The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

✍️มองประวัติศาสตร์ชาติไทยผ่านศัสตราวุธ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jar_3563.narak, 2021-10-28 04:12:08

✍️มองประวัติศาสตร์ชาติไทยผ่านศัสตราวุธ

✍️มองประวัติศาสตร์ชาติไทยผ่านศัสตราวุธ

๔๐

๔๐, ๔๑ แผนท่ีอยุธยาแสดงสถานทส่ี �ำคญั ปอ้ ม ประตู ก�ำแพงเมอื ง วาดโดยชาวฝรั่งเศส ๔๑
เห็นป้อมเพชรก่อแปลงใหม่เป็นรูปหกเหลย่ี มแล้ว
47

ทง้ั ปอ้ มรปู กลมมนและรปู หกเหลยี่ ม ลว้ นเปน็ วทิ ยาการจากชาตติ ะวนั ตกทกี่ รงุ
ศรอี ยธุ ยารบั มาปรบั ใชต้ ามยทุ ธศาสตรป์ อ้ งกนั เมอื ง และพลานภุ าพของอาวธุ ยทุ ธภณั ฑ์
ท่มี ีอยู่
ยังมีป้อมใหญ่ที่ต้ังอยู่ในทางร่วมของล�ำน�้ำ ต้ังตรงมุมพระนครเช่นเดียวกับ
ปอ้ มเพชรอกี คอื ปอ้ มมหาไชย อยตู่ รงมมุ พระนครดา้ นทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื บรเิ วณ
ตลาดหวั รอไมเ่ ห็นรอ่ งรอยของป้อมแล้ว อีกป้อมหนึ่งคือ ปอ้ มซัดกบ หรือทา้ ยกบ อยู่
มุมพระนครด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตรงบริเวณหัวแหลม ไม่พบร่องรอยของซาก
ป้อมเชน่ กนั ทง้ั ๓ ปอ้ ม เป็นป้อมปืนตั้งอยู่ในจดุ ยทุ ธศาสตรส์ �ำคัญเชน่ เดียวกนั แตจ่ ะมี
รูปรา่ งเดยี วกบั ปอ้ มเพชรทเี่ หลอื อย่หู รือไม่ ไมส่ ามารถยนื ยนั ได้ ป้อมเหล่านลี้ ้วนเป็น
ปอ้ มทมี่ เี หตกุ ารณป์ ระวตั ศิ าสตรบ์ นั ทกึ ไว้ เชน่ ปนื ใหญป่ ระจำ� ปอ้ มมหาไชย นา่ จะเปน็
ปนื ทม่ี ขี นาดใหญม่ กี �ำลงั แรงพอทจ่ี ะยงิ ปอ้ งกนั ขา้ ศกึ ทเ่ี ขา้ มาทางแมน่ ำ้� ลพบรุ ที างดา้ นนี้
เมื่อครั้งเกิดกบฏธรรมเถียรในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา ซ่ึงกรมพระราชวังบวร ต่อ
มาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเสือได้โปรดให้เอา ปืนใหญ่ป้อมแห่งนี้ ยิงปราบกบฏทั้ง
๘ กระบอก ส่วน ป้อมซัดกบ หรือท้ายกบไดท้ �ำหนา้ ทเ่ี มื่อคราวมศี ึกประชิดกรงุ พ.ศ.
๒๓๐๙ พระยาศรีสุริยพาห เจา้ หนา้ ที่รกั ษาป้อมซดั กบน�ำปนื ชื่อ มหากาฬมฤตยู ประจุ
ดินปืนอัดเป็นสองเท่าเพ่ือที่จะยิงให้ถึงค่ายพม่าท่ีวัดภูเขาทอง แม้ยิงได้เพียงนัดเดียว
ปนื ก็รา้ วราน แต่ก็ยงั จมเรอื รบพมา่ ได้ถงึ ๒ ล�ำ
ปอ้ มปนื ปนื และพลประจำ� ปอ้ มในความทรงจำ� และจติ สำ� นกึ ของชา่ งเขยี น
ภาพจติ รกรรมไทยประเพณี ทง้ั ภาพฝาผนงั ภาพลายรดนำ้� ตงั้ แตส่ มยั อยธุ ยา
เป็นต้นมา เขียนเล่าเร่ืองในพระพุทธศาสนาเป็นภาพพระพุทธประวัติ หรือภาพชาดก
แต่ภาพทเ่ี กีย่ วกับการสู้รบ ภาพบ้านเมืองมีก�ำแพงปอ้ มปราการ ช่างเขยี นจะเขียนภาพ
ชนต่างชาติ คอื ฝรงั่ บ้าง แขกบ้าง อยูป่ ระจ�ำปอ้ มพร้อมดว้ ยอาวุธปืนใหญ่นอ้ ย ยงิ ต่อสู้
ป้องกันเสมอ สว่ นไพร่พลคนพ้นื ถ่นิ ที่เขา้ เป็นผู้ช่วย กม็ ีอาวุธประจ�ำกายพื้นๆ คอื ดาบ
หอก ธรรมดา ที่เป็นขุนนางก็นุ่งผ้าตามยศสวมลอมพอก หรือหมวกแบบต่างๆ ถือ
ดาบ เหน็บกฤช ก็มี ภาพเขียนเหล่านี้ได้สะท้อนสภาพสังคมที่ช่างเขียนได้เห็นได้รับรู้
มาถ่ายทอดไว้ต่อเนื่องกันมา แม้ช่างในสมัยหลังจะไม่เคยเห็นด้วยตาตนเองแล้วก็ตาม
เปน็ ความทรงจ�ำและจนิ ตนาการทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ กค่ นรนุ่ หลงั มาศกึ ษาตคี วามท�ำความ
เข้าใจได้

