The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบเรียง หนังสือศิลปวิจักร์ - ED02

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-10-11 09:06:15

แบบเรียง หนังสือศิลปวิจักร์ - ED02

แบบเรียง หนังสือศิลปวิจักร์ - ED02

Keywords: art

๙๖

การท�ำ พธิ ฝี งั มกี ารฆา่ หมู ๑ ตวั เพอ่ื อทุ ศิ ใหเ้ รยี กวา่ “หมเู ขา้ ขมุ ” หลงั จากนน้ั
อีก ๓ วัน จะทำ�พิธีเฮ็ดเฮียวทำ�บุญอุทิศส่วนกุศลให้ โดยนำ�เครื่องเฮียวไปส่งให้ท่ี
ป่าช้าเมื่อเสร็จพิธีฝังศพผู้ไปร่วมพิธีศพทุกคนจะลงไปอาบน้ําชำ�ระร่างกายและ
สระผมในแม่นํ้า เพ่ือชำ�ระส่ิงอัปมงคลทั้งหลายออกจากร่างกาย พอถึงตอนเย็น
หมอขวญั จะทำ�พธิ ีสขู่ วัญให้แกค่ รอบครัวของผ้ตู ายและผทู้ ไี่ ปสง่ ศพ เพอ่ื ความเปน็
ศิริมงคลแก่ทุกคน หลังจากน้ันครอบครัวของผู้ตายจะจัดสำ�รับอาหารไปทำ�ทาน
อุทิศให้ที่หลุมฝังศพผู้ตายเป็นเวลา ๗ วัน พอครบวันท่ีเจ็ด จะทำ�พิธีเชิญขวัญ
หรือวิญญาณของผู้ตายข้ึนไปเป็นผีเรือน โดยนำ�ไปไว้ด้านในสุดของเรือน เรียกว่า
“กะลอหอง”
เพื่อปกป้องคุ้มครองลูกหลานและสมาชิกในครอบครัวให้อยู่ดีมีสุขตลอดไป
หลังจากนั้นเมื่อครบรอบวันตายทุก ๆ ๑๐ วัน จะจัดพานข้าวเป็นสำ�รับเล็ก ๆ
เพอ่ื ท�ำ พธิ ีเซน่ ผเี รือนเรียกวา่ “เสนเทวดาปาดตง” หรอื “ม้อื ปาดตง” น�ำ ไปวางไว้
ที่ห้องผีเรือน โดยใช้อาหารจากท่ีสมาชิกในครอบครัวรับประทานในชีวิตประจำ�วัน
สว่ นการเสนปาดตงเปน็ พธิ พี เิ ศษจะท�ำ ในชว่ งเวลาทไ่ี ดผ้ ลผลติ จากการเกบ็ เกย่ี วขา้ ว
ท�ำ พิธเี สนปาดตงเพ่อื ทานข้าวใหม่ใหผ้ ีเรอื นกนิ ก่อนสมาชกิ ของครอบครัว เปน็ การ
แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณเพื่อให้เป็นสิริมงคลแก่ครอบครัวและลูก
หลาน

พิธีเสนเรือน

เป็นพิธีเซ่นไหว้ผีเรือนของไทดํา ซ่ึงเป็นผีพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย และ
บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ตามปกติพิธีเสนเรือนจะปฏิบัติกันทุกครอบครัว
เป็นประจํา ๒ - ๓ ปีต่อคร้ัง ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับฐานะและความพร้อมของครอบครัว
เพอื่ คุ้มครองบตุ รหลานให้อยเู่ ยน็ เป็นสุข ท�ำ มาหากินเจริญก้าวหนา้

๙๗

ผู้ประกอบพิธีกรรม คือ “หมอเสน” ส่วนผู้ร่วมพิธีได้แก่บรรดาลูกหลาน
และญาติ ๆ รวมทั้งแขกเชิญในกรณีท่ีเจ้าบ้าน หรือสมาชิกในครอบครัวเป็น
พนกั งานของรฐั มีต�ำ แหนง่ ส�ำ คัญจะเชญิ แขกจำ�นวนมาก บางคร้งั แขกมาร่วมงาน
๒๐๐ - ๓๐๐ คน ญาติทีม่ ารว่ มงานแบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท คือ

ทมี่ า : “การเสนเรอื น (การเสนเฮือน) ของชาวไทยทรงด�ำ (ลาวโซ่ง) ตำ�บลกลอนโด อำ�เภอด่านมะขามเต้ีย.”
โดย ส�ำ นักงานวฒั นะรรมจังหวัดกาญจนบรุ ี, (๒๕๕๙, สิงหาคม ๙),

เข้าถึงไดจ้ าก https://www.m-culture.go.th/kanchanaburi/ewt_ news.php?nid=494&filename=index.

ประเภทแรกญาติสืบสายโลหิตจะแต่งกายแบบธรรมดา และประเภทท่ีสอง
ญาติจากการแต่งงาน ได้แก่ ฝ่ายเขยหรือสะใภ้จะแต่งกายพิเศษด้วยชุด “เสื้อฮี”
หรือเส้ือยาว เพื่อเป็นการเคารพผีเรือนและเป็นท่ีสังเกตให้ผู้มาร่วมงานรู้ว่าเป็น
เขยหรือสะใภ้ ก่อนทำ�พิธีเสนเรือนจะจัดเตรียมส่ิงของท่ีใช้ประกอบพิธีกรรม ได้แก่
เหล้า หมู ๑ ตัว ตามปกติจะเตรียมต้มเหล้าไว้ล่วงหน้าใส่ไหฝังดินไว้ ๖ เดือน
ถึง ๑ ปี เพ่ือให้ได้เหล้าที่มีคุณภาพดี ส่วนหมูจะเตรียมเล้ียงไว้ล่วงหน้าเป็นเวลา
๑ ปี โดยพธิ เี สนเรอื นจะเรม่ิ โดยมหี มอเสนเปน็ ผปู้ ระกอบพธิ ใี นหอ้ งผเี รอื น ผเู้ ขา้ รว่ ม
พิธีได้แก่ญาติท่ีอยู่ในสิง หรือตระกูลผีเดียวกัน เร่ิมจากเจ้าบ้านยกสำ�รับเครื่องเซ่น
ถวายผีเรอื น

๙๘

จากนั้นหมอเสนจะเร่ิมประกอบพิธีโดยกล่าวเชิญผีเรือนให้มารับเคร่ืองเซ่น
โดยเรียกชื่อผีเรือนจาก “ป๊ับ” รายช่ือผีเรือนให้มากินเคร่ืองเซ่นทีละคน ขณะที่
เรียกช่ือหมอเสนจะใช้ไม้ทู (ตะเกียบ) คีบอาหารและเคร่ืองเซ่นป้อนให้ผีเรือนกิน
โดยหย่อนลงทางช่องเล็ก ๆ ลงไปใต้ถุนบ้านแล้วหยอดน้ําตามลงไปจนกระท่ัง
เรียกช่ือครบทุกคน พิธีเซ่นให้ผีกินอาหารน้ีจะทํา ๑ ครั้ง คือ มื้อเช้าและกลางวัน
จากนน้ั จะเสนเหลา้ หลวงโดยใชเ้ หลา้ ๑ ขวด และกบั แกลม้ เปน็ เครอ่ื งเซน่ หมอเสน
จะทำ�พิธีเรียกผีบรรพบุรุษมากินตามรายชื่อในป๊ับผีเรือนจนครบทุกคนเป็นเสร็จพิธี

ความเชื่อ

ชาวไทดำ�มีความเชื่อเร่ือง “ผีฟ้า” หรือ “แถน” คือ เชื่อว่าแถนเป็นผู้สร้าง
โลกและบันดาลให้มีทุกส่ิงทุกอย่าง นอกจากนี้ยังนับถือผีบรรพบุรุษหรือที่เรียกว่า
“ผีเฮือน” ซ่ึงเมื่อตายแล้วจะไม่ไปไหนยังคงวนเวียนคอยช่วยเหลือลูกหลานอยู่
ด้วยเหตุน้ีเมื่อชาวไทดำ�ตายลง ลูกหลานจะนำ�ศพไปฝังและไปเชิญผีจากหลุม
หลงั จากทต่ี ายแลว้ ๓ วนั เรยี กวา่ “พธิ เี อาผขี น้ึ เรอื น” ในบา้ นจะจดั ทม่ี มุ ใดมมุ หนง่ึ
ของหอ้ งเปน็ “กะลอห้อง” หรอื “กะลอฮอ้ ง” มพี านข้าว (ถาดใสข่ ้าว) เป็นท่ีบชู า
ผบี รรพบุรุษ ปกติไม่อนุญาตให้ผอู้ ื่นที่ไมใ่ ช่ญาติเข้าไป
ในปัจจุบันชาวไทดำ�บางส่วนได้หันมาสนใจพุทธศาสนามากข้ึน และเร่ิม
เผาศพแทนที่จะฝังอย่างเดิม และพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น ความเช่ือเรื่องผีเรือน
ความเชื่อเก่ียวกับหมอรักษา หรือเจ้าบ้าน (พระเส้ือเมือง) เม่ือมีคนตายทุกบ้าน
จะหยุดทำ�งานจนกว่าจะนำ�คนตายไปป่าช้าเรียบร้อยแล้ว จึงเริ่มทำ�งานใหม่
ในงานศพไม่มีพระสงฆ์มาเกี่ยวข้องเพราะถือว่าพระกับผีไม่ถูกกัน แต่ถึงอย่างไรก็ดี
ยังคงนิยมฝงั ศพมากกว่าเผา

๙๙

นอกจากนั้น ชาวไทดำ�ยังเป็นชาติพันธุ์ที่นับถือ “พ่อมด” ซ่ึงพ่อมดเปรียบ
เหมือนเทวดา การประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ จะเป็นการเชิญพ่อมดมาเพ่ือประกอบ
พิธีกรรมของชนเผ่า และการประกอบพิธีกรรมบูชาพ่อมด ชาวไทดำ�จะล้อมวง
กันเต้น และจะมีหญิงกระทุ้งไม้ไผ่ให้จังหวะรอบวง ซึ่งประเพณีดังกล่าวเป็นการ
เล่นเพ่ืออัญเชิญเทวดาและสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ และใช้เวลานานเป็นวัน ๆ โดยท่ีชาวบ้าน
จะผลัดเปล่ยี นหมนุ เวียนกนั มารว่ มพธิ ี
ขับมด เป็นการรักษาโรคภัยไข้เจ็บ เมื่อมีคนเจ็บป่วยเร้ือรังในครอบครัว
รกั ษาดว้ ยหมอยาแลว้ ไมห่ าย สามภี รรยา หรอื ญาตขิ องผปู้ ว่ ยจะไปหา “หมอเหยา”
มาเสกเป่าเยียวยาแก้ไข ถ้ายังไม่หายก็จะไปเชิญหมอมด มาทำ�พิธีรักษา หมอมด
จะรักษาดว้ ยการขับมดและเส่ยี งทาย เพอ่ื ให้ทราบสาเหตุของการเจบ็ ปว่ ย ถ้าหาก
ถูกผีทำ�ก็จะทำ�พิธีเลี้ยงผีแก้ไขอาการเจ็บป่วย เดิมการรักษาของหมอมดมีค่าคาย
(ข้ึนครู) ๒ บ้ี แต่ปัจจุบันใช้เงิน ๑,๐๐๐ กีบ เทียน ๘ คู่ ไข่ ๒ ฟอง กระเทียม
๒ - ๓ หัว ฝา้ ย ๑ มัด เกลอื ๑ หอ่ ขา้ วสารใส่กะละมัง หวี และปอยผม ๑ ปอย
เพอื่ ถวายใหผ้ มี ด

การรกั ษาเรม่ิ ดว้ ยการใหผ้ ชู้ ว่ ยหมอมด ๒ คนชว่ ยกนั เปา่ ป่ี หมอมดจะท�ำ การ
ขับมดเพื่อเชิญผีมดให้มาช่วยในการวินิจฉัยสาเหตุของการเจ็บป่วย โดยสุ่มถาม
ผีมดว่าถูกผีอะไรทํา เช่น ถามว่าถูกผีเรือนทำ�ใช่ไหม แล้วเสี่ยงทายหาคำ�ตอบ
ด้วยการสาดข้าวสารลงบนพ้ืน ๓ คร้ัง ให้ได้จำ�นวนคู่ - ค่ีสลับกัน กล่าวคือ
ถ้าคร้ังแรกได้จำ�นวนคู่ คร้ังที่สองจะต้องได้จำ�นวนค่ี และคร้ังท่ีสามได้จำ�นวนคู่
แสดงว่าผิดผีเรือน ถ้าเส่ียงทายไม่ได้จำ�นวนดังกล่าวก็จะเป่าป่ีขับมดต่อไปอีก
จนจบคำ�ขับมด แล้วเสี่ยงทายอีกเช่นนี้จนกระท่ังได้จำ�นวนคู่สลับคี่ตามท่ีต้องการ
ดังน้ัน การขับมดจึงใช้เวลานานอาจใช้เวลาตั้งแต่ตอนบ่ายจนกระท่ังถึงกลางคืน

๑๐๐

เม่ือทราบถึงสาเหตุของการเจ็บป่วยว่าถูกผีใดมาทํา หมอมดก็จะให้ญาติ
ผู้ป่วยจัดเตรียมส่ิงของสำ�หรับเซ่นเล้ียงผี เพ่ือให้เลิกทำ�แก่ผู้เจ็บป่วย การรักษา
ของหมอมดไม่มีข้อห้ามในการรักษาร่วมกับแพทย์แผนปัจจุบัน แม้ว่าคนป่วย
จะนอนอยู่โรงพยาบาล หมอมดทำ�พิธีรักษาที่บ้านไปด้วยก็ได้ ผู้ร่วมพิธีขับมด
ได้แก่ ญาติพ่ีน้องใกล้ชิด เพ่ือนบ้านใกล้เคียง รวมท้ังคนในหมู่บ้านจะมาร่วม
โดยไม่ต้องบอกกล่าว ขับมดจึงเป็นการรักษาทางด้านจิตใจ การเชิญหมอมด
มารักษา แสดงว่าลูกผัวรักแพง รวมทั้งมีญาติและเพ่ือนบ้านมาเย่ียมเยือนทำ�ให้
ผปู้ ว่ ยมีขวัญและกำ�ลังใจดีขึน้ ซ่งึ อาจทำ�ให้หายจากการเจบ็ ป่วย

วถิ ีชวี ติ ของชาวไทด�ำ ในปจั จบุ นั

เป็นวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัยบ้านเรือนมีการเปล่ียนรูปลักษณ์เหมือน
ชุมชนท่ัวไปในชนบท การใช้ชีวิตของชาวไทก็เปลี่ยนไปตามวิถีกระแสสังคมและ
เทคโนโลยี ชาวไทดำ�ส่วนหนึ่งใช้ชีวิตในสังคมของการพัฒนา ลูกหลานต้องไป
โรงเรียนในอำ�เภอ วัยรุ่นแต่งกายตามสมัยนิยมท่ัวไป แต่อีกส่วนหน่ึงชาวไทดำ�
ก็ยังคงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณีไว้ได้เป็นอย่างดีซึ่งในวิถีชีวิตของชาวไทดำ�
จะมรี ะเบียบแบบแผนเปน็ ของตนเองทีด่ ำ�รงอยู่บนบรรทัดฐานของความเชอ่ื
ปีใหม่ของชาวไทดำ�จะจัดข้ึนในเดือนสิบเรียกว่า “ประเพณีปาตดง”
นอกจากนั้นไทดำ�ยังมีการละเล่นที่สืบทอดกันมาช้านานเป็นการแสดงความเคารพ
ต่อพ่อมดประจำ�หมู่บ้าน ซ่ึงจะมีเคร่ืองดนตรีประกอบด้วย ป่ีบ้ัวบู ฟางฮาด
โดยเรยี กการเล่นน้วี า่ “แซปาง” มักมกี ารแสดงในวนั แรมหนงึ่ คํา่ และเดอื นหก

๑๐๑

ดา้ นหตั ถกรรมภูมิปัญญา

ชาวไทดำ�มีศิลปะการทอผ้าท่ีสวยงาม และมีผ้าฝ้ายซึ่งเป็นผ้าพ้ืนเมือง
ท่ีถ่ายทอดกันมาต้ังแต่บรรพบุรุษปัจจุบันชาวไทดำ�ยังคงใช้ศิลปะทอผ้าแบบดั้งเดิม
ทกุ กระบวนการผลติ

อาหารของชาวไทดำ�

ประกอบด้วยผักและน้ําพริก คือ แจ่วอดท่ีทำ�จากใบบอนคัน ชาวไทดำ�
ไม่ค่อยนิยมกินเน้ือสัตว์และยังคงมีวิถีชีวิตแบบด้ังเดิม นอกจากความโดดเด่น
เปน็ เอกลกั ษณด์ งั กลา่ วแลว้ ชาวไทด�ำ ยงั คงมปี ฏทิ นิ เปน็ ของตนเอง ซง่ึ ในหนง่ึ สปั ดาห์
ของปฏิทินทั่วไปจะมี ๗ วัน แต่ของชาวไทด�ำ จะมี ๑๐ วัน ชนชาวไทดำ�จะนบั ถือ
และบูชาพระยาแถน บรรพบุรุษ รวมถึงผีต่าง ๆ มาก และมีความเช่ือว่าคน
ทุก ๆ คนนอกจากประกอบไปด้วยร่างกายแล้ว ยังประกอบด้วยอีกส่วนหน่ึงก็คือ
ขวญั (วญิ ญาณหรอื จิต) และเช่ือวา่ คนทเี่ จ็บไข้ได้ป่วยนน้ั เกดิ จากการท่ขี วญั ไม่อยู่
กับตัวเองหรือขวัญได้หนีหายไป จะต้องมีพิธีตามหาขวัญหรือเรียกขวัญให้กลับ
คืนมา ในพิธีการเรียกขวัญน้ีต้องอาศัยหมอผี ซ่ึงชาวไทดำ�เรียกว่า มด โดยหมอผี
จะเชญิ ผีต่าง ๆ ให้ไปตามหาขวญั กลับมา
ในการเชญิ ผีชนิดใดนนั้ ตอ้ งขึน้ อยกู่ ับว่าขวญั นน้ั จะไปตกอยู่ทใ่ี ด เช่น ขวัญ
ไปอยู่ตามป่าตามเขาก็จะอญั เชิญผียะวาย ซ่ึงเปน็ ผีเจ้าปา่ เจ้าเขาเป็นผ้ตู ามหาขวญั
ให้กลับมา แต่ถ้าขวัญตกน้ําก็จะเชิญผีกองกอยตามหาขวัญ เมื่อตามหาขวัญ
กลบั มาไดแ้ ลว้ คนไขก้ จ็ ะหายจากการเจบ็ ปว่ ย และเมอ่ื ถกู รกั ษาหายกจ็ ะเปน็ ลกู เลย้ี ง
ของหมอผไี ป เมือ่ ครบรอบ ๔ ปี หมอผจี ะจดั พธิ เี ล้ยี งผีขนึ้ ชาวไทดำ�เรียกพธิ ีนีว้ ่า

