The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by piyanat.so, 2021-03-17 22:11:22

LISREL Workshop_Manual_18-19March2021

LISREL Workshop_Manual_18-19March2021

92
4.3 ผลการวิเคราะหคาสถิติเบื้องตนของตัวแปรสังเกตไดในโมเดลความสัมพันธเชิง

สาเหตทุ ่แี สดงอิทธิพลของรูปแบบการจัดการเรียนรขู ามวัฒนธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ CLMV
สําหรบั นสิ ติ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

ผลการวเิ คราะหค าสถติ ิพ้ืนฐานของตัวแปรท่ีใชใ นโมเดล มตี ัวบง ช้ีทัง้ หมด 23 ตัวแปร ท่ีใช
วัดตัวแปรแฝง 5 ตัวแปร คอื 1) การจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (LEARNASE) 2) องคประกอบ
ของการเรียนรูขามวัฒนธรรม (COMASE) 3) กระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (PROASE)
4) กิจกรรมเพื่อการเรียนรูขามวัฒนธรรม (ACTASE) 5) การอยูรวมกันอยางมีความสุข (ตามหลัก
สาราณียธรรม) (HAPLIVE) มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาลักษณะการกระจายและการแจกแจงของตัวแปร
สังเกตไดแตละตัว คาสถิติที่ใช ไดแก คาเฉลี่ย ( Χ ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) คะแนนต่ําสุด
(Min) คะแนนสูงสุด (Max) สัมประสิทธ์ิการกระจาย (C.V.) คาความเบ (Sk) และคาความโดง (Ku)
โดยแยกวเิ คราะหผลแตล ะตวั แปรดงั ตอ ไปน้ี

เมื่อพิจารณาการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (LEARNASE) พบวา โดยภาพรวม
การจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน อยูในระดับมาก ( Χ =4.07) ซ่ึงเมื่อพิจารณาเปนรายดาน
พบวา ดานมงุ เนน การอยูรวมกนั อยางสันติ ( Χ =4.19) รองลงมาคือ ดานคุน เคยกับวัฒนธรรมอาเซียน
( Χ =4.11) และดานรูจักอาเซียนดวยนวัตกรรม ( Χ =4.06) ตามลําดับ เมื่อพิจารณาคาสัมประสิทธิ์การ
กระจาย (C.V.) ของตัวแปร พบวา ตัวแปรมีการกระจายไมตางกันมาก โดยมีคาอยูระหวางรอยละ
17.96 – 20.00 เมื่อพิจารณาคาความเบ (Sk) ของตัวแปร พบวา ตัวแปรทุกตัวมีการแจกแจงใน
ลักษณะเบซาย (คาความเบเปนลบ) แสดงวา ขอมูลของตัวแปรทุกตัวสูงกวาคาเฉล่ีย เม่ือพิจารณาคา
ความโดง (Ku) พบวา ตัวแปรทุกตัวมีโคงการแจกแจงของขอมูลในลักษณะสูงโดงกวาโคงปกติ (คา
ความโดง มากกวา 0) แสดงวา ตวั แปรทุกตัวมีการกระจายของขอ มูลนอ ย

เม่ือพิจารณาองคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (COMASE) พบวา โดย
ภาพรวมปจจัยพื้นฐานการสะทอนคิดอยูในระดับมาก ( Χ =4.36) ซ่ึงเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา
ดานแบบแผนในการปฏิบัติมีคาเฉลี่ยสูงท่ีสุด ( Χ =4.45) รองลงมาคือ ดานการนับถือนิกายทาง
พระพุทธศาสนา ( Χ =4.33) และดานหลักปฏิบัติในการอยูรวมกัน ( Χ =4.29) ตามลําดับ เม่ือ
พิจารณาคาสัมประสิทธ์ิการกระจาย (C.V.) ของตัวแปร พบวา ตัวแปรมีการกระจายไมตางกันมาก
โดยมคี าอยูระหวา งรอ ยละ 15.01 – 17.94 เมอ่ื พจิ ารณาคา ความเบ (Sk) ของตวั แปร พบวา ตัวแปรทกุ
ตัวมีการแจกแจงในลักษณะเบซาย (คาความเบเปนลบ) แสดงวา ขอมูลของตัวแปรทุกตัวสูงกวาคาเฉลี่ย
เม่ือพิจารณาคาความโดง (Ku) พบวา ตัวแปรทุกตัวมีโคงการแจกแจงของขอมูลในลักษณะสูงโดงกวา
โคงปกติ (คาความโดง มากกวา 0) แสดงวา ตัวแปรทกุ ตัวมีการกระจายของขอมลู นอ ย

เม่ือพิจารณากระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (PROASE) พบวา โดยภาพรวม
ปจจัยดานสภาพแวดลอมอยูในระดับมาก ( Χ =4.07) ซ่ึงเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานปรับ
กระบวนทัศนในเรื่องวัฒนธรรมมีคาเฉล่ียสูงท่ีสุด ( Χ =4.13) รองลงมาคือ ดานเตรียมใจเรียนรูส่ิงที่
แตกตาง ดา นปรับอารมณใหเขากับสถานการณ ( Χ =4.08) และดานเขาใจพฤติกรรมของนิสติ ชาติอ่ืน
( Χ =4.06) เมื่อพิจารณาคาสัมประสิทธิ์การกระจาย (C.V.) ของตัวแปร พบวา ตัวแปรมีการกระจาย
ไมตางกันมาก โดยมีคาอยูระหวางรอยละ 17.84 – 19.39 เมื่อพิจารณาคาความเบ (Sk) ของตัวแปร
พบวา ตัวแปรทุกตัวมีการแจกแจงในลักษณะเบซาย (คาความเบเปนลบ) แสดงวา ขอมูลของตัวแปร

93

ทุกตัวสูงกวาคาเฉลี่ย เมื่อพิจารณาคาความโดง (Ku) พบวา ตัวแปรทุกตัวมีโคงการแจกแจงของขอมูลใน
ลักษณะสงู โดงกวา โคงปกติ (คาความโดง มากกวา 0) แสดงวาตัวแปรทุกตวั มีการกระจายของขอมลู นอ ย

เม่ือพิจารณากิจกรรมเพ่ือการเรียนรูขามวัฒนธรรม (ACTASE) พบวา โดยภาพรวมปจจัย
ดานกิจกรรมเพ่ือการเรียนรูขามวัฒนธรรม อยูในระดับมาก ( Χ =4.05) ซึ่งเมื่อพิจารณาเปนรายดาน
พบวา ดานเรียนรูแบบการรวมมือรวมพลัง มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด ( Χ =4.07) รองลงมาคือ แลกเปล่ียน
เรียนรูจากประสบการณตน ( Χ =4.05) และสาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม ( Χ =4.04) ตามลําดับ เมื่อ
พิจารณาคาสัมประสิทธิ์การกระจาย (C.V.) ของตัวแปร พบวา ตัวแปรมีการกระจายไมตางกันมาก
โดยมีคาอยูระหวางรอยละ 19.60 – 20.08 เม่ือพิจารณาคาความเบ (Sk) ของตัวแปร พบวา ตัวแปร
ทุกตัวมีการแจกแจงในลักษณะเบซาย (คาความเบเปนลบ) แสดงวา ขอมูลของตัวแปรทุกตัวสูงกวา
คาเฉลยี่ เม่ือพิจารณาคาความโดง (Ku) พบวา ตวั แปรทุกตัวมโี คงการแจกแจงของขอ มูลในลักษณะสูง
โดง กวา โคง ปกติ (คา ความโดงมากกวา 0) แสดงวาตวั แปรทุกตวั มีการกระจายของขอ มูลนอ ย

เมื่อพิจารณาการอยูรว มกันอยา งมีความสุข (HAPLIVE) พบวา โดยภาพรวมการอยูรว มกัน
อยางมีความสุข อยูในระดับมากท่ีสุด ( Χ =4.16) ซ่ึงเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ตัวแปรดาน
ชวยเหลือและเอื้อเฟอตอผูอื่น มีคาเฉล่ียสูงท่ีสุด ( Χ =4.18) รองลงมาคือ ตัวแปรเคารพและรับฟง
ความคิดเห็นของผูอ่ืน (Χ =4.17) แบงปนส่ิงของใหแกกนั และปฏิบัติตามกฎเกณฑของหมูคณะ (Χ =4.16)
ตามลําดับ เมื่อพิจารณาคาสัมประสิทธิ์การกระจาย (C.V.) ของตัวแปร พบวา ตัวแปรมกี ารกระจายไม
ตางกันมาก โดยมีคาอยูระหวาง รอยละ 17.38 – 18.56 เมื่อพิจารณาคาความเบ (Sk) ของตัวแปร
พบวา ตัวแปรทุกตัวมีการแจกแจงในลักษณะเบซาย (คาความเบเปนลบ) แสดงวา ขอมูลของตัวแปร
ทุกตัวสูงกวาคาเฉล่ีย เมื่อพิจารณาคาความโดง (Ku) พบวา ตัวแปรทุกตัวมีโคงการแจกแจงของขอมูล
ในลักษณะสูงโดงกวาโคงปกติ (คาความโดง มากกวา 0) แสดงวาตัวแปรทุกตวั มีการกระจายของขอมูลนอย
รายละเอียดผลการวเิ คราะหขอมลู แสดงไดด ังตารางท่ี 4.4
ตารางที่ 4.4 คาสถิติเบื้องตนของตัวแปรสังเกตไดในโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุที่แสดงอิทธิพลของ

รูปแบบการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ CLMV สําหรับนิสิต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย (N = 570)

ตัวแปร Χ ระดับ S.D. Min Max C.V. Sk Ku
LEARNASE 4.07 มาก 0.71 1.11 5.00 17.56 -0.89 1.20
LEARN1 4.19 มาก 0.75 1.00 5.00 17.96 -1.05 1.43
LEARN2 4.11 มาก 0.80 1.00 5.00 19.49 -1.14 1.84
LEARN3 4.01 มาก 0.80 1.00 5.00 19.95 -0.60 0.05
LEARN4 4.06 มาก 0.78 1.00 5.00 19.33 -0.75 0.52
LEARN5 4.04 มาก 0.81 1.00 5.00 19.98 -1.13 2.28
LEARN6 4.01 มาก 0.80 1.00 5.00 20.00 -0.96 1.66
COMASE 4.36 มาก 0.67 1.22 5.00 15.49 -1.40 2.80
COM1 4.45 มาก 0.67 1.00 5.00 15.01 -1.44 2.86
COM2 4.29 มาก 0.74 1.00 5.00 17.13 -1.22 2.10
COM3 4.33 มาก 0.78 1.00 5.00 17.94 -1.53 3.21

94

ตัวแปร Χ ระดับ S.D. Min Max C.V. Sk Ku
PROASE 4.07 มาก 0.68 1.20 5.00 16.64 -0.73 0.93
PRO1 4.00 มาก 0.78 1.00 5.00 19.39 -0.83 1.18
PRO2 4.08 มาก 0.73 1.00 5.00 17.84 -0.68 0.77
PRO3 4.08 มาก 0.77 1.00 5.00 18.88 -0.73 0.66
PRO4 4.06 มาก 0.78 1.00 5.00 19.33 -0.75 0.52
PRO5 4.13 มาก 0.74 1.00 5.00 18.03 -0.87 1.37
ACTASE 4.05 มาก 0.77 1.00 5.00 18.94 -1.00 1.61
ACT1 4.05 มาก 0.80 1.00 5.00 19.77 -1.03 1.82
ACT2 4.04 มาก 0.81 1.00 5.00 20.08 -0.98 1.54
ACT3 4.07 มาก 0.80 1.00 5.00 19.60 -0.97 1.37
HAPLIVE 4.16 มาก 0.70 1.00 5.00 16.89 -0.83 0.91
HAPLIV1 4.18 มาก 0.76 1.00 5.00 18.18 -0.96 1.03
HAPLIV2 4.15 มาก 0.77 1.00 5.00 18.56 -0.88 0.91
HAPLIV3 4.15 มาก 0.77 1.00 5.00 18.50 -1.00 1.47
HAPLIV4 4.16 มาก 0.72 1.00 5.00 17.38 -0.71 0.60
HAPLIV5 4.16 มาก 0.74 1.00 5.00 17.89 -0.76 0.51
HAPLIV6 4.17 มาก 0.74 1.00 5.00 17.65 -0.73 0.51

4.4 ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรสังเกตไดเพื่อใชสรางเมทริกซสหสัมพันธ
ในการวิเคราะหรูปแบบการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ CLMV สําหรับ
นิสิตมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ท่ีมีตัวแปรสง ผาน

ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรสังเกตไดของรูปแบบการจัดการเรียนรูขาม
วัฒนธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ CLMV สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มี
รายละเอยี ดผลการวิเคราะห ดงั นี้

ผลการวิเคราะห พบวา คาสถิติ Bartlett's Test of Sphericity ซ่ึงเปนสถิติทดสอบ
สมมติฐานวา เมทรกิ ซสหสมั พันธเปนเมทรกิ ซเอกลักษณ (identity matrix) หรือไม มีคาสถิติทดสอบ
เทากับ 4178.914 (p = .000) แสดงวา เมทริกซสหสัมพันธระหวางตัวแปรสังเกตไดท้ังหมดของกลุม
ตัวอยางแตกตางจากเมทริกซเอกลักษณอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และคาดัชนีไกเซอร –
ไมเยอร –ออลคิน (Kaiser-Meyer-Olkin Measure of Sampling Adequacy : KMO) มีคาเทากับ
.941 โดยมคี าเขาใกล 1 แสดงวา ตวั แปรในขอมลู ชุดน้ีมีความสมั พันธก ันเหมาะสมที่จะนําไปวเิ คราะห
โมเดลลิสเรลตอไป

เม่ือพิจารณาสหสัมพันธระหวางตัวแปรสังเกตไดจํานวน 23 ตัวแปร พบวา ความสัมพันธ
ระหวางตัวแปรทีม่ คี าแตกตา งจากศนู ยอยางมนี ัยสาํ คัญทางสถิติ (p < .01) มีจาํ นวน 253 คู มคี าพิสัย
สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธอยูในชวง 0.455 ถึง 1.000 เม่ือพิจารณาความสัมพันธของตัวแปรสังเกตได
พบวา ทกุ ตวั มคี วามสัมพันธอ ยางมีนัยสําคญั ทางสถิติ (p < .01) และเปนความสัมพันธท างบวก แสดง
วา ความสัมพันธของตัวแปรทุกตัวเปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยตัวแปรที่มีความสัมพันธกันสูงสุด คือ
รูจักอาเซียนดวยนวัตกรรม (LEARN4) และเขาใจพฤติกรรมของนิสิตชาติอ่ืน (PRO4) โดยมีขนาด
ความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เทากับ 1.00 แสดงวา คือ รูจักอาเซียนดวย

95
นวัตกรรมเพิ่มขึ้น เขาใจพฤติกรรมของนิสิตชาติอื่น ก็เพ่ิมขึ้นดวย และตัวแปรที่มีความสัมพันธ
รองลงมาคือ พูดจาสุภาพและมีเหตุผล (HAPLIV2) และคิดดีตอกัน (HAPLIV3) โดยมีขนาด
ความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 เทากับ .909 แสดงวา พูดจาสุภาพและมีเหตุผล
เพิม่ คดิ ดีตอ กัน จะเพ่มิ มากขึน้ ดวย

เม่ือพิจารณาความสัมพันธของตัวแปรสังเกตไดระหวางกลุมตัวแปรดานเดียวกัน มี
รายละเอยี ดดงั ตอไปน้ี

ดานการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (LEARNASE) พบวา มีคาพิสัยสัมประสิทธ์ิ
สหสัมพันธอยูในชวง .690 ถึง .873 โดยตัวแปรท่ีมีความสัมพันธกันสูงสุดคือ ประเมินผลตามสภาพ
จริง (LEARN5) และ คุณภาพของสื่อการเรียนรู (LEARN6) โดยมีขนาดความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .01 เทากับ .873 แสดงวา เมือ่ ประเมินผลตามสภาพจริงมากขน้ึ คุณภาพของสอ่ื การ
เรียนรูก็มากข้ึนดวย สวนตัวแปรท่ีมีความสัมพันธกันตํ่าสุด มุงเนนการอยูรวมกันอยางสันติ (LEARN1)
และรูจักอาเซียนดวยนวัตกรรม (LEARN4) โดยมีขนาดความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ
.01 เทา กบั .690

ดานองคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (COMASE) พบวา มีคาพิสัย
สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธอยูในชวง .765 ถึง .823 โดยตัวแปรที่มีความสัมพันธกันสูงสุดคือ หลักปฏิบัติ
ในการอยูรวมกัน (COM2) และการนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนา (COM3) โดยมีขนาด
ความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 เทากับ .823 แสดงวา เม่ือมีหลักปฏิบัติในการอยู
รวมกันเพิ่มข้ึน การนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนาก็เพิ่มขึ้นดวย สวนตัวแปรที่มีความสัมพันธกัน
ตํ่าสุด คือ แบบแผนในการปฏิบัติตน (COM1) และการนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนา (COM3)
โดยมีขนาดความสัมพันธอยา งมีนยั สาํ คัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .01 เทา กบั .765

ดานกระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (PROASE) พบวา มีคาพิสัยสัมประสิทธ์ิ
สหสัมพันธอยูในชวง .615 ถึง .856 โดยตัวแปรที่มีความสัมพันธกันสูงสุดคือ ปรับอารมณใหเขากับ
สถานการณ (PRO3) และปรบั กระบวนทัศนในเร่อื งวัฒนธรรม (PRO5) โดยมีขนาดความสัมพันธอ ยาง
มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 เทากับ .856 แสดงวา เมื่อมีการปรับอารมณใหเขากับสถานการณ
มากขึ้น การยอมรับปรับกระบวนทัศนในเรอ่ื งวฒั นธรรม ก็มากข้ึนดวย สว นตวั แปรทมี่ ีความสัมพันธกัน
ตํ่าสุด คือเปดใจรับวัฒนธรรมใหม (PRO1) และเขาใจพฤติกรรมของนิสิตชาติ (PRO4) โดยมีขนาด
ความสมั พันธอ ยางมีนยั สาํ คัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .01 เทา กบั .615