48

๔๒

๔๓

๔๒, ๔๓ ภาพจติ รกรรม มีพลประจ�ำป้อมเปน็ ชาวตะวันตกทเ่ี รยี กว่า ฝร่งั แมน่ ปนื และอาวธุ ท่ใี ชท้ ั้งปนื เล็ก
(คาบชดุ หรือ คาบศิลา) และปืนใหญ่

49

๔๔ ๔๕

๔๖ ๔๗

๔๔ - ๔๖ ภาพจติ รกรรม มีพลประจ�ำปอ้ มเป็นชาวต่างชาติทัง้ ชาวตะวนั ตก และแขก
อาวธุ ท่ีใชม้ ที ง้ั ปืนเลก็ (คาบชดุ หรอื คาบศิลา) และปนื ใหญ่

๔๗ ผงั ป้อมของฝรงั่ เศสทีเ่ มอื งบางกอก

50

ปนื ตา่ งๆ ในประวัติศาสตรค์ รั้งสมัยกรุงศรีอยธุ ยา
ศิริรจั น์ วงั ศพา่ ห์ เขยี นเล่าเรือ่ งไวว้ ่า ...จ�ำนวนปนื ใหญน่ ้อยท่ีมีไว้ปอ้ งกนั กรุง
ศรีอยุธยาคงจะมเี ปน็ จ�ำนวนมาก สงั เกตไดจ้ ากจ�ำนวนปนื ทใี่ ชใ้ นการรบแตล่ ะครงั้ เชน่
การรบป้องกันพระนคร เมือ่ พ.ศ. ๒๓๐๘ มปี ืนใหญ่ใชใ้ นกองทัพราว ๔,๐๐๐ กระบอก
ใน พ.ศ. ๒๓๑๐ ในคลงั มปี ืนใหญน่ อ้ ย ๓,๐๐๐ กระบอก กระสนุ ๕๐,๐๐๐ นดั ปืนเหลา่
น้ีบางสว่ นถูกท�ำลาย ถูกฝังดิน ถกู น�ำกลับไปเปน็ สัญลักษณ์ เป็นสัญลักษณแ์ ห่งผชู้ นะ
และซอ่ นจากข้าศึกโดยฝงั ดนิ หรือเข็นท้งิ ลงนำ�้ ไมใ่ ห้ตกไปเป็นของขา้ ศึกได้ ดังมรี ายงาน
การงมไดป้ นื ใหญใ่ นแม่นำ�้ รอบกรุงศรอี ยธุ ยาอย่บู ่อยคร้ัง
เรามาตามรอยปนื ใหญท่ ม่ี ชี อ่ื ใชใ้ นงานราชการครง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ตามทป่ี รากฏ
ในค�ำให้การชาวกรุงเก่า รวมทงั้ ศึกษาลกั ษณะปืนของชาตติ ะวนั ตกทนี่ �ำเข้ามาในสมัยน้ี
ปนื ใหญช่ อ่ื มหาเรกิ (มหาฤกษ)์ มหาชยั เปน็ ปนื ใหญย่ งิ เอาฤกษเ์ อาชยั ยาม
เคลอ่ื นทพั เชน่ คราวสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชโปรดใหย้ กทพั ไปตเี มอื งเชยี งใหม่ พ.ศ.
๒๒๐๕ มีเจา้ พระยาโกษาธิบดี หรอื โกษาปาน เป็นแม่ทัพใหญ่ พระองค์เสดจ็ ยกกองทพั
