41
5. ขนั้ ที่สามารถนาไปประยกุ ตไ์ ด้ด้วยความเข้าใจอย่างถ่องแท้และเหมาะสม ในขนั้ นีน้ อกจาก
ความเข้าใจอย่าง ลึกซึง้ ในบทเรียนแล้ว ผ้เู รียนมีความโน้มเอียงที่จะทากิจกรรมตามท่ีตนเข้าใจและ
เช่ือม่ันนัน้ และสามารถจะนาไปปฏิบัติในสภาพการณ์อ่ืนที่เหมาะสมและสมควรต่อไปการปรับ
พฤตกิ รรมคือการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมของบคุ คลให้มีความเหมาะสม โดยการนาเอาแนวคิด ทฤษฎี
การเรียนรู้การวางเงื่อนไข และแนวคิดทางจิตวิทยาต่างๆ ที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์เข้ามา
ประยุกต์ใช้การปรับพฤติกรรมจึงเป็นการนาเอาหลกั การแห่งพฤติกรรม (Behavior Principles) มา
ประยกุ ต์ใช้เพ่ือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างเป็นระบบ ซ่ึงหลกั การแห่งพฤติกรรมนนั้ เป็นหลกั การที่
ครอบคลุม ทงั้ แนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไข และแนวคิดทางจิตวิทยาต่างๆ ที่ศึกษา
เก่ียวกบั พฤติกรรมของมนษุ ย์เข้ามาประยกุ ต์ใช้ได้ โดยมีความเชื่อที่ว่าความรู้สึก (Feeling) ความรู้คดิ
(Cognitive) และพฤตกิ รรม (Behavior) มีผลซงึ่ กนั และกนั ดงั นนั้ หากสามารถควบคมุ สภาพแวดล้อม
ได้ก็สามารถที่จะทาให้ เกิดการเปล่ียนแปลงท่ีพฤติกรรมโดยตรงแต่หากไม่สามารถควบคุม
สภาพแวดล้อมได้จะต้องกระทาโดยการเปล่ียนท่ีความรู้สึก (Feeling)หรือการรู้คิด (Cognitive) ซึ่ง
สามารถสง่ ผลให้พฤตกิ รรมเปลี่ยนได้ในที่สดุ
1.2.6 ทฤษฎีรูปแบบการเรียนรู้
จาแนกตามพฤตกิ รรมท่ีแสดงในชนั้ เรียนทฤษฎีรูปแบบการเรียนรู้ Learning Style จาแนกตาม
แบบการคิด (สภาพความคิดของบุคคลที่มีผลมาจากสภาพแวดล้อมลักษณะทางกายภาพฯลฯ)
รูปแบบการเรียนรู้ จาแนกตามพฤตกิ รรมท่ีแสดงในชนั้ เรียน
ทฤษฎีของ Grasha & Reichman
1. แบบแขง่ ขนั - ชอบเอาชนะเพื่อน
2. แบบอิสระ - เช่ือมน่ั
3. แบบหลีกเล่ียง - ไมส่ นใจ
4. แบบพงึ่ พา - อาจารย์และเพ่ือน เป็นแหลง่ ความรู้
5. แบบร่วมมือ - ร่วมมือแสดงความเห็น ทงั้ ในและนอกชนั้ เรียน
6. แบบมีสว่ นร่วม - จะพยายามมีสว่ นร่วมให้มากท่ีสดุ ในกิจกรรมการเรียน (ในชนั้ เรียน) แต่
จะไมส่ นใจกิจกรรมนอกหลกั สตู รเลย
ทฤษฎีของ วทิ คนิ และคณะ
42
1. แบบพง่ึ พาสภาพแวดล้อม (Field dependent)
2. แบบไมพ่ งึ่ พาสภาพแวดล้อม (Field independent)
แบบท่ี 1 (Field dependent)
แบบที่ 2 (Field independent)
- มองภาพรวม - มองอยา่ งวเิ คราะห์
- อยใู่ ต้อิทธิพลของสงิ่ แวดล้อม - ไมอ่ ยใู่ ต้อทิ ธิพลของส่ิงแวดล้อม
- ต้องการแรงเสริมจากสงั คม - เป็นตวั ของตวั เอง
- รับรู้ในเรื่องของมโนทศั น์ - ชอบทดสอบสมมตฐิ าน
- ชอบใช้อวจั นภาษาในการสื่อสาร - ชอบความเป็นระบบ ยดึ ถือหลกั การ
ทฤษฎีของ คาร์ล จี จงุ
แบง่ คนเป็น 2 แบบ
1. พวกเก็บตวั (Introver)
2. พวกแสดงตวั (Extrover)
ทฤษฎีของ Kagan และคณะ แบง่ วธิ ีคดิ ของมนษุ ย์เป็น 3 ประเภท
1. คิดแบบวิเคราะห์ Analytical Style รับรู้ส่ิงเร้ าในรูปของส่วนย่อยมากกว่าส่วนรวม นา
สว่ นยอ่ ยมาประกอบเป็นความนกึ คดิ
2. คดิ แบบโยงความสมั พนั ธ์ Relational Style พยายามโยงสง่ิ ตา่ ง ๆ ให้มาสมั พนั ธ์กนั
3. แบบจาแนกประเภท Categorical Style จัดส่ิงเร้ าเป็ นประเภทตามความรู้ หรื อ
ประสบการณ์ โดยไมค่ านงึ ถึงข้อเทจ็ จริงท่ีปรากฏในส่งิ เร้านนั้
3.1 คิดแบบวิเคราะห์ จะใช้ข้อเท็จจริงที่ปรากฏในภาพหรือสิ่งเร้านนั้ เป็นเกณฑ์ เช่น รูปตา่ ง
เหมือนกัน มีขนาดเท่ากัน น่ังเหมือนกัน ตาบอดเหมือนกัน ขาหักเหมือนกัน มีลายเหมือนกัน มีสี
เหมือนกนั ทาด้วยวสั ดอุ ยา่ งเดยี วกนั
3.2 คิดแบบโยงความสมั พนั ธ์ จะใช้เหตผุ ลเพ่ือโยงความสมั พนั ธ์ระหว่างภาพตา่ ง ๆ ท่ีปรากฏ
เช่น คนใช้ไม้บรรทดั แก้วนา้ ใช้คกู่ บั ขวด ผ้ชู ายเป็นสามาของผ้หู ญิง แจกนั ใช้วางบนโต๊ะ คนสองคนนี ้
เป็นพี่น้องกนั สวมกางเกงต้องคาดเขม็ ขดั
43
3.3 คิดแบบจาแนกประเภท จะพยายามจดั ภาพต่าง ๆ ให้เป็นพวกเดียวกัน เช่น เป็นของใช้
เหมือนกัน เป็นเคร่ืองมือวัดเหมือนกัน เป็นสิ่งมีชีวิตเหมือนกัน เป็นอาวุธเหมือนกัน เป็นเคร่ืองดื่ม
เหมือนกนั เป็นอปุ กรณ์กีฬาเหมือนกนั เป็นต้น
ทฤษฎีของ Honey & Mumford
แบง่ คนเป็น 4 รูปแบบ ดงั นี ้
1. รับรู้ประสบการณ์ใหม่ Pragmatist Activist
2. นกั ปฏิบตั ิ นกั กิจกรรม
3. ประยกุ ตส์ กู่ ารปฏิบตั ิ พิจารณาไตร่ตรองTheorist Reflector
4. นกั ทฤษฎี นกั ไตร่ตรอง นาไปสร้างเป็นทฤษฎี
สรุป รูปแบบการเรียนรู้ (Learning Style) เป็นบคุ ลิกของนกั ศกึ ษาท่ีอธิบายวา่
- นกั ศกึ ษาเรียนอยา่ งไรที่จะทาให้เข้าใจเนือ้ หาวิชาได้ดีที่สดุ
- นกั ศกึ ษามีพฤตกิ รรมเฉพาะบคุ คลอย่างไรเก็บตวั แสดงตวั รอบคอบ หนุ หนั พลนั แลน่
ตดั สินใจด้วยญาณวิถี ตดั สินใจด้วยเหตผุ ล
- นกั ศกึ ษามีความสามารถในการรับและคงไว้ซงึ่ สง่ิ ที่เรียนอยา่ งไร
งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวข้อง
2.1 โรคโควิด-19 หรือไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ 2019
คือ ไวรัสในกล่มุ โคโรนา ที่เพ่ิงมีการค้นพบใหม่(ไม่เคยมีการพบเชือ้ นีใ้ นคนมาก่อน) โดยพบ
ครัง้ แรกที่เมืองอฮู่ นั่ มณฑลหเู ป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในชว่ งปลายปี 2019 จากข้อมลู ณ วนั ที่ 25
มกราคม พ.ศ. 2563 พบว่ามีผ้ปู ่ วยโรคปอดอกั เสบจากเชือ้ ไวรัสนีจ้ านวน1,354 ราย เสียชีวิต 41 ราย
นอกจากนีไ้ วรัสสามารถแพร่กระจายจากคนสคู่ นได้ผ่านทางการไอ จามสมั ผสั นา้ มกู นา้ ลาย ดงั นนั้ จงึ
ต้องระมดั ระวงั ไม่ให้ผู้ป่ วยท่ีมีอาการทางเดินหายใจสงสัยจากเชือ้ โควิด-19ไปสัมผัสใกล้ชิดหรือใช้
สิ่งของร่วมกนั กบั ผ้อู ื่น เพื่อลดความเส่ียงในการแพร่กระจายเชือ้ ผ้ปู ่ วยที่ต้องสงสยั โรคโควิด-19 จะมี
อาการไข้ ร่วมกบั อาการทางเดนิ หายใจ เช่น ไอจาม มีนา้ มกู เหน่ือยหอบ และมีประวตั ิเดินทางมาจาก
เมืองอฮู่ นั่ มณฑลหเู ป่ย์ ประเทศจีน หรือเมืองที่มีการประกาศเป็นพืน้ ท่ีระบาด ภายใน 14 วนั ก่อนเริ่มมี
44
อาการป่วยหากมีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ นา้ มกู ไหล หายใจเหนื่อย ภายใน 14 วนั หลงั กลบั มาจากเมืองอู่
ฮน่ั มณฑลหเู ป่ ย์ประเทศจีน โปรดไปพบแพทย์และย่ืนบตั รคาแนะนาด้านสขุ ภาพสาหรับผ้เู ดินทางเข้า
มาในประเทศไทย กับแพทย์ผ้ทู าการรักษาพร้ อมแจ้งประวตั ิการเดินทางท่านอาจได้รับเชือ้ โรคก่อน
เดินทางมายงั ประเทศไทยกรุณาแจ้งรายละเอียดตา่ งๆ กบั แพทย์ผ้ทู าการรักษา เช่น อาการป่ วย วนั ที่
เร่ิมมีอาการป่ วย วนั เดนิ ทางมาถึงประเทศไทย สถานที่พกั เพ่ือแพทย์จะได้วินิจฉยั ได้ถกู ต้องและรักษา
ได้ทันท่วงที แพทย์ผู้ทาการรักษาจะรายงานต่อหน่วยงานสาธารณสุขในพืน้ ที่หรือสานักงาน
สาธารณสุขจงั หวดั และกรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือดาเนินการป้องกันควบคุมโรค
โดยเร็วการล้างมือเพื่อขจดั สิ่งสกปรกตา่ งๆ เหง่ือ ไขมนั ท่ีออกมาตามธรรมชาติ และลดจานวนเชือ้ โรค
ที่อาศยั อย่ชู วั่ คราวบนมือ การล้างมืออยา่ งถกู วิธีต้องล้างด้วยสบกู่ ้อนหรือสบเู่ หลว ใช้เวลาในการฟอก
มือนานประมาณ 15 วินาทีการล้างมือในกรณีรีบด่วน ไม่สะดวกในการล้างมือด้วยนา้ และมือไม่
ปนเปือ้ นส่ิงสกปรก หรือสารคดั หลง่ั จากผ้ปู ่ วย ให้ทาความสะอาดมือด้วยแอลกอฮอล์เจล การล้างมือ
ด้วยแอลกอฮอล์เจล ประมาณ 10 มิลลิลติ ร ใช้เวลาประมาณ 15-25 วินาที (ในกรณีใช้แอลกอฮอล์เจล
(Alcohol Gel) ไม่ต้องล้างมือซา้ ด้วยนา้ และไม่ต้องเช็ดด้วยผ้าเช็ดมือ) วิธีการใส่หน้ากากอนามยั ที่
ถกู ต้อง ควรให้ด้านสีเข้มออกด้านนอกเสมอ คลมุ ให้ปิดจมกู ปาก คาง คล้องหขู ยบั ให้พอดีกบั ใบหน้า
กดลวดขอบบนให้สนิทกบั สนั จมกู โดยเปลี่ยนทกุ วนั และทิง้ ลง ในภาชนะที่มีฝาปิด เพื่อปอ้ งกนั การตดิ
เชือ้ ทงั้ จากตนเองและผ้อู ื่น
- เมื่อรู้สกึ วา่ จะไอ จาม ควรหากระดาษชาระ หรือทชิ ชู่ มาปิดปาก เพื่อปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เชือ้ โรค
กระจาย แล้วนาไปทงิ ้ ในถงั ขยะปิดให้เรียบร้อย
- เม่ือรู้สกึ วา่ จะไอ จาม แล้วไมม่ ีกระดาษชาระ ควรใช้การไอ จามใสข่ ้อศอก โดยยกแขน
ข้างใดข้างหนึง่ มาจบั ไหลต่ วั เองฝ่ังตรงข้าม และยกมมุ ข้อศอกปิดปากและจมกู ตนเองก่อนไอ จาม ทกุ
ครัง้ ไมค่ วรไอ จามใสม่ ือ
- หลงั จากไอ จามเสร็จแล้ว ควรรีบล้างมือให้สะอาดทกุ ครัง้ ด้วยสบหู่ รือแอลกอฮอล์ฆา่ เชือ้
เพื่อกาจดั เชือ้ โรค ไมใ่ ห้แพร่กระจาย (รายงานผลการศกึ ษามาตรการด้านการบริหารจดั การองค์กรใน
สถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19.2565: กองโรคไมต่ ดิ ตอ่ กรมควบคมุ โรค)
45
2.2 หลักการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานการศึกษาของชาติซึ่งกาหนดผ่านกรอบ (framework) ผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของ
การศึกษานี ้ จัดทา ขึน้ ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580)
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.
