The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แก้คำผิด.รายงานวิจัย.แบรนด์DNA.ดร.บุญอยู่.ฉบับตีพิมพ์.9MB

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พูนศักดิ์ พาทีทิน, 2019-12-18 20:19:56

แก้คำผิด.รายงานวิจัย.แบรนด์DNA.ดร.บุญอยู่.ฉบับตีพิมพ์.9MB

แก้คำผิด.รายงานวิจัย.แบรนด์DNA.ดร.บุญอยู่.ฉบับตีพิมพ์.9MB

จากภาพตัวอย่างข้างต้น เป็นการน�าภาพสัญลักษณ์ท่ีมี Brand DNA ของแบรนด์เบียร์สิงห์ไปใช้ใน
ส่ือโฆษณาท่ีเป็นลักษณะการสนับสนุนกิจกรรมหรืองานต่างๆ ซึ่งมีโดย ทั้งการแข่งขันกีฬารถแข่ง งาน
มหกรรมอาหาร เป็นต้น ท้ังนี้ การสนับสนุนการจัดกิจกรรม (Sponsorship) นั้นถือเป็นการส่ือสารการตลาด
รูปแบบหนึ่งท่รี วมอยใู่ นนยิ ามของ “การโฆษณา” ตาม พ.ร.บ. ควบคุมเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอลฯ์ ด้วย

ทั้งน้ี ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนโดยส่วนใหญ่เม่ือพบเห็นป้ายโฆษณาที่มีสัญลักษณ์ดังกล่าว
จะรับรู้ว่าเป็นการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประมาณร้อยละ 65 ข้ึนไป และเห็นว่าเป็นการกระท�าเพื่อ
ประโยชน์ทางการค้ามากกว่าร้อยละ 79 ส่วนด้านการจูงใจผู้พบเห็นช้ินงานโฆษณาดังกล่าวส่วนใหญ่เห็นว่า
มีผลในการจูงใจโดยอ้อมกว่าร้อยละ 48 ข้ึนไป และเห็นวา่ มผี ลในการจงู ใจโดยตรงอกี ร้อยละ 23 ข้ึนไป

อน่ึง เป็นที่น่าสังเกตว่า แม้แต่การใช้ตราสัญลักษณ์เครื่องด่ืมตราสิงห์ที่เป็น “สีขาว” ซ่ึงต่างจากตรา
เบียร์สิงห์ที่มักใช้สีเหลืองหรือเหลืองทองเป็นหลักก็ตาม (ดังภาพท่ี 3.3.2) แต่ผลการวิจัยก็ยังพบว่า ประชาชน
โดยส่วนใหญ่เม่ือพบเห็นป้ายโฆษณาที่มีสัญลักษณ์ดังกล่าว จะรับรู้ว่าเป็นการโฆษณาเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์
ร้อยละ 67 ขึ้นไป และเห็นว่าเป็นการกระท�าเพื่อประโยชน์ทางการค้ามากกว่าร้อยละ 79 ส่วนด้านการจูงใจผู้
พบเห็นช้ินงานโฆษณาดังกล่าวส่วนใหญ่เห็นว่า มีผลในการจูงใจโดยตรงมากกว่าร้อยละ 51 และเห็นว่ามีผล
ในการจูงใจโดยตรงอีกร้อยละ 26 จึงช้ีให้เห็นเป็นอย่างดีว่า การใช้ตราสัญลักษณ์เครื่องด่ืมสิงห์ แม้จะเปลี่ยน
สีไม่ให้เหมือนกับสีที่ใช้กับเคร่ืองดื่มเบียร์ที่เคยใช้มาตลอดก็ตาม แต่ตราสัญลักษณ์รูปสิงห์ท่ีน�ามาใช้ก็ยังเป็น
Brand DNA ของเบยี รส์ ิงหน์ ัน่ เอง ดังนน้ั ประชาชนผ้พู บเหน็ ก็ยังคงรบั รูว้ า่ เป็นเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอลเ์ ชน่ เดมิ