๑๐๒

การแซปาง หรือ ชมปาง โดยหมอผีจะอัญเชิญเทพเจ้าต่าง ๆ ท่ีชาวไทด�ำ นับถือลง
มาชมปางกอ่ น แล้วคอ่ ยอัญเชิญผีชนดิ ต่าง ๆ ลงมาชมปาง ในพิธีนี้ชาวไทด�ำ ทกุ คน
จะตอ้ งมารว่ มพธิ ี ซง่ึ จะมีการจดั หาเคร่อื งดนตรี มกี ารจัดเล้ยี งและฟอ้ นร�ำ กนั อย่าง
สนุกสนาน กนิ เวลาข้ามวนั ขา้ มคนื (ประตสู ่อู ีสานบา้ นเฮา, ๒๕๖๐)

ด้านภาษา

ปัจจุบันคนไทดำ�ยังคงพูดคุยกันด้วยภาษาด้ังเดิมและกลุ่มเยาวชนได้จัด
กระบวนการสืบทอดโดยจัดทำ�คำ�ศัพท์ไว้เป็นหมวดหมู่นำ�ไปสู่การจัดกระบวน
การเรยี น ฟงั พดู อ่าน และเขียนอย่างเป็นระบบ เพ่ือส�ำ หรบั กลุ่มเยาวชนในชมุ ชน
จะได้รักษารูปแบบการสนทนา การอ่าน การเขียนไว้ไม่ให้สูญหายไป โดยมีครู
ภูมิปัญญาท้ังภายในและนอกชุมชนที่สามารถอ่านเขียนได้ทำ�หน้าท่ีสอนร่วมกับพี่
เล้ียงกลุ่มเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาไทดํา ท่ีทำ�หน้าท่ีช่วยเหลือด้านกระบวนการ
ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่าด้านภาษายังเป็นภูมิปัญญาท่ียังมีพลัง และมีการสืบทอดกัน
อยู่ในปจั จบุ นั
จากการค้นคว้าเอกสารพบว่า ภาษาไท เป็นภาษาหน่ึงทใ่ี ชพ้ ดู กันในบรเิ วณ
กว้างขวางต้ังแต่แถบบริเวณจีนตะวันตกเฉียงใต้ในมณฑลกวางสี ไกวเจา และ
ยูนนาน จนถึงดินแดนแถบแหลมมาลายู และจากแคว้นอัสสัมตะวันตกจนถึง
เกาะไหหลำ�ตะวันออก นักวิชาการด้านภาษาได้กล่าวถึงบริเวณที่ใช้ภาษาไท
ตลอดถึงภาษาไทในถิน่ ตา่ ง ๆ สรปุ ความไดด้ ังน้ี ภาษาไทมีใช้ในประเทศไทย ลาว
บางภาคของพมา่ แควน้ อัสสมั ทางตะวันตกเฉยี งเหนือของอินเดยี เวยี ดนามเหนือ
และแถบตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน ซ่ึงรวมแล้วจัดว่าเป็นกลุ่มภาษาท่ีสำ�คัญ
ในแถบภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาษาเหล่าน้ีมีช่ือต่างกันตามช่ือเผ่าพันธ์ุ
หรือตามที่ชาติอ่ืน ๆ ใช้เรียกกัน เช่น ภาษาชานในพม่า ภาษาไป่อี้ในยูนนาน
ประเทศจนี และภาษาจวงเจียในแคว้นกวางสขี องจนี เป็นต้น

๑๐๓

ตลอดจนถึงภาษาไทยและภาษาลาวซึ่งเป็นภาษาราชการในประเทศไทย
และประเทศลาว ตามลำ�ดับ ภาษาท้ังสองน้ีถือว่าเป็นภาษาที่รู้จักกันดีท่ีสุด
ในบรรดาภาษาไทยในถิ่นทั้งหลาย ภาษาที่ใช้ในลาว เวียดนามเหนือและบริเวณ
ใกล้ ๆ กับแคว้นสิบสองจุไทน้นั ถงึ แม้จะเป็นบรเิ วณแคบ ๆ แตก่ ็มีภาษาไทพ้นื ถน่ิ
พดู กนั เปน็ จ�ำ นวนมาก ไดแ้ ก่ ภาษาไทลอ้ื ไทด�ำ ไทขาว ไทแดง ผไู้ ทย ไทมยุ ไทเหนอื
พวน ย้อ และโยย้ นอกจากน้ันแล้วภาษาไทขาว ไทดำ� ไทแดง และไทลือ้ ก็มีการ
พูดที่ใกล้เคียงกันมาก คนไทกลุ่มผู้ไท ไทมุย ไทโย้ย และย้อ อาศัยอยู่ในจังหวัด
หัวพันกับดินแดนท่ีติดต่อกับภูเขา ส่วนพวกพวนอาศัยอยู่ทางใต้ในเมืองโบราณ
ของเชียงขวาง ดังนั้น ถ่ินฐานเดิมของภาษาไทยด้ังเดิมสายตะวันตกเฉียงใต้ คือ
บริเวณชายแดนของลาว เวียดนามเหนือและใกล้ ๆ กับดินแดนสิบสองจุไท
ภาษาไทถิ่นท่ีพูดอยู่ในประเทศไทยแล้วยังมีภาษาไทอ่ืน ๆ อีกมากมาย และภาษา
ท่ีสำ�คัญกลุ่มหน่ึง ได้แก่ ภาษาลาว ซ่ึงใช้กันมากในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ของไทย โดยเฉพาะพรมแดนที่ติดต่อกับประเทศลาวและกระจัดกระจายอยู่
ตามจังหวัดต่าง ๆ เช่น จังหวัดราชบุรี สุพรรณบุรี เพชรบุรี นครปฐม ชุมพร
และสุราษฎร์ธานี ที่ล้วนแล้วแต่เป็นชาวไทดำ�ท้ังสิ้น (วิทยาลัยอาชีวศึกษา
สรุ าษฎรธ์ าน,ี ม.ป.ป.)

ภาพท่ี ๔ อาจารย์วเิ ชยี ร แช่มคิด ประธานชมรมไทด�ำ ภาคเหนือ

๑๐๔

คนไทยเช้ือสายไทดำ�ในจังหวัดนครสวรรค์นั้นมีอยู่ด้วยกันหลายแห่ง
จากการไดส้ มั ภาษณอ์ าจารยว์ เิ ชยี ร แชม่ คดิ อดตี ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นบา้ นยางใหญ่
ตำ�บลหนองเต่า อำ�เภอเก้าเล้ียว จังหวัดนครสวรรค์ ในปัจจุบันอาจารย์วิเชียร
ได้ดำ�รงตำ�แหน่งประธานชมรมไทดำ�ภาคเหนือและได้ให้ข้อมูลว่า สำ�หรับประวัติ
ชาวไทดำ�ท่ีเข้ามาอยู่ในประเทศไทยนั้น แต่เดิมจะอาศัยอยู่ทางตอนเหนือของ
ประเทศเวียดนาม ในสมัยก่อนเมืองต่าง ๆ ในเวียดนาม เช่น เมืองแผน เมืองรอ
เมืองม่วย เป็นเมืองขึ้นในอาณาเขต ๑๒ จุไท ยังเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสยาม
หรอื ประเทศไทย
ซึ่งบรรดาเมืองเหล่านี้เกิดการแข็งเมืองขึ้นไม่ยอมท่ีจะสวามิภักดิ์ต่อ
ประเทศสยาม พระเจ้ากรุงธนบุรีจึงได้ให้เจ้าเมืองหลวงพระบางข้ึนไปปราบ
และกวาดต้อนประชาชนของเมืองเหล่านี้มา โดยเลือกเฉพาะที่เป็นคนไทดำ�นั้น
ได้กวาดต้อนมาอยู่ท่ีบางกอก (หรือกรุงเทพฯ) จากนั้นก็นำ�ไปพักไว้ท่ีเมืองเพชรบุรี
อำ�เภอเขาย้อย ประมาณ ๓,๐๐๐ คน ในปี พ.ศ. ๒๓๒๒ และถูกกวาดต้อนมา
หลายครั้ง ๓ - ๔ คร้งั จนกระทัง่ ถงึ สมัยรัตนโกสนิ ทร์ พ.ศ. ๒๓๕๒ จ�ำ นวน ๔ คร้งั
ด้วยกัน จวบจนถึงสมัยรัชกาลที่ ๔ ในที่สุดก็มีการอพยพข้ามแดนมาในฐานะ
พลเมอื งของสยาม อาณาจักร ๑๒ จไุ ทนน้ั ยงั คงมชี าวไทดำ�เปน็ ชนกลุม่ นอ้ ยทีม่ ีอยู่
๓ ลา้ นคน เพราะในเวยี ดนามมี ๒๔ ชนเผ่า เอาเฉพาะไทดำ�ซ่ึงเปน็ ชนเผา่ ไทด�ำ แท้
ท่มี าอยู่เมืองไทย จากเพชรบุรีกก็ ระจายไปยงั จังหวัดตา่ ง ๆ ในประเทศไทยซง่ึ มีอยู่
ร่วม ๆ ๔๐ จังหวัด เชน่ สุพรรณบรุ ี นครปฐม จนกระท่ังมาถงึ จังหวัดนครสวรรค์
“อย่างเช่นตัวผมเองเป็นรุ่นท่ี ๗ เพราะในตระกูลของผมเป็นคนจดบันทึกประวัติ
ตา่ ง ๆ เอาไว้ และได้จดบนั ทกึ เร่อื งราวเกีย่ วกับการอพยพของชาวไทดำ� นั่นเพราะ
ร้หู นังสือภาษาไทดำ�”

๑๐๕

ส�ำ หรบั ในจงั หวดั นครสวรรคน์ ้ี มชี าวไทด�ำ อาศยั อยหู่ ลายหมบู่ า้ นหลายอ�ำ เภอ
เช่น อำ�เภอชุมแสง อำ�เภอเก้าเลี้ยว อำ�เภอบรรพต อำ�เภอหนองบัวมีเล็กน้อย
อำ�เภอลาดยาวมีเล็กน้อย ชาวไทดำ�ได้มาอาศัยอยู่ในนครสวรรค์โดยประมาณ
๑๐๐ ปี หมู่บ้านหนองเต่า อำ�เภอเก้าเลี้ยวแห่งน้ีก็ประมาณ ๘๐ ปี ภายหลังจาก
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ และ พ.ศ. ๒๔๘๐ ก็อพยพมาอยู่ที่น่ี
ตามประวัติแล้วครอบครัวของผมเองได้อพยพมาจากอำ�เภอเขาย้อย จังหวัด
เพชรบุรี รุ่นพ่อแม่เป็นคนอพยพมาอยู่ที่น่ี ชาวไทดำ�มีเอกลักษณ์ของตัวเองก็คือ
การพูดภาษาไทดํา การเขียนตัวหนังสือไทดํา อาหารของไทดํา ประเพณีต่าง ๆ
วัฒนธรรมบางอย่าง การทำ�มาหากินก็ปนเปอะไรกันบ้างเพ่ือที่จะได้อยู่ร่วมกันได้
แต่เดิมชาวไทดำ�ไม่มีศาสนาพอมาอยู่เมืองไทยเลยจำ�เป็นต้องเข้าทางพุทธศาสนา
เดิมจะมีการนับถือผีอย่างเดียว สมัยรุ่นปู่รุ่นย่าจะไม่มีการบวช (พระภิกษุ) นับถือ
ผีและจะไม่รู้จกั คำ�ว่าบวช การทำ�บญุ ท�ำ ทานอยา่ งเดยี วก็จะไมน่ ยิ ม เดยี๋ วนม้ี ีความ
จำ�เป็นเพราะการเกิดในประเทศไทยนั้นต้องมีชื่อและนามสกุลที่ชัดเจน มีทะเบียน
บ้าน รวมถึงการบ่งบอกศาสนาอะไรก็ต้องมีลงในข้อมูล เป็นการบังคับในตัวเอง
จากน้ันศาสนาพุทธก็จะเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำ�วันของชาวไทดำ�พอสมควร
พธิ กี รรมอะไรตา่ ง ๆ ก็ยงั คงอยู่
โดยพิธีกรรมของชาวไทดำ�ที่สำ�คัญ คือ พิธีกรรมปาดตงเสนเฮือน เป็นการ
ไหว้ผีบรรพบุรุษครั้งใหญ่ เหมือนประเพณีตรุษจีนของที่เมืองแผน เมืองเชิงลา
ประเทศเวียดนาม สำ�หรับพิธีงานใหญ่ประจำ�ปีจะตรงกับวันตรุษจีน เพราะถ่ินต้น
กำ�เนิดอยู่ใกล้กับประเทศจีน พิธีปาดตงเสนเฮือนทำ�เป็นประจำ�ทุกปีเช่นเดียวกับ
การทำ�บุญข้าวใหม่ ในราวเดือนธันวาคมถงึ มกราคมปีละครง้ั โดยครอบครัวจะตอ้ ง
ไมม่ ีคนเสยี ชวี ิตภายใน ๒ ปนี ั้นจะทำ�ไมไ่ ด้ ส่วนพิธีเซ่นไหว้จะทำ�ทกุ ๆ ปีกไ็ ด้ หรอื
๓ - ๕ ปีก็ได้

๑๐๖

ท้ังน้ีทั้งน้ันหลังจากพ่อแม่หรือคนในบ้านเสียชีวิตถึงทำ�ได้ แต่ถ้าปีนั้นแล้ว
ญาติพ่ีน้องท่ีอ่ืนเสียชีวิตก็ทำ�ไม่ได้จะต้องเว้นไปอีกปีหน่ึง บางครอบครัวไม่ได้ทำ�มา
๗ - ๘ ปี เพราะวา่ ญาตเิ สยี ชวี ติ ลงเรอ่ื ย ๆ หมายความวา่ ถา้ ตระกลู นน้ั มคี นเสยี ชวี ติ
ถ้าเป็นผู้ชายจะมีการจดบันทึกไว้เรียกกันว่าปะผีเรือน เหมือนกับไทดำ�ท่ีหมู่บ้านนี้
จะมีการจัดประเพณีพิธีกรรมปาดตงทุกปีในเดือนมกราคม ชาวไทดำ�จะมีปฏิทิน
เฉพาะของไทดำ�เลย ในหมู่บ้านนี้งานร่ืนเริงของชาวไทดำ�ที่จัดประจำ�ภายหลัง
จากการเก็บเก่ียว ประเพณีเล่นคอน (การเล่นคอน หรืออ้ินก้อนเป็นการละเล่น
ของหนมุ่ สาวลาวโซง่ ทโ่ี ยนลกู ชว่ ง (ตอดมะกอนใหแ้ กก่ นั ) พรอ้ มการรอ้ งร�ำ ท�ำ เพลง
และเป่าแคนไปพร้อมกับการเล่น หรือท่ีเรียก “การเล่นคอน ฟ้อนแคน” เทศกาล
เล่นคอนราวเดือน ๔ เดือน ๕ ชายหนุ่ม ๕ - ๑๐ คน จะชักชวนกันไปเล่นคอน
ตามหมูบ่ ้านอื่น) การบวงสรวงหรืออะไรต่าง ๆ การต�ำ ขา้ วเม่า ซง่ึ จะมกี ารแต่งกาย
ของชาวไทดำ�ทางราชการเห็นความสำ�คัญก็จะให้งบประมาณบางส่วนในการ
จดั งาน ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระทรวงวฒั นธรรมทใ่ี หม้ กี ารอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ
เอาไว้ มีความคดิ เหน็ เรื่องชนกลมุ่ น้อยในประเทศไทยมีจ�ำ นวนมากพอสมควร
ชุมชนในภาคเหนือน้ัน ตัวผมเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันให้มีกลุ่มหรือ
ชมรมตา่ ง ๆ เพอ่ื ประสานงานรวบรวมชนกลมุ่ นอ้ ยไทด�ำ ทไ่ี มอ่ ยากใหม้ นั สญู หายไป
ส่ิงสำ�คัญ ประเพณีต่าง ๆ ถ้าหากมีการรวมกลุ่มกันอย่างเหนียวแน่น ใครจัดงาน
ก็จะไปร่วมงานกันซึ่งถือว่าเป็นการเอาแรงกัน เพราะในแต่ละจังหวัดนั้นมีชน
กลุ่มน้อยอาศัยอยจู่ �ำ นวนไมม่ าก วัฒนธรรมดา้ นตา่ ง ๆ เช่น ภาษาพดู ภาษาเขยี น
เรื่องดนตรี ไม่อยากให้เลือนหายไป ผมมีความต้ังใจที่จะรวบรวมกลุ่มชาวไทดำ�
หลาย ๆ กลุ่มหลาย ๆ ชุมชน ส่งผูท้ ีม่ คี วามรมู้ าอบรมเรื่องราวต่าง ๆ ทตี่ นเองมอี ยู่
การเรียนการสอนภาษาไทดำ�พอถึงสิ้นปีก็มีการสอบภาษาไทดำ�ท้ังผู้ใหญ่และเด็ก
ท่ีวัดหนองหลวง ตำ�บลไผ่รอบ อำ�เภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นศูนย์

๑๐๗

รวมไทดำ�ที่มากท่ีสุดในภาคเหนือมีการสอนภาษาไทดำ�ทุกวันอังคาร และวันศุกร์
เช่น ท่ีโรงเรียนบ้านยางใหญ่แห่งนี้ก็จะมีการแต่งกายในชุดไทดํา ท้ังนักเรียนและ
คุณครูในทกุ ๆ วนั องั คาร โรงเรียนบา้ นหนองเนนิ อำ�เภอท่าตะโก จะมกี ารแตง่ กาย
ชุดไทดํา และมีการเรียนการสอนภาษาไทดำ�ในทุก ๆ วันศุกร์ และทางองค์การ
บริหารส่วนตำ�บลฆะมัง อำ�เภอชุมแสง ทางเจ้าหน้าที่จะมีการแต่งกายในชุดไทดำ�
ในทุกวันอังคาร หรือวันพุธ นายก อบต. หรือเจ้าหน้าที่บางส่วนจะเป็นคนไทดำ�
ที่บา้ นวงั นา้ํ ต�ำ บลวงั ยาง อ�ำ เภอคลองขลุง จงั หวดั ก�ำ แพงเพชร
ทางนั้นจะมีการกำ�หนดเอาไว้ว่าหากมีคนไทดำ�เสียชีวิต อายุ ๖๐ ปีข้ึนไป
ผมู้ ารว่ มพธิ ศี พจะตอ้ งแตง่ กายในชดุ ไทด�ำ เปน็ มตขิ องหมบู่ า้ นซง่ึ ท�ำ อยา่ งนม้ี าตลอด
ตง้ั แตส่ มยั กอ่ นมาจนถงึ ปจั จบุ นั และในอกี หลาย ๆ ทก่ี ม็ กี ารท�ำ ในลกั ษณะเชน่ เดยี ว
กันนี้ ในฐานะท่ีผมเป็นประธานชมรมไทดำ�ภาคเหนือจะบอกกับไทดำ�ทุกชมรมว่า
จะต้องรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมน้ีให้ได้ทุก ๓ เดือน จะมีการประชุมเพื่อ
ปรึกษาหารือเรื่องต่าง ๆ ทำ�มาตลอดร่วม ๑๕ ปีมาแล้ว โดยจะให้ความสำ�คัญ
ในเร่ืองภาษาพูดมากที่สุด ภาษาเขียนยังไม่มากเท่าไหร่แต่ก็จะพยายามเช่นกัน
ตอนน้ีในส่วนราชการเร่ิมมาให้ความช่วยเหลือมากพอสมควร ไม่เหมือนกับใน
ชว่ งแรก ๆ ทย่ี งั ไมค่ อ่ ยมี หรอื ยงั ไมค่ อ่ ยเหน็ ความส�ำ คญั ลกู หลานเชอ้ื สายชาวไทด�ำ
หลาย ๆ คน ได้เข้ามาเป็นผู้บริหารบ้าง เข้ามาทำ�งานในส่วนองค์การบริหาร
ส่วนท้องถิ่นก็จะมีการรักถิ่นของตัวเอง ภาษาพูดภาษาเขียนด้วยตัวเอง เร่ิมมีการ
ให้การสนับสนุนไปท่ีไหนก็มีการสนับสนุนอย่างต่อเน่ือง แต่ละหมู่บ้านที่ไปร่วมงาน
จะเห็นวัฒนธรรมด้านพิธีกรรมต่าง ๆ เยอะ และให้ความสำ�คัญเร่ืองการแต่งกาย
มีการประกวดแข่งขัน ถ้าผมไปร่วมงานแล้วหมู่บ้านนี้จะต้องแต่งกายให้เรียบร้อย
ให้มีความเป็นเอกลักษณ์และสืบสานทางด้านวัฒนธรรม ในจังหวัดภาคเหนือมีการ
ตนื่ ตวั พอสมควร