หลวงตามไป ค�ำให้การชาวกรุงเก่าพรรณนาไวว้ า่ ...คร้ันได้มหาพิไชยฤกษแ์ ลว้ ขนุ โหรก็
ล่นั ฆ้องชยั ประดาตีดงั โครมครน้ื ยิงปนื มหาฤกษ์ มหาไชยสองนัด แล้วพลไกรก็โห่ร้อง
กอ้ งกึกไปท้ังแม่นำ�้ ...
ปืนใหญช่ ่อื มหากาล (มหากาฬ) หรือ มหากาฬมฤตยรู าช หรือ พระกาล
มฤตยูราช เป็นปืนใหญ่ที่มีความยาวถึง ๓๐ ฟตุ ยิงลกู กระสนุ นำ�้ หนกั ๑๐๐ ปอนด์ ปนื
ใหญ่กระบอกนี้มีประวัติกล่าวอยู่ในพระราชพงศาวดาร คราวสมเด็จพระนเรศวรและ
สมเด็จพระเอกาทศรถสู้ศึกพระเจ้าหงสาวดีล้อมกรุง พ.ศ. ๒๑๒๙ ได้โปรดให้เอาปืน
พระกาลมฤตยรู าชใส่ส�ำเภาข้นึ ไปยงิ ค่ายข้าศึกท่ีขนอนปากคู ข้าศึกต้องเลกิ ทพั ไปตัง้ ท่ี
ป่าโมกใหญ่ และอกี คร้งั หน่ึงได้น�ำไปใช้ท่ี ปอ้ มซัดกบ เมอ่ื คราวศกึ ประชดิ กรุงใน พ.ศ.
๒๓๐๙ ปนื รา้ วร้านเสยี ไปเพราะกร�ำศึกมามาก
ปนื ใหญ่ชอื่ พนิ าศหงสา นา่ จะเปน็ กระบอกเดียวกบั ปืนใหญช่ ่ือ ปราบหงสา
ปนื ใหญก่ ระบอกนี้มปี ระวัตทิ ้ังในพงศาวดารและเรอ่ื งทเี่ ลา่ กันมา สมเด็จฯ กรมพระยา
ด�ำรงราชานภุ าพทรงอา้ งไว้ใน “ไทยรบพมา่ ” ว่า เปน็ อุทธาหรณ์ของความเสอื่ มทราม
ในคร้ังน้ัน เพราะเม่ือเอาปืนน้ีขึ้นต้ังบน ป้อมมหาชัยจะยิงพม่า แต่แรกเจ้าหน้าที่ไม่
กล้ายัดดินด�ำให้เต็มขนาด กลัวแก้วหูแตกด้วยเสียงปืน ลดดินด�ำแล้วยังมีคนขอให้
ลดลงอกี จนทส่ี ดุ ยงิ ไปกระสนุ ไปตกไมถ่ งึ คเู มอื ง เปน็ ไดถ้ งึ อยา่ งน้ี กต็ รงกบั ความในพระ
ราชพงศาวดารเม่อื พม่าลอ้ มกรุงว่า พม่ายกมาตั้งค่ายวดั ศรโี พธ์ิ ... ฝา่ ยขา้ งในกรุงใหใ้ ช้
ปืนปราบหงสาออกไปตั้งริมท่าทราย กระสุนแรกประจุดนิ นอ้ ยต�่ำไปถูกตลง่ิ ครน้ั ประจุ
ดนิ มากขึ้นโดง่ ขา้ มวัดศรีโพธิ์ไป...