2560 - 2579 กฎหมายยทุ ธศาสตร์และแผนงานทงั้ หลายเหลา่ นี ้ ตา่ งมีอดุ มการณ์เพื่อมงุ่ พฒั นาผ้เู รียน
ให้เป็นมนษุ ย์ที่สมบรู ณ์ทงั้ ร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา เป็นคนดี มีวนิ ยั ภมู ใิ จในชาตสิ ามารถเชี่ยวชาญ
ได้ตามความถนดั ของตน มีความรับผิดชอบตอ่ ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ เป็นพลเมือง
ดี มีคณุ ภาพและความสามารถสงู พฒั นาตนอยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงทงั้ ยังคาดหวังให้คนไทยทงั้ ปวงได้รับโอกาสเท่าเทียมกันทางการศึกษา สามารถเป็นผ้รู ่วม
สร้างสรรค์นวตั กรรม เพ่ือเปา้ หมายของการพฒั นาประเทศสู่ ความมนั่ คง มงั่ คงั่ และยงั่ ยืน (มาตรฐาน
การศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ 2565 :กระทรวงศกึ ษาธิการ)
2.3 ผลกระทบ COVID-19 ต่อการศกึ ษา
โดยหนึ่งในมาตรการควบคมุ การระบาดโควิด-19ท่ีมีแนวโน้มส่งผลกระทบระยะยาวตอ่ สงั คม
และเศรษฐกิจ ได้แก่ มาตรการปิดโรงเรียนและการเรียนออนไลน์ เน่ืองจากหลายครอบครัวเผชิญ
ปัญหาในการปรับตวั ตอ่ การเรียนการสอนรูปแบบใหม่ ทงั้ ด้านอุปกรณ์ สถานท่ี หรือแม้กระทงั่ ความ
พร้ อมด้านจิตใจของนกั เรียน ครูอาจารย์ และผู้ปกครองเอง จึงทาให้คณุ ภาพของการศึกษาลดลง
ธนาคารโลก (World Bank) ประเมินวา่ วกิ ฤตโิ ควดิ -19 ทาให้มีนกั เรียนจานวนหนงึ่ ไมส่ ามารถศกึ ษาต่อ
ได้ หรือได้รับคณุ ภาพการศึกษาลดลง และยงั จะเป็นปัจจยั เพิ่มความเหลื่อมลา้ ในประเทศ เนื่องจาก
ครอบครัวรายได้น้อย นกั เรียนในพืน้ ที่ห่างไกล และนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการศึกษา อาจ
ปรับตวั ตอ่ การเรียนออนไลน์ได้ยากกว่า และยงั เป็นการเพิ่มความเหลื่อมลา้ ระหว่างประเทศรายได้สูง
กบั รายได้ตา่ อีกด้วย
ปัจจยั อะไรบ้างที่ส่งผลให้การเรียนออนไลน์ไมส่ มฤทธ์ิผลวิกฤติโควิด-19 นอกจากจะบงั คบั ให้
นักเรียนนักศึกษาต้องปรับตัวสาหรับการเรียนในรูปแบบใหม่แล้ว ยังคงมีผลกระทบต่อคุณภาพ
การศกึ ษาในทางอ้อมผา่ นหลายชอ่ งทางอีกด้วย ดงั นี ้
46
1. ความไมพ่ ร้อมด้านอปุ กรณ์การเรียน การเรียนผ่านช่องทางออนไลน์และช่องทางการสอน
ทางไกลอื่น ๆ จาเป็นท่ีจะต้องใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ซึ่งบาง
ครอบครัวโดยเฉพาะท่ีอย่ใู นพืน้ ท่ีหา่ งไกลไมส่ ามารถเข้าถึงได้ นอกจากนี ้ อปุ กรณ์เหลา่ นีเ้ป็นสินค้าท่ีมี
ราคาคอ่ นข้างสูงและยงั มีคา่ การซ่อมบารุงท่ีสงู เช่นกนั ซึ่งทาให้บางครอบครัวท่ีได้รับผลกระทบด้าน
รายได้จากวิกฤติโควิด-19 ไม่สามารถซือ้ อุปกรณ์การเรียนท่ีจาเป็นได้ ถึงแม้ว่าบางครอบครัวจะมี
อปุ กรณ์เหล่านี ้ แต่นกั เรียนอาจขาดทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Literacy) ท่ี
เพียงพอสาหรับการเรียนออนไลน์โดยเฉพาะในกล่มุ เด็กเล็ก ซึ่งอาจกระทบต่อคณุ ภาพการศึกษาท่ี
ได้รับเชน่ กนั
2. สภาพแวดล้อมที่ไม่อานวยตอ่ การศึกษา เน่ืองจากการเรียนทางไกลเป็นรูปแบบการเรียน
ใหม่ นกั เรียนนกั ศกึ ษาอาจไม่สามารถปรับตวั ได้ทนั ซึ่งจะผลกระทบต่อคณุ ภาพของการศกึ ษาท่ีได้รับ
ไมว่ า่ จะเป็นทางด้านจิตใจ เชน่ การไมม่ ีสมาธิและการขาดกาลงั ใจในการเรียนเน่ืองจากไมไ่ ด้พบเพื่อน
ๆ และครูอาจารย์โดยตรง หรืออปุ สรรคในการเรียนวิชาท่ีเรียนทางไกลได้ลาบาก เชน่ วิชาพละศึกษา
และวิชาวิทยาศาสตร์ ทาให้เข้าใจบทเรียนได้ช้ากวา่ การเรียนในห้องเรียน เป็นต้น ซึง่ ปัจจัยเหลา่ นีอ้ าจ
ทาให้นกั เรียนเกิดปัญหาเรียนไม่ทันคนอ่ืน ๆ และเกิดอาการท้อแท้หมดกาลงั ใจในการเรียน ซึ่งอาจ
กระทบตอ่ ผลการศกึ ษาได้
3. ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ วิกฤติโควิด-19 ส่งผลให้เศรษฐกิจโลกหดตวั อย่างมีนัยและ
หลายครอบครัวมีรายได้ที่ลดลง ซง่ึ อาจกระทบตอ่ ศกั ยภาพในการจ่ายคา่ เล่าเรียนและการซือ้ อปุ กรณ์
การเรียน โดยเฉพาะในระดบั อดุ มศกึ ษาที่มีคา่ ใช้จา่ ยคอ่ นข้างสงู นอกจากนี ้นกั เรียนนกั ศกึ ษาบางราย
อาจจาเป็นต้องออกจากระบบการศึกษาเพ่ือหารายได้เสริมช่วยเหลือครอบครัวหรือส่งตวั เองเรียนต่อ
ซง่ึ อาจทาให้การศกึ ษาไมต่ อ่ เน่ือง
4. การขาดการสนบั สนุนด้านอื่นจากโรงเรียน นอกจากโรงเรียนจะเป็นสถานที่สาหรับการ
เรียนรู้แล้ว ยงั เป็นสถานที่ให้การสนบั สนนุ นกั เรียนในหลาย ๆ ด้าน เช่น ด้านโภชนาการ การปรึกษา
การพยาบาล และอุปกรณ์การกีฬา ซ่ึงการขาดการสนับสนุนเหล่านีน้ อกจากจะทาให้คา่ ใช้จ่ายของ
ผู้ปกครองสูงขึน้ แล้ว ก็ยังส่งผลต่อสภาพแวดล้อมการเรียนที่ไม่สมบูรณ์ ซ่ึงอาจกระทบต่อคณุ ภาพ
การศกึ ษาได้ โดยเฉพาะกบั ครอบครัวที่มีข้อจากดั ในการเข้าถงึ สวสั ดกิ ารสงั คมอยแู่ ล้ว
5. งบประมาณสาหรับการศึกษาท่ีน้อยลง ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจจากวิกฤติโควิด-19
สง่ ผลให้ภาครัฐต้องเร่งเยียวยาประชาชนเป็นจานวนมาก ขณะท่ีการจดั เก็บรายได้ภาครัฐลดลง ทาให้
47
รัฐบาลอาจจาเป็นต้องลดการจดั สรรงบประมาณสาหรับการศกึ ษาไปสว่ นอื่น ๆ ซ่ึงอาจกระทบตอ่ การ
สร้ างและพัฒนาโรงเรียน การจ้างครูอาจารย์ และการพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานเกี่ยวกับการเรียน
ออนไลน์ในระยะต่อไปคุณภาพการศึกษาที่ลดลงมีนัยต่อสังคมและเศรษฐกิจอย่างไร ?นอกจาก
ผลกระทบตอ่ นกั เรียนแล้ว ผ้ปู กครองเองก็ต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิตเม่ือมีการเรียนออนไลน์
เช่น อาจจาเป็นต้องออกจากงานเพ่ือหาเวลาสาหรับการดแู ลบตุ รหลานท่ีเรียนอยทู่ ี่บ้านโดยเฉพาะใน
กลมุ่ เดก็ เลก็ หรือหากผ้ปู กครองสามารถทางานท่ีบ้านได้ก็อาจพบวา่ มีประสิทธิภาพการทางานท่ีลดลง
เนื่องจากต้องแบ่งเวลาดูแลบุตรหลาน ซึ่งอัตราการมีส่วนร่วมในกาลังแรงงาน ( labor force
participation rate) ที่ลดลงนี ้เป็นอีกผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจท่ีต้องจบั ตามองในระยะตอ่ ไป (ดร.ฉัตร
ชยั ตวงรัตนพนั ธ์.2565 : ผลกระทบ COVID-19 ตอ่ การศกึ ษา)
2.4 งานวจิ ัยการยอมรับเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ราตรี เอี่ยมประดิษฐ์(2556) ได้ทาการศกึ ษาวิจยั เร่ือง การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของ
บุคคลากร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ การวิจยั ครัง้ นีม้ ีวตั ถุประสงค์เพ่ือศึกษาและ
เปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของบคุ ลากร จาแนกตามตวั แปร เพศ ระดบั การศึกษา
ประสบการณ์การท างาน และสังกัดคณะ ผลการวิจัยพบว่า การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศใน
ภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก และบคุ ลากรมีปัญหาและข้อเสนอแนะการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ
ควรปรับปรุงระบบอินเทอร์เน็ตให้มีประสิทธิภาพมากขึน้ ตลอดจนระบบเครือข่าย ระบบ Wi-Fi ของ
มหาวิทยาลยั ให้สามารถใช้ได้ครอบคลมุ ทกุ พืน้ ท่ี และทกุ อปุ กรณ์ท่ีสามารถเช่ือมตอ่
กรรณิการ์ กงพะลี(2555) ได้ทาการศกึ ษาวิจยั เร่ือง การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ
ปฏิบตั ิงานของบคุ ลากร สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 7 การวิจยั
ครัง้ นีม้ ีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือศกึ ษาระดบั การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบตั ิงานของบคุ ลากร
เ พื่ อเ ป รี ย บ เ ที ย บ ร ะ ดับ ก า ร ย อม รั บ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศเ พ่ื อ ก า ร ป ฏิ บัติง า น ข อง บุคล า ก ร จ า ก
ผลการวิจัยพบว่า ระดับการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงาน ด้านคุณลักษณ ะ
ประโยชน์เชิงเปรียบเทียบอยู่ในระดับมาก ด้านคุณลักษณะท่ีเข้ ากันได้อยู่ในระดับมาก ด้าน
คณุ ลกั ษณะความยงุ่ ยากซบั ซ้อนอยใู่ นระดบั มาก ด้านคณุ ลกั ษณะสามารถทดลองใช้ได้และสงั เกตได้
อยใู่ นระดบั มาก ด้านการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศอยใู่ นระดบั มาก
48
ศิริพงษ์ โคกมะณี (2555) ได้ทาการศึกษาวิจัยเรื่อง ปัจจยั ที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยี
สารสนเทศของครูผู้สอน สังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 การวิจยั ครัง้ นีม้ ี
วตั ถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาระดบั การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ และเพื่อศกึ ษาปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการ
ยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้สอน สังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
มธั ยมศกึ ษา เขต 17 มีระดบั การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศอยใู่ นระดบั มาก
ระวีวรรณ กล่อมแก้ว (2553) ได้ทาการศึกษาวิจัยเร่ือง การศึกษาเปรียบเทียบระดับการ
ยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลในเขตอาเภอเมือง จังหวัดระยอง การวิจัยครัง้ นีม้ ี
วตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือ ศกึ ษาระดบั การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลในเขตอาเภอเมือง จงั หวดั
ระยอง เปรียบเทียบระดบั การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของเทศบาลในเขตอาเภอเมือง จากผล
การศึกษา พบว่า เทศบาลในเขตอาเภอเมือง จานวนทัง้ สิน้ 7 แห่ง นัน้ มีการยอมรับเทคโนโลยี
สารสนเทศด้านแผนพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่ือประชาสมั พนั ธ์งานเทศบาลมากท่ีสดุ รองลงมาเป็น
ด้านแผนพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานเครือขา่ ยสารสนเทศเทศบาล และเมื่อเปรียบเทียบระดบั การยอมรับ
2.5 งานวิจัยปัจจัยในการจัดการเรียนการสอนของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ปัจจยั ด้านสถานศกึ ษาส่งผลต่อการจดั การเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ของมหาวิทยาลยั
ราชภฏั นครราชสีมาตามการรับรู้ของนกั ศกึ ษา พบว่า ปัจจยั ด้านสถานศกึ ษา มีผลตอ่ การจดั การเรียน
การสอน บทเรียนออนไลน์ของมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา ในด้านเนือ้ หาบทเรียน ด้านการจดั
กิจกรรมการเรียน การสอน ด้านคณุ ภาพของการใช้ส่ือและอุปกรณ์ของผู้ตอบแบบสอบถาม ทงั้ นี ้
เน่ืองมาจาก คอมพวิ เตอร์ ภายในมหาวิทยาลยั มีประสิทธิภาพสงู สามารถเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์
ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสถาน ศกึ ษาที่จดั การเรียนรู้แบบออนไลน์ต้องจดั สานกั งานในการ
พัฒนาการเรียนรู้แบบออนไลน์และสถานศึกษาที่จดั การเรียนรู้แบบออนไลน์ต้องจัดทีมงานเพ่ือให้
บริการทางด้านการออกแบบบทเรียนออนไลน์สาหรับผ้สู อนและนกั ศกึ ษาท่ีสนใจจดั ทาการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์นอกจากนีก้ ารเรียนรู้แบบออนไลน์เป็ นรูปแบบการศึกษาซึ่งมีความยืดหยุ่นมีความ
หลากหลายและตอบสนองการเรียนรู้ตามอธั ยาศยั ของผ้เู รียนนอกจากนีย้ งั เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ของผ้เู รียน
สามารถเรี ยนร้ ู ได้ ตามความถนัดและความสนใจด้ วยตนเองซึ่งรูปแบบการศึกษาดังกล่า วมีความ
เหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏ เน่ืองจากนโยบายและพันธกิจของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ คือเพ่ือพัฒนาคนให้มีความสามารถในการประกอบอาชีพพร้ อมกับสร้ างองค์
49
ความรู้ท่ีเป็นประโยชน์ในเชิงวิชาการและนาไปใช้ในการพฒั นาท้องถิ่นสงั คมและประเทศชาติซ่งึ การที่
มหาวิทยาลยั ราชภฏั มีการจดั การเรียนการสอนเพื่อปวงชนดงั นนั้ มหาวิทยาลยั ราชภฏั จงึ จดั ให้ผ้เู รียน
สามารถเลือกเรียนได้ตามโอกาสเป็นการพฒั นาความรู้ความสามารถของตนเองทงั้ นีเ้พ่ือประโยชน์ใน
การประกอบอาชีพและเป็นการเพ่ิมคณุ วฒุ ิทางการศกึ ษาอย่างไรก็ตามแม้ว่ารูปแบบการศึกษา จะมี
ความสาคญั และมีความเหมาะสมตอ่ การเรียนการสอนในมหาวิทยาลยั ราชภฏั แตเ่ นื่องจากข้อจากดั ใน