๑๐๘

สว่ นชาวไทด�ำ จงั หวดั ภาคใต้ เช่น จังหวัดเพชรบุรี นครปฐม หรอื สุพรรณบรุ ี
ในภาคกลาง จะเป็นชาวไทดำ�กลุ่มใหญ่และมีจำ�นวนมากอยู่แล้ว การทำ�กิจกรรม
ตา่ ง ๆ ชาวไทด�ำ จ�ำ นวนมากกจ็ ะมารว่ มงานกนั อยา่ งมากมาย และมกี ารไปรว่ มงาน
กับชนกล่มุ อ่ืน ๆ มารว่ มบ้าง เชน่ ไทพวน ไทครงั่ และอกี หลาย ๆ ท่ี พวกกลุ่มชน
เหล่านี้จะมาร่วมงานเพ่ือสร้างสีสัน มีกิจกรรมการละเล่นต่าง ๆ เช่น การเล่น
มะกอนลอดหว่ งก็ยงั คงมกี ารละเลน่ อยู่ การต�ำ ขา้ วเม่า การร้องรำ�ทำ�เพลงเกย่ี วกบั
เรื่องไทดํา ลูกมะกอนน้ันชาวไทดำ�ถือว่าเป็นการเสี่ยงทายเพื่อเลือกคู่ให้หนุ่มสาว
ในหมู่บ้านสมัยก่อน โดยมีเสาสูงตั้งแท่นขึงคู่ไว้ แล้วมีแผ่นไม้ท่ีมีช่องหรือรูอยู่
ตรงกลาง วธิ ีการเล่นกค็ ือโยนลูกผา้ ลกั ษณะสามเหลีย่ มมีหาง (ภายในยดั ด้วยฝา้ ย)
หรอื ทีเ่ รียกว่ามะกอน เหว่ยี งขนึ้ ไปเพื่อใหล้ อดห่วงทีต่ งั้ ตรงสงู ไปใหไ้ ด้ ปกติการเลน่
มะกอนลอดบ่วงนี้จะนิยมเล่นกันในเดือนเมษายน ซ่ึงเป็นเดือนท่ีชาวไทดำ�ว่างงาน
จากการทำ�นาเกี่ยวข้าว ซ่ึงการเล่นมะกอนลอดบ่วงน้ันเป็นกลอุบายของผู้เฒ่าผู้แก่
ชาวไทดำ�เพ่ือให้หนุ่มสาวในหมู่บ้านได้มีโอกาสพบเจอสานสัมพันธไมตรีท่ีดีต่อกัน
จากการเลน่ นี้
การเล่นมะกอนลอดบ่วง ชายหญิงจะยืนอยู่คนละฝ่ัง ฝ่ายหญิงจะเป็นฝ่าย
โยนมะกอนขึ้นเพื่อให้ลอดบ่วงก่อน ขณะท่ีฝ่ายชายจะคอยรับลูกมะกอนจากฝ่าย
สาวเจา้ ให้ได้ การโยนสง่ รบั กันไปโยนกันมา เกิดเป็นความชอบพอกนั ข้ึนกจ็ ะมกี าร
สานสัมพันธ์กันไป โดยแต่ละฝ่ังจะเล่นกันกี่คนก็ได้ ในหมู่บ้านน้ีจะให้ความสำ�คัญ
ในเร่ืองพิธีกรรมต่าง ๆ ท่ีทำ�กัน ท่ีหมู่บ้านจะเป็นพิธีรำ�ถวายเจ้าจอมแส (เจ้าจอม
ท่านสุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๕ เจ้าจอมแส
เป็นบุตรีของเจ้าพระยาสุรพันธุ์พิสุทธ์ิ (เทศ บุนนาค) ข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑล
ราชบุรี กับหม่อมทรัพย์ชาวลาวโซ่ง บ้านท่าโล้ เมืองเพชรบุรี) การบวงสรวงของ
นางแกว้

๑๐๙

ซ่ึงเป็นผู้นำ�ไทดำ�องค์ท่ี ๑๔ ท่ีมีตราสัญลักษณ์เป็นหญิงสาว กษัตริย์ของ
ไทด�ำ เมอื งแผนมกี ษตั รยิ ์ ๓๓ องค์ ขนุ ลอทเ่ี ราไดเ้ รยี นมาในตอนเดก็ เรอ่ื งลลิ ติ พระลอ
ซึ่งก็คือไทดํา ยังมีคำ�กลอนต่าง ๆ ของไทดำ�ก็มีอยู่มากมาย สุนทรภู่ยังได้เคยนำ�มา
แต่งเป็นกลอน แม้กระท่ังวัฒนธรรมทางด้านภาษาและตัวอักษรไทดำ�ก็จะมีมาก่อน
พ่อขุนรามคำ�แหงก็นำ�มาใช้บ้าง ของลาวบ้างเขมรบ้าง แต่ในส่วนของไทดำ�น้ัน
เป็นชนกลุ่มน้อยมีประเทศมีชาติแต่ได้เสียให้กับฝร่ังเศสในปี พ.ศ. ๒๔๕๑ สมัย
รชั กาลท่ี ๕ ทเี่ สียไปถึง ๙๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร จากนัน้ ก็ตกมาเป็นเมืองขึน้ ของ
ประเทศเวียดนาม

ภาพท่ี ๕ การเรยี นการสอนภาษาไทด�ำ ให้กับเยาวชน

๑๑๐

ในเดือนธันวาคม หรือมกราคมของทุกปีจะมีพิธีกรรมท่ีเรียกว่า ปาดตง
(คือ การทำ�พิธีเซ่นไหว้ผีเรือนทุก ๑๐ วัน เรียกว่า “ปาดตง” หมายความว่า
นำ�เครื่องเซ่นไปวางต้ังไว้ (ปาด - วาง, ตง - ต้ังไว้) ที่กะล้อห่องแล้วกล่าวเชิญ
ให้ผีเรือนมากินเคร่ืองเซ่น ก็มีข้าวและกับข้าว หมากพลู บุหร่ี วันเซ่นไหว้เช่นน้ี
เรียกว่า “ม้ือเวนตง”) นิยมทำ�กันที่เขานับถือทุก ๆ บ้านไม่ว่าจะอำ�เภอไหน
จงั หวัดไหน หลงั จากท�ำ นาไดข้ ้าวใหม่กจ็ ะมีการเลยี้ งผปี ู่ยา่ ตายาย พธิ ีศีลเดือนน้นั
เดือน ๔ เดือน ๖ เดือน ๘ จะถือเอาเดือนที่เป็นเดือนคู่ แต่บางแห่งอย่าง เช่น
สุพรรณบุรี เพชรบุรี อาจจะเป็นเดือน ๑๒ เป็นการเล้ียงผีท่ีว่า ที่บ้านน้ันต้องมี
การท�ำ พธิ ใี นทกุ ๆ ๒ ปี หรือ ๓ - ๕ ปี กแ็ ลว้ แตว่ ่าฐานะความเป็นอย่ขู องแต่ละหมู่
แต่ละคน การทำ�ในลักษณะนี้จะทำ�ให้มีความเจริญ การทำ�มาหากินดีข้ึน ลูกเต้า
หรือการเจ็บไข้ได้ป่วย หน้าท่ีการงานก็จะดีข้ึน ไทดำ�ในกลุ่มต่าง ๆ ในหลาย ๆ ที่
มีการร้องรำ�ทำ�เพลงเพ่ือที่จะได้ว่ามีการสืบทอด การขับร้องขับรำ�น้ีจะมีความ
แตกตา่ งไปจากเมอื งแผน เมอื งลาทเ่ี ปน็ ตน้ ก�ำ เนดิ มาก ตน้ แบบเสยี งจะโหยหวนมาก
เอกลักษณ์ที่ต้องรักษาท่ีสำ�คัญก็คือ การแต่งกายที่เป็นสีดํา ซ่ึงไทดำ�ก็จะ
หมายถึงเส้ือผ้าการแต่งกายที่เป็นสีดํา ผิวไม่ดํา ไทขาวนั้นภาษาไทดำ�จะเรียกว่า
ไทด่อน อันน้ันจะเป็นสีขาว (จะต้ังถิ่นฐานในอาณาเขตสิบสองจุไทที่มีพ้ืนภูมิสถาน
อยู่ในเขตประเทศเวียดนามเป็นส่วนใหญ่ เป็นต้นว่าอยู่กันหนาแน่นในจังหวัดไลโจ
หรอื เมอื งไล นอกนน้ั กก็ ระจดั กระจายอกี หลายชมุ ชนหลายเมอื ง เชน่ เมอื งกวง่ิ หงาย
บักเอียน ฟูเอี๋ยน ตาบัก ซาปา บักฮา ในแถบจังหวัดซอนลาหรือเมืองลา จังหวัด
ฮ่าซิ่นบิ่ง ตลอดจนจังหวัดแทงหัว) ไทแดงก็จะไปทางสีแดง แต่คำ�พูดจะคล้าย ๆ
กนั หมด การแบง่ ก็จะเป็นในลกั ษณะของการแต่งกายน่นั เอง

๑๑๑

ดา้ นอาหารการกนิ ทจ่ี ะขาดไมไ่ ดเ้ ลยกค็ อื หนอ่ ไม้ แกงหนอ่ ไมใ้ สไ่ กแ่ ละจะตอ้ ง
เป็นไก่บ้าน ผักจุ๊บ ยำ�ผัก ซึ่งจะเป็นผักอะไรก็ได้ท่ีนำ�มายํา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙
ได้ไปท่ีเมืองแถง (เมืองไลโจว) เป็นเมืองหน่ึงในเวียดนามที่มีชาวไทดำ�อาศัยอยู่
จำ�นวนมาก น่ันก็คือ เดียนเบียนฟูในปัจจุบัน ที่นี่กินอาหารรสชาติไม่จัดไม่เหมือน
กับชาวไทดำ�ในประเทศไทยท่ีจะกินอาหารรสเผ็ด ปลาป้ิงจะนิยมใช้ปลาช่อน
ใช้ปลาเกร็ดจากแม่นํา้ ด�ำ แม่นา้ํ แดง มาทำ�อาหารทไ่ี มค่ ่อยเผด็ เทา่ ไหร่ เคร่อื งที่ท�ำ
ก็จะคล้าย ๆ กัน การทำ�พิธีเสนเฮือนจะเล้ียงอาหารประเภทนี้ ผักจุ๊บ แกงหน่อไม้
แกงส้ม และปลาปงิ้ ต๊บ ๓ อยา่ งนีอ้ ย่าขาด นอกจากนี้จะเอาอาหารไทยมารวมด้วย
ก็ได้ แต่จะไม่ขาดอาหาร ๓ อย่างน้ีท่ีสำ�คัญ ขนมก็จะคล้าย ๆ กับขนมบัวลอย
ควายลุย เรื่องขนมน้ันจะไม่เน้นอะไรมาก ด้านผลไม้ก็แล้วแต่ตามฤดูกาลสำ�หรับ
ประเทศไทย ทเ่ี วยี ดนามก็จะคล้าย ๆ กนั

ที่มา : “ไทด�ำ ๗ จังหวัดทัว่ ไทยแห่ร่วมงานสงกรานต์บ้านแกง่ ปากนาํ้ โพ คึกคกั .” โดย MGR Online, (๒๕๕๙, เมษายน ๑๗), เข้าถึงไดจ้ าก
https://mgronline.com/local/detail/9590000038836.

๑๑๒

เฮอื นไทดำ�

เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมท่ีปรากฏอยู่ในศิลปะงานช่างโดยเฉพาะประเภท
ท่ีพักอาศัย หรือภาษาถ่ินนิยมเรียกว่า “เฮือน” ของผู้คนในกลุ่มวัฒนธรรมทาง
ภาษาตระกูลไท - ลาว จนเป็นท่ีมาของคำ�กล่าวท่ีว่า “อยู่เฮือนสูงเป่าแคน
กินขา้ วเหนียว เค้ียวปลาร้า สักขาลาย นงุ่ ซิน่ แม่นแลว้ คือ ไท - ลาว” ซง่ึ ถอื เปน็
อัตลักษณ์ร่วมทางวัฒนธรรมของคนในวฒั นธรรมนี้
เอกลักษณ์เฮือนไทดำ�นิยมทำ�ผังพ้ืนเฮือนเป็นรูปสี่เหล่ียมผืนผ้าโดยมีบันได
ทางข้ึน - ลงเฮือนอยู่ ๒ ตำ�แหน่ง คือ ๑) บริเวณชานแดดท่ีเป็นบริเวณครัวไฟ
หลังบ้านเรียก “ชาน” และ ๒) บริเวณหน้าบ้าน เรียกว่า “กว้าน” โดยบันได
จะอยู่บริเวณด้านสกัดหัวเรือนใหญ่ ผู้ชายจะใช้บันไดทางกว้านขึ้นหน้าบ้าน
ส่วนผู้หญิงจะใช้บันไดด้านหลังบริเวณท่ีเป็นชาน พื้นที่พักอาศัยภายในเฮือนจะมี
หิ้งผีอยู่บริเวณห้องเปิง ส่วนห้องนอนลูกชายจะอยู่ติดกับกว้าน ซ่ึงท้ังหมดนี้จะอยู่
ในผังเดียวกัน โดยแบ่งกั้นพ้ืนท่ีด้วยผ้าทอผืนงาม และพื้นที่ถูกแบ่งเป็นห้อง ๆ
นยิ มเฉพาะเลขคี่ เช่น ๓ หอ้ ง ๕ ห้อง ๖ ห้อง และ ๗ ห้อง ตามลกั ษณะความยาว
ของตัวเฮือน ซ่ึงอาจจะน้อยกว่าเฮือนไทขาว แต่จะมีความกว้างขวาง พื้นที่โถง
กลางบ้านจะเป็นพื้นท่ีโล่งอเนกประสงค์ใช้ในการรับแขก พักผ่อน ตำ�หูก (ทอผ้า)
เป็นต้น ด้านนี้มีระเบียงยื่นออกมาจากตัวเฮือนประมาณ ๑ เมตร ตามแนวยาว
ขนานตัวเฮือน ส่วนห้องนํ้าห้องส้วมจะสร้างอยู่ด้านนอกตัวเฮือน เสาโครงสร้าง
นิยมทำ�เสากลมวางอยู่บนแท่นหินไม่ปักลงพื้นดิน ท้ังน้ีเพ่ือไม่ให้ไม้ผุกร่อนได้ง่าย
และยังซ่อมแซมร้ือถอนได้สะดวกกว่าการปักลงดิน ผนังตัวเฮือนมีทั้งท่ีเป็นไม้จริง
และไม้ไผ่ นอกจากนี้ยังพบวา่ มกี ารใชผ้ นังดนิ ผสมกบั โครงสร้างไม้ไผ่อกี ดว้ ย

๑๑๓

เอกลักษณ์อย่างหน่ึงท่ีสำ�คัญของผนังเฮือนไทดํา คือ นิยมโชว์แนวเสา
ไว้ด้านนอก ผนังตัวเฮือน ช่องเปิดหน้าต่าง (ป้องเอี้ยม) มีรูปแบบท่ีหลากหลาย
แต่มาในสมัยหลังนิยมทำ�เป็นลูกกรงเหล็กแทน รูปแบบหน้าต่างยังเป็นเคร่ืองแสดง
สถานภาพทางสังคม เช่น บ้านคนจนและชนช้ันปกครอง ซึ่งสามารถดูได้จาก
ความวิจิตรงดงามทางศิลปะ บ้างทำ�เป็นลักษณะล้มสอบ แกะสลักด้วยลวดลาย
เรขาคณติ เขาควาย หวั มงั กร - นา้ํ เต้า รงั ไหม ตลอดจนกลบี ดอกไมก้ ย็ ังมีปรากฏ
ให้เห็น ส่วนหลังคาเฮือนถ้าเป็นเฮือนโบราณจะมุงแป้นเกล็ด หรือมุงแฝก ซ่ึงมี
ความหนาถึง ๓๐ - ๔๕ เซนติดเมตร ทำ�ให้มีอายุการใช้งานได้นาน ๑๐ - ๒๐ ปี
เลยทีเดียว ต่อมาสมัยหลังนิยมมุงด้วยกระเบื้องดินเผาแทน ตามความก้าวหน้า
ทางเทคโนโลยีกอ่ สรา้ งสมยั ใหม่