51

ศิริรัจน์ วังศพ่าห์ ได้วิเคราะห์การยิงปืนใหญ่ปราบหงสาจากบันทึกฝั่งพม่าที่
บอกว่า มีน�้ำสีด�ำไหลออกมาจากล�ำกล้องขณะยิงเหมือนทางฝั่งพม่าบอก เป็นนัยว่าฝ่าย
ไทยดเู หมือนไม่ดแู ลเอาใจใสต่ อ่ อาวุธปนื แมแ้ ต่น้อย
ปนื ใหญช่ อ่ื มานพนิ าศ คงเปน็ ปนื ทม่ี คี วามส�ำคญั มากกระบอกหนง่ึ ในสมยั อยธุ ยา
มขี ้อควรสงั เกตว่า ปืนทเ่ี หลอื เพียงส่วนปากล�ำกลอ้ งท่ีเชือ่ ว่าคือ ปนื มานพินาศ มลี วดลาย
คล้ายกับปนื ใหญ่ มารประไลย ทีส่ ร้างในสมยั กรุงรัตนโกสนิ ทรค์ ร้งั รัชกาลที่ ๑
ส่วนปืนใหญ่สมัยอยุธยาที่มีช่ือเสียงเช่นเดียวกับปืนใหญ่ที่หล่อข้ึนใหม่ในสมัย
กรุงรัตนโกสนิ ทรไ์ ด้แก่ปนื ช่อื นารายณส์ ังหาร ปืนกระบอกนมี้ ีประวัติส�ำคัญในเหตกุ ารณ์
หลังจากสมเด็จพระสุริโยทัยส้นิ พระชนม์แลว้ สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดไิ ด้โปรดให้คดิ เอา
ปนื ใหญย่ งิ คา่ ยขา้ ศกึ ดงั ความในพระราชพงศาวดารบนั ทกึ ไวว้ า่ ... จงึ่ ใหเ้ ชญิ ปนื นารายณ์
สังหาร ลงส�ำเภาฉ้อข้ึนไปทางบ้านป้อม แต่งทัพปกป้องกันสองฝั่งมากข้ึนไปถึงขนอน
ปากค.ู .. ชาวพระนครยิง ปนื นารายณ์สังหารไป กระสนุ ตกลงในคา่ ยใกลพ้ ลับพลาสมเดจ็
พระเจ้าหงสาวดี... หลังจากทัพพระเจ้าหงสาวดีถอยท่ีต้ังค่ายหลวงออกไปก็โปรดให้เอา
ปนื นารายณ์สงั หารลงใสส่ ำ� เภาไม้รกั แมน่ างไอ ขึน้ ไปยงิ ค่ายสมเดจ็ พระเจา้ หงสาวดี
... ปืนถีบท้ายส�ำเภาจมลงกระสุนปืนขึ้นไปถูกก่ิงพระมหาโพธ์ิ ๓ ก�ำเศษ
ขาดตกลงใกลช้ า้ งพระทน่ี งั่ สมเดจ็ พระเจา้ หงสาวดปี ระมาณ ๓ วา ขณะนนั้ ชาวปอ้ มมหาชยั
ก็ยิงปนื ใหญร่ ะดมมาต้องพลหงสาวดีตายมาก จะปลน้ เอาพระนครกไ็ ม่ได.้ ..
นี่ก็เปน็ เหตกุ ารณท์ ่ี ปืนนารายณ์สงั หาร รบั ใชบ้ า้ นเมืองครง้ั ส�ำคญั คราวหนงึ่
ปนื ใหญช่ อื่ พริ ณุ หรอื พระพริ ณุ เปน็ ปนื ใหญท่ ม่ี เี รอื่ งราวในประวตั ศิ าสตรส์ มยั
อยธุ ยาทน่ี า่ ตน่ื เตน้ อยมู่ าก เชน่ ครง้ั หนง่ึ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชโปรดใหใ้ ชท้ ดสอบสติ
ปญั ญาเจา้ พระยาวไิ ชยเยนทรเ์ พอื่ ใหข้ า้ ราชการผใู้ หญผ่ นู้ อ้ ยไดป้ ระจกั ษแ์ ละยอมรบั ขนุ นาง
ฝร่ังผูน้ ้ี โดยใหแ้ ขง่ ขนั หาวิธีช่งั น�้ำหนักปืน พระพิรณุ ว่ามนี ำ�้ หนักเทา่ ใด
เหตกุ ารณช์ ง่ั ปนื พระพริ ณุ ครงั้ นนั้ นา่ จะเปน็ เรอื่ งส�ำคญั ทอ่ี ยใู่ นความทรงจ�ำของ
ผคู้ นตอ่ มา เพราะในสมยั รชั กาลที่ ๕ เมอ่ื โปรดใหป้ ระกวดการเขยี นภาพพระราชพงศาวดาร
พรอ้ มแต่งโคลงประกอบเพือ่ ประดบั พระเมรุท้องสนามหลวงใหป้ ระชาชนชม เหตกุ ารณน์ ้ี
ไดร้ บั คดั เลอื กใหเ้ ขยี นไวพ้ รอ้ มโคลงพรรณนาประกอบภาพ ของขนุ โอวาทวรกจิ (แกน่ ) ดงั นี้

52

๔๘

๔๙

๔๘ ปืนใหญ่ช่ือ มหาชัย ต้ังอยู่ท่พี พิ ิธภณั ฑศ์ ูนย์การทหารปนื ใหญ่ จงั หวดั ลพบรุ ี
๔๙ ล�ำกลอ้ งดา้ นหน้าของปนื ใหญส่ มัยอยธุ ยา สนั นิษฐานวา่ มีชือ่ มานพนิ าศ
ท่ีในอดตี ไดเ้ คยส�ำแดงเดชจนเปน็ ท่คี ร่นั ครา้ มของพระเจ้าหงสาวดี

53

จ่งึ ตรัสใหท้ ่านเจ้า พระยา ช่ังเฮย
ฝรั่งรบั ลากปืนมา ถ่วงท้อง
เรือเพียบเทา่ ใดตรา ทกึ ลาก ขน้ึ แฮ
ชัง่ ศิลาลงตอ้ ง เทยี บน�้ำแนวเดิม
กแ็ จ้งโดยเล่หล์ �้ำ แหลมหลกั
ปืนพระพิรุณหนัก เทา่ นั้น
กราบทลู พระจอมจกั ร พรรดทิ ราบ บาทเฮย
ข้าราชการคิดขย้ัน ขยาดครา้ มเชิงเฉลียว ฯ