3.4) การใช้แบรนดเ์ ครือ่ งดม่ื ตราสงิ ห์ ณ จดุ จา� หน่ายประกอบการจดั แสดงสินคา้ (Display)
การโฆษณาในรูปแบบน้ีเป็นการใช้ตราสัญลักษณ์ที่มีลักษณะเหมือนหรือคล้ายคลึงกันมากกับท่ีใช้
ในเคร่ืองด่ืมเบียร์สิงห์ในการจัดแสดงสินค้า (Display) ณ จุดขายหรือจุดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ ซึ่งส่วนใหญ่
เป็นจุดจ�าหน่ายเบียร์สิงห์ในห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต หรือร้านค้าส่งและร้านค้าปลีกทั่วไป ท้ังนี้ การจัด
แสดงสินค้า (Display) ถือเป็นการส่ือสารการตลาดในรูปแบบหน่ึงที่อยู่รวมในนิยามของ “การโฆษณา” ตาม
พ.ร.บ. ควบคมุ เครื่องดืม่ แอลกอฮอลฯ์ ดงั ภาพตวั อยา่ ง

ภาพที่ 3.4.1 ภาพท่ี 3.4.2

รายงานผลการวิจยั “การรบั ร้ขู องประชาชนต่อการโฆษณา

150 เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ผ่าน แบรนด์ DNA และ สัญลักษณท์ ่ีมคี วามคล้ายคลึงกัน”

จากภาพตัวอยา่ งที่ 3.4.1 และ 3.4.2 เป็นการใชส้ ัญลักษณเ์ ครือ่ งดม่ื ตราสงิ ห์ ซง่ึ มีแบรนด์ DNA ของ
แบรนด์เบียร์สิงห์เป็นส�าคัญในการจัดแสดงสินค้า (Display) ณ จุดขายผลิตภัณฑ์เบียร์สิงห์ ซ่ึงจากภาพ
ตัวอย่างที่จดุ ขายในหา้ งสรรพสนิ คา้ แห่งหนึ่ง

ผลการศกึ ษาพบวา่ การโฆษณาในรูปแบบการจดั แสดงสินคา้ ดังกลา่ ว ประชาชนทัว่ ไปส่วนใหญ่รบั รู้
ว่า เป็นการโฆษณาเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มากถึงร้อยละ 86 ข้ึนไปและเห็นว่าเป็นการกระท�าเพื่อประโยชน์
ทางการค้ามากกว่าร้อยละ 89 ส่วนด้านการจูงใจผู้พบเห็นช้ินงานโฆษณาดังกล่าวส่วนใหญ่เห็นว่า มีผลใน
การจูงใจโดยตรงมากกว่าร้อยละ 61 ส่วนอีกประมาณร้อยละ 26 เห็นว่ามีผลในการจูงใจโดยอ้อมทั้งนี้ เป็นท่ี
น่าสังเกตว่า การใช้สัญลักษณ์เครื่องด่ืมตราสิงห์ ในการโฆษณาโดยวิธีการจัดแสดงสินค้า (Display) ณ จุด
ขายผลิตภัณฑเ์ บียร์สิงห์ จะมผี ลในการจงู ใจโดยตรงสงู ข้นึ มากกวา่ โฆษณาในรปู แบบอน่ื ๆ โดยท่ัวไป

