The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by piyanat.so, 2021-03-17 22:11:22

LISREL Workshop_Manual_18-19March2021

LISREL Workshop_Manual_18-19March2021







คมู อื การวิเคราะหโมเดลสมการโครงสราง SEM
ดว ยโปรแกรม LISREL

ลําพอง กลมกูล
สวนวจิ ัย สารสนเทศและบรกิ ารวิชาการ ศูนยอาเซียนศึกษา

มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
พ.ศ.2564



คมู ือการวเิ คราะหโ มเดลสมการโครงสราง SEM ดวยโปรแกรม LISREL

ผูเขยี น ลําพอง กลมกลู
พสิ ูจนอ ักษร มุกรวี ฉมิ พะเนาว
ออกแบบปก อรุณรัตน วไิ ลรัตนกุล
พมิ พครั้งแรก พระมหาปยะนฐั ปยรตโน
จํานวนหนา 17 มนี าคม 2564
ISBN (e-book) 171 หนา
978-616-300-714-8

จัดพมิ พโดย
สวนวิจยั สารสนเทศและบรกิ ารวิชาการ ศนู ยอ าเซยี นศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
เลขที่ 79 หมู 1 ตาํ บลลาํ ไทร อาํ เภอวังนอ ย
จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา 13170



คํานาํ

คูมือการวิเคราะหโมเดลสมการโครงสราง SEM ดวยโปรแกรม LISREL ไดพัฒนาข้ึนจาก
ประสบการณของผเู ขียนในการใหคําปรกึ ษางานวจิ ยั ที่มีการออกแบบการวิจยั โดยใชส ถิติขั้นสงู (Advanced
Statistics) ซึ่งการออกแบบวิจัยนี้มีเหตุผลสําคัญอันเน่ืองดวยปญหาในสังคมท่ีมีความซับซอนมากข้ึนสงผล
ใหนักวิจัยจําเปนตองมีการออกแบบการวิจัยที่มีความซับซอนมากขึ้นและมีความเกี่ยวของเชื่อมโยงกัน
ระหวางตัวแปรที่หลากหลาย การออกแบบการวิจัยเพียงกระบวนทัศนใดกระบวนทัศนหน่ึงจึงไมเพียง
พอที่จะตอบโจทยวิจัยท่ีเปนปญหาสังคมในปจจุบัน จึงเปนเหตุผลใหการออกแบบการวิจัยแบบผสมวิธี
(Mixed Methods Research) ไดรับความสนใจมากขึ้นจากนักวิจัยในปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งการ
พัฒนาตัวแปรการวิจัยท่ีเปนตัวแปรเชิงคุณภาพใหเปนตัวแปรเชิงปริมาณที่สามารถวัดผลไดเชิงประจักษน ั้น
จึงไดเกี่ยวของเชื่อมโยงกับการวิจัยแบบผสมวิธี และเม่ือพิจารณาตอไปจากผลการศึกษาสภาพท่ีเปนจริงใน
สังคม ทําใหพบปจจัยหรือตัวแปรท่ีเกี่ยวของมากมายในการท่ีจะสงเสริมหรือมีอิทธิพลตอตัวแปรท่ีผูวิจัย
สนใจศึกษา ซึ่งตัวแปรเหลานี้ลวนมีความสําคัญและสงผลใหเกิดการพัฒนาหรือเปล่ียนแปลงของตัวแปรท่ี
สนใจศึกษาเสมอ จึงเปนเหตุผลใหผูวิจัยตองศึกษาตัวแปรท่ีเกี่ยวของและแสวงหาวิธีการในการวิเคราะห
ขอมูลท่ีมีความเชื่อมโยงกันระหวาง ตัวแปรหลายๆ ตัว โดยมุงเนนการวิเคราะหในคร้ังเดียวใหทราบคา
อิทธิพลของตัวแปรตาง ๆ ที่สงผลใหเกิดตัวแปรท่ีสนใจศึกษาน้ันๆ ซึ่งการวิเคราะหผลโดยใชสถิติพ้ืนฐาน
และสถิติอางอิงระดับตนน้ันยังคงไมเ พียงพอท่จี ะตอบผลการวเิ คราะหข อมลู ท่ีมกี ารเชื่อมโยงระหวา งตัวแปร
หลายตัว ดวยเหตุนี้ จึงทําใหผูเขียนสนใจในการศึกษาและพัฒนาคูมือการวิเคราะหโมเดลสมการโครงสราง
SEM ดวยโปรแกรม LISREL ประกอบการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ
ขั้นสูง (Advanced Statistics) คือ การวิเคราะหโมเดลเชิงสาเหตุ หรือโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุ หรือ
โมเดลสมการโครงสราง (Structural Equation Model: SEM) ซึ่งปจจุบันไดเขามามีบทบาทในการ
ออกแบบการวิจัยท่ีมีโจทยท่ีซับซอนมากขึ้น รวมทั้งการวิจัยทางพระพุทธศาสนาดวยเชนกัน จากความ
จําเปนและความสําคัญของ SEM น้ี จึงทําใหผูเขียนไดพยายามพัฒนาคูมือเลมน้ีเพ่ือใชประกอบการอบรม
สําหรับคณาจารยและนักวิจัยที่สนใจในการออกแบบการวิจัยและเลือกใชสถิติข้ันสูงในการวิเคราะหขอมูล
LISREL จึงเปนโปรแกรมหน่ึงท่ีมีศักยภาพในการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรในหลายตัวไดใน
คราวเดียวกัน คูมือเลมน้ีจึงมุงเนนการนําเสนอแนวทางหรือวิธีในการวิเคราะห SEM สําหรับการออกแบบ
การวจิ ัยขัน้ สูงสาํ หรับการวิจัยทางสงั คมศาสตรแ ละการวจิ ัยทางพระพุทธศาสนา

