ปัจจยั ท่มี ีผลต่อการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในยุคโควิด
ของนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลยั ชลบุรี อาเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี
๐
ธนโชติ โพธ์ิชัยศรี
สารนิพนธ์นีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต
สาขาการจัดการบริการสงั คม
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
เมษายน 2565
ลิขสิทธ์ิเป็ นของมหาวิทยาลัยบูรพา
ปัจจยั ท่มี ีผลต่อการยอมรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในยุคโควิด
ของนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลยั ชลบุรี อาเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี
๐
ธนโชติ โพธ์ิชัยศรี
สารนิพนธ์นีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาการจดั การบริการสงั คม
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
เมษายน 2565
ลขิ สิทธ์ิเป็ นของมหาวิทยาลัยบูรพ
ก
กิตตกิ รรมประกาศ
สารนิพนธ์ฉบบั นีส้ าเร็จลงได้ด้วยความกรุณาจาก อาจารย์พรทิพย์ พันธ์ุยุรา อาจารย์ท่ี
ปรึกษา ที่กรุณาให้คาปรึกษาแนะนาแนวทางท่ีถูกต้อง ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องตา่ ง ๆ ด้วยความ
ละเอียดถ่ีถ้วนและเอาใจใสด่ ้วยดีเสมอมา ผ้วู ิจยั รู้สกึ ซาบซงึ ้ เป็นอย่างย่ิง จึงขอกราบขอบพระคณุ เป็น
อยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสนี ้
ขอขอบคณุ นกั เรียนสวนกุหลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี ทกุ ท่าน ที่ชว่ ยเหลือในการเก็บข้อมูล และ
ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการยอมรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในยคุ โควิด
รวมทงั้ บิดามารดาและพระคุณอาจารย์ท่ีประสาทวิชาความรู้ทกุ ท่าน รวมถึงเพ่ือน ๆ ในสาขาวิชาที่
คอยให้กาลงั ใจเสมอมา อีกทงั้ ชว่ ยให้ผ้วู ิจยั มีความตงั้ ใจ และพยายามอยา่ งเตม็ ที่ในการทาสารนิพนธ์
ฉบบั นีใ้ ห้บรรลเุ ปา้ หมายตามท่ีตงั้ ไว้จนสาเร็จ
ท้ายท่ีสดุ นีห้ ากมีสิ่งใดขาดตกบกพร่องหรือผิดพลาดประการใด ทางผ้วู ิจยั ขออภยั เป็นอยา่ ง
สงู มา ณ ที่นี ้และหวงั วา่ สารนิพนธ์ฉบบั นีจ้ ะเป็นประโยชน์สาหรับผ้ทู ี่สนใจนาไปศกึ ษาตอ่ ไป
ธนโชติ โพธ์ิชยั ศรี
ข
บทคดั ย่อ
61020154: สาขาวชิ า: การจดั การบริการสงั คม; ศศ.บ. (การจดั การบริการสงั คม)
ธนโชติ โพธิ์ชยั ศรี: ปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในยคุ โควิด
ของนกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
อาจารย์ท่ีปรึกษา: พรทพิ ย์ พนั ธ์ุยรุ า
การวิจยั ครัง้ นีม้ ีวตั ถุประสงค์เพ่ือศึกษา 1) เพ่ือทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับรูปแบบ
การเรียนการสอนแบบออนไลน์กับออนไซท์ของนกั เรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลยั ชลบุรี 2) เพ่ือ
ศึกษาสถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คมของนักเรียนกับการยอมรับการจัดการเรียนการสอนของ
นกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
ผลการวิจยั พบว่า การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบในท่ีตงั้ ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบ
วทิ ยาลยั ชลบรุ ีมีการยอมรับอยใู่ นระดบั มาก และมี การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ อยู่
ในระดบั ปานกลาง โดยมี ตัวแปรรวมทัง้ หมด 9 ด้าน ดงั นีร้ ูปเเบบการเรียนรู้เเบบเเข่งขัน, อิสระ,
หลีกเล่ียง, เเบบพ่ึงพา, เเบบร่วมมือ, เเบบมีส่วนร่วม, การยอมรับสภาพเเวดล้อมในการเรียนรู้, การ
ยอมรับสื่อการสอน, การยอมรับรูปเเบบการสอบวดั ผล และนามาเปรียบเทียบเพ่ือหาปัจจยั ท่ีส่งผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในยคุ โควิด
ข้อเสนอแนะ 1. ควรศกึ ษาปัจจยั ท่ีส่งผลให้ตวั ผ้เู รียนสามารถพฒั นาความรู้ ความสามารถ ได้
อยา่ งเป็นรูปธรรม 2. ควรศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งผ้สู อนและผ้เู รียนให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกนั และ
เพมิ่ กิจกรรมที่สง่ ผลให้ผ้เู รียน เกิดความร่วมมือมากขนึ ้
ค
สารบญั
หน้า
กิตตกิ รรมประกาศ ................................................................................................................................ ก
บทคดั ยอ่ ............................................................................................................................................. ข
สารบญั ...............................................................................................................................................ค
สารบญั ตาราง ...................................................................................................................................... จ
บทที่ 1 ................................................................................................................................................ 1
ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา............................................................................................... 1
วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั .................................................................................................................... 8
ขอบเขตของการวิจยั .......................................................................................................................... 8
ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับ.................................................................................................................. 8
บทท่ี 2 ................................................................................................................................................ 9
แนวคิดและทฤษฎี........................................................................................................................... 10
งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง.......................................................................................................................... 43
กรอบแนวคิด.................................................................................................................................. 54
รายการตวั แปร ............................................................................................................................... 54
นิยามศพั ท์ทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ................................................................................................................ 57
บทที่ 3............................................................................................................................................... 61
วิธีการ (วิจยั /ศึกษาคน้ ควา้ อิสระ/ศึกษาสารนิพนธ์)................................................................................. 61
หนว่ ยวิเคราะห์ ............................................................................................................................... 61
เครื่องมือวิจยั ................................................................................................................................. 61
ประชากรกลมุ่ ตวั อยา่ ง ..................................................................................................................... 62
การเก็บรวบรวมข้อมูล...................................................................................................................... 64
ง
การวิเคราะห์ข้อมูล.......................................................................................................................... 64
บทที่ 4 .............................................................................................................................................. 66
ผลการวจิ ยั .................................................................................................................................... 66
สญั ลกั ษณ์ทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล.................................................................................................. 66
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ...................................................................................................................... 66
บทท่ี 5 ............................................................................................................................................ 113
สรุปผลการศึกษา.......................................................................................................................... 114
วิเคราะห์และอภิปรายผล................................................................................................................ 115
ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ ............................................................................................. 117
ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจยั ครง้ั ต่อไป................................................................................................. 117
ภาคผนวก ....................................................................................................................................... 122
ภาคผนวก ก ................................................................................................................................ 123
(แบบสอบถาม)............................................................................................................................. 123
ประวตั ิยอ่ ของผ้วู จิ ยั ........................................................................................................................... 134
จ
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางท่ี14.1 ข้อมลู ทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามแสดง ความถ่ี และคา่ ร้อยละ..............................67
ตารางที่24.2 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในท่ีตงั้ ในเร่ืองรูปแบบการเรียนรู้แบบแขง่ ขนั ของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี ................................................................................................................69
ตารางที่ 34.3 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในที่ตงั้ ในเร่ืองรูปแบบการเรียนรู้แบบอิสระของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี ................................................................................................................70
ตารางท่ี44.4 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในที่ตงั้ ในเรื่องรูปแบบการเรียนรู้แบบหลีกเลี่ยงของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี ................................................................................................................71
ตารางท่ี54.5 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในที่ตงั้ ในเร่ืองรูปแบบการเรียนรู้แบบพง่ึ พาของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี ................................................................................................................72
ตารางที่64.6 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในท่ีตงั้ ในเร่ืองรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี ................................................................................................................73
ตารางที่74.7 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในท่ีตงั้ ในเรื่องรูปแบบการเรียนรู้แบบมีสว่ นร่วมของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี ................................................................................................................74
ตารางท่ี84.8 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในที่ตงั้ เร่ือง สภาพแวดล้อม ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั
ชลบรุ ี ........................................................................................................................................75
ฉ
ตารางที่94.9 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในที่ตงั้ เรื่อง สื่อการสอน ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี
.................................................................................................................................................76
ตารางท่ี04.10 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในที่ตงั้ เรื่อง การสอบวดั ผล ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั
ชลบรุ ี ........................................................................................................................................77
ตารางที่14.11 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับรูปแบบการเรียน
การสอนในที่ตงั้ เร่ือง รูปแบบการเรียนรู้ สภาพแวดล้อม สื่อการสอน การสอบวดั ผลเพื่อนามา
เปรียบเทียบการยอมรับของ นกั เรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี ....................................................78
ตารางที่24.12 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ในเร่ืองรูปแบบการเรียนรู้แบบแขง่ ขนั ของ นกั เรียน
สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี..........................................................................................................79
ตารางที่34.13 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง รูปแบบการเรียนรู้แบบอิสระของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี ................................................................................................................80
ตารางท่ี44.14 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง รูปแบบการเรียนรู้แบบหลีกเล่ียงของ นกั เรียน
สวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี..........................................................................................................81
ตารางที่54.15 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่องรูปแบบการเรียนรู้แบบพง่ึ พาของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี ................................................................................................................82
ตารางที่64.16 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่องรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี ................................................................................................................83
ช
ตารางท่ี74.17 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่องรูปแบบการเรียนรู้แบบมีสว่ นร่วมของ นกั เรียน
สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี..........................................................................................................84
ตารางที่84.18 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สภาพแวดล้อม ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบ
วิทยาลยั ชลบรุ ี............................................................................................................................85
ตารางท่ี94.19 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สื่อการสอน ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั
ชลบรุ ี ........................................................................................................................................86
ตารางท่ี04.20 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง การสอบวดั ผล ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบ
วิทยาลยั ชลบรุ ี............................................................................................................................87
ตารางที่14.21 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง รูปแบบการเรียนรู้ สภาพแวดล้อม สื่อการสอน
การสอบวดั ผลเพ่ือนามาเปรียบเทียบการยอมรับของ นกั เรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี................88
ตารางที่24.22 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในท่ีตงั้
จาแนกตามเพศ..........................................................................................................................89
ตารางที่34.23 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในที่ตงั้
จาแนกตามชนั้ ปี.........................................................................................................................91
ตารางท่ี24.24 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในท่ีตงั้
จาแนกตามสายการเรียน ............................................................................................................ 93
ตารางท่ี54.25 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในที่ตงั้
จาแนกตามรายได้ของครอบครัวตอ่ ปี ..........................................................................................96
ตารางที่64.26 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน์
จาแนกตามเพศ..........................................................................................................................98
ซ
ตารางท่ี74.27 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน์
จาแนกตามชนั้ ปี.......................................................................................................................100
ตารางที่84.28 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในการ
เรียนออนไลน์ จาแนกตามสายการเรียน.....................................................................................102
ตารางท่ี04.30 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยของการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการ
สอนในท่ีตงั้ และออนไลน์ จาแนกตามเพศ ของนกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี ............108
ตารางท่ี14.31 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบคา่ เฉล่ียของการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการ
สอนในท่ีตงั้ และออนไลน์ จาแนกชนั้ ปี ของนกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี .................109
ตารางท่ี24.32 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยของการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการ
สอนในท่ีตงั้ และออนไลน์ จาแนกสายการเรียน ของนกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลัยชลบรุ ี.....110
ตารางที่34.33 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยของการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการ
สอนในที่ตงั้ และออนไลน์ จาแนกรายได้ของครอบครัวตอ่ ปี ของนกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั
ชลบรุ ี ......................................................................................................................................111
1
บทท่ี 1
บทนา
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
สงั คมโลกได้มีการพฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง เร่ิมตงั้ แตม่ นษุ ย์ยคุ หินที่มีการล่าสตั ว์เป็นอาหาร (ซิก
มนั ด์ ฟรอยด์. 2565. พฒั นาการมนษุ ย์) เม่ือสามารถคดิ ค้นการใช้เคร่ืองมือทางการเกษตรได้จงึ เปล่ียน
จากการเก็บของป่ าล่าสตั ว์ เป็นการการเพาะปลูกเพื่อเป็นวตั ถุดิบในการดารงชีวิตและเลีย้ งสตั ว์ด้วย
แรงคน เม่ือมีความเจริญทางปัญญาในเรื่องของวิทยาศาสตร์ มนุษย์สามารถสร้ างเคร่ืองมือ
เครื่องจกั รกลตา่ งๆเพ่ือท่นุ แรงแทนคน และสตั ว์ได้ จงึ เข้าสยู่ คุ อตุ สาหกรรมโดยมีการใช้เทคโนโลยี และ
เครื่องจักรขนาดใหญ่ในการผลิตเพ่ือการอุตสาหกรรมต่อมา เมื่อมนุษย์สามารถประดิษฐ์คิดค้น
คอมพิวเตอร์ และสามารถเช่ื อมต่อกัน เป็ นเครื อข่ายที่ใช้ กัน ทั่วโลกเทคโนโลยีสารสนเทศและ การ
สื่อสาร จึงเป็นปัจจยั สาคญั ท่ีผลักดันในการนาโลกเข้าสู่ยุคการสื่อสาร การเข้าสู่ยุคต่าง ๆ ในการ
วิวัฒนาการของโลกที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง จากการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทาให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงสงั คมโลกทงั้ ทางการเมือง เศรษฐกิจ สงั คมจติ วทิ ยา ความมน่ั คง อยา่ งตอ่ เน่ือง สง่ ผลให้
เกิดการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตของคนในสงั คม ที่มีความรวดเร็วและซบั ซ้อนมากขนึ ้ โดยพฒั นาการของ
มนษุ ย์มีการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่องทงั้ ในเร่ืองประสบการณ์และเร่ืองของวิชาการ จึงเป็นสิ่งท่ีตวั วิจัยนีท้ า
ควบค่กู ันไปกับการศึกษาที่การศึกษานนั้ มีหลายระดับ พร้ อมยังแบ่งแยกระดบั การเรียนรู้ท่ีชัดเจน
(Kiang. 2559. ระดบั การศกึ ษา)
ซ่ึงจะโยงเข้ามาสรู่ ะบบการศกึ ษาในประเทศไทยท่ีมีรากฐานมาจากอดีตและมีพฒั นาการทาง
การศกึ ษาของประเทศไทยดงั ตอ่ ไปนี ้
การศกึ ษาไทยสมยั การปกครองระบอบรัฐธรรมนญู (พ.ศ. 2475 –ปัจจุบนั ) แนวคิดของชาติ
ตะวนั ตกและอิงพทุ ธศาสนาประเทศไทยมีประวตั คิ วามเป็นมากบั การศกึ ษาเป็นเวลาอนั ยาวนาน แบง่
การจดั การศกึ ษาได้แบง่ ออกเป็น 4 ยคุ กลา่ วคอื
การศกึ ษาไทยในสมยั โบราณ (พ.ศ. 1781 – พ.ศ. 2411) ยงั ไมม่ ีโรงเรียนแกเ่ ด็กไทยในสมยั นนั้
สามารถหาความรู้ได้จากท่ีบ้าน สานักสงฆ์ วิชาที่สอนไมไ่ ด้ตายตวั มีความรู้สามญั เพ่ืออ่านออกเขียน
ได้ วชิ าชีพ วชิ า จริยศกึ ษา และศลิ ปะปอ้ งกนั ตวั
2
การศึกษาในสมัยปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2412 – พ.ศ. 2475) ผลจากการเข้ ามาของ
ชาวตะวนั ตกและการเปิดประเทศค้าขายกบั ตะวนั ตกนนั้ ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงในด้านการเมืองการ
ปกครอง และการศกึ ษาจงึ ได้มีความสาคญั ขนึ ้ เพ่ือพฒั นาคนเข้ามารับ ราชการนาไปสกู่ ารเปิดโรงเรียน
และมหาวิทยาลยั จึงทาให้มีการจดั ทาแผนแม่บทในการศกึ ษาเรียกว่าโครงการศึกษาฉบบั แรกพ.ศ.