เรื่องของหลกั สูตรท่ีมีความหลากหลายจานวนวิชาปฏิบตั ิในหลกั สตู รมีจานวนมากมหาวิทยาลยั ราช
ภฏั จงึ เห็น ควรให้นาบทเรียนออนไลน์เข้ามาใช้เพราะรูปแบบการศกึ ษาดงั กล่าวมีความเหมาะสมกับ
การเรียนการสอน กบั ห้องเรียนขนาดใหญ่ที่มีผ้เู รียนจานวนมากด้วยเหตนุ ีค้ วรใช้บทเรียนออนไลน์ใน
การเรียนการสอนเพ่ือให้ผ้เู รียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตามอธั ยาศยั อีกทงั้ ยงั สามารถเรียนเวลาใด
และสถานที่ใดก็ได้จึงเหมาะสมกบรั ูปแบบการศกึ ษาของมหาวิทยาลยั ราชภฏั สอดคล้องกบั งานวิจยั
ของเอกชยั (2547) ทาการศึกษาเกี่ยวกับการยอมรับบทเรียนออนไลน์ของอาจารย์ในมหาวิทยาลัย
หอการค้าไทยและหาความสมั พนั ธ์ของปัจจยั ภายนอกได้แก่ลกั ษณะส่วนบุคคลคณะวิชาภาระงาน
จานวนปีที่ทางานกบั มหาวิทยาลยั หอการค้าไทยกบั การรับรู้ความง่ายการรับประโยชน์และพฤติกรรม
แนวโน้ มการใช้ บทเรียนออนไลน์ของอาจารย์ในมหาวิทยาลัย หอการค้าไทย 242 คนโดยใช้
Technology Acceptance Model (TAM) ของ Davis (1989) พบว่ากล่มุ ตวั อย่างมีระดบั การรับรู้ใน
ประโยชน์ของบทเรียนออนไลน์โดยรวมสงู การรับรู้ในความง่ายของบทเรียน ออนไลน์โดยรวมสงู อีกทงั้
มีแนวโน้มพฤตกิ รรมการใช้บทเรียนออนไลน์โดยรวมสงู พบวา่ อายมุ ีความสมั พนั ธ์ กบั การรับรู้ประโยชน์
ของบทเรียนออนไลน์ที่ระดบั นยั สาคญั .05
2.6 วจิ ัยเทคโนโลยกี ารศึกษา
การวิจยั ทางด้านเทคโนโลยีการศกึ ษา มกั เขียนนิยามศพั ท์ของคาว่า “ประสิทธิภาพส่ือการ
เรียนการสอน” ไว้ในบทท่ี 1 และมีการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกบั การทดสอบหาประสิทธิภาพสื่อไว้ใน
บทที่ 2 และนาเสนอกระบวนการหรือวิธีการประเมินประสิทธิภาพไว้ในบทที่ 3 ด้วยเชน่ กนั ทงั้ นีเ้พ่ือจะ
อธิบายกระบวนการพฒั นา และต้องการพิสจู น์ให้เห็นว่านวตั กรรมการเรียนการสอนหรือสื่อการเรียน
การสอนนนั้ มีคณุ ภาพเหมาะสม สามารถนา ไปใช้ได้นนั้
ไชยยศ เรืองสวุ รรณ (2533, หน้า 127) ได้อธิบายวิธีการประเมินสื่อการเรียนการสอนไว้ 5 วิธี
คือ
50
1. การประเมินโดยผ้สู อน ผ้สู อนที่ควรจะได้รับการคดั เลือกให้เป็นผ้ปู ระเมินส่ือควรเป็นผ้ทู ี่มี
ประสบการณ์ในการสอน เคยรับการฝึกอบรมจนมีความรู้ความชานาญเก่ียวกบั การผลิตและการใช้ส่ือ
และมีประสบการณ์ในการใช้สื่อการเรียนการสอนเป็นอย่างดีผ้สู อนที่มีความเชี่ยวชาญเก่ียวกบั ส่ือและ
วิธีสอน อาจจดั เป็นผ้ชู านาญได้
2. การประเมินโดยผ้ชู านาญ ผ้ชู านาญในที่นีห้ มายถึง ผ้ชู านาญด้านส่ือการเรียนการสอนและ
มีประสบการณ์ด้านการประเมินด้วย ดงั นนั้ ผ้ชู านาญอาจเป็นผ้สู อน เป็นอาจารย์มหาวิทยาลยั ที่สอน
ในสาขาวิชาสื่อและเทคโนโลยีการศกึ ษา รวมทงั้ อาจารย์ด้านการวดั ผลและการประเมินผลที่มีความรู้
ความสามารถด้านสื่อการเรียนการสอน
3. การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ คณะกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือประเมินส่ือการสอน
เป็นกล่มุ บคุ คลที่มีหน่วยงานแตง่ ตงั้ ขนึ ้ มาประเมินส่ือ ทาหน้าท่ีประเมินคณุ ลกั ษณะประสิทธิภาพการ
ใช้และคณุ ลกั ษณะอื่น ๆ ของส่ือการเรียนการสอน
4.การประเมินโดยผ้เู รียน ผ้เู รียนเป็นผ้รู ับรู้และเรียนรู้หรือใช้สื่อดงั นนั้ การให้ผ้เู รียนได้มีโอกาส
ประเมินสื่อจึงชว่ ยให้ได้ข้อคิดในการปรับปรุงสื่ออย่างเหมาะสมกบั ผ้เู รียน การประเมินสื่อโดยผ้เู รียน
ควรจัดทาขึน้ ทันทีเม่ือใช้สื่อแล้ว และให้ประเมินเฉพาะตัวสื่อ ไม่ให้เอาวิธีสอนของผู้สอนเข้ามา
เกี่ยวข้องอยา่ งไรก็ตาม การประเมินสื่อโดยผ้เู รียนอาจมีปัญหาอยบู่ ้างในแงผ่ ้เู รียนอาจมีประสบการณ์
น้อย ผ้สู อนควรชีแ้ จงเกณฑ์หรือหวั ข้อการประเมินให้ผ้เู รียนเข้าใจกอ่ นท่ีจะให้ประเมนิ
5. การประเมินประสทิ ธิภาพสื่อ เป็นการประเมนิ ประสิทธิภาพของสื่อ โดยอาศยั
เกณฑ์และประเมนิ โดยไมไ่ ด้ตงั้ เกณฑ์ไว้ลว่ งหน้า
2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหา/อุปสรรค/ข้อจากัดในการเรียนออนไลน์ของนิสิต
นักศึกษา และนักเรียน
(รองศาสตราจารย์พินิจ ทิพย์มณี,วรนชุ ปัญจะวตั ร,2552) วิจยั วิเคราะห์ปัญหาและอปุ สรรค
ในการเรียนของนกั ศกึ ษาปีท่ี1 เพื่อศกึ ษาถึงระดบั ของปัญหา และอปุ สรรคในการเรียนของนักศกึ ษาใน
3ด้าน ได้แก่ด้านตวั นกั ศึกษา ได้แก่ การรับรู้ความสามารถและ แรงจงู ตอ่ ผลสมั ฤทธ์ิ ด้านส่ิงแวดล้อม
ทางครอบครัว ได้แก่ สมั พนั ธภาพในครอบครัว และด้านสิ่งแวดล้อมทางมหาวิทยาลยั ในสมั พนั ธภาพ
ระหวา่ งนกั ศกึ ษากบั อาจารย์ผ้สู อน และสมั พนั ธภาพระหวา่ งนกั ศกึ ษากบั เพ่ือน
51
(ณิชกานต์ แก้วเจริญทร์,ธนินท์รัฐ รัตนพงศ์ภิญโญ,2563) ศึกษาความพร้ อมในการจดั การ
เรียนการสอน และความคาดหวงั ประสิทธิผลการศกึ ษาในระบบการเรียนการสอนออนไลน์ในทรรศนะ
ของนกั ศกึ ษาคณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ซงึ่ ผลวิจยั แบง่ ออกเป็น 4 สว่ น ดงั นี ้
ส่วนท่ี 1 สภาพการเรียนการสอนออนไลน์ ผ้ตู อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ให้ความสาคญั กับ
ประสบการณ์ของผ้สู อนมากท่ีสดุ รองลงมาคือด้าน ความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอน ด้าน
ประสทิ ธิภาพของส่ือและระบบ ด้านข้อจากดั การเรียนรู้เพมิ่ เตมิ และด้านความร่วมมือของผ้ทู ่ีเก่ียวข้อง
ตามลาดบั
ส่วนท่ี 2 ความพร้อมด้านผ้เู รียน พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่ให้ความสาคญั ตอ่ ความ
พร้ อมด้านผู้เรียนโดยภาพรวมอยู่ในระดบั มากโดยให้ความสาคญั ด้านอุปกรณ์การเรียนมากท่ีสุด
รองลงมาคือ ด้านความรับผิดชอบ ด้านทศั นคติ ด้านสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ และ ด้านความรู้ที่
เกี่ยวข้องตามลาดบั
ส่วนที่ 3 ความพร้ อมด้านการเรียนการสอน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ให้
ความสาคญั ความพร้อมด้านการเรียนการสอนโดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก โดยให้ความสาคญั ด้าน
ส่ิงสนบั สนนุ อื่น ๆ เช่น โปรแกรม อินเตอร์เน็ตมากที่สดุ รองลงมาคือ ด้านนโยบายของสถาบนั ด้าน
ความพร้อมของบคุ ลากร และ ด้านรูปแบบการเรียนการสอน ตามลาดบั
ส่วนท่ี 4 ความคาดหวังและประสิทธิผลทางการศึกษา พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้
ความสาคญั ต่อความคาดหวังประสิทธิผลการศึกษาอยู่ในระดบั มาก โดยให้ความสาคญั กับ ด้าน
หลักสูตรการเรียนการสอนสอดคล้องกับระยะเวลาท่ีเรียนมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านความไม่
สอดคล้องระหว่างผลตอบแทนและต้นทุนในการเรียน ด้านความสามารถในการประเมินผล ด้าน
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน และด้านความเครียดในการเรียน ตามลาดบั
(ธนพรรณ ทรัพย์ธนาดล ,2554) การศกึ ษาเรื่อง ปัจจยั ท่ีมีผลกระทบตอ่ การจดั การเรียนการ
สอนบทเรียนออนไลน์ของ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา มีวตั ถปุ ระสงค์ในการศกึ ษาคือเพื่อศึกษา
ปัจจยั ท่ีมีผลกระทบตอ่ การจดั การ เรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ตามการรับรู้ของผ้บู ริหาร อาจารย์
และนกั ศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมากลุ่มเป้าหมายคือ ผู้บริหารจานวน 21 คนอาจารย์
จานวน 192 คนและนกั ศกึ ษาท่ีลงทะเบียน เรียนหลกั สตู รภาคปกตใิ นภาคการศกึ ษาที่ 2 ปีการศกึ ษา
52
2552 จานวน 500 คน ในมหาวิทยาลยั ราชภัฏ นครราชสีมา วิธีการวิจยั เป็นการวิจยั เชิงสารวจการ
วิเคราะห์ข้อมลู ใช้สถิตเิ ชิงพรรณนา ผลการศกึ ษาพบวา่ ปัจจยั ด้านผ้บู ริหาร ปัจจยั ด้านอาจารย์ ปัจจยั
ด้านนกั ศกึ ษาและปัจจยั ด้านสถานศึกษา สง่ ผลกระทบตอ่ การ จดั การเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์
ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
(มาลีวัล เลิศสาครศิริ,จุรีย์ นฤมิตเลิศ,กิติยา สมุทรประดิษฐ์, 2564) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ
พฤติกรรมการเรียนผ่านระบบออนไลน์ของนกั ศึกษาวิทยาลยั เซนต์หลยุ ส์ จากสถานการณ์โควิด-19
กลมุ่ ตวั อยา่ ง คือ นกั ศกึ ษาช้ันปี 1 ถึงปี 4 ผลการวิจยั พบวา่ พฤติกรรมการเรียนของนกั ศกึ ษาโดยรวม
อยใู่ นระดบั ปานกลาง ซึง่ มีปัจจยั ภายใน ได้แก่ เจตคติตอ่ การเรียนผ่านระบบออนไลน์ การปรับตวั ของ
นกั ศกึ ษา และปัจจยั ภายนอก ได้แก่ พฤตกิ รรมการสอนของอาจารย์ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และ
ความพร้อมของส่ือ/เทคโนโลยี มีความสมั พนั ธ์ทางบวกระดบั ปานกลางกับพฤติกรรมการเรียนของ
นกั ศกึ ษา
2.8 การพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยการสร้างสภาวะแวดล้อมการเรียน
ด้วยการทางานในสภาพจริง
จากการศกึ ษา แนวคิด ผลการสารวจและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องกับ ปัญหา อปุ สรรค ท่ีมีผลตอ่
ความพงึ พอใจ ในการเรียนการสอนออนไลน์ของผ้เู รียนในมหาวิทยาลยั บรู พา จะพบวา่ องค์ประกอบท่ี
ส่งผลเป็นอปุ สรรคและเกิดปัญหาที่ทาให้ผ้เู รียนไมส่ ามารถบรรลเุ ปา้ หมายตามผลการเรียนที่คาดหวงั
ของรายวิชาหลกั สตู รและตนเองนนั้ ในหลายด้านทงั้ ท่ีเป็นปัจจยั ภายใน ปัจจยั ภายนอก อนั ได้แก่ ปัจจยั
ภายใน คือ ด้านนิสิต ปัจจยั ภายนอก คือ ด้านอาจารย์ ด้านสภาพแวดล้อม และด้านสถานศกึ ษา ผล
การศึกษาและสร้ างสภาวะแวดล้อมการเรียนด้วยการทางานในสภาพจริงของนกั ศึกษาที่ได้รับการ
จดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการการเรียนกับการทางาน พบว่าระบบการจดั สภาวะแวดล้อมการ
เรียนในสภาพจริงได้รับการพฒั นาจากแนวคิดจากนกั วิชาการหลายท่าน ได้แก่ ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการ
จดั สภาวะแวดล้อมการเรียนในสภาพจริงของ เครื่องมือที่ใช้จดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการการ
เรียนกบั การทางานของเครือขา่ ยพฒั นาสหกิจศกึ ษาภาคใต้ตอนบน กระบวนการเรียนการสอนที่บรู ณา
การเข้ากบั สภาพจริง กลยทุ ธ์การสอนเพ่ือให้เกิดการถ่ายโยงระหวา่ งทฤษฎีและปฏิบตั ิ การสะท้อนคิด
ของผู้เรียนท่ีเป็นผลจากประสบการณ์ในสภาพจริง ระบบการให้คาปรึกษาของคณาจารย์ใน
สถานศกึ ษาและพ่ีเลีย้ งในสภาพจริง และแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการเรียนกับการ
53
ทางานของ อลงกต ยะไวทย์และคณะ (2560) ในระหว่างการทดลองใช้ระบบการจดั สภาวะแวดล้อม
การเรี ยนในสภาพจริ งมีการสลับหัวข้ อและเพ่ิมเติมประเด็นสาคัญที่เป็ นผลจากการวิจัยเพื่อให้
เหมาะสมกับบริบทการทางานในสถานประกอบการของประเทศไทย หวั ใจสาคญั ของระบบการจัด
สภาวะแวดล้อมการเรียนในสภาพจริง คือ การเรียนที่มุ่งผลลัพธ์การเรียนรู้ ( Outcome-based
Learning)ท่ีกาหนดจากทกุ ฝ่ ายที่เก่ียวข้อง จะอยทู่ กุ ขนั้ ตอนการเรียนรู้ด้วยการจดั กิจกรรมการทางาน
ในสภาพจริงให้แก่ผ้เู รียนตามแนวคิดของ ปริญญา เทวานฤมิตรกุล (2558) การศึกษาท่ีม่งุ ผลลพั ธ์ท่ี
เป็น “การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน” (Activity-based Learning) ระหว่างการทางานผู้เรียนจะ
ทางานประจาตามตาแหนง่ หน้าที่ที่รับผิดชอบควบคกู่ บั การทาโครงงานเพ่ือให้เกิดประสบการณ์และ
ทดสอบประสบการณ์ท่ีได้รับอย่างต่อเนื่อง ต้องคิดอย่างไตร่ตรอง และต้องปรับตวั ให้เข้ากับโลกของ
การทางานจริงตามทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning) และเปิดโอกาสให้
ผ้เู รียนได้แก้ไขปัญหาในสภาพการทางานจริงตามแนวคดิ ทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีเน้นสภาพจริง (authentic
learning) ผลที่เกิดขึน้ จากการวิจัยจึงเป็นการสอดแทรกการเรียนรู้เข้ากับการทางานประจาเพ่ือ
แก้ ปั ญหางานที่นักศึกษาทาในสถานประกอบการไม่มีคุณภาพมักถูกใช้ ทดแทนแรงงานราคาถูก
เนื่องจากอุตสาหกรรมในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นฐานการผลิต ผลการวิจัยจะทาให้ทุกฝ่ ายได้
ประโยชน์ทงั้ นกั ศกึ ษาสถานประกอบการ และสถานศกึ ษาอนั จะส่งผลให้การผลิตบณั ฑิตและผ้สู าเร็จ
การศกึ ษาเป็นไปอยา่ งมีคณุ ภาพ
54
กรอบแนวคิด