ภาพที่ ๗ เฮอื นไทด�ำ

๑๑๔

เฮือนไทดำ�หลังคาจะเหมือนกัน คือ นิยมทำ�เป็นทรงหลังคาแบบบรานอ
แต่ถ้าเป็นเฮือนเคร่ืองผูก ด้านสกัดจะโค้งเหมือนโครงร่ม เอกลักษณ์ท่ีสำ�คัญ
อย่างหนึ่งของเฮือนไทดํา คือ การตกแต่งยอดจ่ัวป้ันลมด้วยไม้แกะสลักลวดลาย
คลา้ ยมวยผมผู้หญิงและรปู ทรงเรขาคณิต ส่วนความเชือ่ ของยอดจวั่ นีถ้ ูกอธิบายวา่
จะเป็นครอบครัวใหม่ท่ีเพ่ิงแต่งงานจะนิยมทำ�เป็นลวดลายคล้ายหญิงชายกำ�ลัง
สังวาส หรือรูปผู้หญิงต้ังครรภ์ อันแสดงถึงความสุขและความหวัง ถ้าเป็นเฮือน
คนยากจน ยอดจัว่ จะเปน็ ไม้เรยี บ ๆ ธรรมดา ไม่มกี ารตกแต่งใช้เพียงไม้มาไขว้กนั
คล้ายกาแลในทางภาคเหนือของไทย ตัวอย่างลายเส้นยอดจั่วน้ีจัดทำ�ขึ้นมา
ใหม่โดยการอิงรูปแบบของเดิมเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๓ โดยช่างชาวเมืองทงแลง
อำ�เภอทานเซา จังหวัดซอนลา ยอดจ่ัวดังกล่าวยังเป็นเครื่องแสดงฐานะทางสังคม
เช่นเดียวกับป่องเอ้ียม (ช่องหน้าต่าง) โครงสร้างหลักของตัวเฮือนทำ�ด้วยไม้
เน้ือแข็งทั้งตัวเฮือนและโครงหลังคาสำ�หรับพ้ืนท่ีพักอาศัยภายในเฮือนจะมีแม่ค่ีไฟ
ทั้งเฮือนใหญ่และเฮือนไฟ (เฮือนครัว) โดยแม่ค่ีไฟบนเฮือนใหญ่ใช้สำ�หรับผิงไฟ
ให้ความอบอุ่นยามหน้าหนาว บนเฮือนไทดำ�จะอยู่กันหลายครอบครัว มีสมาชิก
มากกวา่ ๑๐ คน และมีคู่ผวั เมียไมต่ าํ่ กว่า ๒ - ๓ คู่ อย่รู วมกันเป็นครอบครวั ใหญ่
บริเวณรอบ ๆ เฮือนจะมีหอผีอยู่บริเวณหน้าบ้าน ของใครของมัน ต่างกับไทขาว
ท่ีจะทำ�หอผี ๒ - ๓ หออยู่ร่วมกัน สำ�หรับความแตกต่างของเฮือนไทดำ�กับไทขาว
แต่เดิมนั้นจะต่างกันตรงที่เฮือนไทขาวมักจะมีระเบียงแคบ มีบันไดทางข้ึน ๒ ด้าน
แตใ่ นปจั จบุ นั รปู แบบไดถ้ กู ผสมผสานจนแทบจะแยกไมอ่ อก อกี ทง้ั บนั ไดทางขน้ึ - ลง
ก็ถูกปรับเปลี่ยนเป็นปูนก่อแทนบันไดไม้ตามสมัยนิยม ศิลปะการตกแต่งลวดลาย
ไม้จำ�หลักยังผสมผสานกับศิลปะญวน (เวียดนาม) อย่างผสมกลมกลืนตามวิถี
สังคมใหม่ (ต๊กิ แสนบุญ, ๒๕๖๓)

๑๑๕

การอพยพของมอญเข้าสูไ่ ทย

“มอญ” เป็นชนชาติที่ฝักใฝ่ในพระพุทธศาสนา ขาดความชํ่าชองในการ
สงคราม แต่เน่ืองจากเป็นชนชาติผู้สั่งสมและร่ํารวยอารยธรรม ประกอบกับ
พ้ืนท่ีต้ังอุดมสมบูรณ์อยู่ริมปากอ่าวดินดอนของปากแม่น้ําที่ไหลออกสู่ทะเล ทำ�ให้
ดนิ แดนมอญเปน็ ทห่ี มายของชนชาตทิ อ่ี ยลู่ กึ เขา้ ไปในแผน่ ดนิ เชน่ พมา่ การกระทบ
กระท่งั ระหว่างมอญและพมา่ เกดิ ข้ึนบ่อยครง้ั ผลของสงครามส่วนใหญ่มอญจะเปน็
ฝา่ ยปราชยั แตก่ ส็ ามารถฟน้ื คนื อาณาจกั รไดห้ ลายครง้ั กอ่ นทจ่ี ะพา่ ยแพใ้ นสงคราม
ครั้งสุดท้ายเม่ือปี พ.ศ. ๒๓๐๐ กลายเป็นชนชาติไร้แผ่นดินจนถึงปัจจุบัน และ
การพ่ายแพ้สงคราม อันเป็นเหตุให้ถูกข่มเหงฆ่าล้างเผ่าพันธุ์จนต้องละทิ้งบ้านเกิด
เมืองนอนของตนเอง โดยเฉพาะในการอพยพอย่างเป็นทางการท่ีมีบันทึกใน
ประวตั ศิ าสตรต์ งั้ แต่ครงั้ แรก ในสมยั สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา ชาวมอญไดอ้ พยพ
ติดตามพระมหาเถรคันฉ่อง และเสด็จพระนเรศวรมหาราชเข้ามายังกรุงศรีอยุธยา
เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๑๒๗ ตลอดจนทกุ ครง้ั ท่ถี ูก รุกรานดินแดนปลายทางท่ีชาวมอญ
ส่วนใหญม่ กั อพยพเขา้ มาพ่ึงพงิ ก็ คือ สยามประเทศ
ชาวไทยรู้จักและคุ้นเคยกับคนมอญมานาน หากไม่นับย้อนไปถึงความ
เป็นมอญใน “ทวารวด”ี และ “หรภิ ุญชัย” อย่างนอ้ ยกม็ ักคนุ้ เคยกบั “มะกะโท”
พ่อค้าวาณิชชาวมอญในวรรณคดีไทยซ่ึงแปลมาจาก พงศาวดารมอญเรื่อง
“ราชาธิราช” ที่ภายหลังครองราชย์เป็นพระเจ้าฟ้าร่ัวแห่งเมืองเมาะตะมะ
ราชบุตรเขยของพ่อขุนรามคำ�แหงมหาราช เร่ืองราวของมะกะโทแสดงให้เห็นว่า
เมาะตะมะ โหมดแหมะเหลิ่ม (มะละแหม่ง) หัวเมืองมอญทางใต้ รวมถึงเมือง
สุโขทัยและหัวเมืองเหนือของไทยในอดีตล้วนเป็นเส้นทางไปมาหาสู่เผยแผ่
พุทธศาสนา อีกท้ังยังเป็นเส้นทางการแลกเปล่ียนสินค้าระหว่างมอญกับไทย
มาตัง้ แตบ่ รรพกาล

๑๑๖

การอพยพของมอญเข้าสู่ไทย เม่ือมอญแพ้สงครามแก่พม่าพระมหากษัตริย์
ราชวงศถ์ กู จบั กมุ คมุ ขงั เขน่ ฆา่ ขนุ นางขา้ ราชการถกู รกุ รานไลล่ า่ ประชาชนตลอดจน
พระภิกษุสงฆ์ถูกสังหารต่างถูกกดขี่ข่มเหงล้วนเป็นปัจจัยผลักดันให้ชาวมอญ
ที่ได้รับความเดือดร้อน พากันละท้ิงบ้านเรือนอพยพออกจากบ้านเมืองของตนเอง
ไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งส่วนใหญ่ คือ สยาม หรือ ไทย แม้มีบางส่วนไปยัง
ล้านนา ลาว เขมรและเวยี ดนาม
ในการอพยพเข้าสู่ไทย มีหลักฐานกล่าวถึงเป็นคร้ังแรกใน พ.ศ. ๒๐๘๒
เมอื่ พระเจ้าตะเบงชเวตท้ี ำ�สงครามชนะมอี ำ�นาจเหนืออาณาจกั รหงสาวดี ชาวมอญ
จำ�นวนมากพากันอพยพหลบหนีเข้ามายังพระราชอาณาจักรอยุธยาและมีการ
อพยพเข้ามาอย่างต่อเน่ืองอีกหลายคร้ัง จนถึง พ.ศ. ๒๓๖๗ ถือเป็นการอพยพ
เข้ามาอย่างเป็นทางการครั้งสุดท้าย เน่ืองจากอังกฤษเริ่มทำ�สงครามกับพม่า
แล้วชนะจึงเข้ายึดครองบริเวณท่ีเป็นอาณาจักรมอญและผนวกเข้าเป็นจังหวัดหนึ่ง
ของอนิ เดียในเวลาต่อมา
สาเหตุสำ�คัญท่ีชาวมอญอพยพเข้าสู่ไทยภายหลังตกอยู่ภายใต้อำ�นาจ
การปกครองของพม่าน้ันเน่ืองจากถูกบีบคั้นทางการเมืองความเดือดร้อนจากการ
ถูกกดขี่แรงงานถูกเกณฑ์ไปใช้ในการก่อสร้างการทำ�เกษตรก็เพ่ือรวบรวมไปเป็น
เสบียงอาหารให้แก่กองทัพพม่าก่อนการยกทัพเข้าทำ�สงครามกับชาติต่าง ๆ
มากกว่าจะเป็นความเดือดร้อนจากเรื่องของการทำ�มาหากิน หรือเพราะประชากร
เพ่ิมจำ�นวนมากจนประสบกับปัญหาที่ทำ�กินมีผลผลิตไม่เพียงพอ ทั้งน้ีเพราะ
ภูมิประเทศของมอญมีความอุดมสมบูรณ์ และเป็นเมืองท่าค้าขายที่สำ�คัญ
สภาพเศรษฐกิจอยู่ในระดับมั่งค่ัง ไม่เดือดร้อน ส่วนการที่ชาวมอญเลือกอพยพ
เข้ามาในไทยเป็นหลักมากกว่าจะเป็นประเทศเพื่อนบ้านอ่ืน ๆ น้ัน เนื่องจาก
พื้นที่ของมอญและไทยต่อเน่ืองกัน สภาพภูมิอากาศคล้ายกัน ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม อกี ท้ังมอี าหารการกิน วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรมประเพณเี หมอื นกนั

๑๑๗

ที่สำ�คัญ คือ นับถือศาสนาพุทธเถรวาทเช่นเดียวกัน จึงสามารถปรับตัว
ได้ง่ายเม่ือเข้ามาอยู่ในไทยประกอบกับไทยมีความรู้สึกเป็นมิตรไม่มีนโยบายกีดกัน
ชาวมอญ รวมทั้งพระมหากษัตริย์ไทยยินดีต้อนรับชาวมอญให้เข้ามาพ่ึงพระบรม
โพธิสมภารเสมอ ชาวมอญเหล่าน้ีทราบดีว่ามอญที่ได้อพยพเข้ามาก่อนหน้าน้ัน
ลว้ นได้รับการปฏบิ ตั ิอยา่ งดี หลายคนไดร้ ับราชการเปน็ ขุนนางระดับสูง

การอพยพของชาวมอญอย่างเปน็ ทางการรวมทง้ั สน้ิ ๑๐ ครั้ง ดงั นี้

การอพยพครั้งท่ี ๑ (รัชกาลสมเด็จพระชัยราชาธิราช พ.ศ. ๒๐๘๒)
เมื่อพระเจ้าตะเบงชเวตี้ ทำ�สงครามชนะมีอำ�นาจเหนืออาณาจักรหงสาวดี
ชาวมอญจ�ำ นวนมากอพยพเขา้ สไู่ ทย พระมหากษตั รยิ ท์ รงโปรดเกลา้ ฯ ใหช้ าวมอญ
กลุ่มนี้ตงั้ บา้ นเรอื นอยแู่ ถบชานพระนครกรุงศรีอยธุ ยา
การอพยพคร้ังท่ี ๒ (รัชกาลสมเด็จพระมหาธรรมราชา พ.ศ. ๒๑๒๗)
ภายหลังสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงประกาศอิสรภาพ มีนายทหารมอญ
คือ พระยาเกียรติ พระยาราม และพระมหาเถรคันฉ่องได้เข้ามาสวามิภักด์ิ
สมเด็จพระนเรศวรฯ จึงชักชวนพระยาเกยี รติ พระยาราม และพระมหาเถรคันฉอ่ ง
เข้าไทย ชาวมอญตามเมืองรายทางที่เกลียดชังพม่าเพราะถูกกดข่ีมานานจึงอพยพ
ตามเสดจ็ เป็นจำ�นวนมาก
การอพยพคร้ังที่ ๓ (รัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พ.ศ. ๒๑๓๖)
ชาวมอญได้รับความเดือดร้อนจากภาวะสงคราม เนื่องจากพระเจ้านันทบุเรง
ยกทัพเข้ามาทำ�สงครามกับไทยหลายคร้ังแต่พ่ายแพ้กลับไปทุกครั้ง ทำ�ให้ต้อง
เกณฑ์คนเข้ากองทัพเพ่ือทำ�นาและเป็นทหาร ชาวมอญเป็นพวกที่เดือดร้อนท่ีสุด
เน่อื งจากอยตู่ รงรอยตอ่ ระหว่างไทยกบั พม่า จึงพากนั อพยพเข้าสู่ไทย

๑๑๘

การอพยพคร้ังท่ี ๔ (รัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. ๒๔๗๕)
สาเหตุเกิดจากชาวมอญถือโอกาสท่ีพม่าผลัดแผ่นดินทำ�การก่อกบฏขึ้น แต่ไม่
ประสบความสำ�เร็จถูกพม่าจับประหารชีวิตเป็นจำ�นวนมาก ชาวมอญที่เหลือ
จึงพากันอพยพเขา้ สไู่ ทย
การอพยพครั้งท่ี ๕ (รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ. ๒๒๐๓)
ภายหลังกองทัพจีนฮ่อยึดบัลลังก์ของจักรพรรดิยุ่งลีของจีนได้ จักรพรรดิยุ่งลี
ได้หนีมาอาศัยอยู่กับพม่า กองทัพฮ่อไม่พอใจจึงตามเข้ามาโจมตี พม่าเกณฑ์มอญ
ขนึ้ ไปช่วยรักษาเมอื งองั วะแตม่ อญพากันหนที ัพ พม่าจึงยกกองทพั ตดิ ตามจับมอญ
สงั หารอย่างโหดเหี้ยม ชาวมอญจึงพากันอพยพเขา้ สไู่ ทย
การอพยพครั้งที่ ๖ (รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พ.ศ. ๒๒๙๐)
เกดิ ความออ่ นแอของพมา่ เมอ่ื ปลายราชวงศต์ องอู ด้วยประสบภาวะสงครามจนี ฮ่อ
และไทย มอญถือโอกาสรวบรวมกำ�ลังและประกาศอิสรภาพในปี พ.ศ. ๒๒๘๓
ภายใต้การนำ�ของสมิงทอพุทธเกษ คิดขยายอาณาเขตออกไปทางเหนือแต่ถูกพม่า
ตีโตก้ ลบั และปราบปรามอย่างหนกั ทำ�ให้ชาวมอญอพยพเขา้ สไู่ ทยหลายระลอก
การอพยพคร้ังที่ ๗ (รัชกาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พ.ศ. ๒๓๑๗)
พม่าได้เกณฑ์ชาวมอญมาเป็นทหารเพื่อเตรียมยกทัพเข้าโจมตีไทย มีพญาเจ่ง
เจ้าเมืองเตรินเป็นหัวหน้าทหารมอญส่วนหนึ่งพากันหนีทัพ พม่าจึงจับครอบครัว
ทหารมอญเปน็ ตวั ประกนั และพลอยจบั เอาครอบครวั ของทหารทไ่ี มไ่ ดห้ นที พั ไปดว้ ย
ทหารเหล่าน้ันไม่พอใจจึงก่อกบฏรุกตีเอาเมืองคืนจากพม่า หากแต่ยกทัพขึ้นไปได้
เพียงเมืองละเก๋ง (ย่างกุ้ง) พม่าส่งกองทัพมาปราบมอญสู้ไม่ได้จึงพากันอพยพ
เข้าส่ไู ทย

๑๑๙

การอพยพครั้งท่ี ๘ (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราช พ.ศ. ๒๓๓๖) ภายหลงั เมอื งทวายกอ่ กบฏ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้
จุฬาโลกฯ ทรงยกทัพไปปราบปรามหลังตีเมืองสำ�เร็จ แต่ไม่สามารถรักษาไว้ได้
จึงเกณฑ์เอาชาวทวายและชาวมอญ โดยเฉพาะท่ีเป็นนายทหารระดับหัวหน้า
เข้ามายังไทย ครั้งนี้จึงมีจำ�นวนมอญอพยพเพียงเล็กน้อย คาดว่าโปรดเกล้าฯ
ให้ต้ังบ้านเรือนอยู่แถบคลองมอญริมแม่นํ้าเจ้าพระยา ย่านวัดละมุดมอญ
(ปจั จบุ นั คอื วดั วมิ ตุ ยาราม) รวมกบั พวกทอ่ี พยพมาเมอ่ื สมยั ธนบรุ ี และเวลาตอ่ มา
ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ทโ่ี ปรดเกลา้ ฯ ใหร้ าษฎร์สามญั
ตั้งบ้านเรือนแถบปากเกร็ดและนนทบุรี ส่วนที่เป็นขุนนางและทหารคงให้รับ
ราชการและต้ังบ้านเรือนอยู่รายรอบกรุงธนบุรีริมแม่นํ้าเจ้าพระยาทั้งสองฝ่ัง
เน่ืองจากมอญกลุ่มนี้มาจากเมืองทวายซ่ึงส่วนใหญ่เป็นทหารเรือ จึงโปรดเกล้าฯ
ให้รับราชการทหารเรือประจ�ำ โรงเรอื หลวงสะพานพระรามหก ภาย หลังเม่ือมีการ
ย้ายโรงเรือหลวงมาท่ีปากคลองมอญในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวชาวมอญกลุ่มน้ีจึงได้อพยพไปต้ังชุมชนอยู่ย่านวัดมอญ หรือวัด
ประดิษฐานรามในปจั จุบนั เน่อื งจากอยู่ใกลก้ บั สถานทท่ี �ำ งาน
การอพยพครั้งท่ี ๙ (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พ.ศ. ๒๓๕๘) พระเจ้าปดุงพระมหากษัตริย์พม่า ต้องการสร้างพระเจดีย์มินกุน
ใหเ้ ป็นเจดยี ์ทใี่ หญ่ทส่ี ดุ ในโลก จึงสงั่ เกณฑ์แรงงานเป็นจ�ำ นวนมาก ท�ำ ใหช้ าวมอญ
ได้รับความเดือดร้อนสาหัส จึงพากันอพยพเข้าไทยครั้งใหญ่กว่า ๔๐,๐๐๐ คน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ
เจ้าฟ้ามงกุฎ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ออกไปรับครัวมอญ
ที่ด่านเจดยี ส์ ามองค์