ปืนพระพิรุณ ยังมีความปรากฏในเหตุการณ์หลังเสียกรุงใน พ.ศ. ๒๓๑๐ ว่า
เนเมียวแม่ทัพใหญ่กับแม่ทัพนายกองให้ขนปืนใหญ่น้อยในพระนครไปด้วย พระราช
พงศาวดารว่า ได้ปนื ใหญ่นอ้ ยพนั สองรอ้ ยเศษ ปืนนกสับหลายหมนื่ เอาลงบรรทุกเรอื เมื่อ
ไปถึงตลาดแก้ว...เห็นว่า ปืนพระพิรุณน้ันใหญ่นักเหลือก�ำลังท่ีจะเอาไปเมืองอังวะ จึงให้
เขน็ ชักขนึ้ จากเรอื เอาข้ึนที่วดั เขมา ใหเ้ อาดนิ ด�ำประจเุ ต็มกระบอกจุดเพลงิ ระเบิดเสีย...
แต่บา้ งก็วา่ ฝ่ายไทยไดเ้ อาลงจมไวใ้ นสระแก้ว พระราชวงั กรุงเก่า มีผู้ไปขุดค้น
กนั เมอ่ื ในรชั กาลท่ี ๔ เรอื่ งจรงิ จะเปน็ อยา่ งไรไมแ่ นช่ ดั แตห่ ลกั ฐานทบ่ี าทหลวงเดอชวั ซแี หง่
ฝรั่งเศสได้เคยเห็นกับตาตัวเองว่า ปืนพระพิรุณ มีขนาดใหญ่ ปากล�ำกล้องมีความกว้าง
ถึง ๑๔ น้วิ ลกู กระสนุ มีนำ้� หนักราว ๓๐๐ ปอนดเ์ ศษ ปืนพระพิรณุ ได้จบสนิ้ ภารกจิ ไป
พร้อมกบั กรงุ ศรีอยธุ ยา
เร่ืองราวของปืนใหญ่ส�ำคัญ และปืนชนิดต่างๆ ทีบ่ นั ทึกอยใู่ นเอกสาร ท่ียงั เหลือ
ปรากฏของจริงอยู่ต่อมา คือ ปืนใหญ่อีกชุดหนึ่ง ท่ีไปปรากฏอยู่ ณ พิพิธภัณฑสถาน
เมอื งมทั ราส ประเทศอนิ เดยี พพิ ธิ ภณั ฑไ์ ดร้ บั จากคลงั แสงทป่ี อ้ มเซนตจ์ อรจ์ เมอื่ ครง้ั องั กฤษ
ขนไปจากเมอื งมณั ฑเลใน พ.ศ. ๒๔๒๘ ปนื ใหญท่ ง้ั ๔ กระบอก นีม้ ีจารึกภาษาไทยและ
ภาษาพม่า ให้ความรู้ขยายความไปจากพระราชพงศาวดารทีน่ ่าสนใจย่งิ
พ.ต.อ.ทวยหาญ ยมนาค เขียนบทความเร่ือง ปืนใหญ่กับวัดท่าการ้อง ใน
หนังสือสังคมศาสตร์ปริทัศน์ ซึ่งได้น�ำมารวมพิมพ์ไว้กับปาฐกถางานอนุสรณ์อยุธยา
๒๐๐ ปี ระหว่างวนั ที่ ๗ - ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๐ ในบทความนี้ ผู้เขยี นได้อ้างถึงเรอื่ ง
“จดหมายเหตเุ ร่ืองปืนโบราณของไทยบางกระบอก” ของ นายซ.ี เอ. ซยี ์เมอร์ ซเี วลล์
มีสาระทสี่ �ำคญั มาก เพราะมจี ารึกทปี่ ืนบอกให้รูว้ า่ เป็นปืนของกรมพระต�ำรวจ ดงั ต่อไปนี้

54

๕๐

๕๐ โคลงภาพพระราชพงศาวดารเขียนขึ้นเม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๓๐ เปน็ เหตกุ ารณ์ตอนทส่ี มเดจ็ พระนารายณม์ หาราช
โปรดให้ข้าราชส�ำนักแขง่ กันช่งั ปืนพระพิรณุ หรือปนื พริ ุณ ด้วยสติปญั ญาอันเฉียบแหลมของ
เจา้ พระยาวิไชยเยนทร์ ได้ใหเ้ ข็นปนื ลงเรือนางเปด็ หลายล�ำ เรือจมเท่าใดให้ท�ำเคร่ืองหมายไว้
แล้วให้น�ำกรวด เศษอฐิ ใส่ในเรอื ใหเ้ ทา่ กับเครื่องหมายทท่ี �ำไวแ้ ละน�ำมาบวกรวมกัน จนได้เปน็ น้ำ� หนกั ของปนื

