The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นุชอนงค์ คงเทศ, 2019-06-04 02:10:44

หลักพืชกรรม

หลักพืชกรรม

3.เครือ่ งมอื เก็บเกย่ี ว ได้แก่ เคยี วใช้เก่ียวขา้ ว เก่ียวหญา้ อาหารสตั ว์ มีดใชต้ ดั ข้าวฟา่ ง ตัด
ออ้ ย ตะกร้อใช้เก็บเกี่ยวผลไม้ จอบใช้ขดุ พชื หัว เคร่อื งเกบ็ เกีย่ วผลผลติ ขา้ วโพด ขา้ วฟา่ ง มะเขือ
เทศ ต้องใชก้ บั พืชทสี่ ุกพรอ้ มกนั เปน็ ส่วนใหญแ่ ละปลูกเป็นพื้นทีก่ วา้ งใหญ่

4.เครอ่ื งมอื บรกิ ารพเิ ศษ เป็นเครื่องมือในการบริการอนื่ ๆ ช่วยใหผ้ ลผลิตทางการ
เกษตรอยใู่ นสภาพทดี่ ขี ึน้ หรอื แปรรูปผลผลติ ได้ ได้แก่ เคร่ืองมอื ใส่ปุ๋ยแบบแรงงานคน เคร่อื ง
กะเทาะเมล็ด เคร่อื งฝดั มื อเครือ่ งกาแถว เคร่ืองปลูก รถพ่วง

หลกั ในการใช้วสั ดอุ ุปกรณ์และเครอ่ื งมือทางพชื กรรม

การใช้วัสดุอปุ กรณแ์ ละเคร่ืองมือทางพืชกรรมดว้ ยหลกั ความปลอดภยั และเกดิ
ประสิทธิภาพสูงสุด โดยคํานึงถึงการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

ได้แก่

1. ตอ้ งศึกษาหาความรเู้ กย่ี วกบั วธิ ีการใช้ โดยศกึ ษาจากคมู่ ือหรือผู้รู้

2. ใชว้ ัสดอุ ปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ใหถ้ กู ต้องและเหมาะสมกบั งาน

3. ต้องตรวจสภาพวัสดุอปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมือใหอ้ ยูใ่ นสภาพสมบูรณพ์ ร้อมใช้ทุกคร้งั
ก่อนนําไปใช้งาน ถ้าหากชํารุดต้องซ่อมแซมใหเ้ รยี บรอ้ ยก่อนใช้ ถ้าเป็นเครอื่ งมอื หรืออปุ กรณท์ ่ี
มีความคม จะต้องลับให้คมเสมอ

4. ในขณะใช้ตอ้ งตรวจและคอยสังเกตวา่ มีอะไรผิดปกตบิ า้ ง ถ้าผดิ ปกตติ ้องรบี แกไ้ ข
ทนั ที

5. ไมค่ วรใช้วสั ดุอปุ กรณแ์ ละเคร่ื องมอื ดว้ ยความประมาทและเลินเล่อ

6. อย่าใชเ้ ครือ่ งมอื หกั โหม ควรระวังการแตกหักเสยี หาย

7. ควรแตง่ กายใหร้ ดั กมุ และเหมาะสมในการปฏบิ ตั งิ าน

8. กอ่ นนาํ เคร่ืองมือชนดิ ใดออกไปใช้ ตอ้ งนําเคร่ืองมือสาํ หรบั ซ่อมไปดว้ ยเสมอ

9, การใช้วสั ดุอุปกรณ์และเครอื่ งมอื ทุกครั้ง ให้คํานึงถงึ การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดลอ้ มด้วยเสมอ

10. เมือ่ ใช้เสร็จแลว้ กอ่ นนําเขา้ เกบ็ ตอ้ งตรวจดคู วามบกพร่องอกี ครงั้ ถ้ามกี ็รีบแก้ไข
เพอื่ สะดวกในการใชง้ านในโอกาสตอ่ ไป

หลกั การเกบ็ รกั ษาวัสดอุ ุปกรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ทางพืชกรรม

วสั ดอุ ปุ กรณ์และเครอ่ื งมื อทางพืชกรรมทุกประเภททกี่ ลา่ วมาแลว้ ตอ้ งมีการเกบ็ รักษาท่ี
ถูกตอ้ ง จงึ จะอยู่ในสภาพที่ดี พรอ้ มจะอํานวยความสะดวกในการใชง้ าน หลกั การเกบ็ รกั ษา
ไดแ้ ก่

1 . ไมค่ วรปล่อยใหว้ สั ดุอปุ กรณแ์ ละเคร่ืองมือทุกชนิดตากแดดตากฝน ควรเกบ็ ไว้ใน
โรงเรอื นป้องกันแดดและฝนได้

2 . ระวังกา รเกดิ สนมิ ควรชะโลมด้วยนาํ้ มนั กันสนิมหลังการใช้

3 . ควรจดั วางให้เปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย ตามคํากลา่ วท่ีว่า “ หยิบก็งา่ ย หายกร็ ู้ ดกู ็งาม ”

4 . มกี ารอัดจารบสี ว่ นที่มีการเสียดสี เพอ่ื ลดการสึกหรอของเครอ่ื งมือ

5 . ควรมบี ัญชรี ายการวสั ดอุ ุปกรณแ์ ละเครือ่ งมือไว้ เพอ่ื สะดวกในการใช้และช่วยเตอื น
ความจาํ

6 . ถา้ ไม่จําเป็นจรงิ ๆ ไมค่ วรใหผ้ อู้ นื่ หยิบยืมวัสดอุ ุปกรณ์และเคร่ืองมอื เพราะจะ สกึ
หรอและเสยี หายเรว็ ขึน้

การปลูกพชื เพอ่ื ใหไ้ ดใ้ หผ้ ลผลติ ตามจุดม่งุ หมายทง้ั ดา้ นปรมิ าณและคุณภาพ จะต้องมี
การปลูกและปฏบิ ตั ดิ แู ลรกั ษาใหถ้ ู กตอ้ ง ถกู เวลา

การเตรยี มเมลด็ พันธ์ุ กิ่งพนั ธ์แุ ละทอ่ นพันธ์ุ

กอ่ นการปลูกตอ้ งมีการเตรยี มวัสดุปลกู ซ่งึ ได้แก่เมล็ดพันธุ์ ก่ิงพันธหุ์ รือทอ่ นพนั ธ์ุ ให้
เหมาะสมและถูกตอ้ ง ได้แก่
การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ เมล็ดพันธุ์ทดี่ ีต้องมีลกั ษณะดงั นี้

1. เปน็ เมล็ดพันธทุ์ ่ีแก่ เตม็ ทห่ี รอื สุกแกต่ ามสรรี วิทยา
2 . เปน็ เมล็ดพนั ธุ์ท่ตี รงตามพนั ธเ์ุ ดมิ
3 . เป็นเมล็ดทสี่ มบูรณ์ ปราศจากโรคและแมลงที่ติดมากบั เมล็ด
4 . มีเปอรเ์ ซ็นตค์ วามงอกสงู
5 . ปราศจากสิง่ เจอื ปน
การคดั เลือกกิง่ พันธแ์ ละท่อนพนั ธ์ุ ก่ิงพันธ์ุและทอ่ นพนั ธุท์ ี่ดตี อ้ งมีลักษณะ ดังน้ี
1 . ตรงตามพนั ธ์เุ ดมิ และเปน็ พนั ธุท์ ่ตี รงตามความต้องการของผ้บู รโิ ภค
2. ไมอ่ ่อนหรือแกเ่ กนิ ไป
3 . มีความสมบูรณไ์ ด้ขนาด
4 . ปราศจากโรคและแมลงทําลาย
5 . มีตาทสี่ มบรู ณ์

6 . ทอ่ นพนั ธ์คุ วรมาจากแปลงทอ่ นพันธุ์โดยเฉพาะ ไมค่ วรใชท้ ่อนพนั ธจ์ุ ากแปลงปลูก
การเตรยี มเมลด็ พันธุก์ อ่ นปลกู

1. การทดสอบความงอกของเมล็ด เมลด็ ทมี่ คี วามงอกต่ําไมค่ วรใช้ทําพนั ธุ์
เป็นการตรวจสอบคุณภาพของเมลด็ เพ่ือให้ทราบถงึ เปอร์เซน็ ต์ของเมล็ดทีส่ ามารถงอกใหต้ ้น
กล้าทสี่ มบรู ณภ์ ายใตส้ ภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม ทาํ ให้สามารถกําหนดอัตราการใช้เมลด็ พนั ธุต์ ่อ
พื้นทปี่ ลกู ได้

การเพาะเมลด็
2. คลุกเมล็ดด้วยสารเคมปี ้องกันและกาจดั ศตั รพู ืช เชน่ ใช้ยาเมตาแลกซลิ ( Metalaxyl)
คลกุ เมล็ดเพือ่ ป้องกนั โรคราน้าํ ค้าง อาจจะใชช้ ีว วิธี โดยใชเ้ ช้อื ราไตรโคเดอร์มาชนดิ สดคลุก
เมล็ดอัตรา 1-2 ช้อนแกงตอ่ เมล็ด 1 กก . ปอ้ งกันโรคโรครากเนา่ โคนเน่า โรคเหีย่ ว โรคเนา่
ระดบั ดนิ โรคกลา้ เนา่ ยบุ
3. แก้การพักตัว สําหรับเมล็ดทง่ี อกยากหรือมกี ารพักตวั อาจจะเนื่องจากมีเปลือกทแ่ี ข็ง
หนา หรอื มสี ารยับยั้งการงอกข องเมลด็ ตอ้ งมกี ารแกก้ ารพกั ตัวของเมลด็ เชน่ การแชน่ ํ้า การตัด
หรือคีบเปลือกหุ้มเมลด็ ออกเพือ่ ให้นํา้ สามารถเข้าไปในเมล็ดได้
4. เตรียมเมลด็ พันธ์ุให้เพยี งพอ กับจาํ นวนพ้ืนทที่ ่จี ะปลูก
5. พืชไร่บางชนดิ ต้องคลกุ เมล็ดดว้ ยเช้ือแบคทีเรีย เชน่ ถว่ั เหลอื ง ถ่ัวเขยี ว ถว่ั ลิ สง การ
คลกุ ดว้ ยเชือ้ ไรโซเบียม จะชว่ ยเพิ่มผลผลติ และลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนลงได้

การเตรยี มทอ่ นพันธแ์ุ ละก่งิ พันธ์ุ
การเตรียมทอ่ นพนั ธพุ์ ืชไร่

1 . การตดั ทอ่ นพนั ธุ์ ใหแ้ ตล่ ะทอ่ นพนั ธุม์ ี 3-5 ตา ข้นึ กบั ชนิดของพชื
2. แชด่ ้วยยากันเชือ้ ราหรอื น้ําร้อน ในกรณีที่มีโรคร ะบาดหรอื เช้อื โรคอาจติดมากบั ท่อน
พันธ์ุ เช่น โรคเขม่าดาํ ของอ้อย ให้แช่ทอ่ นพันธ์ุในสารเคมี Triadimefon 500 ppm. นาน 30 นาที
หรือ การนําท่อนพันธ์ุออ้ ยแชน่ ้ํารอ้ น 52 องศาเซลเซียส นาน 18 นาที สามารถกาํ จัดเช้ือโรค
เขม่าดําท่ีติดมากับทอ่ นพนั ธุ์อ้อยได้ การแช่ท่อนพันธุ์อ้ อยดว้ ยใหแ้ ชด่ ว้ ยนา้ํ รอ้ น 50 องศา
เซลเซยี ส นาน 2-3 ช่วั โมง สามารถกาํ จัดเชอ้ื โรคใบขาวที่ตดิ มากบั ทอ่ นพนั ธุ์อ้อยได้
การเตรียมกงิ่ พนั ธ์ไุ มผ้ ล ผู้ผลติ นยิ มผลติ ขยายพนั ธไ์ุ ม้ผลจากต้นพนั ธ์ุดีเพอ่ื ปลกู เองหรือ
ขายให้แกผ่ ู้อนื่ ไปปลกู น้ัน โดยมากมกั ขยายพันธุโ์ ดยวิธที ีข่ ยายพั นธุ์โดยไมใ่ ชเ้ พศ ได้แก่ การตดั
ชาํ หรอื การปกั ชํา การตอนกง่ิ การทาบก่ิง การต่อก่งิ การตดิ ตา

การเตรียมก่ิงพนั ธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ นอกจากการปลูกด้วยเมล็ ดพนั ธุแ์ ลว้ กรณีที่เปน็
ไม้ดอกไม้ประดับที่ปลกู ดว้ ยเมลด็ ไดย้ าก เมล็ดงอกยาก ไม่มเี มล็ดให้เพาะหรือมีเมล็ด ควรใชว้ ิธี
อื่นสะดวกกวา่ เชน่

1 . ปลกู ด้วยการปักชาํ ได้แก่ ใช้ใบปักชาํ เชน่ ดาดตะกว่ั โคมญีป่ ่นุ ควํ่าตายหงาย เป็น
ว่านล้ินมังกร ใชก้ ่งิ ต้นปักชาํ เชน่ ฤาษีผส ม หปู ลาชอ่ น ใบเงนิ ใบทอง ใช้ปักชําราก เชน่ โสม
โยทะกา สาเก ต้นสัก

2. ปลกู ด้วยการแยกหนอ่ หรือหัว ไดแ้ ก่ บอน เยอบรี า่ หนา้ ววั ไผ่ กล้วยไม้
3. ปลกู ด้วยกิง่ ตอน เชน่ กุหลาบ ยีโ่ ถ โกสน ฯลฯ
4 . ปลูกดว้ ยกิง่ ติดตา ทาบกง่ิ ตอ่ กง่ิ เชน่ ชบา สน เลบ็ ครุฑ กุหลาบ

การเตรียมแปลงปลกู

การเตรยี มแปลงปลกู ให้เหมาะสมต่อการปลูกพชื จะแตกต่างกันไปตามสภาพพน้ื ทแ่ี ละ
ชนดิ ของพืชท่ีปลกู ท่สี าํ คัญคอื กอ่ นการเตรียมดนิ ตอ้ งวเิ คราะหห์ าความเป็นกรด - ดา่ งของดนิ
เสยี ก่อน เพอ่ื จะไดป้ รับความเป็นกรด - ด่างของดนิ ใหเ้ หมาะสมกบั การเจรญิ เตบิ โตของพชื

จุดประสงคข์ องการเตรยี มดนิ

1 . เพอื่ เตรียมแปลงเพาะปลูกให้เหมาะสมตอ่ การปลุกพืช

2 . เพ่ือทําลายและปอ้ งกนั กาํ จัดวชั พชื

3 . เพื่อสงวนและรกั ษาความชมุ่ ช้นื ในดิน

4 . ปรบั เนอื้ ดนิ ให้โปร่ง รว่ นซยุ อากาศและนาํ้ ถ่ายเทไดส้ ะดวก

วธิ กี ารเตรยี มดิน

ขนึ้ กับวธิ กี ารปลกู ชนดิ ข องพชื วธิ กี ารใหน้ ํ้าและสภาพพ้นื ท่ี วิธีการเตรยี มดินมหี ลายวิธดี งั นี้

1 . การเตรยี มดินแบบไมย่ กรอ่ งปลูก เรม่ิ จากการไถดะ แลว้ ทิง้ ไวป้ ระมาณ 7-10 วัน
แล้วจึงไถแปร แลว้ ตามด้วยจานพรวน พน้ื ทีจ่ งึ จะพร้อมทจี่ ะปลูกพชื การไถควรไถขณะท่ดี ินมี
ความช้ืนพอควรแต่ไม่แฉะ ต้องไถขวางความลาดชันของพน้ื ท่ี

2. การเตรียมดินปลูกแบบยกรอ่ ง เหมาะกบั ดนิ ท่ปี ลกู แลว้ ให้นา้ํ แบบร่องลูกฟูก เชน่
การปลกู ขา้ วโพด ถว่ั เขียว ถว่ั ลิสง พืชทตี่ ้องปลกู ใหล้ ึกเพื่อป้องกนั การหกั ลม้ เช่น อ้อย ตอ้ งวาง
ลงในรอ่ งแลว้ กลบ แตม่ นั สําปะหลงั ตอ้ งปลกู บนสันร่องลกู ฟกู

3. การเตรียมดนิ ปลูกข้าว มีวธิ ีการเตรียมดนิ หลายวธิ ี แตกตา่ งกันไปขึ้นกับสภาพพ้นื ท่ี
สงั คม เศรษฐกิจ เช่น การเตรียมดินที่นาดอน เกษตรกรจะไถในขณะทดี่ ินแหง้ พอเหมาะ อาจไถ
ด้วยสตั ว์ ควายเหลก็ หรอื รถแทรกเตอร์ แล้วขังนํา้ ท้ิงไวใ้ หว้ ัชพืชสลายตัว ขไี้ ถอ่อนนุ่ม แล้วตี
เทือกดว้ ยไ ถจอบหมุน หรอื คราดจากแรงงานสัตว์หรือความเหล็ก การเตรียมดนิ ทน่ี าล่มุ น้าํ ขงั
ตลอดปี จะไถด้วยไถจอบหมนุ หรอื ใช้แรงงานจากสัตว์ยํ่าใหเ้ ปน็ เทอื ก แล้วคราดดว้ ยคราดโดย
ไมต่ ้องไถพรวน และการเตรียมดินเพื่อปลกู ขา้ วไร่ ถา้ เป็นปา่ เปดิ ใหม่จะใชว้ ธิ ีเผาต้นไมแ้ ลว้
ปลกู แต่ถ้าเป็นพื้ นท่ีทม่ี วี ัชพชื อาจใช้สารเคมกี าํ จดั วัชพืชแลว้ จึงหยอดเมลด็

การปลูกพืช

การปลูกด้วยเมล็ดพันธุ์ ทอ่ นพนั ธหุ์ รอื กิง่ พนั ธ์ุ มีส่งิ ท่ีต้องคํานึงถงึ ดังน้ี

