมคี วามเส่อื มโทรม มี
ฤทธ์เิ ป็นกรด ตน้ ไมไ้ ม่สามารถเจริญเตบิ โตได้ จงึ มีหญ้าต่างๆ เขา้ ไปแทนท่ี แพร่กระจายทั่วประเทศ
ในบริเวณที่ปา่ ถูกทําลายและเกิดไฟปา่ เป็นประจาํ ทุกปี

แบบทดสอบหนว่ ยท่ี 2

1. Agronomy หมายถึงข้อใด
คาํ ตอบ:
a. ปา่ ไม้
b. พืชไร่
c. พืชสวน
d. ไม้ดอก

2 ปลูกถว่ั เขียวให้เจรญิ เตบิ โตระยะหนึง่ แล้วไถกลบ เรียกวา่ การทําอะไร
คําตอบ:
a. การทําปุ๋ยพชื สด
b. การปลกู พชื แซม
c. การปลกู พืชคลมุ ดิน
d. การทาํ ปุย๋ อนนิ ทรยี ์

3 ไม้ประดับ หมายถึงพืชตามขอ้ ใด
คาํ ตอบ:
a. พืชทม่ี ีดอกและใบสวยงามใช้ประดบั ตกแต่ง
b. พชื ล้มลุกทุกชนิดทม่ี ีใบสวยงาม
c. พชื ยนื ตน้ ทกุ ชนดิ ทม่ี ดี อกสวยงาม
d. พชื ทีส่ ว่ นต่าง ๆ ของตน้ สวยงามใชป้ ระดับตกแต่ง

4 พืชท่ีเรานาํ สว่ นของผลและเมล็ดมาบริโภค คือพชื ตามขอ้ ใด
คําตอบ:
a. พืชกระต้นุ ประสาท
b. ธญั พืช
c. พชื นํ้ามนั
d. พชื เกบ็ แห้ง

5 พชื ชนดิ ใดทีไ่ ม่ใชใ้ นอุตสาหกรรมอาหารสัตว์
คาํ ตอบ:
a. พืชหมุนเวยี น
b. พชื แซม
c. พืชฉุกเฉิน
d. พชื คลุมดนิ

6 พชื ในข้อใดจัดเปน็ ธัญพืช
คําตอบ:
a. อ้อย
b. ถัว่ เหลือง
c. ข้าวสาลี
d. มันฝร่ัง

7 พชื ในข้อใดจดั เปน็ พชื ตระกูลถั่ว
คาํ ตอบ:
a. งา
b. กาแฟ
c. มะเขือเทศ
d. จามจุรี

8 พชื ในข้อใดจดั เป็นพืชใบเลี้ยงเดีย่ ว
คําตอบ:
a. ถ่ัวลสิ ง
b. มันเทศ
c. แตงไทย
d. ปาล์มนํา้ มัน

9 พืชในข้อใดจดั เปน็ ไมผ้ ลก่ึงรอ้ น
คาํ ตอบ:
a. ส้ม
b. มะม่วง
c. น้อยหนา่
d. แอปเปิล

10 พชื ในข้อใดที่เพิ่มปยุ๋ ไนโตรเจนใหพ้ ืชไดม้ าก
คําตอบ:
a. ฝ้าย-ขนนุ
b. ทองหลาง-ไผ่
c. กระถนิ -ถ่ัวเขียว
d. มนั สาํ ปะหลงั -อ้อย

11 พชื ในข้อใดเปน็ ไมป้ ระดับคาํ ตอบ:
a. ชบา
b. วาสนา
c. หน้าววั
d. ผกากรอง

12 พชื ในข้อใดใชใ้ นอตุ สาหกรรมนาํ้ ตาล
คําตอบ:
a. ธญั พชื เปน็ พืชประเภทหน่งึ ของพชื ไร่
b. มะพรา้ วเปน็ ไดท้ ้งั พชื น้าํ มันและพืชนํา้ ตาล
c. ป่าไมเ้ ป็นสาขาหน่งึ ของพชื ไร่
d. พชื สวนมีท้งั พืชล้มลุกและพชื ยนื ตน้

พืชแต่ละชนดิ ต้องการความเหมาะสมของสภาพดินฟ้าอากาศไม่เหมอื นกัน จงึ ทําใหใ้ น
แตล่ ะพ้นื ทบี่ นโลกมพี ืชพรรณต่างชนิดกนั มากมาย แม้วา่ พชื บางชนิดจะสามารถปรบั ตัวหรอื
ไดร้ ับการคัดเลือ ก จนกระทง่ั เหมาะสมกบั สภาพท้องถิ่นแลว้ กต็ าม ผลผลิตท่ไี ดร้ บั กย็ งั มคี วาม
แตกต่างกันออกไป ผลผลติ ของพชื สว่ นใหญ่จะเป็นผลทไ่ี ดจ้ ากกระบวนการทางสรีรวิทยาของ
พืช กระบวนการต่าง ๆ เหลา่ นจี้ ะเปน็ ไปได้อย่างดีและสมบูรณ์ เม่ือพชื ไดร้ ับมีสภาพแวดลอ้ มท่ี
เหมาะสม ได้แก่ นํา้ หรือค วามชน้ื อุณหภมู ิ อากาศ แสงสว่างจากดวงอาทิตย์ ดินและธาตอุ าหาร
พืช

ปัจจัยเกย่ี วกบั พันธุกรรม
พันธุกรรม เปน็ ปัจจัยภายภายในพชื ทีค่ วบคมุ การแสดงออกของลักษณะ ตา่ ง ๆ ของพืช
พชื ชนิดเดียวกนั ถา้ ปลูกในสภาพแวดล้อมเหมอื นกนั อาจให้ผลผลติ ตา่ งกนั ท้งั นเ้ี ปน็ เพราะพชื มี
พันธกุ รรมซ่ึงถกู ควบคุมโดยยีน (Gene) บนโครโมโซม (Chromosome) ภายในเซลลท์ ่ีตา่ งกนั

มนั สําปะหลงั พนั ธรุ์ ะยอง 90

ถ่วั ลสิ งพนั ธขุ์ อนแกน่ 60-1

ปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ งกับสภาพแวดล้อม

อุณหภูมิ (Temperature)