55

กระบอกที่ ๑ มคี �ำว่า ในซาย (นา่ จะเป็นในซา้ ย) และในทบั หลวง (น่าจะเป็น
ทพั หลวง) ตอ่ ดว้ ย ไดวงแลว (ไมส่ ามารถแปลความแนน่ อนได)้
กระบอกที่ ๒ มีค�ำว่า ใหญ่ซาย (น่าจะเป็นใหญ่ซ้าย) และตัวเลขซ่ึงพระยา
โบราณราชธานนิ ทร์ สนั นษิ ฐานวา่ อาจจะหมายถงึ นำ้� หนกั ดนิ ปนื ทใ่ี ชเ้ ปน็ ดนิ ชนวน ในการ
บรรจปุ นื โดยล�ำดับ แต่ก็วา่ ยงั ไม่ใชข่ ้อสนั นษิ ฐานทีถ่ ูกต้องนกั
กระบอกที่ ๓ มคี �ำว่า ในขวา และยงั มีค�ำจารกึ อกั ษรไทยเรียงรายอย่ใู นรปู กึ่ง
วงกลม คือ
กกู อหลอ่ ในวันพฒุ เดอื นหก
ขึน้ สิบสามค่ำ� วอก ส (ม) ฤ (ทธ)ิ ศก
เพลารงุ่ แล้วสองนลิ ิกาหก
บาท จลุ ศักราช ๑๐ (๙๐)
พ.ต.อ.ทวยหาญ ยมนาค ได้ขยายความเกย่ี วกับจารึกน้ี พร้อมกบั ขอ้ สันนิษฐาน
ของ นายซเี วลล์ วา่ ตามวนั เดอื น ปี ตรงกับรัชสมัยพระเจ้าทา้ ยสระ จุลศักราช ๑๐๖๘
- ๑๐๙๔ (พ.ศ. ๒๒๐๙ - ๒๒๙๐) ค�ำว่า กู เป็นสรรพนามหมายถึง พระเจ้าท้ายสระ ปืน
กระบอกน้ีน่าจะหล่อในโอกาสพิเศษอย่างใดอย่างหน่ึง ซ่ึงพระเจ้าแผ่นดินประทับเป็น
ประธานอยดู่ ้วย จงึ นา่ จะเป็นปืนทย่ี กย่องกันเป็นพเิ ศษ เม่อื ตกอยูใ่ นมอื ของพม่าจงึ จารกึ
เปน็ ความหมายทีม่ ีชัยชนะอย่างงดงาม
กระบอกท่ี ๔ มคี �ำว่า ในขวา
ปืนใหญ่ทั้งหมดนี้ ยกเว้นกระบอกท่ี ๓ ที่มีหลักฐานว่าเป็นปืนหล่อของกรุง
ศรีอยุธยาชดั เจน ส่วนกระบอกที่ ๑ ท่ี ๒ และที่ ๔ มีตราของราชวงศ์ออราเบยี แสดงวา่
ปืนใหญท่ �ำในยโุ รปสมยั โบราณ
ส่วนจารึกภาษาพม่าซ่ึงแน่นอนว่า เป็นจารึกเพิ่มขึ้นในภายหลัง มีความอย่าง
เดยี วกันวา่ จบั ได้ ณ กรุงทวาราวดีในปจี ุลศักราช ๑๑๒๘ (พ.ศ. ๒๓๐๘) เฉพาะกระบอก
ท่ี ๔ มคี วามละเอียดเพม่ิ ขึน้ ว่า จบั ได้ ณ กรุงทวาราวดใี นภายหลัง ๙ นาฬิกา ในคืนวนั
อังคาร ข้ึน ๙ คำ�่ เดอื นตาคู (เดือน ๕) จุลศกั ราช ๑๑๒๘ (วันอังคารท่ี ๑๘ มนี าคม พ.ศ.
๒๓๐๘)
วนั ทจี่ ารกึ นเ้ี ปน็ เวลากอ่ นกรงุ แตกเกอื บ ๑ ปี นายซเี วลล์ สนั นษิ ฐานวา่ ปนื เหลา่
นค้ี งจะตไี ดจ้ ากปอ้ มชน้ั นอกของพระนคร หรอื ขณะทท่ี างกรงุ ออกตโี ต้ แตต่ ามวนั เวลานยี้ งั
ขัดกับหลักฐานในพงศาวดารท้ังของไทยและพม่า เพราะไม่ได้มีการรบพุ่งกัน ประเด็นนี้
พ.ต.อ.ทวยหาญ ยมนาค มีความเห็นวา่ ระยะเวลาใกลเ้ คียงกบั เดือน ๕ มคี ราวหน่งึ คือ ใน
เวลาทชี่ าวบา้ นบางระจนั ก�ำลงั รวมก�ำลงั ตอ่ สรู้ บชนะหลายครงั้ ทางในกรงุ ดใี จจดั ก�ำลงั ไปตี
คา่ ยพม่าที่ปากนำ�้ พระประสบข้างฝ่ายเหนือแตเ่ สียทีแตกพา่ ย จงึ นา่ จะเปน็ เหตุการณ์ตาม
ทจ่ี ารึกไวบ้ นปืนใหญ่ทีย่ ดึ ไปไดค้ ราวน้ัน

56

๕๑

๕๒

๕๑, ๕๒ ปืนใหญข่ องอยธุ ยาทถี่ ูกยึดไปยังเมอื งพม่า ภายหลังองั กฤษได้เมอื งพมา่ น�ำไปไว้ท่อี ินเดีย
มีจารึกภาษาไทยบอกต�ำแหนง่ หนา้ ทขี่ องปนื และจารกึ ภาษาพมา่ บอกวนั เดอื น ปีทีไ่ ดป้ นื ไป