ระยะปลกู หมายถึง ระยะระหว่างต้นและระยะระหวา่ งแถวพชื การปลกู พชื ในระยะ
ปลกู ท่เี หมาะสมทส่ี ดุ ควรยึดเอาคําแนะนําของ กรมวชิ าการเป็นหลัก เน่ืองจากเป็นระยะปลกู ท่ี
ได้ผ่านการทดลองมาแลว้ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามต้องเอาปจั จัยอนื่ มาพิจารณาร่วมด้วย เชน่ ความอดุ ม
สมบูรณ์ของดิน เช่น ดินดี ดนิ เลว

อตั ราปลกู หมายถึงจํานวนเมล็ด หรอื ท่อนพันธหุ์ รอื ก่ิงพนั ธุ์ ต่อหลมุ หรอื ต่อพ้นื ที่
ข้นึ อยกู่ บั หลายปั จจยั เช่น จุดประสงค์ของการใช้ประโยชน์ เปอรเ์ ซ็นต์ความงอกของเมลด็

วิธีการปลกู มีหลายวธิ ี ได้แก่

1. การปลกู ด้วยเมล็ด

1.1 การปลูกโดยวธิ กี ารหว่าน เปน็ วิธที ี่ทํางานไดร้ วดเรว็ ต้องอาศยั ความชํานาญ แตจ่ ะ
มีปัญหาวัชพชื รบกวน เนอื่ งจากเขา้ ไปกําจดั ได้ยาก จงึ มกั มกี ารใช้ สารเคมีในการปอ้ งกันกําจดั
พืชทน่ี ยิ มปลกู โดยวิธกี ารหวา่ น เชน่ ข้าว ซ่งึ จะตอ้ งควบคุมระดับน้าํ อย่างดเี พ่ือคุมวัชพืช ถว่ั
เขยี วทีป่ ลูกเป็นปยุ๋ พืชสด

1.2 การปลกู แบบโรยเปน็ แถว การปลูกแบบนีจ้ ะมรี ะยะระหวา่ งแถวแน่นอน เมื่อตน้
งอกแลว้ คอ่ ยถอนแยกทหี ลัง

1.3 การปลกู แบบเป็ นหลมุ การปลกู แบบนีจ้ ะมรี ะยะระหว่างต้นและระหวา่ งแถว
แนน่ อน ต้องหยอดเมล็ดเกินไวป้ ระมาณ 25 % แล้วค่อยถอนแยกทหี ลงั

2. การปลกู ดว้ ยต้นกลา้ เมลด็ ทเี่ ล็กมากและราคาแพง ควรทาํ การเพาะกล้าปลกู อาจเพาะลงใน
แปลงเพาะ หรือเพาะดว้ ยถาดพลาสตกิ

3. การปลกู ด้วยทอ่ นพนั ธ์ุ พืชบางชนิดปลูกดว้ ยท่อนพันธ์ุ เชน่ ออ้ ย มันเทศ มันสําปะหลัง

4. การปลกู ด้วยกง่ิ พันธ์ุ พืชบางชนิดปลูกด้วยท่อนพันธ์ุ เชน่ มะมว่ ง ทุเรียน ฤาษีผสม

การดูแลรกั ษา

การใส่ป๋ยุ

ความหมายของคาว่า " ปุ๋ย "

ปยุ๋ หมายถึงวสั ดใุ ด ๆ ก็ตามที่นามาใช้ โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหธ้ าตอุ าหารแก่พชื

ธาตุอาหารพชื ท่ีจาเปน็ ตอ่ การดารงชีวติ ของพชื น้ันมี 16 ธาตุได้แก่ ออกซเิ จน ไฮโดรเจน
คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม กามะถนั แคลเซยี ม แมกนีเซยี ม เหลก็ สงั กะสี
แมงกานีส ทองแดง โบรอน โมลบิ ดีนัม และคลอรนี

พชื ไดร้ ับ ออกซิเจน (O) ไฮโดรเจน (H) และคาร์บอน (C) จากนา้ และอากาศ ทั้งที่อยู่
เหนอื ดนิ และใต้ดนิ ส่วนทีเ่ หลืออีก 13 ธาตุน้ันพืชได้จากแร่ธาตตุ า่ ง ๆ ท่ีเป็นส่วนประกอบของ
ดิน

ธาตอุ าหารหลัก มี 3 ธาตุ คอื ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ธาตุ
อาหาร ในกลุ่มน้ีพืชต้องการในปริมาณมากและดินมักจะมี ไม่เพยี งพอต่อความต้องการของพชื
จงึ ตอ้ ง เพิ่มเติมให้แกพ่ ชื โดยการใชป้ ุ๋ย

ธาตอุ าหารรองมี 3 ธาตุเช่นกนั คือ กาํ มะถัน (S) แคลเซียม (Ca) และแมกนเี ซยี ม (Mg)
ธาตุอาหารในกล่มุ พชื น้พี ืชต้องการในปรมิ าณมากเชน่ กนั แตใ่ นดนิ สว่ นใหญ่มกั จะมอี ยเู่ พยี งพอ
ต่อความตอ้ งการของพชื

กลุ่มสดุ ทา้ ยคอื กล่มุ ธาตอุ าหารเสรมิ มี 7 ธาตุ คอื เหลก็ (Fe) สงั กะสี (Zn) แมงกานสี
(Mn) ทองแดง (Cu) โบรอน (B) โมลบิ ดีนัม (Mo) และคลอรีน (Cl) ธาตุอาหารในกลมุ่ พืชนีพ้ ืช
ต้องการในปริมาณน้อย และมกั จะมอี ยู่ในดินเพียงพอต่อความตอ้ งการของพชื แลว้

ประเภทของป๋ยุ
แบง่ ป๋ยุ ออกเปน็ 2 ชนดิ ใหญ่ ๆ คือ ปยุ๋ อนิ ทรียแ์ ละป๋ยุ เคมี
1. ป๋ยุ อนิ ทรีย์ คอื ปยุ๋ ท่ไี ด้จากส่งิ ที่มีชวี ิต ได้แก่ ปยุ๋ คอก ปุ๋ยหมกั ปยุ๋ พืชสด ข้ีคา้ งคาว กระดูกปน่
เลอื ดแห้ง ปุย๋ น้าชีวภาพ

1.1 ปยุ๋ คอก ได้แก่ ป๋ยุ อินทรียท์ ีไ่ ด้จากมูลสัตว์ต่างๆทอ่ี ยใู่ นรูปของเหล วและของแขง็
สว่ นใหญ่จะเป็นมลู สัตวเ์ ลยี้ ง เชน่ มลู ไก่ เป็ด วัวและสุกร เป็นต้น มลู สัตว์เหลา่ น้จี ะ
ประกอบด้วยอุจจาระและปัสสาวะของสัตว์ซึ่งเป็นสว่ นของซากพชื และซากสตั ว์ จากอาหาร
สัตว์ ทผ่ี า่ นกระบวนการย่อยสลายจากระบบย่อยอาหารของสตั ว์ ปัสสาวะก็จะเปน็
สว่ นประกอบของเก ลอื และสารอนิ ทรีย์ทล่ี ะลายน้าํ ได้ซ่งึ เปน็ แหล่งธาตอุ าหารพืช ธาตอุ าหาร
พืชจากปยุ๋ คอกจะมปี ริมาณน้อย และอยูใ่ นรปู ทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ พชื แตกตา่ งกนั ทัง้ นีข้ ึ้นอยู่กับ
ปจั จัยต่าง ๆ โดยทั่วไปจะมธี าตุไนโตรเจน 0.5 %N ฟอสฟอรัส 0.25 % P2O5 และโพแทสเซียม
0.5 % K 2 O มลู เป็ดและมลู ไกจ่ ะมปี ริมาณธาตอุ าหารมากกว่ามลู วัวและควาย

1.2 ปุ๋ยพืชสด คือ ปุย๋ อินทรยี ์ชนิดหนึง่ ท่ไี ด้จากการไถกลบ ต้น ใบและส่วนต่าง ๆ ของ
พชื โดยเฉพาะพชื ตระกลู ถว่ั ในระยะชว่ งออกดอกซ่งึ เปน็ ชว่ งท่ีมีธาตุอาหารสงู สดุ แลว้ ปลอ่ ย
ทง้ิ ไว้ใหเ้ นา่ เปอื่ ยผพุ ังเป็นอาหารแก่พชื ที่ จะปลูกตามมา พืชท่ีใช้ปลูกเป็นปยุ๋ พืชสด ไดแ้ ก่ ถวั่ พมุ่
ถ่ัวพร้า โสนอินเดีย ปอเทือง อัญชัน ไมยราบไรห้ นาม พชื ตระกลู ถัว่ ต่าง ๆ เป็นต้น

ถวั่ พุม่

ถ่ัวพร้า

ไถกลบระยะออกดอก

ไถกลบพืชสด
1.3 ปยุ๋ หมกั คือ ปยุ๋ อินทรีย์หรอื ปุย๋ ธรรมชาตชิ นดิ หน่งึ ท่ไี ดจ้ ากการนําเอาเศษซากพชื
เช่น ฟางข้าว ตน้ ขา้ วโพด ต้นถ่วั ต่าง ๆ ซงั ข้าวโพด หญา้ แห้ งผักตบชวา ของเหลือทิง้ จาก
โรงงานอตุ สาหกรรม ตลอดจนขยะมูลฝอยตามบา้ นเรอื น มาหมักรว่ มกบั มลู สตั ว์ ปุ๋ยเคมีหรือ
สารเรง่ ประเภทจลุ ินทรีย์ เมอ่ื หมกั โดยใช้ระยะเวลาหน่ึงแล้ว เศษพืชจะเปลย่ี นสภาพจาก
ของเดมิ เปน็ ผงเปอ่ื ยยยุ่ มีสีนํ้าตาลปนดาํ หรือทีเ่ รียกวา่ “ ฮิวมสั ” นาํ ไปใส่ใน ไรน่ าหรอื พืชสวน
เช่น ไม้ผล พชื ผักหรือไม้ดอกไม้ประดับได้

กองปยุ๋ หมกั

1.4 น้าสกดั ชีวภาพ (ปยุ๋ น้าชวี ภาพ ) สามารถแบง่ ออกตามประเภทของ วตั ถุดิบที่
นามาใช้ในการผลิตแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ นา้ สกัดชีวภาพจากพชื และนา้ สกดั ชวี ภาพ จาก
สตั ว์

2. ปุ๋ยเคมี คือ ปยุ๋ ทไ่ี ด้จากการผลติ หรือสังเคราะหๆ์ ทางอตุ สาหกรรมจากแร่ธาตตุ า่ ง ๆ ทไี่ ดต้ าม
ธรรมชาติ หรอื เป็นผลพลอยได้ของโรงงานอุตสาหกรรมบางชนิด เช่น ปยุ๋ ยเู รยี แอมโมเนียม
ซลั เฟต หนิ ฟอสเฟตบด หรือปุย๋ เคมสี ูตรต่าง ๆ ทใ่ี ช้กนั อย่โู ดยทวั่ ไป

2.1 ประเภทของปุ๋ย ป๋ยุ เคมที ่วั ๆ ไป จะเกยี่ วข้องกบั ธาตุอาหารอยู่ 3 ธาตุ คอื ธาตุ
ไนโตรเจน ธาตุฟอสฟอรสั และธาตโุ พแทสเซียม ซ่งึ ทัง้ 3 ธาตุน้ี กค็ อื ธาตปุ ยุ๋ นนั้ เอง จงึ อาจแบ่ง
ปุย๋ เคมีออกตามจานวนธาตุ ทมี่ อี ยูใ่ นปยุ๋ ได้ โดยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

2.1.1 ปยุ๋ เดีย่ วหรอื แม่ปุ๋ย คอื ป๋ยุ ทีม่ ธี าตปุ ุ๋ยไนโตรเจนหรือฟอสฟอรัสหรอื
โพแทสเซียมอย่เู พยี งธาตเุ ดียวหรือสองธาตเุ ชน่ ยเู รยี มีไนโตรเจนเพยี งธาตเุ ดยี ว หรือ
โพแทสเซยี มคลอไรด์ มีโพแทสเซียมอยเู่ พียงธาตุเดียว เป็นตน้

2.1.2 ปุ๋ยผสม คือปุย๋ ที่มีการนาเอาแมป่ ุ๋ยหลายๆชนดิ มาผสมรวมกนั เพ่อื ใหไ้ ด้
ปยุ๋ ท่ีมปี ริมาณและสดั สว่ นของไนโตรเจนหรือฟอสฟอรสั หรอื โพแทสเซยี มตามท่ี
ต้องการ เชน่ ปุย๋ สูตร 16-20-20 ปยุ๋ สตู ร 15-15-15

2.2 สตู รปุย๋ บนกระสอบหรือภาชนะซ่งึ บรรจุปุย๋ เคมนี ั้นโดยปกติ จะมีตั วเลขอยู่ 3
จานวน แตล่ ะจานวนจะมขี ีดคัน่ กลาง เชน่

46-0-0, 16-20- 0 หรือ 15-15-15 เปน็ ตน้ ตัวเลขท่ีอยหู่ นา้ สดุ นัน้ เป็นตัวเลขแสดงเปอร์เซ็นต์
(%) ของเนือ้ ธาตไุ นโตรเจน ( N) ตวั เลขกลางเป็นเปอรเ์ ซน็ ต์ ของเนอื้ ธาตุฟอสฟอรัส (P2O 5)
และตัวเลขตวั หลงั เปน็ เปอร์เซ็นตข์ อ งเนือ้ ธาตโุ พแทสเซยี ม ( K2O )

เชน่ ป๋ยุ 46-0-0 มเี นอ้ื ธาตไุ นโตรเจน 46 กก . เน้อื ธาตฟุ อสฟอรสั 0 กก . เนื้อธาตโุ พแทสเซยี ม 0
กก. ดงั นน้ั คณุ ค่าของป๋ยุ จะมากหรือน้อยขน้ึ อยกู่ บั ปริมาณเนอื้ ธาตอุ าหารที่มใี นปยุ๋ นนั้ และปุ๋ยท่ี
มีสตู รเหมอื นกันก็ควรจะมคี ุณค่าเหมือน ๆ กัน ไมว่ ่าจะเปน็ คนละชือ้ หรือคนละตราก็ตาม เชน่
ปยุ๋ สตู ร 15 - 15 - 15 ไมว่ ่าจะเป็นตราใดจะให้ธาตอุ าหารพืชเท่ากัน จงึ ควรเลอื กซ้ือตราทร่ี าคา
ถกู ทส่ี ดุ

การใชป้ ุ๋ยเคมใี หม้ ปี ระสิทธิภาพ การใสป่ ยุ๋ ลงดินจะใส่อย่ างไรใหพ้ ชื สามารถดงึ ดูดไป
ใชไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ และสูญเสียน้อยที่ สดุ เปน็ สิ่งทส่ี าคญั อย่างยิง่ ปุ๋ยชนดิ เดยี วกัน สูตรเดียวกนั ใส่ลง
ไปในดนิ โดยวธิ กี ารแตกตา่ งกนั พืชจะใช้ประโยชน์ไดไ้ ม่เทา่ กนั ฉะนัน้ การใชป้ ุ๋ยเคมใี ห้มี
ประสิทธิภาพจึงควรมีหลกั เกณฑ์ในการใช้ป๋ยุ ทค่ี วรจะยดึ เป็นทางดงั นี้

1. ชนดิ ปุ๋ยท่ใี ช้ถูกต้อง เมือ่ ดินขาดธาตอุ าหา รชนิดใดกต็ อ้ งใส่ธาตอุ าหารชนิดนน้ั เชน่
ดนิ ขาดธาตุไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ส่วนโพแทสเซียมมเี พยี งพออยู่แลว้ ธาตุอาหารในปุ๋ยก็
ควรมแี ต่ ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส เท่านัน้

2. ใช้ป๋ยุ ในปรมิ าณท่ีเหมาะสม การใส่ปุย๋ ถ้านอ้ ยกว่าปริมาณทีพ่ ชื ควรจะได้รบั เพอื่ ให้
ไดผ้ ลผลิตสูงสุด พืชก็จะเจริญเติบโตและใหผ้ ลผลิตไมด่ เี ทา่ ทคี่ วรหรอื ถา้ ให้มากเกนิ ไปก็อาจเกดิ
เป็นพษิ แก่พืชหรือจะไมท่ าใหพ้ ืชเติบโตและให้ผลผลิตเพิม่ ขึน้ แต่อย่างใด ทาให้เสยี เงนิ โดยเปลา่
ประโยชน์

3. ใสใ่ หพ้ ืชในขณะท่พี ืชต้องการ พชื ท่ปี ลกู ในดินทีม่ ีธาตุอาหารไม่เพยี งพอมกั แคระ
แกร็นและให้ ผลผลิตตา่ การใส่ป๋ยุ จะชว่ ยยกระดับธาตุอาหารท่ขี าดแคลนใหม้ เี พยี งพอกบั ความ
ตอ้ งการของพชื อย่างไรก็ตามปุย๋ ทใี ส่ลงไปในดนิ เดยี วกัน พืชชนิดเดียวกัน อาจใหผ้ ลแตกตา่ ง
กันอย่างมาก ท้ังนี้ขน้ึ อยกู่ ับช่วงเวลาของการใหป้ ยุ๋ แกพ่ ชื ว่าตรงกับช่วงที่พืชต้องการธาตอุ าหาร
นน้ั ๆมากท่สี ดุ หรอื ไม่ ช่วงระยะเวลาต้องการธาตุอาหารมากทส่ี ุดของพืชแต่ละชนิดแตกต่างกนั
ออกไป พชื ทมี่ ีอายุส้ัน เชน่ พืชไร่ ข้าว ซ่งึ มีลักษณะการดูดธาตอุ าหารที่แตกตา่ งกนั อยา่ งเดน่ ชัด
3 ช่วงดว้ ยกันคอื ช่วงแรกทพี่ ชื เรม่ิ งอกและการเติบโตระยะแรก 30-45 วัน พืชมกั ต้องการธาตุ
อาหารน้อยและช้า ช่วงทีม่ ีการเจรญิ เตบิ โตอย่างรวดเรว็ ซึ่งเปน็ ระยะทีก่ าลงั แตกกอและระยะ
กาลังสร้างตาดอก