ดานกิจกรรมเพื่อการเรียนรูขามวัฒนธรรม (ACTASE) พบวา มีคาพิสัยสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธอยูในชวง .867 ถึง .874 โดยตัวแปรที่มีความสัมพันธกันสูงสุดคือ สาธิตกิจกรรมเชิง
วัฒนธรรม (ACT2) และเรียนรูแบบการรวมมือรวมพลัง (ACT3) โดยมีขนาดความสัมพันธอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 เทากับ .874 แสดงวา เม่ือมีการสาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรมเพ่ิมขึ้น
การเรียนรูแบบการรวมมือรวมพลังก็เพ่ิมข้ึนดวย สวนตัวแปรที่มีความสัมพันธกันต่ําสุด คือ
แลกเปลี่ยนเรียนรูจากประสบการณตน (ACT1) และสาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม (ACT2) โดยมี
ขนาดความสัมพันธอ ยา งมนี ยั สําคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั .01 เทากบั .867

96
ดา นการอยูรว มกันอยางมีความสุข (HAPLIVE) พบวา มีคาพิสัยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอยู

ในชวง .791 ถึง .909 โดยตัวแปรที่มีความสัมพันธกันสูงสุดคือ พูดจาสุภาพและมีเหตุผล (HAPLIV2)
และคิดดีตอกัน (HAPLIV3) โดยมีขนาดความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เทากับ
.909 แสดงวา เมื่อพูดจาสุภาพและมีเหตุผลเพิ่มข้ึน การคิดดีตอกันก็เพิ่มข้ึนดวย สวนตัวแปรที่มี
ความสัมพันธกันต่ําสุด คือ ชวยเหลือและเอ้ือเฟอ (HAPLIV1) และปฏิบัติตามกฎเกณฑของหมูคณะ
(HAPLIV5) โดยมีขนาดความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 เทากับ .791 แสดงผลการ
วิเคราะหความสัมพันธของตัวแปรสังเกตไดในโมเดลรูปแบบการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนใน
กลุม ประเทศ CLMV สาํ หรับนสิ ติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดดงั ตารางที่ 4.5

ตารางท่ี 4.5 คาเฉล่ีย สว นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และคา สมั ประสิทธ์ิสหสัมพันธแ บบเพ
ในกลมุ ประเทศ CLMV สาํ หรบั นิสิตมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชว

ตวั แปร LEARN1 LEARN2 LEARN3 LEARN4 LEARN5 LEARN6 COM1 COM2 COM3 PRO1 PRO2
LEARN1 1.000
LEARN2 .827** 1.000
LEARN3 .734** .813** 1.000
LEARN4 .690** .763** .825** 1.000
LEARN5 .738** .738** .808** .762** 1.000
LEARN6 .729** .754** .798** .817** .873** 1.000
COM1 .547** .528** .517** .484** .513** .526** 1.000
COM2 .534** .511** .531** .537** .492** .559** .787** 1.000
COM3 .561** .539** .524** .528** .514** .530** .765** .823** 1.000
PRO1
PRO2 .540** .544** .571** .615** .527** .578** .455** .502** .580** 1.000

PRO3 .511** .579** .542** .641** .492** .548** .472** .574** .573** .810** 1.00

PRO4 .546** .627** .583** .654** .518** .572** .510** .575** .599** .809** .851

PRO5 .690** .763** .825** 1.000** .762** .817** .484** .537** .528** .615** .641

.522** .604** .548** .631** .503** .569** .475** .568** .561** .753** .808
ACT1 .562** .570** .587** .603** .559** .587** .529** .607** .622** .714** .754
ACT2 .548** .566** .593** .606** .548** .591** .560** .629** .614** .662** .708
ACT3 .556** .567** .560** .590** .545** .583** .535** .587** .594** .687** .716
HAPLIV1 .566** .531** .544** .549** .536** .576** .562** .586** .598** .651** .658
HAPLIV2 .568** .559** .578** .581** .558** .602** .580** .622** .631** .620** .630
HAPLIV3 .606** .567** .591** .582** .576** .607** .596** .619** .635** .634** .629
HAPLIV4 .576** .582** .568** .580** .564** .588** .584** .653** .668** .632** .642
HAPLIV5 .576** .566** .572** .587** .578** .619** .599** .657** .654** .619** .640
HAPLIV6 .545** .570** .583** .599** .558** .595** .614** .696** .688** .654** .706
Mean
4.188 4.112 4.005 4.057 4.036 4.006 4.447 4.291 4.333 3.998 4.085
SD .752 .801 .799 .784 .806 .801 .668 .735 .777 .775 .729
Kaiser-Meyer-Olkin Measure of Sampling Adequacy = .941 Bartlett's Test of Sphericity = 4178.91
** p < .01

97
พยี รส นั ของตวั แปรสงั เกตไดใ นโมเดลรปู แบบการจดั การเรียนรขู า มวัฒนธรรมอาเซียน
วทิ ยาลัย

PRO3 PRO4 PRO5 ACT1 ACT2 ACT3 HAPLIV1 HAPLIV2 HAPLIV3 HAPLIV4 HAPLIV5 HAPLIV6

00 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 1.000
1** 1.000 .872** .909** .875** .873** .886** 4.174
1** .654** 1.000 .840** .860** .867** .878** 4.164 .737
8** .856** .631** 1.000 .817** .844** .848** .745
4** .735** .603** .775** 1.000 .791** .832** 4.157
8** .750** .606** .758** .867** 1.000 .821** 4.149 .722
6** .720** .590** .761** .868** .874** 1.000 4.153 .768
8** .681** .549** .687** .645** .713** .700** 4.177 .771
0** .668** .581** .675** .645** .671** .669** .759
9** .674** .582** .673** .670** .670** .672**
2** .674** .580** .716** .654** .681** .687**
0** .670** .587** .697** .679** .678** .687**
6** .743** .599** .776** .716** .738** .729**

5 4.077 4.057 4.127 4.054 4.035 4.071
9 .770 .784 .744 .801 .810 .798

14, df = 253, p = .000

97

98
4.5 ผลการวิเคราะหความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษของโมเดลรูปแบบการจัดการ

เรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ CLMV สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย

ในการวิเคราะหขอมูลของโมเดลนี้ มีตัวแปรแฝง 5 ตัวแปร คือ การจัดการเรียนรูขาม
วัฒนธรรมอาเซียน (LEARNASE) องคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (COMASE)
กระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (PROASE) กิจกรรมเพื่อการเรียนรูขามวัฒนธรรม
(ACTASE) และการอยูรวมกันอยางมีความสุข (HAPLIVE) โดยตัวแปรสังเกตไดที่ใชในการวิเคราะห
ขอมลู ทง้ั หมด 23 ตัวแปร

การทดสอบความสอดคลองของโมเดลรูปแบบการจดั การเรียนรูขามวฒั นธรรมอาเซียนใน
กลุมประเทศ CLMV สําหรบั นิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ผลการวิเคราะหโมเดลใน
คร้ังแรก พบวา โมเดลไมสอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษ โดยพิจารณาจากคาไค-สแควร มี
คาเทา กบั 2430.65 ที่องศาอสิ ระเทากับ 223 และความนาจะเปน (p) เทากบั .000 คารากที่สองของ
คาเฉลีย่ ความคลาดเคลื่อนกาํ ลังสองของการประมาณคา (RMSEA) มคี า เทา กับ .132

จากผลการวิเคราะหดงั กลา ว ผูวิจยั จึงปรับโมเดลโดยยอมใหค วามคลาดเคลื่อนสมั พนั ธก ัน
ได ซ่ึงเปนการผอนคลายขอตกลงเบื้องตนจากขอตกลงเบ้ืองตนในสถิติวิเคราะหดั้งเดิมที่กําหนดวา
เทอมความคลาดเคล่ือนตองไมสัมพันธกัน เปนขอตกลงเบ้ืองตนในสถิติวิเคราะหดวย SEM ซึ่ง
กําหนดใหมีการนําเทอมความคลาดเคลื่อนมาใชในการวิเคราะหขอมูล และเทอมความคลาดเคลื่อนมี
ความสัมพนั ธกันตามสภาพความเปนจริงของปรากฏการณธรรมชาติ ผลการปรับโมเดล จะไดค า ขนาด
อิทธิพลและคาความสัมพันธระหวา งตัวแปรในโมเดลท่ีถูกตองตรงกับความเปนจริงมากข้ึน (Joreskog
and Sorbom, 2004) ผูวิจัยพิจารณาปรับโมเดลจากดัชนีดัดแปลงโมเดล (modification indices)
และไดปรับโมเดลจํานวน 107 เสนทาง โดยไดปรับ 1) เสนทาง Theta-Delta (TD) 2) เสนทาง
Theta-Epsilon (TE) และ 3) เสนทาง Theta-Delta-Epsilon (TH) และผลจากการปรับโมเดล ทํา
ใหไดโมเดลรูปแบบการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ CLMV สําหรับนิสิต
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ทสี่ อดคลองกับขอมูลเชงิ ประจักษ โดยมีรายละเอยี ดผลการ
วเิ คราะหข อมลู ดงั แสดงในตารางท่ี 4.6

เม่ือพิจารณาผลการวิเคราะหโมเดลรูปแบบการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนใน
กลุมประเทศ CLMV สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พบวา โมเดลมีความ
สอดคลองกบั ขอมูลเชิงประจักษ พิจารณาจากคาสถิติท่ีใชตรวจสอบความสอดคลองระหวางโมเดลกับ
ขอมูลเชิงประจักษ ไดแก คาไค-สแควร มีคาเทากับ 140.33 องศาอิสระเทากับ 116 ความนาจะเปน
(p) เทากับ .062 น่ันคือ คาไค-สแควร แตกตางจากศูนยอยางไมมีนัยสําคัญ แสดงวา ยอมรับ
สมมติฐานหลักท่ีวา โมเดลรูปแบบการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ CLMV
สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่พัฒนาข้ึนสอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิง
ประจกั ษ ซึ่งสอดคลองกบั ผลการวเิ คราะหค าดชั นวี ดั ความกลมกลืน (GFI) มีคาเทากบั .98 คาดัชนวี ัด
ความกลมกลืนที่ปรับแกแลว (AGFI) มีคาเทากับ .95 ซ่ึงมีคาเขาใกล 1 และคาดัชนีรากของกําลังสอง
เฉล่ียของสวนที่เหลือ (RMR) มีคาเทากับ .023 ซ่ึงเขาใกลศูนย และคาเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน

99
ระหวางตัวแปรสูงสุด (Largest Standardized Residuals) เทากับ 5.55 ซึ่งสนับสนุนวาโมเดลการ
วจิ ยั มคี วามสอดคลอ งกับขอ มลู เชิงประจกั ษ

เม่ือพิจารณาคาความเที่ยงของตัวแปรสงั เกตได พบวา ตัวแปรสงั เกตไดมีคาความเที่ยงอยู
ระหวาง .50 ถึง .92 โดยตัวแปรท่ีมีคาความเที่ยงสูงสุด คือ การนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนา
(COM3) และเคารพและรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของผอู น่ื (HAPLIV6) มีคาความเทีย่ งเทากบั .92 รองลงมา
คือ สาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม (ACT2) เรียนรูแบบการรวมมือรวมพลัง (ACT3) แบงปนสิ่งของ
ใหแกกัน (HAPLIV4) และปฏิบัติตามกฎเกณฑของหมูคณะ (HAPLIV5) มีคาความเท่ียงเทากับ .89
และตัวแปรที่มีคาความเที่ยงต่ําสุดคือ มุงเนนการอยูรวมกันอยางสันติ (LEARN1) มีคาความเที่ยง
เทากับ .50 ในภาพรวมคาความเท่ียงของตัวแปรสังเกตไดสวนมากมีคาสูง ยกเวน ตัวแปรมุงเนนการ
อยรู วมกนั อยางสันติ (LEARN1) คุนเคยกับวัฒนธรรมอาเซยี น (LEARN2) เรียนรผู านกระบวนการวิจัย
(LEARN3) รูจักอาเซียนดวยนวัตกรรม (LEARN4) ประเมินผลตามสภาพจริง (LEARN5) และคุณภาพ
ของสือ่ การเรียนรู (LEARN6) ทค่ี วามเทย่ี งมคี า ปานกลาง

เมื่อพิจารณาคาสัมประสิทธ์ิการพยากรณ (R-SQUARE) ของสมการโครงสรางตัวแปร
ภายในแฝง พบวา องคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (COMASE) มีคาสัมประสิทธ์ิ
การพยากรณเทากับ .64 แสดงวา ตัวแปรภายในโมเดล คือ การจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน
(LEARNASE) สามารถอธิบายความแปรปรวนขององคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน
ไดรอยละ 64 กระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (PROASE) มีคาสัมประสิทธิ์การพยากรณ
เทากับ 1.00 แสดงวา ตัวแปรภายในโมเดล คือ การจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน
(LEARNASE) สามารถอธิบายความแปรปรวนของกระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน ได
รอยละ 100 กิจกรรมเพ่ือการเรียนรูขามวัฒนธรรม (ACTASE) มีคาสัมประสิทธิ์การพยากรณเทากับ
0.85 แสดงวา ตัวแปรภายในโมเดล คือ การจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (LEARNASE)
สามารถอธิบายความแปรปรวนของกิจกรรมเพ่ือการเรียนรูขามวัฒนธรรม ไดรอยละ 85.00 การอยู
รวมกันอยางมีความสุข (HAPLIVE) มีคาสัมประสิทธ์ิการพยากรณเทากับ 0.82 แสดงวา ตัวแปร
ภายในโมเดล คือ การจัดการเรียนรูขา มวัฒนธรรมอาเซยี น (LEARNASE) องคประกอบของการเรียนรู
ขามวัฒนธรรมอาเซียน (COMASE) กระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (PROASE) และ
กิจกรรมเพื่อการเรียนรูขามวัฒนธรรม (ACTASE) สามารถอธิบายความแปรปรวนของการอยูรวมกัน
อยางมีความสุข ไดรอ ยละ 82.00

เม่ือพิจารณาเมทริกซสหสัมพันธระหวางตัวแปรแฝง พบวา คาพิสัยสัมประสิทธ์ิ
สหสัมพันธระหวางตัวแปรแฝงมีคาอยูในชวง .74 ถึง 1.00 โดยตัวแปรทุกคูมีความสัมพันธแบบมี
ทิศทางเดียวกัน (คาความสัมพันธเปนบวก) ตัวแปรท่ีมีคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธมากท่ีสุด คือ การ
จัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (LEARNASE) และกระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน
(PROASE) โดยมีคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธเทากับ 1.00 มีความสัมพันธในระดับสูง แสดงวา เม่ือการ
จัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน เพิ่มมากข้ึน กระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน ก็เพิ่ม
มากข้ึนดวย และตัวแปรท่ีมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธรองลงมา มี 2 คสู หสัมพันธ คือ 1) กิจกรรมเพ่ือ
การเรียนรูขามวัฒนธรรม (ACTASE) และกระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (PROASE) และ

100
2) การจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (LEARNASE) และกิจกรรมเพื่อการเรียนรูขามวัฒนธรรม
(ACTASE) โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสมั พันธเทา กับ .92 และมคี วามสมั พนั ธใ นระดับสงู

เมื่อพิจารณาอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลทางออมระหวางตัวแปรในโมเดล พบวา
ความสัมพันธระหวา งตัวแปรการจดั การเรยี นรูขามวฒั นธรรมอาเซียน (LEARNASE) กับการอยูรวมกัน
อยางมีความสุข (HAPLIVE) (ขนาดความสัมพันธ = .89) แยกเปนอิทธิพลทางตรง .49 และอิทธิพล
ทางออม .40 เปนอิทธิพลรวม .89 อิทธิพลทางตรงและทางออมสงผลตอการอยูรวมกันอยางมีความสุข
อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ แตขนาดอิทธิพลรวมสงผลตอการอยูรวมกันอยางมีความสุขอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ

เปนท่ีนาสังเกตวาขนาดอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลรวมของการจัดการเรียนรูขาม
วัฒนธรรมอาเซียน (LEARNASE) มีอิทธิพลตอองคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน
(COMASE) ขนาด .80 มีอิทธิพลตอกระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (PROASE) ขนาด
1.00 มีอิทธิพลตอกิจกรรมเพื่อการเรียนรูขามวัฒนธรรม (ACTASE) ขนาด .92 อยางมีนัยสําคัญทาง
สถิติ นอกจากนั้น องคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน (COMASE) และกิจกรรมเพ่ือ
การเรียนรูขามวัฒนธรรม (ACTASE) ขนาดอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลรวมตอการอยูรวมกันอยางมี
ความสุข (HAPLIVE) ขนาด .29 และ .16 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ตามลําดับ รายละเอียดผลการ
วเิ คราะหแ สดงในตารางที่ 4.6 และภาพที่ 4.35

101

ตารางที่ 4.6 คาสถิติการวิเคราะหแยกคาสหสัมพันธระหวางตัวแปรแฝงและการวิเคราะหอิทธิพล
ของโมเดลรูปแบบการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ CLMV
สําหรบั นสิ ติ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

ตวั แปรผล COMASE PROASE ACTASE HAPLIVE
ตัวแปรเหตุ TE IE DE TE IE DE TE IE DE TE IE DE
LEARNASE .80** - .80** 1.00** - 1.00** .92** - .92** .89** .40 .49
(.04) (.04) (.04) (.04) (.04) (.04) (.04) (5.90) (5.91)
COMASE --- - - - - - - .29** - .29**
(.04) (.04)
PROASE --- - - - - - - .02 - .02
(.00) (.00)
ACTASE --- - - - - - - .16** - .16**
(.08) (.08)
คา สถิติ ไค-สแควร = 140.33 df = 116 p = .062 GFI = .98, AGFI = .95 RMR = .0023
ตัวแปร LEARN1 LEARN2 LEARN3 LEARN4 LEARN5 LEARN6
ความเทีย่ ง .50 .54 .55 .59 .53 .59
ตวั แปร COM1 COM2 COM3 PRO1 PRO2 PRO3
ความเที่ยง .73 .82 .92 .68 .75 .77
ตัวแปร PRO4 PRO5 ACT1 ACT2 ACT3
ความเทยี่ ง .59 .80 .85 .89 .89
ตัวแปร HAPLIV1 HAPLIV2 HAPLIV3 HAPLIV4 HAPLIV5 HAPLIV6
ความเที่ยง .82 .82 .85 .89 .89 .92
สมการโครงสรา งตวั แปร COMASE PROASE ACTASE HAPLIVE
R SQUARE .64 1.00 .85 .82
เมทริกซสหสมั พันธร ะหวา งตัวแปรแฝง
ตัวแปรแฝง COMASE PROASE ACTASE HAPLIVE LEARNASE
COMASE 1.00
PROASE .80** 1.00
ACTASE .74** .92** 1.00
HAPLIVE .81** .89** .84** 1.00
LEARNASE .80** 1.00** .92** .89** 1.00
หมายเหต:ุ ตวั เลขในวงเล็บคือคาความคลาดเคล่อื นมาตรฐาน, **p < .01
TE = ผลรวมอทิ ธิพล, IE = อทิ ธิพลทางออม, DE = อิทธพิ ลทางตรง

.
.
.