57

นอกจากช่ือปืนใหญ่หลายกระบอกที่มีส่วนร่วมในประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา
แลว้ ศริ ริ จั น์ วงั ศพา่ ห์ ยงั ใหค้ วามรชู้ อื่ ปนื หลกั ประจ�ำเรอื พระทนี่ งั่ ของสมเดจ็ พระนารายณ์
มหาราชทค่ี วรกลา่ วไวด้ ว้ ย ไดแ้ ก่ ปนื ปราบเมืองลุ และปรุบาดาล วา่ นา่ จะเป็นปนื ยาวมี
เพลาขนาดเลก็ ยนื่ ออกมาจากล�ำกลอ้ งทงั้ ๒ ขา้ ง มหี ลกั เปน็ เหลก็ รปู ตวั วาย (Y) ขาซา้ ยและ
ขวาคล้องอยู่ท่ีเพลา ขาด้านล่างปักลงบนขาหย่ังท�ำหน้าท่ีเป็นหลักยึดปืนและช่วยเปลี่ยน
ทศิ ทางการยิงได้รวดเร็ว ปืนหลักน้ีใชต้ ดิ ตัง้ บนหลังช้างบนสัปคับ มเี สาปักขาหยงั่ ต้ังปนื ได้
เชน่ กัน

๕๓

๕๔
๕๓ ช้างปนื ในขบวนแห่พระราชพิธโี สกันตข์ องสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช เจา้ ฟ้ามหาวชิรุณหศิ สยามมกฎุ ราชกมุ าร
๕๔ สัปคบั ชา้ งมีเสาและมีปืนหลักหลงั ช้างปักอยู่ ต้งั แสดง ณ พิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร

58

ปืนใหญย่ ุโรปสมยั กรุงศรีอยธุ ยา
จากการศกึ ษาตรวจคน้ อยา่ งจริงจงั ศริ ริ ัจน์ วงั ศพ่าห์ พบวา่ ปืนยุโรปทีเ่ ข้ามา
ในกรุงศรีอยุธยา และที่มีอายุตรงกับสมัยอยุธยา พบมากที่หัวเมืองทางภาคใต้ เช่น ท่ี
นครศรีธรรมราช สงขลา ตรัง ภูเกต็ ฯลฯ ปนื ใหญ่ประจ�ำตามหัวเมืองต่างๆ มีบางส่วนท่ี
สง่ ตรงจากพระนคร หรือทางกรมการเมอื งอาจจะส่ังซ้ือจากพอ่ ค้าฝร่ังทท่ี �ำการค้าขายอยู่
บรเิ วณนน้ั การจดั สง่ ปนื ใหญก่ ค็ งกระท�ำไดไ้ มย่ ากนกั เพราะมสี ถานกี ารคา้ ของพวกเขาอยู่
ใกล้เคียง เชน่ สถานที างการค้าของชาวฮอลนั ดาทร่ี ิมคลองตาสัก จงั หวดั นครศรีธรรมราช
ท�ำให้พบปนื ฮอลันดาสมยั อยุธยาเป็นจ�ำนวนมากที่จงั หวัดนน้ั
ปนื ใหญฮ่ อลันดา
ฮอลันดาเป็นชาวตะวันตกชาติท่ีสองต่อจากโปรตุเกสที่เข้ามาถึงกรุงศรีอยุธยา
และพ�ำนักอยู่นานจนเสียกรุงแล้วจึงกลับออกไป ดังมีบันทึกของหัวหน้าสถานีการค้า
ฮอลันดาท่ีเก็บสาระเรื่องราวของสังคมอยุธยาจนถึงกับเขียนพงศาวดารได้ที่เรียกว่า
พงศาวดารฉบบั วนั วลติ ซง่ึ บางช่วงบางตอนกลา่ วเรอ่ื งชาวฮอลันดาเป็นชาติหนงึ่ ที่จัดหา
อาวธุ ให้กบั อยธุ ยาผา่ นบรษิ ทั อินเดยี ตะวนั ออกของฮอลนั ดา
ปืนใหญ่ฮอลันดา ท่ีส�ำรวจพบมีทั้งหล่อด้วยส�ำริด และเหล็ก มีความสวยงาม
มาก ลักษณะโดยทวั่ ไป ปากกระบอกเป็นรปู ดอกทวิ ลปิ หจู ับยกปนื เปน็ รปู ปลาโลมา (ปืน
เหลก็ ไม่มหี จู ับ) รชู นวนอยู่ในกรอบส่ีเหล่ียมผนื ผา้ หรอื ส่เี หล่ียมขนมเปียกปนู บนล�ำกล้อง
มตี ราของบริษัท คือ V O C เหนือตราบรษิ ทั มตี ัวอักษรบอกเมอื งท่ีหลอ่ ปืน R A H M Z E
มีความหมายดังนี้
R = Rotterdam
A = Amsterdam
H = Hoorn
M, Z = Middleburg แควน้ Zeeland
E = Enkhuizen
และยังมชี อื่ ชา่ งผู้หล่อปนื ปีท่ีหล่อปืน จารกึ อยู่ด้วย
เชน่ กระบอกทตี่ ั้งแสดง ณ พิพธิ ภัณฑ์พระปกเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว กองพลต่อสู้อากาศยาน
บนล�ำกลอ้ งมีจารกึ รปู นนู ตราบรษิ ัท V O C
เหนอื ตราบรษิ ัท V O C มีอักษรตวั R และ
ปี 1678 หมายความวา่ หลอ่ ที่เมอื ง Rotterdam
ใน ค.ศ. 1678 ตรงกับ พ.ศ. ๒๑๗๑ อยใู่ นรชั กาลสมเดจ็ พระเชษฐาธริ าช แต่จะ
เขา้ มาถงึ กรงุ ศรอี ยุธยาเม่อื ใดไม่อาจระบไุ ด้