๑๒๐

การอพยพคร้ังท่ี ๑๐ (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พ.ศ. ๒๓๖๗) เจ้าพระยามหาโยธา (เข่ง) ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต
จัดกองทัพออกไปรบั ญาตพิ ่ีนอ้ งท่ตี กค้างอยู่ ด้วยเกรงวา่ จะได้รบั อนั ตรายเน่อื งจาก
ขณะนั้นอังกฤษเริ่มทำ�สงครามกับพม่า ซ่ึงการอพยพคร้ังนั้นมีจำ�นวนไม่มากและ
เปน็ การอพยพคร้งั สดุ ท้ายก่อนพม่าตกเปน็ อาณานิคมของอังกฤษ
เส้นทางอพยพของมอญเข้าสู่ไทยโดยมากเป็นมอญจากเมืองใหญ่ที่มีความ
สำ�คัญเป็นศูนย์กลาง การค้า มีความอุดมสมบูรณ์ มีประชากรอาศัยหนาแน่น
จงึ ถกู พมา่ ควบคมุ เข้มงวด เชน่ เมืองเมาะตะมะและเมอื งเมาะลำ�เลิง (มะละแหม่ง)
เมืองเหล่านี้อยู่ใกล้ชายแดนไทยมีเส้นทางติดต่อค้าขายมาแต่โบราณ ชาวมอญ
คุ้นเคยเส้นทางดีสามารถเดินทางมาได้สะดวก ประกอบกับมอญในเมืองเมาะตะมะ
ถูกพม่าบีบค้ันกดดันมากกว่าเมืองอ่ืน เพราะถูกพม่าใช้เป็นท่ีประชุมพลก่อนยกทัพ
เขา้ ตไี ทย นอกจากสองเมอื งดงั กลา่ ว ยงั มมี อญอกี สว่ นจากเมอื งหงสาวดี เมอื งรี (เย)
มะริด ทวาย และตะนาวศรี ท้ังน้ีเส้นทางการอพยพของมอญเข้าสู่ไทยมีด้วยกัน
๕ เส้นทาง โดยมกั ตั้งต้นจากเมืองเมาะตะมะ และเมาะล�ำ เลิง (มะละแหม่ง) คือ
(๑) เข้ามาทางเมอื งเชยี งใหม่ เช่น การอพยพในสมยั พระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ
พ.ศ. ๒๒๙๐ มพี ระยาพระราม พระยากลางเมอื ง และพระยานอ้ ยวันทเ่ี ป็นหวั หนา้
เจ้าเมืองเชียงใหม่ส่งขบวนผู้อพยพ ลงมาทางเมืองตาก และเจ้าเมืองตากได้ทำ�
หนงั สอื สง่ ต่อมาถึงอยธุ ยา
(๒) เข้ามาทางเมืองอุทัยธานี เช่น การอพยพของมอญในรัชสมัยพระบาท
สมเดจ็ พระพทุ ธ เลศิ หลา้ นภาลยั ซง่ึ เปน็ การอพยพครง้ั ใหญ่ หลายเสน้ ทางพรอ้ มกนั
(๓) เขา้ มาทางเมอื งตาก หรอื เมอื งระแหง ทางดา่ นแมล่ ะเมา เชน่ การอพยพ
ในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราช พ.ศ. ๒๓๑๗) มีสมิงสุหร่ายกลั่นและพระยาเจ่ง
เป็นหัวหน้า

๑๒๑

(๔) เข้ามายังเมืองกาญจนบุรีทางด่านเจดีย์สามองค์ ซึ่งเป็นเส้นทางท่ีใช้
กันมาก อีกทั้งยังเป็นเส้นทางการค้า การเดินทัพระหว่างฝ่ายไทยและพม่า เช่น
การอพยพในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และในสมัยพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย
(๕) เข้ามาทางด่านสิงขร ประจวบคีรีขันธ์ เช่น การอพยพในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช
จากหลักฐานการอพยพของชาวมอญสู่ไทยที่มีการบันทึกไว้อย่างเป็น
ทางการ รวมท้ังส้ิน ๑๐ ครั้ง แต่น่าเช่ือว่า คงจะมีชาวมอญอพยพเข้ามาอย่าง
ไม่เป็นทางการอีกมาก ซึ่งเป็นการอพยพย่อยมาตามแนวตะเข็บชายแดนและ
เข้าต้ังถิ่นฐานบ้านเรือนอยู่ในเขตหัวเมืองช้ันนอกไม่ได้เข้ามายังตัวเมืองช้ันใน
ทม่ี า : (จดหมายเหตุ ชาวไทยเชอ้ื สายมอญและชาวมอญหงสาวดี บ�ำ เพญ็ กศุ ลถวาย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. กรุงเทพฯ : ชมรมเยาวชน
มอญกรงุ เทพ. หน้า ๑๕ - ๒๒)
และชาวมอญได้ตั้งบ้านเรือนอยู่ท่ัวไปตามที่ราบลุ่มริมนํ้าภาคกลาง ได้แก่
ลพบุรี สระบุรี อยุธยา นครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง
นครนายก ปทมุ ธานี นนทบรุ ี สมทุ รสงคราม สมทุ รปราการ สมทุ รสาคร กรุงเทพฯ
ฉะเชิงเทรา เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ (โดยมากเป็นแหล่งที่พระเจ้าแผ่นดินทรง
โปรดฯ พระราชทานท่ีดินทำ�กินให้แต่แรกท่ีอพยพเข้ามา) และบางส่วนตั้ง
ภูมิลำ�เนาอยู่แถบภาคเหนือ ได้แก่ เชียงใหม่ ลำ�พูน ลำ�ปาง ตาก กำ�แพงเพชร
นครสวรรค์ อุทัยธานี (เขตเมืองท่ีอยู่ติดชายแดนไทย) ทางอีสาน ได้แก่
นครราชสีมา ชัยภูมิ มีบ้างเล็กน้อยที่อพยพลงใต้อย่างชุมพร และสุราษฎร์ธานี
ที่มา : http://www.chaiwbi.com/0drem/web_children/c495000/
totol2549/c495502/495509/101.html

๑๒๒

ประวัตกิ ารอพยพของชนชาตพิ ันธ์นุ นครสวรรค์

บ้านมอญเป็นหมู่บ้านที่มีประวัติมาอย่างยาวนานประมาณ ๒๐๐ ปี
เร่ิมจากชุมชนชาวมอญอพยพมาจากเกาะเกรด็ โดยมาทางเรอื รวมกัน ๔ ครอบครวั
ในระหวา่ งเดินทางไดห้ ยุดพกั เหน่อื ย บางคนกห็ ุงขา้ ว บางคนก็ลงไปหาผักหาปลา
ในบึง จนบังเอิญพบแหล่งดินเหนียวและด้วยความชำ�นาญในการทำ�เคร่ืองปั้น
ดินเผาท่ีมีอยู่แล้ว จึงลองนำ�ดินบริเวณนี้มาปั้นเป็นภาชนะเพื่อสร้อยใช้ในครัวเรือน
เมื่อเห็นว่าดินบริเวณนี้มีคุณสมบัติเหมาะสมจึงได้ชวนกันรกรากกันอยู่ที่บริเวณนี้
ซ่ึงปัจจบุ ันสถานที่น้ัน คือ หมทู่ ่ี ๑ ต�ำ บลบ้านแกง่ อำ�เภอเมอื ง จังหวดั นครสวรรค์
ท้งั นี้ ครอบครัวชาวมอญทอี่ พยพมามที ั้งหมด ๔ ตระกูลด้วยกัน คือ
๑. ตระกูลชา่ งปั้น
๒. ตระกลู เล้ยี งสุข
๓. ตระกูลแก้วสุทธิ
๔. ตระกูลเรืองบญุ
ในการทำ�เคร่ืองปั้นดินเผาของสมัยปู่ย่าตายายน้ัน ทำ�ไว้เพ่ือแลกข้าว
แลกอาหารทุกอย่างท่ีเล้ียงชีพได้ ต่อมาเป็นการปั้นเพ่ือขายก็มีโอ่งใส่น้ํา หวดน่ึง
ข้าวเหนียว อ่างนวดขนมจีน กระปุกดับถ่าน อ่างรองน้ําข้าวและเตาขนมครก
จนถึงปัจจุบันน้ีได้มีการพัฒนารูปแบบที่หลากหลายเพื่อให้ได้ทันกับความต้องการ
ของตลาด แหล่งเคร่ืองปั้นดินเผาน้ี คนทั่วไปได้เรียกขานว่า “บ้านมอญ”
เพราะทั้ง ๔ ครอบครัวนี้มีเชื้อสายเป็นชาวมอญ เหตุท่ีมีชื่อว่า “บ้านมอญ”
เนื่องมาจากชาวมอญเป็นคนก่อตั้ง ซึ่งชาวมอญกลุ่มนี้มีฝีมือในการปั้นดินท่ีมี
ความละเอียดอ่อนและมีความชำ�นาญ จึงสามารถคิดรูปแบบต่าง ๆ ออกมาด้วย
ความรู้สึกและเป็นเอกลักษณ์ของคนบ้านมอญ การทำ�เครื่องป้ันดินเผาของคน
บา้ นมอญไดใ้ สจ่ นิ ตนาการของตนเองลงไปในผลงานทต่ี นปน้ั จงึ ท�ำ ใหผ้ ลงานออกมา

๑๒๓

มีความละเอียดอ่อนและสวยงามตามจินตนาการของคนป้ันน้ันเอง จนกระท่ัง
ถึงปัจจุบันจากชุมชนเล็ก ๆ กลายเป็นหมู่บ้านท่ีรู้จักกันทั่วประเทศและมีลูกหลาน
สบื ทอดการปน้ั ดนิ ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณข์ องภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ชาวบา้ นมอญใหล้ กู หลาน
ของตนตั้งปณิธานว่าจะสืบทอดภูมิปัญญานี้ตลอดไป ท่ีมา : (เรียบเรียงเล่าเรื่อง :
วรี ชาติ ทาทพิ ย)์
โดยเฉพาะในเขตจังหวัดนครสวรรค์น้ัน มีชุมชนมอญกระจายอยู่ในเขต
อำ�เภอเมือง อำ�เภอโกรกพระ และอำ�เภอพยุหะคีรี (บ้านเขาทอง ตำ�บลเขาทอง
อำ�เภอพยุหะคีรี ยังคงมีการรวมตัวกันของชาวมอญจัดต้ังชมรมอนุรักษ์ฟื้นฟู
ประเพณมี อญ เช่น จัดงานสงกรานต์อนั เป็นที่รู้จักแพรห่ ลายในจังหวดั นครสวรรค์
ทุกวันนี้) ท่ีมา : http://www.chaiwbi.com/0drem/web_children/
c495000/totol2549/c495502/495509/101.html

การท�ำ เครือ่ งปน้ั ดนิ เผาบา้ นมอญนครสวรรค์

เคร่ืองปั้นดินเผาบ้านมอญนครสวรรค์เม่ือเร่ิมแรกผลิตเป็นเครื่องปั้นประเภท
โอ่งน้ําขนาดไม่ใหญ่ เป็นสินค้าท่ีขายดีและสามารถบรรทุกได้สะดวกทั้งทางเรือ
และเกวียน นอกจากน้ันยังมีการผลิตเป็นกระปุกหรือหม้อใส่นํ้าตาลเป็นสินค้าท่ี
ยอดจำ�หน่ายสูง เนื่องจากมีโรงน้ําตาลตั้งอยู่ไม่ไกลจากหมู่บ้าน โรงงานนํ้าตาล
ตอ้ งใชเ้ ครือ่ งปน้ั ดนิ เผาบรรจนุ ้าํ ตาลอ้อยเพื่อจ�ำ หน่ายต่อไป
วิธีการทำ�เครื่องป้ันดินเผาบ้านมอญนครสวรรค์ เร่ิมตั้งแต่การเตรียมดิน
การขึ้นรูปและการเผาโดยใช้วิธีการเช่นเดียวกับท่ีบ้านเกาะเกร็ด กล่าวคือ มีการ
ใช้ควายยํ่าดิน การทำ�ขดดินสำ�หรับข้ึนรูป การก่อเตาเผาและการเผาเคร่ืองปั้น
ดินเผา

๑๒๔

ประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๐ นายจําปา ศิริวรรณ ช่างปั้นจากบ้านเกาะเกร็ด
ไดม้ าแนะน�ำ การปนั้ โอง่ ขนาดใหญ่ และการกอ่ เตาเผาเครอื่ งปนั้ ดนิ เผาใหแ้ ก่ ชา่ งขน้ึ
ท่ีบ้านมอญ นครสวรรค์ ช่างป้ันบ้านมอญนครสวรรค์ได้พัฒนางานผลิตเครื่องปั้น
ดินเผาจนสามารถปั้นเป็นโอ่งน้ําขนาดใหญ่ได้เช่นเดียวกับช่างปั้นบ้านเกาะเกร็ด
โดยนางสง ทาทิพย์ เป็นช่างปั้นท่ีมีฝีมือดีซึ่งสามารถป้ันโอ่งแบบบ้านเกาะเกร็ดได้
นอกจากน้ันนายจำ�ปาได้แนะนำ�ให้แต่งโอ่งน้ําขนาดเล็กให้สวยงามด้วยการแต่ง
ให้เปน็ หู จนเปน็ เอกลักษณข์ องโอง่ นาํ้ บ้านมอญนครสวรรค์
การขุดดินและการยํ่าดิน ดินที่นำ�มาใช้ทำ�เคร่ืองป้ันบ้านมอญนครสวรรค์
เป็นดินท่ีมีอยู่ในหนองขนาดใหญ่ที่อยู่ไม่ไกลจากชุมชน สภาพดินมีความเหนียว
น้อยกว่าดินเหนียวที่เกาะเกร็ดและมีทรายปนอยู่ในดินมากแต่สามารถนำ�มาผลิต
เครื่องป้ันดินเผาได้ ดินท่ีขุดจากหนองถูกบรรทุกใส่รถนำ�มากองไว้ในบริเวณใกล้
โรงปน้ั แลว้ จงึ รดนา้ํ ใหด้ นิ ชมุ่ จากนนั้ ใชค้ วายยา่ํ จนดนิ เหนยี วดี การยาํ่ ดนิ ดว้ ยควาย
จะใช้ลานภายนอกโรงป้ัน เม่ือควายย่ําดินเสร็จแล้วจึงขนดินท่ีย่ําแล้วนำ�มาเก็บไว้
ในโรงปั้น ใช้ใบตองแห้งคลุมดินแล้วรดน้ําที่ใบตองให้เปียกชุ่ม จะช่วยทำ�ให้ดิน
ออ่ นนมุ่ อยตู่ ลอดเวลา
การเตรียมดินเพ่ือใช้ปั้น นำ�ดินที่จะใช้ขึ้นรูปมาเหยียบด้วยเท้าเป็นกอง
รปู ดอกไม้ จากน้นั น�ำ มาทำ�เปน็ ขดดินเรียกว่า กลอน และก้อนกลมท่เี รยี กวา่ ลูกตาล
การทำ�กลอนของบ้านมอญนครสวรรค์ใช้วิธีนำ�ดินมาคลึงบนแผ่นกระดานยาว
ใหเ้ ป็นทอ่ นดินยาว ซึ่งตา่ งกบั วิธีตกี ลอนของบา้ นเกาะเกรด็ เนือ่ งจากดนิ บา้ นมอญ
นครสวรรค์มีความเหนียวน้อย ถ้ายืนทำ�ท่อนดินยาว ท่อนดินจะขาดได้ จึงใช้วิธี
คลึงดินบนแผน่ กระดานซ่ึงทำ� ใหท้ ่อนดนิ ไม่ขาดและทำ�งานได้เรว็

๑๒๕

โรงปั้น

โรงปน้ั เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาบา้ นมอญนครสวรรค์ มขี นาดเลก็ กวา่ โรงปน้ั เครอ่ื งปน้ั
ดินเผาบ้านเกาะเกร็ด เน่ืองจากการทำ�เครื่องป้ันบ้านมอญนครสวรรค์เป็นการทำ�
เคร่ืองปั้นท่ีมีขนาดไม่ใหญ่ และการเผาเคร่ืองป้ันใช้เตาขนาดเล็กจึงไม่ต้องสร้าง
โรงปั้นขนาดใหญ่ ภายในโรงปั้นจึงใช้สำ�หรับเก็บดินท่ีผ่านการย่ําด้วยควายมาแล้ว
ส่วนหนง่ึ ส่วนหนึ่งใชเ้ ปน็ ทท่ี �ำ งานของช่างปน้ั และอีกสว่ นหนึ่งเป็นทเี่ ก็บเคร่อื งปัน้
ท่ปี ั้นเสร็จแล้ว

เตาเผา

เตาเผาเครื่องปั้นบ้านมอญนครสวรรค์ เป็นเตาเผาขนาดเล็กใช้เวลาเผา
ประมาณ ๕ - ๖ วัน การก่อเตาและรูปลักษณะของเตาเหมือนกันกับการก่อเตา
และรปู ลกั ษณะของเตาที่บา้ นเกาะเกร็ด

อุปกรณ์ในการทำ�เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาบา้ นมอญนครสวรรค์

อุปกรณ์ในการทำ�เครื่องป้ันดินเผาบ้านมอญนครสวรรค์เหมือนกับที่
บ้านเกาะเกร็ด กล่าวคือ มีการใช้แป้น การใช้ไม้วงกาบหอย กระดานรองปั้น
ไม้ปลายแหลมท่เี รียกวา่ “เมย่ ะจ”้ี

กรรมวธิ ีการข้นึ รูป

การขึ้นรูปเคร่ืองป้ันบ้านมอญนครสวรรค์ ใช้วิธีข้ึนรูปขั้นแรกด้วยการใช้
ขดดินข้ึนรูปเหมือนกับการข้ึนรูปเคร่ืองปั้นของช่างปั้นบ้านเกาะเกร็ด รวมถึง
ข้ึนรูปด้วยแป้นหมุนเช่นกัน เครื่องป้ันดินเผาบ้านมอญนครสวรรค์ในปัจจุบันน้ี
เป็นที่ต้องการของตลาดเครื่องปั้นดินเผามาก รูปแบบของผลิตภัณฑ์จึงเปลี่ยนไป
จากโอ่งน้ําท่ีเคยเป็นผลิตภัณฑ์หลัก กลายเป็นผลิตภัณฑ์รูปทรงต่าง ๆ การข้ึนรูป
เคร่ืองปั้นจึงเปลี่ยนแปลงไปด้วย มีการนำ�วิธีการขึ้นรูปแบบทุ่มดิน หรือวิธีรีดดิน
ของชา่ งปัน้ กระถางตน้ ไมม้ าใช้ ซง่ึ ทำ�ให้ไดผ้ ลงานท่ีเร็วกว่า

๑๒๖

รูปเคร่ืองป้ันจึงเปล่ียนแปลงไปด้วยมีการนำ�วิธีการข้ึนรูปแบบทุ่มดิน หรือ
วธิ ีรดี ดนิ ของช่างปน้ั กระถางต้นไม้มาใช้ ซง่ึ ท�ำ ใหไ้ ดผ้ ลงานที่เร็วกว่า แตก่ ารขน้ึ รูป
ภาชนะขนาดใหญ่ยังคงต้องใช้วิธีด้ังเดิม คือ ข้ึนรูปด้วยขดดินตามกรรมวิธีของ
ช่างปัน้ มอญ
ปัจจุบันบ้านมอญนครสวรรค์เป็นแหล่งผลิตเคร่ืองป้ันดินเผาที่ใหญ่แห่งหนึ่ง
ของประเทศไทย เครื่องป้ันดินเผาบ้านมอญนครสวรรค์ได้ผลิตข้ึนเพื่อเป็นสินค้า
ส่งออกด้วย มีผู้ซ้ือที่เป็นผู้ค้าส่งเคร่ืองปั้นดินเผาไปจำ�หน่ายต่างประเทศเข้ามา
ส่ังซื้อและให้ปั้นตามแบบที่ผู้ซ้ือออกแบบให้ เพื่อนำ�ไปจำ�หน่ายยังต่างประเทศ
ทั้งในยโุ รป เอเชยี และออสเตรเลยี
ส่วนตลาดภายในประเทศที่เป็นตลาดใหญ่ในการรับซื้อเคร่ืองป้ันดินเผา
จากบ้านมอญนครสวรรค์ คือ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมถึงตลาด
ในภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้ โดยเฉพาะท่ีจังหวัดภูเก็ต ในแต่ละวัน
จะมีรถบรรทุกเคร่ืองปั้นดินเผาจากบ้านมอญนครสวรรค์เป็นร้อยคันท่ีบรรทุก
เครื่องป้ันดินเผาไปส่งยังแหล่งรับซื้อเครื่องปั้นดินเผาทั้งในจังหวัดต่าง ๆ ภายใน
ประเทศและส่งไปจำ�หน่ายยังต่างประเทศ เครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญ นครสวรรค์
จำ�นวนมากมายถูกผลิตกันท่วั ท้งั หม่บู ้าน มีท้งั ผ้ผู ลิตหน้าเก่าและหน้าใหม่ท่ีเพ่ิมข้ึน
ท�ำ ใหเ้ ครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาบา้ นมอญนครสวรรคไ์ ดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ สนิ คา้ ผลติ ภณั ฑ์
หน่ึงตำ�บลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ที่มา : (เครื่องป้ันดินเผานนทบุรี : พิศาล บุกผูก, หน้า
๑๕๗ - ๑๕๙. ๒๕๕๓)