.

.

.50 มงุ เนนการอยูร ว มกันอยางสันติ .71** กระบวนกา
.73** ขา มวัฒน
.46 คุนเคยกับวัฒนธรรมอาเซยี น 1.00** อาเซีย

.45 เรียนรูผา นกระบวนการวจิ ยั .74** การจัดการเรียนรู

.50 รูจกั อาเซียนดว ยนวัตกรรม .77** ขา มวัฒนธรรม .49
.46 ประเมนิ ผลตามสภาพจริง อาเซียน .92** .
.73**
.77** .80**

.45 คุณภาพของสอื่ การเรียนรู

องคป ระกอบ
ของการเรียนรู
ขา มวัฒนธรรม

χ2 = 140.33, df = 116, p = .062, RMSEA = .019 .85** แบบแผนในการ
.91**

.96** หลกั ปฏบิ ัติในการ
การนับถือนกิ ายทางพ

ภาพท่ี 4.35 โมเดลความสัมพนั ธเชิงสาเหตกุ ารจดั การเรยี นรูขา มวัฒนธรรมอาเซีย

เปดใจรบั วฒั นธรรมใหม .32 102
.25
.82** เตรียมใจเรียนรูสิ่งทแ่ี ตกตาง
.86** ปรับอารมณใ หเ ขากับสถานการณ .23
.88** เขา ใจพฤติกรรมของนิสติ ชาติอ่นื
.41
.77** .20

.90** ปรบั กระบวนทศั นในเรื่องวัฒนธรรม ชว ยเหลือและเอือ้ เฟอ
ตอผูอ ่นื
ารเรียนรู .02 .18
นธรรม .91** พูดจาสุภาพและมเี หตุผล .18
ยน .91** .15
.11
การอยูรวมกนั .92** คิดดีตอ กัน .11
อยางมีความสุข .94** แบง ปน ส่งิ ของใหแ กกนั
.94** .08
.29** .96** ปฏิบัตติ ามกฎเกณฑข อง
.16**
หมคู ณะ
กจิ กรรมเพื่อการ
เรยี นรูข า ม เคารพและรับฟงความ
วัฒนธรรม คดิ เห็นของผอู ่ืน

รปฏิบตั ติ น .92** แลกเปลยี่ นเรียนรจู ากประสบการณต น .15
รอยรู ว มกนั .27 .95** สาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม .11
.17 .94**

พระพุทธศาสนา .08 เรยี นรูแบบการรว มมือรวมพลงั .11
(Collaboration)

ยนในกลุมประเทศ CLMV สาํ หรับนสิ ติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

103
จากภาพที่ 4.35 แสดงรูปแบบการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ
CLMV สําหรับนิสติ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ฉบบั สมบรู ณ)
จากการศกึ ษาการจดั การเรียนรูขามวฒั นธรรมอาเซียนจากกลุมเปาหมายที่มแี นวปฏิบตั ิที่ดี
ทําใหไดสารสนเทศที่นําไปใชในการสนทนากลุม แลวพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรม
อาเซียนในกลุมประเทศ CLMV สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ฉบับทดลองใช
เพื่อนําไปใชในการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการภายในประเทศกับนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย จํานวน 4 แหง และการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการในประเทศอาเซียน จํานวน 1 ประเทศ
จากนั้นไดถอดบทเรียนแลกเปล่ียนเรียนรูจากการสะทอนคิดของนิสิตผูเขารวมกิจกรรม และพัฒนา
เคร่ืองมือวิจัยเชิงปริมาณเพ่ือตรวจสอบคุณภาพของโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้น ผลการ
วิเคราะหขอมูลทําใหไดขอคนพบท่ีตอบวัตถุประสงคการวิจัย และไดรูปแบบการจัดการเรียนรูขาม
วฒั นธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ CLMV สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ฉบับ
สมบรู ณ และสามารถอธิบายขยายความไดดังนี้
จากภาพโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนในกลุม
ประเทศ CLMV สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยน้ัน มีความสอดคลองกับสภาพ
ท่ีเปนจริงของการเรียนรูขามวัฒนธรรมของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยที่การ
จัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนจะสงผลใหเกิดการอยูรวมกันอยางมีความสุขไดน้ันจําเปนตองมี
องคประกอบของเน้ือหาการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน ประกอบดวย แบบแผนในการ
ปฏิบัติตน หลักปฏิบัติในการอยูรวมกัน และการนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนา ท่ีนํามาใชเปนสวน
สําคัญในการกําหนดขอบเขตของเน้ือหาหรือสาระการเรียนรูในการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู
เพื่อใหนิสิตไดฝกปฏิบัติผานกิจกรรมเชิงปฏิบัติการที่จะเช่ือมโยงใหเกิดการเรียนรูขามวัฒนธรรม
อาเซียน ตามกระบวนการ 5 ข้ันตอน คือ 1) เปด ใจรับวฒั นธรรมใหม 2) เตรียมใจเรียนรูส่ิงที่แตกตาง
3) ปรับอารมณใหเขากับสถานการณ 4) เขาใจพฤติกรรมของนิสิตชาติอ่ืน และ 5) ปรับกระบวนทัศน
ในเร่ืองวัฒนธรรม และมีรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมใหเกิดการเรียนรูขามวัฒนธรรม คือ การ
แลกเปล่ียนเรียนรูจากประสบการณตน การสาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม และการเรียนรูแบบการ
รวมมือรวมพลัง
โดยสรุป การจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน เริ่มตนดวยการกําหนดขอบเขตเน้ือหา
เก่ยี วกับวฒั นธรรมทางศาสนาเพ่อื สนั ติสุข (Peace Content) การเช่อื มโยงทางวัฒนธรรม (Culture)
การจัดกิจกรรมการเรียนรโู ดยใชวิจัยเปน ฐาน (Research-based learning) การพัฒนานวตั กรรมจาก
การเรียนรู (Learning Innovation) การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
และมีสื่อการจัดการเรียนรูท่ีนาสนใจ (Instructional Media) รวมท้ังการกําหนดองคประกอบของ
เน้ือหาการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน คือ แบบแผนในการปฏิบัติตน หลักปฏิบัติในการอยูรวมกัน
และการนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนา เชื่อมโยงกับกระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน 5
ข้ันตอน และออกแบบกิจกรรมเพ่ือการเรียนรูขามวัฒนธรรม คือ การแลกเปล่ียนเรียนรูจาก
ประสบการณตน การสาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม และการเรียนรูแบบการรวมมือรวมพลัง สามารถ
สงเสริมใหเกิดการเรียนรูขามวัฒนธรรมในสังคมพหุวัฒนธรรมเพื่อการอยูรวมกันอยางมีความสุขได
เปนอยางดี รูปแบบการจัดการเรียนรูนี้มีความสอดคลองกับบริบทของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ

104
ราชวิทยาลัยท่ีมีนิสิตมาจากประเทศอาเซียนโดยเฉพาะในกลุมประเทศ CLMV ท่ีมารวมเรียนรูและ
ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาดวยกันอยางตอเนื่องในระหวางชวงเวลาที่ลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัย
สงฆแหงน้ี ภาพแสดงรูปแบบการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซยี น ปรากฏไดดงั ภาพที่ 4.36

Instructional Peace Culture Content การอยู
media Content Research Process รว มกนั อยาง
มีความสขุ
Assessment ASEAN Cross
Cultural
Learning

Innovation Activities

ภาพท่ี 4.36 รปู แบบการจัดการเรียนรูข า มวฒั นธรรมอาเซียน
(ASEAN Cross Cultural Learning Model)

105

บทท่ี 6
ตัวอยางเครื่องมือวจิ ัย

เครื่องมอื วิจยั สาํ หรบั ตรวจสอบ
ความตรงของเนือ้ หา
ของงานวจิ ยั เร่อื ง

รูปแบบการจดั การเรยี นรขู ามวัฒนธรรมอาเซยี นในกลมุ ประเทศ CLMV
สําหรับนิสติ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

An Instructional Model of ASEAN Cross Culture in CLMV Countries
for Students in Mahachulalongkornrajavidyalaya University

มุงเนนการอยรู วมกันอยา งสนั ติ กร
คนุ เคยกบั วฒั นธรรมอาเซยี น เร
เรียนรูผ านกระบวนการวจิ ยั วัฒนธ
รจู กั อาเซยี นดว ยนวัตกรรม
ประเมินผลตามสภาพจรงิ การจดั การเรียนรู
คุณภาพของส่อื การเรียนรู ขา มวฒั นธรรม

อาเซียน

องคป ระกอบ
ของการเรยี นรู
ขา มวฒั นธรรม

แบบแผนในก
หลักปฏบิ ตั ิในก

การนบั ถอื น
พระพุทธ

ภาพท่ี 1 รูปแบบการจัดการเรียนรูขา มวฒั นธรรมอาเซียนในกลุมปร

เปดใจรบั วฒั นธรรมใหม 1106
เตรยี มใจเรียนรสู ่ิงทีแ่ ตกตา ง
ปรับอารมณใหเ ขากับสถานการณ ชว ยเหลอื และเอ้อื เฟอ
เขาใจพฤติกรรมของนิสิตชาตอิ นื่ ตอ ผูอนื่
ปรับกระบวนทศั นใ นเรื่องวัฒนธรรม
ระบวนการ พดู จาสภุ าพและมีเหตผุ ล
รยี นรูขาม
ธรรมอาเซียน คิดดตี อกัน
แบง ปน ส่ิงของใหแ กก นั
การอยรู ว มกนั
อยางมีความสุข ปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑข อง
หมคู ณะ
กิจกรรมเพ่อื
การเรียนรขู าม เคารพและรับฟง ความ
คิดเหน็ ของผูอื่น
วัฒนธรรม

การปฏบิ ตั ิตน แลกเปล่ียนเรียนรจู ากประสบการณต น
การอยรู วมกัน สาธิตกจิ กรรมเชิงวฒั นธรรม
อนกิ ายทาง เรยี นรแู บบการรวมมือรวมพลัง
ธศาสนา (Collaboration)

ระเทศ CLMV สาํ หรับนิสติ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

107

นิยามเชิงปฏบิ ัตกิ าร

1. ตัวแปรภายนอกแฝงและตัวแปรสังเกตไดภายนอก (Exogenous latent and Observed
variables)

1.1 การจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน หมายถึง การออกแบบการจัดการเรียนรู
สําหรับนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สามารถวัดไดจากตัวแปร
สังเกตได 6 ตัวแปร ประกอบดว ย 1) มุงเนนการอยูรว มกันอยางสนั ติ 2) คุนเคยกบั วัฒนธรรมอาเซียน
3) เรียนรูผานกระบวนการวิจัย 4) รูจักอาเซียนดวยนวัตกรรม 5) ประเมินผลตามสภาพจริง และ 6)
คณุ ภาพของส่อื การเรียนรู วดั ไดจ ากขอ คาํ ถามทผี่ ูว ิจัยสรางขึ้น จํานวน 18 ขอ

1) มุง เนนการอยูรว มกันอยางสันติ หมายถึง การอยูรวมกันที่อาศัยความมีน้ําใจไมตรีที่ดี
ตอกัน แสดงความเมตตากรุณาตอกัน เอาใจเขามาใสใจเรา คิดถึงความรูสึกของผูอื่น และการกระทํา
ทไ่ี มหวงั ผลตอบแทน ซ่งึ จะสามารถเชอ่ื มไมตรจี ิตตอกันไดตามแบบแผนและแนวทางการดําเนินชีวติ ท่ี
กอ ใหเกดิ การอยูรว มกนั อยา งสรางสรรค

2) คุนเคยกับวัฒนธรรมอาเซียน หมายถึง การเรียนรูและการปรับตัวทางวัฒนธรรม
ภายใตการออกแบบการเรียนรู หรือกิจกรรมการเรียนรูเพื่อนําไปสูการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน
ท่มี ีความจาํ เปนและสําคัญอยา งยง่ิ ในการทาํ ใหเ กิดความเขาใจกนั ในลกั ษณะของวัฒนธรรมรวมทเ่ี น่อื ง
ดวยพระพุทธศาสนาสงผลใหเกิดการปรับตัวทางวัฒนธรรมและเรียนรูเก่ียวกับลักษณะรวมทาง
วฒั นธรรมของกนั และกัน

3) เรียนรูผานกระบวนการวิจัย หมายถึง การจัดการเรียนรูแบบวิจัยเปนฐานท่ีมาจาก
การกําหนดใหมีการทําวิจัย ใชกระบวนการวิจัยในการจัดการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูมีการ
จัดการเรียนรูโดยใหผูเรียนใชเครื่องมือในการวิจัยและมีการจัดการเรียนรูโดยใชผลงานวิจัยประกอบ
เน้ือหาท่ีศึกษาใหแกผูเรียน ทั้งเปนการจัดการเรียนรูท่ีกระตุนใหผูเรียนใชกระบวนการวิจัย หรือ
ผลการวิจัยเปนเครอ่ื งมอื ในการเรยี นรูเ นือ้ หาสาระตา งๆ

4) รูจักอาเซียนดวยนวัตกรรม หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูขาม
วัฒนธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ CLMV ซ่ึงมีรากฐานทางศาสนาที่คลายคลึงกันประเทศไทย โดย
การใหนิสิตสรางนวัตกรรมเก่ียวกับวัฒนธรรมทางศาสนาจะเปนกลไกสําคัญใหเกิดการเรียนรูซึ่งกัน
และกนั เพ่อื นาํ ไปสกู ารอยรู ว มกนั อยางเขาใจและมีความสุข

5) ประเมินผลตามสภาพจริง หมายถึง การประเมินผลการเขารวมกิจกรรมของนิสิตได
จากการนําเสนอผลงาน หรือสภาพตามความเปนจริงผานกิจกรรม และผานการเรียนรูรวมกับนิสิต
ผูดําเนินการทําวิจัย ในกรณีท่ีใชการวิจัยเปนฐาน ผานการสังเกต การสัมภาษณ ผานกิจกรรมท่ีเรา
ดําเนนิ การออกแบบทาํ ใหช ดั เจนขึน้

6) คุณภาพของส่ือการเรียนรู หมายถึง ชุดเคร่ืองมือหรือชุดการเรียนรู จะชวยอํานวย
สะดวกตอการเรียนรูของผูเรียนสําหรับนิสิตชาวไทยตอการเรียนรูขามวัฒนธรรมในกลุมประเทศ
CLMV โดยชุดการเรียนรูจะอยูในกรอบของการเรียนรูวัฒนธรรมทางศาสนา ท่ีประกอบดวย แบบ
แผนในการปฏบิ ตั ิตน หลกั ปฏิบัตใิ นการอยูร ว มกัน และการนับถอื นกิ ายทางพระพทุ ธศาสนา

108
2. ตัวแปรภายในแฝงและตัวแปรสังเกตไดภายใน (Endogenous latent and Observed
variables)

2.1 องคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรม หมายถึง องคประกอบของเนื้อหาท่ีใชใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรูขามวัฒนธรรม องคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน โดย
ภายในองคประกอบมี 3 ดาน คือ 1) ดา นแบบแผนในการปฏิบัติตน (จารีต) 2) ดานหลกั ปฏิบัติในการ
อยูรวมกัน (มารยาทชาวพุทธ) และ 3) ดานการนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนา (วัตรปฏิบัติที่
แตกตางกัน) ซ่ึงในการจะทําใหนิสิตมีคุณลักษณะตามองคประกอบทั้ง 3 ดานนี้ไดน้ัน จําเปนตองมี
แนวทางการจัดการเรียนรูเพื่อการเรียนรูขามวัฒนธรรม ประกอบดวย จัดกิจกรรมเผยแพรวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย แลกเปล่ียนเรียนรูที่ไดจากประสบการณของแตละคน การรวมมือรวมพลัง
(Collaboration)ระหวางอาจารยผูสอน สรางสถานการณและมีกิจกรรมหลายกิจกรรม การสราง
ชุมชนทางภาษา (Language community) จัดใหมีการสาธิตกิจกรรมหรือวัฒนธรรมโดยนิสิต
ตา งประเทศ มีโครงการนักเรียนแลกเปลี่ยนจัดสถานการณใหใชชีวิตรว มกันท้ังในหองเรียน และนอก
หอ งเรียน ใสใจเร่ืองภาษาในการส่ือสารกับนิสิต และมีการจับคใู หเขาดแู ลกันเปนเหมือนพี่นอง วัดได
จากขอ คําถามที่ผวู จิ ยั สรางขนึ้ จาํ นวน 15 ขอ