4. ใสใ่ ห้พชื ตรงจุดท่ีพชื สามารถดึงไปใช้ได้งา่ ยและเร็วท่ีสดุ ทันทีทปี่ ุย๋ ลงไปอยใู่ นดนิ
ปฏกิ ิริยาการเปลยี่ นแปลงและการเคลอ่ื นย้ายของปุ๋ยจะเกดิ ขึน้ ทันที ธาตไุ นโตร เจนในปุย๋ จะ
เคลื่อนท่ไี ด้รวดเรว็ มากเพราะละลายน้าได้ง่าย ถ้ารากพืชดึงดูดไวไ้ ม่ทันก็จะสญู เสียไปหมด ไม่
เกดิ ประโยชนก์ ับพชื แตอ่ ยา่ งใด สว่ นฟอสฟอรสั ในปยุ๋ ถงึ แม้จะละลายน้าไดง้ า่ ย แต่เมือ่ อยู่ในดนิ
จะทาปฏิกิรยิ าอยา่ งรวดเร็วกบั แร่ธาตตุ า่ งๆในดนิ กลายเป็นสารประกอบท่ลี ะลา ยนา้ ยาก ความ
เปน็ ประโยชนต์ ่อพชื ลดลงและไมเ่ คลื่อนยา้ ยไปไหน ดังนั้นเมอื่ ใส่ฟอสเฟตตรงจดุ ไหน
ฟอสเฟตทลี่ ะลายนา้ ไดง้ า่ ยก็มกั จะอย่ตู รงจุดนัน้ ถ้าจะเคล่ือนยา้ ยจากจดุ เดิมก็เป็นระยะใกลๆ้ ใน
รศั มี 1-5 ซม . เท่าน้ัน ดังนนั้ การใส่ปุ๋ยฟอสเฟตให้กบั พชื จงึ ตอ้ งให้อย่ใู กล้กบั รา กมากทีส่ ดุ ที่ราก

จะไมเ่ ป็นอนั ตรายจากปุ๋ยน้ัน การใสบ่ นผิวดินจะเป็นประโยชนต์ ่อพืชน้อยกว่าใส่ใตผ้ ิวดินใน
บริเวณทีร่ ากจะแพรก่ ระจายไปถงึ ซึ่งผิดกบั ปุ๋ยไนโตรเจนซงึ่ ใส่บนผิวดนิ ก็สามารถซึมลงมายงั
บรเิ วณรากทอ่ี ย ฿ใต้ผวิ ดนิ ได้งา่ ย ปุ๋ยโพแทสเซยี มจะเคลอื่ นย้ายได้ง่ายกว่าฟ อสเฟตแต่ชา้ กวา่
ไนโตรเจน การใสป่ ุ๋ยโพแทสเซยี มสามารถใส่บนผิวดินหรอื ใตผ้ วิ ดินกไ็ ด้ การเคลื่อนยา้ ยจะช้า
กวา่ ไนโตรเจนแต่การสูญเสยี โดยการชะล้างจะน้อยกวา่ ด้วย

เวลาในการใช้ปุ๋ย พชื แตล่ ะชนดิ มีความต้องการธาตอุ าหารแตล่ ะธาตุมากนอ้ ยต่างกันไป
บางชนดิ ตอ้ งการธาตไุ นโตรเจนม าก บางชนิดต้องการธาตโุ พแทสเซียมมาก หรือในพืชชนดิ
เดียวกันแต่ตา่ งเวลากอ็ าจต้องการธาตุอาหารต่าง ๆ มากน้อยตา่ งกัน เชน่ ในชว่ งทีพ่ ืชสร้างใบ
จะต้องการธาตไุ นโตรเจนมาก แตใ่ นช่วงสร้างผลจะตอ้ งการธาตุโพแทสเซียมมาก เป็นตน้ ดนิ
แต่ละชนดิ ก็มีปรมิ าณธาตแุ ตกต่างกัน ดินบางชนิ ดอาจมธี าตโุ พแทสเซียมสงู ส่วนดินทราย
มักจะมโี พแทสเซยี มน้อย เปน็ ตน้

วิธกี ารใชป้ ุ๋ย มหี ลายวธิ ี เชน่ วิธีหว่าน วธิ โี รยเปน็ แถว หยอดเป็นหลุม เป็นตน้ แต่ละวิธี
กม็ ปี ระสทิ ธิภาพและความสะดวกไม่เท่ากัน

การให้น้าพชื

น้าํ มคี วามสําคัญตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื โดยเฉพาะในกระ บวนการสรวี ิทยาและ
กระบวนการทางชวี เคมีของพืช เชน่ การสงั เคราะห์แสงโดยท่ีน้ําเป็นวตั ถุดบิ อย่างหนึ่ง การ
จดั หาอาหารในพืชไดแ้ ก่ การดดู นา้ํ และธาตอุ าหาร การลาํ เลยี งภายในพชื และการคายนํา้ ของ
พืช นอกจากนี้นํ้ามีบทบาทสําคัญตอ่ การจัดการผลผลติ ให้ได้ในเวลา ปริมาณและคุณภาพตามท่ี
ต้องการ เชน่ ในการปลกู พชื นั้นหากมีการจดั การนาํ้ ทด่ี จี ะสามารถควบคุมหรอื ชักนาํ การออก
ดอกออกผลทั้งในและนอกฤดูกาลไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การปลกู ไม้ผล
เช่น มะมว่ ง มะนาว ส้ม ทเุ รียน นอ้ ยหน่า เปน็ ตน้

วิธกี ารให้น้าพชื วิธีการให้น้าํ พชื มหี ลายวธิ ี การที่ จะเลอื กใชว้ ธิ ใี ดวธิ หี นึ่งน้นั จะต้อง
พิจารณาคณุ สมบัติของพชื ลกั ษณะของพื้นท่ี วธิ กี ารเพาะปลกู สภาพภูมิประเทศ ปรมิ าณ นาํ้ ที่
จะนํามาให้แกพ่ ชื วิธกี ารใหน้ ํา้ โดยท่วั ๆ ไปท่ีนยิ มปฏิบตั ใิ นประเทศไทย แบง่ ออกได้เป็น 4
แบบใหญ่ ๆ คือ

1. วิธีการใหน้ ้าทางผวิ ดนิ เป็นวิธกี ารใหน้ ํ้าแก่พืชโดยใหน้ ํา้ ขังหรอื ไหลไปบนผวิ ดนิ
หรอื ซมึ ลงไปในดนิ ตรงบริเวณทีน่ ํา้ ขงั หรอื ไหลผ่านเพ่ือเก็บความชน้ื ไวใ้ หแ้ กพ่ ชื การใหน้ ้าํ
ทางผิวดินมีมากมาย หลายรปู แบบตามความเหมาะสม แตท่ ีน่ ิยมกันโดยท่วั ไป คอื การให้นํ้า
แบบขงั เป็นอา่ ง ท่มี ีแปลงให้น้าํ และคันดนิ ล้อมรอบเพื่ อบังคับน้ําการไหลของน้าํ แบบตา่ ง ๆ เชน่
แปลงให้น้าํ แบบส่เี หล่ยี มในนาขา้ ว การให้น้าํ แบบท่วมเป็นผืน และการใหน้ า้ํ แบบร่องคู วธิ นี ้ีค่า
ลงทนุ ถกู เมือ่ เปรยี บเทยี บกบั การใหน้ าํ้ แบบอน่ื ๆ เนือ่ งจากการให้น้าํ แบบนใี้ หน้ ้ําไหลไปบนผวิ
ดนิ โดยอาศยั แรงดึงดดู ของ โลก ดังน้ันในกรณที ี่ต้ องใช้เครือ่ งสบู น้ําจงึ ไมต่ อ้ งใช้แรงม้าสูง แต่มี
ข้อเสยี คือต้องปรับพน้ื ทีใ่ ห้เรียบ หรือมคี วามลาดเทสมํ่าเสมอ ซงึ่ ทาํ ใหไ้ มเ่ หมาะกบั พ้ืนทีท่ ี่ไม่
เรียบอยูก่ อ่ น เนอื่ งจากคา่ ปรับพ้นื ทจ่ี ะสงู มาก นอกจากนอ้ี าจเกิดการกดั เซาะ ข้นึ ได้ในกรณีท่ี
ความลาดเทของพนื้ ทีช่ นั มาก

การให้น้าํ ทางผิวดิน ในนาข้าว
2. วิธีการให้น้าทางใตด้ นิ เปน็ วธิ กี ารใหน้ ํา้ แกพ่ ชื โดยการ ยกระดบั นํ้าใตด้ นิ ใหถ้ ึงเขต
รากพชื นํา้ จะไหลไปส่จู ุดต่าง ๆ ในเขตรากพื ชท่ปี ลกู โดยการดดู ซบั วธิ ีเพ่มิ ระดับนา้ํ ใตด้ ินอาจ
ทําโดยการใหน้ ํา้ ในคูหรือโดยการให้นา้ํ ไหลเข้าไปในทอ่ ซึง่ ฝงั ไว้ใต้ดิน วิธนี จ้ี ะใช้คา่ ลงทนุ สูง
มาก วิธีการให้นา้ํ แบบน้เี หมาะกบั ดินท่มี ีอตั ราการซึมน้าํ สงู แต่มีความสามารถเกบ็ น้ําไว้ได้น้อย

การให้นาํ้ ทางใต้ผวิ ดิน

3. วธิ กี ารใหน้ ้าแบบหยด เปน็ การสง่ นาํ้ ลงสู่พ้นื ดินบริเวณทีม่ ีรากพืชปลูกอย่อู ย่าง
สมํ่าเสมอด้วยจํานวนน้ําที่ออกมาทลี ะน้อย นํา้ ที่ให้แก่พืชอาจอยู่ในรปู ของเม็ดนาํ้ เล็ก ๆ ซึง่ ฉดี
ออกจากหวั ฉีดขนาดเลก็ ทต่ี ้องการแรงดันไมม่ ากนักหรือเป็นหยด นาํ้ หรือสายนํ้าเล็ก ๆ ท่ีไหล
ออกจากท่อพลาสติกขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลางภายใน 1-2 มลิ ลิเมตร การใหน้ ํา้ แบบนี้เหมาะอยา่ ง
ยง่ิ สําหรบั พนื้ ที่ทีม่ นี าํ้ จํากัด จัดเปน็ วธิ ีทมี่ ีประสิทธิภาพในการให้นา้ํ สูงมาก เพราะสามารถ
ควบคมุ น้ําไดท้ ุกขนั้ ตอนและมกี ารสูญเสียโดยการระเหยน้อย ชว่ ยลดปัญหาโรคพืช หรอื แมลง
ทเี่ กี่ยวเนอ่ื งจากการเปียกช้นื ของใบ วธิ นี ีม้ ีขอ้ เสยี ทีส่ ําคญั คอื การอดุ ตนั ท่หี วั จ่าย การอดุ ตัน
ดังกลา่ ว ถ้ามรี ะยะเวลายาวนานก่อนการตรวจพบอาจทาํ ใหพ้ ืชเสียหายได้ นอกจากนค้ี ่าลงทุ น
คร้งั แรกค่อนขา้ งสูงเพราะมอี ปุ กรณห์ ลายอย่าง

การใหน้ ้าํ ระบบนํ้าหยด
4 . วิธกี ารใหน้ า้ แบบฝอยหรือระบบฝนเทียม เปน็ การกระทําโดยนํา้ ท่จี ะใหพ้ ชื จะถกู สูบ
จากแหลง่ นา้ํ ผ่านไปยงั พน้ื ทีเ่ พาะปลูกด้วยแรงดันสงู และให้ นํา้ พ่นเปน็ ฝอยออกทางหวั ฉดี หรือ
ตามรูทเ่ี จาะไว้ตามท่อขึน้ ไปในอากาศ แล้วปลอ่ ยให้น้าํ แพรก่ ระจาย ลงมาบนพื้นทเ่ี พาะปลูก
วิธีการให้นํ้าแบบนี้สามารถส่งนํ้าทีต่ อ้ งการไดอ้ ยา่ งประหยัด รวดเร็วและสมาํ่ เสมอ มี
ประสิทธิภาพสูงแต่ ค่าลงทุนครงั้ แรกจะสูง

การใหน้ ้ําแบบฝอยหรอื ระบบฝนเทยี ม

1.5 วธิ กี ารให้น้าแก่พชื แบบประหยัด หรอื การให้นา้ แบบนา้ นอ้ ย เป็นการใหน้ ํ้าแกพ่ ชื
ครัง้ ละน้อย ๆ แ ต่บอ่ ยครัง้ ด้วยอัตราการใหน้ า้ํ ทตี่ ่าํ และไมค่ รอบคลมุ เต็มพนื้ ที่เขตรากทั้งหมด
โดยอาศัยคณุ สมบตั ิ ของดินชว่ ยแพร่กระจายออกไปรอบข้าง เพ่ือให้ดนิ เปียกอยใู่ นวงทจี่ าํ กัด
และเปน็ ระบบนา้ํ ที่ไม่มกี ารซอ้ นทับ ( Overlap) ของวงเปยี ก เช่น ระบบการใหน้ า้ํ แบบมนิ ิสปรงิ
เกลอร์ ไมโครสป ริงเกอร์ ไมโครเจท็ ไมโครสเปรย์ นํา้ หยด

การให้นํ้าแบบมินิสปริงเกลอร์

การใหน้ ํ้าแบบไมโครสเปรย์

การใหน้ าํ้ แบบไมโครเจท็

การกาหนดการใหน้ า้ แก่พชื ในการใหน้ ้ําพชื เพ่อื ให้พชื เจริญเติบโตและใหผ้ ลตอบแ ทน
สูงน้นั มักจะพบกบั ปญั หาซ่งึ เปน็ หวั ใจหลกั ของการชลประทานอยเู่ สมอคือ

1. เม่ือไรจึงควรใหน้ ํ้าแกพ่ ืช

2. ควรจะให้นํา้ แก่พชื เป็นปรมิ าณมากนอ้ ยเทา่ ใด

อัตราการใชน้ ํา้ ของพืชจะข้ึนกับชนดิ และอายุของพชื รังสจี ากดวงอาทติ ย์ อุณหภมู ิและ
สภาพภูมิอากาศอน่ื ๆ การใหน้ ํ้าแกพ่ ชื ในแตล่ ะคร้ัง ปริมาณท่ีให้ควรจะมากพอกับความ
ต้องการของพชื ไปจนกวา่ จะถงึ กาํ หนดการให้น้าํ ครงั้ ต่อไป ซ่งึ อาจจะมรี ะยะเวลาสองสามวัน
จนถงึ สามสสี่ ปั ดาห์ ความถใ่ี นการให้นา้ํ ต้องพิจารณาอยา่ งรอบคอบ เพราะว่าพชื บางชนดิ เชน่
ผักตา่ ง ๆ ต้องการดินมีความช้นื สูงตลอดเวลา ถ้าดินแห้ งผลผลติ จะต่ําหรือคุณภาพเลวลง แตพ่ ืช
บางชนดิ เช่น ส้มและไมผ้ ลอ่นื ๆ อกี หลายชนดิ ต้องการใหม้ กี ารขาดน้ําบ้างเลก็ นอ้ ยเสียกอ่ น
จงึ จะออกดอก ออกผล ดงั น้นั การกําหนดความถ่ใี นการให้นา้ํ จึงจําเป็นต้องทราบอุปนิสยั ของ
พชื ทีป่ ลกู ดว้ ย การกําหนดเวลาการใหน้ ้าํ แก่พืช ทําได้โดยการสงั เกตอาการของพชื ซงึ่ สามารถ
ใช้ไดก้ ับพชื บางชนดิ เชน่ ผกั ทม่ี รี ากเป็นหวั จะแสดงอาการเห่ียวเฉาเมอ่ื เริ่มขาดนํ้า โดยเฉพาะ
อยา่ งย่ิงตอนบา่ ยทม่ี ีอากาศรอ้ นจัด ถ่วั ฝ้าย เม่ือเร่ิมการขาดนํ้าใบออ่ นจะมสี เี ขยี วเข้มขึน้ กวา่
ปกติ สาํ หรบั ไมผ้ ลไม่ควรกําหนดการให้นาํ้ โดยวธิ นี เี้ พราะ กวา่ จะสังเกตพบ พชื อาจจะขาดนา้ํ
ติดตอ่ กันหลายวันแลว้ ซ่งึ จะทาํ ใหผ้ ลผลิตมปี ริมาณและคุณภาพลดลง

การคลุมดิน

การคลุมดิน หมายถงึ การใชว้ ัสดอุ ยา่ งใดอย่างหนึง่ ปกคลุมผิวหน้าดนิ วัสดคุ ลมุ ดิน
อาจจะเป็นพลาสติก ฟางข้าว ต้นถวั่ ต้นธัญพืช แกลบ ข้ีเถา้ แกลบ ข้เี ลอ่ื ย ตลอดจนใบไมแ้ ละ
หญ้าแห้ง การเลอื กใช้วัสดปุ ระเภทใดขึ้นอยกู่ ับปรมิ าณ ราคาและประสิทธิภาพของการใชว้ า่ มี
ความเพยี งพอ เหมาะสมและตรงต่อวสั ดุประสงคห์ รือไม่ เพยี งใด การคลุมดินอาจจะคลมุ กอ่ น
ปลูกหรือหลังปลูกก็ได้

ประโยชน์ของการใช้วสั ดคุ ลุมดิน

1. เพม่ิ อนิ ทรยี วตั ถใุ หก้ ับ ดิน เนอื่ งจากวสั ดเุ ศษพืชท่ใี ชค้ ลุมดินจะเกดิ การย่อยสลาย จน
เกิดเป็นสารฮิวมสั และปลดปล่อยธาตอุ าหารท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อพชื ได้ดี อนิ ทรียวตั ถุจะช่วย
รกั ษาโครงสรา้ ง ป้องกันการจับตวั เปน็ แผน่ แขง็ ของดนิ และดนิ แนน่