5.2 ขอ้ เสนอแนะ

จากผลการศกึ ษาดังกล่าวข้างต้น ผศู้ ึกษามขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้
5.2.1 ข้อเสนอแนะส�าหรับการน�าไปใชป้ ระโยชน์
ผลการศึกษาได้ชี้ให้เห็นว่า การใช้แบรนด์ ดีเอ็นเอ (Brand DNA) ของเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ แม้จะมีการ
ดัดแปลงหรือเล่ียงไปใช้กับผลิตภัณฑ์อื่น เช่น น�้าแร่ น�้าโซดา ก็ตาม แต่ประชาชนท่ัวไปโดยส่วนใหญ่ก็ยังรับรู้หรือ
เข้าใจว่าเป็นเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์อยู่ดี และการกระท�าของผู้ใช้แบรนด์ DNA ของเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ไปท�าการ
โฆษณาสินค้าอื่นท่ีอ้างว่ามิใช่สินค้าประเภทเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ก็ตาม ย่อมช้ีให้เห็นถึงการแฝงเจตนาว่าต้องการ
โฆษณาเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์เป็นส�าคัญ เพื่อเป็นการเลี่ยงกฎหมายท่ีมีการควบคุมการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
มากกว่า ดังน้ัน

1) ผู้ท่ีเก่ียวข้องกับการควบคุมการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ เช่น เจ้าพนักงาน ตาม พ.ร.บ.
ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ฯ สามารถน�าผลการศึกษาครั้งนี้ไปประกอบการพิจารณาการกระท�าที่ฝ่าฝืน
กฎหมายควบคมุ เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ได้

2) ในการฝกึ อบรมเจา้ หนา้ ทท่ี ป่ี ฏบิ ตั งิ านดา้ นการควบคมุ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ ควรนา� ผลการศกึ ษา
นไ้ี ปประกอบการฝึกอบรม หรอื ใช้เป็นกรณศี ึกษา

3) เครือข่ายภาคประชาสังคมท่ีท�างานด้านการเฝ้าระวังการกระท�าความผิดตาม พ.ร.บ. ควบคุม
เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ควรน�าผลการศึกษาน้ีไปประกอบการฝึกอบรมหรือสัมมนาเพื่อเสริมสร้างการรู้เท่าทัน
การโฆษณาเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลข์ องกลมุ่ ธรุ กจิ เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์

4) จากผลการวิจัยพบว่า การโฆษณาเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ผ่าน Brand DNA ในลักษณะของการ
โฆษณา ณ จุดขายด้วยการจัดแสดงสินค้า (Display) ให้ผลในการรับรู้และการจูงใจโดยตรงสูงขึ้นมากกว่า
การโฆษณาทั่วไป และส่วนใหญ่มักเป็นการโฆษณาในห้างสรรพสินค้า หรือร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ อันเข้า
ข่ายเป็นการฝ่าฝนื พ.ร.บ. ควบคมุ เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 ดังน้นั หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องจงึ ควรท�าการ
ตรวจสอบ ตรวจตักเตือน หรอื ด�าเนินคดีแล้วแต่กรณตี อ่ ไป

รายงานผลการวจิ ัย “การรบั รขู้ องประชาชนตอ่ การโฆษณา

เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลผ์ ่าน แบรนด์ DNA และ สญั ลกั ษณท์ มี่ ีความคล้ายคลงึ กัน” 151

5) ควรมกี ารพจิ ารณาปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมายโดยการหา้ มใชแ้ บรนด์ DNA ของเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์
ไปจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของสินค้าประเภทอ่ืน เช่น น�้าด่ืม น�้าแร่ โซดา แล้วน�ามาท�าการโฆษณาใน
ลักษณะการหลีกเลยี่ งกฎหมายควบคมุ เครื่องดมื่ แอลกอฮอลด์ งั ทก่ี ระทา� กันอยู่เชน่ ทกุ วนั นี้
5.2.2 ข้อเสนอแนะส�าหรบั การศึกษาวิจัยในโอกาสต่อไป

1) เนื่องจากการศึกษาคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดังนั้นควรท�าการศึกษาเพิ่มเติมในเชิงคุณภาพ
เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเก่ียวกับกระบวนการและปัจจัยจูงใจจากการใช้ Brand DNA ในการโฆษณาเคร่ืองด่ืม
แอลกอฮอล์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลมุ่ เยาวชนทม่ี โี อกาสในการเปน็ นกั ดืม่ หน้าใหม่สูง