1) แบบแผนในการปฏิบัติตน หมายถึง รูปแบบการปฏิบัติในฐานะพระภิกษุ หรือชาว
พุทธที่ตองยึดหลักการคําสอนในทางพระพุทธศาสนา หลักการอันเน่ืองดวยพระธรรมวินัยจะเปน
เครื่องมือ หรอื กลไกในการปกครองรกั ษาของพระภิกษุ สามเณร แมชี หรือชาวพุทธ ที่มาจากประเทศ
ตาง ๆ ทั้งไทย ลาว กัมพูชา เมียนมาร และเวียดนาม ประกอบดวย การเรียนรูเรา รูเขา เอาใจเขามา
ใสใจเรา การรักษาความเปนกัลยาณมิตรที่ดีตอกัน การดูแลและชวยเหลือกันภายในกลุมหรือนิกาย
การมีอิทธิพลของศาสนาตอความเปนอยู การเรียนรูของความแตกตางของการปฏิบัติตน การฝก
ปฏบิ ัตติ ามหลักตามหลักของศาสนา และการปฏบิ ตั ิตนอยา งหน่ึงคอื ใหเกยี รติ

2) หลักปฏิบัติในการอยูรวมกัน หมายถึง รูปแบบการปฏิบัติตนอันสัมพันธกับความเชื่อ
จารีตด้ังเดิม ซ่ึงมีแบบแผนมาจากจารีตด้ังเดิม หรือแบบปฏิบัติท่ีเคยกระทํามา อันมีสวนตอจาก
พระพุทธศาสนา ประกอบดวย เรียนรูภาษาที่ใชในการส่ือสารกัน ปฏิบัติตามกฎระเบียบของ
มหาวิทยาลัย เม่ือมีปญหาจะตองหันหนาเขาหากันรวมกันแกไขปญหา เขารวมกิจกรรมที่ทาง
มหาวิทยาลัยจัดข้ึน ประพฤติดีดวยกาย วาจา ใจ ปฏิบัติตามหลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจา ให
ความเคารพนบั ถอื กัน และเรยี นรูจากการพูดคยุ และทํางานรวมกัน

3) การนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนา หมายถึง การปฏิบัติตามธรรมเนียมประเพณีวิถี
ปฏิบัติ ซ่ึงมีอยูดวยกันท้ังหมดในแตละชุมชนและสังคม ซึ่งนิสิตท่ีเขารับการศึกษาสวนใหญจะมีความ
แตกตางกันในเชิงชาติพันธุภาษา ท่ีประกอบดวย เงื่อนไขของเอกลักษณและอัตลักษณทางศาสนา การ
รักษาธรรมเนียมประเพณีและวิถีปฏิบัติ การปฏิบัติตามพระธรรมวินัย การปฏิบัติตามระเบียบ
ขอตกลงรวมกันของมหาวิทยาลัย ตองมีศูนยความรูทําใหเกิดลักษณะการคิดรวมกัน และสรางใหเกิด
การเรียนรใู นเชิงของการแลกเปล่ียน

109

2.2 กระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน หมายถึง กระบวนการ ในการทําความเขาใจในความ
แตกตางของวัฒนธรรมความหลายหลายของวัฒนธรรมของประเทศในกลุมอาเซียนอันเปนเหตุใหตอง
เรียนรูวัฒนธรรมของกันและกันโดยไมปดกั้นท่ีจะยอมรับเอาวัฒนธรรมที่ดีๆ จากทองถ่ินอ่ืนใช โดยท่ี
ผูเรียนใหมีความสามารถในการเตรียมความพรอมทางวัฒนธรรมมีเม่ือไดมีโอกาสในการเรียนรู
วัฒนธรรมใหมในสังคมท่ีแตกตาง 5 ข้ันตอน ประกอบดวย เปดใจรับวัฒนธรรมใหม เตรียมใจเรียนรู
ส่ิงที่แตกตาง ปรับอารมณใหเขากับสถานการณ เขาใจพฤติกรรมของนิสิตชาติอ่ืน และปรับกระบวน
ทศั นในเรอื่ งวฒั นธรรม วดั ไดจ ากขอ คาํ ถามทผ่ี ูวจิ ยั สรา งขึ้น จํานวน 15 ขอ

1) เปดใจรับวัฒนธรรมใหม หมายถึง การแสดงออกของการเรียนรูและการสนใจใน
การศึกษาเก่ียวกับเร่ืองราวของประเทศอาเซียนในกลุม CLMV รวมท้ังการติดตอสื่อสารพูดคุยกับเพ่ือ
นิสิตชาวตางชาติอยางเปนกันเองในฐานะเพื่อนรวมมหาวิทยาลัยเดียวกันและยินดีเขารวมกิจกรรม
ทางวัฒนธรรมของเพื่อนนสิ ติ ตามโอกาส

2) เตรียมใจเรียนรูสิ่งท่ีแตกตาง หมายถึง การปรับใจและกลาเผชิญกับการเปล่ียนแปลง
ท่ีจะเกิดขึ้นเมื่อตองไปอยูในบริบทอื่นท่ีแตกตางจากที่เคยเปนอยู และเรียนรูเกี่ยวกับสิ่งนั้นเพ่ือการ
ปรับตวั ในการดาํ รงชวี ิต

3) ปรับอารมณใหเขากับสถานการณ หมายถึง การปรับสภาพจิตใจใหพรอมรับกับ
กระแสความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากการแลกเปล่ียนเรียนรูทางวัฒนธรรมเมื่อไดเขารวมกิจกรรมทาง
วฒั นธรรมของเพอื่ นนสิ ิตท่มี าจากชาตอิ นื่ รวมทง้ั การทาํ ตัวใหเ ปนสว นหน่งึ ของกจิ กรรม

4) เขาใจพฤติกรรมของนิสิตชาติอื่น หมายถึง การแสดงออกอยางปกติเมื่อตอง
ปฏิสัมพันธกับเพื่อนชาวตางชาติ ใหเขาใจในวิถีการปฏิบัติตนของเพื่อนนิสิตแตละประเทศที่มีแนว
ทางการปฏิบัติตนที่แตกตางกันแมจะเปนนักบวชในศาสนาเดียวกัน แตการปลูกฝง หรือการปฏิบัติที่
แตละประเทศไดยึดถือปฏิบัติกันมามีความแตกตางกัน จําเปนตองเรียนรูเพ่ือใหเกิดความเขาใจในกัน
และกนั

5) ปรับกระบวนทัศนในเร่ืองวัฒนธรรม หมายถึง การปรับวิธีคิดและวิถีปฏิบัติที่ตั้งอยู
บนรากฐานของการมองโลกตามความเปนจริงที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรมทางศาสนาของนิสติ อาเซียนใน
กลุมประเทศ CLMV เก่ียวกับแบบแผนในการปฏิบัติตน หลักปฏิบัติในการอยูรวมกัน และการนับถือ
นิกายทางพระพทุ ธศาสนา
2.3 กิจกรรมเพื่อการเรียนรูขามวัฒนธรรม หมายถึง รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูขาม
วัฒนธรรมท่ีเนนการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการเพื่อมุงเนนใหนิสิตไดมีโอกาสในการเรียนรูดวยตนเอง
ผา นกระบวนการกลมุ การแลกเปล่ยี นเรียนรู และการสบื เสาะหาความรจู ากสื่อที่ผูสอนไดจดั เตรียมไว
ให รวมทั้งศึกษาจากแหลงขอมูลอ่ืนๆ ตามศักยภาพของผูเรียน มีองคประกอบหลัก 3 ดาน คือ1)
แลกเปลี่ยนเรียนรูจากประสบการณตน 2) สาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม และ 3) เรียนรูแบบการ
รว มมอื รวมพลงั วัดไดจากขอ คาํ ถามทผ่ี วู ิจยั สรา งขึ้น จาํ นวน 15 ขอ

1) แลกเปล่ียนเรียนรูจากประสบการณตน หมายถึง การเขารวมกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ
ของนิสิตในกิจกรรม Think – Pair – Share เพ่ือแสดงความคิดเห็นของตนเองตอเพื่อนนิสิตและตอ

110

ผเู ขารวมกจิ กรรม โดยท่ปี ระเด็นทนี่ ําเสนอนั้นไดมาจากประสบการณสว นตัวของนิสติ การแลกเปลย่ี น
กับเพอ่ื นนิสิต และสรปุ เปน ประเด็นรว มและนําเสนอตอเพ่อื นรวมชนั้

2) สาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีใหนิสิตไดวาง
แผนการพัฒนาสื่อทางวัฒนธรรมท่ีแสดงออกเกี่ยวกับแบบแผนในการปฏิบัติตน หลักปฏิบัติในการอยู
รวมกัน และการนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนา โดยใหนิสิตไดยกตัวอยางบางสวนของกิจกรรมทาง
วัฒนธรรมเพ่ือสาธิตรูปแบบทางวัฒนธรรมที่มีความเก่ียวของ ความเหมือนหรือความตางของ
วัฒนธรรมทางศาสนาในกลุม ประเทศ CLMV กบั ประเทศไทย

3) เรียนรูแ บบการรวมมอื รวมพลัง หมายถึง การเขา รวมกจิ กรรมของนิสิตในการรว มกัน
วางแผนและออกแบบกิจกรรมเพ่ือผลิตส่ือหรือนวัตกรรมทางศาสนาที่เนนการระดมความคิด การ
สนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู และการตัดสินใจรวมกันในการกําหนดทิศทางหรือแนวทางในการพัฒนา
นวัตกรรมรวมกัน มีการเปดใจรับฟงและรวมแสดงความคิดเห็นเพ่ือนําไปสูเปาหมายคือความสําเร็จ
ของการทํางานกลุม รวมทง้ั รวมมอื กันเผยแพรวัฒนธรรมทางศาสนาสเู วทีสาธารณะ
2.4 การอยูรวมกันอยางมีความสุข หมายถึง ความคาดหวังหรือผลลัพธท่ีเกิดจากการปฏิบัติตนใน
การอยูรว มกันในสังคมที่มีการพ่ึงพาอาศัยกัน เกอื้ กูลกนั และมีไมตรีตอกัน ของนิสิตมหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประกอบดวย 1) ชวยเหลือและเอ้ือเฟอ ตอผูอื่น 2) พดู จาสุภาพและมีเหตุผล
3) คิดดีตอกัน 4) แบงปนส่ิงของใหแกกัน 5) ปฏิบัติตามกฎเกณฑของหมูคณะ และ 6) เคารพและรับ
ฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน วดั ไดจ ากขอ คําถามท่ีผวู จิ ยั สรา งข้นึ จํานวน 18 ขอ

1) ชวยเหลือและเอ้ือเฟอตอผูอื่น หมายถึง การแสดงออกทางพฤติกรรมของนิสิต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในการชวยเหลือกันทั้งเพ่ือนนิสิตชาวไทยและชาวตางชาติ
มีความเอ้ือเฟอ กนั ในการใชสิง่ ของทีเ่ ปน ของสว นรวมในระหวางการดาํ เนินชีวติ ภายในรวั้ มหาวทิ ยาลัย

2) พูดจาสุภาพและมีเหตุผล หมายถึง การแสดงออกทางวาจาดวยการทักทายกันดวย
ภาษาที่สุภาพอยางเปนกัลยาณมิตรในระหวางการดําเนินชีวิตประจําวันทั้งในหองเรียนและนอก
หอ งเรยี น รวมทัง้ การสื่อสารกันโดยใชเหตผุ ลเปนสําคัญเมอื่ ตองรว มกนั แกไ ขปญหา

3) คิดดีตอกัน หมายถึง การแสดงออกที่บงบอกถึงความปรารถนาดีตอกัน มีความเขาใจ
ในวิถีปฏิบัตขิ องเพือ่ นนสิ ติ ทนี่ ับถือพระพุทธศาสนาเหมอื นกนั แตม ีวัตรปฏิบัติบางอยางทแ่ี ตกตา งกัน

4) แบงปนสิ่งของใหแกกัน หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกที่ปรากฏในช้ันเรียนท่ีตอง
ใชอ ุปกรณใ นการทาํ กิจกรรมรวมกนั จะมีการแบงปนกัน รวมท้งั การแบง ปน อาหารหรือส่งิ ของตา งๆ ท่ี
ไดมาจากการบรจิ าคหรือบิณฑบาตใหกบั เพอื่ นนสิ ิต

5) ปฏิบัติตามกฎเกณฑของหมูคณะ หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกเมื่อตองอยู
รวมกันกับเพื่อนนิสิตในระหวางเขารวมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย รวมทั้งการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ในชัน้ เรียนตามขอตกลงที่ไดก ําหนดไวร วมกนั

6) เคารพและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น หมายถึง การแสดงออกท้ังทางกาย วาจา
และใจเก่ียวกับเคารพและรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืนเมื่อตองเขารวมเปนสวนหน่ึงของที่ประชุม หรือ
ในระหวางการทํากิจกรรมกลุมรวมกันท่ีตองใชการแสดงความคิดเห็นแลกเปล่ียนความรูกันดวยหลัก
เหตุผลและมีความคดิ รเิ รมิ่ สรางสรรค

111

แบบสอบถามสําหรับการวจิ ยั เรือ่ ง
รูปแบบการจดั การเรยี นรูข า มวฒั นธรรมอาเซียนในกลมุ ประเทศ CLMV
สาํ หรบั นสิ ติ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
An Instructional Model of ASEAN Cross Culture in CLMV Countries
for Students in Mahachulalongkornrajavidyalaya University
(ทุนวจิ ัยมงุ เปา ป 2560)
คาํ ชแี้ จง แบบสอบถามสาํ หรบั การวจิ ัยคร้ังน้แี บงเปน 6 ตอน ดังน้ี
ตอนที่ 1 ขอมลู ทว่ั ไปของผตู อบแบบสอบถาม จาํ นวน 5 ขอ
ตอนท่ี 2 ความคดิ เห็นเก่ยี วกบั การจดั การเรียนรูขามวฒั นธรรมอาเซยี น จาํ นวน 18 ขอ
ตอนที่ 3 ความคิดเหน็ เกยี่ วกับองคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรม จาํ นวน 15 ขอ
ตอนที่ 4 ความคดิ เห็นเกีย่ วกับกระบวนการเรียนรูขา มวฒั นธรรมอาเซียน จํานวน 15 ขอ
ตอนที่ 5 ความคิดเหน็ เกี่ยวกับกจิ กรรมเพือ่ การเรยี นรูข า มวฒั นธรรม จํานวน 15 ขอ
ตอนที่ 6 ความคิดเหน็ เกี่ยวกบั การอยูร วมกันอยางมคี วามสขุ จํานวน 18 ขอ
ตอนที่ 1 ขอมลู ท่วั ไปของผตู อบแบบสอบถาม
คําชี้แจง โปรดทําเคร่ืองหมาย  ลงใน  ทีต่ รงตามขอ มูลของทา น
ความคิดเหน็
1 เพศ
1. นสิ ิตบรรพชิต 2. นิสติ คฤหสั ถชาย  เหมาะสม  ไมเหมาะสม

3. นิสิตคฤหัสถห ญิง

2 อายุ  2. 21 – 30 ป  เหมาะสม  ไมเหมาะสม
 1. ตาํ่ กวา 20 ป

 3. 31 – 40 ป  4. 41 ปขนึ้ ไป

3 ระดบั ชน้ั ปท่ีกําลังศกึ ษา  2. ชนั้ ปที่ 2  เหมาะสม  ไมเ หมาะสม
 1. ช้นั ปท ี่ 1

 3. ช้ันปท่ี 3  4. ชั้นปท ี่ 4

4 คณะที่สงั กดั  2. คณะสังคมศาสตร  เหมาะสม  ไมเหมาะสม
 1. คณะพุทธศาสตร

 3. คณะครุศาสตร  4. คณะมนุษยศาสตร

5 หนว ยงานที่สังกัด  เหมาะสม  ไมเ หมาะสม
 1. สวนกลาง (มจร วังนอย)  2. วิทยาเขต

 3. วิทยาลัยสงฆ  4. หองเรยี นหรอื หนวยวิทยบริการ

112
ขอคาํ ถามเพมิ่ เตมิ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
คําชี้แจง คําถามในตอนท่ี 2-6 นเ้ี ปนขอคาํ ถามทม่ี กี ารใหค ะแนนแบบมาตรวัดประมาณคา (Rating Scale)

ทม่ี รี ะดับการใหคะแนนของผตู อบแบบสอบถามเปน 5 ระดบั ดังนี้
5 คะแนน แทน มีระดบั คณุ ภาพ มากทส่ี ุด
4 คะแนน แทน มีระดับคุณภาพ มาก
3 คะแนน แทน มีระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
2 คะแนน แทน มีระดับคณุ ภาพ นอย
1 คะแนน แทน มีระดบั คณุ ภาพ นอยท่ีสุด

ขอใหทา นผเู ชย่ี วชาญทาํ เครอื่ งหมาย  ลงในชอ งคะแนนความสอดคลอ ง (IOC) ทีต่ รงกบั
ความคดิ เหน็ ของทา นท่ีมตี อ ขอคําถาม ซง่ึ มีเกณฑก ารพจิ ารณา ดงั นี้