2. เพ่อื ปกคลมุ หน้าดนิ การคลมุ ดินจะชว่ ยลดแรงกระแทกของเมด็ ฝนท่ีจะกระทบดิน
โดยตรง ซงึ่ จะช่วยปอ้ งกันการชะลา้ งพังทลายของดนิ ท่ีเกิดจากฝน นาํ้ ทไี่ หลบ่าหรือเกดิ จากลม

3. เพอ่ื เป็นการอนรุ กั ษ์น้าในดิน เพราะการคลมุ ดินเปน็ การลดการระเหยของนา้ํ โดยตรง
ปอ้ งกนั มิให้แสงแดดสอ่ งถงึ พน้ื ดิน

4. เพื่อควบคมุ อุณหภมู ขิ องดินให้สม่าเสมอ โดยทาํ ให้อณุ หภูมิของดินมีความเหมาะสม
ตอ่ การดําเนนิ กจิ กรรมของจลุ นิ ทรยี ์ทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ พชื ในดินและไมเ่ ป็นอนั ตรายต่อระบบ
รากพืชในดนิ

5. เพิม่ ผลผลิตของพชื การใช้วสั ดเุ ศษพชื คลมุ ดนิ มีประโยชนต์ อ่ การปรบั ปรงุ
คุณสมบัตทิ างเคมีและทางกายภาพของดนิ ทาํ ให้ผลผลิตพชื เพ่มิ ขึ้น

6. เพอ่ื ควบคมุ และลดการเจรญิ เตบิ โตของวชั พืช การใช้วสั ดคุ ลุมดินจะช่วยลดการ
แขง่ ขันในการแย่งน้ํา ธาตุอาหาร และแสงสวา่ ง ระหวา่ งพชื ปลูกกับวัชพชื เปน็ การประหยัดการ
ใชส้ ารเคมกี ําจัดวชั พชื ในดิน

7. ใช้ได้ดใี นพน้ื ที่ท่ไี มส่ ามารถทาการไถพรวนหรือทาขั้นบนั ไดได้ เนือ่ งจากพ้ื นที่มี
ความลาดเทไมส่ มาํ่ เสมอ พ้นื ท่ีบรเิ วณแคบหรือชนั มาก หรือเป็นพืน้ ท่ีท่ไี ด้รับการรบกวนจาก
การกอ่ สรา้ งตา่ ง ๆ เชน่ ไหลถ่ นน ฝัง่ คลอง ฝัง่ คหู รอื ฝ่งั คลองชลประทาน การคลุมดนิ จะเป็น
วธิ กี ารทเี่ หมาะสมท่ีจะชว่ ยปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินได้

การใชฟ้ างข้าวคลมุ ดนิ ในแปลงองุ่น
การใช้พลาสติกคลุมดิน

การป้องกันกาจดั โรคพืช

โรคพืช หมายถงึ การทีพ่ ืชมีระบบสรีระผิดปกตแิ ละก่อให้เกิดความเสยี หายแกพ่ ชื

สาเหตุของโ รคพืช

1.จากสิง่ ไม่มีชวี ิต เกิดจากการปฏิบตั ิดแู ลไมถ่ ูกตอ้ งหรือสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการ
เจริญเตบิ โตของพชื ทําให้พชื ผิดปกตไิ ป เช่น

1.1 สภาพโคร งสร้างของดินไม่เหมาะสม นอกจากดินจะเป็นทใ่ี หร้ ากพชื ยึดเกาะแลว้
ยงั เปน็ แหลง่ ใหอ้ าหาร น้าํ และอากาศแกพ่ ืช พืชแตล่ ะชนิดต้องการน้าํ ในดินปรมิ าณตา่ งกนั บาง
ชนิดสามารถทนต่อนาํ้ ที่มรี ะดบั สงู ได้ เชน่ ขา้ ว บวั กก บางชนิดตอ้ งการนํ้าปานกลาง และบาง
ชนดิ ก็สามารถอย่ไู ด้ในท่ีแห้ งแล้ง การขาดนํา้ เป็นสาเหตทุ ีท่ าํ ใหพ้ ชื แคระแกร็น ออกดอก ออก
ผลกอ่ นกําหนด ผลผลติ นอ้ ย แต่ถา้ นํ้ามากเกนิ ไปจะทําใหใ้ นดินมกี า๊ ซออกซิเจนไม่เพยี งพอกับ
ความต้องการของพืช ทําให้รากพชื ตายและจะถูกทําลายต่อไปโดยจุลินทรยี ์ท่ีอยใู่ นดนิ เกิดการ
เนา่ แลว้ จะลกุ ลามตอ่ ไปเรอ่ื ยๆ จนตน้ พชื ตายในที่สดุ

1.2 การขาดธาตุอาหาร พชื ตอ้ งใช้ธาตอุ าหาร ไดแ้ ก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั
โพแทสเซียม ซง่ึ เป็นธาตุอาหารหลัก และธาตอุ าหารอน่ื ๆ ท่ีจาํ เป็นในการเจรญิ เตบิ โตของพืช
ในอัตราทแี่ ตกตา่ งกนั ไป การขาดธาตุอาหารจะทาํ ให้พชื แสดงอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง

1.3 ปฏกิ ริ ิยาของดิน พชื สว่ นมากต้องการดนิ ท่เี ปน็ กลางหรอื ค่าความเปน็ กรดเปน็ ด่าง (
pH) ใกล้ 7 การใช้ปยุ๋ เคมีและสารเคมีปราบศตั รพู ชื มาก ๆ จะทําให้ระดับ pH ของดิน
เปลย่ี นแปลงไป ซึ่งจะมีผลกระทบต่อความเป็นประโยชนแ์ ละความสมดลุ ของธาตุอาหารในดิน
pH ของดนิ เปน็ ตวั บงั คับการละลายของแรธ่ าตใุ น ดิน เชน่ ถา้ pH ต่าํ พืชจะดดู ธาตุ เหล็กเข้ามาก
จนเกนิ ไป ถ้า pH สูง พืชจะดูดธาตุเหลก็ เขา้ ไปใช้ไมไ่ ด้ นอกจากมีผลโดยตรงตอ่ พชื แล้วยงั มีผล
ตอ่ การเจรญิ เติบโตของจลุ ินทรียบ์ างชนดิ ท้ังที่เป็นสาเหตแุ ละไม่เปน็ สาเหตขุ องโรค มีผล
ส่งเสริมหรอื ลดการเกิดโรคได้ เชน่ เชอื้ รา Fusarium oxysporum สาเหตุโรคเห่ยี วของมะเขือ
เทศ พริกและถ่วั ต่าง ๆ จะเจริญไดด้ ใี นสภาพดนิ ค่อนข้างเป็นกรด

1.4 สภาพภูมิอากาศ ไดแ้ กแ่ สงสว่างและอณุ หภูมิ พืชท่ไี ดร้ ับ แสงสวา่ งน้อยจะเหลอื ง
ซีด แคระแกร็น ถ้าไดร้ บั แสงสว่างมากเกนิ ไปจะเหี่ยวเฉา ส่วนยอดมีอาการ เหมอื นถูกนา้ํ รอ้ น
ลวกหรอื เหี่ยวไหม้ อาจทาํ ให้พืชแก่ก่อนกําหนด คุณภาพตํ่า แต่ถา้ ไดร้ บั อณุ หภมู ิต่าํ เกินไป มัก
ทําใหเ้ ซลลแ์ ข็งตัวแล้วเกิดการเน่าได้

อาการใบไหม้ทถ่ี ูกแดดเผา
1.5 สารเคมี ไดแ้ ก่ สารปอ้ งกนั กําจัดศตั รพู ชื ตา่ ง ๆ เชน่ โรค แมลง วัชพชื และศัตรูพืช
อน่ื ๆ ถ้าใชใ้ นอัตราทไี่ ม่ถูกต้องหรอื ไม่ถกู วิธี จะทาํ ใหเ้ กิดอันตรายแกต่ น้ พืชได้ เชน่ ชะงักการ
เจริญเตบิ โต เกดิ อาการไหม้กบั สว่ นท่ีถูกสาร

อาการทีถ่ กู สารกําจดั วชั พืช

1.6 การปฏิบตั ดิ ูแลทีไ่ ม่ถูกตอ้ ง เชน่ การพรวนดินโดนรากขาด ต้น พชื เหย่ี ว การใสป่ ยุ๋
ทไ่ี ม่ถูกวิธี การใหน้ ํา้ ทมี่ กี ารเปลย่ี นแปลงปริมาณนํ้าอยา่ งฉับพลนั หรอื การให้นา้ํ อยา่ งไม่
สมาํ่ เสมอ ปล่อยใหพ้ ืชขาดนํา้ หลายวนั แล้วจงึ ให้นาํ้ ครง้ั ละมาก ๆ จะมผี ลตอ่ สรรี ะวทิ ยาของพืช
โดยตรง อาจทาํ ใหก้ ้าน ใบ ผล หวั เกดิ การเบ่งปรแิ ตกได้ การไมแ่ กะผ้าพลาสติกท่ีพันกิง่ ทาบ
ออก นานไปจะทําให้ลําตน้ คอดกว่ิ ไมเ่ จรญิ เตบิ โตเทา่ ทคี่ วร

ตน้ คอดกิ่วเน่ืองจากการรัดของผา้ พลาสติกทาบกง่ิ

ผลปริแตกของมะเขือเทศเกิดจากใสป่ ุ๋ยและนาํ้ คร้ังละ มากๆในชว่ งท่ีอากาศรอ้ น
2.โรคพืชท่เี กดิ จากสิง่ มีชวี ิต
โรคพืชทีเ่ กดิ จากส่ิงมชี ีวติ มีหลายสาเหตุ เชน่

2.1การทําลายของพืชชน้ั สงู เชน่ กาฝากท่ขี ึ้นบนกิง่ ไม้จะแย่งดูดกนิ อาหาร ทําใหไ้ ม่มี
ดอกผลและในทส่ี ุดกิ่งแห้งตาย ฝอยทองทด่ี ูดกินอาหารจากพชื ทปี่ ลูกทําให้ต้นแคระแกร็น

2.2 การทําลายของสาหรา่ ย จะทําใหพ้ ืชแสดงอาการคลา้ ยใบจดุ มีลักษณะแผลสีเขยี ว
ถงึ น้าํ ตาลฟคู ลา้ ยกํามะหยี่ ถา้ เป็นมาก ๆ จะทําให้ใบร่วงก่อนกาํ หนด สว่ นมากพบบนไม้ผลที่
ปลูกในสภาพทม่ี คี วามชื้นสงู

2.3 เช้ือโรค ได้แก่ เช้ือราเชื้อแบคทเี รยี เชื้อไวรสั เชอื้ มายโคพลาสมาไสเ้ ดื อนฝอย

การทพี่ ชื จะเกิดโรคได้น้นั จะตอ้ งมีองคป์ ระกอบครบ 3 ประการคอื พชื อาศยั อ่อนแอ เชือ้ โรคท่ี
รนุ แรงและสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม

อาการของโรค อาการของโรคท่เี กิดจากส่ิงมชี ีวิต มีมากมายหลายอาการ

อาการของโรคทเี่ ปน็ กลุ่มใหญ่ เกดิ กับพชื หลายชนิด ไดแ้ ก่

1. ใบจุด เช่ น โรคใบจุดของพริก มีจดุ ขนาดเล็กเปน็ ปุม่ ขึ้นมาเลก็ นอ้ ย เนื้อเย่ือส่วนนั้น
จะตายหรือหลดุ หายไป บางครง้ั มีวงแหวนรอบจดุ ดังกลา่ วด้วย บางครง้ั จุดจะไม่เป็นลกั ษณะ
กลม แตเ่ ป็นจดุ ท่ีเกิดกั้นเส้น มกั จะเกิดจากเชือ้ รา เช่นโรคใบจุดของพริก

2. แหง้ ไหม้ ส่วนมากมักเกดิ กบั ยอด มอี าการแห้งไปเฉย ๆ บางครัง้ เกิดจากปลายกง่ิ
แลว้ แหง้ ไปยงั โคนก่ิง เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคใบจุดและต้นไหม้ของผักกาด

3. เหีย่ ว เนื่องจากเชอ้ื รา แบคทเี รียหรือมายโคพลาสมาเข้าไปทําลายในท่อนํา้ ท่ออาหาร
บางคร้ังอาจเกิดทีร่ าก ทาํ ให้รากเป็นปม อาการที่เหน็ ตอนแรก คือ เหี่ ยวเฉพาะตอนกลางวัน
ตอ่ มากเ็ ห่ยี วเฉาอยา่ งถาวร เช่นโรคเหย่ี วทีเ่ กดิ จากเชื้อแบคทเี รียของมะเขือเทศ

4. เน่า เกดิ จากเชื้อแบคทเี รยี โดยการทําใหผ้ นงั เซลลแ์ ตกเกิดการเน่า อาการเหลา่ นี้
สามารถเกดิ ไดท้ กุ ส่วนของพชื เชน่ โรคเนา่ เละของกะหล่าํ และผกั กาด

5. สนมิ เหลก็ มกั เกิด กับสว่ นใบของพชื เกิดจากเช้ือรา อาการจะปรากฎเปน็ จุดหรือแถบ
สนี ้ําตาลแดงและมักมสี ปอรเ์ จรญิ ขน้ึ มาเหนอื แผล เรียกว่าโรคราสนิม เชน่ โรคราสนมิ ของ
ถั่วฝักยาว

6. ยางไหล โดยเกดิ มีของเหลวไหลออกมาจากตน้ พชื อาจเกิดจากการทาํ ลายของเชื้อรา
หรอื การได้รบั ไนโตรเจนมา กเกินไป

7. ใบด่าง เกดิ จากเชื้อไวรัสเขา้ ทาํ ลาย ใบหงกิ งอสเี หลืองสลับขาว เชน่ โรคใบดา่ งของ
ถ่ัวฝักยาว

8. รากปม อาจเกดิ จากไส้เดือนฝอยเข้าไปแย่งอาหารอยู่ในราก ทําใหร้ ากพืชโป่งและ
เปน็ ปม การเจรญิ ของพชื ผิดปกติ เช่น โรครากปมของมะเขอื เทศ

9. รานา้ํ คา้ ง มักเกิดในช่วงท่ี มีอากาศช้ืนมหี มอกหรอื นํา้ ค้างในตอนเช้า ๆ จึงเรยี กว่า รา
น้าํ คา้ ง เช่น โรครานํา้ คา้ งของแตง

10. ราแปง้ ราจะสรา้ งส่วนท่ีเรียกว่า ไมซีเร่ยี ม สขี าว ๆ ขึ้นมา ส่วนมากบริเวณใตใ้ บ จึง
เรยี กว่า ราแป้ง แตไ่ ม่ได้ทาํ ให้เซลลข์ องพืชตายเพยี งแต่เกิดรอยด่างเท่านั้น เชน่ โรคราแป้ งของ
เงาะ

11. แอนแทรกโนส เกิดจากเชื้อรา โรคนี้ทาํ ลายพชื ไดท้ ุกระยะของ การเจริญเตบิ โต ถ้า
เชอ้ื ตดิ มากับเมลด็ พันธจ์ุ ะเข้าทาํ ลายต้นกลา้ ทําใหแ้ ห้งตาย ในระยะต้นโตจะทาํ ให้เกิดแผลทต่ี น้
และกิง่ ทําให้ใบร่วงและแห้งตาย อาการของโรคจะเหน็ ไดช้ ดั เจนในระยะตดิ ผล โดยเฉพาะ
อยา่ งยิ่งในระยะท่ผี ลเร่ิมสุก โดยเกิดรอยชํา้ เปน็ แอ่งยุบลงไป แล้วกลายเปน็ แผลสนี ํ้าตาล รูปรา่ ง
กลมรี ขนาดใหญ่ มีจดุ เลก็ สีดาํ เรยี งซอ้ นกันเปน็ วงกลมอยใู่ นบริเวณแผล ในพรกิ เรียกโรคนีว้ า่ “
โรคกุ้งแหง้ ” เชน่ โรคแอนแทรกโนสของพรกิ โรคแอนแทรกโนสของมะมว่ ง

12. โคนเนา่ เกิดจากเชือ้ รา อาการเน่ามีแผลเปน็ สีน้าํ ตาล บรเิ วณโคนต้น ถา้ ถากเปลอื ก
ดจู ะเห็นวา่ ใตเ้ ปลือกมอี าการเนา่ เป็นสนี ้าํ ตาล เช่น โรคโคนเนา่ ของทุเรยี น

13. แคงเกอร์ เกดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี อาการท่ใี บ จะแสดงอาการจุดนูน สนี ้าํ ตาลเลก็ ๆ
ลอ้ มรอบดว้ ยวงเหลอื ง เน้อื เย่อื ตรงกลางจุดนนู สนี ํา้ ตาล อาการที่ผลเปน็ จุดสีน้าํ ตาล เน้อื เย่อื
กลางจุดมกั แตกเปน็ แอ่ง เกิดมากกบั พืชตระกลู สม้ เชน่ มะนาว มะกรูด ส้มเขียวหวานและสม้
โอ

การปอ้ งกันและกาจดั โรคพืช

การป้องกันและกาํ จัดสามารถทาํ ไดห้ ลายวิธี ควรใชว้ ิธกี ารผสมผสานโดยวิธที ่ี
หลากหลาย และไม่กอ่ ให้เกดิ ความเสียหายตอ่ สภ าพแวดล้อม วธิ กี ารควบคุมและปอ้ งกันทําได้
หลายวธิ ีดังน้ี

1. ใชพ้ ันธตุ์ า้ นทาน เปน็ วิธที ่ีดีที่สุดและเสียคา่ ใช้จ่ายนอ้ ยทีส่ ุด แตจ่ าํ เปน็ ต้องคํานึง ถึง
ว่าพันธ์นุ ั้นให้ผลผลติ สงู นาํ้ หนกั ปรมิ าณและคุณภาพตามท่ีปลูกอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมใน
ท้องถน่ิ นนั้ ๆ ดว้ ย