2441
การศึกษาสมัยปกครองตามระบอบ รัฐธรรมนูญ (พ.ศ. 2475 - ปัจจุบัน) การศึกษามี
ความสาคญั มากขนึ ้ เน่ืองจากต้องการพฒั นาคนให้เข้าใจระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย อีกทงั้
เป็นเร่ืองของสิทธิของประชาชนในการเข้ารับการศึกษาเพ่ือพฒั าประเทศการศกึ ษาจึงเป็นเครื่องมือ
สาคญั ของฝ่ายปกครอง โครงการศกึ ษาได้ถกู เปล่ียนช่ือมาเป็นแผนการศกึ ษาชาติ พ.ศ. 2475 ตอ่ มาใน
ปี พ.ศ. 2503 ได้เปล่ียนชื่อแผนการศึกษาชาติมาเป็นแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2503 และมี
พระราชบญั ญัติศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 เพื่อมุ่งหวังว่าคนไทยสามารถปรับตวั ได้เหมาะสมกับ
สถานการณ์โลกและu3626 สงั คมท่ีเปล่ียนแปลงและเพ่ือนาไปสกู่ ารพฒั นาการศกึ ษาให้มีคณุ ภาพจงึ
ได้ จัดทาแผนการศึกษาระยะยาว 15 ปี เรี ยกว่า แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545-2559
(baanjomyut, 2565. บทสรุปการศกึ ษาไทย)
ซง่ึ ระบบการศกึ ษานนั้ ยงั มีเร่ืองของสทิ ธิและหน้าที่ทางการศกึ ษาเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยจงึ เป็น
สาเหตใุ ห้การศกึ ษาไทยมีการพฒั นาตามหลกั สากลมากขนึ ้ และมีข้อมลู ดงั นี ้
สิทธิและหน้าทท่ี างการศึกษา
มาตรา 10 การจดั การศกึ ษา ต้องจดั ให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกนั ในการรับการศึกษา
ขนั้ พืน้ ฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐต้องจดั ให้อย่างทวั่ ถึงและมีคณุ ภาพโดยไม่เก็บคา่ ใช้จ่ายการจัด
การศกึ ษาสาหรับบคุ คลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์สงั คม การส่ือสาร
และการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพกิ าร หรือทพุ พลภาพหรือบคุ คลซง่ึ ไมส่ ามารถพงึ่ ตนเองได้หรือไมม่ ีผ้ดู แู ล
หรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดงั กล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานเป็นพิเศษ
การศึกษาสาหรับคนพิการในวรรคสอง ให้จดั ตงั้ แตแ่ รกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้ จ่าย
และให้บุคคลดงั กล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความช่วยเหลืออ่ืนใดทาง
การศึกษา ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวงการจดั การศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมี
ความสามารถพิเศษ ต้องจดั ด้วยรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ความสามารถของบคุ คลนนั้
3
(1) การสนบั สนนุ จากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลีย้ งดู และการให้การศกึ ษา
แกบ่ ตุ รหรือบคุ คลซงึ่ อยใู่ นความดแู ล
(2) เงินอดุ หนนุ จากรัฐสาหรับการจดั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานของบตุ รหรือบคุ คลซงึ่ อยใู่ นความ
ดแู ลที่ครอบครัวจดั ให้ ทงั้ นี ้ตามที่กฎหมายกาหนด
(3) การลดหยอ่ นหรือยกเว้นภาษีสาหรับคา่ ใช้จา่ ยการศกึ ษาตามที่กฎหมายกาหนด
มาตรา 14 บคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถาน
ประกอบการ และสถาบนั สงั คมอื่น ซง่ึ สนบั สนนุ หรือจดั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน มีสทิ ธิได้รับสิทธิประโยชน์
ตามควรแกก่ รณี ดงั ตอ่ ไปนี ้
(1) การสนบั สนนุ จากรัฐให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลีย้ งดูบุคคลซึ่งอย่ใู นความ
ดแู ลรับผดิ ชอบ
(2) เงินอดุ หนนุ จากรัฐสาหรับการจดั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานตามที่กฎหมายกาหนด
(3) การลดหย่อนหรือยกเว้ นภาษีสาหรับค่าใช้ จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกาหนด
(พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542.2565: สิทธิและหน้าท่ีทางการศึกษา) และยงั ส่งผล
ตอ่ ไปในเร่ืองของการศกึ ษาภาคบงั คบั ท่ีมีกฏหมายรองรับในประเทศไทยมีเนือ้ หาดงั นี ้
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545
“การศึกษาภาคบงั คบั ” หมายความว่า การศกึ ษาชนั้ ปีท่ีหนึ่งถึงชนั้ ปีท่ีเก้าของการศกึ ษาขนั้
พืน้ ฐานตามกฎหมายวา่ ด้วยการศกึ ษาแหง่ ชาติ
“สถานศกึ ษา” หมายความวา่ สถานศกึ ษาที่จดั การศกึ ษาภาคบงั คบั
“ผ้ปู กครอง” หมายความวา่ บดิ ามารดา หรือบิดา หรือมารดา ซงึ่ เป็นผ้ใู ช้อานาจปกครองหรือ
ผู้ปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และหมายความรวมถึงบุคคลท่ีเด็กอยู่ด้วยเป็น
ประจาหรือที่เดก็ อยรู่ ับใช้การงาน
“เดก็ ” หมายความวา่ เดก็ ซงึ่ มีอายยุ า่ งเข้าปีที่เจด็ จนถงึ อายยุ า่ งเข้าปีที่สิบหก เว้นแตเ่ ดก็ ท่ีสอบ
ได้ชนั้ ปีท่ีเก้าของการศกึ ษาภาคบงั คบั แล้ว
“คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน” หมายความวา่ คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานตาม
กฎหมายวา่ ด้วยการศกึ ษาแหง่ ชาติ
“คณะกรรมการเขตพืน้ ที่การศึกษา” หมายความว่า คณะกรรมการเขตพืน้ ที่การศึกษาตาม
กฎหมายวา่ ด้วยการศกึ ษาแหง่ ชาติ
4
“องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความวา่ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นท่ีมีสถานศกึ ษาอยู่
ในสงั กดั
“พนกั งานเจ้าหน้าท่ี” หมายความวา่ ผ้ซู ง่ึ รัฐมนตรีแตง่ ตงั้ ให้ปฏิบตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ี ้
“รัฐมนตรี” หมายความวา่ รัฐมนตรีผ้รู ักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ี ้
มาตรา 6 ให้ผ้ปู กครองสง่ เด็กเข้าเรียนในสถานศกึ ษาเมื่อผ้ปู กครองร้องขอ ให้สถานศึกษามี
อานาจผ่อนผันให้เด็กเข้าเรียนก่อนหรือหลังอายุตามเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับได้ ทัง้ นีต้ าม
หลกั เกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานกาหนด
มาตรา 11 บคุ คลซ่ึงมิใช่ผ้ปู กครอง แตม่ ีเด็กซ่ึงไม่ได้เข้าเรียนในสถานศกึ ษาอาศยั อย่ดู ้วย มี
หน้าที่ต้องแจ้งสานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาหรือองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น แล้วแตก่ รณี ภายในหนง่ึ
เดือนนบั แตว่ นั ท่ีเดก็ มาอาศยั อยู่ เว้นแตผ่ ้ปู กครองได้อาศยั อยดู่ ้วยกบั ผ้นู นั้
มาตรา 7 ให้พนกั งานเจ้าหน้าที่มีอานาจเข้าไปในสถานที่ใด ๆ ในเวลาระหวา่ งพระอาทิตย์ขนึ ้
และพระอาทิตย์ตกหรือในเวลาทาการของสถานที่นนั้ เพ่ือตรวจสอบการเข้าเรียนของเด็ก โดยผู้ซึ่ง
เก่ียวข้ องต้ องอานวยความสะดวกตามสมควร (nutnariphromson, 2565. สรุปสาระสาคัญ
พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ.2545)
โดยสรุปแล้วการศึกษาภาคบงั คบั นนั้ มี อยู่ 15 ปี นับตงั้ แต่ เด็กนนั้ มีอายุครบ 7 ปีบริบูรณ์
จนถึงชว่ งชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ที่มีอายคุ รบ 15หรือ 16ปีพอดี จงึ เป็นสง่ิ ท่ีคอยบงั คบั ให้เดก็ ทกุ ๆคนนนั้
ได้รับสทิ ธ์ิในการเข้าศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
และในสถานการณ์ในปัจจบุ นั ได้มีการระบาดของเชือ้ ไวรัสขนึ ้ คือ เชือ้ ไวรัส COVID-19 ซง่ึ เป็น
เชือ้ ไวรัสท่ีร้ายแรงโดยมีการเกิดมาจากเมืองอฮู่ นั่ ในประเทศจีน และเกิดการแพร่ระบาดที่กระจายไปใน
หลายประเทศทวั่ โลกจากการเข้าและออกประเทศโดยไมร่ ู้ตวั (Raksa Content Team. 2565. การเกิด
COVID-19) แล้ วนัน้ สถานศึกษาจึงต้ องมีมาตรการป้องกันโรคตามมาตรฐานของกระทรวง
สาธารณสขุ และวิธีการรับมือกบั การระบาดคือ Social distancing หรือการเพ่ิมระยะหา่ งระหว่างกนั
ในสงั คม ปอ้ งกนั การระบาดจากคนส่คู น ซ่งึ มาตรการดงั กลา่ วนี ้ ทาให้มีการเรียนออนไลน์เกิดขึน้ เพ่ือ
ปรับใช้ มีการจดั การเรียนการสอนและการเตรียมสอนแบบ Work from home เพื่อดาเนนิ การเรียนการ
สอนออนไลน์ตอ่ ไป (bangkokbiznews.2565: การปรับตวั ในยคุ COVID-19) ซึ่งพืน้ ที่กลมุ่ ตวั อย่างใน
การวจิ ยั นนั้ อยใู่ นพืน้ ที่
5
ภาคตะวนั ออกถือเป็นระเบียงเศรษฐกิจเพราะเป็นพืน้ ที่อุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศ
ไทยและจงั หวดั ชลบรุ ียงั มีประชากรท่ีอาศยั อยเู่ ป็นประชากรแฝงท่ีเข้ามาทาการศกึ ษาจานวนมากเป็น
อันดับต้น 10 ของประเทศ เน่ืองจากมีการเข้ามาทางานในโรงงานอุตสาหกรรม (สรุปผลสาคัญ
ประชากรแฝงในประเทศไทย 2563.2565:สานกั งานสถิติแห่งชาติ) ซึ่งพืน้ ท่ีในอาเภอศรีราชา ตาบล
บ่อวินนีก้ ็ติดอยู่กับขอบของจังหวัดระยองซ่ึงแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงพืน้ ท่ีกับสังคมและ
เศรษฐกิจที่มีความแตกตา่ งและหลากหลายมากกวา่ พืน้ ที่ในตาบลอ่ืนๆของศรีราชา จงั หวดั ชลบรุ ีนนั้ มี
พืน้ ที่แบง่ แยกที่ชดั เจนมีอุตสาหกรรมหลายแห่งเติบโตขนึ ้ ในชว่ งของสถานการณ์โควิดแตท่ ว่า สถาน
ประกอบการตา่ งๆกบั ต้องปรับตวั เชน่ ร้านอาหารไมส่ ามารถรับประทานท่ีร้านได้ สถานที่ราชการมีการ
เว้นระยะห่างและมีการใช้การจองคิวออนไลน์ท่ีมีประสิทธิภาพมากขึน้ จากเดิม รวมไปถึงสถานท่ี
ท่องเท่ียวท่ีถกู ปิดตวั ลงตามสถานการณ์ ซ่งึ รวมถึงสถานศกึ ษาจดั เป็นสถานที่ที่มีความเส่ียงสงู มากใน
การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัส COVID-19 เนื่องจากประกอบด้วยผ้คู นจานวนมาก ได้แก่ ผ้เู รียน อาจารย์
รวมถึงบคุ ลากรของสถานศกึ ษาที่อย่รู วมกนั จึงมีความเส่ียงตอ่ การแพร่กระจายของเชือ้ ไวรัสดงั กล่าว
ได้ง่าย สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัส COVID-19 ครัง้ นีท้ าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมี
นยั สาคญั อยา่ งมาก หลายคนได้รู้จกั คาว่า การเรียนการสอนออนไลน์ ได้ใช้เครื่องมือในการเรียนการ
สอนออนไลน์ แตใ่ นปัจจบุ นั มีการปรับตวั ให้มีการเรียนการสอนแบบ ในท่ีตงั้ และออนไลน์ผสมผสานกนั
ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง นโยบายการจัด
การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 เม่ือวนั ท่ี 25 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
ไปแล้ว นนั้ เน่ืองจาก ในห้วงสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซง่ึ
ทาให้ทุกคนต้องปรับเปล่ียนชีวิตให้เข้ากับวิถีชีวิตใหม่ หรือ New Normal จึงมีความจาเป็นต้อง
ปรับเปลี่ยนรูปแบบการดาเนินการให้มีความปลอดภัยทงั้ ต่อตวั ผู้เรียน ข้าราชการ ครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษาให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ดงั นนั้ จึงอาศยั อานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา
12 แห่งพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ จงึ ประกาศนโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปี 2565 ดงั นี ้
1. การจดั การศกึ ษาเพ่ือความปลอดภยั เร่งสร้างสถานศกึ ษาปลอดภยั เพ่ือเพิ่มความเช่ือมนั่
ของสังคม และป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ และภัยอ่ืนๆ โดยมีการวาง
มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่นกั เรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษาในรูปแบบ
ตา่ งๆ เชน่ จดั โครงการโรงเรียน Sandbox : Safety zone in school (SSS) หรือจดั กิจกรรม
6
Safety School Success จัดให้มีการฉีดวัคซีนเพ่ือป้องกันโรคติดต่อ การจัดการความ
รุนแรงเกี่ยวกบั ร่างกาย จติ ใจ และเพศ เป็นต้น
2. การยกระดบั คุณภาพการศึกษา ม่งุ พฒั นาการเรียนรู้ด้วยตนเองเน้นกระบวนการเรียนรู้
แบบถักทอความรู้ ด้วยการลงมือปฏิบตั ิจริง (Active Learning) และพฒั นาช่องทางการ
เรียนรู้ผา่ นดจิ ิทลั แพลตฟอร์มเพ่ือสร้างความหลากหลายในการเรียนรู้
3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศกึ ษาทกุ ชว่ งวยั
4. การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะอาชีพและเพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
5. การสง่ เสริมสนบั สนนุ วชิ าชีพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
6. การพฒั นาระบบราชการและการบริการภาครัฐยคุ ดจิ ทิ ลั
7. การขบั เคล่ือนกฏหมายการศกึ ษาและแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ
ตามท่ีแผนนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการประกาศมาข้างต้นได้มีผลส่งให้โรงเรียนหลายๆ
โรงเรียนได้มีการปรับตวั และเตรียมพร้อมสาหรับการเรียนการสอนใน พ.ศ. 2565 (นโยบายและจดุ เน้น
ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปีงบประมาณ 2565, 2565. กระทรวงศกึ ษาธิการ)
ดงั จะเหน็ ได้วา่ จากนโยบาย ของกระทรวงศกึ าธิการดงั กลา่ วข้างต้น ยงั มงุ่ เน้นให้ความสาคญั
กับการจดั การศึกษา ที่มมีคณุ ภาพโดยคานึงถึงความปลอดภัยสูงสุด ของผ้เู รียนละบุคลากร ดงั นนั้
การจดั การเรียนการสอนทา่ มกลางวิกฤตโิ ควิด-19 ที่ผ้เู รียนและผ้สู อน ไม่มีโอกาสได้เรียนในรูปแบบท่ี
ก่อให้เกิดการปฏิสมั พนั ธ์ผ่านกิจกรรมจริงนนั้ แตก่ ็ยงั มึความจาเป็น ท่ีผ้สู อน ต้องพยายาม หาส่ือหรือ
เทคนิคตา่ งๆที่ จะจูงใจหรือดงึ ดดู ผ้เู รียน ให้ สามารถเรียนได้อย่าง เข้าใจชดั เจน บรรลุตาม ผลลพั ธ์
การเรียนท่ี ท่ีกาหนดไว้ในหลกั สตู ร อยา่ งสมบรู ณ์ ไมแ่ ตกตา่ งจากการเรียนในสถานศกึ ษามากที่สดุ
สถานศึกษาในระดับ มัธยมปลายในจังหวัดชลบุรี มี 31 โรงเรียน (สานักงานเขตพืน้ ที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18.2565:โรงเรียนในสงั กัด ชลบุรี) โดยมีโรงเรียนชลราษฎรอารุง เป็น
โรงเรียนประจาจงั หวดั ชลบรุ ี และ ทางโรงเรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั มีสาขารวมกนั ทงั้ สนิ ้ 11 สาขา ซงึ่
โรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั เป็นสาขาที่ 6 ที่ได้เปิดทาการเรียนการสอนตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2542
โรงเรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี ตงั้ อยทู่ ี่เลขท่ี 8 หมู่ 3 ตาบลบอ่ วิน อาเภอศรีราชา จงั หวดั
ชลบุรี มี สาขาการเรียนจาแนกออกเป็น วิทย์-คณิต,ศิลป์ -คานวณ,ศิลป์ -ภาษาญี่ป่ นุ ,ศิลป์ -ภาษาจีน
และองั กฤษ-สงั คม ซึง่ ตวั ผ้วู ิจยั เองมีความสนใจอยากจะศกึ ษา เด็กนกั เรียนในชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4-6
ในทกุ ๆสาขาการเรียน โดยระยะเวลาที่ผา่ นมาโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี มีจานวนนกั เรียน
7
ในช่วงชนั้ ที่ 4-6 มากขนึ ้ เรื่อยๆ(http://newweb.suanchon.ac.th/anumberofstudents.2564. จานวน
นกั เรียน, 2564) โดยมีข้อมลู ท่ีคอยอพั เดทอย่ตู ลอดเวลาเนื่องด้วยประชากรในพืน้ ท่ีที่เพิ่มมากขึน้ จาก