+1 หมายถงึ ทา นเห็นวา ขอคําถามดังกลา วมีความสอดคลองกบั นยิ ามท่ใี ชใ นการวจิ ัย
0 หมายถึง ทา นไมแนใจวา ขอ คาํ ถามดงั กลาวมคี วามสอดคลองกับนยิ ามทใ่ี ชในการวิจยั
-1 หมายถงึ ทานเหน็ วา ขอ คําถามดังกลาวไมสอดคลอ งกบั นิยามทใี่ ชใ นการวจิ ัย
โดยนิยามตัวแปรทีใ่ ชในการวจิ ัยไดแนบมาพรอมกับรายละเอียดประกอบการพิจารณาเคร่ืองมือ

113

ตอนที่ 2 ความคดิ เหน็ เก่ยี วกับการจัดการเรยี นรขู า มวัฒนธรรมอาเซยี น
1.1 การจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน หมายถึง การออกแบบการจัดการเรียนรูสําหรับนิสิต
ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สามารถวัดไดจากตัวแปรสังเกตได 6
ตัวแปร ประกอบดวย 1) มุงเนนการอยูรวมกันอยางสันติ 2) คุนเคยกับวัฒนธรรมอาเซียน 3) เรียนรู
ผานกระบวนการวิจัย 4) รูจักอาเซียนดวยนวัตกรรม 5) ประเมินผลตามสภาพจริง และ 6) คุณภาพ
ของสื่อการเรยี นรู วดั ไดจ ากขอคาํ ถามทผ่ี ูวจิ ัยสรางขน้ึ จาํ นวน 18 ขอ

1) มุงเนนการอยูรว มกันอยางสันติ หมายถึง การอยูรวมกันที่อาศัยความมีน้ําใจไมตรีที่ดี
ตอกัน แสดงความเมตตากรุณาตอกัน เอาใจเขามาใสใจเรา คิดถึงความรูสึกของผูอื่น และการกระทํา
ทีไ่ มหวังผลตอบแทน ซ่ึงจะสามารถเช่ือมไมตรจี ิตตอกันไดตามแบบแผนและแนวทางการดาํ เนินชีวติ ที่
กอใหเกดิ การอยรู ว มกนั อยา งสรา งสรรค

2) คุนเคยกับวัฒนธรรมอาเซียน หมายถึง การเรียนรูและการปรับตัวทางวัฒนธรรม
ภายใตการออกแบบการเรียนรู หรือกิจกรรมการเรียนรูเพื่อนําไปสูการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน
ที่มีความจําเปนและสาํ คัญอยา งยง่ิ ในการทําใหเ กิดความเขาใจกันในลักษณะของวัฒนธรรมรวมที่เน่อื ง
ดวยพระพุทธศาสนาสงผลใหเกิดการปรับตัวทางวัฒนธรรมและเรียนรูเกี่ยวกับลักษณะรวมทาง
วฒั นธรรมของกันและกัน

3) เรียนรูผานกระบวนการวิจัย หมายถึง การจัดการเรียนรูแบบวิจัยเปนฐานท่ีมาจาก
การกําหนดใหมีการทําวิจัย ใชกระบวนการวิจัยในการจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูมีการ
จัดการเรียนรูโดยใหผูเรียนใชเครื่องมือในการวิจัยและมีการจัดการเรียนรูโดยใชผลงานวิจัยประกอบ
เนื้อหาท่ีศึกษาใหแกผูเรียน ทั้งเปนการจัดการเรียนรูท่ีกระตุนใหผูเรียนใชกระบวนการวิจัย หรือ
ผลการวิจยั เปน เครือ่ งมอื ในการเรยี นรเู นือ้ หาสาระตางๆ

4) รูจักอาเซียนดวยนวัตกรรม หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูขาม
วัฒนธรรมอาเซียนในกลุมประเทศ CLMV ซึ่งมีรากฐานทางศาสนาที่คลายคลึงกันประเทศไทย โดย
การใหนิสิตสรางนวัตกรรมเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางศาสนาจะเปนกลไกสําคัญใหเกิดการเรียนรูซึ่งกัน
และกนั เพอื่ นําไปสูการอยรู ว มกันอยา งเขา ใจและมีความสุข

5) ประเมินผลตามสภาพจริง หมายถึง การประเมินผลการเขารวมกิจกรรมของนิสิตได
จากการนําเสนอผลงาน หรือสภาพตามความเปนจริงผานกิจกรรม และผานการเรียนรูรวมกับนิสิต
ผูดําเนินการทําวิจัย ในกรณีที่ใชการวิจัยเปนฐาน ผานการสังเกต การสัมภาษณ ผานกิจกรรมท่ีเรา
ดําเนินการออกแบบทาํ ใหชัดเจนข้นึ

6) คุณภาพของสื่อการเรียนรู หมายถึง ชุดเครื่องมือหรือชุดการเรียนรู จะชวยอํานวย
สะดวกตอการเรียนรูของผูเรียนสําหรับนิสิตชาวไทยตอการเรียนรูขามวัฒนธรรมในกลุมประเทศ
CLMV โดยชุดการเรียนรูจะอยูในกรอบของการเรียนรูวัฒนธรรมทางศาสนา ท่ีประกอบดวย แบบ
แผนในการปฏิบัติตน หลกั ปฏบิ ัตใิ นการอยรู วมกัน และการนับถอื นิกายทางพระพทุ ธศาสนา

114

คาํ ชี้แจง ขอใหทา นทําเคร่อื งหมาย ลงในชอ งคะแนนทต่ี รงกับระดบั ความคดิ เหน็ ของตนเอง

ขอ ขอ คําถาม คะแนนความ ขอ เสนอแนะ
สอดคลอ ง(IOC)
+1 0 -1

มงุ เนน การอยรู วมกนั อยา งสนั ติ
1 ความมีนํ้าใจไมตรีจะทําใหอยูรวมกันอยางสันติระหวางนิสิตไทยกับ

นิสิตอาเซยี น

2 การเอาใจเขามาใสใจเราจะเพ่ิมความเขาใจวิถีชีวิตของนิสิตอาเซียน
ท่มี าเรยี นในมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั (มจร)

3 การเขา ใจวิถีการดําเนนิ ชวี ิตของกนั และกนั จะกอใหเ กิดการอยูรว มกัน
อยา งสรา งสรรค

คนุ เคยกบั วฒั นธรรมอาเซียน
4 การเขารวมกิจกรรมเรียนรูขามวัฒนธรรมจะทําใหคุนเคยกับวัฒนธรรม

อาเซยี น
5 การเขารวมกิจกรรมการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนทําใหมีความ
เขาใจในวัฒนธรรมของประเทศอาเซียน

6 ความคุนเคยเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาของเพื่อนนิสิต
อาเซียนจะทาํ ใหอ ยรู ว มกนั อยางเขา ใจ

เรยี นรูผานกระบวนการวิจยั
7 การเรยี นรวู ฒั นธรรมอาเซยี นสามารถศึกษาคน ควาดวยตนเอง
8 การเรียนรูวัฒนธรรมอาเซียนสามารถทําไดโดยการเขารวมกิจกรรม

ของมหาวิทยาลยั
9 การเรียนรูวัฒนธรรมอาเซียนสามารถศึกษาไดโดยการสังเกตวิถีชีวิต

และความเปน อยูข องเพอื่ นนิสติ ทมี่ าจากประเทศอาเซยี น
รจู กั อาเซยี นดวยนวตั กรรม
10 การเรยี นรเู รอ่ื งวฒั นธรรมอาเซียนสามารถศกึ ษาไดจ ากส่อื ออนไลน
11 การรวมทํากิจกรรมการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนจะทําใหรูจัก

อาเซียนมากขน้ึ

12 การไดชม Clip เกี่ยวกับนวัตกรรมการเรียนรูขามวัฒนธรรมจะชวยให
เรียนรเู กีย่ วกับวัฒนธรรมอาเซยี น

ประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
13 การทํากจิ กรรมกลมุ ทําใหม ีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรยี นรเู รื่องอาเซียน
14 ความรวมมือในการทํากิจกรรมกลมุ ชว ยใหทํางานไดเสร็จตามกาํ หนด

115

ขอ ขอคาํ ถาม คะแนนความ ขอเสนอแนะ
สอดคลอง(IOC)
+1 0 -1

15 การนาํ เสนอผลงานกลมุ แสดงออกถงึ ความเขา ใจในวัฒนธรรมอาเซยี น
คุณภาพของสื่อการเรียนรู
16 การผลิตสื่อความรูเรอ่ื งอาเซียนจะชวยความเขาใจในวัฒนธรรมอาเซยี น
17 การเรยี นรวู ฒั นธรรมอาเซยี นสามารถเรียนรไู ดจ ากการศกึ ษาเชงิ พ้ืนที่
18 การเรยี นรูว ัฒนธรรมอาเซียนสามารถเรยี นรูไดจากสื่อวิดีทศั น

ตอนที่ 3 ความคดิ เห็นเกยี่ วกับองคประกอบของการเรยี นรขู ามวัฒนธรรม

2.1 องคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรม หมายถึง องคประกอบของเนื้อหาท่ีใชในการจัดกิจกรรม
การเรียนรูขามวัฒนธรรม องคประกอบของการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน โดยภายในองคประกอบมี 3
ดาน คือ 1) ดานแบบแผนในการปฏิบัติตน (จารีต) 2) ดานหลักปฏิบัติในการอยูรวมกัน (มารยาทชาวพุทธ)
และ 3) ดานการนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนา (วัตรปฏิบัติท่ีแตกตางกัน) ซ่ึงในการจะทําใหนิสิตมี
คุณลักษณะตามองคประกอบท้ัง 3 ดานนี้ไดน้ัน จําเปนตองมีแนวทางการจัดการเรียนรูเพื่อการเรียนรูขาม
วัฒนธรรม ประกอบดวย จัดกิจกรรมเผยแพรวัฒนธรรมที่หลากหลาย แลกเปล่ียนเรียนรูที่ไดจาก
ประสบการณของแตละคน การรว มมอื รวมพลงั (Collaboration)ระหวา งอาจารยผสู อน สรางสถานการณ
และมีกิจกรรมหลายกิจกรรม การสรางชุมชนทางภาษา (Language community) จัดใหมีการสาธิต
กิจกรรมหรือวัฒนธรรมโดยนิสิตตางประเทศ มีโครงการนักเรียนแลกเปลี่ยนจัดสถานการณใหใชชีวิต
รวมกันทั้งในหองเรียน และนอกหองเรียน ใสใจเรื่องภาษาในการส่ือสารกับนิสิต และมีการจับคูใหเขาดูแล
กนั เปน เหมือนพนี่ อง วดั ไดจากขอ คาํ ถามทผ่ี ูวจิ ยั สรา งข้นึ จาํ นวน 15 ขอ

1) แบบแผนในการปฏิบัติตน หมายถึง รูปแบบการปฏิบัติในฐานะพระภิกษุ หรือชาวพุทธที่
ตองยึดหลักการคําสอนในทางพระพุทธศาสนา หลักการอันเน่ืองดวยพระธรรมวินัยจะเปนเครื่องมือ หรือ
กลไกในการปกครองรักษาของพระภิกษุ สามเณร แมชี หรือชาวพุทธ ที่มาจากประเทศตาง ๆ ทั้งไทย ลาว
กัมพูชา เมียนมาร และเวียดนาม ประกอบดวย การเรียนรูเรา รูเขา เอาใจเขามาใสใจเรา การรักษาความ
เปนกัลยาณมิตรที่ดีตอกัน การดูแลและชวยเหลือกันภายในกลุมหรือนิกาย การมีอิทธิพลของศาสนาตอ
ความเปนอยู การเรียนรูของความแตกตางของการปฏิบัติตน การฝกปฏิบัติตามหลักของศาสนา และการ
ปฏบิ ัติตนอยา งหน่งึ คอื ใหเ กียรติ

2) หลกั ปฏบิ ัติในการอยูรวมกัน หมายถึง รูปแบบการปฏบิ ัตติ นอันสมั พันธก ับความเช่ือ จารีตด้งั เดิม
ซ่ึงมีแบบแผนมาจากจารีตดั้งเดิม หรือแบบปฏิบัติที่เคยกระทํามา อันมีสวนตอจากพระพุทธศาสนา ประกอบดวย
เรียนรูภาษาท่ีใชในการส่ือสารกัน ปฏิบัติตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย เม่ือมีปญหาจะตองหันหนาเขาหากัน
รวมกันแกไขปญหา เขารวมกิจกรรมท่ีทางมหาวิทยาลัยจัดขึ้น ประพฤติดีดวยกาย วาจา ใจ ปฏิบัติตามหลักธรรม
คาํ สอนของพระพุทธเจา ใหความเคารพนับถือกัน และเรียนรจู ากการพูดคุยและทาํ งานรวมกัน

3) การนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนา หมายถึง การปฏิบัติตามธรรมเนียมประเพณีวิถีปฏิบัติ ซ่ึง
มีอยูดวยกันทั้งหมดในแตละชุมชนและสังคม ซ่ึงนิสิตที่เขารับการศึกษาสวนใหญจะมีความแตกตางกันในเชิงชาติ
พนั ธุภาษา ท่ีประกอบดว ย เงอื่ นไขของเอกลักษณและอตั ลกั ษณท างศาสนา การรักษาธรรมเนยี มประเพณีและวิถี
ปฏิบัติ การปฏิบัติตามพระธรรมวินัย การปฏิบัติตามระเบียบขอตกลงรวมกันของมหาวิทยาลัย ตองมีศูนยความรู
ทาํ ใหเกิดลักษณะการคดิ รวมกัน และสรางใหเ กิดการเรยี นรูในเชิงของการแลกเปล่ียน

116

คําชแ้ี จง ขอใหทา นทําเคร่อื งหมาย ลงในชอ งคะแนนทตี่ รงกับระดบั ความคิดเหน็ ของตนเอง

ขอ ขอคําถาม คะแนนความ ขอเสนอแนะ
สอดคลอ ง(IOC)
+1 0 -1

แบบแผนในการปฏิบัติตน
1 นิสติ มจร พงึ ยึดหลกั การคําสอนในทางพระพทุ ธศาสนา

2 นสิ ติ มจร พึงฝกปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ของศาสนา

3 นิสิต มจร พึงรักษาความเปนกลั ยาณมิตร

4 นสิ ิต มจร พึงดูแลและชว ยเหลือกันภายในกลมุ หรือนิกาย

5 ศาสนามอี ทิ ธิพลของตอ ความเปน อยูข องนิสิต มจร

หลกั ปฏบิ ตั ิในการอยูรวมกนั
6 นิสติ มจร พงึ เรยี นรภู าษาท่ใี ชในการสือ่ สารกัน

7 นิสิต มจร พงึ ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย

8 นสิ ติ มจร พงึ หันหนาเขาหากนั เพ่อื รวมกนั แกไขปญ หา

9 นสิ ิต มจร พึงเขา รว มกิจกรรมท่ที างมหาวทิ ยาลยั จดั ขึ้น
10 นสิ ิต มจร พึงใหความเคารพนบั ถอื กนั เรียนรกู นั และทาํ งานรวมกัน

การนับถือนกิ ายทางพระพุทธศาสนา
11 นิสติ มจร พงึ รกั ษาธรรมเนยี มประเพณีและวถิ ีปฏิบัติ

12 นิสิต มจร พึงปฏิบตั ิตามพระธรรมวนิ ัย

13 นิสิต มจร พงึ ปฏบิ ัตติ ามระเบยี บขอตกลงรวมกนั ของมหาวิทยาลัย
14 นสิ ติ มจร พึงรกั ษาเอกลักษณและอตั ลักษณทางศาสนา
15 นิสิต มจร พึงสรางใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูในเชิงวัฒนธรรม
อาเซยี น

117

ตอนท่ี 4 ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั กระบวนการเรยี นรขู ามวฒั นธรรมอาเซยี น
2.2 กระบวนการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียน หมายถึง กระบวนการ ในการทําความเขาใจในความ
แตกตางของวัฒนธรรมความหลายหลายของวัฒนธรรมของประเทศในกลุมอาเซียนอันเปนเหตุใหตอง
เรียนรูวัฒนธรรมของกันและกันโดยไมปดก้ันที่จะยอมรับเอาวัฒนธรรมที่ดีๆ จากทองถิ่นอ่ืนใช โดยท่ี
ผูเรียนใหมีความสามารถในการเตรียมความพรอมทางวัฒนธรรมมีเมื่อไดมีโอกาสในการเรียนรูวัฒนธรรม
ใหมในสังคมที่แตกตาง 5 ขั้นตอน ประกอบดวย เปดใจรับวัฒนธรรมใหม เตรียมใจเรียนรูสิ่งที่แตกตาง
ปรับอารมณใหเขากับสถานการณ เขาใจพฤติกรรมของนิสิตชาติอ่ืน และปรับกระบวนทัศนในเร่ือง
วัฒนธรรม วดั ไดจ ากขอคาํ ถามทผี่ ูวิจัยสรา งขึน้ จาํ นวน 15 ขอ

1) เปดใจรับวัฒนธรรมใหม หมายถึง การแสดงออกของการเรียนรูและการสนใจในการศึกษา
เกี่ยวกับเรื่องราวของประเทศอาเซียนในกลุม CLMV รวมทั้งการติดตอสื่อสารพูดคุยกับเพื่อนิสิต
ชาวตางชาติอยางเปนกันเองในฐานะเพื่อนรวมมหาวิทยาลัยเดียวกันและยินดีเขารวมกิจกรรมทาง
วัฒนธรรมของเพอ่ื นนิสิตตามโอกาส

2) เตรียมใจเรียนรูส่ิงที่แตกตาง หมายถึง การปรับใจและกลาเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงท่ีจะ
เกิดขึ้นเม่ือตองไปอยูในบริบทอ่ืนที่แตกตางจากท่ีเคยเปนอยู และเรียนรูเก่ียวกับสิ่งนั้นเพ่ือการปรับตัวใน
การดาํ รงชวี ติ