หวังเปนอยางย่ิงวาคูมือการวิเคราะหโมเดลสมการโครงสราง SEM ดวยโปรแกรม LISREL จะมี
ประโยชนสําหรับผูท่ีสนใจศึกษาเพื่อการพัฒนาและยกระดับงานวิจัยของประเทศชาติใหมีความกาวหนาใน
ระดับนานาชาตติ อ ไป

ลําพอง กลมกูล
สวนวจิ ัย สารสนเทศและบรกิ ารวิชาการ
ศูนยอาเซยี นศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

17 มนี าคม 2564



สารบญั หนา

คาํ นาํ ................................................................................................................................ ฉ
สารบญั ............................................................................................................................. 1
บทท่ี 1 บทนําวาดวยเร่อื งการออกแบบการวิจัยดว ยสถิตขิ ั้นสูง....................................... 37
บทท่ี 2 การวเิ คราะหโมเดลการวดั CFA.......................................................................... 53
บทท่ี 3 การวเิ คราะหโมเดลความสัมพันธเชงิ สาเหตุ Full Model.................................. 65
บทท่ี 4 ตัวอยางการแปลผล CFA และ SCFA................................................................. 87
บทที่ 5 ผลการวิเคราะห Full Model............................................................................. 105
บทที่ 6 ตัวอยา งเครือ่ งมอื วจิ ัย......................................................................................... 131
บทท่ี 7 Print out............................................................................................................ 170
บรรณานุกรม.................................................................................................................... 171
ประวัตผิ เู ขยี น...................................................................................................................





บทที่ 1
บทนําวาดวยเรอ่ื งการออกแบบการวจิ ยั

ดวยสถิติขั้นสูง

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

บทท่ี 2
การวิเคราะหโ มเดลการวัด CFA

การวิเคราะหโมเดลการวดั CFA

การเตรียมขอ มูลกอ นวเิ คราะหด ว ยโปรแกรม LISREL
1. นาํ file ที่ตองการวิเคราะหไปใสใ น folder ใหมที่ DRIVE C

(แยก 1 file ตอ 1 folder)

2. เปดโปรแกรม LISREL

Double click ท่โี ปรแกรม
3. ไปท่ี file เลือก Import Data

38
4. เลอื ก file ที่ตอ งการวิเคราะหแ ลว click ที่ open

RASC_Lampong Klomkul_17 March 2021

39

RASC_Lampong Klomkul_17 March 2021

40

RASC_Lampong Klomkul_17 March 2021

41

RASC_Lampong Klomkul_17 March 2021

42

1
23

RASC_Lampong Klomkul_17 March 2021


Click to View FlipBook Version