การย้ายถ่ินฐานมาทางานในพืน้ ท่ีอุตสาหกรรมและการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมในพืน้ ที่ที่มี
แนวโน้มในการพฒั นาที่เพ่ิมมากขึน้ อย่เู สมอโดยวดั ได้จากพืน้ ท่ีอุตสาหกรรมใกล้เคียงกบั ตวั โรงเรียน
สวนกหุ ลาบวิทยาลัยชลบุรีเช่น อีสเทิร์นซีบอร์ดและอมตะซิตี ้ มีจานวนโรงงานในภาคอุตสาหกรรม
จานวน 846 โรง และมีจานวนแรงงานราวๆ 56000 คน ซง่ึ เมื่อเทียบกบั พืน้ ที่อ่ืนๆในอาเภอศรีราชาแล้ว
นนั้ จะเป็นพืน้ ที่ท่ีมีจานวนประชากรและโรงงานมากที่สดุ (userdb.diw.2565:ข้อมลู โรงงานในเขตการ
นิคมแหง่ ประเทศไทย) จึงเป็นปัจจยั ท่ีทาให้ผ้วู ิจยั สนในถึงเรื่องสถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คมของ
ตัวนักเรียน ท่ีอาจจะส่งผลต่อการยอมรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในยุคโควิดซึ่ง มีการ
แพร่กระจายของเชือ้ ไวรัสอยู่ตลอดเวลา จึงจาเป็นต้องมีการปรับตัวอยู่หลายอย่าง ซึ่งในส่วนของ
การศกึ ษาจาเป็นต้องศกึ ษาอยตู่ ลอดเวลา การที่เกิดโรคระบาดขนึ ้ ทาให้ การเรียนการสอนของนกั เรียน
มีความไมเ่ สถียรเกิดขนึ ้ จงึ นามาสกู่ ารเรียนออนไลน์ ท่ีเป็นการเรียนท่ีแตกตา่ งออกไปจากเดมิ เพื่อรับรู้
และวิเคราะห์ถึงผลดีและผลเสียของการเรียนออนไลน์และการเรี ยนในท่ีตัง้ ผ่านเคร่ืองมือ
แบบสอบถามในเรื่อง ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการยอมรับในการจัดการเรียนการสอนในยุคโควิด ว่ามีการ
ยอมรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนอย่างไรบ้าง โดยทางโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยชลบุรี
ปัจจบุ นั มีการปรับตวั มาใช้ในรูปแบบการเรียนแบบ Onsite ท่ีทางโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
จัดตงั้ ขึน้ แบบแบ่งกลุ่มของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 ออกเป็นกลุ่ม AและB เพื่อลดจานวน
ผู้เรี ยนโดยมีผลบังคับใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2565
(newweb.suanchon. 2565. ประกาศเปิดเรียน Onsite แบบสลบั กลมุ่ )
จากเหตผุ ลดงั ที่กลา่ วมาทงั้ หมด จงึ ทาให้ผ้ศู กึ ษา สนใจ อยากเปรียบเทียบการยอมรับรูปแบบ
การจดั การเรียนการสอนในรูปแบบ ในท่ีตงั้ และออนไลน์ ในยคุ โควดิ ที่สง่ ผลกระทบตอ่ นกั เรียนโรงเรียน
สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ีนนั้ มีการยอมรับจากนกั เรียนในด้านใดบ้าง โดยผ้วู จิ ยั เตรียมตวั แปรต้นและ
ตวั แปรตาม เพ่ือสร้างคาถามสาหรับการวิจัยให้เกิดคณุ ภาพในการเก็บรวบรวมข้อมลู อย่างสูงที่สุด
และสามารถนาไปพฒั นาหลกั สตู รตา่ งๆ ของการเรียนการสอนภายในโรงเรียนตอ่ ไป
8
วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย
1. เพ่ือทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์กับออน
ไซท์ของนกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
2. เพื่อศกึ ษาสถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คมของนกั เรียนกบั การยอมรับการจดั การเรียน
การสอนของนกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
ขอบเขตของการวิจัย
ศกึ ษา นกั เรียนระดบั มธั ยมปลาย ชนั้ ปีที่ 4-6 ที่ศกึ ษาอย่ทู ่ีโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
ทกุ หมวดวิชา จานวน 173 คน
ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ
1. เพ่ือทราบปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่ การยอมรับในการจดั การเรียนการสอนของรูปแบบออนไลน์และ
ออนไซท์ ของโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
2. เพื่อทราบถงึ ระดบั สถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คมของนกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบ
วทิ ยาลยั ชลบรุ ี ตอ่ การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในยคุ โควิด
9
บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
การวิจยั เรื่อง “ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในยคุ โควิดของ
นกั เรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี” ผ้ทู าวจิ ยั ได้ทาการทบทวนแนวคดิ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อนามาใช้
ในการสนบั สนนุ การสร้างกรอบแนวคดิ การวดั ตวั แปร และการนิยามตวั แปร โดยมีรายละเอียดในการ
นาเสนอตามลาดบั ดงั ตอ่ ไปนี ้
1. แนวคดิ และทฤษฏี
1.1 แนวคดิ
1.1.1 แนวคดิ การเรียนออนไลน์
1.1.2 แนวคดิ และทฤษฎีเก่ียวกบั ประชากรศาสตร์
1.1.3 แนวคดิ พืน้ ฐานในการจดั การเรียนการสอน
1.1.4 การจดั การเรียนการสอนในที่ตงั้
1.1.5 หลกั การสาคญั ของการจดั การศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
1.1.6 การวดั และประเมินผลทางการศกึ ษา
1.1.7 ความหมายของส่ือการสอน
1.2 ทฤษฏีท่ีเกี่ยวข้อง
1.2.1 ทฤษฎีเกี่ยวกบั การยอมรับ
1.2.2 ทฤษฎีการยอมรับนวตั กรรมและเทคโนโลยี
1.2.3 ทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเรียนรู้
1.2.4 ทฤษฏีเทคโนโลยีกบั การพฒั นาการเรียนการสอน
1.2.5 ทฤษฏีเก่ียวกบั การเรียนรู้
1.2.6 ทฤษฎีรูปแบบการเรียนรู้กษา
10
2.งานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง
2.1 โรคโควิด-19 หรือไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุใหม่ 2019
2.2 หลกั การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ
2.3 ผลกระทบ COVID-19 ตอ่ การศกึ ษาก
2.4 งานวิจยั การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.5 งานวิจยั ปัจจยั ในการจดั การเรียนการสอนของมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
2.6 วิจยั เทคโนโลยีการศกึ ษา
2.7 งานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้องกบั ปัญหา/อปุ สรรค/ข้อจากดั ในการเรียนออนไลน์ของนิสิต
นกั ศกึ ษา และนกั เรียน
2.8 การพฒั นาผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผ้เู รียนด้วยการสร้างสภาวะแวดล้อมการเรียน
ด้วยการทางานในสภาพจริงาร
3.กรอบแนวคดิ
4.รายการตวั แปร
5.นิยามศพั ท์ที่ใช้ในการวิจยั
แนวคดิ และทฤษฎี
1.1 แนวคิด
1.1.1 แนวคดิ การเรียนออนไลน์
องค์ประกอบการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์
เป็นแนวคดิ ที่ตวั ผ้วู ิจยั เองนนั้ ให้ความสาคญั เพราะเนื่องในสถานการณ์โควิด เป็นรูปแบบการ
เรียนรู้ท่ีสาคญั มากในชว่ งเวลานี ้ เพราะเป็นรูปแบบการจดั การเรียนการสอนท่ี ผ้เู รียนนนั้ อยกู่ นั คนละ
พืน้ ท่ีแตส่ ามารถเข้าร่วมประชมุ หรือเรียนร่วมกนั ได้ผา่ น ระบบอนิ เทอร์เน็ต และมีเครื่องมือที่เอือ้ ในการ
เผยแพร่ข้อมลู อยา่ งหลากหลาย การเรียนออนไลน์จงึ นิยมนามาใช้ในการเรียนการสอน ซึง่ การจดั การ
เรียนการสอนแบบออนไลน์ เป็นการจดั การเรียนรู้ที่ผสมผสานองค์ความรู้ร่วมกบั นวตั กรรมการเรียนรู้
และเทคโนโลยีที่ทนั สมยั มีรูปแบบการสอนที่หลากหลาย องค์ประกอบของการจดั การเรียนการสอน
แบบออนไลน์ สรุปได้ดงั นี ้
11
1. ผ้สู อน (Instructor) เป็นผ้ถู ่ายทอดเนือ้ หา องค์ความรู้ตา่ งๆให้กบั ผ้เู รียนให้เกิดความเข้าใจ
ในเนือ้ หาประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญของผ้สู อน มีส่วนทาให้การสอนออนไลน์บรรลุเป้าหมาย ซ่ึง
บทบาทของผู้สอนเป็นผู้ให้คาแนะนา (Guide) พ่ีเลีย้ ง (Mentor) เป็นผู้ฝึก (Coach) อานวยความ
สะดวก (Facilitators)
2. ผ้เู รียน (Student) เป็นผ้รู ับเนือ้ หาและองค์ความรู้จากผ้สู อน ซ่ึงผ้เู รียนจาเป็นต้องมีความ
พร้ อมในด้านการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศ การรู้เท่าทันสื่อ (Digital Literacy) สามารถสืบค้น
วิเคราะห์ข้อมลู ประเมินเนือ้ หาอย่างเป็นระบบ โดยใช้วิจารณญาณในการตดั สินใจเกี่ยวกับข้อมูลได้
อยา่ งเหมาะสม มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้
3. เนือ้ หา (Content) เป็นส่วนสาคญั ที่ทาให้การเรียนการสอนบรรลุตามวตั ถุประสงค์ เนือ้ หา
ควรมีการออกแบบโครงสร้างตามวตั ถปุ ระสงค์ของรายวิชา มีการวางแผนผงั รายวิชาเพื่อเป็นระบบนา
ทางเช่ือมโยงไปส่เู นือ้ หาตา่ งๆในบทเรียน สาหรับข้อความของเนือ้ หาควรมีความชดั เจน กระชบั เข้าใจ
ง่าย มีการปรับปรุงให้ทนั สมยั อยตู่ ลอดเวลา เพ่ือให้ผ้เู รียนศกึ ษาทาความเข้าใจได้ด้วยตนเองอยา่ ง
เหมาะสม
4. สื่อการเรียนและแหลง่ เรียนรู้(Instructional Media & Resources) ถือว่ามีความสาคญั เป็น
อยา่ งย่ิงตอ่ การจดั การศกึ ษา สื่อการสอนที่ดจี ะเป็นสว่ นชว่ ยให้ผ้เู รียนสามารถทาความเข้าใจในเนือ้ หา
ขณะที่เรียนได้ สื่อที่ใช้ในการสอนควรที่มีความแปลกใหม่ ดงึ ดดู ความสนใจของผ้เู รียนและกระต้นุ การ
เรี ยนรู้เช่น วิดีโอ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว สถานการณ์จาลอง บทความวิชาการ เป็ นต้ น
5. กระบวนการจดั การเรียนรู้ (Learning Process) เป็นกระบวนการออกแบบการเรียนรู้ให้กบั
ผ้เู รียนตามหวั ข้อ วตั ถปุ ระสงค์ เนือ้ หา ส่ือการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ วธิ ีการวดั ประเมินผล โดยอาศยั
เทคโนโลยีสารสนเทศ มาออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ภายใต้กระบวนการวิเคราะห์ (Analysis)
วางแผนออกแบบ (Planning Design) นาไปใช้ (Implement) พัฒนา (Development) ประเมินผล
(Evaluation)หลักสูตรการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ซ่ึงกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ควร
ส่งเสริมให้ผ้เู รียนได้สามารถนาเนือ้ หาไปประยกุ ต์ส่กู ารเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Learning)
6. ระบบการติดต่อส่ือสาร (Communication Systems) มีส่วนสาคญั ทาให้การจดั การเรียน
การสอนแบบออนไลน์ประสบความสาเร็จได้ ซึ่งการติดต่อส่ือสารแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 1) การ
สื่อสารทางเดียว (One-Way Communication) เป็นการถ่ายทอดเนือ้ หาผ่านสื่อการสอน เช่น วิดีโอ
(Video) PowerPoint ภาพน่ิง(Slide) สถานการณ์จาลอง (Scenario) กรณีศกึ ษา (Case Study) โดย
12
ไมม่ ีปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งผ้สู อนกบั ผ้เู รียน 2) การสื่อสารสองทาง (Two-Way Communication) เป็นการ
ถ่ายทอดเนือ้ หาผา่ นส่ือการสอน เชน่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI)
ระบบการจัดบทเรียน(Learning Management System: LMS) หรือการเรียนโดยผ่านแอปพลิเคช่ัน
การประชมุ ทางวิดีโอ เชน่ Google Hangout Meet, Zoom Meeting, Schoology, Webex, Microsoft
Teams เป็นต้น
7. ระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ (Network Systems) เป็นชอ่ งทางในการอานวยความ
สะดวกให้การเรียนการสอนมีความราบรื่นได้ ระบบเครือข่ายสารสนเทศ ประกอบด้วย 1) ระบบ
เครือข่ายภายในสถาบนั (Intranet) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในสถานศึกษา ซึ่งให้ผ้เู รียน
สามารถเข้ามาใช้เครือข่ายภายในสถานศกึ ษาสาหรับการเรียนออนไลน์ได้ 2) ระบบเครือข่ายภายนอก
สถาบนั (Internet)ท่ีเชื่อมตอ่ ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ทวั่ โลกเพื่อให้สามารถตดิ ตอ่ สื่อสารได้รวดเร็ว
ซึ่งผู้เรี ยนสามารถใช้ เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตสาหรับการเข้ าเรี ยนออนไลน์ได้ ทุกที่ ทุกเวลา
8. การวดั และการประเมินผล (Measurement and Evaluation) จาเป็นต้องมีการวดั และประเมินผล
โดยมีการวดั และประเมินผลทงั้ ระหวา่ งเรียน (Formative Assessment) เชน่ การตงั้ คาถามการสงั เกต
พฤติกรรมผ้เู รียน สะท้อนคิด เป็นต้น และภายหลงั จดั การเรียน (Summative Assessment) เช่นการ
ทดสอบด้วยแบบทดสอบตา่ งๆ เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของผ้เู รียน ประสิทธิผลของการเรียน เพ่ือ
สะท้อน ความสามารถการเรียนรู้ของผ้เู รียน
รูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์
เม่ือสถานการณ์ท่ีสง่ ผลทาให้ผ้สู อนและผ้เู รียนมีปฏิสมั พนั ธ์ทางด้านวชิ าการลดลง ไมส่ ามารถ
จดั กระบวนการเรียนการสอนตามปกติได้ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการปรับรูปแบบการเรียนการ
สอนให้มีความเหมาะสม ซ่ึงการเรียนการสอนแบบออนไลน์ถือว่าเป็นส่วนสาคญั ที่จะทาให้เกิดการ
เรียนรู้และสามารถ
1. การเรียนการสอนออนไลน์ด้วยรูปแบบ Massive Open Online Courses: MOOC เป็น
รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ท่ีมีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ซึ่งเป็นห้องเรียน
ออนไลน์ท่ีมีขนาดใหญ่สาหรับนกั เรียน นิสิต นกั ศึกษา ประชาชนทวั่ ไปที่สนใจเข้าเรียนในสาขาท่ี
ตนเองต้องการพฒั นาโดยมีองค์ประกอบ ได้แก่ วิดีโอการสอนบรรยายเนือ้ หาและการยกตวั อย่าง
ประกอบ เอกสารการสอนแบบออนไลน์ การตอบโต้แสดงความคิดเห็นระหว่างผ้สู อนและผ้เู รียน การ
ประเมนิ ผลการเรียน และการทดสอบผลจากการสอนออนไลน์ด้วยรูปแบบ MOOC
13
2. การสอนด้ วยรู ปแบบ Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment
(Moodle) ซงึ่ เป็นระบบการจดั การเรียนการสอนแบบเปิดเสมือนห้องเรียนจริง ทาให้ผ้สู อนและผ้เู รียน
สามารถมีปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างกันและกันได้ โดยผู้สอนสามารถออกแบบเนือ้ หา กิจกรรมการเรียน
แบบทดสอบ ชอ่ งทางมอบหมายงานและการสง่ งาน นอกจากนนั้ มีสามารถสร้างห้องสาหรับการตอบ
โต้ระหวา่ งผ้สู อนและผ้เู รียนได้
3. วิธีการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านโปรแกรมการประชุมออนไลน์ได้เช่น โปรแกรม Zoom
โปรแกรม Google Meeting Hangout เป็นต้น ซึ่งเป็นโปรแกรมการประชุมวิดีโอทางไกลท่ีผู้สอน
สามารถเตรียมเอกสารประกอบการสอน เช่น PowerPoint วิดีโอ รูปภาพ เอกสารการสอนในรูปของ
ไฟล์ Word Excel เป็นต้น โดยท่ีผ้สู อนและผ้เู รียนสามารถมีปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างการเรียนการสอนได้
รวมทงั้ สามารถบนั ทึกไฟล์ภายหลงั การสอนเพ่ือให้สามารถเรียนย้อนหลงั ได้ จากการศกึ ษาของ(เครือ
หยก แย้ มศรี) พบว่าภายหลังการใช้ แอปพลิเคช่ัน Zoom Cloud Meeting ช่วยสอนในรายวิชา
ปฏิบตั ิการผดงุ ครรภ์ ส่งผลให้คะแนนความรู้และทกั ษะทางการพยาบาลสงู กวา่ ก่อนการเรียนอย่างมี
นยั สาคญั ทางสถิติ อยา่ งไรก็ตามกอ่ นท่ีจะมีการเรียนการสอนผา่ นโปรแกรมการประชมุ ออนไลน์ ผ้สู อน
ควรออกแบบเนือ้ หาให้สอดคล้องกบั ส่ือการสอน ระยะเวลารวมทงั้ ควรมีการประเมินผลระหว่างและ
ภายหลงั การเรียนการสอน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเนือ้ หาของผ้เู รียน
การแพร่ระบาดของโรคโคโรนาไวรัส 2019 ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตแบบใหม่