มีอิทธิพลโดยตรงในการควบคมุ กระบวนการตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตของพชื
เช่น กระบวนการสงั เคราะหแ์ สง การหายใจ การดูดน้าและอาหาร การคายน้า กจิ กรรมของ
enzyme ตา่ ง ๆ

ระดับของอณุ หภูมทิ ี่มีอิทธิพลตอ่ การเจริญเติบโตของพชื แบ่งเปน็ 3 ระดบั คอื

1. อุณหภมู ิตา่ สุด หมายถึง อุณหภมู ิตา่ สดุ ท่พี ืชสามารถท่จี ะทนได้

2. อุณหภมู ทิ เ่ี หมาะสม หมายถงึ อณุ หภูมิทเี่ หมาะสมท่สี ุดตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื

3.อณุ หภูมิสงู สดุ หมายถงึ อุณหภูมิสงู สดุ ทพ่ี ชื สามารถทีจ่ ะทนได้

พชื แต่ละชนดิ ต้องการอณุ หภมู สิ ูงต่าแตกต่างกนั ไป

ตารางที่1 อณุ หภมู ิที่เหมาะ สม ตา่ สดุ สงู สดุ ทส่ี ามารถปลูกพชื ผกั บางชนิด

ชนดิ ของพชื ผัก อุณหภูมิ ( องศาเซลเซียส )
เหมาะสม ต่าํ สดุ สงู สุด

กระเทยี ม กระเทยี มต้น หอมแดง หอมหัวใหญ่ 13-24 8 30

กะหลาํ่ ดาว กะหลํา่ ปลี กะหล่าํ ปม คะนา้ ฝรั่ง 15-18 6 24

กะหล่าํ ดอก แครอท ผกั กาดขาวปลี ผั กชีฝร่ัง มนั ฝรงั่ 15-18 8 27

ผักกาดหอม

ข้าวโพดหวาน 15-24 10 35

ฟกั ทอง 18-24 10 33

แตงกวา แตงเทศ 18-24 16 33

พรกิ ยักษ์ มะเขอื เทศ 21-24 18 27

กระเจยี๊ บ กระเจี๊ยบแดง แตงโม พรกิ ช้ีฟา้ พรกิ ขี้หนู 21-29 18 35

มะเขือ มนั เทศ

การจาแนกพืชตามอณุ หภมู ทิ เ่ี หมาะสมในการเจรญิ เติบโตของพืช

พืชแต่ละชนดิ ตอ้ งการอุณหภมู สิ งู ต่าแตกต่างกันไป โดยทั่วไปจาแนกพืชได้เปน็ 2 ประเภท คอื

1. พืชเมืองหนาว หมายถงึ พชื ทตี่ อ้ งการอณุ หภูมใิ นการเจรญิ เตบิ โตต่า คอื ต่ากวา่ 60
องศาฟาเรนไฮด์ เชน่ ท้อ แอปเปิ้ล พลับ ถ้านาพืชพวกนีม้ าปลูกในเขตรอ้ นจะทาใหเ้ กิดอนั ตราย
กับพืชได้ เชน่ ใบไหม้เนอ่ื งจากคายนา้ มากหรือเกดิ การแข็งตวั ของโปรตีน

2. พืชเมอื งรอ้ น หมายถึงพชื ทต่ี อ้ งการอณุ หภูมใิ นการเจริญเติบโตสงู คอื สงู กวา่ 60
องศาฟาเรนไฮด์ เชน่ อนิ ทผลัม ส้ม ทเุ รยี น ถ้านาพชื พวกนมี้ าปลกู ในทม่ี ี อณุ หภูมติ ่าจะทาให้พชื
นั้นไม่เจรญิ เตบิ โตหรือ ตายได้ เนอ่ื งจากอณุ หภมู ติ า่ ทาใหน้ า้ ทีอ่ ยูใ่ น โปรโตพลาสซมึ ของเซลล์
พชื แขง็ ตวั ปรมิ าณมากขึ้น แต่ผนังเซลล์ยังคงเดมิ หรืออาจขยายได้บา้ งเพยี งเล็กน้อย จึงทาให้
เซลลแ์ ตกหรอื ตายได้

แสง (Light)

เปน็ แหลง่ พลงั งานท่ีจาํ เปน็ ต่อ กระบวนการสงั เคราะหแ์ สง คลอโรฟลิ ล์ ในพืชท่มี สี ี
เขียว สามารถนํามาเปลยี่ นคาร์บอนไดออกไซด์และนํ้า ใหก้ ลายเป็นน้ําตาล ใช้ในการ
เจรญิ เติบโตของพชื

อิทธิพลของแสงตอ่ การขยายพันธด์ุ ้วยเมล็ด แสงมีอทิ ธพิ ลต่อการขยายพนั ธุ์ ด้วยเมล็ด คอื

1. การงอกของเมลด็ เมล็ดแต่ละชนดิ มีคว ามตอ้ งการแสงเพ่อื ใชใ้ นการงอกตา่ งกัน แบง่ ไดเ้ ปน็
4 ชนิด คือ

1.1 เมลด็ ทตี่ อ้ งการแสง ถ้าขาดแสงจะไมง่ อก ได้แก่ เมล็ดมอส เมล็ดกลว้ ยไม้บางชนดิ

1.2 เมลด็ ทีช่ อบแสง คอื เวลาเพาะตอ้ งมีแสงหรอื ไดร้ ับแสง เมลด็ จงึ จะงอกไดด้ ีแตถ่ า้ ไม่
มีแสงจะงอกไมด่ ี ได้แก่ เมลด็ ผักกาดหอม เมลด็ ยาสูบ

1.3 เมลด็ ไม่ต้องการแสง คือถา้ มีแสงในเวลาเพาะ เมลด็ จะไมง่ อก ได้แก่ เมลด็ หอม
กระเทียม