2) ควรท�าการศึกษารูปแบบการโฆษณาใหม่ๆ รวมถึงความพยายามหลบเลี่ยงกฎหมายควบคุม
เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของกลุ่มธุรกิจแอลกอฮอล์ เช่น การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ดังเช่นเคร่ืองด่ืมที่มีแอลกอฮอล์
0 % ทีต่ ามกฎหมายไมถ่ อื วา่ เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ใช้ช่ือและตราสัญลักษณ์เหมือนหรือคล้ายคลึงกับ
เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์

3) เนื่องจากการศึกษาคร้ังนี้เน้นเฉพาะเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ประเภทเบียร์ ดังน้ัน จึงควรท�าการ
ศึกษาการโฆษณาเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ชนดิ อ่นื ๆ เช่น วสิ ก้ี สรุ าสี ไวน์ เปน็ ต้น

4) ควรมีการศึกษาการรับรู้การโฆษณาเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ผ่านแบรนด์ DNA หรือสัญลักษณ์ท่ีมี
ความคล้ายคลึงกันของประชาชนในแต่ละรายจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวซ่ึงมียอด
จ�าหนา่ ยสงู และมีการโฆษณามากขนึ้ ในหลากหลายรปู แบบ

5) ควรมีการศึกษาวิจัยในประเด็นอ่ืนๆ เพ่ิมเติม นอกจากการรับรู้และการจูงใจของการโฆษณา
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ผลกระทบทางทัศนียภาพของเมืองในกรณีท่ีมีการติดตั้งป้ายโฆษณาเครื่องด่ืม
แอลกอฮอล์ขนาดใหญใ่ นจุดส�าคญั ของเมือง ทัศนคตทิ ี่มตี อ่ เครื่องด่มื แอลกอฮอลข์ องเดก็ และเยาวชนท่ีมกี าร
เปดิ รับโฆษณาเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์บ่อยคร้ัง เป็นต้น

รายงานผลการวิจัย “การรบั รู้ของประชาชนตอ่ การโฆษณา

152 เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ผา่ น แบรนด์ DNA และ สญั ลักษณท์ ี่มีความคลา้ ยคลึงกนั ”

บรรณานกุ รม

รายงานผลการวจิ ัย “การรับรขู้ องประชาชนต่อการโฆษณา

เครอื่ งด่มื แอลกอฮอลผ์ า่ น แบรนด์ DNA และ สัญลกั ษณ์ทีม่ คี วามคล้ายคลงึ กัน” 153

บรรณานุกรม

เอกสารภาษาไทย

กษดิ นิ ทร์ ไตรทพิ ย.์ 2552. อทิ ธพิ ลของสอ่ื โฆษณาเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอลท์ ม่ี ผี ลตอ่ พฤตกิ รรมการ ดม่ื แอลกอฮอลข์ อง
วยั รุน่ ตอนตน้ ในอ�าเภอหนองบวั ระเหว จังหวัดชยั ภมู .ิ วิทยานิพนธป์ ริญญาสาธารณสขุ ศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.

ดลชัย บณุ ยะรัตเวช. 2559. แบรนดท์ ใี่ ช่ ขายอะไรกม็ คี นซ้อื . กรุงเทพมหานคร : อัมรินทร์พล้นิ ต้งิ แอนดพ์ บั ลชิ ชง่ิ .
นงนชุ ใจชน่ื โศภติ นาสบื สรุ ศกั ดิ์ ไชยสงค์ และทกั ษพล ธรรมรงั ส.ี 2556. การรบั รู้ การจดจา� การครอบครอง และ