2.วธิ ีการเขตกรรม เปน็ วิธีที่ไดผ้ ลดี สามารถทําได้หลายวธิ ี

2.1 หลกี เลี่ยงโรคโดยการเลือกสถานท่ีปลกู โดยปลกู ในทที่ ี่ไมเ่ คยปลูกหรอื ไม่เคยมี
โรคระบาดมาก่อน ใชเ้ มล็ดพันธุท์ ี่ปราศจากโรคและเลือกเวลาปลกู ท่ีเหมาะสม

2.2 การปลกู พืชแบบหมุนเวียนเพื่อตดั วงจรของโรค เน่อื งจากพชื แต่ ละชนดิ จะมีโรคท่ี
เกดิ ขนึ้ แตกต่างกัน

2.3 การทาํ แปลงปลกู ให้สะอาดปราศจากวชั พชื เปน็ การกาํ จดั พชื อาศัยของเช้อื สาเหตุ
โรค

2.4 การไถพรวนพลกิ หน้าดนิ เพอื่ ตากแดดและปรับปรุงดินให้ดีขน้ึ เช่น ปรับ pH ของ
ดินใหเ้ หมาะสมกับการเจรญิ เติบโตของโรคพืช

2. 5 การปลกู พืชหลาย ๆ ชนิดในแปลงเดยี วกันหรอื พชื ชนิดเดียวกนั แต่ต่างสายพันธ์ุกัน
สามารถลดการระบาดของโรคได้

3.วิธกี ารกกั กนั พืช โดยมากจะเป็นการปอ้ งกันโรคระหว่างประเทศ โดยการตั้งดา่ นกกั กนั พืชใน
บรเิ วณทม่ี ีการนําเข้าและส่งออกพืชพรรณ เชน่ ท่าอากาศยานกรุงเทพฯ

4.วิธที างชีวภาพ เป็นวิธีทป่ี ลอด ภัยตอ่ ผู้ใช้ เชน่ การใชเ้ ชือ้ ราไตรโคเดอรม์ ่าชนดิ สด กาํ จัดเช้ือ
โรคที่ทําใหเ้ กดิ โรครากเน่าโคนเน่า โรคเห่ียว โรคเนา่ ระดบั ดนิ โรคกลา้ เนา่ ยุบ

5.วิธีการทางเคมี การใชส้ ารเคมีมีวิธีใช้หลายลักษณะ เช่น การคลกุ เมลด็ พนั ธกุ์ อ่ นปลกู การฉีด
พ่นสารเคมี การแช่ต้นกล้าในสารเคมี การใช้สารเคมคี ลกุ ดินหรือราดลงดนิ ทกุ ๆวธิ ีต้องศกึ ษา
วธิ ีการใช้และทีส่ าํ คญั จะต้องเลอื กสารเคมีใหถ้ ูกต้อง

การปอ้ งกันกาจดั แมลงศัตรพู ืช
แมลงศัตรพู ชื จะเข้าทําลายพืชให้ไดร้ บั ความเสียหาย อาจโดยวธิ ีกดั กนิ หรอื ดูดนํา้ เลย้ี ง
จากส่วนต่าง ๆ ของพชื แมลงบางชนดิ เป็นพาห ะนาํ โรค

การป้องกนั กาจดั แมลงศตั รูพชื
การป้องกันกําจดั แมลงมี หลายวิธี ควรใชว้ ิธีการผสมผสานโดยวิธที หี่ ลากหลายและไม่

กอ่ ให้เกิดความเสยี หายต่อสภาพแวดลอ้ ม (Integrated pest management) หรือ IPM วิธกี าร
ปอ้ งกันและกาํ จดั แมลงศตั รพู ชื ไดแ้ ก่
1.วธิ กี ล เปน็ วิธที ีป่ ระหยดั และปฏิบัตไิ ดผ้ ลกวา่ วธิ ีอื่นในบางสถานการณ์ อาจทาํ โดย

1.1 การจับ เขยา่ ให้ หลน่ แลว้ จับทําลาย
1.2 การใชม้ อื จับ
1.3 การใช้เครอ่ื งมอื รวบรวม
1.4 การใช้เคร่ืองดูดแมลง

1.5 การร่อนแลว้ แยก มกั ใชก้ บั การแยกแมลงศัตรพู ืชออกจากเมล็ดธัญพืชหรอื
ผลติ ภัณฑ์จากธญั พชื เชน่ แปง้

1.6 การใชก้ บั ดกั

1.6.1 การใชก้ ับดกั กาวเหนียวสเี หลือง แมลงศตั รพู ืชจะช อบบินเข้าหา วัตถสุ เี หลอื งมาก
ทีส่ ดุ หากใชว้ สั ดุทีม่ ีลักษณะข้นเหนยี วไปทาเคลอื บวัสดุสีเหลอื ง เช่น แกลลอนน้ํามนั เครอื่ งสี
เหลอื ง ถงั พลาสตกิ สีเหลือง แผ่นพลาสติกสเี หลือง วางติดตัง้ บนหลกั ไมใ้ ห้อยเู่ หนอื ตน้ พืช
เลก็ นอ้ ยหรอื ตดิ ตั้งในแปลงปลูกห่างกนั ทกุ 3 ตารางเมตร ใหส้ ู งประมาณ 1 เมตร ก็จะ ลดอตั รา
การทําลายของแมลงในพชื ผกั ได้อยา่ งมาก

1.6.2 การใช้กบั ดักแสงไฟ ในอดีตจนถึงปจั จุบนั ชาวบ้านยังนยิ มใชห้ ลอดแบลคไลท์
มาล่อแมลงดานา เพ่อื จบั ไปกินและขาย นักวชิ าการก็ใช้แสงไฟลอ่ แมลงเพื่อต้องการทราบ
ขอ้ มูลการเปลีย่ นแปลงประชากรแมลงศัตรพู ชื แต่ในทางการเกษตรแล้ว กบั ดกั แสงไฟใชล้ ่อ
แมลงศตั รูพืชเพอื่ ลดประชากรของแมลงทาํ ลายพืชลง

1.6.3 การใชเ้ หยื่อพิษ ในช่วงท่แี มลงวนั ผลไม้ระบาดเขา้ ทําลาย การใช้เหยื่อพิษจะต้อง
ระมัดระวงั ถงึ ความปลอดภยั ตอ่ ตัวชาวสวนเองและผูบ้ รโิ ภคดว้ ย เหยอื่ พิษทใี่ ชค้ ือสารโปรตนี
ไฮโดรไลเสท (Protein hydrolysate) จํานวน 20 ชอ้ นแกงผสมกับสารฆา่ แมลง มาลาไธออน
83% 7 กอ้ นแกงและนํ้า 5 ลติ ร ฉดี พ่นบนใบแกข่ องพชื เป็นจดุ ๆ รัศมกี ารพ่น 50 เซนติเมตร พน่
ทกุ ต้น ตน้ ละ 1 จุด แมลงวันผลไมท้ ัง้ เพศผแู้ ละเพศเมียจะมากนิ เหยอ่ื พิษนี้แล้วตาย

1.7 การใชก้ ลนิ่ สาบทางเพศของแมลง ล่อ เช่น การใช้สารล่อดักทําลายแมลงวนั ผลไม้
เพศผู้ สารที่ใชล้ ่อแมลงวนั ผลไม้เพศผู้มีหลายชนิด ทัง้ ที่ได้จากธรรมชาติ เชน่ ดอกวา่ นเดหลี ใบ
กะเพรา ท่เี ปน็ สารเคมีสังเคราะห์ คือ สารเมทธลิ ยูจินอล วธิ ีการใช้สารเมทธลิ ยจู นิ อล โดยหยด
ลงบนดา้ ยดิบหรอื สําลใี นกับดัก 10 - 15 หยด แล้วหยดสารเคมฆี า่ แมลง เชน่ มาลาไธออน 5 - 8
หยดเพื่อฆ่าแมลงวันผลไม้ทเ่ี ขา้ มาในกบั ดัก

2.วธิ ีทางกายภาพ ไดแ้ ก่ การเผาด้วยไฟ การใช้เครื่องเสียง การใชค้ วามรอ้ น

การใช้กระแสไฟฟา้ การใชค้ วามเย็น การใชเ้ คร่อื งทําเสียง การใช้คล่นื ความถ่ีสงู

3.การเขตกรรม ได้แก่ การไขน้ําทว่ มแปลงกอ่ นปลกู พชื การปลกู พชื หมุนเวียน

4.การใช้พันธุ์ตา้ นทาน จดั เปน็ วิธีที่ดีที่สุด พันธุ์ที่ตา้ นทานแมลงอาจได้มาจากการคัด
พนั ธ์ทุ ม่ี ีอยแู่ ลว้ การสรา้ งพันธใุ์ หม่ หรอื ใช้วธิ พี ันธุวิศวกรรม (GMOS) พืชที่มีลกั ษณะตา้ นทาน
แมลงจะมีลกั ษณะที่มคี วามไมเ่ หมาะสม ในการเป็นอาหารของแมลงหรอื เปน็ ผลรา้ ยตอ่ การ
เจรญิ เติบโตของแมลงหรอื เป็นพืชท่มี คี วามทนทานตอ่ การถกู ทําลายโดยแมลง เช่น ข้าวพนั ธ์ุ
กข . 25 มีความตา้ นทานต่อเพล้ยี กระโดดสนี ํา้ ตาล เป็นตน้

5.วิธีใช้กฎหมาย เปน็ วิธที ีป่ ้องกนั การเขา้ มาในพืน้ ทีข่ องแมลงศัตรพู ชื ประทศไทยมี
กฎหมายท่ีเกย่ี วกบั การควบคุมแมลงศัตรพู ืช เชน่ พระราชบญั ญัตพิ ันธุ์พืช พ .ศ.2518
พระราชบญั ญัติวตั ถอุ ันตราย พ .ศ.2535 ทาํ ใหม้ ีการจัดตั้งด่านกกั กันพืช มที ัง้ ด่านกักกนั พืช
ภายในประเทศและระหวา่ งประเทศ การนาํ สง่ิ ต่าง ๆ ท่ีเป็นพชื หรอื เก่ียวกับพืชและศัตรูพชื เมือ่
จะนําผ่านต้องปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย โดยต้องผ่านตรวจสอบจากเจา้ หน้าทแี่ ละตอ้ งมใี บปลอด
ศัตรูพชื กํากับ

6.วิธที างพันธกุ รรม เป็นวิธที าํ ให้แมลงมีความผิดปกติทางพันธุกรรม เช่น ทําให้เกดิ
ความผ่าเหลา่ ทําใหแ้ มลงเป็นหมัน อาจโดยการฉายรังสหี รอื ใช้สารเคมี ไดแ้ ก่ การทําหมนั
แมลงวนั ผลไม้แล้ว ปลอ่ ยแมลงที่เป็นหมันนเี้ ข้าไปในสวนผลไม้ผสมพนั ธุก์ ับแมลงในธรรมชาติ
เพื่อลดจาํ นวนประชากรแมลงวนั ผลไมล้ ง

7. การใชส้ ารสกัดจากธรรมชาติควบคุมแมลงศตั รูพชื ในปจั จุบนั มกี ารนํา สารจากพชื
ธรรมชาติมาใช้ในการปราบแมลงศตั รพู ืชมากขนึ้ เชน่ เมลด็ สะเดา วา่ นนํ้า ยาสบู พริก ตะไคร้
หอม เป็นต้น ถึงแมว้ า่ จะให้ผลในการใชช้ ้ากวา่ การใชส้ ารเคมที ่ผี ลิตขน้ึ มาโดยตรง แต่กย็ งั ใช้
ไดผ้ ลดีและทสี่ าํ คญั ไม่ตอ้ งเสยี เงินตราต่างประเทศในการซ้อื สารเคมีป้องกันกําจัดแมลงท่ีมี
ราคาแพงมาใช้ นอกจากน้ยี งั ช่วยลดมลภาวะทเ่ี ป็นพษิ ใหน้ ้อยลงและผใู้ ชก้ ็ไม่ต้องเสย่ี งกบั กา ร
ตายผอ่ นสง่ เพราะสดู ดมสารเคมฆี า่ แมลงเปน็ ประจําอีกด้วย ท

8. การควบคุมโดยชวี วธิ ี เปน็ วิธีการนาํ แมลงห้ํา แมลงเบยี น เช้ือโรค หรอื สัตว์อนื่ ๆ มา
ควบคุมแมลง

8.1 แมลงหา้ํ เป็นแมลงท่มี ขี นาดคอ่ นข้างใหญเ่ มอ่ื เทียบกับแมลงท่เี ป็นเหยอ่ื ของมัน
แมลงหํ้าเพียงตวั เดยี วจะกินเหย่ือ ได้เปน็ จํานวนมาก เชน่ แมลงชา้ งปีกใส 1 ตวั จะกนิ เพล้ยี อ่อน
ได้ 400-500 ตัว ดว้ งเตา่ ลายมีหลายชนิดเป็นแมลงหาํ้ ของแมลงศตั รพู ืชหลายชนิด เช่น เพล้ีย
ออ่ น เพล้ียแป้ง เพล้ยี หอย เพลีย้ ไกฟ่ ้า ไรท่กี ินพชื มวนพิฆาตสามารถทําลายหนอนกระทห้ อม
หนอนเจาะสมอฝา้ ย หนอนกระท้ผัก หนอนร่ านกินใบมะพร้าว

8.2 แมลงเบียน มกั จะทําลายหรอื เปน็ พาราสิตของแมลงศตั รพู ชื ในระยะท่ียงั ไมเ่ ป็นตัว
เตม็ วัยและจะเจริญเติบโตอยู่ภายในหรอื อยบู่ นแมลงอาศยั เพียงตัวเดยี ว แมลงน้จี ะถกู ทําลาย
อยา่ งช้าๆ ขณะท่ตี วั ออ่ นของแมลงเบยี นจะค่อยๆเจริญเตบิ โต ตวั เต็มวัยของแมลงเบียนส่วนมาก
มชี วี ิตอย่างอสิ ระ (ไมพ่ ึ่งแมลงอาศัย ) กนิ อาหารพวกนํ้าหวานจากดอกไม้ น้าํ หวานที่สกัดจากตัว
แมลงหรือบางครัง้ ก็กินน้ําจากตัวแมลง ตวั อย่างแมลงเบยี นท่พี บโดยทั่วไป เช่น แตนเบยี นไข่
ไตรโคแกรมม่า สามารถควบคมุ หนอนเจาะสมอฝา้ ย หนอนกอออ้ ย หนอนแกว้ ส้มหนอนคบื
ละห่งุ หนอนใยผัก

8.3 เชอ้ื จลุ ินทรียท์ ่ีทําใหเ้ กิดโรคกับแมลง เชน่ การใชเ้ ชอ้ื Bacillus thuringiensis กําจัด
หนอนเจาะสมอฝา้ ย การใชเ้ ชื้อไวรัส NPV กําจัดหนอนกระท้หู อมและหนอนเจาะสมอฝา้ ย การ
ใชไ้ สเ้ ดอื นฝอยกําจดั ดว้ งหมดั ผกั ควบคุมหนอนกินใต้เปลือกลองกอง ลางสาด ควบคมุ ด้วง
หมดั ผัก ในผกั กา ดหวั ควบคุมดวงงวงมนั เทศ และควบคุมหนอนกระทูห้ อมในดาวเรือง

9.การควบคุมด้วยสารเคมี เป็นวธิ ีท่ผี ู้ใช้ต้องใช้ความระมัดระวังเพราะสารเคมเี ป็น
วตั ถุมีพิษและเป็นอนั ตราย การใช้ควรใช้เม่อื แมลงนั้นทําความเสยี หายจนถึงระดับเศรษฐกจิ

การป้องกันกาจัดวชั พชื

วัชพชื (Weed) ถือว่าเปน็ ศตั รทู ีร่ า้ ยแรงที่สดุ ถ้าปลอ่ ยใหว้ ัชพชื รบกวนโดยเฉพาะใน
ระยะแรกของการเจรญิ เติบโต ผลผลิตจะลดลงอยา่ งมากหรอื ไมใ่ หผ้ ลผลิตเลย

การควบคมุ วชั พชื มีหลายวธิ ี ไดแ้ ก่

1. การป้องกัน เชน่ การออกกฎหมายควบคุม การใชเ้ มล็ดพนั ธุท์ ส่ี ะอาดปราศจากเมลด็ วัชพชื
เจอื ปน การทาํ ความสะอาดเครอ่ื งจกั รเครือ่ งมอื การจดั การเตรยี มดนิ ใหถ้ ูกวิธี

2.การกาจัด ทําได้หลายวธิ ี ไดแ้ ก่

2.1 วธิ ที างกายภาพ เช่น การตดั การถาก การขุดหรอื ถม สว่ นมากจะเกย่ี วขอ้ ง กับการใช้
เครื่องมือ ท้ังแรงงานคน แรงงานสัตวแ์ ละเครอ่ื งยนต์ รวมทง้ั การใชค้ วามรอ้ นจากไฟ

2.2วิธีกล เช่น การใชม้ ือถอน การใช้พชื หรอื วัสดคุ ลมุ ดนิ

3. การป้องกันกาจดั โดยวธิ ีการจดั การ หมายถงึ การทาํ ใหส้ ภาพแวดลอ้ มไม่เหมาะสม เพ่ือลด
การเจริญเตบิ โตของพืช เชน่ การหาเวลาปลูกทเ่ี หมาะสม การคดั พนั ธทุ์ ีโ่ ตเร็ว การปลกู พืช
หมนุ เวียน การไถตากดิน การปลกู พชื คลุมดนิ การ เปล่ยี นจากขา้ วนาหวา่ นมาเป็นข้าวนาดาํ

4. การควบคุมทางชีวภาพ เป็นการใชส้ งิ่ มีชีวิตมาควบคุมวชั พืช เช่น การเล้ยี งห่าน การเลีย้ งไก่
แบบย้ายกรง การใช้ตวั หนอนผเี สื้อกลางคืนทาํ ลายผักตบชวา เป็นตน้