1.4 เมลด็ ท่ีแสงไมม่ ีผลต่อการงอก คอื จะมีแสงหรือไม่มีแสงเมล็ดกง็ อกได้ เช่น เมล็ด
ผกั เกือบทกุ ชนดิ ยกเว้น ผักกาดหอม หอมหวั ใหญ่ การปลกู ด้วยเมลด็ หรอื เพาะกลา้ ถา้ เปน็ เมลด็
ท่ชี อบแสง จะกลบพื้นตน้ื ๆ หรอื บาง ๆ ส่วนเมลด็ ทไ่ี มต่ อ้ งการแสงตอ้ งกลบให้หนาพอสมควร

2. การเจรญิ เติบโตของต้นกลา้ แสงจะมีอทิ ธิพลตอ่ การเจริญของต้นกลา้ มาก ต้นกล้าท่ไี ดร้ บั
แสงไม่พอ จะมลี กั ษณะซดี ลาํ ตน้ ยดื ยาว ใบจะขยายใหญผ่ ิดปกติ ส่วนต้นกลา้ ที่ไดร้ บั แสง
เพียงพอ ลําตน้ จะเจรญิ เติบโตตามปกติ

อทิ ธิพลของความเข้มของแสงต่อการเจริญเตบิ โตของพชื ช่วงความเขม้ ของแสงที่เหมาะสม
ท่สี ดุ ของพชื แต่ละชนดิ ไม่เหมอื นกัน จาํ แนกพืชตามความต้องการความเขม้ ของแสงที่เหมาะสม
ต่อการเจรญิ เตบิ โต ออกได้ดังน้ี

1. พชื ในรม่ คือ พืชทตี่ ้องการความเข้มขอ งแสงตา่ํ เชน่ เฟริ ์น แพงพวยฝรงั่ ไมใ้ บ เป็น
ต้น

2. พชื ที่ต้องการแสงปานกลาง คอื พชื ท่ตี ้องการร่มเงา และ แสงแดด บางสว่ น เชน่
ตอกฟิลาเดลฟัส กระดกู ไก่

3. พืชกลางแจง้ คอื พชื ท่ีต้องการความเข้มของแสงสงู เชน่ ยเี่ ขง่ กหุ ลาบ ยีโ่ ถ

4. พืชสะเทินแสง คอื พชื ทีข่ ึน้ ไดด้ ี ในชว่ งความเขม้ ของแสงกว้าง เปน็ พืชในรม่ หรือ
กลางแจง้ ก็ได้ เช่น พุดซอ้ น อบเี นีย ดอกจดุ

อิทธิพลของความยาวนานของแสงตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื

ความยาว นานของแสงมีอทิ ธิพลตอ่ พืช ดงั นี้

1. การเป็นหวั ของพชื บางชนิด เชน่ หอม รักเร่

2. ปริมาณของคาร์โบไฮเดรต

3. การออก ดอกของพืชผลบางชนดิ พืชแตล่ ะชนดิ ตอ้ งการช่วงแสงในการออกดอกไม่
เทา่ กนั ช่วงแสงทีท่ าํ ใหก้ ารออกดอกของพืชแปรปรวนไปจากเดมิ เรียกว่า ชว่ งวนั วกิ ฤติ (
Critical day length) ซึง่ พืชแตล่ ะชนดิ จะมีคา่ เฉพาะของพชื น้ัน ๆ เช่น เบญจมาศมชี ่วงวนั วกิ ฤต
ที่ 13 ½ ชั่วโมง ถ่วั เหลอื งมี ช่วงวกิ ฤตท่ี 13 ชวั่ โมง แบง่ พืชตามความต้องการชว่ งแสงในการ
ออกดอกได้เป็น 3 ชนดิ คอื

3.1 พืชวันส้นั ( Short day plant) หมายถึง พืชทตี่ อ้ งการชว่ งความยาวของแสงสน้ั กวา่
ชว่ งวนั วิกฤตจงึ จะออกดอก เช่น สตรอเบอรี่ มนั ฝร่งั บางพันธุ์ มันเทศ กุหลาบญป่ี นุ่ เบญจมาศ
ดาวกระจาย คริสต์มาส ถว่ั เหลือง ถ่วั เขยี ว เปน็ ต้น

3.2 พชื วันยาว ( Long day plant) หมายถงึ พชื ทต่ี อ้ งการช่วงแสงยาวกวา่ ชว่ งวันวิกฤต
จึงจะออกดอก เช่น แครอท ผกั กาดหอม ดาวเรือง พดุ ซ้อน ผักขมจีน เป็นตน้

3.3 พชื ทีไ่ ม่ตอบสนองตอ่ ชว่ งแสง ( Day neutral plant) หมายถึงพืชที่ ช่วงความยาวของ
แสงในวันหน่งึ ๆ ไมม่ ีผลต่อการออกดอก พชื ชนดิ น้เี ม่ืออายคุ รบกําหนดการออกดอกมันกจ็ ะ
ออกดอกไดไ้ มว่ ่าจะอยู่ในระยะของช่วงแสงยาวหรือสน้ั เชน่ มะเขอื เทศ พริกไทย กระเจยี๊ บ
ผเี สื้อ ขา้ วโพด แตงต่าง ๆ เปน็ ตน้

นา้ (Water)

น้าํ ทพี่ ชื ไดร้ ับส่วนใหญม่ าจากการท่ี รากดดู นาํ้ จากดิน พชื สีเขยี ว ได้ไฮโดรเจน (H) จาก
นาํ้ (H 2 O)

บทบาทของน้าตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื

น้าํ มคี วามจําเปน็ ต่อกระบวนการต่าง ๆ ในการเจริญเติบโตของพืช เช่น

1. ชว่ ยละลายพวกเกลือแรใ่ นดินให้อยใู่ นรปู ของสารละลายที่พชื รากพืชดดู เอาไปใชไ้ ด้

2. เปน็ วตั ถดุ บิ ในก ารสงั เคราะห์แสงเพื่อปรงุ อาหารของพืช

3. ทําใหเ้ ซลลท์ อ่ี ยภู่ ายในพืชเต่ง

4. ชว่ ยลดความรอ้ นให้แกต่ น้ พืช โดยพืชจะใช้วธิ คี ายนาํ้

5. เปน็ ตัวชว่ ยลาํ เลยี งอาหารท่ปี รุงแล้วไปเลย้ี งสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช

นํา้ เป็นปัจจัยหนงึ่ ที่มสี ่วนอยา่ งมากตอ่ การเปล่ียนแปลงของพืช ถ้าพืชขาด น้ําจะทาํ ให้
เกดิ ใบลายและลําต้นเหี่ยว เพราะเซลลไ์ มค่ งรูปร่าง ริมใบแหง้ ลาํ ตน้ แขง็ มีเสีย้ น โดยเฉพาะพืช
หวั หวั จะแกเ่ รว็ นอกจากนน้ี ํา้ ยงั ควบคุมขบวนการเจรญิ เติบโตอน่ื ๆ เช่น การงอกของเมลด็
การพกั ตัวของพืช รวมท้ังควบคมุ การชักนําการออกดอก

การจาแนกพืชพืชตามความตอ้ งการน้า จาํ แนกได้ดังน้ี

1. Hydrophyte หมายถึง พชื ทต่ี ้องการนํา้ มาก เหมาะที่จะปลกู ในพ้นื ท่ีลมุ่ เชน่ ข้าว บัว
เป็นตน้

2. Mesophyte หมายถึง พืชที่ตอ้ งการน้ําปานกลาง ไดแ้ ก่พืชทัว่ ๆ ไป เชน่ มะมว่ ง
ขา้ วโพด ถ่วั ต่าง ๆ อ้อย เงาะ เป็นต้น

3. Xerophyte หมายถึง พืชทีต่ ้อ งการน้ําน้อย เปน็ พืชทท่ี นแลง้ ได้ดี เหมาะสําหรบั พ้นื ท่ี
ท่ขี าดแคลนนา้ํ เชน่ ตะบองเพชร พชื หัวตา่ ง ๆ

4. Aerophyte หมายถงึ พืชทมี่ ีระบบรากพิเศษ สามารถดดู และเก็บความชน้ื ในอากาศ
เรยี กว่า Velamen เป็นเยือ่ สีขาว นอกจากนร้ี ากยังช่วยในการยดึ เกาะใหล้ าํ ต้นมคี วามแขง็ แรง
ย่ิงขน้ึ เช่น กลว้ ยไม้

อากาศ (Cimate)

อากาศประกอบด้วยแก๊สท่ีสําคัญ 3 อย่าง คอื ไนโตรเจน (N) ออกซเิ จน (O2 ) และ
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2 ) ไนโตรเจนในอากาศนั้นพืชชัน้ สูง นํามาใช้ไม่ได้ แต่พืชชนั้ ต่ํา
บางอยา่ ง เชน่ รา และบกั เตรบี างชนดิ สามารถตรึงไนโตรเจน จากอากาศไปใช้ ได้ ออกซเิ จนใน
ดนิ และในอากาศจาํ เป็นต่อการหายใจ คาร์บอนไดออกไซด์เปน็ วตั ถดุ บิ ในกระบวนการ
สงั เคราะหแ์ สงของพชื เพ่อื ใหไ้ ด้แป้งและนํ้าตาล การเคล่ือนย้ายของอากาศทําให้เกดิ ลม
ในขณะทีล่ มพัดจะมีการเคลือ่ นท่ขี องโมเลกลุ O 2 และไอนํา้ เขา้ และออกทางปากใบไดเ้ ร็วย่ิงขึ้น
ทาํ ใหก้ ระบวนการต่าง ๆ เชน่ การหายใจ การคายนา้ํ การสงั เคราะห์แสงดขี น้ึ นอกจากน้ลี มยัง
ชว่ ยในการผสมเกสรของพชื หรือการขยายพนั ธุ์ของพชื โดยวธิ กี ารท่เี มล็ดปลวิ ไปกบั ลม เช่น
ประดู่ ยาง เป็นตน้

แต่บางครั้งลมกม็ โี ทษได้ เช่น ทําความเสยี หายแกพ่ ืชเมื่อเกิดพายแุ ละแพร่เชื้อโรค
จําพวกเชื้อราชนดิ ตา่ ง ๆ หรอื วชั พชื ได้เปน็ อย่างดแี ละรวดเร็ว ก่อให้เกิดความยากลาํ บากแกก่ าร
ฉีดปุ๋ยและยาป้องกันกาํ จัดศตั รพู ืชตา่ ง ๆ ดว้ ย อากาศในดินเก่ียวขอ้ งกับการดดู แรธ่ าตุอาหาร
และนํา้ ของราก ถ้าดินแนน่ การถ่ายเทอากาศไมด่ ี รากพชื จะดูดธาตุอาหารและนํ้าไปใช้
ประโยชน์ไดย้ า ก

ดนิ (Soil)
พืชตอ้ งอาศัยดนิ ในการเจรญิ เติบโตต้งั แตเ่ ริ่มงอกออกจากเมลด็ จนกระทั่งโตให้ดอก

ให้ผล เน่ืองจากดินเป็นสิง่ ที่สําคัญอยา่ งหนึ่งท่ีควบคมุ หรือกําหนดการเจรญิ เตบิ โตของพืช สง่ิ ที่
พืชไดร้ ับจากดินคือ ดนิ เป็นทห่ี ย่ังรากยดึ ลาํ ตน้ ใหต้ ั้งตรง พชื ไดร้ บั นํ้าและอากาศจ ากดินและ
ได้รบั ธาตอุ าหารเกือบทุกชนิดจากดิน

สิ่งทดี่ ินใหแ้ ก่พืช
ส่วนประกอบของดนิ ดินประกอบด้วย 4 สว่ น คอื

1. แรธ่ าตุ หรอื อนินทรยี วัตถุ ได้มาจากการสลายตวั ผุ พงั ของหินและแร่ชนิดต่าง ๆ ดิน
ในแต่ละทอ้ งทจ่ี ะมีสว่ นประกอบของธาตตุ า่ ง ๆ แตกตา่ งกนั ไปและแรธ่ าตเุ พยี งบางชนดิ เทา่ นั้น
ทพี่ ืชจะดูดข้นึ มาใช้เปน็ อาหาร