กรอบแนวคิดการวิจยั แสดงถึงความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั แปรอิสระ ได้แก่ สถานภาพทางสงั คม
และเศรษฐกิจของผ้เู รียน ในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลยั ชลบุรี กบั ตวั แปรตามในเร่ืองของปัจจัยท่ี
ส่งผลต่อการยอมรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในยุคโควิดทัง้ ในเร่ือง รูปแบบการเรียนรู้
สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ ส่ือการสอน การสอบวดั ผล
ตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม
สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกจิ ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ การ
ของนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบ ยอมรับรปู แบบการ
วทิ ยาลยั ชลบรุ ี จดั การเรยี นการสอนใน
-เพศ ยุคโควิด (ออนไลนแ์ ละ
-ชั้นเรยี น ออนไซท์)
-สายการเรยี น -รูปแบบการเรียนรู้
-รายได้รวมของครอบครัวตอ่ ปี -สภาพแวดลอ้ มในการ
เรียนรู้
-สอ่ื การสอน
-การสอบวดั ผล
รายการตัวแปร
1. ตวั แปรอิสระ ด้านสถานภาพทางสงั คมและเศรษฐกิจ ได้แก่
1.1เพศ
1.2 ชนั้ เรียน
1.3 สายการเรียน
55
1.4 รายได้รวมของครอบครัวตอ่ ปี
2. ตวั แปรตาม
2.1 ตวั แปรตามรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในที่ตงั้
2.1.1 รูปแบบการเรียนรู้
- แบบแขง่ ขนั
- แบบอสิ ระ
- แบบหลีกเล่ียง(ไมส่ นใจ)
- แบบพงึ่ พา
- แบบร่วมมือ
- แบบมีส่วนร่วม
2.1.2 สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้
- แสงในสถานท่ีเรียน
- เสียง
- อากาศ
- สงิ่ อานวยความสะดวก
2.1.3ส่ือการสอน
- ส่งิ ตีพมิ พ์(PrintedMaterials)เชน่ หนงั สือแบบเรียนเอกสารการสอนฯลฯ
- วสั ดกุ กราฟิก เชน่ แผนภมู ิ ( Charts) แผนสถิติ (Graph) แผนภาพ
(Diagram) ฯลฯ
- วสั ดฉุ ายและเคร่ืองฉาย (Projected Materials and Equipment) เชน่
ภาพยนตร์ สไลด์ ฯลฯ
- วสั ดถุ า่ ยทอดเสียง (Transmission) เชน่ วทิ ยุ เครื่องบนั ทกึ เสียง
2.1.4 การสอบวดั ผล
- ปรนยั
- อตั นยั
- การถามตอบปากเปลา่
56
2.2 ตวั แปรตามรูปแบบการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์
2.2.1 รูปแบบการเรียนรู้
- แบบแขง่ ขนั
- แบบอิสระ
- แบบหลีกเลี่ยง(ไมส่ นใจ)
- แบบพง่ึ พา
- แบบร่วมมือ
- แบบมีส่วนร่วม
2.2.2 สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้
- แสงในสถานท่ีเรียน
- เสียง
- อากาศ
- ส่งิ อานวยความสะดวก
- ซอฟแวร์ท่ีใช้ในการเรียนออนไลน์
- ระบบอนิ เตอร์เน็ต
2.2.3 ส่ือการสอน
- Blog
- Social media
- E-book
- Podcasts
2.2.4 การสอบวดั ผล
- การสอบบนเว็บไซต์แบบปรนยั
- การสอบบนเว็บไซตแ์ บบอตั นยั
- การถามตอบปากเปลา่
57
นิยามศัพท์ทใี่ ช้ในการวิจยั
1. ผู้สอน หมายถึง ครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาต่างๆ หรือบุคลากร ท่ีทาหน้ าที่
หลกั ทางด้านการสอน และวิจยั ในโรงเรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี
2. ผ้เู รียน หมายถึง นกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบุรีและผ้รู ับการศกึ ษาอบรมนอก
สถานศกึ ษาตามปกติ มกั ใช้ในบริบทของการเรียนรู้
3. การใช้ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ หมายถึง การศกึ ษาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วย
ตนเอง ผู้เรียนสามารเลือกเรียนตามความชอบของตนเอง ในส่วนของเนือ้ หาการเรียน
ประกอบด้ วย ข้ อความ รู ปภ าพ เสี ยง วี ดีโอ สิ่ง เหล่านี จ้ ะส่ง ตรง ไ ปยัง ผู้เรี ยน
ผา่ น Web Browser ทงั้ ผ้เู รียน ผ้สู อน และเพ่ือนร่วมชนั้ ทกุ คน
4. หลกั สูตร หมายถึง ประสบการณ์ทางการศึกษาทงั้ หมด ท่ีสถานศึกษาวางแผน และจัดให้
ผ้เู รียน ได้เรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ เพ่ือให้บรรลจุ ดุ มงุ่ หมายท่ีกาหนดไว้
5. ความรู้ หมายถงึ ความสามารถทางสมองในอนั ท่ีทรงไว้ หรือรักษาไว้ ซงึ่ เรื่องราวตา่ ง ๆ ได้มาก
น้อยเพียงใดนนั้ ให้ดทู ่ีวา่ บคุ คลนนั้ สามารถเลือกได้วา่ จะจาเพียงใด
6. ความเข้าใจ หมายถึง ความสามารถในการส่ือสารความหมายให้ทงั้ ผ้อู ่ืนรู้เจตนาของตน และ
ตนรู้ความหมาย ความปรารถนาของผ้อู ่ืน
7. สื่อการสอน หมายถึง ความหมายของสื่อการเรียนการสอน (Instructional Media) ส่ือ
(Media) หมายถึง ตวั กลางท่ีใช่ถ่ายทอดหรือนาความรู้ ในลกั ษณะตา่ ง ๆ จากผ้สู ง่ ไปยงั ผ้รู ับ
ให้เข้าใจ ความหมายได้ตรงกันในการเรียนการสอนส่ือท่ีใช้เป็นตัวกลางนาความรู้ใน
กระบวนการส่ือความหมายระหว่างผ้สู อนกบั ผ้เู รียนเรียกวา่ สื่อการสอน (Instruction Media)
โดยมีการแบง่ แยกเป็นรูปแบบ ได้ถึง 4 ชนิดดงั นี ้1. สิ่งตีพิมพ์ 2. วสั ดกุ ราฟิ ก 3. วสั ดฉุ ายและ
เครื่องเสียง 4. วสั ดถุ า่ ยทอดเสียง
8. การยอมรับ หมายถึง การท่ีประชาชนได้เรียนรู้ผ่านการศกึ ษาโดยขนั้ ตอนการรับรู้การยอมรับ
จะเกิดขึน้ ได้หากมีการเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้นัน้ จะได้ผลก็ต่อเมื่อบุคคลนัน้ ได้
ทดลองปฏิบตั จิ นเมื่อเขาแนใ่ จวา่ สิ่งประดษิ ฐ์นนั้ สามารถให้ประโยชน์อยา่ งแนน่ อน
9. สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ หมายถึง สงิ่ ตา่ ง ๆ สภาวแวดล้อมที่อยรู่ อบ ๆ ตวั ผ้เู รียน ทงั้ ท่ีเป็น
รูปธรรมและนามธรรม ส่งผลต่อผู้เรียนทัง้ ทางบวกและทางลบ และมีผลกระทบต่อ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู้ของผ้เู รียน เชน่ ห้องเรียนท่ีถกู สขุ ลกั ษณะ มีแสงสวา่ ง
58
พอเพียง สะอาด สงบ อากาศถ่ายเท มีสิ่งอานวยความสะดวกท่ีมีคุณภาพเหมาะสมและ
สนบั สนนุ การเรียนรู้
10. เทคโนโลยีการศกึ ษาหมายถงึ การนาหลกั การทางวิทยาศาสตร์มาประยกุ ต์ใช้เพื่อการออกแบบ
และส่งเสริมระบบการเรียนการสอน โดนเน้นท่ีวัตถุประสงค์ทางการศึกษาท่ีสามารถวัดได้
อย่างถกู ต้องแนน่ อน มีการยดึ หลกั ผ้เู รียนเป็นศนู ย์กลางการเรียนมากกว่ายึดเนือ้ หาวิชามีการ
ใช้การศกึ ษาเชงิ ปฏิบตั โิ ดยผา่ นการวิเคราะห์และการใช้โสตทศั นปู กรณ์รวมถึงเทคนิคการสอน
โดยใช้คอมพิวเตอร์ และอปุ กรณ์อื่น ๆ
11. เพศ หมายถึง เพศท่ีกาเนิดตามธรรมชาตทิ ่ีเป็นลกั ษณะทางกายภาพที่ถกู กาหนดจากชีววิทยา
เช่น ผู้หญิงมีอวัยวะเพศหญิง มดลูก รังไข่ ประจาเดือน ส่วนเพศชายมีอวัยวะเพศชาย ลูก
อัณฑะ เชือ้ อสุจิ และเป็นตัวกาหนดบทบาทเพศ (Sex Roles) ให้เพศหญิงและเพศชายมี
บทบาทมีหน้าท่ีที่แตกต่างกัน เช่น ผู้หญิงตงั้ ครรภ์และคลอดบุตร ผู้ชายจะมีส่วนในการให้
กาเนดิ โดยเป็นผ้ผู ลิตอสจุ ทิ ี่จะผสมกบั ไข่
12. อายุ หมายถึง วงเวลาท่ีบุคคลมีชีวิตอยู่โดยนบั เป็นจานวนปีเต็มปีบริบูรณ์ นบั ตงั้ แต่วันเกิด
จนถึงวันท่ีอ้างอิงตามปี ปฏิทินสุริยคติ นอกจากนี ้ เพื่อให้ครอบคลุมการใช้งานของการ
แบง่ กลมุ่ อายตุ ามชว่ งวยั จงึ ได้กาหนดคานิยามช่วงวยั เพื่อวตั ถปุ ระสงค์การเปรียบเทียบข้อมลู
สถิติ
13. ครอบครัว หมายถึง ครอบครัวเป็น "กล่มุ บคุ คลท่ีมีความผกู พนั กัน ทางอารมณ์และจิตใจ มี
การดาเนินชีวิตร่วมกนั รวมทงั้ มีการพ่ึงพิงกนั ทางสงั คมและเศรษฐกิจ มีความสมั พนั ธ์กนั ทาง
กฎหมายหรือทางสายโลหติ
14. แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของข้อคาถามที่สร้ างขึน้ เพื่อนาไปกระตุ้นให้ผู้เข้าสอบแสดง
พฤตกิ รรมออกมาโดยการทาเคร่ืองหมายหรือเขียนตวั อกั ษรโดยมีทงั้ รูปแบบปรนยั เป็นข้อสอบ
แบบตวั เลือกโดยใช้เนือ้ หาภายในหลกั สูตรการสอนมาประกอบการสร้างข้อสอบและอตั นยั
เป็นข้อสอบแบบเจาะลกึ โดยใช้การอธิบายสงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ อยา่ งลกึ ซง่ึ
15. การเรียนรู้แบบแขง่ ขนั หมายถึง ผ้เู รียนมีแบบการเรียนรู้ท่ีจะพยายามทาให้ดีกวา่ คนอ่ืน ผ้เู รียน
ค้นหาความรู้โดยใช้หลกั ในการเรียนรู้ท่ีผ้เู รียนพยายามท่ีจะทาส่ิงตา่ งๆ ให้ได้ดีกวา่ คนอ่ืน ใช้
หลกั ในการเรียนรู้ เรียนเพื่อให้มีผลการเรียนดีกวา่ เพ่ือนในชนั้ เรียน ต้องการรางวลั ในชนั้ เรียน
เชน่ คาชม หรือวิง่ ของ หรือคะแนน มีลกั ษณะการแขง่ ขนั แบบแพ้ชนะ
59
16. การเรียนรู้แบบอิสระ หมายถึง การรับรู้ข้อมลู ข่าวสาร และจดจาในลกั ษณะวิเคราะห์แยกแยะ
ข้อมลู และมีการเปรียบเทียบความแตกตา่ งและความเหมือนระหว่างข้อมลู ท่ีได้รับมาใหมก่ ับ
ข้อมลู เกา่ ที่มีอยเู่ ดมิ มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและจดั ระเบยี บขา่ วสารข้อมลู ที่ได้รับใหม่ตาม
ความเข้ าใจของตนเองมักจะมีความสามารถและทักษะทางสังคมน้ อยมีความเป็ นตัวของ
ตวั เองสงู มีการตดั สินใจโดยอาศยั ความคิดของตนเอง เป็นหลกั สามารถเรียนรู้ได้ดีในสภาพ
การเรียนรู้ท่ีมีลกั ษณะเป็นรายบคุ คล
17. การเรียนรู้แบบหลีกเล่ียง หมายถึง ไมส่ นใจรายวิชาที่เรียนในห้องเรียนไม่ให้ความร่วมมือกับ
ครูและเพื่อนไมใ่ สใจส่งิ ตา่ งๆ ท่ีเกิดขนึ ้ ในห้องเรียน
18. การเรียนรู้แบบพ่ึงพา หมายถึง ผ้เู รียนมีแบบการเรียนรู้ท่ีต้องการคาบอกเล่าว่าต้องทาอะไร
อย่างไรและเมื่อไร ผ้เู รียนกล่มุ นีต้ ้องการรับคาสงั่ หรืองานที่มอบหมาย อาจารย์และเพื่อนจะ
เป็นแหลง่ ความรู้ มีความต้องการเรียนรู้เฉพาะจากส่ิงที่กาหนดให้เรียนเทา่ นนั้
19. การเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึง ผ้เู รียนมีแบบการเรียนรู้ชอบที่จะทางานร่วมกนั กบั ผ้อู ื่นเรียนรู้
ได้ดีด้วยการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซงึ่ กนั และกนั ถือห้องเรียนเป็นแหล่งปฏิสมั พนั ธ์ทางสงั คมและ
การเรียนรู้ เนือ้ หาวชิ าตลอดจนกิจกรรมนอกหลกั สตู ร
20. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม หมายถึง ผ้เู รียนมีแบบการเรียนรู้ที่ต้องการมีส่วนร่วมมากที่สดุ ใน
กิจกรรมในชนั้ เรียน ผ้เู รียนต้องการเรียนรู้เนือ้ หาวิชาในห้องเรียนและชอบท่ีจะเข้าชนั้ เรียน แต่
ไมต่ ้องการจะร่วมกิจกรรมที่ไมอ่ ยใู่ นรายวชิ าท่ีเรียน
21. อินเตอร์เน็ต หมายถึง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงเครือข่ายมากมายทั่วโลกเข้า
ด้วยกนั เพื่ออานวยความสะดวกในการสืบค้น ข้อมลู คดั ลอกแฟ้มข้อมลู และโปรแกรมมาใช้
รวมทงั้ สื่อสารถงึ กนั ทางอีเมล
22. Blog หมายถึง ผู้เรียนหลายคนเลือกท่ีจะหาข้อมูลในการทาการบ้านเพิ่มเติมจาก Google
โดยการพมิ พ์ค้นหาจะทาให้พวกเขาพบกบั บล็อกท่ีตอบปัญหาของพวกเขาได้น่ีจงึ เป็นโอกาสท่ี
ดีท่ีจะใช้งานบล็อกเป็นส่ือในการสอนโดยให้ผ้เู รียนได้เข้ามาใช้ในการตดิ ตามเนือ้ หาการสอน
รับการบ้าน หรืออปั โหลดไฟล์เพื่อสง่ งาน
23. Social media หมายถึง เป็นช่องทางท่ีเช่ือมโยงผู้คนเข้าด้วยกันได้ผ่านโลกออนไลน์ ซ่ึงคน
สว่ นใหญ่ก็รู้วิธีการใช้งานกนั อยแู่ ล้ว จงึ ง่ายท่ีจะนามาประยกุ ต์ใช้ในการเป็นส่ือการเรียนรู้ โดย
ชอ่ งทางท่ีเหมาะกนั การนาไปใช้ ได้แก่ Facebook Youtube เป็นต้น
60
24. E-book หมายถึง นงั สืออิเล็กทรอนิกส์นนั้ สามารถทาได้ นอกจากตวั หนงั สือและภาพน่ิงท่ีรวม
เป็นเลม่ หนงั สือแล้ว ยงั สามารถใส่ วิดโิ อ เสียงประกอบ กราฟิ กเคลื่อนไหว เพื่อเพ่ิมความน่า
เรียนรู้และยงั ชว่ ยให้ผ้เู รียน ได้เหน็ ภาพของเร่ืองที่กาลงั เรียนรู้ได้ชดั เจนมากขนึ ้
25. Podcast หมายถงึ การให้ความรู้ในรูปแบบเสียงที่เป็น Podcast เป็นรูปแบบที่ง่ายท่ีสดุ ในการ
สร้างของผ้สู อนเองเน่ืองจากไมต่ ้องใช้ตวั หนงั สือหรือภาพประกอบอะไรเลยเพียงแคอ่ ดั เสียงใน
การสอนหรือให้ความรู้ จากนนั้ อปั โหลดขึน้ บนช่องทางออนไลน์ ผ้เู รียนก็สามารถมาเปิดฟัง
และเรียนรู้เองได้เลย
61
บทท่ี 3
วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั
การศกึ ษาเร่ือง ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่ การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในยคุ โควิด
วิธีการ (วจิ ยั /ศกึ ษาค้นคว้าอิสระ/ศึกษาสารนิพนธ์)
ใช้วิธีการเชิงปริมาณ (Quantitative Method) มีวิธีการดงั นี ้
1.การศึกษาข้ อมูลเอกสาร (Documentary Study) เป็ นการศึกษารวบรวมข้ อมูลทุติย
ภูมิ (secondary data) จากเอกสารต่าง ๆ ทัง้ ท่ีเป็นทฤษฎี แนวคิด และผลงานที่เกี่ยวกับการเรียน
ออนไลน์