(New Normal) ทงั้ ภาครัฐและภาคประชาชนต้องมีการปรับตวั ครัง้ ใหญ่เพื่อให้สามารถดาเนินชีวิตได้
ตามปกตสิ าหรับสถาบนั ทางการศกึ ษาจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับตวั ด้วยการออกแบบการเรียนการ
สอนให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ปัจจบุ นั รวมทัง้ วางแผนการรับมือกบั ภาวะหยดุ ชะงกั ทางการศึกษา
(Education Disruption)เพื่อให้การจดั การเรียนการสอนสามารถดาเนินไปได้ตามปกติและส่งเสริมให้
ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตรวมทงั้ ควรวิเคราะห์ถึงปัจจยั และความเป็นไปได้ของการเรียนการสอน
แบบออนไลน์ เพ่ือให้การเรียนรู้มีความราบรื่นและบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ซ่ึงตวั ผ้วู ิจยั เองเล็งเห็นว่า
การเรียนออนไลน์นนั้ มีจดุ แขง็ ในเร่ืองของความสะดวกในการเข้าเรียนและการจดั การเรียนการสอนทา
ได้สะดวกมากกว่าการเรียนในท่ีตงั้ เน่ืองด้วยตวั เครื่องมือช่วยสอนตา่ งๆมีการพฒั นาที่มากขึน้ และ
นกั เรียนมีการเข้าถงึ อินเทอร์เน็ตท่ีง่ายขนึ ้ แตถ่ ้าหากนกั เรียนที่ไมส่ ามารถเข้าถึงอนิ เทอร์เน็ตได้ก็อาจจะ
เสียโอกาสในการเรียนรู้แบบออนไลน์ได้เหมือนกนั
14
1.1.2 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับประชากรศาสตร์
แนวคิดนีต้ วั ผ้วู ิจยั ให้เป็นกรอบของการวิจยั เน่ืองด้วยตวั นกั เรียนนนั้ เป็นประชากรหลกั ในการ
วิจัยซึ่ง จะเห็นได้ว่าเร่ืองของประขากรแล้วนัน้ ยังมีเรื่องของ รายได้ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยจึงทาให้
แนวคดิ นีเ้ป็นแนวคดิ สาคญั ท่ีทาให้วิจยั นีม้ ีคณุ ภาพมากขนึ ้
ลักษณะด้านประชากรศาสตร์ (Demographic) ประกอบด้วย อายุ เพศ ขนาดครอบครัว
สถานภาพ ครอบครัว รายได้ อาชีพ การศึกษา เหล่านีเ้ ป็นเกณฑ์ท่ีนิยมใช้ในการแบ่งส่วนตลาด
ลักษณะด้านประชากรศาสตร์ เป็นลักษณะที่สาคญั และสถิติที่ได้ของประชากรช่วยกาหนดตลาด
เป้าหมาย ข้อมูลทางด้านประชากรศาสตร์จะสามารถเข้าถึงและมีประสิทธิผลต่อการกาหนดตลาด
เปา้ หมายตลอดจนง่ายตอ่ การวดั มากกว่าตวั แปรอื่น ตวั แปรด้านประชากรศาสตร์ท่ีสาคญั มีดงั ตอ่ ไปนี ้
(ศริ ิวรรณ เสรีรัตน์. 2538: 53-55)
1. อายุ(Age) เน่ืองจากผลิตภณั ฑ์จะสามารถตอบสนองความต้องการของกล่มุ ผ้บู ริโภคท่ีมี
อายแุ ตกต่างกนั นกั การตลาดจงึ ใช้ประโยชน์จากอายเุ ป็นตวั แปรด้านประชากรศาสตร์ที่แตกต่างของ
ส่วนตลาดนักการตลาดได้ค้นหาความต้องการของส่วนตลาดส่วนเล็ก (Niche Market) โดยมุ่ง
ความสาคญั ที่ตลาดอายสุ ว่ นนนั้
2. เพศ (Sex) เป็นตวั แปรในการแบง่ สว่ นตลาดท่ีสาคญั นกั การตลาดต้องศกึ ษาตวั แปรนีอ้ ยา่ ง
รอบคอบเพราะในปัจจบุ นั นีต้ วั แปรด้านเพศมีการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมการบริโภค การเปลี่ยนแปลง
ดงั กลา่ วอาจมาจากสตู รที่ทางานมีมากขนึ ้ ซง่ึ มีผลกระทบตอ่ การทางานของสินค้ากลมุ่ นีม้ าก ผ้หู ญิงท่ี
ทางานไมม่ ีเวลาดโู ทรทศั น์ไมม่ ีเวลาไปเลือกซองสินค้า หรือฟังวิทยุ ผ้โู ฆษณาอาจใช้นิตยสารเพ่ือเข้าถึง
ตลาดกลมุ่ นีพ้ ฤตกิ รรมท่ีเปลี่ยนแปลง คือ ผ้ชู ายไปเลือกซือ้ สนิ ค้าท่ีซปุ เปอร์มาร์เก็ตแทน
3. ลกั ษณะครอบครัว (Marital Status) ในอดีตจนถึงปัจจบุ นั ลกั ษณะครอบครัวเป็นเปา้ หมาย
ที่สาคัญ ของการใช้ความพยายามทางการตลาดมาโดยตลอด และมีความสาคญั ยิ่งขึน้ ในส่วนที่
เก่ียวกบั หนว่ ยผ้บู ริโภค นกั การตลาดจะสนใจจานวนและลกั ษณะของบคุ คลในครัวเรือนท่ีใช้สินค้าใด
สินค้าหนึ่งและยังสนใจในการพิจารณาลกั ษณะด้านประชากรศาสตร์ และโครงสร้ างด้านส่ือท่ีจะ
เก่ียวข้องกบั ผ้ตู ดั สนิ ใจในครัวเรือนเพ่ือชว่ ยในการพฒั นากลยทุ ธ์การตลาดให้เหมาะสม
4. รายได้ การศกึ ษา และอาชีพ (Income Education And Occupation) เป็นตวั แปรท่ีสาคญั
ในการกาหนดสว่ นของตลาด โดยทวั่ ไปนกั การตลาดจะสนใจผ้บู ริโภคที่มีความร่ารวยแตอ่ ยา่ งไรก็ตาม
ครอบครัวที่มีรายได้ปานกลางและรายได้จะเป็นตลาดท่ีมี ขนาดใหญ่ ปัญหาสาคญั ในการแบ่งส่วน
15
ตลาดโดยถือเกณฑ์รายได้อย่างเดียวก็คือ รายได้จะเป็นตวั ชีก้ ารมีหรือไม่มีความสามารถในการจา่ ย
สินค้า ในขณะเดียวกนั การเลือกซือ้ สินค้าท่ีแท้จริงอาจถือเกณฑ์ รูปแบบการดารงชีวิต รสนิยม คา่ นิยม
อาชีพ การศกึ ษา ฯลฯ แม้วา่ รายได้จะเป็นตวั แปรท่ีใช้บอ่ ยมากนกั การตลาดจะโยงเกณฑ์รายได้รวมกบั
ตวั แปรทางด้านประชากรศาสตร์หรืออื่นๆ เพ่ือให้การกาหนดตลาดเปา้ หมายได้ชดั เจนยิ่งขนึ ้ เช่นกลมุ่
รายได้สงู ที่มีอายตุ า่ ง ๆ ถือว่าใช้เกณฑ์รายได้ร่วมกบั เกณฑ์อายุ เป็นเกณฑ์ท่ีนิยมใช้กนั มากขนึ ้ เกณฑ์
รายได้อาจจะเกี่ยวข้องกบั อายแุ ละอาชีพร่วมกนั เช่น กล่มุ ผ้บู ริหารธุรกิจท่ีมงั่ คง่ั รุ่นเยาว์ (Yuppies )
ถือว่าเป็นกล่มุ ที่มีอิทธิพลสงู การศกึ ษา อาชีพ และรายได้ มีแนวโน้มความสมั พนั ธ์กันอย่างใกล้ชิดใน
ความสัมพันธ์เชิงเหตแุ ละผลในแต่ละระดับจะสามารถผลิตในราคาสูง และส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่มี
การศึกษาสงู ด้วย บคุ คลที่มีการศกึ ษาต่างโอกาสที่จะหางานระดบั สูงยาก จึงทาให้มีรายได้ตอ่ เนื่อง
จากความสมั พนั ธ์ ระหวา่ ง 3 ลกั ษณะคอื รายได้ การศกึ ษา และอาชีพ
โดยสรุปแล้วแนวคดิ เกี่ยวกบั ประชากรศาสตร์นี ้ มีผลสอดคล้องกนั กบั สถานภาพทางเศรษฐกิจ
และสงั คมที่ตวั ผู้วิจยั ได้ตงั้ ให้เป็นตวั แปรอิสระไว้ จึง้ มีความสาคญั อย่างมากในการทาวิจยั ครัง้ นีใ้ ห้
บรรลผุ ล
1.1.3 แนวคิดพ้ืนฐานในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผ้เู รียนมีคณุ ภาพ ได้แก่
1. บรรยากาศ ส่ิงแวดล้อม เป็นองค์ประกอบที่สาคญั อย่างหนงึ่ ท่ีครูควรพฒั นา และ จดั อยา่ ง
เหมาะสม เพ่ือให้ผ้เู รียนเกิดความศรัทธา ซึ่งถือว่าเป็นจุดเร่ิมต้นท่ีดีอย่างหนึ่งของการเรียนการสอน
อยา่ งเป็นระบบ
2. การเรียนรู้ของผ้เู รียนเกิดขนึ ้ ได้ทกุ แหง่ ทกุ เวลา ตอ่ เน่ืองยาวนานตลอดชีวิต การสอนในยคุ
ปัจจบุ นั ต้องเป็นการส่งเสริมให้ผ้เู รียนรักที่จะเรียนรู้อย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต เป็นการเรียนรู้ด้วยตวั เอง
ไมใ่ ชก่ ารเรียนแบบมีครูสอน ครูจะชว่ ยได้เพียงชว่ งหนง่ึ ของอายุ จะต้องเรียนด้วยตนเอง
3. ผลของการเรียนรู้นนั้ ผ้เู รียนสามารถนาไปส่กู ระบวน การปฏิบตั จิ ริงในชีวติ ได้ ดงั นนั้ สิง่ ที่จดั
ให้ผ้เู รียนได้เกิดการเรียนรู้ควรเป็นส่ิงท่ีเก่ียวข้องกบั ผ้เู รียน ให้ผ้เู รียนได้ปฏิบตั ิจริง สร้างความรู้เอง และ
ค้นพบความรู้ได้ด้วยตนเอง เพื่อเป็นการเน้นวา่ สามารถนาไปใช้ในชีวติ ได้อยา่ งแท้จริง
4. การเรียนรู้ที่ดีจะเกิดการปฏิบตั จิ ริง ด้วยการสมั ผสั และสมั พนั ธ์โดยผ้เู รียนเอง คือ ผ้เู รียนควร
จะได้มีโอกาสสมั ผสั ของจริง สถานการณ์จาลอง การได้ทดลองทา การได้ร่วมในกระบวนการกลมุ่ จะ
ทาให้ผู้เรียนรู้วิธีการอยู่ร่วมกันในสังคม และการแก้ปัญหาของชีวิตได้อย่างมีสติและใช้ปัญญา
กล่าวคือการจัดการเรียนการสอนควรเน้นผ้เู รียนเป็นสาคญั (learner centered) ของการพฒั นา ให้
16
ผ้เู รียนได้เรียนตามความต้องการและให้โอกาสผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการวางแผนและดาเนินกิจกรรมการ
พฒั นาตนเองให้ เตม็ ศกั ยภาพโดยครูเป็นผ้จู ดั บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมให้
5. ภมู ิปัญญาท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาชาวบ้านในชนบทท่ีมีอย่อู ย่างมากมายหลายสาขา มีค่า
บ่งบอกถึงความเจริญมาเป็นเวลานาน การจัดกิจกรรมการเรียนตามหลักสูตรท้องถิ่น จะนาเอา
ทรัพยากรอนั มีคา่ ของท้องถิ่นและภมู ิปัญญาของท้องถิ่นชาวบ้านมาใช้ในการเรียนการสอน เชน่ ด้าน
อาชีพเกษตรกรรม ดนตรี วรรณกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี อนั จะส่งผลให้ผ้เู รียนรู้จกั ท้องถิ่นของ
ตน เกิดความรักผกู พนั กบั ท้องถ่ิน รวมทงั้ ใช้ทรัพยากรท้องถ่ินในการประกอบอาชีพด้วย
6. การเรียนรู้ของผ้เู รียนไมใ่ ชอ่ ย่ทู ี่การสอนและระยะเวลาท่ียาวนาน แตแ่ ก่นแท้ของการเรียน
อย่ทู ี่การเรียนรู้ของผ้เู รียนเป็นสาคญั การจดั การเรียนการสอนควรเป็นการบวนการที่จดั ให้ ผ้เู รียนได้
รู้จกั การเรียนรู้ วิธีแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
แนวคิดนีจ้ ะเป็นพืน้ ฐานในการจัดทาตวั แปรเพ่ือหาปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับรูปแบบการ
จดั การเรียนการสอนของวจิ ยั ในครัง้ นี ้เพ่ือให้แบบสอบถามมีคณุ ภาพตวั ผ้วู จิ ยั จงึ ค้นคว้าข้อมลู มาเรียบ
เรียง
1.1.4 การจัดการเรียนการสอนในทต่ี ั้ง
การจดั การเรียนการสอนในที่ตงั้ ถือเป็นรูปแบบการจดั การศกึ ษาท่ีดงั้ เดมิ เป็นรูปแบบการจดั
การศกึ ษาที่เน้นการมีปฏิสมั พนั ธ์กันภายในชนั้ เรียนแต่มี รูปแบบการสอนที่แตกต่างกันออกไป โดย
ขนึ ้ อยกู่ บั สถานที่ ผ้สู อน และตวั ผ้เู รียนเอง โดยมีใจความดงั นี ้
1. การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนตามวิธีของทฤษฎีเชิงระบบ (system approach)
วิธีการเชิงระบบ คือ การนาเอาองค์ประกอบหลาย ๆ สว่ นมารวมกนั อย่างมีความ สอดคล้องสมั พันธ์
และส่งเสริมซ่ึงกันและกัน จนเกิดสัมฤทธ์ิผลตามวตั ถุประสงค์ท่ีได้วางไว้ โดยท่ัวไปองค์ประกอบท่ี
สาคัญของวิธีการเชิงระบบจะมีอยู่ 3 ส่วน คือ 1. Input: ปัจจัยหรือส่ิงนาเข้า (ได้แก่ ความรู้และ
กระบวนการเรียนการสอนที่ครูจดั ให้แก่ ผ้เู รียน)
2. Process: กระบวนการ (ได้แก่ กระบวนการที่ผ้เู รียนนาความรู้จาก Input ไปขยายผลหรือ
ทดลองใช้กบั ชีวิตจริง)
17
3. Output: ผลผลิตหรือผลสาเร็จขนั้ สุดท้ายตามที่คาดหวงั คือ ผลการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้รับ
จากการนาความรู้นนั้ ไปขยายผลหรือทดลองกับชีวิตจริงตามวตั ถปุ ระสงค์ที่ตงั้ ไว้ การพฒั นากิจกรรม
การเรียนการสอนตามวิธีของทฤษฏีเชิงระบบ (system approach) คือการจัดองค์ประกอบที่เป็น
กิจกรรมสาคญั ของการเรียนการสอนไว้ให้มีความสอดคล้องสมั พนั ธ์และสง่ เสริมซงึ่ กนั และกนั เพ่ือช่วย
ให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ตามจดุ ม่งุ หมายของหลกั สูตรท่ีกาหนดไว้ รูปแบบของการพฒั นากิจกรรมการ
เรียนรู้ตามทฤษฎีเชิงระบบ ได้กาหนดองค์ประกอบที่เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีสอดคล้ อง
สมั พนั ธ์กนั ไว้ 8 ขนั้ ตอน คือ
ขนั้ ท่ี 1 ค้นหาปัญหา (แท้) คอื ปัญหาท่ีมาจากเหตุ
ขนั้ ที่ 2 กาหนดความต้องการ (ที่เป็นรูปธรรม)
ขนั้ ที่ 3 กาหนดจดุ ประสงค์ (ที่ปฏิบตั ไิ ด้)
ขนั้ ท่ี 4 กาหนดหวั ข้อเนือ้ หา (ที่เป็นรูปธรรม)
ขนั้ ที่ 5 กาหนดกระบวนการเรียนการสอน เทคนิค สื่อ และเวลาท่ีครอบคลมุ I-P-O
ขนั้ ที่ 6 การตรวจสอบประสทิ ธิภาพเบอื ้ งต้น
ขนั้ ท่ี 7 การสอน
ขนั้ ที่ 8 การประเมินประสทิ ธิภาพการเรียนการสอน
1. การเรียนรู้ท่ีผ้เู รียนสาคญั ท่ีสดุ (learner centered) การเรียนรู้ท่ีผ้เู รียนสาคญั ท่ีสุดเป็นกระบวนการ
จดั กิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ที่ตรงกับความรู้และตามระดบั ความสามารถ (self-
paced learning) หรือเป็นกระบวนการเรียนการสอนท่ีเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนและทา
กิจกรรมในส่ิงที่ตรงกับสภาพปัญหาของตนเองเพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ท่ีกาหนดไว โดยเน้นกิจกรรมที่
ผ้ ูเรี ยนสามารถนาความร้ ู ไปใช้ กับชีวิตของตนเองโดยเน้ นกระบวนการและกิจกรรมที่หลากหลายทงั ้
กระบวนการกลุ่ม และศึกษาด้วยตวั เอง การเรียนรู้ท่ีผู้เรียนสาคญั ท่ีสุดจึงเป็นการเรียนการสอนท่ี
ยอมรับความรู้ ความสามารถ ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียนเป็นหลัก โดยครูเป็นผู้ร่วม
วางแผน เป็นผ้ใู ห้คาแนะนาในฐานะผ้มู ีความรู้และประสบการณ์มากกว่า แตก่ ารวางแผนการเรียนจริง
ๆ นนั้ ต้องเปิดโอกาสให้ ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมอยา่ งสงู สดุ โดยมีขนั้ ตอน ดงั นี ้
1.1 ครูศกึ ษาปัญหาและความต้องการของผ้เู รียน
1.2 ผ้เู รียนและครูร่วมกนั วางแผนในเรื่องท่ีจะเรียน
1.3 ผ้เู รียนทาความเข้าใจจดุ ประสงค์ของการเรียนรู้กอ่ นเริ่มกิจกรรมการสอนเสมอ
18
1.4 ผ้เู รียนและครูร่วมกนั กาหนดเนือ้ หา กิจกรรมและสื่อการเรียนการสอนรวมทงั้ ประเมินผล
การเรียนรู้
1.5 ผู้เรียนทากิจกรรมร่วมกันและเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองท่ีสามารถนาความรู้ไปใช้ ใน
ชีวิตประจาวันได้ โดยกิจกรรมที่จัดควรมีความหลากหลายเพื่อทาให้ ผู้เรียนเกิดความคิดริเริ่ม
สร้ างสรรค์
1.6 ผ้เู รียนประเมนิ ผลการเรียนรู้ของตนเอง จากจดุ ประสงค์ที่กาหนดไว้
การเรียนรู้ตามสภาพจริง (authentic learning) การจดั การเรียนการสอนในศตวรรษใหม่ ได้
ปรับเปลี่ยนเป็นการเสริมสร้างให้มนษุ ย์สามารถสร้างความรู้ความสามารถและปัญญาด้วยตนเอง โดย
ครูและผ้เู รียนเป็นผ้รู ่วมกนั วางแผนการเรียนส่ิงที่เรียนมาจากความต้องการของผ้เู รียนเอง การจดั การ
เรียนการสอนในลกั ษณะดงั กล่าว จะทาให้การเรียนรู้เกิดขึน้ อย่างรวดเร็วและตอบสนองชีวิตจริงได้
เป็นลักษณะของการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง โดยคานึงชีวิตและองค์ความรู้ของผู้เรียนท่ีมี
หลากหลายรอบ ๆ ตวั ซง่ึ สามารถกระทาได้ดงั นี ้
1. การเรียนโดยการปฏิบตั ิในชีวิตจริง สามารถถ่ายโยงไปส่สู ถานการณ์ใหม่ได้ดีกว่า การนา
ความรู้จากที่เรียนทว่ั ๆ ไปท่ีไม่ใชส่ ภาพชีวิตจริง
2. ผ้เู รียนได้ใช้ความคดิ และปฏิบตั อิ ย่างมีความหมายต่อผ้เู รียน เน่ืองจากผ้เู รียนได้คดิ งานเอง
และปฏิบตั ติ ามความคิดของเขา ย่อมทาใหเกิดความมุ่งมน่ั และทาให้เสร็จเพื่อท่ีจะได้เห็นผลแห่งการ
คดิ นนั้
3. เน้นให้ผู้เรียนอยากคิด อยากทดลองปฏิบตั ิการกาหนดปัญหาท่ีท้าทายยวั่ ยุและเป็นไปได้
ในชีวติ จริงนอกจากมีความหมายตอ่ ผ้เู รียนแล้วยงั ทาให้ผ้เู รียนไมเ่ บื่อหน่ายอยากคดิ อยากทาให้สาเร็จ
4. เน้นให้ผ้เู รียนอยากคิดและปฏิบตั ิด้วยแนวทางของตนเอง แนวคิดท่ีเน้นชีวิตจริง มุ่งเน้นให้
ผ้เู รียนแก้ปัญหาด้วยวิธีของตนเอง ปฏิบตั ใิ นส่ิงท่ีตนชอบ ดงั นนั้ การกาหนดงานควรเปิดกว้างให้ผู้เรียน
ได้มีอิสระในการคดิ ไมค่ วรเป็นงานท่ีทาตามคาสง่ั เฉพาะ จะไม่ก่อให้เกิดความคดิ สร้างสรรค์
5. สง่ เสริมให้นาความรู้จากหลายเนือ้ หาวชิ าประยกุ ต์ใช้ให้เป็นธรรมชาตขิ องชิวติ จริง
6. การเรียนการสอนและการประเมนิ ผลเกิดขนึ ้ พร้อมกนั
19
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (participatory learning) หลกั การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมมาจาก
ความเช่ือท่ีว่าการเรียนของคนเราเป็นกระบวนการสร้ างความรู้ด้วยตวั ของผู้เรียนเอง โดยมีครูช่วยจดั