3) ปรับอารมณใหเขากับสถานการณ หมายถึง การปรับสภาพจิตใจใหพรอมรับกับกระแสความ
เปลี่ยนแปลงทเี่ กิดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรทู างวฒั นธรรมเมือ่ ไดเขารวมกจิ กรรมทางวัฒนธรรมของเพ่ือน
นสิ ิตทมี่ าจากชาตอิ นื่ รวมทัง้ การทาํ ตวั ใหเ ปน สว นหนงึ่ ของกิจกรรม

4) เขาใจพฤติกรรมของนิสิตชาติอ่ืน หมายถึง การแสดงออกอยางปกติเม่ือตองปฏิสัมพันธกับ
เพ่ือนชาวตางชาติ ใหเขาใจในวิถีการปฏิบัติตนของเพื่อนนิสิตแตละประเทศที่มีแนวทางการปฏิบัติตนที่
แตกตางกันแมจะเปนนักบวชในศาสนาเดียวกัน แตการปลูกฝง หรือการปฏิบัติที่แตละประเทศไดยึดถือ
ปฏบิ ัตกิ นั มามีความแตกตา งกัน จําเปนตอ งเรียนรเู พอ่ื ใหเกิดความเขา ใจในกนั และกัน

5) ปรับกระบวนทัศนในเรื่องวัฒนธรรม หมายถึง การปรับวิธีคิดและวิถีปฏิบัติที่ตั้งอยูบน
รากฐานของการมองโลกตามความเปนจริงที่เช่ือมโยงกับวัฒนธรรมทางศาสนาของนิสิตอาเซียนในกลุม
ประเทศ CLMV เกี่ยวกับแบบแผนในการปฏิบัติตน หลักปฏิบัติในการอยูรวมกัน และการนับถือนิกายทาง
พระพุทธศาสนา

118

คาํ ช้แี จง ขอใหทา นทาํ เคร่ืองหมาย ลงในชองคะแนนทต่ี รงกบั ระดับความคดิ เหน็ ของตนเอง

ขอ ขอ คาํ ถาม คะแนนความ ขอ เสนอแนะ
สอดคลอ ง(IOC)
+1 0 -1

เปดใจรบั วัฒนธรรมใหม
1 ขา พเจา แสดงออกและสนใจศกึ ษาเกีย่ วกบั เรือ่ งราวของประเทศอาเซยี น

2 ขาพเจาสนใจติดตอสื่อสารพูดคุยกับเพื่อนนิสิตชาวตางชาติอยางเปน
กนั เอง

3 ขาพเจายินดีเขารวมกิจกรรมทางวัฒนธรรมของเพ่ือนนิสิตอาเซียนตาม
โอกาส

เตรียมใจเรยี นรสู ่งิ ทีแ่ ตกตา ง
4 ขาพเจา กลา เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมทเ่ี กิดขนึ้
5 ขา พเจา เรียนรเู ก่ยี วกบั วัฒนธรรมอื่นเพ่อื ปรับตวั ในการดาํ รงชีวิต

6 ขาพเจา ปรบั ใจเม่อื อยูในบริบทอน่ื ทแี่ ตกตางจากทเ่ี คยเปนอยู

ปรบั อารมณใ หเ ขา กับสถานการณ
7 ขาพเจาปรับสภาพจิตใจใหพรอมรับกับกระแสความเปลี่ยนแปลงทาง
8 ขา พเจาสนใจแลกเปล่ียนเรียนรทู างวฒั นธรรมเพ่ือนนสิ ิตทมี่ าจากชาตอิ ื่น

9 ขา พเจา จะทําตวั ใหเปนสว นหน่ึงในการทํากจิ กรรมกลมุ กับเพื่อนชาตอิ น่ื

เขา ใจพฤตกิ รรมของนสิ ติ ชาตอิ ่นื
10 ขาพเจาปรับสภาพจิตใจใหพรอมรับกับกระแสความเปล่ียนแปลงทาง

วัฒนธรรม

11 ขา พเจาสนใจแลกเปลยี่ นเรียนรทู างวัฒนธรรมเพือ่ นนิสติ ทมี่ าจากชาติอ่ืน

12 ขาพเจา จะทาํ ตวั ใหเปน สวนหนงึ่ ในการทาํ กิจกรรมกลุมกบั เพอ่ื นชาติอ่นื

ปรับกระบวนทศั นใ นเร่อื งวฒั นธรรม
13 ขาพเจายอมรับเก่ียวกับแบบแผนในการปฏิบัติตนของเพื่อนนิสิต
14 ขาพเจายอมรับเกี่ยวกับหลักปฏิบัติในการอยูรวมกันของเพ่ือนนิสิต
15 ขาพเจายอมรับการนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนาของเพ่ือนนิสิต

119

ตอนที่ 5 ความคดิ เห็นเกี่ยวกับกิจกรรมเพือ่ การเรยี นรขู า มวฒั นธรรม
2.3 กิจกรรมเพื่อการเรียนรูขามวัฒนธรรม หมายถึง รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูขามวัฒนธรรม
ท่ีเนนการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการเพื่อมุงเนนใหนิสิตไดมีโอกาสในการเรียนรูดวยตนเองผาน
กระบวนการกลุม การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการสืบเสาะหาความรูจากสื่อที่ผูสอนไดจัดเตรียมไวให
รวมท้ังศึกษาจากแหลงขอมูลอ่ืนๆ ตามศักยภาพของผูเรียน มีองคประกอบหลัก 3 ดาน คือ1)
แลกเปล่ียนเรียนรูจากประสบการณตน 2) สาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม และ 3) เรียนรูแบบการรวมมือ
รวมพลัง วัดไดจากขอคําถามทผี่ ูวิจัยสรา งข้นึ จํานวน 15 ขอ

1) แลกเปล่ียนเรียนรูจากประสบการณตน หมายถึง การเขารวมกิจกรรมเชิงปฏิบัติการของ
นิสิตในกิจกรรม Think – Pair – Share เพื่อแสดงความคิดเห็นของตนเองตอเพื่อนนิสิตและตอ
ผูเขารวมกิจกรรม โดยที่ประเด็นท่ีนําเสนอนั้นไดมาจากประสบการณสวนตัวของนิสิต การแลกเปลี่ยน
กบั เพือ่ นนิสติ และสรุปเปน ประเด็นรวมและนําเสนอตอเพื่อนรวมชั้น

2) สาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ใหนิสิตไดวางแผนการ
พัฒนาส่ือทางวัฒนธรรมที่แสดงออกเกี่ยวกับแบบแผนในการปฏิบัติตน หลักปฏิบัติในการอยูรวมกัน
และการนับถือนิกายทางพระพุทธศาสนา โดยใหนิสิตไดยกตัวอยางบางสวนของกิจกรรมทางวัฒนธรรม
เพื่อสาธิตรูปแบบทางวัฒนธรรมที่มีความเกี่ยวขอ ง ความเหมือนหรอื ความตางของวัฒนธรรมทางศาสนา
ในกลุม ประเทศ CLMV กับประเทศไทย

3) เรียนรูแบบการรวมมือรวมพลัง หมายถึง การเขารวมกิจกรรมของนิสิตในการรวมกัน
วางแผนและออกแบบกิจกรรมเพ่ือผลิตสื่อหรือนวัตกรรมทางศาสนาที่เนนการระดมความคิด การ
สนทนาแลกเปล่ียนเรียนรู และการตัดสินใจรวมกันในการกําหนดทิศทางหรือแนวทางในการพัฒนา
นวัตกรรมรวมกัน มีการเปดใจรับฟงและรวมแสดงความคิดเห็นเพื่อนําไปสูเปาหมายคือความสําเร็จของ
การทํางานกลมุ รวมทงั้ รว มมอื กันเผยแพรวฒั นธรรมทางศาสนาสูเวทสี าธารณะ

คาํ ชแ้ี จง ขอใหทานทาํ เคร่อื งหมาย ลงในชองคะแนนทตี่ รงกับระดบั ความคิดเหน็ ของตนเอง

ขอ ขอคาํ ถาม คะแนนความ ขอ เสนอแนะ
สอดคลอ ง(IOC)
+1 0 -1

แลกเปลยี่ นเรยี นรจู ากประสบการณต น
1 นิสิต มจร ควรสนใจในการสืบเสาะหาความรูและแสดงความคิดเห็น
ของตนเองตอเพ่ือนนิสิตอาเซียน

2 นิสิต มจร ควรนําเสนอประเด็นความคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมอาเซียนท่ี
ไดมาจากประสบการณสว นตัว

3 นิสิต มจร ควรสนใจเขารว มแลกเปล่ียนเรียนรเู กี่ยวกบั วัฒนธรรมอาเซยี น
4 นสิ ติ มจร ควรมีสวนรวมในการสรปุ ประเด็นทเ่ี กิดจากการสนทนากลุม

120

ขอ ขอ คาํ ถาม คะแนนความ ขอเสนอแนะ
สอดคลอง(IOC)
+1 0 -1

5 นิสิต มจร ควรสนใจเขารวมกิจกรรมนําเสนอผลงานกลุมตอ เพอื่ นรว มช้นั
สาธิตกิจกรรมเชิงวัฒนธรรม
6 นิสิต มจร ควรรวมกันวางแผนและนําเสนอผลงานทางวัฒนธรรม

อาเซียนอยเู สมอ

7 นิสิต มจร ควรสงั เกตหรือเขา รวมในวฒั นธรรมของเพอื่ นนสิ ิตอาเซยี น

8 นิสิต มจร ควรมีการสาธิตและเขารวมกิจกรรมวัฒนธรรมทางศาสนา
ตามโอกาส

9 นิสิต มจร ควรแสดงออกถึงการสงเสริมอัตลักษณทางวัฒนธรรมของ
เพ่ือนนสิ ติ อาเซียน

10 นิสิต มจร ควรแสดงออกถึงการปฏิบัติตามวัฒนธรรมของตนและ
เขา ใจวัฒนธรรมอ่ืน

เรียนรแู บบการรวมมอื รวมพลงั
11 นสิ ติ มจร ควรเขารว มกิจกรรมของเพอ่ื นนิสิตทมี่ าจากประเทศอาเซียน

12 นิสิต มจร ควรรวมกันออกแบบกิจกรรมเพื่อผลิตส่ือหรือนวัตกรรม
ทางศาสนาท่เี นนการระดมความคดิ

13 นิสิต มจร ควรตัดสินใจรวมกันในการกําหนดทิศทางหรือแนวทางใน
การพฒั นานวัตกรรมรว มกนั

14 นิสิต มจร ควรเปดใจรับฟงและรวมแสดงความคิดเห็นเพื่อนําไปสู
เปาหมาย

15 นิสิต มจร ควรรวมมือกันเผยแพรว ฒั นธรรมทางศาสนาสเู วทีสาธารณะ

121

ตอนที่ 6 ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ความคาดหวงั เพือ่ การอยรู ว มกนั อยา งมีความสขุ
2.4 การอยูรวมกันอยางมีความสุข หมายถึง ความคาดหวังหรือผลลัพธท่ีเกิดจากการปฏิบัติตนในการอยู
รวมกันในสังคมที่มีการพึ่งพาอาศัยกัน เกื้อกูลกัน และมีไมตรีตอกัน ของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย ประกอบดวย 1) ชวยเหลือและเอ้ือเฟอตอผูอ่ืน 2) พูดจาสุภาพและมีเหตุผล 3) คิดดีตอกัน 4)
แบงปนสิ่งของใหแกกัน 5) ปฏิบัติตามกฎเกณฑของหมูคณะ และ 6) เคารพและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น
วดั ไดจากขอ คาํ ถามท่ีผูวจิ ยั สรา งขนึ้ จาํ นวน 18 ขอ

1) ชวยเหลือและเอ้ือเฟอตอผูอื่น หมายถึง การแสดงออกทางพฤติกรรมของนิสิตมหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ในการชวยเหลือกันทงั้ เพื่อนนิสิตชาวไทยและชาวตางชาติ มีความเอ้ือเฟอกันในการ
ใชส ง่ิ ของที่เปน ของสวนรวมในระหวา งการดําเนินชีวิตภายในรวั้ มหาวทิ ยาลัย

2) พดู จาสภุ าพและมเี หตุผล หมายถงึ การแสดงออกทางวาจาดว ยการทกั ทายกันดวยภาษาท่ีสภุ าพ
อยางเปนกัลยาณมิตรในระหวางการดําเนินชีวิตประจําวันท้ังในหองเรียนและนอกหองเรียน รวมท้ังการ
สื่อสารกนั โดยใชเ หตผุ ลเปน สาํ คัญเมือ่ ตอ งรวมกันแกไขปญ หา

3) คิดดีตอกัน หมายถงึ การแสดงออกที่บง บอกถึงความปรารถนาดตี อกัน มีความเขาใจในวิถีปฏิบัติ
ของเพ่อื นนิสิตท่ีนับถอื พระพทุ ธศาสนาเหมอื นกนั แตมวี ตั รปฏบิ ตั ิบางอยางทแ่ี ตกตางกนั

4) แบงปนส่ิงของใหแกกัน หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกท่ีปรากฏในชั้นเรียนที่ตองใชอุปกรณ
ในการทํากิจกรรมรวมกัน จะมีการแบงปนกัน รวมท้ังการแบงปนอาหารหรือสิ่งของตางๆ ท่ีไดมาจากการ
บรจิ าคหรอื บิณฑบาตใหกับเพอ่ื นนิสิต

5) ปฏิบัติตามกฎเกณฑข องหมูคณะ หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออกเม่ือตองอยูรว มกันกบั เพ่ือน
นิสิตในระหวางเขารวมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย รวมทั้งการปฏิบัติตามกฎระเบียบในช้ันเรียนตามขอตกลงท่ี
ไดก าํ หนดไวรวมกนั

6) เคารพและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น หมายถึง การแสดงออกท้ังทางกาย วาจา และใจ
เก่ียวกับเคารพและรับฟงความคิดเห็นของผูอ่นื เมือ่ ตองเขารวมเปนสวนหนึ่งของทปี่ ระชุม หรือในระหวางการ
ทํากิจกรรมกลุมรวมกันท่ีตองใชการแสดงความคิดเห็นแลกเปล่ียนความรูกันดวยหลักเหตุผลและมีความคิด
ริเร่มิ สรา งสรรค

คําชี้แจง ขอใหท านทําเครอื่ งหมาย ลงในชอ งคะแนนทตี่ รงกบั ระดับความคดิ เหน็ ของตนเอง

ขอ ขอ คําถาม คะแนนความ ขอ เสนอแนะ
สอดคลอง(IOC)
ชวยเหลือและเอือ้ เฟอ ตอผูอนื่
1 นิสติ มจร ชว ยเหลือกนั ทงั้ เพอื่ นนสิ ิตชาวไทยและชาวตา งชาติ +1 0 -1
2 นิสิต มจร มคี วามเออ้ื เฟอ กันในการใชส่ิงของท่เี ปนของสวนรวม

122

ขอ ขอ คําถาม คะแนนความ ขอ เสนอแนะ
สอดคลอ ง(IOC)
+1 0 -1

3 นิสิต มจร แสดงออกทางพฤติกรรมท่ีดีตอกันในระหวางการดําเนิน
ชวี ิตในร้วั มหาวทิ ยาลัย

พูดจาสภุ าพและมีเหตผุ ล
4 นิสิต มจร ทกั ทายกนั ดวยภาษาที่สภุ าพอยางเปนกัลยาณมติ ร

5 นิสิต มจร สื่อสารกนั โดยใชเหตผุ ลเปนสาํ คญั เม่อื ตอ งแกปญหารว มกัน

6 นิสิต มจร เปนมิตรตอกันในการดําเนินชีวิตประจําวันทั้งในและนอก
หอ งเรียน

คิดดีตอ กนั
7 นสิ ติ มจร แสดงออกท่ีบง บอกถึงความปรารถนาดตี อกนั
8 นิสิต มจร เขาใจในวิถีปฏิบัติของเพื่อนนิสิตท่ีนับถือพระพุทธศาสนา

เหมือนกนั แตมีวัตรปฏิบัตบิ างอยา งทแ่ี ตกตา งกัน

9 นิสติ มจร เคารพในแบบแผนและการปฏบิ ตั ิตนของเพอ่ื นนิสติ อาเซียน

แบงปน ส่ิงของใหแกกนั
10 นิสิต มจร แบงปนอุปกรณในการทํากิจกรรมรวมกนั ในชัน้ เรยี น
11 นิสติ มจร แบงปน สิ่งของและเครื่องอุปโภคบริโภคใหแ กกนั

12 นสิ ติ มจร แบงปนประสบการณแ ละการเรยี นรเู ชงิ วฒั นธรรมใหแ กก ัน

ปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑข องหมูคณะ
13 นิสิต มจร แสดงพฤตกิ รรมท่ดี ตี อกันเมอื่ เขารวมกิจกรรมของ
14 นิสิต มจร ปฏบิ ตั ติ ามขอตกลงในช้นั เรียนตามทีไ่ ดกําหนดไวรวมกนั
15 นิสิต มจร ปฏิบัตติ นตามขอบังคับและกฎระเบียบของมหาวทิ ยาลัย
เคารพและรับฟง ความคดิ เห็นของผอู ่ืน
16 นิสิต มจร แสดงออกทางกายในการเคารพและรบั ฟง ความคิดเห็นของ

ผอู ่นื

17 นิสิต มจร แสดงออกทางวาจาที่เหมาะสมเมือ่ ตองรว มแสดงความ

คิดเห็นในท่ีประชมุ

18 นิสิต มจร คิดและนาํ เสนอความคิดเหน็ ในท่ีประชุมดวยหลกั เหตผุ ล

และมีความคิดริเริม่ สรา งสรรค

123

แบบสอบถามสาํ หรบั การวิจยั เร่ือง

รปู แบบการจดั การเรยี นรขู า มวัฒนธรรมอาเซยี นในกลมุ ประเทศ CLMV
สาํ หรบั นสิ ติ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