2. การศึกษาภาคสนาม (Fieldwork Study) เป็นการศึกษารวบรวมข้อมลู ปฐมภูมิ (primary
data) จากประชากรหรือกลุ่มตวั อย่างในพืน้ ที่การวิจยั โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและ/หรือ
ปลายเปิด
หน่วยวเิ คราะห์
หนว่ ยวเิ คราะห์ท่ีใช้ในการศกึ ษา คอื นกั เรียน
เคร่ืองมือวิจัย
1.โครงสร้ างคาถาม
เครื่องมือวจิ ยั เป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและปลายเปิด แบง่ ออกเป็น 3 สว่ น ดงั นี ้
สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไป เป็นคาถามแบบเลือกตอบและให้กรอกข้อมลู ที่เกี่ยวข้อง
สว่ นที่ 2 ปัจจยั ที่มีผลตอ่ การยอมรับการเรียนการสอนในที่ตงั้ ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบ
วิทยาลยั ชลบรุ ี โดยมีระดบั การวดั 1 ถงึ 5 คา่ โดยกาหนดเกณฑ์ไว้ ดงั นี ้
5 หมายถงึ มีการในระดบั มากที่สดุ
4 หมายถึง มีการในระดบั มาก
3 หมายถึง มีการยอมรับในระดบั ปานกลาง
62
2 หมายถึง มีการยอมรับในระดบั น้อย
1 หมายถึง มีการยอมรับในระดบั น้อยท่ีสดุ
สว่ นท่ี 3 ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การการยอมรับการเรียนการสอนออนไลน์ของนกั เรียน
โรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี โดยมีระดบั การวดั 1 ถึง 5 คา่ โดยกาหนดเกณฑ์
ไว้ ดงั นี ้
5 หมายถงึ มีการยอมรับในระดบั มากท่ีสดุ
4 หมายถงึ มีการยอมรับในระดบั มาก
3 หมายถงึ มีการยอมรับในระดบั ปานกลาง
2 หมายถงึ มีการยอมรับในระดบั น้อย
1 หมายถึง มีการยอมรับในระดบั น้อยที่สดุ
2.การพัฒนาเครื่องมือ
การพฒั นาเคร่ืองมือวจิ ยั /การศกึ ษาค้นคว้าอสิ ระ/การศกึ ษาสารนพิ นธ์ใช้แนวคดิ ทฤษฎี และ
งานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องเป็นแนวทางในการออกแบบ โดยมีกระบวนการดงั นี ้
2.1 การสร้างแบบสอบถาม สร้างข้อคาถามจากแนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง
2.2 การตรวจสอบความเท่ียงตรง (validity)
2.3 การปรับปรุงแบบสอบถามให้มีความเท่ียงตรง และความนา่ เชื่อถือ โดยมีวธิ ีการดงั นี ้
2.3.1 ปรับแก้ข้อคาถามตามคาแนะนาของอาจารย์ผ้สู อน
2.3.2 พจิ ารณาปรับแก้ข้อคาถามหรือตดั ข้อคาถามตามคาแนะนาของอาจารย์ผ้สู อน
2.3.3ตรวจสอบความชดั เจนของข้อคาถาม คาผดิ รูปประโยค และลาดบั ของข้อ
คาถาม
ประชากรกลุ่มตวั อย่าง
1.กลมุ่ ประชากรท่ีนามาใช้ศกึ ษาเป็นนกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี ชนั้
มธั ยมศกึ ษาตอนปลายระดบั ชนั้ 4-6 มีจานวนเรียน 1,167 คน ดงั ตารางท่ี 3.1
ตารางท่ี 3.1 แสดงจานวนประชากร จาแนกตาม ชนั้ ปี และ เพศ
63
ชนั้ ปี ชาย เพศ 1167
157 หญิง
มธั ยมปีท่ี4 151 260
มธั ยมปีที่5 131 239
มธั ยมปีที่6 439 229
รวม 728
2.การกาหนดขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ งใช้สตู รของ ทาโร่ ยามาเน่ ดงั นี ้
สตู รทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane)
n =
1+ 2
n=N/(. เมื่อ n = ขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ ง
N = ขนาดประชากร
e = ความคลาดเคล่ือนของกลมุ่ ตวั อย่าง
กาหนดระดบั ความถกู ต้อง (level of percision)
หรือระดบั ความผิดพลาดของการเลือกตวั อยา่ ง (Sampling error) เป็น +/- 7%
แทนคา่ n= 1167
1+1167 (0.07)2
n = 1167
1+1167 (0.0049)
n = 1167
1+5.7183
n = 1167
6.7183
n = 173
n ≈ 173
ได้จานวนกลมุ่ ตวั อยา่ ง 173 คน
64
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
1. ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มูล ( Data Collection) ใ ช้ วิ ธี ก า ร สัม ภ า ษ ณ์ ( Interviewer-
administered) และให้ผ้ตู อบตอบแบบสอบถามเอง (Self-administered) โดยมีดาเนินการ ดงั นี ้
1.1 เก็บข้ อมูลโดยใช้ แบบสอบถามที่เป็ นแบบออนไลน์ ( online base) สร้ าง
ด้วย Google Form แจกให้กลมุ่ ตวั อยา่ งตอบแบบสอบถามเอง จานวน 173 ชดุ
2. ระยะเวลาในการเก็บข้อมลู ใช้เวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน
พ.ศ.2565 รวมระยะเวลา 1 เดือน
การวเิ คราะห์ข้อมูล
1. ตวั แปรในการวเิ คราะห์ข้อมลู มีดงั นี ้
1.1 ตวั แปรอสิ ระ (Independent Variables)
เพศ
ชนั้ ปีท่ีเรียน
สายการเรียน
รายได้รวมของครอบครัวตอ่ ปี
1.2 ตวั แปรตาม (Dependent Variables)
รูปแบบการเรียนรู้
สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้
ส่ือการสอน
การสอบวดั ผล
2. การประมวลผลข้อมลู ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิตโิ ดยมีขนั้ ตอนดงั นี ้
2.1 ตรวจสอบความสมบรู ณ์และความถกู ต้องของแบบสอบถามหลงั จากดาเนินการรวบรวม
ข้อมลู เสร็จเรียบร้อยแล้ว
2.2 บนั ทกึ ข้อมลู เข้าระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับวเิ คราะห์ข้อมลู
2.3 ตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมลู ด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
2.4 ประมวลผลข้อมลู ตามจดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษาวิจยั
65
3. การแปลผลข้อมลู มีเกณฑ์การแปลคะแนนจากการวดั ตวั แปร ดงั นี ้
4.50-5.00 หมายถึง มีการยอมรับในระดบั มากที่สดุ
3.50-4.49 หมายถงึ มีการยอมรับในระดบั มาก
2.50-3.49 หมายถงึ มีการยอมรับในระดบั ปานกลาง
1.50-2.49 หมายถึง มีการยอมรับในระดบั น้อย
0.00-1.49 หมายถึง มีการยอมรับในระดบั น้อยท่ีสดุ
4. การวเิ คราะห์ข้อมลู ทาการวเิ คราะห์ข้อมลู ตามปัญหาการวิจยั วตั ถปุ ระสงค์ โดยใช้สถิตแิ สดงผลใน
รูปตาราง ดงั นี ้
4.1 วิเคราะห์ตวั แปรสถานภาพด้านสงั คมและเศรษฐกิจ ด้วยคา่ ร้อยละ (percentage)
4.2 วิเคราะห์ตวั แปรรูปแบบการเรียนรู้แบบในที่ตงั้ ด้วยคา่ เฉลี่ย(mean) คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน
(standard deviation)
66
บทท่ี 4
ผลการวจิ ยั
งานวิจยั นีม้ ีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือศกึ ษาปัจจยั ที่มีผลตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในยคุ
โควิด ของนกั เรียนโรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ีในช่วงชนั้ มธั ยม 4-6 เป็นการวิจยั เชิงปริมาณ
(Quantitative Research) ด้วยวิธีการเชิงสารวจ (Survey Research) กลุ่มตัวอย่างทัง้ หมดจานวน
173 ตวั อยา่ ง การศกึ ษาวจิ ยั นีใ้ ช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมลู ซง่ึ การ
วิจยั ครัง้ นีไ้ ด้เก็บรวบรวมข้อมลู ตวั อย่างเพียงครัง้ เดียว (Cross-sectional design) ทางแบบสอบถาม
ออนไลน์ (Online Questionnaire) มีผลการวิเคราะห์ข้อมูลนาเสนอตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ตามลาดบั ดงั นี ้
สัญลักษณ์ทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล
เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกนั ชดั เจนในการแปลความหมายของผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ผ้วู จิ ยั
ได้กาหนดสญั ลกั ษณ์ท่ีใช้ในการแปลผลดงั นี ้
̅ แทนคะแนนเฉล่ีย
SD แทนความเบ่ียงเบนมาตรฐาน
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ข้อมลู ครัง้ นีผ้ ้วู ิจยั ได้แบง่ แบบสอบถามออกเป็น 4 สว่ น ดงั นี ้
ส่ วนท่ี 1 แบบสอบถามเก่ียวกับลักษณะข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ประกอบด้วย เพศ ชนั้ ปี สาขาการเรียน จานวนสมาชิกครอบครัว และรายได้รวมต่อปีของ
ครอบครัว โดยนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าความถ่ีและค่าร้ อยละเพ่ือทราบข้อมูล
ทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียน โรงเรียนสวนกุหลาบ
วิทยาลยั ชลบรุ ี
67
ส่วนท่ี 2 วิเคราะห์ข้อมลู เกี่ยวกับพฤติกรรมการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการ
สอนในที่ตงั้ โดยนา เสนอข้อมลู คา่ เฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับต่อ
ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในที่ตงั้ ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั
ชลบรุ ี
ส่วนท่ี 3 วิเคราะห์ข้อมลู เก่ียวกบั พฤติกรรมการยอมรับรูปแบบการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์โดยนา เสนอข้อมลู คา่ เฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับต่อ
ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในท่ีตงั้ ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั
ชลบรุ ี
ส่วนท่ี 4 วิเคราะห์ข้อมลู เกี่ยวกับพฤติกรรมการยอมรับรูปแบบการจัดการเรียนการ
สอนในที่ตงั้ และออนไลน์เพ่ือทาการเปรียบเทียบ โดยนา เสนอข้อมลู คา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนใน
ที่ตงั้ และออนไลน์ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
ส่วนท่ี 1 วิเคราะห์รายละเอียดของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางท่ี14.1 ข้อมลู ทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามแสดง ความถี่ และคา่ ร้อยละ
ปัจจยั ทางประชากร จานวน ร้อยละ
1.เพศ
ชาย 93 53.8
หญิง 80 46.2
รวม 173 100
2.ชนั้ ปีท่ีเรียน 63 36.4
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 68
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
52 30.1
รวม 58 33.5
3.สายการเรียน 173 100
วิทย์-คณิต
ศลิ ป์ -คานวณ 40 23.1
ศลิ ป์ -ภาษาญี่ป่นุ 28 16.2
ศลิ ป์ -ภาษาจีน 37 21.4
องั กฤษ-สงั คม 44 25.4
24 13.9
รวม 173 100
4.รายได้รวมของครอบครัวตอ่ ปี
150,000 - 200,000 บาทตอ่ ปี 20 11.6
200,001 - 250,000 บาทตอ่ ปี 39 22.5
250,001 - 300,000 บาทตอ่ ปี 30 17.3
300,000 บาทขนึ ้ ไปตอ่ ปี 84 48.6
173 100
รวม
69
จากตารางท่ี 4.1 พบว่า ผ้เู รียนที่ทาแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศชายจานวน 93 คน คิด
เป็นร้อยละ 53.8 และ เพศหญิงจานวน 80 คน คดิ เป็นร้อยละ 46.2
ผ้เู รียนส่วนใหญ่จะศึกษาอย่ใู นมธั ยมชนั้ ปีท่ี 4 ร้อยละ 36, มธั ยมชนั้ ปีท่ี 6 ร้อยละ 33.5 และ
น้อยท่ีสดุ คือมธั ยมชนั้ ปีท่ี 5 ร้อยละ 30.1
ผ้เู รียนสว่ นใหญ่มาจากสายการเรียน ศลิ ป์ -ภาษาจีน ร้อยละ 25.4, สายการเรียน วิทย์-คณิต
ร้อยละ 23.1, สายการเรียน ศิลป์ -ภาษาญี่ป่ นุ ร้อยละ 21.4, สายการเรียนศิลป์ -คานวณ ร้อยละ 16.2
และน้อยที่สดุ คือ สายการเรียนองั กฤษ-สงั คม ร้อยละ 13.9
ผ้เู รียนส่วนใหญ่มีรายได้รวมของครอบครัวตอ่ ปีอยทู่ ่ี 300,000 บาทขนึ ้ ไปตอ่ ปี ร้อยละ 48.6 ,
รายได้ 200,001 - 250,000 บาทตอ่ ปี ร้อยละ 22.5 ,รายได้ 250,001 - 300,000 บาทต่อปี ร้อยละ
17.3 และน้อยท่ีสดุ มีรายได้ 150,000 - 200,000 บาทตอ่ ปี ร้อยละ 11.6
ส่วนท่ี 2 วเิ คราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการยอมรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในท่ตี ั้ง
ตารางท่ี24.2 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลต่อ
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในท่ีตงั้ ในเร่ืองรูปแบบการเรียนรู้แบบแข่งขนั ของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบเเขง่ ขนั x̅ S.D ระดบั การยอมรับ
การเรียนที่มีการเเขง่ ขนั จะทาให้ผ้เู รียนได้รับ 4.16 0.69 มาก
การพฒั นา
ผ้เู รียนมีความตงั้ ใจและพยายาม เพื่อให้ได้ผล 3.95 0.82 มาก
การเรียนท่ีดที ่ีสดุ
ผ้เู รียนมกั จะนง่ั หน้าชนั้ เรียน เพื่อให้เข้าใจ 3.85 0.74 มาก
เนือ้ หาการเรียนการสอนมากขนึ ้
เมื่อได้รับมอบหมายงาน ผ้เู รียนจะพยายาม 3.68 0.83 มาก
อยา่ งมากท่ีสดุ เพื่อให้งานออกมาดี
รวม 3.91 0.56 มาก
70
จากตารางท่ี 4.2 พบวา่ การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในท่ีตงั้ เรื่อง รูปแบบการ
เรียนรู้แบบแขง่ ขนั โดยภาพรวมมีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก และจาแนกเป็นรายคาถามได้ดงั นี ้การ
เรียนท่ีมีการเเขง่ ขนั จะทาให้ผ้เู รียนได้รับการพฒั นา มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅= 4.16) ,ผ้เู รียน
มีความตงั้ ใจและพยายาม เพื่อให้ได้ผลการเรียนท่ีดีที่สดุ มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅=3.95) ,