การใหค้ วามหมายที่มีตอ่ สิง่ ของท่มี ีตราสญั ลักษณข์ องเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอลก์ ับทศั นคตแิ ละพฤติกรรมการ
บริโภคเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลข์ องเยาวชนไทย. ศูนยว์ จิ ยั ปญั หาสุรา (ศวส.).
นงนชุ ใจชนื่ , จริ าภรณ์ กมลรงั สรรค์ และสรุ ศกั ด์ิ ไชยสงค.์ 2560. สถานการณ์ ชอ่ งวา่ งเเละโอกาสในการควบคมุ การ
ตลาดเเละการโฆษณาเครอื่ งดม่ื เเอลกอฮอล์ ในประเทศไทย. วารสารวจิ ยั ระบบสาธารณสขุ ปีที่ : 11, ฉบับที่
: 1, เลขหน้า : 11-25, ปพี .ศ. 2560.
นธกฤต วนั ต๊ะเมล.์ 2554. หลักการโฆษณา. ภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์
บ�ารุง สุขพรรณ.์ 2551. ผลกระทบของโฆษณาเครือ่ งด่มื แอลกอฮอลป์ ระเภทโฆษณาสง่ เสริมสงั คมที่มีต่อเยาวชนใน
พนื้ ทภี่ าคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื : กรณศี กึ ษาจงั หวดั เชยี งใหม่ และขอนแกน่ . ศนู ยว์ จิ ยั ปญั หาสรุ า.
บญุ อยู่ ขอพรประเสรฐิ . 2558. กระบวนทศั นเ์ กยี่ วกบั แบรนดแ์ ละการสรา้ งแบรนด.์ เอกสารประกอบการบรรยาย ณ
คณะนเิ ทศศาสตรแ์ ละนวตั กรรมการจัดการ สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร.์
ปารชิ าต สถาปติ านนท์ และณฐั วภิ า สนิ สวุ รรณ. 2551. แบรนดบ์ าป. ฉะเชงิ เทรา: บรษิ ทั เอ เอ เป เปอรแ์ อนด์ สเตชนั่
เนอรี่ จา� กัด.

วฒั นา เพช็ รส์ �าราญ และคณะ. 2552. ปัจจยั ทีม่ ผี ลตอ่ เคร่ืองด่มื แอลกอฮอลข์ องนกั เรียน มัธยมศึกษาตอนปลายใน
เขตอา� เภอลบั แล จงั หวดั อตุ รดติ ถ.์ วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาสาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าสาธารณสขุ
ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร.

วิลาศ ฉา�่ เลศิ วัฒน์ (บรรณาธกิ าร). 2559. Re: digital การตลาดยคุ ใหม่ เจาะใจลกู คา้ . กรุงเทพมหานคร : พมิ พ์ดี

รายงานผลการวิจยั “การรบั รูข้ องประชาชนตอ่ การโฆษณา

154 เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ผา่ น แบรนด์ DNA และ สัญลักษณ์ทีม่ ีความคล้ายคลึงกัน”

ศรีกัญญา มงคลศิร.ิ 2547. Brand Management. กรงุ เทพมหานคร : Brand Age.
ศรรี ัช ลอยสมทุ ร. (ม.ป.ป.). เปดิ หน้ากาก การตลาดนา้� เมา. กรงุ เทพฯ: ส�านักงานเครอื ข่ายองคก์ รงดเหลา้ .
ศรรี ชั ลาภใหญ,่ ศศธิ ร แจม่ ถาวร, ศทุ ธฤทยั เชญิ ขวญั มา, อทิ ธเิ ทพ หลนี วรตั น,์ ปฐมพงษ์ วงษจ์ นั ทร์ และ