An Instructional Model of ASEAN Cross Culture in CLMV Countries
for Students in Mahachulalongkornrajavidyalaya University
(ทุนวิจัยมงุ เปา ป 2560)

คําชี้แจง แบบสอบถามสําหรบั การวจิ ยั ครง้ั น้แี บงเปน 6 ตอน ดงั นี้
ตอนที่ 1 ขอ มูลทัว่ ไปของผตู อบแบบสอบถาม จาํ นวน 5 ขอ
ตอนที่ 2 ความคิดเหน็ เกีย่ วกบั การจัดการเรียนรูขา มวัฒนธรรมอาเซยี น จาํ นวน 18 ขอ
ตอนท่ี 3 ความคิดเหน็ เกีย่ วกับองคป ระกอบของการเรียนรูขา มวัฒนธรรม จาํ นวน 15 ขอ
ตอนท่ี 4 ความคดิ เห็นเกยี่ วกบั กระบวนการเรียนรขู า มวฒั นธรรมอาเซยี น จาํ นวน 15 ขอ
ตอนที่ 5 ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั กจิ กรรมเพ่ือการเรียนรขู ามวัฒนธรรม จาํ นวน 15 ขอ
ตอนท่ี 6 ความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั การอยูรวมกันอยา งมีความสขุ จํานวน 18 ขอ

ตอนที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของผตู อบแบบสอบถาม
คาํ ชีแ้ จง โปรดทาํ เครือ่ งหมาย  ลงใน  ที่ตรงตามขอมูลของทาน

1. เพศ

1. นิสิตบรรพชติ 2. นิสิตคฤหสั ถช าย

3. นิสติ คฤหสั ถห ญิง

2. อายุ

 1. ต่าํ กวา 20 ป  2. 21 – 30 ป

 3. 31 – 40 ป  4. 41 ปข นึ้ ไป

3. ระดบั ชนั้ ปทกี่ าํ ลังศกึ ษา

 1. ชั้นปท่ี 1  2. ชัน้ ปท ่ี 2

 3. ชัน้ ปท ี่ 3  4. ชัน้ ปท ่ี 4

4. คณะที่สงั กดั

 1. คณะพทุ ธศาสตร  2. คณะสังคมศาสตร

 3. คณะครุศาสตร  4. คณะมนษุ ยศาสตร

5. หนว ยงานทสี่ ังกัด

 1. สว นกลาง (มจร วงั นอ ย)  2. วิทยาเขต

 3. วทิ ยาลยั สงฆ  4. หองเรียนหรอื หนว ยวทิ ยบริการ

124

คาํ ชแี้ จง คาํ ถามในตอนท่ี 2-6 นีเ้ ปน ขอ คาํ ถามท่มี ีการใหค ะแนนแบบมาตรวัดประมาณคา (Rating Scale)
ทม่ี รี ะดับการใหค ะแนนของผตู อบแบบสอบถามเปน 5 ระดับ ดงั นี้
5 คะแนน แทน มีระดบั คุณภาพ มากทสี่ ดุ
4 คะแนน แทน มีระดับคุณภาพ มาก
3 คะแนน แทน มีระดบั คณุ ภาพ ปานกลาง
2 คะแนน แทน มีระดบั คุณภาพ นอ ย
1 คะแนน แทน มีระดับคุณภาพ นอยทสี่ ดุ

ตอนที่ 2 ความคิดเหน็ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซยี น
คาํ ชี้แจง ขอใหนิสติ ทาํ เคร่ืองหมาย ลงในชอ งคะแนนทตี่ รงกับระดบั ความคิดเหน็ ของตนเอง

ขอ รายการ ระดบั คณุ ภาพ
54321
มุง เนน การอยรู ว มกันอยา งสนั ติ
1 ความมีนํ้าใจไมตรีจะทําใหอยูรวมกันอยางสันติระหวางนิสิตไทยกับนิสิต
อาเซยี น

2 การเอาใจเขามาใสใจเราจะเพ่ิมความเขาใจวิถีชีวิตของนิสิตอาเซียนท่ีมา
เรียนในมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร)

3 การเขา ใจวิถกี ารดาํ เนนิ ชวี ติ ของกนั และกันจะกอใหเกิดการอยูรวมกนั อยา ง
สรา งสรรค

คนุ เคยกับวัฒนธรรมอาเซียน
4 การเขารวมกิจกรรมเรียนรูขามวัฒนธรรมจะทําใหคุนเคยกับวัฒนธรรม

อาเซียน

5 การเขารวมกิจกรรมการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนทําใหมีความเขาใจ
ในวฒั นธรรมของประเทศอาเซียน

6 ความคุนเคยเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาของเพ่ือนนิสิตอาเซียนจะ
ทาํ ใหอ ยูรว มกนั อยางเขา ใจ

เรียนรูผ านกระบวนการวจิ ัย
7 การเรยี นรวู ฒั นธรรมอาเซียนสามารถศึกษาคน ควา ดว ยตนเอง
8 การเรียนรูวัฒนธรรมอาเซียนสามารถทําไดโดยการเขารวมกิจกรรมของ

มหาวทิ ยาลัย

9 การเรียนรูวัฒนธรรมอาเซียนสามารถศึกษาไดโดยการสังเกตวิถีชีวิตและ
ความเปน อยูข องเพือ่ นนิสติ ท่ีมาจากประเทศอาเซยี น

รูจ กั อาเซยี นดวยนวัตกรรม
10 การเรียนรูเรื่องวฒั นธรรมอาเซยี นสามารถศึกษาไดจ ากส่อื ออนไลน

125

ขอ รายการ ระดบั คณุ ภาพ
54321
11 การรวมทํากิจกรรมการเรียนรูขามวัฒนธรรมอาเซียนจะทําใหรูจักอาเซียน
มากขน้ึ

12 การไดชม Clip เก่ียวกับนวัตกรรมการเรียนรูขามวัฒนธรรมจะชวยให
เรียนรูเกี่ยวกบั วัฒนธรรมอาเซียน

ประเมนิ ผลตามสภาพจริง
13 การทาํ กจิ กรรมกลมุ ทําใหม ีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรเู ร่ืองอาเซยี น
14 ความรว มมือในการทํากิจกรรมกลมุ ชว ยใหท ํางานไดเสรจ็ ตามกําหนด
15 การนําเสนอผลงานกลุมแสดงออกถงึ ความเขาใจในวัฒนธรรมอาเซยี น
คุณภาพของส่ือการเรียนรู
16 การผลติ สือ่ ความรูเร่อื งอาเซียนจะชวยความเขา ใจในวัฒนธรรมอาเซียน
17 การเรียนรูว ฒั นธรรมอาเซียนสามารถเรียนรไู ดจ ากการศึกษาเชงิ พ้ืนที่
18 การเรยี นรวู ฒั นธรรมอาเซียนสามารถเรยี นรไู ดจ ากส่อื วิดที ัศน

126

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเก่ียวกับองคประกอบของการเรยี นรขู า มวฒั นธรรม

คาํ ช้แี จง ขอใหนสิ ติ ทําเคร่ืองหมาย ลงในชองคะแนนทต่ี รงกบั ระดบั ความคิดเหน็ ของตนเอง

ขอ รายการ ระดบั คณุ ภาพ
แบบแผนในการปฏิบัตติ น 54321
1 นสิ ิต มจร พงึ ยึดหลักการคําสอนในทางพระพทุ ธศาสนา
2 นิสิต มจร พึงฝกปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ของศาสนา
3 นิสิต มจร พงึ รักษาความเปนกลั ยาณมติ ร
4 นิสิต มจร พงึ ดแู ลและชวยเหลอื กันภายในกลุมหรือนิกาย
5 ศาสนามีอทิ ธพิ ลของตอความเปนอยขู องนสิ ิต มจร
หลักปฏิบัตใิ นการอยรู วมกนั
6 นสิ ติ มจร พึงเรียนรูภ าษาท่ีใชในการสื่อสารกัน
7 นิสติ มจร พงึ ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย
8 นสิ ิต มจร พงึ หันหนา เขาหากนั เพ่ือรวมกันแกไ ขปญ หา
9 นิสติ มจร พงึ เขารวมกจิ กรรมท่ที างมหาวิทยาลยั จัดขน้ึ
10 นสิ ติ มจร พงึ ใหความเคารพนบั ถอื กัน เรยี นรูกันและทํางานรวมกนั
การนับถือนกิ ายทางพระพุทธศาสนา
11 นสิ ิต มจร พึงรกั ษาธรรมเนียมประเพณแี ละวถิ ปี ฏบิ ัติ
12 นสิ ติ มจร พงึ ปฏบิ ตั ิตามพระธรรมวนิ ยั
13 นิสิต มจร พึงปฏิบตั ิตามระเบียบขอตกลงรว มกนั ของมหาวทิ ยาลยั
14 นิสิต มจร พึงรกั ษาเอกลักษณและอตั ลักษณท างศาสนา
15 นสิ ิต มจร พงึ สรางใหเกดิ การแลกเปลี่ยนเรียนรูใ นเชิงวัฒนธรรมอาเซียน

127

ตอนที่ 4 ความคดิ เห็นเก่ยี วกบั กระบวนการเรยี นรูขา มวัฒนธรรมอาเซยี น
คําชี้แจง ขอใหนิสติ ทําเครื่องหมาย ลงในชอ งคะแนนทต่ี รงกบั ระดบั ความคิดเหน็ ของตนเอง

ขอ รายการ ระดบั คณุ ภาพ
54321
เปดใจรบั วัฒนธรรมใหม
1 ขาพเจา แสดงออกและสนใจศึกษาเก่ยี วกบั เร่อื งราวของประเทศอาเซยี น
2 ขา พเจา สนใจติดตอสอ่ื สารพูดคยุ กบั เพ่อื นนสิ ติ ชาวตางชาตอิ ยา งเปนกนั เอง
3 ขาพเจายินดีเขารวมกิจกรรมทางวัฒนธรรมของเพื่อนนิสิตอาเซียนตาม
โอกาส
เตรียมใจเรยี นรูส่ิงที่แตกตาง
4 ขา พเจา กลาเผชญิ กับการเปลี่ยนแปลงทางวฒั นธรรมที่เกิดข้นึ
5 ขา พเจาเรียนรูเกีย่ วกับวฒั นธรรมอนื่ เพอื่ ปรบั ตวั ในการดํารงชีวติ
6 ขาพเจา ปรบั ใจเมอื่ อยใู นบริบทอื่นทีแ่ ตกตางจากทเ่ี คยเปนอยู
ปรับอารมณใ หเ ขา กับสถานการณ
7 ขาพเจาปรับสภาพจิตใจใหพรอมรับกับกระแสความเปลี่ยนแปลงทาง
วัฒนธรรม
8 ขา พเจาสนใจแลกเปลยี่ นเรยี นรูทางวัฒนธรรมเพื่อนนิสิตทม่ี าจากชาติอื่น

9 ขาพเจาจะทาํ ตัวใหเ ปน สวนหนง่ึ ในการทํากิจกรรมกลมุ กบั เพอ่ื นชาติอืน่
เขาใจพฤติกรรมของนิสติ ชาตอิ ื่น
10 ขาพเจา จะแสดงออกอยา งปกติเมอ่ื ตอ งพดู คยุ กบั เพ่ือนชาวตา งชาติ
11 ขา พเจา เขาใจในวถิ ีการปฏิบัติตนของเพอ่ื นนิสิตในแตล ะประเทศ
12 ขา พเจา เขาใจวา แตละประเทศมีหลักยดึ ถอื ปฏบิ ัตทิ ่ีแตกตางกนั
ปรับกระบวนทัศนใ นเรื่องวัฒนธรรม
13 ขา พเจา ยอมรับเกีย่ วกับแบบแผนในการปฏบิ ตั ิตนของเพ่อื นนสิ ติ อาเซียน
14 ขาพเจา ยอมรบั เกยี่ วกับหลักปฏิบัติในการอยูร วมกันของเพ่อื นนสิ ติ อาเซยี น
15 ขา พเจา ยอมรับการนับถอื นิกายทางพระพทุ ธศาสนาของเพอ่ื นนสิ ิตอาเซยี น

128

ตอนที่ 5 ความคิดเหน็ เกยี่ วกับกจิ กรรมเพื่อการเรยี นรขู ามวัฒนธรรม
คําชี้แจง ขอใหนิสติ ทําเครอื่ งหมาย ลงในชอ งคะแนนทตี่ รงกบั ระดบั ความคิดเหน็ ของตนเอง

ขอ รายการ ระดบั คณุ ภาพ
54321
แลกเปล่ยี นเรยี นรจู ากประสบการณตน
1 นิสิต มจร ควรสนใจในการสืบเสาะหาความรูและแสดงความคิดเห็นของ
ตนเองตอ เพ่อื นนิสิตอาเซยี น

2 นิสิต มจร ควรนําเสนอประเด็นความคิดเก่ียวกับวัฒนธรรมอาเซียนท่ีไดมา
จากประสบการณส วนตัว

3 นิสติ มจร ควรสนใจเขา รว มแลกเปลี่ยนเรยี นรูเกี่ยวกับวฒั นธรรมอาเซียน

4 นสิ ติ มจร ควรมสี วนรว มในการสรปุ ประเดน็ ทเ่ี กิดจากการสนทนากลมุ

5 นิสติ มจร ควรสนใจเขารวมกจิ กรรมนาํ เสนอผลงานกลมุ ตอเพอื่ นรวมชั้น

สาธิตกจิ กรรมเชงิ วัฒนธรรม
6 นิสิต มจร ควรรวมกันวางแผนและนําเสนอผลงานทางวัฒนธรรมอาเซียน

อยเู สมอ
7 นสิ ิต มจร ควรสงั เกตหรือเขา รวมในวฒั นธรรมของเพ่ือนนสิ ิตอาเซยี น
8 นิสิต มจร ควรมีการสาธิตและเขารวมกิจกรรมวัฒนธรรมทางศาสนาตาม

โอกาส
9 นิสิต มจร ควรแสดงออกถึงการสงเสริมอัตลักษณทางวัฒนธรรมของเพ่ือน

นิสิตอาเซยี น
10 นิสิต มจร ควรแสดงออกถึงการปฏิบัติตามวัฒนธรรมของตนและเขาใจ

วฒั นธรรมอ่ืน
เรยี นรูแบบการรว มมอื รวมพลงั
11 นิสติ มจร ควรเขา รวมกจิ กรรมของเพ่อื นนสิ ิตทม่ี าจากประเทศอาเซยี น
12 นิสิต มจร ควรรวมกันออกแบบกิจกรรมเพ่ือผลิตสื่อหรือนวัตกรรมทาง

ศาสนาที่เนนการระดมความคิด
13 นิสิต มจร ควรตัดสินใจรวมกันในการกําหนดทิศทางหรือแนวทางในการ

พัฒนานวตั กรรมรวมกนั
14 นิสิต มจร ควรเปด ใจรับฟงและรวมแสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื นาํ ไปสูเปา หมาย
15 นสิ ติ มจร ควรรว มมือกันเผยแพรว ัฒนธรรมทางศาสนาสเู วทสี าธารณะ

129

ตอนท่ี 6 ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ความคาดหวังเพอ่ื การอยูรว มกนั อยางมคี วามสุข
คําชแี้ จง ขอใหนสิ ิตทาํ เครอ่ื งหมาย ลงในชอ งคะแนนทตี่ รงกับระดับความคดิ เหน็ ของตนเอง

ขอ รายการ ระดบั คณุ ภาพ
54321
ชว ยเหลือและเอือ้ เฟอ ตอผูอนื่
1 นสิ ติ มจร ชวยเหลือกันทง้ั เพ่ือนนิสติ ชาวไทยและชาวตางชาติ
2 นิสิต มจร มคี วามเอือ้ เฟอกันในการใชส ่งิ ของที่เปนของสวนรวม
3 นิสิต มจร แสดงออกทางพฤติกรรมที่ดีตอกันในระหวางการดําเนินชีวิตใน
รัว้ มหาวิทยาลยั

พูดจาสภุ าพและมีเหตุผล
4 นิสิต มจร ทักทายกนั ดวยภาษาทีส่ ุภาพอยา งเปน กลั ยาณมิตร
5 นสิ ิต มจร สอ่ื สารกันโดยใชเ หตุผลเปนสาํ คญั เมอ่ื ตองแกปญหารว มกัน
6 นิสติ มจร เปน มติ รตอ กันในการดาํ เนินชวี ิตประจาํ วนั ทั้งในและนอกหองเรยี น
คิดดตี อ กนั
7 นิสติ มจร แสดงออกที่บงบอกถึงความปรารถนาดีตอกัน
8 นิสิต มจร เขาใจในวิถีปฏิบัติของเพื่อนนิสิตท่ีนับถือพระพุทธศาสนา

เหมอื นกนั แตมีวัตรปฏบิ ตั ิบางอยา งท่ีแตกตา งกนั

9 นสิ ติ มจร เคารพในแบบแผนและการปฏิบตั ติ นของเพอื่ นนิสิตอาเซยี น
แบงปนสงิ่ ของใหแกก นั
10 นสิ ติ มจร แบงปนอปุ กรณในการทาํ กิจกรรมรวมกันในชั้นเรยี น
11 นสิ ิต มจร แบง ปน สิ่งของและเคร่อื งอปุ โภคบรโิ ภคใหแ กกนั
12 นสิ ิต มจร แบงปน ประสบการณแ ละการเรียนรเู ชิงวัฒนธรรมใหแ กก ัน
ปฏิบัตติ ามกฎเกณฑของหมูคณะ
13 นสิ ิต มจร แสดงพฤติกรรมทีด่ ตี อกนั เมอ่ื เขารวมกิจกรรมของมหาวิทยาลยั