ผ้เู รียนมกั จะนงั่ หน้าชนั้ เรียน เพ่ือให้เข้าใจเนือ้ หาการเรียนการสอนมากขึน้ มีการยอมรับอย่ใู นระดบั
มาก ( ̅=3.85) ,เมื่อได้รับมอบหมายงาน ผ้เู รียนจะพยายามอย่างมากที่สดุ เพื่อให้งานออกมาดี มีการ
ยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅=3.68) และค่าเฉลี่ยรวมของทกุ ข้อคาถาม ( ̅=3.91) มีการยอมรับการ
เรียนรู้รูปแบบแขง่ ขนั อยใู่ นระดบั มาก
ตารางท่ี 34.3 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลต่อ
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในท่ีตงั้ ในเร่ืองรูปแบบการเรียนรู้แบบอิสระของ นักเรียนสวน
กหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบอสิ ระ ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
สว่ นใหญ่ผ้เู รียนเรียนรู้ด้วยตนเอง เชน่ การหา 3.61 0.77 มาก
ข้อมลู จากอินเทอร์เนต็ , การลงพืน้ ที่ศกึ ษา
ข้อมลู เป็นต้น
เมื่อได้รับมอบหมายงาน ผ้เู รียนมีความมน่ั ใจ 3.91 0.90 มาก
วา่ สามารถทาสาเร็จได้ด้วยตนเอง
ผ้เู รียนเช่ือมนั่ วา่ การเรียนรู้ด้วยตนเองมีความ 3.77 0.87 มาก
ถกู ต้อง อสิ ระ เเละคลอ่ งตวั มากกวา่ การเรียนรู้
เป็นกลมุ่
รวม 3.76 0.67 มาก
71
จากตารางท่ี 4.3 พบว่า การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในที่ตงั้ เรื่อง รูปแบบการ
เรียนรู้แบบอิสระ โดยภาพรวมมีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก และจาแนกเป็นรายคาถามได้ดงั นี ้เมื่อ
ได้รับมอบหมายงาน ผ้เู รียนมีความมนั่ ใจวา่ สามารถทาสาเร็จได้ด้วยตนเอง มีการยอมรับอย่ใู นระดบั
มาก ( ̅ =3.91) ,ผ้เู รียนเชื่อมน่ั วา่ การเรียนรู้ด้วยตนเองมีความถกู ต้อง อิสระ เเละคลอ่ งตวั มากกวา่ การ
เรียนรู้เป็นกล่มุ มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅ =3.77) ,ส่วนใหญ่ผ้เู รียนเรียนรู้ด้วยตนเอง มีการ
ยอมรับอยู่ในระดบั มาก ( ̅ =3.61) และค่าเฉล่ียรวมของทุกข้อคาถาม (=3.76) มีการยอมรับการ
เรียนรู้รูปแบบอิสระอยใู่ นระดบั มาก
ตารางท่ี44.4 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในที่ตงั้ ในเร่ืองรูปแบบการเรียนรู้แบบหลีกเลี่ยงของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบหลีกเล่ียง ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ผ้เู รียนรู้สกึ สบายใจ เม่ือต้องนงั่ เรียนในห้อง 3.72 0.77 มาก
เตม็ เวลา
เมื่ออยใู่ นชนั้ เรียน ผ้เู รียนมีสมาธิในการทา 3.95 0.83 มาก
ความเข้าใจเนือ้ หาการเรียนการสอน
เม่ือผ้เู รียนไมเ่ ข้าใจเนือ้ หาการเรียนการสอน 3.88 0.86 มาก
จะพยายามทาความเข้าใจในเนือ้ หานนั้ ๆ
รวม 3.85 0.65 มาก
จากตารางท่ี 4.4 พบว่า การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในที่ตงั้ เรื่อง รูปแบบการ
เรียนรู้แบบหลีกเลี่ยง โดยภาพรวมมีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก และจาแนกเป็นรายคาถามได้ดงั นี ้
เม่ืออย่ใู นชนั้ เรียน ผ้เู รียนมีสมาธิในการทาความเข้าใจเนือ้ หาการเรียนการสอน มีการยอมรับอยู่ใน
ระดบั มาก ( ̅ =3.95) ,เม่ือผ้เู รียนไม่เข้าใจเนือ้ หาการเรียนการสอน จะพยายามทาความเข้าใจใน
72
เนือ้ หานนั้ ๆ มีการยอมรับอยใู่ นระดบั มาก ( ̅ =3.88) ,ผ้เู รียนรู้สกึ สบายใจ เม่ือต้องนง่ั เรียนในห้องเตม็
เวลา มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅ =3.72) และคา่ เฉลี่ยรวมของทุกข้อคาถาม ( ̅ =3.85) มีการ
ยอมรับการเรียนรู้รูปแบบหลีกเลี่ยงอยใู่ นระดบั มาก
ตารางท่ี54.5 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในที่ตงั้ ในเร่ืองรูปแบบการเรียนรู้แบบพ่ึงพาของ นักเรียนสวน
กหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบพง่ึ พา ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ผ้สู อนมีสว่ นชว่ ยในการทาให้ผ้เู รียนเกิดการ 3.69 0.82 มาก
เรียนรู้
ผ้เู รียนยอมรับเนือ้ หาเเละกิจกรรม ที่ผ้สู อนได้ 3.92 0.90 มาก
กาหนดในทกุ ๆรายวิชาท่ีเรียน
ผ้เู รียนรู้สกึ สนกุ กบั เนือ้ หาเเละกิจกรรมใน 3.72 0.87 มาก
ห้องเรียนท่ีผ้สู อนจดั ขนึ ้ เชน่ การทดลอง
วิทยาศาสตร์ เป็นต้น
รวม 3.78 0.69 มาก
จากตารางท่ี 4.5 พบว่า การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในที่ตงั้ เร่ือง รูปแบบการ
เรียนรู้แบบพง่ึ พา โดยภาพรวมมีการยอมรับอยใู่ นระดบั มาก และจาแนกเป็นรายคาถามได้ดงั นี ้ ผ้เู รียน
ยอมรับเนือ้ หาเเละกิจกรรม ที่ผ้สู อนได้กาหนดในทกุ ๆรายวิชาท่ีเรียน มีการยอมรับอยใู่ นระดบั มาก ( ̅
=3.92) ,ผ้เู รียนรู้สึกสนกุ กับเนือ้ หาเเละกิจกรรมในห้องเรียนที่ผ้สู อนจัดขึน้ มีการยอมรับอย่ใู นระดบั
มาก ( ̅ =3.72) ,ผ้สู อนมีส่วนชว่ ยในการทาให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ มีการยอมรับอยใู่ นระดบั มาก ( ̅
=3.69) และค่าเฉล่ียรวมของทุกข้อคาถาม ( ̅ =3.78) มีการยอมรับการเรียนรู้รูปแบบพ่ึงพาอยู่ใน
ระดบั มาก
73
ตารางท่ี64.6 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในท่ีตงั้ ในเรื่องรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบร่วมมือ ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ความคดิ เห็นของเพ่ือนร่วมชนั้ เรียน ทาให้ 3.60 0.81 มาก
ผ้เู รียนมีความเข้าใจเนือ้ หามากขนึ ้
ผ้เู รียนมกั จะทบทวนเนือ้ หากบั เพื่อนๆ กอ่ น 3.89 0.98 มาก
การสอบ
เม่ือได้รับมอบหมายงานกลมุ่ ผ้เู รียนสามารถ 3.80 0.91 มาก
ทางานร่วมกบั ผ้อู ื่นได้
การมีสว่ นร่วมในชนั้ เรียนทาให้การเรียนรู้มี 3.86 0.91 มาก
ประสิทธิภาพ เชน่ การเลน่ กีฬาประเภททีม
เป็นต้น
รวม 3.78 0.69 มาก
จากตารางที่ 4.6 พบวา่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่ การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในท่ีตงั้
เร่ือง รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยภาพรวมมีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก และจาแนกเป็นราย
คาถามได้ดงั นี ้ผ้เู รียนมกั จะทบทวนเนือ้ หากบั เพ่ือนๆ ก่อนการสอบ มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅
=3.89) ,การมีส่วนร่วมในชนั้ เรียนทาให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพ มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅
=3.86) ,เม่ือได้รับมอบหมายงานกลมุ่ ผ้เู รียนสามารถทางานร่วมกบั ผ้อู ่ืนได้ มีการยอมรับอยใู่ นระดบั
มาก ( ̅ =3.80) ,ความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชนั้ เรียน ทาให้ผ้เู รียนมีความเข้าใจเนือ้ หามากขนึ ้ มีการ
74
ยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅ =3.60) และคา่ เฉล่ียรวมของทกุ ข้อคาถาม ( ̅ =3.78) มีการยอมรับการ
เรียนรู้รูปแบบร่วมมืออยใู่ นระดบั มาก
ตารางท่ี74.7 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในที่ตงั้ ในเรื่องรูปแบบการเรียนรู้แบบมีสว่ นร่วมของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบมีสว่ นร่วม ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอนทกุ 3.63 0.86 มาก
รายวิชา
ผ้เู รียนชอบการทางานร่วมกบั ผ้อู ื่นมากกวา่ 3.99 0.87 มาก
การทางานคนเดียว
ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการเเสดงความคิดเห็นใน 3.84 0.80 มาก
ชนั้ เรียน
รวม 3.82 0.64 มาก
จากตารางท่ี 4.7 พบว่า การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในท่ีตงั้ เร่ือง รูปแบบการ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยภาพรวมมีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก และจาแนกเป็นรายคาถามได้ดงั นี ้
ผู้เรียนชอบการทางานร่วมกับผู้อื่นมากกว่าการทางานคนเดียว มีการยอมรับอยู่ในระดับ มาก ( ̅
=3.99) ,ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเเสดงความคิดเห็นในชัน้ เรียน มีการยอมรับอยู่ในระดับ มาก ( ̅
=3.84) ,ผ้เู รียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทกุ รายวิชา มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅ =3.63)
และค่าเฉล่ียรวมของทกุ ข้อคาถาม ( ̅ =3.82) มีการยอมรับการเรียนรู้รูปแบบมีส่วนร่วมอย่ใู นระดบั
มาก
75
ตารางที่84.8 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในท่ีตงั้ เร่ือง สภาพแวดล้อม ของนกั เรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
ชลบรุ ี
การยอมรับสภาพเเวดล้อมการเรียนการสอน ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ในที่ตงั ้
เเสงภายในชนั้ เรียนมีความเหมาะสมสาหรับ 3.74 0.70 มาก
การเรียนรู้ของผ้เู รียน
เสียงบริเวณห้องเรียนมีความเหมาะสมสาหรับ 3.94 0.80 มาก
การเรียนรู้ของผ้เู รียน
อณุ หภมู ิเเละกลน่่ิ ภายในชนั้ เรียนมีผลตอ่ การ 3.87 0.82 มาก
เรียนรู้ของผ้เู รียน
สง่ิ อานวยความสะดวกมีเพียงพอตอ่ ผ้เู รียนใน 3.82 0.76 มาก
ชนั้ เรียน เชน่ โต๊ะ, เก้าอี,้ พดั ลม เป็นต้น
รวม 3.84 0.56 มาก
จากตารางท่ี 4.8 พบว่า การยอมรับสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนในท่ีตงั้ โดยภาพรวมมี
การยอมรับอยใู่ นระดบั มาก และจาแนกเป็นรายคาถามได้ดงั นี ้เสียงบริเวณห้องเรียนมีความเหมาะสม
สาหรับการเรียนรู้ของผ้เู รียน มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅ =3.94) ,อณุ หภูมิเเละกล่ิ่นภายในชนั้
เรียนมีผลตอ่ การเรียนรู้ของผ้เู รียน มีการยอมรับอยใู่ นระดบั มาก ( ̅ =3.87) ,สงิ่ อานวยความสะดวกมี
เพียงพอต่อผ้เู รียนในชนั้ เรียน มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅ =3.82) ,เเสงภายในชนั้ เรียนมีความ
เหมาะสมสาหรับการเรียนรู้ของผ้เู รียน มีการยอมรับอยใู่ นระดบั มาก ( ̅ =3.74) และคา่ เฉลี่ยรวมของ
ทกุ ข้อคาถาม ( ̅ =3.84) มีการยอมรับสภาพแวดล้อมในที่ตงั้ อยใู่ นระดบั มาก
76
ตารางที่94.9 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่
การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในท่ีตงั้ เร่ือง ส่ือการสอน ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
การยอมรับส่ือการสอนการเรียนร้ ูในท่ีตงั ้ ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ส่ือส่งิ ตพี มิ พ์มีผลตอ่ การเรียนรู้ของผ้เู รียน เชน่ 3.63 0.76 มาก
หนงั สือ, เอกสารการสอน เป็นต้น
ภาพประกอบในสื่อการสอนมีผลตอ่ การเรียนรู้ 3.88 0.90 มาก
เเละการทาความเข้าใจเนือ้ หาของผ้เู รียน เชน่
เเผนภมู ิ, เเผนภาพ, ภาพประกอบ เป็นต้น
อปุ กรณ์โปรเจกเตอร์เเละส่ือมีความเหมาะสม 3.80 0.80 มาก
ตอ่ การเรียนรู้ของผ้เู รียน เชน่ ภาพยนตร์ เเละ
วีดโี อ เป็นต้น
วสั ดถุ ่ายทอดเสียงมีความเหมาะสมตอ่ การ 3.78 0.81 มาก
เรียนรู้ของผ้เู รียนเชน่ เครื่องเลน่ เสียง, ลาโพง
เป็นต้น
รวม 3.77 0.62 มาก
จากตารางท่ี 4.9 พบว่า การยอมรับสื่อการสอนในท่ีตงั้ โดยภาพรวมมีการยอมรับอย่ใู นระดบั
มาก และจาแนกเป็นรายคาถามได้ดงั นี ้ ภาพประกอบในสื่อการสอนมีผลต่อการเรียนรู้เเละการทา
ความเข้าใจเนือ้ หาของผ้เู รียน การยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅ =3.88) ,อปุ กรณ์โปรเจกเตอร์เเละส่ือมี
ความเหมาะสมตอ่ การเรียนรู้ของผ้เู รียน มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก ( ̅ =3.80) ,วสั ดถุ า่ ยทอดเสียง
มีความเหมาะสมตอ่ การเรียนรู้ของผ้เู รียน มีการยอมรับอยใู่ นระดบั มาก ( ̅ =3.78) ,สื่อสิ่งตีพิมพ์มีผล
ตอ่ การเรียนรู้ของผ้เู รียน มีการยอมรับอยใู่ นระดบั มาก ( ̅ =3.63) และคา่ เฉลี่ยรวมของทกุ ข้อคาถาม
( ̅ =3.77) มีการยอมรับส่ือการสอนในที่ตงั้ อยใู่ นระดบั มาก
77
ตารางที่104.10 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในท่ีตงั้ เรื่อง การสอบวดั ผล ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั
ชลบรุ ี
การยอมรับการสอบวดั ผลในท่ีตงั้ ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
การสอบในท่ีตงั้ สามารถวดั ระดบั ความรู้ความ 3.55 0.85 มาก
เข้าใจของผ้เู รียนได้ เชน่ การสอบปรนยั ,