ชยตุ แกว้ มหา. 2551. การศึกษาผลกระทบของงานโฆษณาเครื่องดม่ื แอลกอฮอลป์ ระเภท โฆษณาสง่ เสรมิ
สงั คมท่มี ีต่อเยาวชนในกรุงเทพมหานคร. ศูนย์วจิ ัยปัญหาสรุ า.
ศรรี ัช ลาภใหญ่, ศศิธร แจ่มถาวร, ศุทธฤทัย เชญิ ขวัญมา, อิทธเิ ทพ หลนี วรัตน,์ ปฐมพงษ์ วงษ์จันทร์ และ
ชยตุ แก้ว มหา 2551. ผลกระทบของงานโฆษณาเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ประเภท โฆษณาส่งเสรมิ สังคมทม่ี ี
ตอ่ เยาวชนในกรุงเทพมหานคร. ศูนยว์ ิจัยปญั หาสรุ า (ศวส.).
ศรีรชั ลาภใหญ่. 2550. การศึกษางานโฆษณาเคร่อื งดื่มแอลกอฮอลท์ ่มี ีผลต่อความรู้สกึ อยาก ทดลองดมื่ และการ
จดจา� ตราสินค้าในกลมุ่ เยาวชนและวัยรุน่ . รายงานการวิจัยไดร้ ับทนุ อุดหนุนการวิจยั จากส�านักงานกองทนุ
สนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส.) กรมสขุ ภาพจติ สถาบันวจิ ยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) และศูนยว์ ิจยั
ปัญหาสุรา (ศวส.).
ศรีรัช ลาภใหญ่.2550. การศึกษางานโฆษณาเครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ทมี่ ีผลตอ่ ความรู้สึกอยากทดลองดื่มและการ
จดจ�าตราสนิ ค้าในกล่มุ เยาวชนและวัยรนุ่ . ศนู ยว์ ิจยั ปัญหาสุรา.
ศริ ิกุล เลากยั กุล. 2546, สรา้ งแบรนด์. พมิ พค์ ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : อมั รนิ ทรพ์ ริ้นต้ิงแอนด์พบั ลชิ ชิ่ง.
สาวติ รี อัษณางค์กรชัย และคณะ. 2552. การเฝ้าระวังพฤตกิ รรมการบริโภคเครือ่ งด่ืม แอลกอฮอล์ และ
พฤติกรรมเส่ยี งตอ่ สุขภาพของนักเรยี นระดับมธั ยมศึกษาในประเทศไทย. รายงานการวจิ ัยได้รับทุนอุดหนนุ
การวิจยั จากสา� นักงานกองทนุ สนับสนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) กรมสุขภาพจิต สถาบันวจิ ัยระบบ
สาธารณสขุ (สวรส.) และศนู ยว์ ิจัยปัญหาสุรา (ศวส.).
สาวิตรี อัษณางค์กรชัย และคณะ 2552 การเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์และพฤติกรรม
เส่ียงต่อสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย รายงานการวิจัยได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย
จากส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
กรมสุขภาพจิตสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.)
อรุ ยา วงศไ์ ชยคง. 2547. การสอ่ื สารและปจั จยั ท่ีมผี ลต่อการดืม่ เครอ่ื งดื่มท่ีมีแอลกอฮอล์ของวยั รุ่น. นิเทศศาสตร์
มหาบัณฑิต จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

รายงานผลการวจิ ัย “การรบั รู้ของประชาชนตอ่ การโฆษณา

เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ผา่ น แบรนด์ DNA และ สญั ลักษณ์ที่มคี วามคลา้ ยคลึงกนั ” 155

เอกสารภาษาองั กฤษ

A.R. Oxenfeldt and C. Swan.1964. Management of Advertising. Belmont CA : Division of Wadsworth.
Al Ries and Laura Ries . 2011. The 22 Immutable Laws of Branding: How to Build a Product or Service into

a World-Class Brand. U.S.A : HarperBusiness.
Carol Chapman & Suzanne Tulien. 2010. Brand DNA: Uncover Your Organization’s Genetic Code for Com

petitive Advantage. U.S.A : iUniverse.
David Aaker. Building Strong Brands. U.S.A.: Free Press.
Johny K. Johansson. 2015. Contemporary Brand Management. 15th edition. Sage Publications, Inc.
Kevin Lane Keller, Vanitha Swaminathan. 2019. Strategic Brand Management: Building, Measuring, and

Managing Brand Equity, 5th Edition. U.S.A : Pearson.
Maurice I. Mandell. 1984. Advertising. U.S.A.: Prentice Hall.
Michael Johnson. 2017. Branding: In Five and a Half Steps. U.S.A. : Thames and Hudson.
S.W. William Pattis. 2004. Careers in Advertising. U.S.A.: McGraw-Hill.