กระบวนการเรียนการสอนที่เอือ้ อานวยให้เกิดการสร้างความรู้มากกว่าถ่ายทอดจากครูสู่ผ้เู รียน ดงั นนั้
กระบวนการสร้ างความรู้จงึ ต้องอ้างอิง 10 ประสบการณ์ผู้เรียนเป็นการเรียนท่ีผู้เรียนเป็นฝ่ ายกระทา
(learning is doing) อนั จะทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงไปสู่การกระทาใหม่ ๆ อย่างตอ่ เนื่อง การเรียนรู้
ในลกั ษณะนีจ้ งึ ย้ําถึงลกั ษณะทางสงั คมของการเรียนรู้ที่เกิดจากปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างผ้เู รียนด้วยตนเอง
และระหว่างผู้เรียนกับครูทาให้ เกิดการขยายผลของเครือข่ายความรู้ท่ีทุกคนมีอยู่มากไปอย่าง
กว้างขวาง โดยอาศยั การแสดงออกในลกั ษณะต่าง ๆ เป็นเคร่ืองมือในการแลกเปลี่ยน การวิเคราะห์
และการสงั เคราะห์ความรู้ การจดั การเรียนการสอนแบบมีสว่ นร่วม เป็นการเสริมสร้างบรรยากาศที่เป็น
ประชาธิปไตย เคารพศกั ดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ให้ความรักความอบอุ่น ไว้วางใจซ่ึงกันและกัน
ระหว่างครูกบั ผู้เรียน เป็นบรรยากาศที่เสริมสร้ างความพึงพอใจให้แก่ทกุ คน บรรยากาศในการเรียน
การสอนเป็นการกระตุ้นให้ทุกคนอยากรู้อยากเห็น เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ด้วย
ตนเองตามสภาพจริง อนั มีผลการพฒั นาตนเองตามศกั ยภาพ ซ่ึงสรุปเป็ นหลกั การเรียนรู้แบบมีส่วน
ร่วมได้ ดงั นี ้
1. กิจกรรมการเรียนเป็นการเรียนรู้ท่ีอาศยั ประสบการณ์เดิมของผ้เู รียน
2. การเรียน คือ กิจกรรมที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ ๆ ท่ีท่าทาอยา่ งตอ่ เน่ือง เป็นการเรียนรู้จาก
การปฏิบตั จิ ริงของผ้เู รียน (active learning)
3. มีปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งผ้เู รียนด้วยกนั เอง และระหวา่ งครูกบั ผ้เู รียน
4. ปฏิสัมพันธ์ที่ทาให้ เกิดการขยายผลของเครือข่ายความรู้ที่ทุกคนมีอยู่ออกไปอย่าง
กว้างขวาง
5. มีการสื่อสารหลายทาง เช่น การพูดหรือการเขียน เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยน การ
วิเคราะห์และการสงั เคราะห์ความรู้ (รศ.สมชาย รัตนทองคา.2565: การจดั การเรียนการสอน)
โดยสรุปแล้วการจัดการเรียนการสอนในท่ีตงั้ นนั้ เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ
และมีความหลากหลายท่ีเอือ้ ต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ทัง้ การมีส่วนร่วม การเสนอความคิดเห็น
รวมทงั้ การปฏิบตั ทิ ่ีส่งผลให้การเรียนรู้เกิดขึน้ กับตวั นกั เรียนอย่างเป็นรูปธรรม จึงเป็นแนวคิดสาคญั ท่ี
ตวั ผ้วู ิจยั นามาเป็นตวั แปรในกรอบแนวคดิ ของงานวจิ ยั นี ้
20
1.1.5 หลักการสาคัญของการจัดการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
Personalized Learning เป็นการมงุ่ สนบั สนนุ ผ้เู รียนแตล่ ะคนให้ค้นพบความชอบ ความถนดั
และเปิดโอกาสให้ผ้เู รียนได้ตงั้ เปา้ หมายการเรียนรู้และเลือกเรียนรู้ในประเด็นที่ตนสนใจ โดยไมม่ ีการ
ปิดกนั้ จากขอบเขตของการแบ่งสายการเรียนแบบเดิม ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย การให้
คาปรึกษาเป็นรายบุคคลอย่างเข้มข้น และความร่วมมือจากผู้ปกครองและเครือข่ายอย่าง ต่อเนื่อง
เพื่อให้ผ้เู รียนพฒั นาความสามารถพืน้ ฐานและความเช่ียวชาญเฉพาะทางจนบรรลเุ ปา้ หมายการเรียนรู้
ของตนเอง
Competency-Based Education เป็นระบบการศึกษา (Educational System) ท่ีสนับสนุน
Personalized Learning กลา่ วคือ ดาเนนิ การจดั การศกึ ษาโดยเอาสมรรถนะของผ้เู รียนเป็นตวั ตงั้ โดย
ใช้เวลาและวิธีการอย่างยืดหยุ่นตามธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละคน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็ม
ประสิทธิภาพตลอดทัง้ กระบวนการของการศึกษา โดยมีระบบสนับสนุนการเรียนรู้และการให้
คาปรึกษาที่เข้มแข็ง และระบบการประเมนิ สมรรถนะที่สอดคล้องควบคไู่ ปด้วย
เสน้ ทางการเรียนรู้ทีย่ ืดหย่นุ (TSS FLEXIBLE PATHWAY) เป็นโครงสร้างการจดั การเรียนการ
สอนเพื่อตอบสนองความหลากหลายของผู้เรียน ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกรายวิชาเฉพาะทางที่
ตอบสนองต่อจุดม่งุ หมายในอนาคตของตนเอง ซ่ึงผ้เู รียนสามารถวางเส้นทางการเรียนรู้ของตนเอง
(Personalized Learning Pathway) ได้ ภายใต้การให้คาปรึกษาอยา่ งเข้มข้นจากครูที่ปรึกษา
สมรรถนะหลกั ของผูเ้ รียน (Core Competencies) คือ กล่มุ ของทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ
พฤตกิ รรม คณุ ลกั ษณะ และทศั นคติ ที่หลกั สตู รมงุ่ พฒั นาให้เกิดกบั ผ้เู รียนอย่างเป็นองค์รวม แบง่ เป็น
2 ด้านคือ สมรรถนะทวั่ ไป (General Competency) ประกอบด้วยทกั ษะ คณุ สมบตั ิ และคณุ ลกั ษณะ
แหง่ อนาคต และ สมรรถนะทางวิชาการ (Academic Competency) ประกอบด้วยความสามารถทาง
วิชาการ ในการเข้าใจและนาความรู้ไปใช้ สมรรถนะหลักดังกล่าวเป็นหนึ่งในเกณฑ์การสาเร็จ
การศกึ ษา ซ่ึงทุกคนจะต้องพฒั นาตนเองให้ได้ถึงระดบั มาตรฐานทุกสมรรถนะ นอกจากนนั้ ผ้สู าเร็จ
การศกึ ษาทกุ คนต้องมีทกั ษะทางภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และสขุ ภาพสขุ ภาวะที่ดดี ้วย
บทบาทครู ในฐานะผู้สนับสนุนการเรี ยนรู้ (LEARNING SUPPORT TEAM) ครู มีหน้าท่ี
สนบั สนนุ ให้ผ้เู รียนพฒั นาความสามารถพืน้ ฐานและความเช่ียวชาญเฉพาะทางจนบรรลเุ ปา้ หมายการ
เรียนรู้ของตนเอง รวมทงั้ เป้าหมายสาหรับการใช้ชีวิตในสงั คม โดยมีบทบาทท่ีสาคญั 3 ด้าน คือ ที่
ปรึกษา ผ้เู ช่ียวชาญเฉพาะทาง ทงั้ นีผ้ ้เู รียนจะทางานร่วมกบั ครูที่ปรึกษาอยา่ งเข้มข้นผ่านระบบการให้
21
คาปรึกษา (Advisory) เพ่ือช่วยให้ผ้เู รียนมีทิศทางในการวางแผนการเรียนรู้ กากับ ติดตาม ดูแลให้
ผ้เู รียนบรรลแุ ผนที่วางไว้ และชว่ ยสง่ เสริมให้ผ้เู รียนค้นพบความชอบ ความถนดั นาตนเองได้ แก้ปัญหา
ได้ด้วยตนเอง และพฒั นาตนเองได้ตามศกั ยภาพ รวมทงั้ การชว่ ยแก้ไขปัญหาท่ีผ้เู รียนอาจเผชญิ
ช่วงการเรียนรู้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (TSS STAGE OF LEARNING) ช่วงการเรียนรู้
คือแผนที่การเดินทางสาหรับผ้เู รียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ประกอบด้วยสิ่งท่ีผ้เู รียนสามารถทา
ได้ในแตล่ ะชว่ งการเรียนรู้ (รายวิชาและกิจกรรม) ระยะเวลาที่ใช้ในแตล่ ะชว่ งการเรียนรู้ (ขนึ ้ อยกู่ บั แต่
ล ะ บุค ค ล ) แ ล ะ เ ก ณ ฑ์ ก า ร ก้ า ว สู่ช่ว ง ถัด ไ ป ( พิ จ า ร ณ า จ า ก ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ ป็ น ห ลัก )
(satithighschool.2565: การเรียนรู้ชว่ งมธั ยมปลาย)
หลกั การสาคญั ของการเรียนชว่ งมธั ยมศกึ ษาตอนปลายนนั้ จะเน้นให้ผ้เู รียนเห็นภาพถึงอาชีพ
ในอนาคตเพื่อเตรียมตวั ท่ีจะเข้าศกึ ษาตอ่ ในระดบั อดุ มศกึ ษา หรือ ปวส. เพื่อให้ตวั ผ้เู รียนเกิดภาพและ
เลือกแนวทางในการทางานในอนาคตได้ จงึ เป็นสาเหตทุ ่ีทาให้เป็นหลกั การที่ผ้วู จิ ยั นามาเพ่ือเป็นข้อมลู
ในการจดั ทาตวั แปรของงานวจิ ยั นี ้
1.1.6 การวัดและประเมนิ ผลทางการศึกษา
การวดั และประเมินผลนนั้ ตวั ผ้วู จิ ยั เองเล็งเหน็ ความสาคญั เพราะการวดั ผลถือเป็นแกนหลกั ใน
การวดั คณุ ภาพการเรียนรู้ในชนั้ เรียนของนกั เรียน หากการวดั ผลมีคณุ ภาพมากและอย่ใู นมาตรฐาน
ของการเรียนของนกั เรียนนนั้ จะสามารถวดั ผลได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ จะเกี่ยวข้องกบั คา 3 คา คอื
1) การทดสอบ (testing) หมายถึง การนาเสนอชดุ คาถามท่ีเรียกว่าข้อสอบหรือแบบทดสอบท่ี
มีมาตรฐานให้ผ้สู อบตอบ
2) การวดั ผล (measurement) หมายถึงการวดั คณุ ลกั ษณะ (attribute)ของบุคคลจากผลการ
ตอบคาถามในแบบทสอบตามกฏเกณฑ์ท่ีกาหนด เพ่ือ แสดงคณุ ค่าเชิงปริมาณหรือตวั เลขทีวดั ได้การ
วดั ผลนอกจากใช้แบบทดสอบแล้วยงั รวมถึงการใช้เครื่องมืออ่ืนเพ่ือรวบรวมข้อมลู เชิงปริมาณหรือเชิง
คณุ ภาพด้วย เชน่ การสงั เกตพฤตกิ รรม การสมั ภาษณ์การตรวจผลงานตา่ งๆ ที่กาหนดให้ผ้ปู ระเมินทา
3) การประเมินผล (evaluation) หมายถึง กระบวนการอย่างมีระบบที่นาข้อมลู จากการวดั ผล
มาตคี า่ และตดั สนิ คณุ คา่ ของผ้เู รียน ซง่ึ การวดั ผลและการประเมนิ ผลเป็นกระบวนการท่ีมีความตอ่ เน่ือง
เมื่อมีการวัดผลจะทาให้ ได้ข้อมูลและรายละเอียดหลายด้ าน เมื่อนาข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์
เปรียบเทียบกบั เกณฑ์ใดเกณฑ์หนง่ึ เพ่ือตีคา่ หรือสรุปคณุ คา่ ออกมาถือว่าเป็นกระบวนการประเมิน ผล
การประเมินจะมีความถูกต้องเท่ียงตรงเพียงใดขึน้ กับความถูกต้ องของผลการวัดถ้ าผลการวัดถูก
22
ต้องการประเมินก็จะมีความเชื่อถือได้มากและตรงกับความเป็ นจริง ถ้าผลการวัดผิดพลาด การ
ประเมินก็จะผิดพลาดไปด้วย การวดั ผลและการประเมินผลมีความแตกต่างกนั (ไพศาล สวุ รรณน้อย,
2545)
ความสาคญั ของการวดั และประเมินผล การจดั การเรียนการสอนหนึ่งๆควรมีการตรวจสอบ
คณุ ภาพของผู้เรียน ผู้สอน และกระบวนการสอนเป็น ระยะๆ (formative evaluation)เพ่ือพิจารณา
ตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีคณุ สมบตั ิหรือเกิดพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ตรง ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการเรียน
การสอนตรงตามท่ีกาหนดไว้หรือไม่ กระบวนการวดั และประเมินผลนีจ้ ะพยายามทา ให้ได้ข้อมลู จาก
การจดั การเรียนการสอน เพื่อนามาใช้วิเคราะห์และตดั สินใจว่า การสอนดงั กล่าวนนั้ บรรลุผลหรือไม่
(summative evaluation)นาผลการตดั สินใจเพื่อประโยชน์ในการจดั ลาดบั เล่ือนชนั้ เรียนและพฒั นา
ปรับปรุงการ เรียนการสอนตอ่ ไป
ลักษณะสาคัญของการวัดและประเมินผลทางการศึกษา การวัดผลทางการศึกษา เป็ น
กระบวนการวดั การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมของผู้เรียนนิยมวดั ผลการเรียนรู้ เป็น 3 ด้าน คือ พทุ ธิพิสยั
(cognitive domain) จติ พสิ ยั (affective domain) และทกั ษะพิสยั (psychomotor domain) ซง่ึ การวดั
ลกั ษณะของการวดั ดงั กลา่ วมีประเดน็ ท่ีนา่ สนใจดงั นี ้
1) เป็นการวัดทางอ้ อม การวัดสติปัญญาซึ่งเป็ นคุณลักษณะท่ีแฝงอยู่ในตัวบุคคล มัก
แสดงออกทางด้าน พฤติกรรมท่ีตอบสนองต่อสิ่งเร้ าหรือเหตุการณ์ดงั นนั้ การวัดผล จึงเป็นการวัด
ทางอ้อม โดยการสงั เกตพฤติกรรมท่ี ตอบสนองต่อส่ิงเร้ า เหตกุ ารณ์สภาวการณ์ท่ีผู้ประเมินกาหนด
(หรือสร้างขนึ ้ เพ่ือใช้สาหรับการประเมินหรือ สถานการณ์สมมต)ิ
2) ลกั ษณะการวดั มกั ไม่สมบรู ณ์เนื่องจากลกั ษณะการวดั ส่วนใหญ่จะเป็นการใช้ข้อสอบเป็น
เครื่องมือ หรือสถาณการณ์สมมติซ่ึงการสร้ างข้อสอบแต่ละชุดก็เป็นการสุ่มตวั อย่างจากเนือ้ หา (ไม่
สามารถนาเนือ้ หามาสอบได้ ทัง้ หมด) ถึงแม้จะใช้ข้อสอบชุดเดียวกันผู้ถูกวัดคนเดิม แต่วัดคนละ
เหตกุ ารณ์ก็จะได้ผลไม่ตรงกนั เน่ืองจาก ธรรมชาตขิ องบคุ คลจะเกิดการเรียนรู้และพฒั นาตลอดเวลา
การวดั ผลครัง้ ท่ีสองยอ่ มได้ผลท่ีดีกวา่ ครัง้ แรกเสมอ
3) ผลการวัดมักเป็นค่าคะแนนสัมพัทธ์ท่ีเปรียบเทียบกับผู้สอบอ่ืนๆในกลุ่มเดียวกัน หรือ
เปรียบเทียบ ระหว่างการสอนในแต่ละครัง้ และมีความคลาดเคลื่อนเสมอ ถึงแม้จะใชเครื่องมือวดั ท่ีมี
มาตรฐานก็ตาม ลกั ษณะการประเมนิ ผลทางการศกึ ษาที่นยิ มใช้มี 2 ลกั ษณะคอื 1)ประเมนิ ผลเพื่อการ
23
พัฒนา (formative evaluation) เป็นการประเมินผลระหว่างการจัดการเรียนการสอน นิยมใช้ เพ่ือ
ตรวจสอบการเรียนรู้และความก้าวหน้า ของผู้เรียนหรือปรับปรุงคณุ ภาพการเรียนการสอน มกั ใช้
แบบทดสอบ การสงั เกต การซกั ถาม หรือเครื่องมือวดั อื่นๆ ท่ีเหมาะสม ระยะเวลามกั ทาเม่ือสิน้ สดุ การ
เรียนการสอนเรื่องหน่ึงๆ 2)การประเมินผลสรุป (summative evaluation) เป็นการประเมินผลเมื่อ
สิน้ สดุ การเรียนการสอนแล้ว มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือประเมินผลสมั ฤทธ์ิการเรียนรู้ ของผ้เู รียนมกั ทาปลาย
ภาคการศกึ ษา และตดั สินผลการเรียน โดยมีเกณฑ์ตดั สินท่ีชดั เจน เช่น การตดั สินแบบอิงกลุ่ม (เกรด
A, B, C, D, F) การตดั สินแบบอิงเกณฑ์ (60 เปอร์เซ็นต์สอบผ่าน) เป็นต้น โดยทว่ั ไปของการวดั ส่ิงใดก็
ตาม มักจะต้องกาหนดเป็าหมายหรือส่ิงที่จะวัดให้ชัดเจนว่าจะประเมินอะไรและประเมินอย่างไร
จากนัน้ จึงเลือกใช้ เคร่ืองมือและเทคนิคที่สอดคล้ องกับสิ่งที่จะประเมิน หากไม่มีเคร่ืองมือท่ีเป็น
มาตรฐาน มกั นิยมสร้ างขนึ ้ เองอย่างมี หลกั การ และขนั้ ตอนสดุ ท้ายคือการนาวิธีการและเครื่องมือไป
ประเมิน อย่างไม่มีอคติและยุติธรรม ผู้วัดควรตระหนัก ว่า การวัดผลจะมีความคาดเคลื่อนหรือ
ข้อผดิ พลาดเสมอ (รศ.สมชายรัตนทองคา.2565. การวดั และประเมินผลทางการศกึ ษา)
โดยสรุปแล้ว การวัดและประเมินผลนัน้ ตวั ผู้วิจัยเองเล็งเห็นว่าเป็นสิ่งสาคญั ในการจัดทา
รูปแบบการเรียนรู้ในกรอบตวั แปร เพื่อก่อให้เกิดแบบสอบถามที่มีคุณภาพและสามารถวัดผลของ
งานวิจยั ได้ ตวั ผ้วู ิจยั เองจึงนาการวดั ผลและการประเมินเข้ามาอย่ใู นงานวิจยั เนื่องด้วยเป็นเหตผุ ลท่ี
กอ่ ให้เกิดตวั แปรในกอบแนวคดิ ของงานวิจยั ในครัง้ นี ้
1.1.7 ความหมายของส่ือการสอน
(maymatavee.2016 : ความหมายของส่ือการสอน) ความหมายของส่ือการเรียนการสอน
(Instructional Media) ส่ือ (Media) หมายถึง ตวั กลางท่ีใช่ถ่ายทอดหรือนาความรู้ ในลกั ษณะต่าง ๆ
จากผ้สู ง่ ไปยงั ผ้รู ับให้เข้าใจ ความหมายได้ตรงกนั ในการเรียนการสอนสื่อที่ใช้เป็นตวั กลางนาความรู้ใน
กระบวนการสื่อความหมายระหวา่ งผ้สู อนกบั ผ้เู รียนเรียกวา่ สื่อการสอน (Instruction Media)
ในทางการศกึ ษามีคาที่มีความหมายแนวเดียวกันกับส่ือการเรียนการสอน เช่น ส่ือการสอน
(Instructional Media or Teaclning Media) ส่ือการสอน (Educational media) อุปกรณ์ช่วยสอน
(Teaching Aids) เป็นต้น ในปัจจุบนั นกั การศกึ ษามกั จะเรียกการนาส่ือการเรียนการสอนชนิดตา่ ง ๆ
มารวมกนั วา่ เทคโนโลยีทางการศกึ ษา(Educational) ซง่ึ หมายถึงการนาเอาวสั ดอุ ปุ กรณ์และวธิ ีการมา
ใช้ร่วมกนั อยา่ งมีระบบในการเรียนการสอน เพ่ือเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการสอน
24
ส่ือการเรียนการสอน หมายถึง ส่ิงตา่ งๆ ที่เป็นบคุ คล วสั ดุ อปุ กรณ์ ตลอดจนเทคนิควิธีการ ซงึ่
เป็นตวั กลางทาให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ตามจดุ ประสงค์ของการเรียนการสอนท่ีกาหนดไว้ได้อย่างง่าย
และรวดเร็วเป็นเครื่องมือและตวั กลางซงึ่ มีความสาคญั ในกระบวนการเรียนการสอนมีหน้าท่ีเป็นตวั นา
ความต้องการของครูไปสตู่ วั นกั เรียนอยา่ งถกู ต้องและรวดเร็วเป็นผลให้นกั เรียนเปล่ียนแปลงพฤติกรรม
ไปตามจดุ ม่งุ หมายการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นกั การศกึ ษาเรียกช่ือการสอนด้วยช่ือ