2. อินทรียวตั ถุ ไดม้ าจากการเน่าเป่อื ยผผุ ังของซากพืชซากสัตวท์ ต่ี ายแลว้ ทบั ถมกนั อยู่
บนดนิ อนิ ทรยี ใ์ นดนิ มีความสําคัญม าก คอื เปน็ แหลง่ ใหธ้ าตุอาหารพืชบางชนิด ทาํ ใหด้ ิน
สามารถอมุ้ นํา้ ได้ดีขึน้ ทาํ ให้ดินตรึงธาตุอาหารไว้ได้มากขึน้ และทําใหด้ ินมีโครงสรา้ งดขี ้นึ

หนา้ ที่ของอินทรยี วตั ถุ

3. นา้ ดนิ แต่ละชนิดจะอมุ้ นํ้าไว้ไดม้ ากน้อยไมเ่ ทา่ กัน ดินทรายจะอมุ้ นํ้าได้น้อยกวา่ ดิน
เหนยี ว น้าํ ในดนิ น้นั ไมใ่ ช่นํา้ บริสทุ ธิ์ แตจ่ ะมีแรธ่ าตตุ ่างๆ ละลายอยู่ และพชื จะดดู ดึงเอาแร่ธาตุ
บางชนดิ ท่ลี ะลายอยู่ในนาํ้ ไปใช้เป็นอาหาร พืชกนิ อาหารในรูปของสารละลาย ฉะนั้นถา้
ปราศจากซ่งึ น้าํ หรือความชนื้ ในดิน แมจ้ ะมีธาตอุ าหารอยมู่ ากในดิน พชื ก็ไมส่ ามารถดูดขึ้นไป
ใชไ้ ด้

4. อากาศ อากาศในดนิ มคี วามสาํ คัญตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื ดินทมี่ ีนํ้าขงั หรือดนิ ท่ี
แน่นทบึ พืชจะไม่เจรญิ งอกงามเทา่ ทคี่ วร เพราะรากพชื ขาดอากาศสาํ หรบั หายใจ จึงทําให้ไม่
สามารถดูดธ าตอุ าหารขนึ้ ไปใชไ้ ด้

คณุ สมบัติของดิน ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการเจริญเติบโตของพชื ได้แก่

1. เนอื้ ดนิ แบง่ เป็น 3 ชนิด คือ ดินทราย ดนิ ร่วน และดนิ เหนียว ดินทีเ่ ป็นทรายจะอุ้มนา้ํ
ได้ไม่ดี ดินจะแห้งง่ายและยังมีธาตอุ าหารพชื อยนู่ อ้ ยกวา่ ดนิ ชนดิ อน่ื สว่ นดนิ เหนยี วน้ันจะอุ้ม น้ํา
ไดม้ ากและมีธาตุอาหารพชื อยู่มากแต่มีข้อเสยี ที่การระบายนา้ํ ไมด่ ี มกั จะมีนาํ้ ขงั ทําใหอ้ ากาศไม่
เพยี งพอสาํ หรับรากพืชใชใ้ นการหายใจ นอกจากนยี้ ังทําการไถพรวนได้ลาํ บาก เนอ้ื ดนิ เปน็
คุณสมบตั ิ ทเี่ ปล่ียนแปลงได้ยาก แมจ้ ะมีการใชท้ ี่ดินทาํ การเกษตรติดตอ่ กนั มาเป็นเวลานาน ดนิ
ร่วนจงึ เป็นดนิ ที่เหมาะกับการเจรญิ เติบโตของพืชมากกวา่ ดินเหนยี ว และดินทราย

2. ความเปน็ กรดดา่ งของดิน หรือที่เรยี กว่า pH ของดิน คา่ ความเป็นกรดดา่ งของดินจะ
บอกเป็นคา่ ตวั เลข ต้งั แต่ 0 ถงึ 14 ถา้ ดนิ มคี ่าความเป็นกรดดา่ ง นอ้ ยกว่า 7 ดินนัน้ จะเป็นกรด ยง่ิ
น้อยกวา่ 7 มากกจ็ ะเปน็ กรดมาก ถา้ ดนิ มคี ่าความเปน็ กรดดา่ ง มากกว่า 7 จะเปน็ ดนิ ด่าง ดินทม่ี ี
คา่ ความเป็นกรดดา่ งเท่ากับ 7 พอดี แสดงวา่ ดินเป็นกลาง ความเปน็ กรดด่างของดินจะเป็นตวั
ควบคมุ ความมากนอ้ ยของธาตอุ าหาร ทจ่ี ะละลายออกมาอยู่ในนา้ํ ในดิน การละลายได้มากนอ้ ย
ของธาตุอาหารพชื ที่ชว่ ง ความเปน็ กรดดา่ งต่าง ๆ พืชแตล่ ะชนิดจะเจริญเติบโตไดด้ ใี นดินทมี่ ี
ชว่ งความเป็นกรดดา่ งต่างกนั เชน่ ข้าวโพด ตอ้ งการคา่ pH ที่เหมาะสม 5.5-7.0 ถวั่ ลิสง 5.5-6.5
มะเขอื 5.5-6 แต่พชื ท่ัว ๆ ไปจะเจรญิ เติบโตไดด้ ใี นชว่ งค่า pH 6.0 - 7.0

ในกรณีทเ่ี ปน็ กรดมากเกนิ ไป จะตอ้ งทาํ การแก้ความเปน็ กรดโดยการใสป่ ูน จะเป็นปูนขาว ปนู
โดโลไมท์หรอื ปูนมาร์ลก็ได้ กอ่ นที่จะทําการปลกู พชื สาํ หรับจาํ นวนปูนท่ีจะใสน่ น้ั จะรไู้ ดโ้ ดย
การเก็บดนิ ส่งไปวเิ คราะห์

3. ความอุดมสมบรู ณข์ องดนิ หมายถึง ความมากนอ้ ยของธาตอุ าหารพชื ทพ่ี ชื จะ
สามารถนําไปใชป้ ระโยชน์ได้ แม้ดินประกอบดว้ ยแรธ่ าตหุ ลายชนดิ แต่แร่ธาตทุ ่พี ืชสามารถ
นาํ มาใช้เปน็ อาหารได้มีเพยี ง 13 ชนดิ เท่านั้น แบ่งเปน็ 2 กลุม่ ใหญ่ ๆ คอื