๑๒๗

อตั ลักษณท์ างวัฒนธรรม

อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของเรา เมื่อก่อนเราอยู่กันน้อยคนมอญพูดแต่มอญ
พดู ไทยไม่ค่อยชดั มีอัตลักษณ์ คือ การทำ�โอ่ง ทำ�โอง่ แล้วมกี ก็ ารแก้บนเตาแลว้ ก็มี
ประเพณีอื่น ๆ แต่ก่อนเขาจะถือผีสมัยนี้เราไม่มีแล้วก็หายไป การแก้บนหรือ
การบนบานศาลกล่าวของแม่ย่านางเตา แม่ย่านางเตาที่เข้าเตาแต่ละเตาเราจะ
ขอส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ ตอนน้ีขอให้ลูกช้างเผาออกมาดี สีสวย ขอให้ของเสียน้อยลง
เม่ือถึงเวลาบนเรากแ็ ก้บนเตามหี ัวหมู ไขต่ ้ม และดอกไมธ้ ูปเทียน ท่มี า : (เรยี บเรียง
เล่าเรื่อง : วรี ชาติ ทาทพิ ย์)
ชาวชุมชนบ้านมอญ อำ�เภอบ้านแก่ง จังหวัดนครสวรรค์เป็นช่างฝีมือ
ในการป้ันดินที่มีความละเอียดอ่อนและมีความชำ�นาญมีความคิดในการสร้าง
รูปแบบต่าง ๆ ให้ออกมาจากความรู้สึกและเป็นเอกลักษณ์ ท้ังการทำ�เคร่ืองป้ัน
ดินเผาของคนบ้านมอญจินตนาการของตนเองลงไปในผลงานท่ีตนปั้นทำ�ให้ผลงาน
ออกมามีความละเอียดอ่อนและสวยงามตามจินตนาการของคุณทำ�ให้ชุมชนเล็ก ๆ
กลายเป็นหมู่บ้านท่ีรู้จักกันทั่วประเทศอีกทั้งยังผลิตเคร่ืองปั้นดินเผาเพื่อเป็นสินค้า
OTOP เป็นการสืบสานภูมิปญั ญาของบรรพบุรุษทเ่ี ปน็ ช่างฝมี อื ในการทำ�เครื่องปัน้
ดินเผาในทางวัฒนธรรมประเพณีชาวมอญท่ีกระจายอยู่ในเขตนครสวรรค์ จะรวม
ตวั กนั งานสงกรานตผ์ หู้ ญงิ และผชู้ ายรวมถงึ เดก็ ๆ รว่ มกนั แตง่ กายเปน็ ชดุ ชาวมอญ
เหมือนท่ีเคยปฏิบัติกันมาเป็นประจำ�ทุกปีและได้จัดขบวนแห่เครื่องปั้นดินเผาไป
รอบตลาดปากน้ําโพรวมทั้งมีการละเล่นเต้นรำ�ประกอบเพลงมอญ ซึ่งจะมีการ
เลี้ยงข้าวแช่เป็นอาหารขึ้นชื่อของชาวมอญให้แก่ผู้สูงอายุหรือผู้มาร่วมงาน อีกทั้ง
ยังเพ่ือประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นท่ีรู้จักแพร่หลายมากข้ึน จึงถือได้ว่า
เป็นการเริ่มประเพณีสงกรานต์หมู่บ้านโอทอปส่งเสริมการท่องเท่ียวบ้านมอญ
สืบสานวฒั นธรรมประเพณี

๑๒๘

ท้ังนี้ ยังเป็นการประชาสัมพันธ์เครื่องป้ันดินเผาขึ้นช่ือของชาวชุมชน
บ้านมอญอีกด้วย โดยเฉพาะการทำ�เคร่ืองป้ันดินเผาของชุมชนบ้านมอญ
เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งแสดงถึงอัตลักษณ์ของชุมชนท่ีแสดงออกถึงรากเหง้า
หรือวัฒนธรรมทางสังคมที่ถูกก่อให้เกิดขึ้นมาและใช้ยึดถือเป็นขนบธรรมเนียม
ประเพณที างปฏบิ ตั ใิ นสงั คมนน้ั ซง่ึ มลี กั ษณะของความโดดเดน่ หรอื มคี วามแตกตา่ ง
จากขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของสังคมอ่ืน ๆ ที่มา : http://
www.journal-social.mcu.ac.th/wp-content/uploads/2017/11/Arti
cle-5-Legal-Standards-in-Promotion-and-Promotion-and-Protec
tion-of-the-Community-Enterprise-to-Protect-the-Community-Nak
hon-Sawan-Province.pdf

ประเพณี พธิ กี รรม ความเช่อื และความศรทั ธา

ชาวบ้านมอญนครสวรรค์ นับถือศาสนาพระพุทธเป็นศาสนาประจำ�ตัวหรือ
ครอบครัวของชาวมอญ ชาวมอญเห็นพระสงฆ์ท่ีใด จะกราบลงกับพื้นทันที
เป็นความเช่ือของชาวมอญ ถ้าบ้านไหนมีการอุปสมบทลูกชายจะมีบุญและถามว่า
ท�ำ ไมทก่ี าญจนบรุ ใี ชข้ า้ วของทจ่ี ะน�ำ ไปถวายพระขน้ึ เทนิ บนศรี ษะ เพราะวา่ ชาวไทย
เชื้อสายมอญสังขละบุรี เขามีความเช่ือว่าถ้าเอาของไว้ตํ่ากว่าตัวจะบาป ของท่ี
นำ�ถวายพระพุทธเจ้า ถวายพระสงฆ์ต้องเทินบนศีรษะไว้และพระพุทธศาสนาจะ
เป็นศาสนาที่ชาวมอญศรัทธามาก ท่ีนครสวรรค์บ้านเราก็จะมีการบวชนาค
การบวชการแห่ สมัยก่อนจะมีการถือผีแม่ย่านางจะมีความเช่ือว่าการบนบาน
ศาลกล่าวแม่ย่านาง แล้วเวลาบอกแม่ย่านางว่า “ลูกช้างขอให้ของออกมาดี”
ออกมาดีแล้วเราก็จะถวายหัวหมู ไก่ ไข่ต้ม ผลไม้ พิธีกรรม ความเชื่อของคนไทย
เชือ้ สายมอญ

๑๒๙

ประเพณีก็มีประเพณีสงกรานต์ท่ีเชิดหน้าชูตาของนครสวรรค์เป็นประเพณี
สงกรานตท์ ม่ี ี คอื การแหข่ า้ วแช่ ขบวนแหข่ า้ วแช่ ปลอ่ ยนกปลอ่ ยปลา ขบวนเครอ่ื งปน้ั
ดนิ เผาทไ่ี ปแห่กันทีบ่ า้ นมอญ เวลาถึงวันที่ ๑๒ - ๑๔ ของวันสงกรานต์ เราจะจดั ที่
อบต. บา้ นแกง่ จะงานจดั ประเพณที กุ ปี โดยมกี ารแหเ่ ครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาของชาวมอญ
ไปทั่วนครสวรรค์ของเรา อันนี้ คือ ประเพณีการแต่งกาย เส้ือผ้าของเราน้ันก็จะได้
จากผู้เฒ่าผู้แก่จะเป็นโสร่งผ้าขาวม้าเป็นเสื้อสีธรรมดา สีพ้ืน สีขาว สีกัด ท่ีมา :
(เรียบเรียงเลา่ เรือ่ ง : วรี ชาติ ทาทิพย)์

วถิ ีชีวติ ความเปน็ อยู่ในนครสวรรค์

อาหารพ้ืนบ้านของชาวมอญ ชาวมอญจะมีฝีมือดีในการทำ�อาหาร เช่น
แกงเลียง แกงส้ม ต้มจืด แกงบอน ฯลฯ และยังจะมีขนม เช่น ขนมจีนท่ีเป็นช่ือ
ขนมแต่เป็นอาหาร ขนมจีนของชาวมอญทำ�ด้วยการโขลกในครกโบราณ ขนมจีน
น้าํ ยา แกงเขียวหวาน แกงลกู ซา่ น แกงกลว้ ย แกงหยวกกลว้ ยท้ังลกู กลว้ ย ตม้ เสน้
แกงร้อน แต่หลายที่เขาจะเรียกต้มเส้นแกงร้อน แต่ท่ีชาวมอญจะเรียกต้มเส้น
แกงรอ้ น
คนไทยเช้ือสายมอญจะทำ�งานกันท้ังปีพอถึงเวลาวันพระเขาก็จะไปทำ�บุญ
พอถึงเดือน ๔ เดือน ๕ เขาก็จะมีการละเล่นสงกรานต์ ชวนกันมาเล่น พอมาถึง
หน้าฝนจะหยุดปั้นของปั้นอย่างอ่ืน จะปั้นโอ่งอย่างเดียว สมัยก่อนแต่ละบ้านจะมี
โอง่ อยา่ งน้อย ๗ ใบ ห้องน้าํ ห้องครวั ห้องอาบนํ้า เราด่ืมนํ้าด่ืมทตี่ ุ่ม ตอ้ งมี ๓ ถงึ
๕ ใบ บ้านเล็ก ๆ จะมี ๓ - ๔ ใบ หรือ ๓ - ๗ ใหญก่ ็มวี ถิ ีชวี ติ ความเป็นอยู่ของ
ชาวมอญจะเป็นชนชาติพันธุ์ที่เรียบง่าย ติดดิน ทำ�บุญวัดเข้า ไม่มีวุ่นวาย
อยู่บ้านใครบ้านมัน คือ ไม่มีเร่ืองไม่มีราวกับใคร คือ ชาวมอญจะเป็นชนชาติ
ทน่ี บั ถอื ศาสนาและอะไรทเ่ี ปน็ สง่ิ ทไ่ี มด่ เี ราจะไมท่ าํ จะท�ำ แตส่ ง่ิ ทด่ี ี ๆ คอยชว่ ยเหลอื
ซ่ึงกันและกัน ชาวมอญปัจจุบันนับถือศาสนาพุทธมาก เพราะว่าในศาสนาพุทธ
อยู่กับคนไทยเช้ือสายมอญมาอย่างยาวนาน ท่ีมา : (เรียบเรียงเล่าเร่ือง : วีรชาติ
ทาทพิ ย์)

๑๓๐

ท้ังน้ี ยังเป็นการประชาสัมพันธ์เคร่ืองปั้นดินเผาข้ึนช่ือของชาวชุมชน
บ้านมอญอีกด้วยโดยเฉพาะการทำ�เครื่องป้ันดินเผาของชุมชนบ้านมอญเป็น
ภูมิปัญญาท้องถ่ินซ่ึงแสดงถึงอัตลักษณ์ของชุมชนที่แสดงออกถึงรากเหง้าหรือ
วัฒนธรรมทางสังคมที่ถูกก่อให้เกิดขึ้นมาและใช้ยึดถือเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี
ทางปฏิบัติในสังคมน้ัน ซึ่งมีลักษณะของความโดดเด่นหรือมีความแตกต่างจาก
ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของสังคมอ่ืน ๆ ที่มา : http://www.
journal-social.mcu.ac.th/wp-content/uploads/2017/11/Article-5-
Legal-Standards-in-Promotion-and-Promotion-and-Protection-of-the-
Community-Enterprise-to-Protect-the-Community-Nakhon-Sawan-
Province.pdf

ประเพณี พธิ ีกรรม ความเชือ่ และความศรัทธา

ชาวบ้านมอญนครสวรรค์ นับถือศาสนาพระพุทธเป็นศาสนาประจำ�ตัวหรือ
ครอบครัวของชาวมอญ ชาวมอญเห็นพระสงฆ์ท่ีใด จะกราบลงกับพื้นทันที
เป็นความเช่ือของชาวมอญ ถ้าบ้านไหนมีการอุปสมบทลูกชายจะมีบุญและถามว่า
ทำ�ไมท่กี าญจนบุรีใช้ข้าวของท่จี ะนำ�ไปถวายพระข้นึ เทินบนศีรษะเพราะว่าชาวไทย
เช้ือสายมอญสังขละบุรี เขามีความเช่ือว่าถ้าเอาของไว้ต่ํากว่าตัวจะบาป ของท่ี
นำ�ถวายพระพุทธเจ้า ถวายพระสงฆ์ต้องเทินบนศีรษะไว้และพระพุทธศาสนา
จะเป็นศาสนาท่ีชาวมอญศรัทธามากท่ีนครสวรรค์บ้านเราก็จะมีการบวชนาค
การบวชการแห่ สมัยก่อนจะมีการถือผีแม่ย่านางจะมีความเช่ือว่าการบนบาน
ศาลกล่าวแม่ย่านาง แล้วเวลาบอกแม่ย่านางว่า “ลูกช้างขอให้ของออกมาดี”
ออกมาดีแล้วเราก็จะถวายหัวหมู ไก่ ไข่ต้ม ผลไม้ พิธีกรรม ความเชื่อของคนไทย
เชื้อสายมอญ

๑๓๑

คนไทยเชอ้ื สายลาวครั่งในนครสวรรค์

ลาวครง่ั มชี อ่ื เรยี กตา่ ง ๆ กนั วา่ ลาวขค้ี ง่ั ลาวคง่ั หรอื ลาวครง่ั ทม่ี าของค�ำ วา่
“ค่งั หรือครัง่ ” มีข้อสันนษิ ฐาน ๓ ประการ คือ ประการแรก สนั นษิ ฐานว่ามาจาก
ค�ำ ว่า “ภฆู งั หรอื ภูครัง” ซงึ่ เปน็ ช่อื ภูเขาท่มี ลี กั ษณะคลา้ ยระฆังอยทู่ างภาคตะวนั
ออกเฉียงเหนือของหลวงพระบางในประเทศลาว เป็นถ่ินฐานเดิมของลาวคร่ัง
ประการท่ีสอง “ค่ังหรือข้ีค่ัง” คือ ครั่งที่ใช้ผนึกตราและมาออกเสียงว่า “คั่ง”
ในภาษาลาวครั่ง เพราะในภาษานี้ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล้ํา ข้อสันนิษฐาน
ประการทสี่ าม คอื ลาวคร่งั นิยมเลย้ี งครง่ั และใช้คร่งั ในการย้อมผา้ คร่งั จงึ เปน็ ของ
ส่งส่วยท่ีให้กับรัฐไทย เป็นเหตุให้ช่ือว่าลาวข้ีคร่ัง นอกจากช่ือที่กล่าวไปแล้วนั้น
ลาวครัง่ ยังมีชอื่ อื่นทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไปตามทอ้ งถนิ่ เชน่ “ลาวเตา่ เหลือง” เป็นชื่อ
เรยี กลาวครง่ั ทอ่ี าศยั อยใู่ นจงั หวดั นครสวรรค์ ชอ่ื นม้ี ที ม่ี าวา่ ชาวลาวครง่ั ในจงั หวดั น้ี
อาศัยอยู่ตามป่าเขาเหมือนเต่าท่ีมีกระดองสีเหลือง ส่วน “ลาวด่าน” เป็นช่ือเรียก
ลาวครั่งที่อาศัยอยู่ในอำ�เภอด่านซ้าย จังหวัดเลย และอำ�เภอด่านช้าง จังหวัด
สุพรรณบุรี และ “ลาวโนนปอแดง” เป็นชื่อเรียลาวครั่ง ที่อาศัยอยู่ในอำ�เภอ
บรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ นอกจากนี้ยังมีการรียกช่ือลาวคร่ังตามเสียง
ค�ำ ลงท้ายของภาษาลาวครั่ง คือ “ลาวก๊ะล่ะ หรอื ลาวลอ่ กอ๊ ” (สมทรง บรุ ษุ พฒั น์
และคณะ, ๒๕๕๔, หน้า ๑๐๒)

ประวตั ศิ าสตร์และความเป็นมาการอพยพเข้าสู่ประเทศไทย

ชาตพิ นั ธ์ุ “ลาวครง่ั ” เปน็ กลมุ่ ชาตพิ นั ธห์ุ นง่ึ ทใ่ี ชเ้ รยี กชาตพิ นั ธท์ุ ม่ี ถี น่ิ ฐานเดมิ
จากประเทศลาวแลว้ อพยพยา้ ยถน่ิ ฐานมาอาศยั อยใู่ นประเทศไทย (อญั ชลี สงิ หน์ อ้ ย
วงศวัฒนา, ๒๕๕๐ น.๑๐๙ - ๑๑๒) โดยเฉพาะในเขตพ้ืนท่ีภาคเหนือตอนล่าง
๖ จงั หวดั ได้แก่ จังหวัดก�ำ แพงเพชร อุทยั ธานี นครสวรรค์ พิจติ รพษิ ณุโลก และ
สุโขทัย การศกึ ษาชุมชนในพื้นทด่ี ังกลา่ วนั้น พบว่า ไม่ใช่ทุกชมุ ชน/หมบู่ ้านท่ีเรยี ก
ตัวเองว่า “ลาวคร่ัง”

๑๓๒

แม้ว่าจะมีประวตั ิความเป็นมาของการอพยพจากถ่นิ ฐานเดมิ เหมอื นกนั
จากทั้งเมืองหลวงพระบางและเวียงจันทน์ และมีการทอผ้าย้อมสีด้วยคร่ัง
แตบ่ างชมุ ชน/หมบู่ า้ น เรยี กตวั เองวา่ “ลาวขค้ี ง่ั ” หรอื บางชมุ ชน/หมบู่ า้ นมปี ระวตั ิ
การอพยพมาจากเวียงจันทน์คราวเดียวกันแต่เรียกตนเองว่า “ลาวเวียง” หรือ
“ไทขาว”
ชาติพันธไ์ุ ทครง่ั หรอื ทเ่ี รยี กกนั ว่า “ลาวครงั่ ” มปี ระวตั ิการถูกกวาดตอ้ นมา
พร้อมกลุ่มลาวอ่ืน ๆ จาก หลวงพระบางและเวียงจันทน์ สืบเช้ือสายบรรพบุรุษ
ซง่ึ อาศยั อยทู่ างตอนบนของล�ำ นา้ํ โขง คอื เปน็ “ลาว” แหง่ อาณาจกั รศรสี ตั นาคนหตุ
บรเิ วณเทอื กเขาภคู รงั ชาวไทครง่ั ถกู กวาดตอ้ นเขา้ ประเทศดว้ ยเหตผุ ลทางสงคราม
ตั้งแตป่ ลายสมยั กรุงธนบรุ ีจนถึงสมยั รัชกาลท่ี ๓ มาอยู่บรเิ วณเมืองหลวงภาคกลาง
ท่ีมาของไทคร่ังสอดคล้องกับประวัติศาสตร์ลาวที่กล่าวว่า การรบของ
กองทพั ไทย (ทัพสยาม) สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรแี ละทัพลาว ณ อาณาจักรลา้ นช้าง
ซ่ึงแบ่งเป็นอาณาจักรย่อย ๆ เช่น อาณาจักรล้านช้างร่มขาวหลวงพระบางต้ังอยู่
ทางเหนือ อาณาจักรลา้ นชา้ งร่มขาวเวียงจันทน์ต้ังอยู่ทางเบ้ืองน้ําโขงดา้ นตะวนั ตก
อาณาจักรล้างช้างร่มขาวจำ�ปาศักด์ิ ฯลฯ ในการรบดังกล่าว ทัพไทยชนะทัพลาว
และได้กวาดต้อนชาวลาวรวมถึงเชื้อพระวงศ์พร้อมทรัพย์สินจำ�นวนหน่ึง ยกไปท่ี
เมอื งบางกอก
ไทครั่ง เป็นชาติพันธุ์ที่ต่อมาภายหลังอพยพจากบริเวณในภาคกลาง เช่น
นครปฐม กาญจนบุรี สุพรรณบุรี และราชบรุ ี กระจายตัวข้ึนมาท�ำ มาหากินบริเวณ
ทางภาคเหนอื ไดแ้ ก่ จงั หวดั ชยั นาท นครสวรรค์ พจิ ติ ร และก�ำ แพงเพชร ชาวไทครง่ั
ในภูมิภาคน้ีมีสำ�เนียงเหมือนลาวหล่มสัก ลาวหล่มเก่า ลาวอุดรดิตถ์ และลาว
เมืองเลย