14 นสิ ติ มจร ปฏิบตั ิตามขอตกลงในชัน้ เรยี นตามทไ่ี ดกาํ หนดไวรว มกัน
15 นิสิต มจร ปฏบิ ตั ติ นตามขอ บงั คบั และกฎระเบียบของมหาวทิ ยาลัย
เคารพและรบั ฟงความคิดเหน็ ของผูอ ื่น
16 นสิ ติ มจร แสดงออกทางกายในการเคารพและรับฟง ความคิดเห็นของผูอ นื่
17 นสิ ิต มจร แสดงออกทางวาจาท่เี หมาะสมเมื่อตองรว มแสดงความคิดเห็น

ในทป่ี ระชมุ
18 นิสิต มจร คิดและนําเสนอความคิดเห็นในทปี่ ระชมุ ดว ยหลักเหตผุ ลและมี

ความคดิ ริเรมิ่ สรา งสรรค

130

บทท่ี 7
Print out
ผลการวเิ คราะห์เฉพาะในส่วนท่สี าคัญ

Full Model

132

Print out

ผลการวิเคราะหโ์ มเดลความสมั พันธเ์ ชิงสาเหตกุ ารจัดการเรียนรขู้ ้ามวฒั นธรรมอาเซียน
ในกลุ่มประเทศ CLMV สาหรบั นิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
โดยนาเสนอผลการวิเคราะห์เฉพาะในส่วนท่สี าคัญ

The following lines were read from file C:\LISREL Model_วช\Full
Model\Model2\Full Model.spl:

Full Model
SYSTEM FILE from file 'C:\LISREL Model_วช\Full Model\New\Model2.dsf'
Latent Variables COMASE PROASE ACTASE HAPLIVE LEARNASE
Relationships
COM1 = COMASE
COM2 = COMASE
COM3 = COMASE
PRO1 = PROASE
PRO2 = PROASE
PRO3 = PROASE
PRO4 = PROASE
PRO5 = PROASE
ACT1 = ACTASE
ACT2 = ACTASE
ACT3 = ACTASE
HAPLIV1 = HAPLIVE
HAPLIV2 = HAPLIVE
HAPLIV3 = HAPLIVE
HAPLIV4 = HAPLIVE
HAPLIV5 = HAPLIVE
HAPLIV6 = HAPLIVE
LEARN1 = LEARNASE
LEARN2 = LEARNASE
LEARN3 = LEARNASE
LEARN4 = LEARNASE
LEARN5 = LEARNASE
LEARN6 = LEARNASE
HAPLIVE = COMASE PROASE ACTASE
COMASE = LEARNASE
PROASE = LEARNASE
ACTASE = LEARNASE
HAPLIVE = LEARNASE
Set error covariance of LEARN2 and LEARN1 free
Set error covariance of HAPLIV2 and HAPLIV1 free
Set error covariance of PRO5 and PRO1 free
Set error covariance of LEARN3 and LEARN2 free
Set error covariance of HAPLIV3 and HAPLIV1 free
Set error covariance of LEARN6 and PRO4 free
Set error covariance of LEARN3 and PRO4 free
Set error covariance of HAPLIV3 and HAPLIV2 free
Set error covariance of HAPLIV3 and LEARN1 free
Set error covariance of PRO2 and COM2 free
Set error covariance of PRO1 and LEARN2 free
Set error covariance of HAPLIV1 and ACT1 free
Set error covariance of HAPLIV4 and ACT2 free

133

Set error covariance of HAPLIV6 and PRO5 free
Set error covariance of LEARN1 and LEARN5 free
Set error covariance of LEARN6 and COM2 free
Set error covariance of LEARN6 and LEARN5 free
Set error covariance of LEARN4 and LEARN5 free
Set error covariance of LEARN3 and LEARN5 free
Set error covariance of PRO2 and ACT1 free
Set error covariance of HAPLIV6 and PRO2 free
Set error covariance of LEARN5 and LEARN2 free
Set error covariance of LEARN6 and LEARN3 free
Set error covariance of LEARN4 and LEARN2 free
Set error covariance of HAPLIV4 and HAPLIV2 free
Set error covariance of PRO2 and PRO1 free
Set error covariance of LEARN3 and LEARN1 free
Set error covariance of HAPLIV5 and HAPLIV1 free
Set error covariance of HAPLIV6 and PRO3 free
Set error covariance of HAPLIV4 and HAPLIV3 free
Set error covariance of PRO4 and PRO1 free
Set error covariance of PRO3 and PRO2 free
Set error covariance of ACT1 and PRO1 free
Set error covariance of COM2 and COM1 free
Set error covariance of PRO5 and ACT1 free
Set error covariance of HAPLIV4 and PRO3 free
Set error covariance of HAPLIV6 and COM2 free
Set error covariance of LEARN1 and PRO4 free
Set error covariance of LEARN6 and LEARN1 free
Set error covariance of LEARN6 and LEARN2 free
Set error covariance of HAPLIV4 and ACT1 free
Set error covariance of HAPLIV1 and PRO4 free
Set error covariance of PRO5 and COM3 free
Set error covariance of HAPLIV6 and LEARN1 free
Set error covariance of HAPLIV2 and LEARN6 free
Set error covariance of PRO5 and COM1 free
Set error covariance of LEARN4 and PRO4 free
Set error covariance of LEARN4 and LEARN3 free
Set error covariance of PRO3 and PRO1 free
Set error covariance of PRO5 and PRO2 free
Set error covariance of LEARN5 and PRO4 free
Set error covariance of PRO5 and LEARN3 free
Set error covariance of PRO2 and LEARN3 free
Set error covariance of ACT1 and COM2 free
Set error covariance of LEARN6 and LEARN4 free
Set error covariance of PRO4 and LEARN2 free
Set error covariance of PRO5 and PRO3 free
Set error covariance of ACT3 and PRO3 free
Set error covariance of LEARN1 and LEARN4 free
Set error covariance of LEARN3 and PRO3 free
Set error covariance of LEARN1 and HAPLIV1 free
Set error covariance of LEARN3 and HAPLIV3 free
Set error covariance of LEARN3 and ACT2 free
Set error covariance of LEARN2 and COM2 free
Set error covariance of ACT1 and COM3 free
Set error covariance of COM2 and PRO5 free
Set error covariance of ACT1 and HAPLIV3 free
Set error covariance of ACT2 and HAPLIV5 free
Set error covariance of HAPLIV3 and HAPLIV5 free
Set error covariance of LEARN3 and HAPLIV2 free
Set error covariance of PRO1 and COM3 free
Set error covariance of HAPLIV1 and LEARN4 free
Set error covariance of ACT2 and PRO1 free
Set error covariance of PRO2 and COM1 free
Set error covariance of HAPLIV4 and COM1 free
Set error covariance of LEARN3 and ACT1 free
Set error covariance of HAPLIV1 and PRO1 free

134

Set error covariance of HAPLIV1 and PRO2 free
Set error covariance of LEARN2 and PRO5 free
Set error covariance of HAPLIV4 and LEARN5 free
Set error covariance of HAPLIV6 and ACT3 free
Set error covariance of HAPLIV6 and COM3 free
Set error covariance of HAPLIV3 and PRO5 free
Set error covariance of HAPLIV2 and PRO2 free
Set error covariance of HAPLIV1 and PRO3 free
Set error covariance of LEARN6 and COM3 free
Set error covariance of LEARN6 and PRO3 free
Set error covariance of LEARN2 and PRO3 free
Set error covariance of COM3 and PRO3 free
Set error covariance of ACT1 and PRO3 free
Set error covariance of LEARN6 and PRO2 free
Set error covariance of HAPLIV4 and COM3 free
Set error covariance of HAPLIV6 and HAPLIV2 free
Set error covariance of HAPLIV6 and HAPLIV1 free
Set error covariance of LEARN5 and COM1 free
Set error covariance of LEARN6 and COM1 free
Set error covariance of LEARN5 and PRO2 free
Set error covariance of PRO2 and HAPLIV4 free
Set error covariance of HAPLIV3 and PRO2 free
Set error covariance of PRO2 and HAPLIV5 free
Set error covariance of LEARN6 and HAPLIV5 free
Set error covariance of LEARN1 and PRO2 free
Set error covariance of LEARN1 and COM2 free
Set error covariance of HAPLIV1 and COM2 free
Set error covariance of HAPLIV1 and COM3 free
Set error covariance of HAPLIV5 and COM2 free
Set error covariance of HAPLIV1 and COM1 free
Path Diagram
LISREL OUTPUT: ME=ML RS EF SS SE TV FS SC MI AD=OFF

End of Problem

Full Model

Covariance Matrix

COM1 COM2 COM3 PRO1 PRO2 PRO3

-------- -------- -------- -------- -------- --------

COM1 4.99

COM2 6.00 10.43

COM3 35.08 54.03 371.23

PRO1 3.81 5.87 39.70 10.43

PRO2 3.09 5.20 32.20 6.98 6.62
9.22
PRO3 5.48 8.42 55.46 11.12 5.48 17.43
14.27 9.07
PRO4 3.94 5.94 36.56 6.67 8.22
21.92 24.28
PRO5 8.25 13.37 83.89 16.75 13.07 12.89
4.38 36.35
ACT1 5.14 8.36 52.03 9.67 7.21 21.09
11.42
ACT2 15.00 23.18 144.03 25.91 5.43 7.34
5.43 12.25
ACT3 8.61 13.55 83.36 15.70 4.94 19.93
2.93
HAPLIV1 3.40 5.05 32.27 5.51 27.44 9.20
6.37 9.21
HAPLIV2 5.96 9.06 57.25 8.88 8.37
5.12
HAPLIV3 9.73 14.61 92.65 14.39 48.16
11.05
HAPLIV4 4.50 6.97 44.65 6.77

HAPLIV5 4.53 7.02 43.42 6.68

HAPLIV6 3.86 6.07 37.69 5.79

LEARN1 2.68 3.76 24.55 3.84

LEARN2 23.62 32.66 214.87 33.43

LEARN3 5.54 8.06 49.49 8.46

135

LEARN4 3.94 5.94 36.56 6.67 5.48 9.07
LEARN5 19.57 26.72 168.64 28.18 21.69 37.37
LEARN6 15.59 23.21 135.34 23.34 17.86 30.48

Covariance Matrix

PRO4 PRO5 ACT1 ACT2 ACT3 HAPLIV1

-------- -------- -------- -------- -------- --------

PRO4 9.72

PRO5 14.10 44.89

ACT1 8.13 21.57 16.11

ACT2 23.60 59.96 39.23 126.49

ACT3 13.39 35.55 23.47 67.24 44.89
12.17
HAPLIV1 4.56 12.00 6.78 20.43 20.01 6.00
32.55 9.10
HAPLIV2 8.04 20.40 11.74 33.53 15.33 14.07
15.22 6.49
HAPLIV3 12.84 32.52 19.39 54.65 13.43 6.22
5.36
HAPLIV4 6.06 15.80 8.75 25.47 8.05 3.06
71.28 25.04
HAPLIV5 6.09 15.48 8.94 25.12 17.33 6.15
13.39 4.56
HAPLIV6 5.15 14.04 7.75 22.49 58.92 21.32
49.37 17.51
LEARN1 4.51 7.96 4.81 13.59

LEARN2 41.53 76.36 42.84 121.68

LEARN3 11.08 17.08 10.83 31.27

LEARN4 9.71 14.10 8.13 23.60

LEARN5 36.48 58.39 35.67 103.10

LEARN6 29.72 48.54 28.83 84.91

Covariance Matrix

HAPLIV2 HAPLIV3 HAPLIV4 HAPLIV5 HAPLIV6 LEARN1

-------- -------- -------- -------- -------- -------- 9.72
8.73
HAPLIV2 17.43 7.27
3.93
HAPLIV3 25.63 44.89 34.00
8.07
HAPLIV4 11.64 19.02 6.06
28.56
HAPLIV5 11.18 18.64 22.63 9.72
7.23
HAPLIV6 9.23 15.27 3.89 6.62
33.31 3.11
LEARN1 5.10 8.69 8.09 27.99 4.01
6.09 6.81 29.01
LEARN2 44.01 70.66 28.28 5.15
23.22 23.26 6.34
LEARN3 10.94 17.91 18.91 4.51
22.05
LEARN4 8.04 12.84 17.08

LEARN5 37.35 60.60

LEARN6 30.79 48.37

Covariance Matrix

LEARN2 LEARN3 LEARN4 LEARN5 LEARN6

-------- -------- -------- -------- -------- 17.43
11.08
LEARN2 289.45 50.43
38.75
LEARN3 59.30

LEARN4 41.53 9.72
36.48
LEARN5 191.55 29.72 207.14
141.50
LEARN6 150.86 126.49

Full Model
Parameter Specifications

LAMBDA-Y

136

COMASE PROASE ACTASE HAPLIVE

-------- -------- -------- -------- 0 0 0
0 0 0
COM1 0 0 0 0
0 0 0
COM2 1 3 0 0
4 0 0
COM3 2 5 0 0
6 0 0
PRO1 0 0 0 0
0 7 0
PRO2 0 0 8 0
0 0 0
PRO3 0 0 0 9
0 0 10
PRO4 0 0 0 11
0 0 12
PRO5 0 0 0 13

ACT1 0

ACT2 0

ACT3 0

HAPLIV1 0

HAPLIV2 0

HAPLIV3 0

HAPLIV4 0

HAPLIV5 0

HAPLIV6 0

LAMBDA-X

-------- LEARNASE

LEARN1 14
LEARN2 15
LEARN3 16
LEARN4 17
LEARN5 18
LEARN6 19

BETA

COMASE PROASE ACTASE HAPLIVE

-------- -------- -------- -------- 0 0 0
0 0 0
COMASE 0 0 0 0
21 22 0
PROASE 0

ACTASE 0

HAPLIVE 20

GAMMA

-------- LEARNASE

COMASE 23
PROASE 24
ACTASE 25
HAPLIVE 26

PSI PROASE ACTASE HAPLIVE
COMASE 29 30

-------- -------- -------- --------

27 28

THETA-EPS

COM1 COM2 COM3 PRO1 PRO2 PRO3
40
-------- -------- -------- -------- -------- --------

COM1 31

COM2 32 33

COM3 0 0 34
35 36
PRO1 0 0
0 39
PRO2 37 38

137

PRO3 0 0 41 42 43 44
0 45 0 0
PRO4 0 0 50
49 56 51 52
PRO5 47 48 55 61 57 58

ACT1 0 54 0 0 0 0
0 68 0 63
ACT2 0 0 67 69 70
0 0 74
ACT3 0 0 0 0 77 0
84 0 85 0
HAPLIV1 65 66 0 0 93 86
99 0 100 0
HAPLIV2 0 0 101
ACT1 ACT2 ACT3
HAPLIV3 0 0 HAPLIV1
60 62 64
HAPLIV4 83 0 0 0 0 73
0 0 0 75
HAPLIV5 0 92 0 0 80
72 0 0
HAPLIV6 0 98 0 0 0
88 95
THETA-EPS 79 94 103 104
87
PRO4 PRO5 0 HAPLIV6 PRO3
0
-------- -------- -------- -------- -------- -------- 53 0 HAPLIV5 106 0
59 116
PRO4 46 HAPLIV4 97 PRO2 122
0 0
PRO5 0 0 91 108 0
0 0 PRO1 0 0
ACT1 0 0 0 151
78 0 121
ACT2 0 0 COM3 115 0
0
ACT3 0 102 0 0 139
0 0 150
HAPLIV1 71 0 0
0 0
HAPLIV2 0 0
149
HAPLIV3 0

HAPLIV4 0

HAPLIV5 0

HAPLIV6 0

THETA-EPS

HAPLIV2 HAPLIV3

-------- -------- -------- -------- -------- 82
90
HAPLIV2 76 96

HAPLIV3 81 0

HAPLIV4 89

HAPLIV5 0

HAPLIV6 105

THETA-DELTA-EPS

COM1 COM2

-------- -------- -------- -------- -------- -------- 107
114
LEARN1 0
0
LEARN2 0 0
0
LEARN3 0 148

LEARN4 0

LEARN5 138

LEARN6 147

THETA-DELTA-EPS

PRO4 PRO5 ACT1 ACT2 ACT3 HAPLIV1

-------- -------- -------- -------- -------- -------- 0 0 0 0 110
118 0 0 0 0
LEARN1 109 124 125 126 0 0
0 0 0
LEARN2 117 0 0 0 0 133
0 0 0 0 0
LEARN3 123 0 0

LEARN4 132

LEARN5 140

LEARN6 152

138

THETA-DELTA-EPS

HAPLIV2 HAPLIV3 HAPLIV4 HAPLIV5 HAPLIV6
0 112
-------- -------- -------- -------- -------- 111 0 0 0
0 0 0 0
LEARN1 0 0 0 0
128 0 0 0
LEARN2 0 0 141 0
0 0 154
LEARN3 127 0 LEARN5
LEARN4
LEARN4 0 146
137 159
LEARN5 0 145
158
LEARN6 153
HAPLIVE
THETA-DELTA

LEARN1 LEARN2 LEARN3 LEARN6
160
-------- -------- -------- -------- -------- -------- 131
136
LEARN1 113 144
157
LEARN2 119 120

LEARN3 129 130

LEARN4 134 135

LEARN5 142 143

LEARN6 155 156

Full Model
Number of Iterations =406

LISREL Estimates (Maximum Likelihood)

LAMBDA-Y

COMASE PROASE ACTASE

-------- -------- -------- --------

COM1 1.91 -- -- --

COM2 2.95 -- -- --
(0.08) 35.24

COM3 18.54 -- -- --
(0.61) 30.48

PRO1 - - 2.66 -- --

PRO2 - - 2.21 -- --
(0.07) 33.23

PRO3 - - 3.65 -- --
(0.11)

32.04

PRO4 - - 2.40 -- --
(0.11)

21.06

PRO5 - - 6.00 -- --
(0.21) 28.37

ACT1 - - - - 3.71 --


Click to View FlipBook Version