ฐานข้อมลู ออนไลน์
http://zeetusyaris.myreadyweb.com/article/category-133687.html. สืบคน้ 10 มนี าคม 2562.
Elizabeth Smithson. 2015. What Is Branding And Why Is It Important For Your Business? https://www.

brandingmag.com/2015/10/14/what-is-branding-and-why-is-it-important-for-your-business/.
สืบคน้ 30 พฤษภาคม 2562.
http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter7-1.html, สืบค้น 31 พฤษภาคม 2562.
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%86%E0%B
8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B2. สบื คน้ 8 ธนั วาคม 2561
https://www.smego.rmutt.ac.th/2017/10/25/brand, สบื คน้ 14 มีนาคม 2562.
Marion. 2015. What Is Branding? https://www.thebrandingjournal.com/2015/10/what-is-branding-defintion/
สืบค้น 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2562
การโฆษณา กลยุทธน์ �าเสนอขอ้ มลู ตรงใจผู้บริโภคทผ่ี ูข้ ายตอ้ งใหค้ วามสา� คัญ https://www.1belief.com/article/
advertising/. สืบคน้ 10 มีนาคม 2562.
หลกั 6C ตง้ั ชอ่ื แบรนดย์ งั ไงใหป้ งั . https://www.schoolofchangemakers.com/knowledge/9995. 7 สงิ หาคม 2559,
หลักการโฆษณา (Advertising). http://zeetusyaris.myreadyweb.com/article/category-133687.html.
สืบค้น 15 มกราคม 2562.
ระบบสถิตทิ างทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. .http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_
age_disp.php, สืบค้น 16 มถิ นุ ายน 2561.

รายงานผลการวิจยั “การรบั รู้ของประชาชนต่อการโฆษณา

156 เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอลผ์ า่ น แบรนด์ DNA และ สัญลักษณท์ ม่ี ีความคลา้ ยคลึงกนั ”

Alcohol

“…..ป˜จจ�บันธุรกิจแอลกอฮอลใชŒว�ธีการนำตราสินคŒา (Brand) ของเคร�่องดื่มแอลกอฮอล
มาดดั แปลงเพย� งเลก็ นอŒ ย แตย‹ งั คงคณุ ลกั ษณะท่ีไมแ‹ ตกตา‹ งจากตราของเครอ่� งดม่ื แอลกอฮอล
นำไปจดทะเบียนเปšนเคร�่องดื่มโซดาบŒาง น้ำดื่มบŒาง หร�อน้ำแร‹บŒาง แลŒวนำมาทำการโฆษณา
โดยอŒางว‹าเปšนการโฆษณาเคร�่องดื่มที่ไม‹มีแอลกอฮอล แต‹ผูŒบร�โภคทั้งประชาชนทั่วไป ทั้งเด็ก
และเยาวชนมกั จะรบั รŒู (Awareness) และจดจำ (Recall) วา‹ เปนš เครอ่� งดม่ื แอลกอฮอล แนวทาง
และวธ� กี ารดงั กลา‹ ว หลกั การทางนเิ ทศศาสตรห รอ� ทางการโฆษณาเรย� กวา‹ การใชŒ Brand DNA
ดังนั้น การโฆษณาที่มีการใชŒ Brand DNA ของเคร�่องดื่มแอลกอฮอล ย‹อมถือไดŒว‹ามีเจตนา
โฆษณาเคร�่องดื่มแอลกอฮอลน ั่นเอง….”

Drinking


Click to View FlipBook Version