๑๓๓

งานวิจัยของอญั ชลี สิงหน์ อ้ ย วงศ์วฒั นา (๒๕๕๐) พบวา่ กลมุ่ ชาวไทครง่ั
มีประวัติการอพยพย้ายถ่ินเข้ามาในภูมิภาคเหนือตอนล่างโดยแบ่งเป็น ๒ สาย
หรือเส้นทาง คือ (๑) สายชุมชนบ้านทัพคล้าย ตำ�บลทัพหลวง อำ�เภอบ้านไร่
จงั หวดั อุทัยธานี ซ่ึงมีประวตั มิ าจากเวียงจนั ทน์ และ (๒) สายชุมชนบา้ นโคกหมอ้
ตำ�บลโคกหม้อ อ�ำ เภอทพั ทนั จงั หวดั อุทยั ธานี ซงึ่ มาจากหลวงพระบาง หรอื อาจ
เรยี กสายแรกวา่ ไทครง่ั - เวยี งจนั ทน์ และเรยี กสายสองวา่ ไทครัง่ - หลวงพระบาง
ไทครั่งท้ังสองสายน้ี นอกจากจะมีเส้นทางการอพยพเข้ามาสู่บริเวณภาคเหนือ
ตอนล่างแตกต่างกนั แล้ว ยังมีระบบเสียงวรรณยุกต์ทแี่ ตกตา่ งกนั ด้วย
เส้นทางสาย “ไทคร่ัง - เวียงจันทน์” โดยอ้างอิงกับหลักฐานเอกสารเก่า
พระนิพนธ์ โดยพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ได้เขียนเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตร์ในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นไว้ในหนังสือ
“เจ้าชีวิต” ที่พอจะนำ�มาเป็นหลักฐานอ้างอิงการเดินทางมาจากเวียงจันทน์ของ
ชาวบ้านทัพคล้ายได้ว่า บรรพบุรุษของชาวทัพคล้ายอพยพเข้าประเทศไทยเม่ือ
ครั้งท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเป็นทหารเอกของพระเจ้าตากสิน
ยกกองทัพไปปราบเมืองหลวงพระบางและเวียงจันทน์เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๑๘ และ
มาพักอยใู่ นเมอื งหลวงกรุงธนบรุ เี ปน็ เวลา ๑๐ ปี
เม่ือปี พ.ศ. ๒๓๒๙ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกคุมกองทัพ
ขึ้นมาต้านพม่าด้านทิศตะวันตกและได้เกณฑ์ชาวลาวมาด้วย เพื่อเป็นทหาร
แนวหน้าและเป็นลูกหาบเสบียงอาหาร โดยเดินทัพมาจากทัพหลวง (สุพรรณบุรี)
มายังทัพละคร ทัพไฟไหม้ ทัพผึ้ง ทัพหมัน ทัพคล้าย (ในสมัยน้ัน คือ “ทัพค่าย”)
เร่ือยมาจนถึงทัพหลวงตามลำ�ดับ เป็นท่ีมาของช่ือหมู่บ้านท่ีข้ึนต้นด้วย “ทัพ”
เม่ือเสร็จศึกจึงยกทัพกลับไปกรุงธนบุรีแต่ได้ให้ชาวลาวอยู่คอยเป็นแนวหน้า
กองสอดแนม เพื่อส่งข่าวข้าศึกให้กับกองทัพฝ่ายไทย เวลาผ่านไปชาวลาวจึงได้
รวมกันเป็นชุมชนที่บ้านทัพคล้ายในปัจจุบัน และไม่กลับไปยังเมืองหลวงอีก
จึงนับว่าชุมชนทัพคล้ายเป็นชุมชนแรกท่ีได้เข้ามาตั้งรกรากในภาคเหนือตอนล่าง
เปน็ เวลากวา่ ๒๔๐ ปี นบั จากเมอื่ ครัง้ ท่อี พยพมาจากประเทศลาว

๑๓๔

ตอ่ มา ในสมยั รชั กาลท่ี ๖ พ.ศ. ๒๔๔๐ ฐานะของชมุ ชนทพั คลา้ ยไดก้ ลายเปน็
ต�ำ บลอยูใ่ นการปกครองของอำ�เภอบ้านเชี่ยน จงั หวดั ไชยนาท (ชยั นาทในปัจจุบัน)
สังกัดมณฑลนครสวรรค์ โดยตั้งช่ือตำ�บลว่า ทัพหลวง ชาวเวียงจันทน์ท่ีมี
วัฒนธรรมภาษาพูดแตกต่างจากชาวเวียงจันทน์กลุ่มท่ีเรียกตนเองว่า “ไทขาว”
ได้พากันออกจาก “ทัพค่าย” ไปตั้งถ่ินฐานเป็นหมู่บ้านในที่ต่าง ๆ โดยรอบ
คงเหลือไว้แต่กลุ่ม “ไทขาว” อยู่ในค่ายเพียงกลุ่มเดียว และในปี พ.ศ. ๒๔๖๘
ได้มีการตัดพื้นที่ที่เป็นุชมชน “ทัพค่าย” มาสังกัดอำ�เภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี
ซึ่งเป็นชุมชนทัพคล้ายในปัจจุบัน กลุ่มไทขาวก็ถูกเรียกรวมเป็น “ไทครั่ง” ด้วย
เชน่ กัน
เส้นทาง “ไทครั่ง - หลวงพระบาง” มีประวัติการอพยพเข้าประเทศไทย
ด้วยเหตุผลทางสงครามเช่นเดียวกันกับสาย “ไทคร่ัง - เวียงจันทน์” หากแต่
มาจากเมืองภูครัง อาณาเขตหลวงพระบาง ในสมัยรัชกาลที่ ๒ โดยเข้าประเทศ
ทางอำ�เภอด้านซ้าย จังหวัดเลย ผ่านลงมาทางอำ�เภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์
(ด้วยเหตุนี้ สำ�เนียง “ลาวหล่ม” ท่ีพูดในอำ�เภอหล่มเก่า และหล่มสักของ
จังหวัดเพชรบูรณ์จึงได้รับการกล่าวว่า คล้าย “ไทครั่ง”) เดินทางผ่านพิษณุโลก
พิจิตร กำ�แพงเพชร อุทัยธานี ลงมาอยู่ในบริเวณภาคกลางที่จังหวัดสุพรรณบุรี
เมื่อมาอาศัยอยู่ท่ีกรุงธนบุรีได้ระยะหน่ึงก็อพยพกระจายออกไปยังจังหวัดใกล้เคียง
เช่น นครปฐม สุพรรณบุรี ฯลฯ นอกจากน้ี ชาวลาวครั่งยังได้อพยพเคลื่อนย้าย
ไปยังพ้ืนที่ใกล้เคียง เช่น ชาวลาวครั่งท่ีอาศัยในเขตอำ�เภออู่ทอง อำ�เภอเดิมบาง
นางบวช และอำ�เภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นกลุ่มลาวคร่ังท่ีอพยพมา
จากบ้านลำ�เหย ตำ�บลลำ�เหย อำ�เภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม นอกจากจังหวัด
สุพรรณบุรียังมีการการอพยพของชาวลาวคร่ังไปอยู่ท่ีอำ�เภอเลาขวัญ อำ�เภอ
พนมทวน และอำ�เภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจบุรี อำ�เภอบรรพตพิสัย จังหวัด
นครสวรรค์ อำ�เภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท และอำ�เภอบ้านไร่ อำ�เภอทัพทัน

๑๓๕

จังหวัดอุทัยธานี (สมทรง บุรุษพัฒน์และคณะ, ๒๕๕๔, หน้า ๑๐๒) ต่อมาเม่ือ
ประมาณ ๒๐๐ ปีมาน้ี ชาวไทครัง่ - หลวงพระบาง” ไดอ้ พยพจากจังหวัดนครปฐม
ขึ้นมาทางภาคเหนือ โดยสันนิษฐานว่า สาเหตุการอพยพขึ้นมาทางภาคเหนือ
อาจจะเป็นเหตุผลเดียวกับชาวไทดำ�เพ่ือท่ีจะกลับไปยังถ่ินฐานบ้านเกิดเมืองนอน
ที่ประเทศลาว โดยพักเป็นระยะ ๆ มาที่บ้านกุดจอก ตำ�บลกุดจอก อำ�เภอหนอง
มะโมง จังหวัดชัยนาท ต่อมามีบางส่วนอพยพต่อไปที่ชุมชนบ้านโคกหม้อ ตำ�บล
โคกหม้อ อำ�เภอทัพทนั จังหวดั อุทัยธานี จากจงั หวดั อทุ ยั ธานกี แ็ พร่กระจายเข้ามา
อาศยั ในจังหวัดนครสวรรค์ทางอ�ำ เภอลาดยาว แม่วงก์ ทา่ ตะโก อ�ำ เภอเมอื ง และ
อำ�เภอบรรพตพิสัย ทั้งน้ีมีส่วนหนึ่งอพยพจากบ้านเขาหน่อ ตำ�บลบ้านแดน
อำ�เภอบรรพตพสิ ัย เข้าไปจงั หวดั กำ�แพงเพชร สโุ ขทยั พจิ ิตร และพษิ ณุโลก

วถิ ีชีวติ

อาชีพหลักของชาวลาวคร่ังในถ่ินฐานเดิมนั้น เน้นการหาของป่า ล่าสัตว์
และทำ�ไร่หลังจากอพยพมาจึงเร่ิมมีการลงหลักปักฐานถาวรมากขึ้นมีการทำ�
เกษตรกรรมหาพื้นที่เพาะปลูก และทำ�นาเป็นอาชีพหลักมาจนถึงปัจจุบัน ไม่นิยม
ประกอบอาชีพค้าขาย ภายหลังมีโอกาสได้เล่าเรียนศึกษาทำ�ให้มีโอกาสได้ทำ�งาน
รับราชการ นอกจากน้ียังมีการสืบสานงานหัตถกรรมพื้นบ้านดั้งเดิม ยามว่างจาก
ทำ�นาก็ท�ำ งานจักสานและทอผ้า

๑๓๖

ผา้ ซิ่นตีนจก

การทอผ้าเป็นอัตลักษณ์ที่แสดงตัวตนของลาวครั่ง ผ้าทอลาวคร่ังมีชื่อเสียง
อย่างมากด้านความงดงามของลวดลายอันละเอียดประณีต และสีแดงโดดเด่น
ที่เกิดจากการย้อมด้วยคร่ัง หญิงชาวลาวครั่งมีความชำ�นาญในการทอผ้ามาต้ังแต่
คร้งั บรรพบุรุษ มลี กั ษณะการทอและการจกเกดิ ลวดลายเฉพาะตัวทเ่ี ป็นเอกลักษณ์
และยังสืบสานเทคนิคการย้อมด้วยสีธรรมชาติ ซ่ึงนิยมย้อมเส้นไหมด้วยครั่ง
ทำ�ให้ได้เสน้ ไหมสแี ดงสด นอกจากครง่ั แล้วยังมกี ารย้อมด้วยสีธรรมชาตอิ ่นื ๆ เช่น
สีเหลืองจากขมิ้นและแก่นขนุน สีครามจากต้นครามและมะเกลือ สีดำ�จากถ่าน
กะลามะพร้าว การทอจะเดินเส้น “ทางยืน” ด้วยไหมสีแดงคร่ัว และใช้เส้นไหม
“ทางพุ่ง” ทผี่ ่านการย้อมมดั หมี่ส�ำ หรับทำ�เปน็ ลวดลายตา่ ง ๆ
นอกจากประวัติความเป็นมาแล้ว ชาติพันธุ์ “ไทคร่ัง” หรือลาวครั่ง
ท้ังสองสายนั้นยังเป็นที่รู้จักกันดีในเร่ืองการทอผ้าที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่น ซ่ึงไม่
ปรากฏในวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ไทอื่น ๆ ในภาคเหนือตอนล่าง ผ้าทอ “ไทคร่ัง”
มคี วามนา่ สนใจในเรอ่ื งของความสวยงามประณตี และยงั คงอนรุ กั ษล์ วดลายโบราณ
เอาไว้ มีความโดดเด่นอยู่ท่ีผ้าซ่ินตีนจกสีแดงย้อมด้วยนํ้าคร่ัง และได้รวบรวม
กรรมวธิ ีท่ีหลากหลายอยใู่ นขน้ั ตอนการผลติ ผา้ ผืนหน่งึ
การทอผ้าเปน็ ความร้ทู ค่ี ดิ คน้ มากบั บรรพบรุ ุษต้งั แตอ่ พยพมาจากเวียงจันทน์
และหลวงพระบาง ประเทศลาว หลังจากท่ีชุมชนลาวครง่ั ได้ตั้งหลักแหล่งที่บริเวณ
ต่าง ๆ จึงเลี้ยงครั่งตามท่ีถนัด และได้ทำ�อุปกรณ์การทอผ้าและกี่ขึ้นอย่างง่าย ๆ
เพื่อทอผา้ ไว้ใช้ในชีวิตประจำ�วันตามพูดทีว่ ่า “ผหู้ ญิงทอผา้ ผชู้ ายตเี หล็ก”

๑๓๗

ปัจจุบันแม้ว่าจะไม่ได้ใช้กรรมวิธีย้อมสีจากคร่ัง และใช้ไหมจริงอีกต่อไปแล้ว
แต่จะใช้สีสังเคราะห์และไหมประดิษฐ์หรือฝ้ายสังเคราะห์แทน มีชุมชนลาวครั่ง
หลายแห่งได้รับการสนับสนุนและพัฒนาจากภาครัฐและนักวิชาการ มีการ
ประชาสัมพันธ์ทางเว็บไซต์ในฐานะสินค้าโอทอปประจำ�ตำ�บล หรืออำ�เภอ
หรือในระดับสากล จัดต้ังกลุ่มทอผ้า เช่น จังหวัดนครสวรรค์ที่บ้านคลองคต
(ต�ำ บลหนองกรด อ�ำ เภอบรรพตพิสัย)

ภาพท่ี ๑ กลุม่ สตรผี า้ ทอพ้ืนเมือง ชุมชนลาวครั่งบ้านโปร่งขะเนง ต�ำ บลด่านชา้ ง อ�ำ เภอ
บรรพตพิสัย จังหวดั นครสวรรค์

งานศึกษาภาคสนาม พบว่า นักภาษาศาสตร์ได้จัดภาษาลาวครั่งอยู่ใน
ตระกูล ภาษาไท - กะได การแต่งกายของคนไทยเชื้อสายลาวคร่ัง จะมีแบบฉบับ
เป็นของตนเองซึ่งนำ�วัสดุจากธรรมชาติในท้องถิ่น คือ ฝ้ายและไหมที่เป็นวัสดุ
ในการทอ เทคนิคที่ใช้มีท้ังการจกและมัดหม่ี ผ้าท่ีเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของ
ชาวลาวคร่ัง คือ ผ้าซ่ินมัดหมี่ต่อตีนจก ซึ่งมีลายผ้าเป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถ่ิน
และผ้าขาวม้าห้าสีมีลวดลายหลากหลายและสีที่ใช้เป็นสีที่ได้จากธรรมชาติ เช่น
สีเหลืองนำ�มาจากหัวขมิ้น สีดำ�นำ�มาจากมะเกลือ + เทา (ตะไคร่นํ้า) สีครามได้มา
จากตน้ ครามผสมกับปนู กนิ หมาก สีแดงได้มาจากคร่ัง

๑๓๘

นอกจากจะทอไว้เพื่อใช้ในครัวเรือนแล้วยังทอเพื่อการจำ�หน่ายเป็นรายได้
เสรมิ จากอาชพี หลกั และอาชพี หลกั กค็ อื เกษตรกรรม เนอ่ื งจากสภาพดนิ เหมาะแก่
การเพาะปลูกเป็นอย่างมากความสามัคคีของลาวคร่ัง ชาวลาวคร่ังจะมีความ
สามัคคีกันอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือกันไม่ว่าจะเป็นกลุ่มของเครือญาติ
หรือเพอื่ นบ้าน เชน่ ลงแขกเก่ียวขา้ ว ท�ำ ไร่ หรือแมแ้ ต่งานบญุ งานศพ งานรนื่ เรงิ
ต่าง ๆ ชาวบ้านก็จะมาช่วยงานกันเป็นจำ�นวนมากตั้งแต่เร่ิมงาน จนงานเสร็จ
เรยี บรอ้ ย

การแต่งกาย

วัฒนธรรมที่โดดเด่นของชาวลาวครั่งที่มีถิ่นฐานเดิมอยู่ท่ีเมืองภูครัง ริมฝ่ัง
แม่นํ้าโขง เมืองหลวงพระบาง คือ การเลี้ยงคร่ังไว้ย้อมผ้า นำ�สีแดงที่ได้จากคร่ัง
มาใชย้ อ้ มผา้ ซง่ึ เปน็ สที เ่ี ปน็ เอกลกั ษณข์ องชาวลาวครง่ั ดงั นน้ั วฒั นธรรมสง่ิ ทอพน้ื ถน่ิ
ลาวครั่งจึงสืบทอดมาจากหลวงพระบางจึงมีการเล้ียงไหมไว้ทอผ้าชาวลาวคร่ัง
นิยมทอผ้าซ่ินและผ้าห่ม โดยใช้ฝ้ายและไหมเป็นวัสดุสำ�คัญ เทคนิคที่ใช้มีท้ัง
การจกและมัดหม่ี ผ้าท่ีเป็นเอกลักษณ์ของชาวลาวครง่ั คอื ผ้าซิน่ มดั หม่ีต่อตีนจก
ตัวตีนซ่ินจกทอด้วยเส้นไหม ซึ่งผ่านการมัดให้เป็นลวดลายแล้วทอสลับกับการขิด
ซึ่งเป็นลายเส้นตั้ง จากนั้นต่อด้วยตีนจกซ่ึงทอด้วยฝ้าย นิยมทำ�พ้ืนเป็นสีแดง และ
ทำ�ลวดลายทรงเรขาคณิตซ่ึงไม่มีรูปแบบตายตัว ผ้าซ่ินตีนจกน้ีอาจทอตัวซิ่น
เปน็ ผา้ ไหมมดั หมล่ี ว้ นไมส่ ลบั กบั ขดิ กไ็ ด้ นอกจากผา้ ซน่ิ มดั หมต่ี อ่ ตนี จก ชาวลาวครง่ั
ยังมีซิ่นดอกดาวซึ่งนิยมทอสีพื้นด้วยสีเข้มแล้วจกลายสี่เหล่ียมเล็ก ๆ ด้วยโทนสี
ทีอ่ อ่ นเข้มสองสามสี