อตั นยั , สอบปากเปลา่ เป็นต้น
โจทย์สามารถออกเเบบให้ผ้เู รียนมีความเข้าใจ 3.76 0.84 มาก
ได้งา่ ย
รวม 3.65 0.74 มาก
จากตารางท่ี 4.10 พบว่า การยอมรับการสอบวดั ผลในท่ีตงั้ โดยภาพรวมมีการยอมรับอย่ใู น
ระดบั มาก และจาแนกเป็นรายคาถามได้ดงั นี ้โจทย์สามารถออกเเบบให้ผ้เู รียนมีความเข้าใจได้ง่าย
การยอมรับอยู่ในระดบั มาก ( ̅ =3.76) ,การสอบในท่ีตงั้ สามารถวดั ระดบั ความรู้ความเข้าใจของ
ผ้เู รียนได้ มีการยอมรับอยใู่ นระดบั มาก ( ̅ =3.55) และคา่ เฉล่ียรวมของทกุ ข้อคาถาม ( ̅ =3.65) มี
การยอมรับการสอบวดั ผลในที่ตงั้ อยใู่ นระดบั มาก
78
ตารางที่114.11 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับรูปแบบการเรียน
การสอนในท่ีตัง้ เรื่อง รูปแบบการเรียนรู้ สภาพแวดล้อม ส่ือการสอน การสอบวัดผลเพื่อนามา
เปรียบเทียบการยอมรับของ นกั เรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี
ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่ การยอมรับในท่ีตงั้ ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
1.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบเเขง่ ขนั ใน 3.91 0.56 มาก
ที่ตงั ้
2.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบอสิ ระใน 3.76 0.67 มาก
ท่ีตงั ้
3.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบหลีกเลี่ยงใน 3.85 0.65 มาก
ที่ตงั ้
4.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบพงึ่ พาใน 3.78 0.70 มาก
ท่ีตงั ้
5.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบร่วมมือใน 3.78 0.69 มาก
ท่ีตงั ้
6.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบมีสว่ นร่วม 3.82 0.64 มาก
ในท่ีตงั ้
7.การยอมรับสภาพเเวดล้อมในการ 3.84 0.56 มาก
เรียนร้ ูในที่ตงั ้
8.การยอมรับสื่อการสอนภายในที่ตงั้ 3.77 0.62 มาก
9.การยอมรับรูปเเบบการสอบวดั ผล 3.65 0.74 มาก
ในท่ีตงั ้
รวม 3.80 0.46 มาก
79
จากตารางที่ 4.11 พบว่า ผ้เู รียนมีการยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนในที่ตงั้ ภาพรวมอย่ใู น
ระดบั มาก หากพิจารณาเป็นรายด้าน ส่วนใหญ่มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก จานวน 9 ด้าน ได้แก่
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบเเขง่ ขนั ในที่ตงั้ ( ̅ =3.91) ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบหลีกเล่ียงในที่ตงั้ ( ̅ =3.85)
,การยอมรับสภาพเเวดล้อมในการเรียนรู้ในที่ตงั้ ( ̅ =3.84) ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบมีส่วนร่วมในที่ตงั้
( ̅ =3.82) ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบพง่ึ พาในที่ตงั้ ( ̅ =3.78) ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบร่วมมือในที่ตงั้ ( ̅
=3.78) ,การยอมรับสื่อการสอนภายในท่ีตัง้ ( ̅ =3.77) ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบอิสระในท่ีตัง้ ( ̅
=3.76) และ การยอมรับรูปเเบบการสอบวดั ผลในท่ีตงั้ ( ̅ =3.65)
ส่วนท่ี 3 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการยอมรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์
ตารางที่124.12 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ในเรื่องรูปแบบการเรียนรู้แบบแขง่ ขนั ของ นกั เรียน
สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบเเขง่ ขนั ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
การเรียนท่ีมีการเเขง่ ขนั จะทาให้ผ้เู รียนได้รับ 3.19 1.03 ปานกลาง
การพฒั นา
ผ้เู รียนมีความตงั้ ใจและพยายาม เพื่อให้ได้ผล 2.98 0.97 ปานกลาง
การเรียนท่ีดีท่ีสดุ
ผ้เู รียนมกั จะยกมือตอบเป็นคนเเรก เพ่ือทา 2.89 1.00 ปานกลาง
ความเข้าใจเนือ้ หาการเรียนการสอน
เม่ือได้รับมอบหมายงาน ผ้เู รียนจะพยายาม 2.79 1.09 ปานกลาง
อยา่ งมากท่ีสดุ เพื่อให้งานออกมาดี
รวม 2.96 0.86 ปานกลาง
80
จากตารางที่ 4.12 พบว่า การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง รูปแบบ
การเรียนรู้แบบแข่งขนั โดยภาพรวมมีการยอมรับอยใู่ นระดบั ปานกลาง และจาแนกเป็นรายคาถามได้
ดงั นี ้การเรียนท่ีมีการเเขง่ ขนั จะทาให้ผ้เู รียนได้รับการพฒั นา มีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง ( ̅
=3.19) ,ผ้เู รียนมีความตงั้ ใจและพยายาม เพื่อให้ได้ผลการเรียนท่ีดีที่สดุ มีการยอมรับอยใู่ นระดบั ปาน
กลาง ( ̅ =2.98) ,ผ้เู รียนมกั จะยกมือตอบเป็นคนเเรก เพ่ือทาความเข้าใจเนือ้ หาการเรียนการสอน มี
การยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง ( ̅ =2.89) ,เม่ือได้รับมอบหมายงาน ผ้เู รียนจะพยายามอยา่ งมาก
ที่สดุ เพ่ือให้งานออกมาดี มีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง ( ̅ =2.79) และคา่ เฉลี่ยรวมของทุกข้อ
คาถาม ( ̅ =2.96) มีการยอมรับการเรียนรู้รูปแบบแขง่ ขนั อยใู่ นระดบั ปานกลาง
ตารางที่134.13 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง รูปแบบการเรียนรู้แบบอิสระของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวทิ ยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบอิสระ ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
สว่ นใหญ่ผ้เู รียนเรียนรู้ด้วยตนเอง เชน่ การหา 2.68 1.08 ปานกลาง
ข้อมลู จากอินเทอร์เน็ต, การลงพืน้ ที่ศกึ ษา
ข้อมลู เป็นต้น
เมื่อได้รับมอบหมายงาน ผ้เู รียนมีความมนั่ ใจ 3.12 0.94 ปานกลาง
วา่ สามารถทาสาเร็จได้ด้วยตนเอง
ผ้เู รียนเช่ือมนั่ วา่ การเรียนรู้ด้วยตนเองมีความ 2.88 1.08 ปานกลาง
ถกู ต้อง อสิ ระ เเละคล่องตวั มากกวา่ การเรียนรู้
เป็นกลมุ่
รวม 2.89 0.91 ปานกลาง
81
จากตารางท่ี 4.13 พบวา่ การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง รูปแบบ
การเรียนรู้แบบอิสระโดยโดยภาพรวมมีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง และจาแนกเป็นรายคาถาม
ได้ดงั นี ้เม่ือได้รับมอบหมายงาน ผ้เู รียนมีความมนั่ ใจวา่ สามารถทาสาเร็จได้ด้วยตนเอง มีการยอมรับ
อย่ใู นระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.12) ,ผ้เู รียนเชื่อมน่ั ว่าการเรียนรู้ด้วยตนเองมีความถูกต้อง อิสระ เเละ
คลอ่ งตวั มากกวา่ การเรียนรู้เป็นกลมุ่ มีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง ( ̅ =2.88) ,สว่ นใหญ่ผ้เู รียน
เรียนรู้ด้วยตนเอง มีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง ( ̅ =2.68) และคา่ เฉลี่ยรวมของทุกข้อคาถาม
( ̅ =2.89) มีการยอมรับการเรียนรู้รูปแบบอสิ ระอยใู่ นระดบั ปานกลาง
ตารางที่144.14 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง รูปแบบการเรียนรู้แบบหลีกเลี่ยงของ นกั เรียน
สวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบหลีกเล่ียง ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ผ้เู รียนรู้สกึ สบายใจ เม่ือต้องใช้โปรเเกรมเรียน 2.84 1.10 ปานกลาง
ออนไลน์เตม็ เวลา
เมื่ออยใู่ นโปรเเกรมเรียนออนไลน์ ผ้เู รียนมี 3.05 1.07 ปานกลาง
สมาธิในการทาความเข้าใจเนือ้ หาการเรียน
การสอน
เมื่อผ้เู รียนไมเ่ ข้าใจเนือ้ หาการเรียนการสอน 2.90 1.12 ปานกลาง
จะพยายามทาความเข้าใจในเนือ้ หานนั้ ๆ
รวม 2.93 0.95 ปานกลาง
จากตารางท่ี 4.14 พบว่า การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง รูปแบบ
การเรียนรู้แบบหลีกเล่ียงโดยภาพรวมมีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง และจาแนกเป็นรายคาถาม
ได้ดงั นี ้เม่ืออยใู่ นโปรเเกรมเรียนออนไลน์ ผ้เู รียนมีสมาธิในการทาความเข้าใจเนือ้ หาการเรียนการสอน
82
การยอมรับอยู่ในระดับ ปานกลาง ( ̅ =3.05) ,เมื่อผู้เรียนไม่เข้าใจเนือ้ หาการเรียนการสอน จะ
พยายามทาความเข้าใจในเนือ้ หานนั้ ๆ มีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง ( ̅ =2.90) ,ผ้เู รียนรู้สึก
สบายใจ เมื่อต้องใช้โปรเเกรมเรียนออนไลน์เต็มเวลา มีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง ( ̅ =2.84)
และค่าเฉล่ียรวมของทกุ ข้อคาถาม ( ̅ =2.93) มีการยอมรับการเรียนรู้รูปแบบหลีกเล่ียงอยู่ในระดบั
ปานกลาง
ตารางท่ี154.15 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ืองรูปแบบการเรียนรู้แบบพงึ่ พาของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบพงึ่ พา ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ผ้สู อนมีสว่ นชว่ ยในการทาให้ผ้เู รียนเกิดการ 2.75 1.18 ปานกลาง
เรียนรู้
ผ้เู รียนยอมรับเนือ้ หาเเละกิจกรรม ที่ผ้สู อนได้ 3.12 1.01 ปานกลาง
กาหนดในทกุ ๆรายวิชาที่เรียน
ผ้เู รียนรู้สกึ สนกุ กบั เนือ้ หาเเละกิจกรรมใน 2.86 1.12 ปานกลาง
ห้องเรียนที่ผ้สู อนจดั ขนึ ้ เชน่ การเลน่ Kahoot
ทายคาถาม เป็นต้น
รวม 2.91 0.98 ปานกลาง
จากตารางท่ี 4.15 พบวา่ การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง รูปแบบ
การเรียนรู้แบบพ่ึงพาโดยภาพรวมมีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง และจาแนกเป็นรายคาถามได้
ดงั นี ้ผ้เู รียนยอมรับเนือ้ หาเเละกิจกรรม ที่ผ้สู อนได้กาหนดในทกุ ๆรายวิชาท่ีเรียน มีการยอมรับอย่ใู น
ระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.12) ,ผ้เู รียนรู้สึกสนกุ กบั เนือ้ หาเเละกิจกรรมในห้องเรียนท่ีผ้สู อนจดั ขึน้ มีการ
ยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง ( ̅ =2.86) ,ผ้สู อนมีส่วนช่วยในการทาให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ มีการ
83
ยอมรับอยใู่ นระดบั ปานกลาง ( ̅ =2.75) และคา่ เฉล่ียรวมของทกุ ข้อคาถาม ( ̅ =2.91) มีการยอมรับ
การเรียนรู้รูปแบบพงึ่ พาอยใู่ นระดบั ปานกลาง
ตารางที่164.16 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่องรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือของ นกั เรียนสวน
กหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบร่วมมือ ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ความคดิ เห็นของเพ่ือนร่วมชนั้ เรียนออนไลน์ 2.77 1.07 ปานกลาง
ทาให้ผ้เู รียนมีความเข้าใจเนือ้ หามากขนึ ้
ผ้เู รียนมกั จะทบทวนเนือ้ หากบั เพื่อนผา่ นโปร 3.29 0.93 ปานกลาง
เเกรมออนไลน์ ก่อนการสอบ
เม่ือได้รับมอบหมายงานกลมุ่ ผ้เู รียนสามารถ 3.08 1.03 ปานกลาง
ทางานร่วมกบั ผ้อู ่ืนได้
การมีสว่ นร่วมในชนั้ เรียนออนไลน์ทาให้การ 3.04 1.04 ปานกลาง
เรียนรู้มีประสิทธิภาพ เชน่ การเลน่ กีฬา
ประเภททีม เป็นต้น
รวม 3.04 0.85 ปานกลาง
จากตารางท่ี 4.16 พบว่า การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง รูปแบบ
การเรียนรู้แบบร่วมมือโดยภาพรวมมีการยอมรับอยใู่ นระดบั ปานกลาง และจาแนกเป็นรายคาถามได้
ดงั นี ้ ผ้เู รียนมกั จะทบทวนเนือ้ หากับเพ่ือนผ่านโปรเเกรมออนไลน์ ก่อนการสอบ มีการยอมรับอยู่ใน
ระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.29) ,เม่ือได้รับมอบหมายงานกลมุ่ ผ้เู รียนสามารถทางานร่วมกบั ผ้อู ื่นได้ มีการ
ยอมรับอยู่ในระดับ ปานกลาง ( ̅ =3.08) ,การมีส่วนร่วมในชัน้ เรียนออนไลน์ทาให้การเรียนรู้มี
84
ประสิทธิภาพ มีการยอมรับอยู่ในระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.04) ,ความคิดเห็นของเพ่ือนร่วมชนั้ เรียน
ออนไลน์ ทาให้ผ้เู รียนมีความเข้าใจเนือ้ หามากขนึ ้ มีการยอมรับอยใู่ นระดบั ปานกลาง ( ̅ =2.77) และ
ค่าเฉล่ียรวมของทุกข้อคาถาม ( ̅ =3.04) มีการยอมรับการเรียนรู้รูปแบบร่วมมืออยู่ในระดบั ปาน
กลาง
ตารางที่174.17 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่องรูปแบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของ นกั เรียน
สวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
รูปเเบบการเรียนรู้เเบบมีสว่ นร่วม ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอนทกุ 2.92 0.94 ปานกลาง
รายวิชา
ผ้เู รียนชอบการทางานร่วมกบั ผ้อู ื่นมากกว่า 3.29 0.83 ปานกลาง
การทางานคนเดียว
ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการเเสดงความคดิ เหน็ ใน 3.06 0.92 ปานกลาง