ตา่ ง ๆ เช่น อปุ กรณ์การสอน โสตทศั นปู กรณ์ เทคโนโลยีการศกึ ษา สื่อการเรียนการสอนส่ือการศึกษา
เป็นต้น
หลกั การใช้สื่อการเรียนการสอน การใช้สื่อการเรียนการสอนนนั้ อาจจะใช้เฉพาะขนั้ ตอนใด
ขนั้ ตอนหนงึ่ ของการสอน หรือจะใช้ในทกุ ขนั้ ตอนก็ได้ ดงั นี ้
ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรียน เพื่อกระต้นุ ให้ผ้เู รียนเกิดความสนใจในเนือ้ หาท่ีกาลงั จะเรียนหรือเนือ้ หาท่ี
เกี่ยวข้องกับการเรียนในครัง้ ก่อน แต่มิใช่สื่อที่เน้นเนือ้ หาเจาะลึกอย่างแท้จริง เป็นสื่อท่ีง่ายในการ
นาเสนอในระยะเวลาอนั สนั้
ขนั้ ดาเนินการสอนหรือประกอบกิจกรรมการเรียน เป็นขนั้ สาคญั ในการเรียนเพราะเป็นขนั้ ที่จะ
ให้ความรู้เนือ้ หาอย่างละเอียดเพื่อสนองวตั ถปุ ระสงค์ท่ีตงั้ ไว้ ต้องมีการจดั ลาดบั ขนั้ ตอนการใช้สื่อให้
เหมาะสมและสอดคล้องกบั กิจกรรมการเรียน
ขนั้ วิเคราะห์และฝึกปฏิบตั ิ สื่อในขนั้ นีจ้ ึงเป็นส่ือท่ีเป็นประเด็นปัญหาให้ผู้เรียนได้ขบคิดโดย
ผ้เู รียนเป็นผ้ใู ช้สื่อเองมากท่ีสดุ
ขนั้ สรุปบทเรียน เป็นขนั้ ของการเรียนการสอนเพ่ือการยา้ เนือ้ หาบทเรียนให้ผู้เรียนมีความ
เข้าใจท่ีถกู ต้องและตรงตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่ตงั้ ไว้ ควรใช้เพียงระยะเวลาสนั้ ๆ
ขัน้ ประเมินผู้เรียน เป็นการทดสอบความสามารถของผู้เรียนว่าผู้เรียนเข้าใจในสิ่งท่ีเรียน
ถกู ต้องมากน้อยเพียงใด สว่ นใหญ่แล้วจะเป็นการประเมินจากคาถามจากเนือ้ หาบทเรียนโดยอาจจะมี
ภาพประกอบด้วยก็ได้
ประเภทของสือ่ การเรียนการสอน
1.สื่อประเภทวสั ดุ ได้แก่ ส่ือเล็ก ซง่ึ ทาหน้าท่ีเก็บความรู้ในลกั ษณะของภาพเสียง และ อกั ษร
ในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีผู้เรียนสามารถใช้เป็นแหล่งหาประสบการณ์ หรือศึกษาได้อย่างแท้จริงและ
กว้างขวาง แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ
25
1.1 วัสดุที่เสนอความรู้ได้จากตัวมันเอง ได้แก่หนังสือเรียนหรือตาราของจริง
หนุ่ จาลอง รูปภาพ แผนภมู ิ แผนที่ ปา้ ยนิเทศ เป็นต้น
1.2 วัสดุท่ีต้องอาศัยส่ือประเภทเคร่ืองกลไก เป็นตัวนาเสนอความรู้ได้แก่ฟิ ล์ม
ภาพยนตร์ แผ่นสไลด์ ฟิ ล์มสตริป เส้นเทปบนั ทึกเทป รายการวิทยุ รายการโทรทศั น์ รายการท่ี
ใช้เครื่องชว่ ยสอน เป็นต้น
2. สื่อประเภทเครื่องมือ หรือโสตทศั นปู กรณ์ ได้แก่ ส่ือใหญ่ ท่ีเป็ฯตวั กลางหรือทางผ่านของ
ความรู้ ที่ถ่ายทอดไปยังครูและนักเรียน ส่ือประเภทนีต้ ัวมันเองแทบไม่มีประโยชน์ต่อการส่ือ
ความหมายเลยถ้าไม่มีใครรู้ในรูปแบบต่าง ๆ มาป้อนผ่านเครื่องกลไกลเหล่านี ้ สื่อประเภทนีจ้ ึง
จาเป็นต้องอาศยั สื่อประเภทวสั ดุ บางชนดิ เป็นแหลง่ ความรู้ให้มนั สง่ ผ่าน ซง่ึ จะทาให้ความรู้ที่สง่ ผา่ นมี
การเคลื่อนไหวไปส่นู กั เรียนจานวนมาก ได้ไกลๆ และรวดเร็ว และบางทีก็ทาหน้าท่ีเหมือนครูเสียเอง
เช่น เครื่องชว่ ยสอน ได้แก่เคร่ืองฉายภาพยนตร์ เครื่องเล่นแผน่ เสียง เครื่องบนั ทกึ เสียง เครื่องรับวิทยุ
เคร่ืองฉายภาพนิง่ ทงั้ หลาย
3.สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีการ ตวั กลางในกระบวนการเรียนการสอนไมจ่ าเป็นต้องใช้แตว่ สั ดุ
หรือเครื่องมือเท่านนั้ บางครัง้ จะต้องใช้เทคนิคและกลวิธีต่าง ๆ ควบค่กู ันไป โดยเน้นที่เทคนิคและ
วิธีการเป็นสาคญั
สือ่ การเรียนการสอนจาแนกตามประสบการณ์
1. ประสบการณ์ตรงและมีความมุ่งหมาย ประสบการณ์ขัน้ นี ้ เป็นรากฐานสาคัญของ
การศึกษาทงั้ ปวง เป็นประสบการณ์ท่ีผ้เู รียนได้รับมาจากความเป็นจริงและด้วยตวั เองโดยตรง ผ้รู ับ
ประสบการณ์นีจ้ ะได้เห็น ได้จับ ได้ทา ได้รู้สึก และได้ดมกลิ่นจากของจริง ดังนัน้ ส่ือการสอนที่ไห้
ประสบการณ์การเรียนรู้ในขนั้ นีก้ ็คอื ของจริงหรือความเป็นจริงในชีวิตของคนเรานนั่ เอง
2. ประสบการณ์จาลอง เป็นที่ยอมรับกนั ว่าศาสตร์ตา่ งๆ ในโลก มีมากเกินกวา่ ที่จะเรียนรู้ได้
หมดสิน้ จากประสบการณ์ตรงในชีวิต บางกรณีก็อย่ใู นอดีต หรือซบั ซ้อนเร้ นลับหรือเป็นอันตรายไม่
สะดวกตอ่ การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง จงึ ได้มีการจาลองส่ิงตา่ ง ๆ เหลา่ นนั้ มาเพ่ือการศกึ ษา ของ
จาลองบางอยา่ งอาจจะเรียนได้งา่ ยกวา่ และสะดวกกวา่
3. ประสบการณ์นาฏการ ประสบการณ์ต่าง ๆ ของคนเรานนั้ มีหลายส่ิงหลายอย่างที่เราไม่
สามารถประสบได้ด้วยตนเอง เชน่ เหตกุ ารณ์ในอดีต เรื่องราวในวรรณคดี การเรียนในเร่ืองท่ีมีปัญหา
26
เก่ียวกบั สถานท่ี หรือเรื่องธรรมชาติที่เป็นนามธรรม การแสดงละครจะชว่ ยไปให้เราได้เข้าไปใกล้ความ
เป็นจริงมากท่ีสดุ เชน่ ฉาก เคร่ืองแตง่ ตวั เครื่องมือ หนุ่ ตา่ ง ๆ เป็นต้น
4. การสาธิต การสาธิตคือ การอธิบายถึงข้อเท็จจริงหรือแบง่ ความคดิ หรือกระบวนการตา่ ง ๆ
ให้ผ้ฟู ังแลเห็นไปด้วย เชน่ ครูวทิ ยาศาสตร์เตรียมก๊าซออกซเิ จนให้นกั เรียนดู ก็เป็นการสาธิต การสาธิต
ก็เหมือนกบั นาฏการ หรือการศกึ ษานอกสถานท่ี เราถือเป็นสื่อการสอนอยา่ งหนง่ึ ซงึ่ ในการสาธิตนีอ้ าจ
รวมเอาสิ่งของท่ีใช้ประกอบหลายอย่าง นบั ตงั้ แตข่ องจริงไปจนถึงตวั หนงั สือ หรือคาพดู เข้าไว้ด้วย แต่
เราไม่เพ่งเล็งถึงส่ิงเหล่านี ้ เราจะให้ความสาคญั กับกระบวนการทงั้ หมดที่ผ้เู รี ยนจะต้องเฝ้าสงั เกตอยู่
โดยตลอด
5. การศึกษานอกสถานที่ การพานักเรียนไปศึกษานอกสถานท่ี เป็ นการสร้ างเสริม
ประสบการณ์ชีวิตเพื่อให้นกั เรียนได้เรียนจากแหล่งข้อมูล แหล่งความรู้ที่มีอย่จู ริงภายนอกห้องเรียน
ดงั นนั้ การศกึ ษานอกสถานท่ีจงึ เป็นวธิ ีการหนง่ึ ท่ีเป็นสื่อกลางให้นกั เรียนได้เรียนจากของจริง
6. นิทรรศการ นิทรรศการมีความหมายท่ีกว้างขวาง เพราะหมายถึง การจดั แสดงส่ิงต่างๆ
เพื่อให้ความรู้แก่ผ้ชู ม ดงั นนั้ นิทรรศการจงึ เป็นการรวมสื่อตา่ ง ๆ มากมายหลายชนิด การจดั นิทรรศการ
ท่ีให้ผ้เู รียนมามีส่วนร่วมในการจดั จะส่งเสริมให้ผ้เู รียนได้มีโอกาสคิดสร้างสรรค์มีสว่ นร่วม และได้รับ
ข้อมลู ย้อนกลบั ด้วยตวั ของเขาเอง
7. โทรทศั น์และภาพยนตร์ โทรทศั น์เป็นสื่อการสอนท่ีมีบทบาทมากในปัจจบุ นั เพราะได้เหน็ ทงั้
ภาพและได้ยินเสียงในเวลาเดียวกนั และยงั สามารถแพร่และถ่ายทอดเหตกุ ารณ์ที่กาลงั เกิดขนึ ้ ได้ด้วย
นอกจากนนั้ โทรทศั น์ยงั มีหลายรูปแบบ เช่น โทรทศั น์วงจรปิด ซ่ึงโรงเรียนสามารถนามาใช้ในการเรียน
การสอนได้เป็นอยา่ งดี นอกจากนีย้ งั มีโทรทศั น์วงจรปิด ท่ีเอือ้ ประโยชน์ตอ่ การศกึ ษาอย่างกว้างขวาง
ภาพยนตร์เป็นส่ือท่ีจาลองเหตกุ ารณ์มาให้ผ้ชู มหรือผ้เู รียนได้ ดแู ละได้ฟังอย่างใกล้เคียงกับความจริง
แต่ไม่สามารถถ่ายทอดเหตกุ ารณ์ที่กาลงั เกิดขึน้ ได้ ถึงอย่างไรก็ตามภาพยนตร์ก็ยงั นบั ว่าเป็นส่ือที่มี
บทบาทมากในการเรียนการสอน เชน่ เดยี วกนั กบั โทรทศั น์
8. ภาพนง่ิ การบนั ทกึ เสียง และวิทยุ ภาพน่ิง ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพวาดซงึ่ มีทงั้ ภาพทบึ แสงและ
โปร่งแสง ภาพทึบแสงคือรูปถ่าย ภาพวาด หรือภาพในส่ิงพิมพ์ต่าง ๆ ส่วนภาพนิ่งโปร่งใสหมายถึง
สไลด์ ฟิล์มสตริป ภาพโปร่งใสท่ีใช้กบั เคร่ืองฉายวสั ดโุ ปร่งใส เป็นต้น ภาพนิง่ สามารถจาลองความเป็น
จริงมาให้เราศกึ ษาบนจอได้ การบนั ทกึ เสียง ได้แก่ แผ่นเสียงและเครื่องเล่นแผน่ เสียง เทปและเครื่อง
บนั ทึกเสียง และเคร่ืองขยายเสียงตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกับเสียงซึ่งนอกจากจะสามารถ
27
นามาใช้อยา่ งอิสระในการเรียนการสอนด้วยแล้ว ยงั ใช้กบั รายการวิทยแุ ละกิจกรรมการศกึ ษาอ่ืน ๆ ได้
ด้วย ส่วนวิทยนุ นั้ ปัจจบุ นั ท่ียอมรับกนั แล้วว่า ช่วยการศกึ ษาและการเรียนการสอนได้มาก ซง่ึ ไมจ่ ากดั
อยแู่ ตเ่ พียงวทิ ยโุ รงเรียนเทา่ นนั้ แตย่ งั หมายรวมถึงวทิ ยทุ ว่ั ไปอีกด้วย
9. ทศั นสญั ลกั ษณ์ สื่อการสอนประเภททศั นสญั ญลกั ษณ์นี ้มีมากมายหลายชนดิ เชน่ แผนภมู ิ
แผนภาพ แผนที่ แผนผงั ภาพโฆษณา การ์ตนู เป็นต้น สื่อเหล่านีเ้ ป็นสื่อที่มีลกั ษณะเป็นสัญลักษณ์
สาหรับถ่ายทอดความหมายให้เข้าใจได้รวดเร็วขนึ ้
10. วจนสญั ลกั ษณ์ สื่อขนั้ นีเ้ป็นส่ือที่จดั วา่ เป็นขนั้ ที่เป็นนามธรรมมากท่ีสดุ ซงึ่ ได้แก่ตวั หนงั สือ
หรืออกั ษร สญั ลกั ษณ์ทางคาพูดที่เป็นเสียงพดู ความเป็นรูปธรรมของส่ือประเภทนีจ้ ะไม่คงเหลืออยู่
เลย อย่างไรก็ดี ถึงแม้ส่ือประเภทนีจ้ ะมีลกั ษณะท่ีเป็นนามธรรมที่สุดก็ตามเราก็ใช้ประโยชน์จากสื่อ
ประเภทนีม้ าก เพราะต้องใช้ในการส่ือความหมายอยตู่ ลอดเวลา
สือ่ การเรียนการสอนจาแนกตามคณุ สมบตั ิ Wilbure Young ได้จดั แบง่ ไว้ดงั นี ้
1. ทศั นวสั ดุ (Visual Materials) เชน่ กระดานดา กระดานผ้าสาลี) แผนภมู ิ รูปภาพ ฟิล์มสตริป
สไลด์ ฯลฯ
2. โสตวัสดุ (Audio Materisls ) เช่น เครื่องบันทึกเสียง (Tape Recorder) เครื่องรับวิทยุ
ห้องปฏิบตั กิ ารทางภาษา ระบบขยายเสียง ฯลฯ
3. โสตทศั นวสั ดุ (Audio Visual Materials) เชน่ ภาพยนตร์ โทรทศั น์ ฯลฯ
4. เครื่องมือหรืออุปกรณ์ (Equipments) เช่น เคร่ืองฉายภาพยนตร์ เคร่ืองฉายฟิ ล์มสตริป
เคร่ืองฉายสไลด์
5. กิจกรรมตา่ ง ๆ (Activities )เชน่ นิทรรศการ การสาธิต ทศั นศกึ ษา ฯลฯ
สื่อการเรียนการสอนจาแนกตามรูปแบบ(Form)Louis Shores ได้แบ่งประเภทส่ือการสอน
ตามแบบไว้ ดงั นี ้
1. สง่ิ ตีพมิ พ์ (Printed Materials) เชน่ หนงั สือแบบเรียน เอกสารการสอน ฯลฯ
2 วสั ดกุ กราฟิก เชน่ แผนภมู ิ ( Charts) แผนสถิติ (Graph) แผนภาพ (Diagram) ฯลฯ
3. วสั ดฉุ ายและเครื่องฉาย (Projected Materials and Equipment) เชน่ ภาพยนตร์ สไลด์ ฯล
4. วสั ดถุ า่ ยทอดเสียง (Transmission) เชน่ วทิ ยุ เคร่ืองบนั ทกึ เสียง
28
สือ่ การเรียนการสอนตามลกั ษณะและการใช้
1. เครื่องมือหรืออปุ กรณ์ (Hardware)
2. วสั ดุ (Software)
3. เทคนคิ หรือวธิ ีการ (Techinques or Methods)
คณุ ค่า และประโยชน์ของสือ่ การเรียนการสอน
1. ชว่ ยให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ได้แก่
1.1 เรียนรู้ได้ดขี นึ ้ จากประสบการณ์ท่ีมีความหมายในรูปแบบตา่ งๆ
1.2 เรียนรู้ได้อยา่ งถกู ต้อง
1.3 เรียนรู้ได้ง่ายและเข้าใจได้ชดั เจน
1.4 เรียนรู้ได้มากขนึ ้
1.5 เรียนรู้ได้ในเวลาท่ีจากดั
2. ชว่ ยให้สามารถเอาชนะข้อจากดั ตา่ ง ๆ ในการเรียนรู้ ได้แก่
2.1 ทาส่ิงนามธรรมให้เป็นรูปธรรมมากขนึ ้
2.2 ทาสง่ิ ซบั ซ้อนให้ง่ายขนึ ้
2.3 ทาสง่ิ เคล่ือนไหวช้าให้เร็วขนึ ้
2.4 ทาสง่ิ เคลื่อนไหวเร็วให้ช้าลง
2.5 ทาสิ่งเลก็ ให้ใหญ่ขนึ ้
2.6 ทาสิ่งใหญ่ให้เลก็ ลง
2.7 นาส่ิงท่ีอยไู่ กลมาศกึ ษาได้
2.8 นาสงิ่ ที่เกิดในอดตี มาศกึ ษาได้ชว่ ยกระต้นุ ความสนใจของผู้
2.9 ชว่ ยให้จดจาได้นาน เกิดความประทบั ใจและมนั่ ใจในการเรียน
2.10 ชว่ ยให้ผ้เู รียนได้คดิ และแก้ปัญหา
2.11 ชว่ ยแก้ปัญหาเร่ืองความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
คณุ ค่าของสือ่ การเรียนการสอนการเรียนการสอน
29
1.ส่ือการเรี ยนการสอนสามารถเอาชนะข้ อจากัดเร่ื องความแตกต่างกันของประสบการณ์
ดงั้ เดมิ ของผ้เู รียน คอื เมื่อใช้สื่อการเรียนการสอนแล้วจะชว่ ยให้เด็กซ่ึงมีประสบการณ์เดมิ ตา่ งกนั เข้าใจ
ได้ใกล้เคยี งกนั
2.ขจดั ปัญหาเกี่ยวกบั เรื่องสถานท่ี ประสบการณ์ตรงบางอยา่ ง หรือการเรียนรู้
3.ทาให้เดก็ ได้รับประสบการณ์ตรงจากส่งิ แวดล้อมและสงั คม
4.ส่ือการเรียนการสอนทาให้เด็กมีความคิดรวบยอดเป็นอยา่ งเดยี วกนั
5.ทาให้เดก็ มีมโนภาพเร่ิมแรกอยา่ งถกู ต้องและสมบรู ณ์
6.ทาให้เด็กมีความสนใจและต้องการเรียนในเรื่องตา่ ง ๆ มากขนึ ้ เช่นการอา่ น ความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์ ทศั นคติ การแก้ปัญหา ฯลฯ
7.เป็นการสร้างแรงจงู ใจและเร้าความสนใจ
8.ชว่ ยให้ผ้เู รียนได้มีประสบการณ์จากรูปธรรมสนู่ ามธรรม
โดยสรุปแล้ว สื่อการสอนนนั้ เป็นส่ิงสาคญั ที่ทาให้การถ่ายทอดความรู้จากผ้สู อนส่ผู ้เู รียนนนั้
เป็นรูปธรรมมากขนึ ้ และเป็นเคร่ืองมือที่ผ้สู อนทกุ คนควรจะมี เพ่ือให้เกิดภาพในการเรียนรู้ของนกั เรียน
โดยตวั ผ้วู ิจยั เองเล็งเห็นถึงปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในครัง้ นี ้จงึ นา
สื่อการสอนมาเป็นตวั แปรอสิ ระในการวิจยั ครัง้ นี ้
1.2 ทฤษฏีทเี่ ก่ยี วข้อง
1.2.1 ทฤษฎีเก่ียวกับการยอมรับ
(สนุ ีรัตน์เสริมประสาทกลุ ,2541:8) ได้ให้ค่านิยามไว้ว่า การยอมรับนวตั กรรมหมายถึง การ
ตดั สินใจท่ีจะนานวตั กรรมนนั้ ไปใช้อย่างเตม็ ท่ี เพราะนวตั กรรมนนั้ เป็นวิธีทางที่ดีกว่าและมีประโยชน์
กว่าการยอมรับนวตั กรรมของบคุ คลเกิดขึน้ เป็นกระบวนการเร่ิมตงั้ แตไ่ ด้สมั ผสั นวตั กรรมถูกชกั จงู ให้
ยอมรับนวตั กรรมตดั สินใจยอมรับหรือปฏิเสธปฏิบตั ิตามการตดั สินใจและยืนยนั ตามการปฏิบตั ินนั้
กระบวนการนีอ้ าจใช้เวลาช้าหรือเร็วขนึ ้ อยกู่ บั ปัจจยั ท่ีสาคญั คือตวั บคุ คลและลกั ษณะของนวตั กรรม
ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับการยอมรับไว้ว่า หมายถึงการที่ประชาชนได้เรียนรู้ผ่านการศกึ ษา
โดยขนั้ ตอนการรับรู้การยอมรับจะเกิดขึน้ ได้หากมีการเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้นนั้ จะได้ผลก็
ตอ่ เมื่อบคุ คลนนั้ ได้ทดลองปฏิบตั ิจนเม่ือเขาแน่ใจวา่ ส่ิงประดิษฐ์นนั้ สามารถให้ประโยชน์อยา่ งแน่นอน
เขาจึงกล้าลงทนุ สร้างหรือซือ้ สิ่งประดิษฐ์นนั้ ดงั นนั้ จึงสรุปได้ว่า การยอมรับเป็นพฤติกรรมของแตล่ ะ
30
บุคคล ในการรับเอาสิ่งใหม่มายึดถือปฏิบตั ิด้วยความเต็มใจโดยท่ีพฤติกรรมนนั้ มีการเปล่ียนแปลง
อยา่ งเป็นกระบวนการและมีระยะเวลา
(จิระวัฒน์วงศ์สวัสดิวัฒน์, 2529:16) ได้ให้ความหมายถึง กระบวนการยอมรับ (Adoption
Process) ว่าคือกระบวนการทางจิตใจซึ่งบุคคลรู้สึกจากการได้ยินครัง้ แรกเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
จนถึงการยอมรับและนาไปใช้กระบวนการยอมรับนวตั กรรมนนั้ นกั วิชาการด้านสงั คมตา่ งเห็นด้วยกัน
ว่าการยอมรับนวัตกรรมเป็นผลมาจากเหตุการณ์ท่ีเกิดขึน้ ต่อเนื่องอย่างเป็นกระบวนการแม้ว่า
รายละเอียดแตกต่างกันแต่ก็มาจากพืน้ ฐานเดียวกันของเอเวอร์เรดเอ็มโรเจอร์ (Roger,1995) ซึ่งมี
แนวคดิ กระบวนการยอมรับนวตั กรรมดงั นี ้
1.1 ขนั้ ตระหนกั หรือขนั้ ต่ืนตวั (Awareness Stage) เป็นขนั้ ท่ีบคุ คลรู้วา่ มีความคดิ ใหมส่ ่ิงใหม่
หรือนวตั กรรมเกิดขึน้ แต่ยงั ขาดความรู้เก่ียวกบั นวตั กรรมนนั้ ขนั้ สนใจ (Interest Stage) บคุ คลเริ่มมี
ความสนใจในนวตั กรรมและพยายามแสวงหาข้อมลู หรือความรู้เพิม่ เตมิ เก่ียวกบั นวตั กรรมนนั้
1.2 ขนั้ ประเมินผล (Evaluation Stage) บคุ คลจะทาการประเมินผลในสมองของตนโดยลอง
นึกวา่ ถ้ายอมรับนวตั กรรมนนั้ มาใช้ปฏิบตั แิ ล้วจะเหมาะสมกบั เหตกุ ารณ์ในปัจจบุ นั หรืออนาคตหรือไม่