5. การควบคมุ ดว้ ยสารเคมี เนอ่ื งจากมีปัญหาคา่ แรงงานในการกาํ จัดวัชพชื สงู ขึ้ นและเกิดจาก
สภาพดินฟ้าอากาศไม่อาํ นวยต่อการกําจดั วชั พืชวิธีอน่ื ๆ เชน่ ฝนตก ดินแฉะ การใช้สารเคมจี ะ
สะดวกกวา่ สิ่งทต่ี อ้ งคาํ นงึ ถึง ไดแ้ ก่

5.1 การใช้สารเคมกี าํ จดั วัชพชื ทางดนิ เปน็ วธิ ีทน่ี ิยมเพราะควบคมุ วัชพืชได้ตง้ั แตว่ ชั พืช
เร่ิมงอก ทําใหพ้ ชื ทป่ี ลูกไม่ชะงกั การเจริ ญเตบิ โต สามารถฉดี พ่นไดท้ นั ทีหลังจากปลกู พชื เสร็จ
แลว้ หรือกอ่ นวชั พชื งอก

5.2 การใชส้ ารเคมกี าํ จัดวชั พืชทางใบ การใช้สารเคมีประเภทดูดซึม เช่น สารไกลโฟ
เสท หลังพ่นควรปลอดฝน 4-6 ช่ัวโมง การใช้สารเคมีประเภทสัมผัสตอ้ งฉีดพน่ ให้ถกู ทวั่ ตน้ จงึ
จะไดผ้ ล

การป้องกันกาจัดสัตว์ ศัตรพู ืชอ่ืนๆ

ส่วนใหญจ่ ะทาํ ความเสียหายใหก้ บั พชื ในลกั ษณะการกินดดู นาํ้ เลย้ี ง หรือเหยยี บย่าํ

บางชนดิ เปน็ พาหะในการถา่ ยทอดโรคหรอื ช่วยให้โรคแพรร่ ะบาดกว้างขวางรุนแรงยิง่ ขน้ึ
ไดแ้ ก่

1.สตั วช์ ้ันสูง ไดแ้ ก่

1.1 หนู การป้องกันกาํ จดั มีหลายวธิ ี เชน่ ถางพื้นทใ่ี ห้โล่งเตี ยนปราศจากวัชพชื ควบคมุ
แหล่งนํ้า โดยปิดใหม้ ดิ ชิดอยา่ ให้หนูมนี ํ้ากิน ใช้ไฟฟา้ ลอ้ มรอบแปลงปลกู พืช เลย้ี งสตั ว์ท่ีเป็น
ศัตรขู องหนู เชน่ สุนขั แมวใชก้ บั ดกั หรอื กรงดกั หรอื อาจจะใชเ้ หยือ่ พษิ กําจัด

1.2 ปูนา การกาํ จดั อาจทาํ โดยการจับหรอื ใช้สารเคมี

1.3 นก มักจะลงจกิ กนิ เมลด็ ข้าวในนาขา้ ว บางชนดิ จกิ กินผลไมท้ ปี่ ลูก แต่สว่ นใหญจ่ ะ
ชว่ ยในการกาํ จัดแมลง

1.4 หอยทาก กําจัดไดโ้ ดยการเก็บทําลายนําไปใช้เลย้ี งเป็ดโดยทุบเปลอื กให้แตกก่อน
ทําแปลงปลูกให้สะอาด ใช้ปนู ขาวโรยรอบ ๆ แปลงปลูก ใชส้ ารเคมีหว่านบริเวณท่มี หี อย
ทากชุกชุม

2.แมงมุมแดง ไรขาว ไรแดง ชอบดูดนํา้ เล้ียงจากพชื ทาํ ใหย้ อดกุด ตากุด ใบด่าง ใบหงิก บดิ เบ้ยี ว
ทําให้พืชเสียหายมาก การปอ้ งกนั กําจัดทําได้โดยการใช้สารเคมี

3. มนษุ ย์ เปน็ ตัวการสําคัญทที่ าํ ใหโ้ รคบางชนิดแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและไปได้ไกล การ
ลกั ลอบนําพนั ธุ์พืชมาจากต่างประเทศ ทําใหม้ โี รคใหม่ ๆ ติดเขา้ มาและเกดิ การแพร่ระบาดใน
ภายหลงั การเขา้ ไปปฏิบตั ิงานในแปลงดว้ ยความไมร่ ะมัดระวัง ทาํ ให้พืชเสียหาย เกิดบาดแผล
เปน็ ช่องทางใหเ้ ช้ือโรคเขา้ สู่พืชไดง้ า่ ยหรือการไปสัมผัสตน้ พืชทเ่ี ป็นโรคไวรัส จะช่วย
แพร่กระจายโรคได้

2.1 หลีกเล่ียงโรคโดยการเลือกสถานทป่ี ลกู โดยปลูกในทีท่ ไ่ี มเ่ คยปลกู หรือไมเ่ คยมี
โรคระบาดมากอ่ น ใชเ้ มลด็ พันธุท์ ป่ี ราศจากโรคและเลอื กเวลาปลูกทเ่ี หมาะสม

2.2 การปลกู พชื แบบหมุนเวยี นเพอื่ ตดั วงจรของโรค เนอ่ื งจากพืชแตล่ ะชนิดจะมโี รคท่ี
เกดิ ขน้ึ แตกตา่ งกัน

2.3 การทาํ แปลงปลกู ให้สะอาดปราศจากวัชพืช เป็นการกําจดั พชื อาศั ยของเช้ือสาเหตุ
โรค

2.4 การไถพรวนพลกิ หนา้ ดนิ เพอ่ื ตากแดดและปรับปรงุ ดินใหด้ ขี นึ้ เช่น ปรบั pH ของ
ดินใหเ้ หมาะสมกบั การเจรญิ เตบิ โตของโรคพชื

2. 5 การปลกู พืชหลาย ๆ ชนิดในแปลงเดียวกันหรอื พืชชนดิ เดยี วกันแตต่ า่ งสายพนั ธก์ุ ัน
สามารถลดการระบาดของโรคได้

3.วิธกี ารกกั กัน พชื โดยมากจะเปน็ การป้องกันโรคระหว่างประเทศ โดยการตั้งด่านกกั กันพชื ใน
บริเวณท่มี กี ารนาํ เขา้ และสง่ ออกพชื พรรณ เชน่ ท่าอากาศยานกรงุ เทพฯ
4.วิธที างชวี ภาพ เปน็ วิธีท่ปี ลอดภัยตอ่ ผู้ใช้ เช่นการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์ม่าชนิดสด กําจัดเช้อื
โรคทีท่ ําให้เกดิ โรครากเนา่ โคนเนา่ โรคเห่ียว โรคเนา่ ระดับดิน โรคกลา้ เน่ายุบ
5.วิธกี ารทางเคมี การใช้สารเคมีมีวิธใี ช้หลายลกั ษณะ เชน่ การคลกุ เมลด็ พันธ์ุก่อนปลกู การฉีด
พน่ สารเคมี การแช่ต้นกล้าในสารเคมี การใชส้ ารเคมคี ลกุ ดินหรือราดลงดิน ทุกๆวธิ ตี ้องศกึ ษา
วธิ กี ารใชแ้ ละที่สําคัญจะตอ้ งเลอื กสารเคมใี ห้ ถกู ต้อง
การป้องกนั กาจัดแมลงศตั รูพืช

แมลงศตั รูพืชจะเข้าทาํ ลายพชื ให้ได้รบั ความเสียหาย อาจโดยวิธีกัดกนิ หรอื ดูดน้าํ เล้ยี ง
จากสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื แมลงบางชนดิ เปน็ พาหะนําโรค

การปอ้ งกันกาจัดแมลงศตั รูพืช
การป้องกนั กําจดั แมลงมี หลายวิธี ควรใช้วธิ ีการผสมผสานโดยวธิ ที ่หี ลากหลายและไม่

ก่อให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ สภาพแวดลอ้ ม (Integrated pest management) หรือ IPM วธิ ีการ
ปอ้ งกันและกําจัดแมลงศตั รูพชื ได้แก่

1.วิธีกล เป็นวิธที ี่ประหยดั และปฏบิ ัติได้ผลกวา่ วธิ ีอ่นื ในบางสถานการณ์ อาจทําโดย

1.1 การจบั เขย่าให้หลน่ แล้วจับทาํ ลาย

1.2 การใช้มอื จับ

1.3 การใชเ้ ครื่องมือรวบรวม

1.4 การใชเ้ ครื่องดดู แมลง

1.5 การร่อนแลว้ แยก มักใชก้ ับการแยกแมลงศัตรพู ชื ออกจากเมลด็ ธัญพชื หรอื
ผลติ ภณั ฑ์จากธญั พืช เช่น แป้ง

1.6 การใชก้ บั ดกั

1.6.1 การใชก้ บั ดักกาวเหนียวสเี หลอื ง แมลงศัตรพู ืชจะชอบบนิ เข้าหา วตั ถสุ เี หลืองมากทสี่ ุด
หากใช้วสั ดทุ มี่ ลี ักษณะขน้ เหนียวไปทาเคลอื บวัสดสุ เี หลอื ง เชน่ แกลล อนน้าํ มนั เคร่อื งสเี หลือง
ถงั พลาสติกสีเหลอื ง แผ่นพลาสตกิ สีเหลอื ง วางตดิ ต้งั บนหลักไม้ให้อยู่เหนือต้นพืชเล็กนอ้ ยหรอื
ตดิ ต้งั ในแปลงปลูกห่างกันทุก 3 ตารางเมตร ใหส้ งู ประมาณ 1 เมตร ก็จะ ลดอัตราการทาํ ลาย
ของแมลงในพืชผักได้อยา่ งมาก

1.6.2 การใชก้ บั ดกั แสงไฟ ในอดีตจนถึงปั จจบุ ัน ชาวบ้านยังนิยมใชห้ ลอดแบลคไลท์ มาลอ่
แมลงดานา เพ่อื จับไปกนิ และขาย นักวชิ าการกใ็ ชแ้ สงไฟล่อแมลงเพือ่ ต้องการทราบข้อมูลการ
เปล่ยี นแปลงประชากรแมลงศัตรูพืช แตใ่ นทางการเกษตรแลว้ กับดกั แสงไฟใช้ล่อแมลงศตั รพู ชื
เพอ่ื ลดประชากรของแมลงทําลายพืชลง

1.6.3 การใชเ้ หย่อื พิษ ในช่วงทแี่ มลงวนั ผลไม้ระบาดเขา้ ทําลาย การใช้เหยอ่ื พิษจะต้อง
ระมดั ระวงั ถงึ ความปลอดภยั ตอ่ ตัวชาวสวนเองและผู้บริโภคด้วย เหย่ือพิษท่ีใช้คือสารโปรตนี
ไฮโดรไลเสท (Protein hydrolysate) จํานวน 20 ชอ้ นแกงผสมกับสารฆา่ แมลง มาลาไธออน
83% 7 ก้อนแกงและน้ํา 5 ลิตร ฉดี พน่ บนใ บแก่ของพืชเป็นจุดๆ รัศมีการพ่น 50 เซนตเิ มตร พ่น
ทกุ ต้น ต้นละ 1 จดุ แมลงวันผลไมท้ งั้ เพศผแู้ ละเพศเมียจะมากนิ เหยอื่ พษิ นีแ้ ลว้ ตาย

1.7 การใชก้ ลิ่นสาบทางเพศของแมลงล่อ เช่น การใชส้ ารล่อดักทาํ ลายแมลงวันผลไม้
เพศผู้ สารทใี่ ช้ลอ่ แมลงวันผลไมเ้ พศผมู้ ีหลายชนิด ทงั้ ที่ได้จากธรรมชาติ เช่น ดอกว่านเดหลี ใบ
กะเพรา ท่ีเปน็ สารเคมสี งั เคราะห์ คอื สารเมทธลิ ยจู นิ อล วิธกี ารใชส้ ารเมทธิลยจู ินอล โดยหยด
ลงบนดา้ ยดบิ หรือสาํ ลีในกบั ดัก 10 - 15 หยด แลว้ หยดสารเคมฆี า่ แมลง เชน่ มาลาไธออน 5 - 8
หยดเพ่อื ฆา่ แมลงวันผลไมท้ ่ีเขา้ มาในกบั ดัก

2.วิธที างกา ยภาพ ไดแ้ ก่ การเผาด้วยไฟ การใช้เคร่ืองเสยี ง การใช้ความรอ้ น

การใชก้ ระแสไฟฟา้ การใช้ความเยน็ การใชเ้ ครื่องทําเสียง การใช้คลนื่ ความถี่สูง

3.การเขตกรรม ไดแ้ ก่ การไขน้ําทว่ มแปลงก่อนปลูกพืช การปลูกพืชหมนุ เวยี น

4.การใชพ้ นั ธุ์ต้านทาน จัดเปน็ วิธีที่ดที ่สี ุด พันธุ์ทต่ี า้ นทานแมลงอาจได้มาจากการคดั พันธท์ุ ม่ี ีอยู่
แล้ว การสรา้ งพนั ธุ์ใหม่ หรอื ใช้วธิ พี ันธุวิศวกรรม (GMOS) พชื ทม่ี ีลักษณะตา้ นทานแมลงจะมี
ลกั ษณะท่ีมคี วามไม่เหมาะสม ในการเป็นอาหารของแมลงหรอื เป็นผลรา้ ยต่อการเจรญิ เตบิ โต
ของแมลงหรอื เป็นพืชทมี่ คี วามทนทานต่อการถูกทาํ ลา ยโดยแมลง เชน่ ข้าวพันธุ์ กข . 25 มี
ความต้านทานต่อเพล้ียกระโดดสีนา้ํ ตาล เป็นต้น

5.วิธีใชก้ ฎหมาย เป็นวิธีท่ปี ้องกนั การเข้ามาในพน้ื ท่ขี องแมลงศตั รพู ชื ประทศไทยมี กฎหมายท่ี
เกยี่ วกับการควบคุมแมลงศัตรพู ชื เช่น พระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ .ศ.2518 พระราชบัญญัตวิ ตั ถุ
อนั ตราย พ.ศ.2535 ทาํ ให้มกี ารจดั ต้งั ดา่ นกกั กันพชื มีทง้ั ดา่ นกกั กนั พชื ภายในประเทศและ
ระหว่างประเทศ การนาํ ส่ิงต่าง ๆ ท่เี ป็นพชื หรอื เก่ยี วกับพชื และศัตรพู ืช เมื่อจะนาํ ผา่ นต้อง
ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย โดยต้องผ่านตรวจสอบจากเจา้ หน้าทแ่ี ละตอ้ งมีใบปลอดศัตรูพืชกํากบั

6.วธิ ีทางพนั ธุ กรรม เปน็ วธิ ที าํ ให้แมลงมคี วามผดิ ปกติทางพันธุกรรม เชน่ ทําใหเ้ กดิ ความผา่
เหลา่ ทําให้แมลงเปน็ หมัน อาจโดยการฉายรงั สีหรอื ใช้สารเคมี ไดแ้ ก่ การทําหมันแมลงวัน
ผลไมแ้ ล้วปลอ่ ยแมลงทเี่ ป็นหมนั นเ้ี ขา้ ไปในสวนผลไม้ผสมพนั ธก์ุ บั แมลงในธรรมชาติเพอ่ื ลด
จาํ นวนประชากรแมลงวันผลไม้ล ง

7. การใช้สารสกัดจากธรรมชาติควบคุมแมลงศัตรพู ืช ในปจั จบุ ันมีการนํา สารจากพชื ธรรมชาติ
มาใชใ้ นการปราบแมลงศัตรูพชื มากขน้ึ เชน่ เมลด็ สะเดา ว่านน้ํา ยาสูบ พรกิ ตะไครห้ อม เป็น
ตน้ ถงึ แม้ว่าจะใหผ้ ลในการใชช้ ้ากวา่ การใชส้ ารเคมที ่ีผลิตขนึ้ มาโดยตรง แต่กย็ งั ใชไ้ ดผ้ ลดีและ
ทสี่ ําคัญไม่ต้องเสียเงินตราต่างประเทศในการซอื้ สารเคมปี ้องกนั กาํ จดั แมลงทีม่ ี ราคาแพงมาใช้

นอกจากน้ียังช่วยลดมลภาวะทีเ่ ปน็ พิษให้น้อยลงและผู้ใช้กไ็ มต่ อ้ งเสีย่ งกบั การตายผ่อนส่ง
เพราะสูดดมสารเคมฆี า่ แมลงเป็นประจาํ อกี ด้วย ท

8. การควบคุมโดยชีววิธี เปน็ วิธกี ารนาํ แมลงหํ้า แมลงเบียน เชอ้ื โรค หรือสัตว์อื่น ๆ มาควบคุม
แมลง

8.1 แมลงหาํ้ เป็นแมลงทีม่ ีขนาดค่อนขา้ งใหญ่เมื่อเทียบกับแมลงที่เปน็ เหย่อื ของมัน
แมลงหาํ้ เพยี งตัวเดียวจะกนิ เหยอื่ ไดเ้ ป็นจํานวนมาก เช่น แมลงช้างปกี ใส 1 ตวั จะกินเพลี้ยออ่ น
ได้ 400-500 ตวั ด้วงเตา่ ลายมีหลายชนดิ เปน็ แ มลงห้ําของแมลงศตั รูพชื หลายชนดิ เชน่ เพล้ีย
อ่อน เพลย้ี แป้ง เพลีย้ หอย เพล้ียไกฟ่ ้า ไรทก่ี ินพชื มวนพฆิ าตสามารถทาํ ลายหนอนกระท้หอม
หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนกระทผ้ กั หนอนร่านกนิ ใบมะพรา้ ว