ชนั้ เรียน
รวม 3.09 0.76 ปานกลาง
จากตารางท่ี 4.17 พบว่า การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง รูปแบบ
การเรียนรู้แบบมีสว่ นร่วมโดยภาพรวมมีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง และจาแนกเป็นรายคาถาม
ได้ดงั นี ้ผ้เู รียนชอบการทางานร่วมกบั ผ้อู ่ืนมากกวา่ การทางานคนเดียว มีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปาน
กลาง ( ̅ =3.29) ,ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการเเสดงความคดิ เหน็ ในชนั้ เรียน มีการยอมรับอยใู่ นระดบั ปาน
กลาง ( ̅ =3.06) ,ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทุกรายวิชา มีการยอมรับอยู่ในระดบั ปาน
กลาง ( ̅ =2.92) และคา่ เฉลี่ยรวมของทกุ ข้อคาถาม ( ̅ =3.09) มีการยอมรับการเรียนรู้รูปแบบมีส่วน
ร่วมอยใู่ นระดบั ปานกลาง
85
ตารางที่184.18 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ต่อการยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สภาพแวดล้อม ของนักเรียนสวนกุหลาบ
วิทยาลยั ชลบรุ ี
การยอมรับสภาพเเวดล้อมในการเรียน ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ออนไลน์
เเสงภายในที่พกั มีความเหมาะสมสาหรับการ 3.05 0.93 ปานกลาง
เรียนรู้ของผ้เู รียน
เสียงบริเวณที่พกั มีความเหมาะสมสาหรับการ 3.21 0.92 ปานกลาง
เรียนรู้ของผ้เู รียน
อณุ หภมู ิเเละกลนิ่่ ภายในท่ีพกั มีความ 3.12 0.88 ปานกลาง
เหมาะสมสาหรับการเรียนรู้ของผ้เู รียน
ส่ิงอานวยความสะดวกมีเพียงพอตอ่ ผ้เู รียนใน 3.18 0.80 ปานกลาง
ท่ีพกั เชน่ อปุ กรอเิ ลก็ ทรอนิกส์,โต๊ะ,เก้าอี ้เป็น
ต้น
ความเหมาะสมของซอฟเเวร์ท่ีใช้ในการเรียน 3.15 0.85 ปานกลาง
ออนไลน์ เชน่ Zoom, Google classroom,
Microsoft team
ความเหมาะสมของอนิ เตอร์เน็ตที่ใช้ในการ 3.18 0.84 ปานกลาง
เรียนออนไลน์
รวม 3.15 0.64 ปานกลาง
86
จากตารางท่ี 4.18 พบว่า การยอมรับสภาพแวดล้อมการเรียนออนไลน์ โดยภาพรวมมีการ
ยอมรับอยใู่ นระดบั ปานกลาง และจาแนกเป็นรายคาถามได้ดงั นี ้ เสียงบริเวณที่พกั มีความเหมาะสม
สาหรับการเรียนรู้ของผ้เู รียน การยอมรับอยใู่ นระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.21) ,ส่ิงอานวยความสะดวกมี
เพียงพอตอ่ ผ้เู รียนในที่พกั และ ความเหมาะสมของอินเตอร์เน็ตท่ีใช้ในการเรียนออนไลน์ มีการยอมรับ
อยใู่ นระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.18) ,ความเหมาะสมของซอฟเเวร์ที่ใช้ในการเรียนออนไลน์ มีการยอมรับ
อยใู่ นระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.15) ,อณุ หภูมิเเละกล่่ินภายในที่พกั มีความเหมาะสมสาหรับการเรียนรู้
ของผ้เู รียน มีการยอมรับอยใู่ นระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.12) ,เเสงภายในที่พกั มีความเหมาะสมสาหรับ
การเรียนรู้ของผู้เรียน มีการยอมรับอยู่ในระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.05) และค่าเฉลี่ยรวมของทุกข้อ
คาถาม ( ̅ =3.15) มีการยอมรับสภาพแวดล้อมการเรียนออนไลน์อยใู่ นระดบั ปานกลาง
ตารางที่194.19 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ที่สง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เร่ือง สื่อการสอน ของนกั เรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั
ชลบรุ ี
การยอมรับส่ือการสอนในการเรียนออนไลน์ ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
ข้อมลู ที่เป็นข้อความหรือกระท้ภู ายใน Google 3.13 0.82 ปานกลาง
สามารถสร้างความรู้ความเข้าใจให้กบั ผ้เู รียน
สื่อสงั คมออนไลน์เชน่ Facebook,Youtube 3.32 0.86 ปานกลาง
ชว่ ยให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้
เอกสารออนไลน์หรือข้อมลู ท่ีเป็นไฟล์ออนไลน์ 3.10 0.87 ปานกลาง
ชว่ ยให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้
คลิปวีดีโอหรือ คลิปเสียง ช่วยให้ผ้เู รียนเกิดการ 3.13 0.86 ปานกลาง
เรียนรู้
รวม 3.17 0.66 ปานกลาง
87
จากตารางที่ 4.19 พบว่า การยอมรับส่ือการเรียนออนไลน์ โดยภาพรวมมีการยอมรับอยู่ใน
ระดบั ปานกลาง และจาแนกเป็นรายคาถามได้ดงั นี ้ สื่อสงั คมออนไลน์เช่น Facebook,Youtube ชว่ ย
ให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ การยอมรับอยใู่ นระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.32) ,ข้อมลู ที่เป็นข้อความหรือกระทู้
ภายใน Google สามารถสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผ้เู รียน และ คลิปวีดีโอหรือ คลิปเสียง ช่วยให้
ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ มีการยอมรับอยใู่ นระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.13) ,เอกสารออนไลน์หรือข้อมลู ที่เป็น
ไฟล์ออนไลน์ ช่วยให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ มีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.10) ,เอกสาร
ออนไลน์หรือข้อมลู ท่ีเป็นไฟล์ออนไลน์ชว่ ยให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ มีการยอมรับอยใู่ นระดบั ปานกลาง
( ̅ =3.10) และค่าเฉล่ียรวมของทุกข้อคาถาม ( ̅ =3.17) มีการยอมรับส่ือการเรียนออนไลน์อย่ใู น
ระดบั ปานกลาง
ตารางท่ี204.20 ตารางแสดง คา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ต่อการยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง การสอบวัดผล ของนักเรียนสวนกุหลาบ
วิทยาลยั ชลบรุ ี
การยอมรับการสอบวดั ผลในการเรียนออนไลน์ ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
โปรเเกรมที่ใช้ในการสอบมีความเหมาะสมตอ่ การ 3.10 0.86 ปานกลาง
วดั ระดบั ความรู้ความเข้าใจของผ้เู รียน เชน่ สอบ
เเบบปรนยั เเละอตั นยั โดยใช้โปรเเกรม Google
form, สอบปากเปลา่ โดยใช้โปรเเกรม Google
meet เป็นต้น
ผ้เู รียนมีความพร้อมด้านเทคโนโลยีที่ใช้ในการสอบ 3.25 0.82 ปานกลาง
ออนไลน์
ผ้เู รียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั โปรเเกรมที่ใช้ 3.27 0.81 ปานกลาง
ในการสอบออนไลน์
รวม 3.21 0.67 ปานกลาง
88
จากตารางท่ี 4.20 พบวา่ การยอมรับการสอบวดั ผลออนไลน์ โดยภาพรวมมีการยอมรับอยใู่ น
ระดบั ปานกลาง และจาแนกเป็นรายคาถามได้ดงั นี ้ผ้เู รียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั โปรเเกรมที่ใช้
ในการสอบออนไลน์ การยอมรับอยู่ในระดับ ปานกลาง ( ̅ =3.27) ,ผู้เรียนมีความพร้ อมด้าน
เทคโนโลยีท่ีใช้ในการสอบออนไลน์ มีการยอมรับอยใู่ นระดบั ปานกลาง ( ̅ =3.25) ,โปรเเกรมที่ใช้ใน
การสอบมีความเหมาะสมตอ่ การวดั ระดบั ความรู้ความเข้าใจของผ้เู รียน มีการยอมรับอยใู่ นระดบั ปาน
กลาง ( ̅ =3.10) และคา่ เฉลี่ยรวมของทกุ ข้อคาถาม ( ̅ =3.21) มีการยอมรับส่ือการเรียนออนไลน์อยู่
ในระดบั ปานกลาง
ตารางท่ี214.21 ตารางแสดง คา่ เฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั การยอมรับตอ่ ปัจจยั ท่ีสง่ ผล
ตอ่ การยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เรื่อง รูปแบบการเรียนรู้ สภาพแวดล้อม สื่อการสอน
การสอบวดั ผลเพื่อนามาเปรียบเทียบการยอมรับของ นกั เรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลยั ชลบรุ ี
การยอมรับการเรียนออนไลน์ ̅ S.D ระดบั การยอมรับ
1.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบเเขง่ ขนั 2.96 0.86 ปานกลาง
2.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบอสิ ระ 2.89 0.91 ปานกลาง
3.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบหลีกเลี่ยง 2.93 0.95 ปานกลาง
4.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบพงึ่ พา 2.91 0.98 ปานกลาง
5.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบร่วมมือ 3.04 0.85 ปานกลาง
6.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบมีสว่ นร่วม 3.09 0.76 ปานกลาง
7.การยอมรับสภาพเเวดล้อมในการ 3.15 0.64 ปานกลาง
เรียนออนไลน์
8.การยอมรับส่ือการสอนในการเรียน 3.17 0.66 ปานกลาง
ออนไลน์
89
9.การยอมรับการสอบวดั ผลในการ 3.21 0.67 ปานกลาง
เรียนออนไลน์
รวม 3.04 0.68 ปานกลาง
จากตารางท่ี 4.21 พบวา่ ผ้เู รียนมีการยอมรับรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ภาพรวมอยใู่ น
ระดบั ปานกลาง หากพิจารณาเป็นรายด้าน ส่วนใหญ่มีการยอมรับอย่ใู นระดบั ปานกลาง จานวน 9
ด้าน ได้แก่ การยอมรับการสอบวดั ผลในการเรียนออนไลน์( ̅ =3.21) ,การยอมรับส่ือการสอนในการ
เรียนออนไลน์ ( ̅ =3.17) ,การยอมรับสภาพเเวดล้อมในการเรียนออนไลน์ ( ̅ =3.15) ,รูปเเบบการ
เรียนรู้เเบบมีส่วนร่วม ( ̅ =3.09) ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบร่วมมือ ( ̅ =3.04) ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบ
บเเข่งขนั ( ̅ =2.96) ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบหลีกเล่ียง ( ̅ =2.93) ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบพงึ่ พา ( ̅
=2.91) และ รูปเเบบการเรียนรู้เเบบอสิ ระ ( ̅ =2.89)
ส่วนที่ 4 การเปรียบเทียบค่าเฉล่ียของปัจจัยท่ีส่งผลต่อการยอมรับรูปแบบการเรียน
การสอนในท่ตี ง้ั และออนไลน์ของ นักเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยชลบุรี
ตารางท่ี224.22 ตารางแสดงผลการเปรียบเทียบการยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนในที่ตงั้
จาแนกตามเพศ
การยอมรับรูปแบบการจดั การเรียนการสอนใน ชาย เพศ หญิง
S.D 3.87 S.D
ท่ีตงั ้ 0.55 0.57
1.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบเเขง่ ขนั ในท่ีตงั้ 3.94
2.รูปเเบบการเรียนร้ ูเเบบอิสระในที่ตงั ้ 3.82 0.64 3.7 0.69
3.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบหลีกเล่ียงในที่ตงั้ 3.87 0.65 3.83 0.64
4.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบพง่ึ พาในที่ตงั้ 3.82 0.67 3.72 0.72
5.รูปเเบบการเรียนร้ ูเเบบร่วมมือในท่ีตงั ้ 3.80 90
6.รูปเเบบการเรียนรู้เเบบมีสว่ นร่วมในท่ีตงั้ 3.83
7.การยอมรับสภาพเเวดล้อมในการเรียนรู้ใน 3.90 0.73 3.77 0.65
ที่ตงั ้ 0.68 3.82 0.60
8.การยอมรับสื่อการสอนภายในท่ีตงั ้ 3.84 0.56 3.77 0.56
9.การยอมรับรูปเเบบการสอบวดั ผลในท่ีตงั้ 3.71
3.84 0.64 3.70 0.59
รวม 0.80 3.59 0.67
0.48 3.75 0.44
จากตารางท่ี 4.22 พบว่า ภาพรวมทงั้ เพศชาย และ เพศหญิง มีการยอมรับการจดั การเรียน
การสอนในที่ตงั้ อยใู่ นระดบั มาก
ผ้เู รียนเพศชายมีการยอมรับการเรียนการสอนในที่ตงั้ ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก หากพิจารณา
เป็นรายด้าน พบวา่ ส่วนใหญ่มีการยอมรับอย่ใู นระดบั มาก จานวน 9 ด้าน ได้แก่ รูปเเบบการเรียนรู้
เเบบเเข่งขนั ในที่ตงั้ ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบอิสระในท่ีตงั้ ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบหลีกเล่ียงในท่ีตงั้ ,รูป
เเบบการเรียนรู้เเบบพง่ึ พาในท่ีตงั้ ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบร่วมมือในที่ตงั้ ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบมีส่วน
ร่วมในที่ตงั้ ,การยอมรับสภาพเเวดล้อมในการเรียนรู้ในที่ตงั้ ,การยอมรับสื่อการสอนภายในที่ตงั้ ,การ
ยอมรับรูปเเบบการสอบวดั ผลในที่ตงั้
ผ้เู รียนเพศหญิงมีการยอมรับการเรียนการสอนในท่ีตงั้ ภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก หากพิจารณา
เป็นรายด้าน พบว่า สว่ นใหญ่มีการยอมรับอยใู่ นระดบั มาก จานวน 9 ด้าน ได้แก่ รูปเเบบการเรียนรู้
เเบบเเข่งขนั ในที่ตงั้ ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบอิสระในท่ีตงั้ ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบหลีกเล่ียงในท่ีตงั้ ,รูป
เเบบการเรียนรู้เเบบพงึ่ พาในท่ีตงั้ ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบร่วมมือในที่ตงั้ ,รูปเเบบการเรียนรู้เเบบมีส่วน
ร่วมในที่ตงั้ ,การยอมรับสภาพเเวดล้อมในการเรียนรู้ในที่ตงั้ ,การยอมรับสื่อการสอนภายในท่ีตงั้ ,การ
ยอมรับรูปเเบบการสอบวดั ผลในที่ตงั้