จะให้ผลค้มุ คา่ กบั ความเสี่ยงภยั หรือไม่
1.3 ขนั้ ทดลอง (Trial Stage) บคุ คลระนานวตั กรรมมาลองใช้หรือทดลองปฏิบตั ิในวงจากัด
ก่อนเพ่ือดวู ่านวตั กรรมนนั้ มีประโยชน์เข้ากบั สถานการณ์ของตนหรือไม่ขนั้ ยอมรับ (Adoption Stage)
บคุ คลยอมรับนวตั กรรมโดยนานวตั กรรมมาใช้อยา่ งเตม็ ท่ีสม่าเสมอ
ปรีชา วนั ดี (2545)การยอมรับของแตล่ ะบคุ คลนนั้ สามารถถือได้วา่ เป็นการเปล่ียนแปลงทาง
พฤติกรรมอย่างหน่ึงการยอมรับหมายถึงการที่บุคคลได้รับการเรียนรู้ผ่านระบบการศึกษาสามารถ
อธิบายไดโดยผ่านขนั้ ตอนการรับรู้การยอมรับจะเกิดข้ึนเม่ือได้มีการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประกอบการ
เรียนรู้จะได้ผลก็ต่อเมื่อบุคคลนัน้ ได้ทดลองปฎิบัติจนเกิดความแน่ใจว่าสิ่งนัน้ ๆ มีประโยชน์การ
ยอมรับเป็นพฤตกิ รรมระดบั บคุ คลซง่ึ ในการท่ีจะยอมรับเอาสิ่งหนงึ่ สิ่งใดท่ีตนเห็นวา่ เป็นสิ่งที่ดีกวา่ ทงั้
รูปธรรมและนามธรรมไปปฎิบตั ิด้วยความพอใจและการยอมรับจะเกิดขึน้ ได้โดยผ่านขัน้ ตอนการ
เรียนรู้และได้ทดลองมาขนั้ หนึ่งแล้ว โดยมีระยะเวลาในการตดั สินใจรับเอาส่ิงนนั้ ๆ อาจจะกินเวลา
เป็นปีๆ ซึ่งการยอมรับเป็นกระบวนการการตดั สินใจเก่ียวกับ ส่ิงใหม่และเกิดขึน้ ในสมอง โดยผ่าน
ขนั้ ตอนตา่ ง ๆ ตงั้ แตข่ นั้ แรกที่มีความรู้เก่ียวกับ ส่ิงใหม่ไปจนถึงขนั้ ยืนยนั การตดั สินใจที่กระทาไปแล้ว
31
ซึ่งนบั เป็นการตดั สินใจแบบพิเศษมีการเปล่ียนแปลงอย่างเป็นกระบวนการ และมีระยะเวลาที่ชดั เจน
ซึ่งการยอมรับของบุคคลใดเพื่อประโยชน์ต่างๆ นัน้ ตามแนวคิดของ Roger (1962) จะต้องผ่าน
กระบวนการยอมรับ (Adoption Process) ประกอบไปด้วย 5 ขนั้ ตอนคือ
1. ขนั้ แห่งการรับรู้ (Awareness Stage) เป็นขนั้ ที่บุคคลต่ืนตวั รู้เร่ืองราวต่าง ๆโดยผ่านการ
สงั เกต การฟังและการพบเหน็ แตไ่ มท่ ราบถึงรายละเอียดปลีกยอ่ ยตา่ งๆ
2. ขัน้ สนใจและหาความรู้เพิ่มเติม (Interest Stage) เป็นขัน้ ที่เริ่มมีความสนใจแสวงหา
ขา่ วสารรายละเอียดเกี่ยวกบั สงิ่ ใหมเ่ พ่มิ เตมิ ขนั้ นีแ้ ตกต่างจากขนั้ ตอนแรกเป็นพฤตกิ รรมท่ีเป็นไปใน
ลกั ษณะที่ตงั้ ใจและใช้กระบวนการคดิ มากกวา่ กระบวนการขนั้ แรก
3. ขนั้ ประเมินคา่ (Evaluation Stage) เป็นขนั้ ที่เริ่มพิจารณาประเมินคณุ คา่ ของสิ่งใหมโ่ ดยมี
การเปรียบเทียบผลได้-เสียขนั้ ตอนนีแ้ ตกตา่ งจากขนั้ ตอนอื่นๆ ตรงที่เกิดการตดั สินใจที่
จะใช้ หรือเกิดการลองของใหม่
4. ขนั้ ทดลอง (Trial Stage) เป็นขนั้ ที่บคุ คลลองใช้สิง่ ใหมก่ บั สถานการณ์ของตนเพ่ือดคู วาม
เป็นไปได้ของการใช้ และผลที่เกิดจากการใช้กอ่ นท่ีจะยอมรับจริง
5. ขนั้ การยอมรับ (Adoption Stage) เป็นขนั้ ที่บคุ คลยอมรับสิ่งใหมไ่ ปใช้ในสถานการของตน
อยา่ งจริงจงั และเตม็ ที่ขนั้ ตอนนีเ้มื่อเกิดการทดลองจนทราบถงึ ประโยชน์ที่เกิดกบั ผ้ใู ช้แล้ว
ประสบการณ์ท่ีเกิดขนึ ้ นนั้ จะมีอิทธิพลมากท่ีสดุ
โดยสรุปแล้วทฤษฏีของการยอมรับนนั้ จะเป็นส่ิงท่ีตวั ผ้วู ิจยั เองจะตงั้ คาถามกบั ตวั นกั เรียนให้
ตวั นกั เรียนเห็นภาพถึงการยอมรับรูปแบบการเรียนรู้ผ่านการออกแบบสอบถามในตวั แปรตามของ
ผ้วู ิจยั เอง ขนั้ ตอนของการยอมรับนนั้ ตวั ผ้วู ิจยั จาเป็นต้องศกึ ษาอยา่ งละเอียดเพื่อประกอบการสร้างข้อ
คาถามของงานวิจยั ตอ่ ไป
1.2.2 ทฤษฎีการยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี
การยอมรับของผ้บู ริโภคที่มีต่อนวตั กรรมและเทคโนโลยี (adoption and innovation theory)
เรียกวา่ กระบวนการยอมรับซึ่งกล่าวถึงพฤติกรรมของบุคคลในสงั คมที่แสดงออกถึงการยอมรับนาไป
ปฏิบตั ิ โดยแบง่ ออกเป็น 5 ขนั้ ตอน
32
ขนั้ ที่ 1 การรับรู้ (awareness stage) เป็นขนั้ แรกที่จะนาไปสู่การยอมรับหรือปฏิเสธสิ่งใหม่
วธิ ีการใหม่ ๆ ที่เก่ียวข้องกบั การประกอบอาชีพ หรือกิจกรรมของบคุ คลนนั้ ยงั ไมม่ ีความรู้ลกึ ซงึ ้ เก่ียวกบั
เนือ้ หา หรือคณุ ประโยชน์ของนวตั กรรมนนั้ ๆ ทาให้เกิดความอยากรู้นนั้ ตอ่ ไป
ขนั้ ที่ 2 สนใจ (interest stage) เป็นขนั้ ที่เร่ิมมีความสนใจ หารายละเอียดเก่ียวกับวิทยาการ
ใหม่ ๆ เพิ่มเติม จะทาให้ความรู้เก่ียวกบั วิธีการใหม่ ๆ หรือส่ิงใหม่ ๆ มากขนึ ้ ทงั้ นีข้ นึ ้ อย่กู บั บคุ ลิกภาพ
และคา่ นิยม ตลอดจนบรรทดั ฐานทางสงั คม หรือประสบการณ์เก่า ๆ ของบคุ คลนนั้
ขัน้ ท่ี 3 ประเมินค่า (evaluation stage) เป็นขัน้ ท่ีจะได้ไตร่ตรองถึงประโยชน์ในการลองใช้
วิธีการหรือวิทยาการใหม่ ๆ ดีหรือไม่ เมื่อนามาใช้แล้วจะเป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองหรือไม่ โดยบคุ คลนนั้
มกั จะคิดวา่ การใช้วิทยาใหม่ ๆ เป็นการเส่ียงทาให้ไม่แนใ่ จถึงผลท่ีจะได้รับ ในขนั้ นีจ้ ึงเป็นการสร้างแรง
เสริม (reinforcement) เพ่ือให้เกิดความแน่ใจยิ่งขนึ ้ วา่ สิ่งที่เขาตดั สินใจเพื่อเป็นการสร้างความรู้สึกที่ดี
ตอ่ นวตั กรรมมีคณุ คา่ และมีประโยชน์
ขนั้ ที่ 4 ทดลอง (trial stage) เป็นขนั้ ที่ใช้วิทยาการใหม่ ๆ นนั้ กับสถานการณ์ตนเองเป็นการ
ทดลองบางส่วนก่อนเพื่อจะได้ดวู ่าผลลพั ธ์และประโยชน์ที่จะได้รับว่าดีจริงอย่างที่คิดไว้ในขนั้ ประเมิน
ซง่ึ ผลการทดลองจะมีความสาคญั อยา่ งย่งิ ตอ่ การตดั สนิ ใจท่ีจะปฏิเสธหรือยอมรับตอ่ ไป
ขนั้ ที่ 5 ยอมรับ (adoption stage) เป็นขนั้ ท่ีบคุ คลรับวิทยาการใหม่ ๆ นนั้ ไปใช้ในการปฎิบตั ิ
กิจกรรมของตนอยา่ งเตม็ ที่ หลงั จากได้ทดลองปฏิบตั ดิ แู ละเหน็ ประโยชน์แล้วยอรับนวตั กรรมเหลา่ นนั้
ราตรี เอ่ียมประดษิ ฐ์..(2556) ได้กลา่ ววา่ การยอมรับนวตั กรรม เป็นพฤตกิ รรมของแตล่ ะบคุ คล
ในการรับเอาส่ิงใหม่มายดึ ถือปฏิบตั ิด้วยความเตม็ ใจ โดยที่พฤติกรรมนนั้ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็น
กระบวนการเริ่มตงั้ แต่ การรับรู้ ขา่ วสารเก่ียวกบั นวตั กรรมหรือเทคโนโลยีหนงึ่ ๆ ไปถงึ การยอมรับอยา่ ง
เตม็ ท่ีโดยเปิดเผย
ศริ ิพงษ์ โคกมะณี..(2555) ได้กลา่ ววา่ การยอมรับนวตั กรรม หมายถงึ กระบวนการทางจติ ใจที่
บคุ คลมีตอ่ ส่ิงใดส่ิงหนึ่งแล้วแสดงออกว่าเห็นด้วย หรือลงความเห็นเป็นสิ่งให้เกิดประโยชน์ในทางท่ีดี
กบั ผ้ยู อมรับ
จีรพร ทองเวียง..(2555) ได้กลา่ ววา่ การยอมรับนวตั กรรม เกิดขนึ ้ ในสงั คมจากความพยายาม
ของมนษุ ย์ท่ีจะแก้ปัญหาในการปฏิบตั งิ านให้มีประสิทธิภาพยิ่งขนึ ้ ดงั นนั้ การยอมรับ
33
1.2.3 ทฤษฏีสภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมในการเรียนรู้
การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment ) (BANGNACAMPUS .2014 :
ทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเรียนรู้) มีความหมายวา่ สิ่งตา่ ง ๆ สภาวแวดล้อมท่ีอย่รู อบ ๆ
ตวั ผ้เู รียน ทงั้ ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ส่งผลตอ่ ผ้เู รียนทงั้ ทางบวกและทางลบ และมีผลกระทบตอ่
ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู้ของผ้เู รียน เชน่ ห้องเรียนท่ีถกู สขุ ลกั ษณะ มีแสงสวา่ งพอเพียง
สะอาด สงบ อากาศถ่ายเท มีส่ิงอานวยความสะดวกท่ีมีคณุ ภาพเหมาะสมและสนบั สนนุ การเรียนรู้ มี
บรรยากาศในการเรียนที่ดี ก็จะส่งผลทางบวกต่อผ้เู รียน ทาให้ผ้เู รียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มีความ
ตงั้ ใจและกระตือรือร้นในการเรียน หากบรรยากาศเตม็ ไปด้วยความสกปรกรกรุงรัง สกปรก เตม็ ไปด้วย
ข้าวของท่ีไม่เป็นระเบียบ ก็จะส่งผลทางลบต่อผ้เู รียนทาให้บรรยากาศในการเรียนเต็มไปด้วยความ
เคร่งเครียด ผ้สู อนก็จะรู้สกึ ท้อถอย ไมเ่ ป็นผลดตี อ่ การเรียนการสอน
การจดั สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกบั วยั และระดบั ของผ้เู รียนจะเป็นส่งิ ท่ี จะเป็นสง่ิ ท่ีสนบั สนนุ
ทาให้ผู้เรียนมีความรู้สึกท่ีอยากเรียนและเกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้เพ่ิมขึน้ ความสาคัญของ
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้มีหลายประการได้แก่
1. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้สนับสนุนและอานวยความสะดวกในการเรียนการสอน
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสม เช่นห้องเรียนมีความสะดวกสบาย มีอุปกรณ์และส่ือการเรียน
การสอนครบถ้วน ทาให้ผ้เู รียนมีความสขุ ในการเรียน ผ้สู อนก็มีความสขุ ในการสอน สิ่งตา่ ง ๆ เหลา่ นีก้ ็
จะชว่ ยสนบั สนนุ และสง่ เสริมให้การเรียนการสอนดาเนนิ ไปด้วยความราบรื่น สะดวก รวดเร็ว ตามแผน
ที่วางไว้
2. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้สนับสนุนการเรียนรู้หลายด้านเชน่ ทาให้ผ้เู รียนเกิดความ
ประทบั ใจ เป็นตวั กระต้นุ ผ้เู รียนให้มีความสนใจและเกิดแรงจงู ใจในการเรียนเปลี่ยนเจตคตไิ ปในทางท่ี
ดี มีความพึงพอใจในการเรียนช่วยให้เกิดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ปัจจยั สาคญั ในกระบวนการเรียน
การสอนก็คือความรู้สึกท่ีเกิดจากตวั ผ้เู รียน ความรู้สึกพึงพอใจ สนใจ อยากเรียน อยากรู้ ซ่ึงจะเป็น
ตวั การนาไปสกู่ ารเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพในท่ีสดุ ดงั นนั้ ถ้าผู้เรียนอย่ใู นสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่ี
สมบูรณ์ ทัง้ ทางด้านกายภาพ จิตภาพ และทางด้านสังคมภาพแล้ว จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด
ความรู้สกึ ดงั กลา่ วได้
34
3. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ช่วยจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีพึงประสงค์ให้แก่ผ้เู รียน
ประสบการณ์การเรียนรู้ขึน้ อย่กู บั สภาพแวดล้อม ตามปกติแล้วการรับรู้และการเรียนรู้ของผ้เู รียนจะ
เกิดขึน้ หลงั จากที่ได้ปะทะสมั พนั ธ์กับสิ่งภายนอกที่มากระต้นุ ประสาทสมั ผสั ของผู้เรียน การปะทะ
สมั พนั ธ์กบั ส่ิงตา่ ง ๆ เป็นการสร้างประสบการณ์ ดงั นนั้ ถ้าเราต้องการให้ผ้เู รียนได้รับประสบการณ์การ
เรียนรู้ที่ดีก็ต้องจดั ให้ผ้เู รียนอยใู่ นสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่ีดีก่อนแล้วสภาพแวดล้อมตา่ ง ๆ เหลา่ นนั้
จะเป็นตวั กาหนดประสบการณ์ของผ้เู รียนภายหลงั
4. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่ีดีจะช่วยพัฒนาบุคลิกภาพของผู้เรียน จุดมุ่งหมายท่ี
สาคญั ของการจดั การศึกษาประการหน่ึงก็คือมุ่งให้ผู้เรียนมีบุคลิกภาพดี มีการแสดงออกทางกาย
วาจาและใจตามแบบอยา่ งที่สงั คมยอมรับกลา่ วคือมีคณุ ธรรม และจริยธรรมท่ีเป็นเคร่ืองหมายของคน
ดี มีการประพฤติ ปฏิบตั ิสามารถดารงชีวิตอย่ใู นสงั คมได้อย่างดี การที่จะหล่อหลอมพฤติกรรม หรือ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียนให้เป็นไปในทิศทางท่ีพึงประสงค์นนั้ ต้องใช้เวลา และอาศยั ปัจจัย
หลายอย่างประกอบกนั จึงจะสามารถกลอ่ มเกลาผ้เู รียนได้ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ถือวา่ เป็นปัจจยั
หนง่ึ ที่จะชว่ ยปรับหรือโน้มน้าวพฤตกิ รรมของผ้เู รียนโดยเฉพาะสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศ
ท่ีอบอ่นุ เป็นมิตร มีความเป็นประชาธิปไตย ยอมรับฟังความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน ตดั สินปัญหาด้วย
เหตผุ ลตา่ ง ๆ เหลา่ นีจ้ ะคอ่ ย ๆ แทรกซมึ เข้าไปในความรู้สกึ นึกคดิ ของผ้เู รียน สะสมทีละน้อยจนในที่สดุ
ก็จะแสดงออกในลกั ษณะของบคุ ลกิ ภาพรูปแบบในการรับรู้ ตลอดจนคา่ นิยมตา่ ง ๆ ของผ้เู รียน
5. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้มีส่วนช่วยในการควบคุมชัน้ เรียนให้ผู้เรียนมีระเบียบวินัย
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้เป็นตวั กาหนดอาณาเขตของการเรียน ทาให้มีบรรยากาศที่แตกตา่ งไปจาก
กิจกรรมอื่น ยกตัวอย่างเช่น ลักษณะของสภาพแวดล้ อมในสถานเริงรมย์ ผู้เรียนเมื่ออยู่ใน
สภาพแวดล้อมทางการเรียนท่ีจัดไว้ อย่างเหมาะสม ก็จะรู้จักสารวมอยู่ในระเบียบวินัยมากขึน้
โดยเฉพาะถ้ามีการจดั โต๊ะ เก้าอี ้ ของนักเรียนอย่างมีวัตถุประสงค์ จะช่วยให้การควบคุมชนั้ เรียนมี
ระบบระเบียบ และงา่ ยสาหรับผ้สู อนมากขนึ ้
6. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้เป็ นแหล่งทรัพยากรทางการเรียน การจดั สภาพแวดล้อม
การเรียนรู้ในปัจจบุ นั เป็นไปอยา่ งกว้างขวาง หลายแหลง่ เห็นความสาคญั ของมมุ วิชาการ ศนู ย์วชิ าการ
มมุ ส่ือการเรียนการสอน ทาให้ทงั้ ผ้เู รียนและผ้สู อน สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมได้
ตลอดเวลาท่ีต้องการ เป็นการสง่ เสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
ยดึ เด็กเป็นศนู ย์กลางได้อย่างดี นอกจากนีแ้ หล่งทรัพยากรการเรียนจะช่วยพฒั นาความรับผิดชอบให้
35
เกิดขึน้ ในตวั ผ้เู รียนตลอดจนเป็นการสร้างนิสยั ให้ใฝ่ เรียนใฝ่ รู้ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ไม่ยึดติดอยู่
เฉพาะความรู้ที่ได้จากผ้สู อน
7. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้เสริมสร้ างบรรยากาศในการเรียน สภาพแวดล้อมการ
เรียนรู้ที่ดีจะทาให้บรรยากาศในการเรียนเอือ้ ต่อการเรียนการสอนให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลมากท่ีสุด ในสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีความสะดวกสบาย สงบ ปราศจาก
สง่ิ รบกวน จะชว่ ยสร้างบรรยากาศทางวิชาการให้เกิดขึน้ ทาให้ผ้เู รียนมีความกระตอื รือร้นที่จะศกึ ษาหา
ความรู้หรือทากิจกรรมการเรียนตา่ ง ๆ อย่างตงั้ ใจและมีสมาธิ ยิ่งถ้าผ้สู อนและเพื่อนร่วมชนั้ ซ่ึงจดั ว่า
เป็นสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ด้านจิตภาพมีบคุ ลิกลกั ษณะท่ีอบอ่นุ เป็นมิตร ก็จะย่ิงทาให้บรรยากาศ
ในการเรียนการสอนเป็นไปในทิศทางที่พงึ ประสงค์มากยง่ิ ขนึ ้
8. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และ
ผ้เู รียนกบั ผ้เู รียนด้วยกนั การจดั สถานที่ โต๊ะ เก้าอี ้อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ให้ง่ายตอ่ การเคลื่อนไหวโยกย้าย ทา
ให้ผ้สู อนไปถึงตวั ผ้เู รียนได้สะดวก ตาแหน่งของผู้สอนไม่จาเป็นต้องอย่หู น้าชนั้ เสมอไป ผ้สู อนอาจนง่ั
อยทู่ า่ มกลางผ้เู รียนเพื่อให้คาปรึกษา แนะแนวทางสภาพแวดล้อมเชน่ นีช้ ว่ ยให้ผ้สู อนมีความใกล้ชิดกบั
ผ้เู รียนมากขนึ ้ ทาให้ได้รู้จกั อปุ นสิ ยั ตลอดจนพฤตกิ รรมของผ้เู รียนเป็นรายบคุ คลได้ดี สว่ นผ้เู รียนจะลด
ความกลวั และมีความกล้ามากขนึ ้ กล้าพดู กล้าแสดงความคดิ เหน็ มีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ ผ้สู อน
9. สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่เี หมาะสมจะช่วยลดความเม่ือยล้าหรือ ความอ่อนเพลีย
ทางด้านสรีระของผ้เู รียนเชน่ การจดั โต๊ะเก้าอีท้ ่ีมีขนาดพอเหมาะกับร่างกายของผ้เู รียนช่วยให้การนงั่