8.2 แมลงเบียน มกั จะทาํ ลายหรอื เป็นพาราสติ ของแมลงศตั รพู ืชในระยะทีย่ ังไมเ่ ปน็ ตัว
เต็มวัยและจะเจรญิ เตบิ โตอย่ภู ายในหรืออยบู่ นแมลงอาศัยเพียงตวั เดยี ว แมลงนจี้ ะถูกทําลาย
อย่างชา้ ๆ ขณะท่ีตวั อ่อนของแมลงเบียนจะคอ่ ยๆเจริญเตบิ โต ตัวเตม็ วยั ของแมลงเบยี นสว่ นมาก
มีชวี ติ อย่างอิสระ (ไมพ่ ึ่งแมลงอาศยั ) กินอาหารพวกนํ้าหวานจากดอกไม้ นาํ้ หวานท่ีสกัดจากตัว
แมลงหรือบางครั้ งก็กินน้ําจากตวั แมลง ตัวอยา่ งแมลงเบยี นท่ีพบโดยทั่วไป เชน่ แตนเบียนไข่
ไตรโคแกรมม่า สามารถควบคมุ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนกออ้อย หนอนแกว้ ส้มหนอนคบื
ละหงุ่ หนอนใยผกั

8.3 เช้ือจุลินทรีย์ทีท่ ําให้เกดิ โรคกับแมลง เชน่ การใช้เชอื้ Bacillus thuringiensis กาํ จดั
หนอนเจาะสมอ ฝา้ ย การใช้เชื้อไวรสั NPV กาํ จดั หนอนกระทู้หอมและหนอนเจาะสมอฝา้ ย การ
ใชไ้ สเ้ ดอื นฝอยกาํ จัดด้วงหมัดผกั ควบคมุ หนอนกนิ ใต้เปลือกลองกอง ลางสาด ควบคุมดว้ ง
หมดั ผัก ในผกั กาดหัว ควบคมุ ดวงงวงมนั เทศ และควบคุมหนอนกระทู้หอมในดาวเรือง

9.การควบคมุ ดว้ ยสารเคมี เป็นวธิ ที ผี่ ูใ้ ช้ ต้องใช้ความระมดั ระวังเพราะสารเคมเี ปน็ วตั ถมุ พี ิษและ
เปน็ อันตราย การใชค้ วรใชเ้ มือ่ แมลงนน้ั ทาํ ความเสียหายจนถงึ ระดบั เศรษฐกิจ

การปอ้ งกันกาจัดวัชพชื

วชั พืช (Weed) ถอื ว่าเป็นศตั รทู ร่ี ้ายแรงทสี่ ดุ ถา้ ปลอ่ ยใหว้ ชั พืชรบกวนโดยเฉพาะใน
ระยะแรกของการเจริญเตบิ โต ผลผลติ จะลด ลงอย่างมากหรือไมใ่ ห้ผลผลติ เลย

การควบคมุ วชั พืช มีหลายวิธี ได้แก่

1. การปอ้ งกนั เช่น การออกกฎหมายควบคมุ การใชเ้ มลด็ พันธุท์ ่ีสะอาดปราศจากเมล็ดวัชพชื
เจือปน การทาํ ความสะอาดเคร่อื งจกั รเครอื่ งมอื การจัดการเตรียมดินให้ถูกวธิ ี

2.การกาจัด ทาํ ได้หลายวธิ ี ไดแ้ ก่

2.1 วธิ ที างกายภาพ เชน่ การตัด การถาก การขดุ หรือถม ส่วนมากจะเกยี่ วข้อง กับการใช้
เคร่ืองมือ ทัง้ แรงงานคน แรงงานสตั วแ์ ละเครอ่ื งยนต์ รวมทัง้ การใชค้ วามรอ้ นจากไฟ

2.2วธิ กี ล เชน่ การใช้มอื ถอน การใช้พชื หรือวัสดคุ ลุมดิน

3. การปอ้ งกันกาจัดโดยวิธีการจดั การ หมายถึงการ ทําใหส้ ภาพแวดลอ้ มไม่เหมาะสม เพือ่ ลด
การเจริญเติบโตของพชื เชน่ การหาเวลาปลกู ที่เหมาะสม การคดั พนั ธทุ์ ่โี ตเร็ว การปลกู พชื
หมุนเวียน การไถตากดิน การปลกู พืชคลุมดิน การเปลี่ยนจากขา้ วนาหวา่ นมาเปน็ ข้าวนาดํา

4. การควบคมุ ทางชวี ภาพ เปน็ การใชส้ งิ่ มชี วี ติ มาควบคมุ วัชพชื เช่ น การเล้ยี งห่าน การเลีย้ งไก่
แบบย้ายกรงการใชต้ วั หนอนผเี สอ้ื กลางคนื ทาํ ลายผกั ตบชวา เปน็ ตน้

5. การควบคุมด้วยสารเคมี เน่อื งจากมีปัญหาคา่ แรงงานในการกําจดั วชั พชื สูงข้ึนและเกดิ จาก
สภาพดินฟ้าอากาศไมอ่ าํ นวยตอ่ การกําจัดวชั พืชวิธีอืน่ ๆ เชน่ ฝนตก ดนิ แฉะ การใช้สารเคมจี ะ
สะดวกกว่า สิ่งทีต่ ้องคํานึงถงึ ไดแ้ ก่

5.1 การใช้สารเคมกี าํ จัดวชั พชื ทางดินเป็นวธิ ที ่ีนิยมเพราะควบคมุ วชั พืชได้ต้งั แตว่ ัชพืชเริม่ งอก
ทําให้พชื ทป่ี ลกู ไม่ชะงกั การเจริญเตบิ โต สามารถฉดี พน่ ได้ทนั ทีหลงั จากปลกู พืชเสร็จแล้วหรอื
กอ่ นวชั พืชงอก

5.2 การใชส้ ารเคมีกําจดั วัชพชื ทา งใบ การใช้สารเคมีประเภทดูดซึม เช่น สารไกลโฟเสท หลัง
พน่ ควรปลอดฝน 4-6 ชั่วโมง การใชส้ ารเคมปี ระเภทสัมผสั ตอ้ งฉดี พน่ ให้ถูกทว่ั ตน้ จึงจะไดผ้ ล

การปอ้ งกนั กาจดั สตั ว์ศัตรูพืชอนื่ ๆ

สว่ นใหญ่จะทําความเสยี หายให้กบั พชื ในลักษณะการกนิ ดูดนํา้ เลย้ี ง หรอื เหยียบยาํ่ บาง
ชนดิ เป็นพาหะในการถ่ายทอดโรคหรอื ช่วยใหโ้ รคแพรร่ ะบาดกวา้ งขวางรุนแรงยง่ิ ขึน้ ได้แก่

1.สัตว์ช้ันสูง ได้แก่

1.1 หนู การปอ้ งกันกําจดั มหี ลายวิธี เช่น ถางพนื้ ท่ีให้โล่งเตียน ปราศจากวชั พืช ควบคมุ
แหล่งนา้ํ โดยปดิ ใหม้ ิดชดิ อย่าให้หนมู นี ้ํากิน ใช้ไฟฟ้าลอ้ มรอบแปลงปลกู พืช เล้ียงสตั ว์ทเี่ ปน็
ศตั รูของหนู เช่น สนุ ัข แมวใช้กบั ดักหรือกรงดัก หรอื อาจจะใช้เหยอ่ื พษิ กําจดั

1.2 ปนู า การกาํ จดั อาจทาํ โดยการจับหรือใชส้ ารเคมี

1.3 นก มกั จะลงจิกกินเมลด็ ข้าวในนาข้าว บางชนดิ จิกกินผลไม้ท่ปี ลูก แต่ส่วนใหญ่จะ
ชว่ ยในการกาํ จัดแมลง

1.4 หอยทาก กาํ จัดไดโ้ ดยก ารเก็บทาํ ลายนําไปใชเ้ ลยี้ งเป็ดโดยทบุ เปลือกให้แตกก่อน
ทาํ แปลงปลกู ให้สะอาด ใชป้ นู ขาวโรยรอบ ๆ แปลงปลกู ใช้สารเคมีหว่านบริเวณท่ีมีหอยทาก
ชุกชุม

2.แมงมุมแดง ไรขาว ไรแดง ชอบดูดนํา้ เล้ียงจากพชื ทาํ ใหย้ อดกุด ตากุด ใบด่าง ใบหงิก บิดเบ้ียว
ทําใหพ้ ืชเสียหายมาก การปอ้ งกันกํา จดั ทาํ ได้โดยการใช้สารเคมี

3. มนุษย์ เป็นตัวการสาํ คัญที่ทําให้โรคบางชนดิ แพร่ระบาดอยา่ งรวดเร็วและไปได้ไกล การ
ลักลอบนําพนั ธ์ุพชื มาจากตา่ งประเทศ ทาํ ใหม้ ีโรคใหม่ ๆ ตดิ เข้ามาและเกิดการแพรร่ ะบาดใน
ภายหลงั การเข้าไปปฏบิ ัติงานในแปลงด้วยความไมร่ ะมัดระวงั ทาํ ให้พชื เสยี หาย เกดิ บาดแผล
เป็นช่องทางให้เชอื้ โรคเข้าสพู่ ืชได้ง่ายหรือการไปสัมผัสตน้ พชื ที่เป็นโรคไวรสั จะช่วย
แพร่กระจายโรคได้

การเกบ็ เก่ยี วและการจดั การผลผลติ

การเกบ็ เกย่ี ว (Harvesting) คือ การปฏบิ ัตติ ่อพืชขัน้ สุดท้ายกอ่ นนาํ ผลผลิตออกจาก
แปลงปลกู พชื เพ่อื การบรโิ ภค แปรรปู หรือจัดจาํ หนา่ ยตอ่ ไป เกษตรกรจาํ เปน็ ตอ้ งรวู้ ธิ กี ารเก็บ
เก่ยี วผลผลิตอยา่ งถกู ต้องและรวดเร็วทนั เวลา มฉิ ะน้นั จะทาํ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ผลผลติ ได้

หลักในการเกบ็ เกย่ี วผลผลติ

1. ชนิดของพชื พืชแตล่ ะชนดิ จะสกุ แกไ่ มพ่ รอ้ มกนั บางครง้ั พืชชนิดเดยี วกันแกไ่ ม่พร้อมกนั

2. สภาวะอากาศ อณุ หภูมิและความชืน้ อากาศมผี ลต่อการแกข่ องพชื ตามปกติอุณหภูมิสงู เร่ง
ระยะการแก่ของพืช อณุ หภูมิตา่ํ จะยืดเวลาการแกข่ องพชื

3. ระยะทางไปสตู่ ลาด ผลผลิตบางอยา่ งถา้ เกบ็ ตอนแกเ่ ตม็ ทก่ี ว่าจะส่งถงึ ตลาดจะทําให้เกดิ ความ
เสยี หายได้

อายุของพชื ท่เี หมาะแกก่ ารเกบ็ เกย่ี ว

พืชแตล่ ะชนดิ มีอายเุ กบ็ เกีย่ วแตกตา่ งกนั การจะเกบ็ เก่ยี วได้เม่ือใดนน้ั มีขอ้ กาํ หนดซงึ่ เรียกว่า
ดชั นีการเกบ็ เกย่ี ว ซ่ึงเปน็ สงิ่ บง่ ชว้ี ่าจะเก็บเก่ียวผลผลติ มาใช้ในการบรโิ ภคหรือจาํ หน่ายได้ ดัชนี
การเกบ็ เกี่ยวของพชื แต่ละชนิดจะแตกต่างกนั ไป ไดแ้ ก่

1. การเก็บเกยี่ วผล ไม้ เวลาการเก็บเกี่ยวขึ้นกับชนดิ ของพันธ์ุ และตอ้ งพิจารณาถึงระยะทางที่จะ
สง่ ผลไม้ไปถึงตลาด การเก็บเก่ยี วผลต้องเกบ็ ท่แี กพ่ อเหมาะ ถา้ เกบ็ ผลไมแ่ กเ่ ตม็ ที่ ผลไมจ้ ะมี
ขนาดเลก็ สไี ม่สวย เปรยี้ ว เนือ้ หยาบ แข็ง กล่นิ แปรเปล่ยี นไป และทําให้เกิดโรคทาํ ลาย คุณภาพ
ของผลได้ ควา มแก่ของผลไมแ้ ตล่ ะชนิด อาจสังเกตได้ เชน่

1.1 การเปลี่ยนสีของผล ไม้ผลทว่ั ไปเมอ่ื ยังไมแ่ กจ่ ะมีสเี ขียวหรอื เขียวเข้ม เมอ่ื แกจ่ ะเปลี่ยนสีไป
เชน่ สอี อกเหลอื งแดง สีเขยี วจางลง หรือเกิดนวลทีผ่ ล ขนหรือไคลท่ีผลหลุดไป เชน่ มะมว่ ง
แอปเป้ลิ

1.2 รูปร่างและลกั ษณะของผล เช่ น มะมว่ งแก้มผลจะเต็ม ทเุ รยี น ขนนุ ลาํ ไย ลนิ้ จี่ หนามจะห่าง
ออก น้อยหน่าตาจะหา่ งออก กลว้ ยผลจะกลมไมเ่ ป็นเหล่ยี ม พวกสม้ น้อยหน่า ละมดุ ขว้ั ผลจะ
หลดุ ง่าย แตงโมข้ัวผลจะเห่ียว อง่นุ ผลจะนมุ่

กลว้ ยสําหรับส่งออกควรมี 3-4 เหลีย่ ม (2 ผลกลาง)
1.3 ความแน่นของเน้ือจะน้อยลง อาจใช้มอื กดดูหรอื ใช้เครือ่ งวัดความแน่นของผลไม้
1.4 ปรมิ าณกรดและนํา้ ตาลในผล โดยการวดั ด้วยเคร่อื งมือหรือการทดลองชมิ
นอกจากลกั ษณะดงั กล่าวแลว้ ยังมวี ิธีสังเ กตอกี หลายวธิ ี เช่น การฟงั เสยี งในทุเรยี น สบั ปะรด
ฝรั่ง แตงโม ขนุน

การเคาะฟังเสียงทุเรยี นเพอ่ื คดั เลือกความออ่ นแก่
สําหรับวิธีการที่คอ่ นข้างจะได้มาตรฐานอีกวิ ธีคือ การนับอายุผลตง้ั แต่ดอกบานจนกระทั่งผลแก่
หรือวันทเ่ี กบ็ เกีย่ วผล ซง่ึ อาจแตกตา่ งกันบา้ งเลก็ นอ้ ยแล้วแต่สภาพการปลูกและสภาพดินฟ้า
อากาศของแตล่ ะแห่ง

ตารางที่ 1 จาํ นวนวันออกดอกถึงวันเก็บเก่ียวของไม้ผลบางชนิด

ชนิดไม้ผล เวลานบั จากวนั ออกดอกถงึ เก็บผล
วนั เดือน
เงาะ 3.5-4
ทเุ รยี น พนั ธ์ุหมอนทอง 120
ทุเรียนพนั ธ์ชุ ะนี
ทุเรียนพนั ธ์ุกา้ นยาว 100-105
มะละกอ 112
มงั คดุ 7
ลองกอง ลางสาด 3
สบั ปะรด 6
สม้ เขียวหวาน 5
9

2. การเกบ็ เก่ียวผัก การเก็บเก่ียวผักเรว็ เกินไป อาจจะได้ผลผลิตคุณ ภาพไม่ดีแต่ถา้ ชะลอจนชา้ ก็
อาจทําใหพ้ ืชผกั เนา่ เสีย พชื ผักหลายชนดิ สงั เกตอายุเก็บเกี่ยวทีเ่ หมาะสมยาก ดงั นน้ั จงึ มกี ารหา
อายุการเกบ็ เกี่ยวทีเ่ หมาะสม ซ่งึ อาจพิจารณาได้จาก

2.1 การสังเกตดว้ ยสายตา สงั เกตจากการเปลี่ยนของสี เช่น มะเขือเทศ จะเปลยี่ นสจี ากสีเขียว
เปน็ สีเขียวอมแดง ขนาด พิจารณาดูขนาดใบ ตน้ หรอื ผลว่าไดข้ นาดตาม ต้องการ เช่น แตงกวา
เกบ็ เกี่ยวเมอ่ื หนามยงั ไม่หลุด ผกั กินใบเก็บเกยี่ วเมอื่ ใบอวบใหญ่ ผักกินดอก เก็บเกย่ี วเมอื่ ดอก
ตมู แนน่ เต็มท่แี ตย่ ังไมบ่ าน พิจารณาดกู ารเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เช่น ผกั กนิ ใบ ใบจะอวบ มี
นวล ผกั กิ นผลเช่นแตงเทศจะเกิดรอยแตกทขี่ ว้ั ผล

ความยาวของไหมขา้ วโพด ใชเ้ ป็นดัชนใี นการเก็บเกยี่ วข้าวโพดฝกั ออ่ น

สเี ปน็ ดัชนใี นการเกบ็ เก่ียวมะเขอื เทศ

2.2 การใช้ประสาทสัมผสั ได้แก่ การชมิ รส การฟังเสยี ง การดมกล่ิน และอ่ืน ๆ ท่นี อกเหนอื จาก
การสังเกตด้วยสายตา เช่น การดดี ฟังเสียงแตงโม ดมกลิ่นแตงไทย แตงเทศ

2.3 การประมาณอายนุ ับจ ากวนั ปลูกจนถงึ วนั เกบ็ เก่ียว อายุเก็บเก่ยี วขึน้ กบั ชนิดของพนั ธุ์วา่ เปน็
พนั ธ์หุ นกั หรือพันธเุ์ บา และตอ้ งพิจาณาสภาพของฤดกู าลตลอดจนความอดุ มสมบรู ณด์ ้วย

ตารางท่ี 2 แสดงอายุการเก็บเกย่ี วผักบางชนดิ

ชือ่ ผัก อายุเกบ็ เก่ียว ลักษณะที่เหมาะแกก่ ารเก็บเกยี่ ว
ผักกาดเขี ยวกวางตุ้ง
ผักบุ้งจนี 30-35 วนั นับจากวนั ปลกู ตน้ โตเต็มทย่ี ังไมอ่ อกดอก
มะเขอื เทศ
ถ่ัวลนั เตา 25-30 วนั ตน้ ออ่ นสงู ไม่เกนิ 1 ฟุต
ถว่ั แขก ถว่ั ฝักยาว
หอมหัวใหญ่ 60-80 วนั ผลสเี รอ่ื
กระเทยี ม
มะระ 55-60 วนั ฝักยังออ่ น เต่งเต็มที่
แตงกวา
กะหลา่ํ ปม 55-60 วนั ฝักอ่อน เตง่ แน่น ฝักไม่พอง
ผกั กาดหัว
แครอท 85-180วนั หัวโตเต็มที่ ใบแหง้
หวั บที
แตงโม 100-120วนั หวั โตเตม็ ท่ี ใบแหง้