3.1 ธาตอุ าหารท่พี ืชใชใ้ นปรมิ าณมาก เปน็ กลมุ่ ธาตุอาหารทพี่ ืชตอ้ งการใน
ปริมาณมากสาํ หรบั การเจริญเตบิ โต แบ่งย่อยออกเป็น 2 พวก คอื

3.1.1 ธาตอุ าหารหลกั เปน็ ธาตุอาหารท่ีพืชตอ้ งการในปรมิ าณมาก
สําหรบั การเจรญิ เตบิ โต คอื ธาตไุ นโตรเจน ( N) ธาตุฟอสฟอรัส ( P) และธาตุ
โพแทสเซียม ( K) ดินมักจะมไี ม่เพียงพอต่อความต้องการของพชื จึงต้อง
เพมิ่ เติมให้แก่พืชในรปู ของป๋ยุ เคมี

3.1.2 ธาตอุ าหารรอง เปน็ ธาตอุ าหารทพี่ ืชตอ้ งกา รมากแตร่ องจาก
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ไดแ้ ก่ ธาตุแคลเซียม ( Ca) แมกนีเซียม (
Mg) และกาํ มะถัน ( S)

3.2 ธาตอุ าหารทพ่ี ืชใชใ้ นปริมาณน้อย เปน็ ธาตุที่พชื ต้องการในปรมิ าณท่ีน้อยแตม่ คี วาม
จาํ เปน็ ทีพ่ ชื จะขาดไม่ได้ ถ้าขาดจะแสดงอาการออกมาใหเ้ หน็ ได้แก่ ธาตเุ หลก็ (Fe) สังกะสี (
Zn) ทองแดง (Cu) แมงกานสี (Mn) โมลิบดนี มั (Mo) โบรอน (B) และ คลอรนี (Cl) ธาตุอาหาร
ในกลุ่มนีม้ กั จะมเี พียงพอต่อความต้องการของพืชแลว้

ในดนิ แตล่ ะชนิดจะมแี รธ่ าตุต่าง ๆ อยใู่ นปริมาณทไ่ี ม่เทา่ กัน การทีจ่ ะรู้วา่ ดนิ แปลงหน่งึ
ๆ มีความอดุ มสมบูรณ์หรอื ไม่ จะต้องมกี ารตรวจสอบหรอื ประเมนิ ความอดุ มสมบรู ณ์ของดนิ
แปลงนน้ั ๆ เสียก่อน ซ่ึงทาํ ไดห้ ลายวิธี คอื

1. การสังเกตอาการของพืชที่ปลกู เปน็ วธิ ที งี่ า่ ย สะดวกและรวดเร็ว เชน่ พชื ท่ีขาดธาตุ
ไนโตรเจนอยา่ งรุนแรงจะมีอาการขอบใบเหลอื ง หรือต้นแคระแกรน็ พชื ท่ขี าดธาตฟุ อสฟอรสั
อย่างรุนแรง จะแสดงอาการแคระแกรน็ ใบสีเขียวทบึ ไม่สดใส ใบลา่ งจะมีสมี ว่ ง รากพืชจะไม่
เติบโต พืชทีข่ าดธาตุโพแทสเซยี มอยา่ งรุนแรง มักจะ เห่ียวง่าย แคระแกร็น ใบลา่ งจะเหลอื ง
และเกิดเปน็ รอยไหมต้ ามขอบใบและในทีส่ ดุ จะมีผลผลิตตาํ่ วธิ ีการสังเกตอาการของพืชนีต้ อ้ ง
อาศัยความชํานาญ มาก ผลทไี่ ดไ้ มค่ ่อยถูกต้องนกั และใช้ได้กับพืชบางชนดิ เท่านัน้ ทัง้ น้เี พราะ
อาการท่ีพชื แสดงออกเม่อื ขาดธาตุอาหารมักจะคล้าย ๆ กัน ยากท่ีจะบอกได้

2. การวิเคราะหพ์ ชื เปน็ วธิ ีท่มี ีความยงุ่ ยากพอสมควร เพราะต้องพจิ ารณาว่าจะเก็บสว่ น
ใดของพชื มาวิเคราะห์ อายุ หรอื ชว่ งเว ลาในการเกบ็ กม็ ีความสาํ คัญดว้ ย

3. การทดลองใสป่ ยุ๋ ในไร่นา เปน็ วธิ ที ีแ่ ม่นยําทีส่ ุด แตว่ ิธีนี้สน้ิ เปลอื งมากและเสียเวลา
เพราะต้องทาํ แปลงทดลองในทกุ ทท่ี ตี่ ้องการรู้ความอดุ มสมบูรณ์ของดิน และต้องรอคอยจนกว่า
เก็บเกี่ยวผลผลิตถงึ จะรู้

4. การวิเคราะห์ดนิ เป็นวธิ ีท่ีนยิ ม กันกว้างขวาง โดยเกบ็ ตวั อยา่ งดนิ มาวเิ คราะหแ์ ล้วนาํ
คา่ ทว่ี เิ คราะห์ได้มาเปรียบเทยี บกบั ค่ามาตรฐาน ก็จะไดท้ ราบว่าดนิ น้ันมคี วามอดุ มสมบรู ณม์ าก
น้อยเพยี งใด

ชีวปัจจัย (Biotic factors)

หมายถงึ ปจั จยั ทีเ่ กี่ยวกับส่งิ มีชีวิตท่ีอยรู่ อบ ๆ และมีอทิ ธิพลต่อการเ จริญเตบิ โตของพืช
แบ่งออกเปน็ 4 พวก คอื

1. พวกเกาะกนิ พชื เช่น กาฝากจะแทงรากลงไปดดู กินอาหารจากท่ออาหารของพืชทม่ี นั
เกาะ ทําให้พชื ลดการเจริญเติบโตหรือตายในท่ีสดุ

2. พวกที่อยรู่ ่วมกบั พชื แบบแกง่ แย่งกนั เช่น
2.1 วัชพืช จะแย่งน้าํ และอาหารจากพชื ท่ปี ลกู และยังเปน็ แห ล่งของโรคและแมลงดว้ ย

หญ้าคา
2.2 โรคพืช จะทาํ ลายพืชทีม่ ันอาศยั โดยทาํ ใหเ้ กิดโรค พชื จะลดการเจริญเติบโตและตาย
ในที่สดุ