๑๓๙

ปัจจุบนั ชาวลาวคร่งั แตง่ กายตามสมัยนิยมในโอกาสพิเศษ เชน่ วันเทศกาล
หรืองานประเพณีต่าง ๆ ผู้สูงอายุนุ่งซ่ินทอผ้าลาวครั่ง ใส่เสื้อคอกระเช้าหรือเส้ือ
ตามสมัยนิยมและห่มผ่าสไบเฉียง (สมทรง บุรุษพัฒน์และคณะ, ๒๕๕๔, หน้า
๑๐๓-๑๐๔)

ความเช่ือทางศาสนวิทยาของชาวลาวคร่งั

ชาวลาวคร่ังนับถือพุทธศาสนาซ่ึงมีประเพณีปฏิบัติท่ีคล้ายคลึงกับชาวพุทธ
ไทยในเกือบทุกด้านจนยากท่ีจะแยกจากกันได้ ความเช่ือที่ฝังรากอย่างเหนียวแน่น
คอื ความเชอื่ เร่ืองผี ชาวลาวครั่งมีความเชื่อเร่อื งผอี ยู่สองชนดิ ใหญ่ คอื ผีเจ้านาย
และผีเทวดา นอกจากเร่ืองผีซ่ึงเป็นความเช่ือเหนือธรรมชาติแล้วนั้นชาวลาวครั่ง
ยังมีความเช่ือในเร่ืองของ “ขวัญ” ในตัวของมนุษย์เป็นการแสดงออกถึงความ
สามคั คแี ละรว่ มมอื รว่ มใจของประชาชนในทอ้ งถ่ิน

ประเพณวี ัฒนธรรมของชาวลาวคร่งั

ประเพณีแห่ธงสงกรานต์เป็นส่วนหน่ึงของเทศกาลสงกรานต์ซ่ึงปฏิบัติ
สืบทอดกันมานานในหมู่คนไทยเชื้อสายลาวครั่ง โดยถือว่าวันสงกรานต์เป็นวัน
เรมิ่ ต้นปีใหม่ คือ วันท่ี ๑๓ เมษายน ของทกุ ปี ซงึ่ ค�ำ วา่ สงกรานต์ แปลวา่ ล่วงหรือ

๑๔๐

เลยไป เคลื่อนไป การต้อนรับปีใหม่ถือว่าสำ�คัญเพราะปีหน่ึงมีครั้งเดียว การได้
รดน้ําดำ�หัวผู้สูงอายุพร้อมทั้งขอพรจากผู้ใหญ่ ถือเป็นประเพณีและวัฒนธรรม
อันดงี ามยิง่ ของคนไทยทกุ คน ทกุ ชนชน้ั ทไี่ ดป้ ฏิบัติสบื ต่อกันมา
ประเพณีการก่อเจดีย์ทรายทราบว่ามีความเก่ียวข้องกับพุทธศาสนา
นอกจากน้ีตามความเช่ือของพุทธศาสนิกชนยังเชื่อว่า การก่อเจดีย์ทรายถวายวัด
ก็เพื่อนำ�เศษดินทรายที่ติดเท้าจากวัดทั้งที่ตั้งใจและไม่ต้ังใจกลับไปคืนวัด ชาวลาว
คร่ังในจังหวัดนครสวรรค์ยึดอาชีพการทำ�นาเป็นอาชีพหลัก ซ่ึงเป็นอาชีพด้ังเดิม
นับตั้งแต่บรรพบุรุษชาวลาวคร่ังมีประเพณีวัฒนธรรมในการทำ�ขวัญข้าวเช่นเดียว
กับคนไทย ด้วยการมีความเช่ือความศรัทธาทั้งในทางพระพุทธศาสนาและในเร่ือง
ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ หรือที่เรียกกันว่า “ผี” ซ่ึงมี ๒ แบบด้วยกัน คือ
ผีเทวดาและผีเจ้านาย ผีเทวดา คือ รุกขเทวดาท่ีเคยคุ้มครองบ้านเมืองต้ังแต่สมัย
อยหู่ ลวงพระบาง สว่ นผเี จา้ นายตามความเชอ่ื ของชาวบา้ นโคกนน้ั คอื ผบี รรพบรุ ษุ
ผู้ลว่ งลับทีม่ าคอยชว่ ยปกปักษ์รกั ษาหมู่บ้านและชาวบ้าน
นอกจากนี้น้ัน ชุมชนบ้านหนองกระดูกเนื้อ ตำ�บลหนองนมวัว อำ�เภอ
ลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ ยังมีประเพณีที่เก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนา และ
ความเชื่อของประชาชน ได้แก่ ฟ้อนแห่ดอกไม้บูชาพระรัตนตรัย หรือชื่อเรียก
ในทอ้ งถิน่ วา่ ฟอ้ นแหเ่ อกา

๑๔๑

ประวตั คิ วามเปน็ มา

ชาวบ้านวังย้ิมแย้ม ตำ�บลหนองยาว อำ�เภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์
ได้ทำ�ตามบรรพบุรุษรุ่นปู่ย่า ตายาย เมื่อคราวถึงเทศกาลวันสงกรานต์จะมีการ
สรงนํ้าพระ รดน้ําดำ�หัวผู้เฒ่าผู้แก่ ต่อด้วยการแห่ธงและก่อพระเจดีย์ทราย
คร้ันยามบ่ายคล้อยแดดร่มจะได้ยินเสียงฆ้อง เสียงกลอง พอชาวบ้านได้ยินเสียง
สัญญาณน้ีก็ออกมารวมกันที่ลานวัด บ้างก็รอตักน้ําขนทรายเข้าวัด ชาวบ้าน
ได้นิมนต์พระมาเป็นม่ิงขวัญกำ�ลังใจ บ้างก็เอ้ินหมอแคน คนตีกลองพากันไป
แหเ่ กบ็ ดอกไมต้ ามทงุ่ ตามโคกตามดอน ชาวบา้ นตา่ งหมายตาหาตน้ ไมท้ ม่ี ดี อกงาม ๆ
เชน่ ดอกคูณ ดอกจำ�ปา ดอกประดู่ หรือดอกไมต้ ามบา้ น ไดแ้ ก่ ดาวเรือง มะลิ เข็ม
และดอกไม้อื่น ๆ ตามท่ีมี แต่ก่อนท่ีชาวบ้านจะเด็ดดอกไม้จะใช้คำ�กล่าว “เอกา
เอกา ขอดวงมาลาเจ้าแด ตน้ เจา้ ให้ บุญไดท๋ อ่ กนั ” เมื่อเก็บดอกไมไ้ ดต้ ามทีต่ อ้ งการ
เพื่อจะใช้ในงานวัดแล้ว ในวันน้ันชาวบ้านก็จะนำ�ดอกไม้ท่ีเก็บมาไปถวายพระด้วย
เมื่อถึงเวลาชาวบ้านก็แห่ดอกไม้โดยมีหมอแคนเป่าแคนในลายขี่วัวข้ึนเขาล่อง
ของชาวบ้าน ไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ทั้งชายและหญิงต่างกันพากันมาฟ้อนรำ�
กลับวัดโดยมีพระสงฆ์ท่ีนิมนต์มาด้วยเดินนำ�หน้าฝ่ายชาวบ้านเดินตามหลังและ
ฟ้อนรำ�กันอย่างสนุกสนาน เมื่อผ่านบ้านใครท่ีตักน้ําใส่กระแป๋งไว้นั่งรอพอหม่อม
พระมากจ็ ะสวดมนตแ์ ละพรมนํา้ มนต์ให้กบั ชาวบ้าน
เม่ือหม่อมพระผ่านไปแล้วชาวบ้านจะถือขันนํ้าหรือกระแป๋งน้ําเดินเป็นแถว
ตามหม่อมพระไปจนถึงลานวัด ต่างก็แยกยา้ ยไปเตรยี มงานสถานท่ที ่ีจะสรงนาํ้ พระ
เตรียมท่ีจะรดนํ้าดำ�หัวและเตรียมประดับธง ก่อพระเจดีย์ทราย ด้วยการนำ�ดอกไม้
ที่ได้มาไปบูชาพระพุทธ พระสงฆ์ และอีกส่วนก็นำ�ดอกไม้ไปประดับเจดีย์ทราย
สว่ นชาวบา้ นทช่ี อบฟอ้ นทม่ี คี วามถนดั กไ็ ปรา่ ยร�ำ พากนั ฟอ้ นเพอ่ื เปน็ การเฉลมิ ฉลอง
“ฟ้อนแห่ดอกไม้เพื่อบูชาพระรัตนตรัย” ประเพณีสงกรานต์จึงเป็นการแสดง
พนื้ บ้านของอ�ำ เภอลาดยาว จงั หวดั นครสวรรค์

๑๔๒
อตั ลักษณ์

การฟ้อนแห่ดอกไม้บูชาพระรัตนตรัยเป็นการแสดงที่สืบทอดมาจาก
บรรพบุรุษรุ่นตายายที่จัดข้ึนในวันสงกรานต์ การฟ้อนแห่ดอกไม้นั้นมีอัตลักษณ์
คือ มีการรำ�ที่อ่อนช้อยและท่าทางการรำ�ของลาวคร่ัง โดยเฉพาะมีการแต่งตัว
ที่สวยงามและโดดเดน่ อยา่ งเห็นชดั
องค์ประกอบของการแห่ฟ้อนดอกไม้บูชาพระรัตนตรัย โดยมีวงแคนอันเป็น
ลักษณะเฉพาะท้องถ่ิน ซึ่งมสี ว่ นประกอบการแสดง ดังนี้
๑) ช่างฟ้อน มีการรำ�ท่ีออ่ นช้อย
๒) ทา่ ร�ำ มีทา่ รำ�ท่เี ป็นเฉพาะตวั ของลาวคร่ัง
๓) การแต่งกาย มกี ารแต่งกายแบบวัฒนธรรมลาวคร่งั มลี ักษณะการแตง่ ตัว
ที่โดดเดน่ และสวยงาม
๔) แคนกบั พิณ เป็นเครอื่ งดนตรีหลักท่ใี ช้ในการฟ้อนเพราะเปน็ เครอื่ งดนตรี
ท่ไี พเราะเยา้ ยวนอารมณ์ให้มคี วามรู้สกึ อยากรำ�และสนุกสนาน
๕) บทบชู าการเก็บดอกไม้

บทบูชาการแห่ดอกไม้บูชาพระรตั นตรัย
“เอกา เอกา ขอดวงมาลาเจ้าแด ตน้ เจ้าให้ บุญไดท๋ อ่ กนั ”
การฟอ้ นแหด่ อกไมบ้ ชู าพระรตั นตรยั ปกตทิ ม่ี กี ารร�ำ ในชว่ งงานสงกรานตน์ น้ั
เป็นการตอ้ นรับแขกผมู้ ีเกยี รติทมี่ าในชมุ ชน และฟ้อนแบบเผยแพร่ให้เป็นประจกั ษ์
แก่สายตาผู้ท่ีมาเย่ียมชมชุนชนว่ามีอะไรดีบ้าง และยังได้ไปเผยแพร่ในงานของดี
เมอื งลาดยาวอีกด้วย

๑๔๓

โดยเปน็ การสบื ทอดรนุ่ ตอ่ รนุ่ ชมุ ชนมบี ทบาทเขา้ มารว่ มมอื เมอ่ื จะมกี ารแสดง
เชน่ สง่ ลกู หลานมาฝกึ ร�ำ การแตง่ กาย แต่งหน้า ทงั้ หญงิ และชายใหค้ วามรว่ มมอื
เป็นอย่างดี เพราะฉะนั้นจึงเป็นการแสดงให้เห็นถึงความร่วมมือของชาวบ้าน
ในชุมชนที่ช่วยกันรักษาวัฒนธรรมการแสดงที่เก่าแก่ และสวยงามของหมู่บ้านไว้

งานสืบสานวัฒนธรรมงานบุญคูนลาน สู่ขวัญข้าว ท่ีจัดข้ึนในวัน ๓ ค่ํา
เดือน ๓ ณ วัดหนองกระดูกเนื้อ หมู่ท่ี ๕ ตำ�บลหนองนมวัว อำ�เภอลาดยาว
จังหวัดนครสวรรค์ ซ่ึงเป็นหมู่บ้านท่องเท่ียว OTOP นวัตวิถี โดยนายอรรถพร
สิงหวิชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ เป็นประธานในพิธี ภายในงานจะมีการ
จัดกิจกรรมบายศรีสู่ขวัญข้าว การรวมกลุ่มของชาติพันธุ์ลาวครั่งจากอำ�เภอต่าง ๆ
ในจังหวัดนครสวรรค์ มีการแสดงนิทรรศการวิถีชีวิตชาวนา พร้อมกันมีตลาดนัด
ชุมชนที่ได้จำ�หน่ายสินค้าชุมชน สินค้า OTOP และกิจกรรมหมู่บ้านท่องเท่ียว
OTOP นวัตวิถี เพ่ือเป็นการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมท้องถ่ิน ส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว และเปน็ การสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชน

๑๔๔

บทสรปุ

นครสวรรค์เป็นดินแดนที่มีแม่น้ําสำ�คัญหลายสาย คือ แม่น้ําเจ้าพระยา
แม่น้ําปิง และแม่น้ําน่าน ส่งผลให้มีผู้คนเดินทางเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่หนาแน่น
กวา่ บริเวณอ่ืน อกี ทงั้ จากหลักฐานทางประวตั ิศาสตรแ์ ละโบราณคดี ท�ำ ให้ทราบวา่
นครสวรรคเ์ ป็นถ่นิ ท่อี ยูอ่ าศัยของมนษุ ยม์ าตั้งแต่สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ จนกระท่ัง
พฒั นาขน้ึ เปน็ ชมุ ชนเมอื งในชว่ งสมยั ประวตั ศิ าสตร์ ซง่ึ มพี ฒั นาการและความเจรญิ
มาเปน็ ลำ�ดบั
สืบเนื่องจากความสำ�คัญของดินแดนไทยในอดีตเป็นท่ีราบลุ่มแม่น้ําจึง
เหมาะแก่การต้ังถ่ินฐาน ทำ�ให้กลุ่มคนหลากหลายชาติพันธ์ุที่ประกอบไปด้วย
กล่มุ คนทงั้ เชอ้ื ชาตไิ ทย จีน มอญ ญวน ลาว และมุสลิม ได้อพยพเข้ามา โดยการ
ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางด้านประวัติศาสตร์และการอพยพย้ายถิ่นฐาน ทำ�ให้พบ
ข้อมูลชุดความรู้ทางวัฒนธรรมท้องถ่ินท่ีเกี่ยวกับชาติพันธุ์ต่าง ๆ อันได้จากการ
เรียนรู้เร่ืองราวรากเหง้าความเป็นมา ตลอดจนสภาพสังคม ประเพณี ความเช่ือ
และวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุต่าง ๆ ที่มาอาศัยอยู่ร่วมกันในจังหวัดนครสวรรค์
(ซ่ึงจะกล่าวต่อไป) สิ่งที่พบสอดคล้องยืนยันตรงกันว่า การเดินทางเข้ามาของกลุ่ม
คนเหล่านี้มีจุดประสงค์เพ่ือการค้า และเพื่อแสวงหาโอกาสในการดำ�เนินชีวิตใหม่
ให้มฐี านะดขี นึ้

๑๔๕

เอกสารอ้างอิง

ผล อฐั นาค. (๒๕๔๓). วถิ ชี วี ติ คนไทยเชอ้ื สายเวยี ดนามในเขตเทศบาลเมอื งมกุ ดาหาร
จังหวัดมุกดาหาร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สารานกุ รมเสรี. (๒๕๖๓ข, มถิ ุนายน ๙). “ไทยเชื้อสายญวน.” ใน วิกพิ เี ดยี . เข้าถึง
ได้จาก https://th. wikipedia.org/wiki/ไทยเชอื้ สายญวน
หอจดหมายเหตุ. (๒๕๕๘). “ประวัติศาสตร์การอพยพของชาวเวียดนาม.” ใน
หอจดหมายเหตุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. เข้าถึงได้จาก http://catholichaab.com/
main/index.php/2015-09-22-02-53-59/2015-09-30-02-35-12/527-2015-10-19-
04-34-47
จรัล มะลูลีม. (๒๕๔๗). อิสลามศึกษา. (เอกสารประกอบการบรรยายนักศึกษา
หลกั สตู รปลดั อ�ำ เภอประจ�ำ ต�ำ บลรุ่นท่ี ๑ ระหวา่ งวนั ที่ ๑๓ - ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๗). เข้า
ถึงได้จาก http://www.opes.go.th/sites/default/files/users/user4/isalamedu.
doc
ณรงค์ ดูดิง. (๒๕๔๗). หลักกฎหมายและวัฒนธรรมอิสลาม (กฎหมายอิสลาม).
(การบรรยายหลักสูตรเจ้าหน้าท่ีปกครองผปู้ ฏิบัตงิ านประจำ�ตำ�บลใน ๓ จังหวัดชายแดนใต้
ปีงบประมาณ ๒๕๔๗ สำ�นักอธิการวิทยาลัยการปกครอง). เข้าถึงได้จาก http://www.
keoychai.go.th/laws/0181.pdf
วิกพิ ีเดยี สารานุกรมเสรี. (๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐). ดเิ กร์ ฮลู ู. เข้าถึงไดจ้ าก https://
th.wikipedia.org/wiki/ดิเกร_์ ฮูลู
วกิ พิ เี ดีย สารานกุ รมเสรี. (๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓). ศาสนาอสิ ลาม. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
https://th.wikipedia.org/wiki/ศาสนาอสิ ลาม
วพิ ากษป์ ระวตั ศิ าสตร.์ (๔ เมษายน ๒๕๖๑). ฉลองพระองคอ์ ยา่ งเทศ เครอ่ื งแตง่ กาย
วฒั นธรรมอินโด-เปอร์เซยี ของราชทูตสยามคร้ังสมเด็จพระนารายณ์. เข้าถึงได้จาก https://
web.facebook.com/ WipakHistory/posts/1724846904245439/?_rdc=1&_rdr
Dome Niphon. (๒ สงิ หาคม ๒๕๕๗). อสิ ลามในประเทศไทย. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://
sites.google.com/ site/muslimtrat/introduction-to-islam/islam-thailand
Taweesak Kunyochai. (๒๕๕๐). ศาสนาอิสลาม. เข้าถึงได้จาก http://www.satit.
up.ac.th/BBC07/Aroun dTheWorld/reli/6.htm


Click to View FlipBook Version