40-60 วนั ผลโตเต็มท่ี ยังมีสีเขยี วอยู่

30-45วนั ผลออ่ น สีขาวอ่อน มีหนาม

30-45วนั หวั โตเต็มที่ ไมแ่ ตก

70-90 วนั นบั จากหว่านเมลด็ หัวโตเตม็ ที่ ไมฟ่ ่าม

70-85 วนั ”

45-60วนั ”

80-120 วนั ผลโตและแก่เต็มที่ เถาเรมิ่ แหง้

2.4 การประมาณอายุจากวนั ท่ีดอกผสมเกสรจนวนั เก็บเกย่ี ว

ตารางท่ี 3 อายุจากวนั ท่ีดอกผสมเกสรจนวนั เกบ็ เกย่ี วของผักบางชนิด

ชนิดพชื ผัก อายจุ ากวัน ผสมเกสรถึงวันเกบ็ เกีย่ ว
แตงกวาชนิดกนิ ผลสด 15-18
แตงเทศ 42-46
ถ่ัวฝกั ยาว 7-10
ฟักทอง 80-90
แตงโม 42-45
มะเขอื เทศระยะสเี ขียวแก่เต็มที่ 35-45
มะเขอื เทศระยะสแี ดงสกุ 45-60
พรกิ ระยะเปน็ สีเขียว 45-55
พรกิ ระยะเปน็ สแี ดง 60-70
กระเจยี๊ บ 4-6

3. การเก็บเกีย่ วพชื ไร่ ข้อพิจารณาในการเกบ็ เกย่ี วพืชไร่ มดี ังนี้

3.1 อายขุ องพืช เปน็ ลักษณะประจําพันธขุ์ องพืชน้นั ๆ การเก็บเก่ยี วค่อนขา้ ง แน่นอนโดยเฉพาะ
พชื ไร่ทไ่ี มไ่ วตอ่ ช่วงแสงหรอื พชื ไร่ท่ีช่วงแสงมีอิทธพิ ลน้อย เชน่ ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ สุวรรณ 1
อายเุ ก็บเก่ียว 100 –110 วัน ข้าวโพดพนั ธส์ุ ุวรรณ 2 อายุเกบ็ เกยี่ ว 90-100 วนั

3.2 นบั อายุต้ังแต่พชื ออกดอก วธิ ีนี้จะแม่นยาํ กว่าวธิ แี รก เชน่ ขา้ วโพดหวานพันธอ์ุ นิ ทรีย์ 2 เ กบ็
เกี่ยวหลงั จากออกไหม 20 วัน ข้าวโพดพันธไุ์ ฮบริกซ์ 10 เก็บเก่ียวหลังออกไหม 18 วัน ขา้ วเก็บ
เก่ียวหลงั ออกดอก 30 วัน โดยนับจากวนั ทอ่ี อกดอก 50 %

3.3 การสงั เกตการเปล่ียนแปลงทางสรีรวทิ ยา ในขา้ วระยะเกบ็ เก่ยี วทเ่ี หมาะสมเรียกว่า ระยะ
พลบั พลงึ คอื เมลด็ เปลีย่ นเป็นสีเหลือง 3/4 ส่วนของรวงขา้ ว ในฝา้ ยปยุ ที่แกแ่ ตกบานเตม็ ท่ี ใน
ถวั่ เขียวฝกั เปลี่ยนสเี ปน็ สดี าํ สีฟางแห้ง หรอื สนี ํา้ ตาลขนึ้ อย่กู ับพันธุ์ ถั่วลสิ งเมือ่ ใบลา่ งรว่ ง 2 ใน
3 ของใบทง้ั หมดหรอื สังเกตเปลอื กฝกั ด้านในเปล่ยี นเป็นสีนํ้าตาล

ใชส้ เี ปน็ ดัชนีในการเกบ็ เก่ยี ว

ตารางท่ี 7 แสดงอายเุ กบ็ เก่ยี วของพืชไร่บางชนิด

ชนดิ พืช ชว่ งเวลาปลกู อายเุ ก็บเกยี่ ว
ข้าวไร่ พ.ค .- ก.ค. 90-100
มนั สาํ ปะหลงั มี.ค .- ก.ย. 200-240
ออ้ ย พ.ค.- ก.ย. 180-240
ถั่วเหลืองพนั ธหุ์ นัก พ.ค .- มิ.ย. 120-130
ถ่วั เหลืองพนั ธเ์ุ บา ก.ค.- ก.ย. 100-120
ถ่ัวลสิ ง ต้นหรือปลายฤดูฝน 100-120
งา มี.ค.- พ.ค. 90-100
ปอกระเจา พ.ค.- มิ.ย. 120-150
ปอแกว้ พ.ค.- ส.ค. 120-150
ละหุ่ง ต้นหรือปลายฤดฝู น 150-160
ยาสบู ปลายฤดฝู น 120
ขา้ วโพดเล้ียงสตั ว์ 100-120
ขา้ วโพดหวาน ” 75-80
ขา้ วฟ่างพันธ์เุ บา ตน้ ฤดูฝน - ปลายฤดหู นาว 100-120
ขา้ วฟ่างพันธ์ุหนัก 120-140
ส.ค.- ต.ค.
พ.ค.- ก.ย.

4. การเก็บเกย่ี วไม้ดอก อายุการตดั ดอกท่ีเหมาะสมของดอกไมแ้ ตล่ ะชนดิ มี

ความแตกตา่ งกัน ข้นึ กบั พนั ธ์แุ ละฤดปู ลูกด้วยด้วย

ตารางท่ี 8 แสดงอายกุ ารตดั ดอกท่ี เหมาะสมของไมด้ อกบางชนดิ

ชอื่ ไม้ดอก ลกั ษณะทีเ่ หมาะแก่การเกบ็ เก่ียว
กหุ ลาบ กลบี ดอกยงั หมุ้ ดอกแนน่ ( ดอกตมู )
เบญจมาศ กลีบดอกนอกบานเตม็ ที่ กลบี กลางดอกยังไมบ่ าน
เยอบรี า่ มองเห็นเกสรตัวผู้ 2-3 วงหรือกลีบดอกชัน้ ใน 2 วงนอกเร่ิมบาน
ดาวเรือง กลีบดอกตรง กลางยังมีสีเขียว 10-20 %( ขนาดเทา่ เหรยี ญบาท )
กลดิโอลสั ดอกล่าง 2-4 ดอกเริ่มแยม้ เหน็ สแี ต่ยังไมบ่ าน
ซอ่ นกลิ่น ดอกล่าง 2-4 ดอกเรม่ิ บาน
แอสเตอร์ ดอกบานประมาณ 50 % ของจาํ นวนดอกทั้งหมด
หนา้ วัว ดอกสีแดงตัดเมื่อดอกบาน 2/3 ของปลี สชี มพู สม้ ขาว เขยี ว ตัดเม่ือดอกบาน
1/2 ของปลี

วธิ กี ารเก็บเก่ียว มีวิธีการดังต่อไปน้ี

1, การเก็บเกยี่ วดว้ ยแรงคน เป็นวิธีทปี่ ฏิบตั กิ ันอยเู่ ป็นส่วนใหญ่เนอื่ งจากเหตผุ ลหลายประการ
เชน่ ขาดทนุ ในการซ้ือเครื่องมอื พชื บางอยา่ งไม่เหมาะแก่การใช้เครอ่ื งทุ่นแรง เชน่ การใช้
ตะกรอ้ เก็บเก่ี ยวผลไม้ ใชม้ ีดตดั ผัก เปน็ ต้น

2. การเก็บเกี่ยวด้วยแรงสตั ว์ เหมาะสมกบั พชื บางอยา่ งเทา่ นัน้ เชน่ มันสําปะหลงั ใชแ้ รงสัตวจ์ ูง
ลากไถเพือ่ การเก็บเก่ยี ว ใชแ้ รงงานสตั ว์ ในการนวดขา้ ว นวดถว่ั ตา่ ง ๆ

3. การเกบ็ เกี่ยวดว้ ยเครื่องยนต์ ขณะนเ้ี กษตรกรเหน็ ความสาํ คญั มากขน้ึ เพราะทําให้สะดวกและ
ทนั เวลา พืชทป่ี ลูกเพ่ือใช้ผลผลิตในการแปรรปู เช่น มะเขือเทศ นกั ปรับปรุงพนั ธ์ุและวศิ วกร
เกษตรไดป้ รบั ปรุงพันธม์ุ ะเขือเทศใหเ้ หมาะสมแกก่ ารใช้เคร่ืองมื อเก็บเกีย่ ว คือให้มผี ลแก่พร้อม
ๆ กัน เปลอื กหนาและผลรูปไข่ องุ่นก็เปน็ อีกพืชหนง่ึ ซึง่ ใชเ้ ครอื่ งมอื เก็บเก่ียว

เคร่ืองเกบ็ เก่ียวออ้ ย

เครื่องเก็บเกยี่ วข้าวโพด
การเตรียมผลผลติ ก่อนการจาํ หนา่ ย
ก่อนนาํ ผลผลติ ออกจําหนา่ ยควรเตรียมผลผลติ ดังนี้
1. การตกแตง่ การตกแต่งคณุ ภาพภายนอก นับวา่ จาํ เป็น ทาํ ให้คณุ ภาพ สสี นั ดขี ึ้น เป็นทีต่ อ้ งการ
ของตลาดและผู้บรโิ ภค เช่น การตกแตง่ ผกั และผลไม้ตา่ งๆ

2. การชาํ ระลา้ ง เป็นการทาํ ความสะอาดผลผลติ โดยการขจัดสง่ิ สกปรกท่ตี ิดตามกับผลผลติ
อาจใชก้ ารเช็ด การล้างนํ้า

เครอ่ื งขัดผวิ ละมุด

เครื่องขัดผวิ มังคุด ชว่ ยให้ผิวมังคุดมันและสวยงาม
3. การคดั หมายถงึ การแยกขนาด สี นา้ํ หนกั ผลผลติ ทดี่ ี ออกจากผลผลิตท่มี ขี น าด สี และ
นํ้าหนกั ทีเ่ ลว เพอ่ื ผลผลติ ที่ดีจะสามารถจาํ หน่ายไดร้ าคาดี สว่ นผลผลิตท่เี ลวกข็ ายได้อีกราคา
หนึ่ง การจําหน่ายแบบนี้จะได้ราคาดีกวา่ จาํ หนา่ ยคละกนั

เครอื่ งคดั ขนาดมงั คดุ แบบเหว่ียง

4. การบรรจุ หมายถึง การจดั นาํ ผลผลิตของพืชลงสภู่ าชนะท่ีสามารถปอ้ งกนั การ
กระทบกระเทอื นได้เพื่อนําผลผลติ นั้นออกสู่ตลาดเพือ่ การจําหน่ายตอ่ ไปโดยถอื หลกั วา่ ให้ผล
ผลติ น้ันเสยี หายน้อยที่สุด

การบรรจุดอกไมต้ ่างๆ

การบรรจกุ ระเจี๊ยบฝกั เขยี วเพอื่ การส่งออก
5. การขนส่ง การรขนสง่ ผลผลิตมจี ุดมง่ หมายท่จี ะนาํ ผลผลิตจากแหล่งผลิตไปถึงมอื ผ้บรโิ ภคใน
เวลาอนั รวดเรว็ ค่าใช้จ่ายต่ําและผลผลิยงั คงสภาพดี ไมบ่ อบชา้ํ ไมเ่ สยี หาย ลักษณะการขนส่งที่
ใช้อยใู่ นปัจจุบนั ได้แก่ ทางรถยนต์ รถไฟ เรอื

การตลาดพชื ผล

ปจั จุบันน้กี ารผลติ พชื ชนิดตา่ ง ๆ มีลักษณะเป็นรูปแบบการค้ามากขึ้น คือมิได้ม่งุ เพอ่ื
บริโภคภายในประเทศเพียงอย่างเดยี ว แต่ยงั ผลิตเพอ่ื สง่ ออกไปจําหน่ายยงั ต่างประเทศอกี ด้วย
รปู แบบการผลิตนจี้ ะทาํ ให้ระบบตลาดมีบทบาทและความสาํ คัญต่อเกษตรกร พ่อคา้ และ
ผู้บริโภคมากขนึ้

สนิ ค้าพืชส่วนใหญ่มีลกั ษณะเน่าเสียได้งา่ ยและรวดเรว็ มกี ารบอบช้ําง่ายแล ะต้องการ
พ้นื ท่บี รรจมุ าก มกี ารเปลี่ยนแปลงปริมาณและราคาอยเู่ สมอ ปจั จยั เหล่านท้ี าํ ใหร้ ะบบการคา้ พืช
มีลักษณะเฉพาะตัวและมีขอ้ จาํ กัดในการปฏิบัติงานมาก ผ้คู ้าจําเปน็ ตอ้ งมคี วาม ชำนำญและ
ประสบการณ์ พอสมควร จงึ จะประกอบกจิ การน้ีได้

ความสาคัญของการสารวจสภาวะตลาดของพชื ผลในท้องถ่นิ

การตลาด เปน็ ข้อมลู ท่สี ําคญั มากอย่างหนึ่งในการวางแผนปลกู พชื เพราะตลาดจะเปน็
ตัวกาํ หนดชนดิ และปริมาณพชื ท่ผี ลติ ถึงแม้ว่าจะผลติ พืชไดผ้ ลดี แตถ่ ้าไม่มตี ลา ดที่ดี ก็จะทําให้
ขายผลผลิตไดใ้ นราคาต่าํ ขอ้ มูลซึง่ ต้องติดตามอยู่เสมอได้แก่ แหล่งรบั ซอื้ ความเคลือ่ นไหว
เกย่ี วกับ ปริมาณและราคาพชื แตล่ ะชนิดในแตล่ ะช่วงของปี

1.ความต้องการของตลาดพืชผลในทอ้ งถน่ิ หมายถงึ ความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคพืชในท้องถนิ่
นนั้ ๆ ว่าต้องการบริโภคพชื ชนดิ ใดบา้ ง มจี ํานวนมากน้อยเทา่ ใดในฤดปู ลูกน้ัน ๆ เกษตรกรหรอื
ผผู้ ลิตจําเป็นอยา่ งท่จี ะต้องรถู้ ึงความต้องการของตลาดเหล่านัน้ เพ่ือจะไดผ้ ลผลิตออกจําหน่าย
ให้ทันและ ตรงตามความตอ้ งการของตลาด ให้เกิดผลกาํ ไรเป็นทีน่ า่ พอใจ ทุกวนั นี้เกษตรกรยัง
ขาดความรใู้ นเรื่องน้ี จะเห็นได้จากการผลิตพชื ออกสู่ตลาดจนเกินความตอ้ งการของตลาด เป็น
เหตุใหร้ าคาพืชนน้ั ๆ ตกต่ํา ไม่คุ้มคา่ แรงงานและทนุ ที่ลงไป แต่บางฤดูกลบั ไมม่ พี ชื ผลเหลา่ นั้น
ออกสู่ตลาดเล ย จงึ ทาํ ให้ราคาสูงข้นึ และไม่พอกับความตอ้ งการของผ้บริโภค ทาํ ให้พ่อค้าคน
กลางฉวยโอกาสค้ากําไรเกนิ ควร ดงั นน้ั เกษตรกรหรอื ผู้ผลิตจงึ ควรสาํ รวจความต้องกานพชื ผล
ของทอ้ งถิ่นอยูเ่ สมอ เพอ่ื จะได้ผลติ พืชมาสนองความต้องการของตลาดไดท้ ันทว่ งที ทัง้ ยงั เป็น
การรักษามาตรฐานราคาในตลา ดด้วย

2. หลักการสารวจความตอ้ งการของตลาดพชื ผลในทอ้ งถิ่น หลกั การสํารวจความต้องการของ
ตลาดพืชผลในท้องถ่ิน มีแนวทางดําเนินงานดงั น้ี

2.1 ออกสํารวจตลาดพชื ทุกฤดูกาลว่าฤดกู าลนัน้ ๆ ในท้องถ่ินของตนมกี ารจําหน่ายพืช
อะไรบา้ ง มากนอ้ ยเทา่ ใด ราคาต่อหน่วยสูงต่ําเพยี งไร และตลาด ยังต้องการหรอื ขาดอะไรบา้ ง
เพือ่ จะไดผ้ ลิตออกจาํ หน่ายได้ทันทว่ งที มรี ายไดส้ งู

2.2 จดบนั ทึกจาํ นวนพชื ทม่ี ีจําหน่ายอยู่ ราคาในทอ้ งตลาดขณะนนั้ และส่ิงทีต่ ลาดยงั ขาดหรอื
ต้องการอยู่ ลงในแบบสาํ รวจ เพ่อื จะไดน้ ํามาพิจารณาในการผลิตพชื สู่ตลาด

2.3 เกบ็ หลักฐานการสาํ รวจแตล่ ะคร้ั งไว้ เพือ่ เปน็ ข้อมลู ในการแก้ไขใหเ้ ปน็ ปัจจุบันอยูเ่ สมอ

2.4 ทาํ สถติ ิการจําหนา่ ยพืชแต่ละครง้ั ไว้ให้ละเอียด บอกต้นทนุ กําไรสุทธิหรือขาดทนุ สทุ ธิ เพอ่ื
กนั ความผิดพลาดในการผลติ คราวตอ่ ไป

เมือ่ สาํ รวจและรถู้ งึ ความต้องการของตลาดแลว้ กต็ อ้ งรีบผลติ ออกสนองความต้องการทันที
ถงึ แมจ้ ะผิดฤดูของพชื เพ่อื ผลกาํ ไรและเพอ่ื สนองความต้องการของผูบ้ รโิ ภค


Click to View FlipBook Version