โรคเนา่ เละของกะหลาํ่ ปลีและผกั กาด

2.3 แมลงศตั รูพืช จะทําลายพืชโดยกดั กิน ดูดนํา้ เล้ยี งของพืชและเป็นพาหะนําโรคต่าง
ๆ เข้าสพู่ ืช

แมลงคอ่ ม
2.4 ส่งิ มีชีวิตอน่ื ๆ เชน่ นก หนู หอยทาก หอยเชอร่ี ปู ไร เปน็ ต้น จะทาํ ลายพืชโดยการ
กัดกินต้นพืชหรอื ผลผลติ ของพชื ไรจะทําลายโดยการดดู น้าํ เลยี้ งในส่วนตา่ ง ๆ ของพืช
สง่ิ มชี วี ิตสําคัญท่ีมผี ลการเจริญเติบโตของพืชมากคือ มนุษย์ สามารถทําลายพืชไดห้ ลายรปู แบบ
เชน่ ดึง ถอน เก็บ กิน เปน็ ต้น
3. พวกอยอู่ ย่างเปน็ อิสระตอ่ กัน เช่น การเกาะทค่ี บไม้ของตน้ กล้วยไม้ ต้นเฟริ น์ ชนิด
ต่าง ๆ ทเ่ี กาะต้นไม้ใหญ่ อาศยั ตน้ ไม้เป็นทอ่ี าศยั เท่านั้น ไม่ได้ทําประโยชนห์ รืออนั ตรายแต่
อย่างใด
4. พวกอยอู่ ยา่ งพงึ่ พาอาศัยกั น เช่น แบคทเี รยี ทีอ่ ย่ใู นปมของรากพืชตระกลู ถ่ัว จะอาศัย
อยทู่ ี่ปมรากพืชตระกลู ถ่ัวโดยไมท่ าํ อนั ตรายใหก้ ับพืช แต่จะช่วยตรงึ ธาตุไนโตรเจนจากอากาศ
ให้เปน็ ประโยชน์กับตน้ ถั่ว

วสั ดอุ ุปกรณแ์ ละเครอื่ งมือทางพชื กรรม

การปลกู พชื ทุกข้นั ตอนตั้งแตก่ ารเตรียมดิน การปลู ก การดูแลรักษา จนถงึ การเกบ็ เกย่ี ว
และการจัดการหลงั การเก็บเกยี่ ว ถ้ามกี ารใชว้ ัสดอุ ปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เครือ่ งทนุ่ แรงทเี่ หมาะสม
จะช่วยทาํ ให้ไดผ้ ลผลิตดที งั้ ในดา้ นปริมาณและคณุ ภาพ ลดความยุ่งยากในการจดั การ วสั ดุ
อุปกรณแ์ ละเครือ่ งมอื ทางพืชกรรมมีมากมายหลายประเภท แต่ล ะประเภทจะใชใ้ นงานตา่ ง ๆ
ได้แก่ ใช้ในงานการเขตกรรม ใช้ในการปฏบิ ัติบํารงุ รักษาพืช ใชใ้ นการเกบ็ เกยี่ วผลผลิตและใช้
ในการบรกิ ารอืน่ ๆ เพอื่ ใหผ้ ลผลติ อยใู่ นสภาพท่ดี ขี ้ึนหรือแปรรูปผลผลิต การเลอื กใช้ วสั ดุ
อปุ กรณแ์ ละเครื่องมอื ท่ถี กู ต้อง เหมาะสมกับงาน จะทาํ ใหส้ ามารถสงวน ทรพั ยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ ม การใช้วัสดอุ ุปกรณแ์ ละเคร่อื งมอื ทุกครงั้ ผูใ้ ช้จะตอ้ งมีวิธกี ารเก็บรักษาทถ่ี ูกตอ้ ง
เพ่ือให้วัสดุอปุ กรณแ์ ละเครือ่ งมือน้นั ๆ อยู่ในสภาพทด่ี ี พร้อมจะใช้งานไดต้ ลอดเวลา

ความสาคัญของวัสดอุ ุปกรณแ์ ละเคร่ืองมือทางพืชกรรม

การเกษตรเป็นปจั จยั พ้ืนฐานในการดํารงอยู่ของมนุษย์ ในปจั จุบนั อัตราการเพม่ิ ของ
ประชากรเป็นไปอย่างรวดเร็ว การเกษตรจงึ ตอ้ งขยายตวั ตามไปด้วย เพื่อรองรบั ความตอ้ งการ
ในการบรโิ ภคของประชากร การเพ่มิ ผลผลิตทางการเกษตรนนั้ สามารถทาํ ไดโ้ ดยการขยายพ้ืนท่ี
การเกษตรเพ่มิ ขึน้ หรือเพิม่ ประสิทธภิ าพก ารผลติ ตอ่ พ้ืนที่ใหส้ ูงข้นึ แตเ่ นอ่ื งจากพ้นื ทมี่ ีจาํ กดั จงึ
ตอ้ งหนั มาเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต คอื ทําให้ผลผลติ มากข้นึ ในขณะทพี่ นื้ ทยี่ ังเทา่ เดิม ซึง่ วธิ ี
หนึง่ ในการเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลติ คือการนาํ เคร่อื งมอื ทุ่นแรง ซ่ึงอาจจะเป็น วสั ดุ อุปกรณ์
เครอื่ งมือหรือเครื่อง จักรกลต่าง ๆ มาใช้

ประโยชนข์ องการใชว้ สั ดุอุปกรณแ์ ละเครอื่ งมือทางพืชกรรม

1. เพอื่ ช่วยท่นุ แรง ลดความเหนื่อยยากของเกษตรกรและทดแทนแรงงานซ่ึงหายาก ขึน้
ทุกวัน

2. ลดตน้ ทุนในการผลติ เพราะเคร่อื งทนุ่ แรงสามารถทํางานไดม้ ากกวา่ ในเวลาเทา่ กนั
จึงลดต้นทุนการผลติ ลง นอกจากนย้ี งั ความเสยี หายของผลผลติ เมื่อเกดิ กรณีรบี ดว่ น เชน่ น้าํ ทว่ ม