สบายสามรถนง่ั ได้นาน ๆ โดยไมป่ วดหลงั การให้แสงสวา่ งในห้องเรียนท่ีเหมาะ จะชว่ ยให้ผ้เู รียนคลาย
ความเม่ือยล้าของสายตา นอกจากนีย้ งั เป็นการส่งเสริมพฒั นาการของผ้เู รียนด้ านร่างกาย อารมณ์
สงั คม และสตปิ ัญญาด้วย
1.2.4 ทฤษฏีเทคโนโลยกี ับการพัฒนาการเรียนการสอน
(หยาดอรุณ ชาตสิ มบรู ณ์. (2009) เทคโนโลยีกบั การพฒั นาการเรียนการสอน) ปัจจบุ นั ทว่ั โลก
ให้ ความสาคัญกับการลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( Information and
Communication Technology : ICT) เพื่อนามาใช้ เป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาประเทศทัง้ ด้ าน
เศรษฐกิจ สงั คม และการศกึ ษา จนเกิดภาพความแตกตา่ งระหว่างประเทศท่ีมีความพร้อมทาง ICT กบั
ประเทศท่ีขาดแคลนที่เรียกว่า Digital Divide ในขณะเดียวกนั ประเทศทวั่ โลกตา่ งมงุ่ สร้างสงั คมใหม่ให้
เป็นสงั คมท่ีใช้ความรู้เป็นฐาน (Knowledge Based Society) จนเกิดภาพความแตกตา่ งระหว่างสงั คม
36
ท่ีสมบูรณ์ด้วยความรู้กับสังคมที่ด้อยความรู้ ที่เรียกว่า Knowledge Divide ในยุคของการปฏิรูป
การศึกษา เราเร่งพฒั นาการศึกษาให้การศึกษาไปพัฒนาคณุ ภาพของคน เพ่ือให้คนไปช่วยพฒั นา
ประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) จงึ เป็นเคร่ืองมือท่ีมีพลานภุ าพสงู ในการช่วยเพ่ิม
ประสิทธิภาพของการจดั การศึกษา เช่น ช่วยนาการศึกษาให้เข้าถึงประชาชน (Access) ส่งเสริมการ
เรียนรู้ต่อเน่ืองนอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอธั ยาศัย ช่วยจดั ทาข้อมูลสารสนเทศเพื่อการ
บริหารและจดั การ ช่วยเพ่ิมความรวดเร็วและแม่นยาในการจดั ทาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การ
เก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมตา่ ง ๆ ในงานจดั การศกึ ษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยี
เพ่ือช่วยการเรียนการสอน แตก่ ารให้ความสนใจกับการใช้เทคโนโลยีชว่ ยการเรียนรู้ของผ้เู รียนก็อาจ
หลงทางได้ ถ้าผ้บู ริหารสถานศกึ ษายึดถือการมีเทคโนโลยีเป็นจดุ หมายปลายทางของการศกึ ษา แทนที่
จะยึดถือผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นจุดหมาย ปรากฎการณ์ของการหลงทางจะพบเห็นในการ
ประชาสมั พนั ธ์ถึงความพร้อมทางระบบคอมพิวเตอร์ การมีเครือข่ายโยงเข้า Internet สะดวก ผ้เู รียน
เรียนรู้การใช้เทคโนโลยี และมีโอกาสใช้ได้เต็มที่ แต่ในบางสถานศึกษาผู้เรียนอาจใช้เทคโนโลยีไม่
คุ้มค่า ขาดเป้าหมายในการเรียนรู้สาระสาคัญตามหลักสูตรวิชาต่าง ๆ และขาดโอกาสในการใช้
เทคโนโลยีเพื่อพฒั นากระบวนการทางปัญญาอยา่ งแท้จริง
เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศพั ท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี
(วิทยา) หมายถึง ศาสตร์ท่ีว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลมุ ระบบการนาวิธีการ มาปรับปรุง
ประสิทธิภาพของการศึกษาให้สงู ขึน้ เทคโนโลยีทางการศกึ ษาครอบคลมุ องค์ประกอบ 3 ประการ คือ
วสั ดุ อปุ กรณ์ และวิธีการ (boonpan edt01.htm)
เทคโนโลยีกบั การเรียนการสอนทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การเรียนการสอนมี 3 ลกั ษณะ คอื
1. การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี (Learning about Technology) ได้แก่ เรียนรู้ระบบการ
ทางานของคอมพิวเตอร์ เรียนรู้จนสามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ได้ ทาระบบข้อมูลสารสนเทศเป็น
สื่อสารข้อมลู ทางไกลผา่ น Email และ Internet ได้ เป็นต้น
2. การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี (Learning by Technology) ได้แก่ การเรียนรู้ความรู้ใหม่ ๆ
และฝึกความสามารถ ทกั ษะ บางประการโดยใช้ส่ือเทคโนโลยี เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
เรียนรู้ทกั ษะใหม่ ๆ ทางโทรทศั น์ที่สง่ ผา่ นดาวเทียม การค้นคว้าเรื่องท่ีสนใจผา่ นInternet เป็นต้น
37
3. การเรียนรู้กับเทคโนโลยี (Learning with Technology) ได้แก่ การเรียนรู้ด้วยระบบการ
สื่อสาร 2 ทาง (interactive) กบั เทคโนโลยี เช่นการฝึกทกั ษะภาษากบั โปรแกรมท่ีให้ข้อมลู ย้อนกลบั ถึง
ความถกู ต้อง (Feedback) การฝึกการแก้ปัญหากบั สถานการณ์จาลอง (Simulation) เป็นต้น
เปา้ หมายของเทคโนโลยีการศึกษา
1. การขยายพิสัยของทรัพยากรของการเรียนรู้ กล่าวคือ แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ มิได้
หมายถึงแตเ่ พียงตารา ครู และอปุ กรณ์การสอน ท่ีโรงเรียนมีอย่เู ทา่ นนั้ แนวคิดทางเทคโนโลยีทางการ
ศกึ ษา ต้องการให้ผ้เู รียนมีโอกาสเรียนจากแหล่งความรู้ท่ีกว้างขวางออกไปอีก แหล่งทรัพยากรการ
เรียนรู้ครอบคลมุ ถึงเรื่องตา่ งๆ เชน่
1.1 คน ได้แก่ ครู และวิทยากรอ่ืน ซ่ึงอย่นู อกโรงเรียน เช่น เกษตรกร ตารวจ บรุ ุษไปรษณีย์
เป็นต้น
1.2 วสั ดแุ ละเคร่ืองมือ ได้แก่ โสตทศั นวสั ดอุ ปุ กรณ์ตา่ ง ๆ เชน่ ภาพยนตร์ วทิ ยุ โทรทศั น์ เครื่อง
วิดีโอเทป ของจริงของจาลองสง่ิ พมิ พ์ รวมไปถงึ การใช้ส่ือมวลชนตา่ งๆ
1.3 เทคนิค-วิธีการ แตเ่ ดิมนนั้ การเรียนการสอนส่วนมาก ใช้วิธีให้ครูเป็นคนบอกเนือ้ หา แก่
ผ้เู รียนปัจจบุ นั นนั้ เปิดโอกาสให้ผ้เู รียนได้ศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเองได้มากที่สดุ ครูเป็นเพียง ผ้วู างแผน
แนะแนวทางเทา่ นนั้
1.4 สถานที่ อนั ได้แก่ โรงเรียน ห้องปฏิบตั ิการทดลอง โรงฝึกงาน ไร่นา ฟาร์ ม ท่ีทาการรัฐบาล
ภเู ขา แมน่ า้ ทะเล หรือสถานที่ใด ๆ ท่ีชว่ ยเพ่มิ ประสบการณ์ท่ีดแี ก่ผ้เู รียนได้
2. การเน้นการเรียนรู้แบบเอกตั บคุ คล ถึงแม้นกั เรียนจะล้นชนั้ และกระจดั กระจาย ยากแก่การ
จดั การศกึ ษาตามความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลได้ นกั การศกึ ษาและนกั จิตวิทยาได้พยายามคดิ หาวิธี
นาเอาระบบการเรียนแบบตวั ต่อตวั มาใช้ แตแ่ ทนที่จะใช้ครูสอนนกั เรียนทีละคน เขาก็คิด‘แบบเรียน
โปรแกรม’ ซึ่งทาหน้า ที่สอน ซ่ึงเหมือนกับครูมาสอน นกั เรียนจะเรียนด้วยตนเอง จากแบบเรียนด้วย
ตนเองในรูปแบบเรียนเป็นเล่ม หรือเคร่ืองสอนหรือสื่อประสมหลายๆ อย่าง จะเรียนช้าหรือเร็วก็ทาได้
ตามความสามารถของผ้เู รียนแตล่ ะคน
3. การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา การใช้วิธีระบบ ในการปฏิบตั ิหรือแก้ปัญหา เป็น
วิธีการที่เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เช่ือถือได้ว่าจะสามารถแก้ปัญหา หรือช่วยให้งานบรรลุเป้าหมายได้
เนื่องจากกระบวนการของวิธีระบบ เป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบของงานหรือของระบบ อย่างมี
เหตผุ ล หาทางให้สว่ นตา่ ง ๆ ของระบบทางาน ประสานสมั พนั ธ์กนั อยา่ งมีประสิทธิภาพ
38
4.พฒั นาเคร่ืองมือ-วสั ดอุ ปุ กรณ์ทางการศกึ ษาวสั ดแุ ละเครื่องมือต่างๆที่ใช้ในการศกึ ษาหรือ
การเรียนการสอนปัจจบุ ันจะต้องมีการพฒั นาให้มีศกั ยภาพหรือขีดความสามารถในการทางานให้สงู
ยิ่งขนึ ้ ไปอีก
ปัจจยั ทีม่ ีผลต่อการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยี
ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่เกิดขนึ ้ ยงั มีผลกระทบตอ่ สงั คมในทางลบท่ีเป็นลกู โซ่
ตามมาด้วย ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปนีค้ ือ
1. ผลกระทบตอ่ ชมุ ชน การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีด้านตา่ งๆ ท่ีเกิดขนึ ้ สง่ ผลให้มนษุ ย์มี
สว่ นร่วมในสงั คมลดน้อยลง ความรู้สกึ วา่ เป็นสว่ นหนง่ึ ของชมุ ชน มีความสมั พนั ธ์กบั เพ่ือน
บ้านหายไป เพราะมนษุ ย์ทกุ คนสามารถพง่ึ ตนเองได้
2. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีทาให้เกิดเทคโนโลยีที่ ใช้
แรงงานคนน้อยลง ผ้ทู ี่มีทนุ มากอาจนาเทคโนโลยีใหม่มาใช้งานทงั้ หมดเป็นธุรกิจขนาด
ใหญ่มากขนึ ้ ทาให้ธุรกิจขนาดเล็กหดลงแตใ่ นทางตรงกนั ข้ามการท่ีแตล่ ะคนสามารถเป็น
เจ้าของเทคโนโลยีท่ีมีขนาดเล็กอาจจะทาให้เขากลายเป็นนายทนุ อิสระ หรือรวมตวั เป็น
สหกรณ์เจ้าของเทคโนโลยีร่วมกนั และอาจทาให้เกิดองค์กรทางธุรกิจใหม่ ๆ ได้
3. ผลกระทบด้านจิตวิทยา ความเจริญทางเทคโนเลยีที่เพ่ิมขึน้ ในเครื่องมือส่ือสารทาให้
มนุษย์มีการติดต่อสื่อสารผ่านทางจออิเล็กทรอนิกส์เท่านนั้ จึงทาให้ความสัมพนั ธ์ของ
มนุษย์ต้องแบ่งแยกเป็น ความสัมพนั ธ์อนั แท้จริงโดยการสื่อสารกันตัวต่อตวั ที่บ้านกับ
ความสัมพันธ์ ผ่านจออิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงมีผลให้ ความร้ ู สึกนึกคิดในความเป็ นมนุษย์
เปลี่ยนไป
4. ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีบางตวั มีผล กระทบต่อ
สภาพแวดล้อมด้วย นอกจากนีก้ ารสร้างเทคโนโลยีการผลติ มากขนึ ้ มีผลทาให้มีการขดุ ค้น
พลังงานธรรมชาติมาใช้ได้มากขึน้ และเร็วขึน้ เป็นการทาลายทรัพยากรธรรมชาติใน
ทางอ้อมและการสร้ างโรงงานอุตสาหกรรมเพ่ิมขึน้ โดยปราศจากทิศทางการดูแลที่
เหมาะสมจะทาให้สง่ิ แวดล้อม อาทิ แมน่ า้ พืน้ ดนิ อากาศ เกิดมลภาวะมากยง่ิ ขนึ ้
5. ผลกระทบทางด้านการศกึ ษานวตั กรรมทางการศกึ ษามีลักษณะตามธรรมชาติท่ีเป็นส่ิง
ใหม่ดังนัน้ ในความใหม่จึงอาจทาให้ ทัง้ ครูและผู้ท่ีเกี่ยวข้ องเช่นนักเทคโนโลยีทาง
การศกึ ษาผ้บู ริหารการศกึ ษาอาจตงั้ ข้อสงสยั และไมแ่ นใ่ จว่าจะมีความพร้อมท่ีจะนามาใช้
39
เมื่อใดและเม่ือใช้แล้วจะทาให้เกิดผลสาเร็จมากน้อยอย่างไรแตน่ วตั กรรมก็ยงั มีเสน่ห์ใน
การดงึ ดดู ความสนใจเกิดการต่ืนตวั อยากรู้อยากเห็นตามธรรมชาติของมนุษย์ หรืออาจ
เกิดผลในเชงิ ตรงข้ามคอื กลวั และไมก่ ล้าเข้ามาสมั ผสั ส่งิ ใหม่เพราะเกิดความไมแ่ นใ่ จวา่ จะ
ทาให้เกิดความเสียหายหรือใช้เป็นหรือไม่ครูในฐานะผ้ใู ช้นวตั กรรมโดยตรงจงึ ต้องมีความ
ตื่นตวั และหมนั่ ติดตามความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีต่างๆให้ทนั ตามความก้าวหน้า
และเลือกนวตั กรรมและเทคโนโลยีท่ีสอดคล้องกับสถานภาพและส่ิงแวดล้อมของตนเอง
การหมั่นศึกษาและติดตามความรู้วิทยาการใหม่ ๆ ให้ทันจะช่วยทาให้การตดั สินใจนา
นวตั กรรมมาใช้เพื่อการศกึ ษาสามารถทาได้อยา่ งถกู ต้องมีประสิทธิภาพและลดการเส่ียง
และความสนั้ เปลืองงบประมาณและเวลาได้มากที่สดุ
1.2.5 ทฤษฎีเก่ียวกับการเรียนรู้
ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ ช่ื อ ม โ ย ง ข อ ง ธ อ ร์ น ไ ด ค์ ( Thorndike Connected Theory)ธ อ ร์ น ไ ด ค์
(Thorndike)นกั จิตวิทยาชาวอเมริกา เป็นผู้นาทฤษฎีหลกั การเรียนรู้ของทฤษฎีนีก้ ล่าวถึง การเชื่อมโยง
ระหวา่ งส่ิงเร้า (Stimulus) กบั การตอบสนอง (Response) โดยมีหลกั เบือ้ งต้นวา่ การเรียนรู้เกิดจากการ
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและตอบสนองโดยแสดงในรูปแบบตา่ งๆจนกวา่ จะเป็นท่ีพอใจท่ีเหมาะสมที่สดุ
ซ่ึงเรียกว่าการลองผิดลองถูก (Trial and Error) ทิศนา แขมมณี. (2548) กล่าวว่า กฎการเรียนรู้ตาม
ทฤษฎีเช่ือมโยงประกอบ ด้วยกฎ 3 ข้อ ดงั นี ้
1. กฎแหง่ ความพร้อม (Law of Readiness)
กฎนีก้ ลา่ วถึงสภาพความพร้อมของผ้เู รียนทงั้ ทางร่างกายและจิตใจ ความพร้อมทางร่างกายหมายถึง
ความพร้อมทางวฒุ ิภาวะและอวยั วะต่างๆของร่างกาย ทางด้านจิตใจหมายถึงความพร้อมที่เกิดจาก
ความพงึ พอใจเป็นสาคญั ถ้าเกิดความพงึ พอใจยอ่ มนาไปสกู่ ารเรียนรู้ ถ้าเกิดความไมพ่ งึ พอใจจะทาให้
ไมเ่ กิดการเรียนรู้หรือทาให้การเรียนรู้หยดุ ชะงกั ไป
2. กฎแหง่ การฝึกหดั (Law of Exercise)
กฎนีก้ ลา่ วถึง การสร้างความมนั่ คงของการเช่ือมโยงระหวา่ งสิ่งเร้ากบั การตอบสนองท่ีถกู ต้องโดยการ
ฝึกหดั กระทาซา้ บอ่ ยๆ ย่อมทาให้เกิดการเรียนรู้ได้นานและคงทนถาวร จากกฎข้อนีแ้ บ่งออกเป็นกฎ
ยอ่ ยๆ อีก 2 ข้อ คือ
2.1 กฎแหง่ การใช้ (Law of Used) เม่ือเกิดความเข้าใจหรือการเรียนรู้แล้วมีการกระทาหรือนา
สิ่งที่เรียนรู้นนั้ ไปใช้บอ่ ยๆ จะทาให้การเรียนรู้นนั้ คงทนถาวร
40
2.2 กฎแห่งการไม่ใช้ (Law of Disused) เมื่อเกิดความเข้าใจหรือการเรียนรู้แล้วไม่มีการ
กระทาซา้ าบอ่ ยๆ หรือไม่ได้นาไปใช้จะ ทาให้การเรียนรู้นนั้ ไมค่ งทนถาวรหรือในที่สดุ เกิดการลืมจนไม่
สามารถเรียนรู้ได้อีกเลย
3. กฎแห่งผลท่ีได้รับ (Law of Effect) กฎนีก้ ล่าวถึงผลที่ได้รับเม่ือแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้
แล้ววา่ ถ้าได้รับผลท่ีพึงพอใจ ผ้เู รียนยอ่ มอยากจะเรียนรู้อีกต่อไป แตถ่ ้าได้รับผลที่ไมพ่ ึงพอใจ ผู้เรียน
ยอ่ มไมอ่ ยากเรียนรู้หรือเกิดความเบื่อหนา่ ยตอ่ การเรียนรู้ดงั นนั้ ถ้าจะทาให้การเชื่อมโยง ระหวา่ งสงิ่ เร้า
กบั การตอบสนอง ความมน่ั คงถาวร ต้องให้ผ้เู รียนได้รับผลท่ีพึงพอใจ ซง่ึ ขนึ ้ อย่กู บั ความพึงพอใจของ
แตล่ ะบคุ คลทฤษฎีการเรียนรู้ของ Luker (ดร.อนตั ต์ลคั นหทยั (ผ้รู วบรวม)) ลเู คอร์เป็นอาจารย์หวั หน้า
ภาควิชาจิตวิทยาแห่ง University of northern Colorado มลรัฐโคโลราโดประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผู้
ท่ีมีความคิดเห็นอย่ใู นนกั จิตวิทยาสกลุ Phenomenology ซ่ึงเน้นในความเชื่อเก่ียวกบั พฤติกรรมของ
คนว่าเกิดจากตวั บคุ คล สิ่งแวดล้อมและภาวะปัจจบุ นั มาก กว่า คือ ในระหว่างท่ีมีพฤติกรรมในแนวใด
แนวหนงึ่ สาเหตจุ ะเน่ืองมาจากวา่ ในขณะที่บคุ คลมีการรับรู้ความคิด ความรู้สกึ ทศั นคตคิ า่ นิยม และ
แรงขบั จากส่ิงแวดล้อมที่เกิดขนึ ้ ในภาวะหนง่ึ ๆ เป็นอยา่ งนนั้ แล้วปรากฏออกมาในรูปของพฤตกิ รรม
ขนั้ การเรียนรู้ (Level of learning) มีอยู่ 5 ขนั้ ตอนคอื
1. ขนั้ ของคาพดู ในระดบั นีเ้ราสามารถทอ่ งจาบทเรียนได้แตโ่ ดยที่ยงั ไมม่ ีความเข้าใจในสิ่งท่ีตวั
พดู หรือทอ่ งบน่ ออกมาเชน่ การที่ครูสอนให้เดก็ เล็กทอ่ งอาขยานหรือสตู รคณู
2. ขนั้ ของคาพดู และความเข้าใจผ้เู รียนสามารถอธิบายให้ตนเองหรือผ้อู ื่นเข้าใจได้ด้วยการใช้
ภาษางา่ ยๆ ของตวั เอง สามารถใช้คาพดู งา่ ยๆ อธิบายสิง่ ที่เป็นหลกั วชิ าได้
3. ขัน้ ท่ีสามารถนาไปประยุกต์ได้ ผู้เรียนสามารถจะนาสิ่งท่ีตนเรียนรู้ไปประยุกต์ใน
ชีวิตประจาวันได้แต่ไม่สามารถจะอธิบายออกมาให้คนอื่นเข้าใจได้เช่น ช่างเครื่องยนต์บางคนที่
สามารถจะแก้เคร่ืองยนต์ท่ีเสียจนใช้การได้แตเ่ ขาไม่สามารถสอนให้ผ้อู ่ืนให้ทา หรือให้เข้าใจในวิธีการ
ของเขาได้
4. ขั้นที่สามารถนาไปประยุกต์ได้และด้วยความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในขัน้ นีผ้ ู้เรียนเข้าใจใน
บทเรียนมากถึง ขนาดที่สามารถนาไปประยกุ ต์และพร้อมที่จะอธิบายให้ผ้อู ื่นเข้าใจได้อย่างดด้วยเช่น
เขาสามารถใส่ถ่านวิทยุได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจในหลักวิชาที่ว่าจะต้องเอาขัว้ ไฟฟ้าบวกต่อกับ
ขวั้ ไฟฟา้ ลบวงจรไฟฟ้าจงึ จะเปิดและเกิดการไหลของไฟฟ้าได้เป็นต้น