3. ประหยัดเวลา สามารถเพาะปลกู และเก็บเกี่ยวไดท้ นั เวลา ตามฤดกู าล แมใ้ นพน้ื ท่ี
ขนาดใหญ่

4. ช่วยปรับปรุงและรักษาคุณภาพของผลผลติ เชน่ ในการทําความสะอาด การแยกคดั
ขนาด การเก็บรักษาโดยการแชแ่ ข็งและขนส่ง ได้รวดเร็ว ผลผลติ ไมเ่ นา่ เสียหาย

5. ชว่ ยเพ่มิ ปรมิ าณผลผลติ เช่น ในการเตรยี มดนิ อยา่ งถูกวิธีทําให้ดนิ มคี ุณสมบัติเหมาะ
กบั การปลกู พชื ผลผลติ ทีไ่ ดก้ ็จะสงู ขึน้ หรือสามารถทํานาได้ปีละ 2-3 ครั้งในพนื้ ที่เดียว

6. เพ่อื เป็นการใช้ทรัพยากรอยา่ งคมุ้ ค่า ช่วยสงวนรกั ษาส่งิ แว ดล้อมใหค้ งสภาพทีด่ ี

ประเภทของเครอ่ื งมือพืชกรรม

การจาแนกเครอื่ งมอื ตามแรงงานทใี่ ช้

1. เครือ่ งมอื ท่ีใช้แรงงานคน เป็นเคร่ืองมือท่ีจาํ เป็นอันดบั แรก ๆ ของ การปลูกพชื ใชก้ ับ
งานท่ีประณีตทเี่ ครื่องทนุ่ แรงอยา่ งอน่ื ใช้ไมไ่ ด้ ได้แก่ จอบ ช้อนปลกู ส้อมพรวน มอื เสอื สําหรับ
พรวน คราด สอ้ ม เสยี ม พลวั่ จอบ

2. เคร่ืองมือทีใ่ ช้แรงงานสัตว์ ใช้แรงงานสัตว์เป็นแหลง่ พลังงาน เช่น ชา้ ง มา้ วัว ควาย
อูฐ เหมาะสมกับการเกษตรแบบผสมผสาน ไมส่ ร้ างมลภาวะ และสตั ว์ยังเพม่ิ อนิ ทรยี วตั ถุให้กบั
ดินอกี ดว้ ย ได้แก่ ไถ คราด ลูกกล้งิ กระดานลาก

3. เครื่องมอื ท่ใี ชเ้ ครื่องยนต์ เหมาะสําหรบั เกษตรกรทีม่ ีพนื้ ที่ขนาดใหญ่ ถา้ พ้นื ทน่ี ้อยไป
จะไม่คมุ้ ค่า ได้แก่ ไถหวั หมู ไถจานหรือไถกระทะ พรวนจานพรวนซ่สี ปรงิ เครือ่ งพน่ สารเคมี
ปอ้ งกนั กาํ จัดศัตรูพชื พรวนระหวา่ งแถว เครอ่ื งเกบ็ เก่ียวผลผลิตซ่งึ ต้องใชก้ บั พืชทส่ี กุ พรอ้ มกัน
เป็นส่วนใหญ่และปลูกเป็นพ้ืนทก่ี วา้ งใหญ่ เครอื่ งสบู นาํ้ เคร่อื งกาแถว เคร่อื งปลกู รถพว่ ง

4.เครือ่ งมือทใ่ี ชแ้ รงจากธรรมชาติ อาศยั แรงจากธรรมชาติ เชน่ กระแสน้าํ ความเรว็ ของ
ลม เป็นแหลง่ พลังงาน เชน่ ระหัดวิดน้าํ กงั หนั ลม

5. เครอ่ื งมือที่ใช้แรงจากพลงั งานไฟฟา้ ไดแ้ ก่ เครอ่ื งสูบน้ํา ท่ีใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า เครื่อง
ตัดหญ้า เคร่อื งบดอาหารสัตว์ เคร่อื งอบ เคร่อื งกะเทาะเมลด็ เครอื่ งสี เครื่องนวด

จาแนกเคร่ืองมือทางพืชกรรมตามลกั ษณะการใชง้ าน

จาํ แนกไดเ้ ปน็ 4 ประเภท
1. เครอื่ งมอื เขตกรรม คือ เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการเตรียมดิน พรวนดิน ไดแ้ ก่ จอบ ช้อน

ปลูก ส้อมพวน มอื เสือสําหรบั พรวนเสียม พลัว่ ไถหวั หมู เปน็ เครอื่ งมือทส่ี ามารถไถพลกิ หราก
ไม้ หรอื กอ้ นหนิ อยใู่ นดิน ไถจานสามา รถกลิ้งตวั ข้ามส่ิงกดี ขวางไปได้ เหมาะสําหรบั พ้นื ทแ่ี หง้
แขง็ ดนิ เหนียวมาก มสี ิง่ กีดขวาง เช่น รากไม้ ตอไม้ เป็นตน้ พรวนจานเปน็ เคร่อื งมือทีด่ ีทส่ี ุดท่ี
ทาํ ให้ดนิ แตกเป็นกอ้ นเลก็ ๆ พรวนซ่สี ปรงิ

2. เคร่อื งมอื ปฏิบัตบิ ารงุ รักษา คอื เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในปฏิบัตดิ แู ลรกั ษา ระหวา่ งพชื
เจรญิ เติบโต ไดแ้ ก่ มีดหวด ใชฟ้ นั ปา่ ถางหญา้ ระหว่างแถวปลกู รวมทัง้ มีดทใี่ ชใ้ นการตอน ตดิ
ตา ทาบกง่ิ หรอื ขยายพนั ธพุ์ ืช กรรไกร ใช้ตัดไม้ดอก ตัดแตง่ ไม้ประดั บ ไมผ้ ล ไม้ยืนบวั รดน้ํา
บุง้ ก๋ี เลื่อย เคร่อื งพ่นยาป้องกันกาํ จดั ศตั รพู ืช เครือ่ งพน่ สารเคมีป้องกนั กาํ จดั ศตั รูพชื เครอ่ื ง
พรวนระหวา่ งแถว


Click to View FlipBook Version