59

กระบอกท่ีอยู่ในกองบัญชาการ กองทพั ภาคที่ ๑ มี ๒ กระบอก
มตี รา V O C และตัวอกั ษร Z ตอนบน M ตอนลา่ ง และปี 1759 ถอดความได้วา่ เปน็ ปืนของบริษทั
อินเดียตะวนั ออกของฮอลนั ดา หล่อขึน้ ในปี ค.ศ. 1759 (พ.ศ. ๒๓๐๒) ส�ำนักงานทีห่ ลอ่ ปนื คอื Middleburg
แควน้ Zeeland แตม่ ีขอ้ สังเกตว่า ตราบริษทั และชือ่ เมอื งไมม่ คี วามนูนในตวั เอง มีการจารึกภายหลัง จึงอาจ
หล่อจากที่อ่ืนก็ได้ สว่ นปที ห่ี ลอ่ ตรงกบั รชั กาลสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวสุรยิ าสอมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศน์)
กระบอกท่ีอยู่ในพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา มจี ารกึ ขอ้ ความทค่ี วรศกึ ษาวา่ Amsterdam
lighthouse หรือ Amsterdam proof mark หมายความวา่ ปืนกระบอกน้ีได้ผา่ นการทดสอบยงิ ทโ่ี รงงาน
แหง่ เมือง Amsterdam
กระบอกทอ่ี ยหู่ นา้ ตกึ ไทยคฟู่ า้ ทำ� เนยี บรฐั บาล ๒ กระบอกคกู่ นั ปนื ใหญ่ ๒ กระบอกนี้ มสี ญั ลกั ษณ์
ทนี่ า่ สนใจยงิ่ คอื จารกึ นนู รปู เรอื ใบสามเสา (Three masted full ridge ship) คลา้ ยกบั ลวดลายในปา้ ยหมบู่ า้ น
ฮอลนั ดาทีพ่ ระนครศรีอยธุ ยา และยังมจี ารึก 2610A บอกน้ำ� หนกั ราว ๒ ตัน
ปนื กระบอกน้ี จึงน่ามคี วามหมายถึงหมเู่ รอื ฮอลันดาทเ่ี ดนิ ทางไปขายโพ้นทะเล
กระบอกทตี่ งั้ อยใู่ นคา่ ยวชริ าวธุ นครศรธี รรมราช กระบอกนม้ี คี วามส�ำคญั มากเชน่ กนั ทเี่ หนอื ตรา
บริษัท VOC มีค�ำว่า Batavia แสดงวา่ หล่อขน้ึ ทีเ่ มืองปตั ตาเวยี ส�ำนกั งานใหญข่ องบริษทั ประจ�ำอาณานิคม
แหง่ นี้ และยังมีปที ่หี ลอ่ ตรงกบั รัชกาลสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช
กระบอกทเ่ี สาธงหนา้ โรงเรยี นประจำ� จงั หวดั พทั ลงุ จ�ำนวน ๒ กระบอก เปน็ ปนื เหลก็ ของฮอลนั ดา
มีตรา V O C แกะลงในเนอ้ื ล�ำกล้อง อกั ษร F หลอ่ นนู หมายถึงชอ่ื โรงงานที่ Finspang เมอื ง Ostergotland
ประเทศสวเี ดน ทบี่ ริษัทจ้างให้หลอ่ ข้ึน นอกจากนย้ี งั มตี รา Proof mark บอกการผ่านทดสอบยงิ ณ โรงงาน
แห่งเมือง Amsterdam แสดงว่าแม้จะว่าจ้างให้สวีเดนหล่อแต่บริษัท VOC ก็ได้น�ำมาทดสอบคุณภาพโดย
ทดลองยงิ ใหม้ ัน่ ใจเสยี กอ่ น
ปนื เหลก็ ของฮอลันดาน้ี ในอดตี มชี อ่ื ในตลาดค้าอาวธุ วา่ Finbanker of Dutch Pattern

60

๕๕ ๕๖
๕๘
๕๗
๕๕ ปนื ใหญส่ มัยอยธุ ยาของบริษทั อนิ เดียตะวันออกของฮอลนั ดา มีอายุราว ๓๘๔ ปี 61
ตั้งประดบั ภายในกองพลปืนใหญต่ อ่ สู้อากาศยาน
๕๖ จารกึ แสดงว่า ปืนใหญก่ ระบอกนเ้ี ป็นของบริษัทอินเดยี ตะวันออกของฮอลนั ดา
หล่อขน้ึ ทเ่ี มือง Rotterdam ปี ค.ศ. 1628 ตรงกับปี พ.ศ. ๒๑๗๑
๕๗ ปืนใหญส่ มยั อยุธยาของบริษทั อินเดียตะวนั ออกของฮอลนั ดา มอี ายรุ าว ๒๕๓ ปี
ตั้งประดับภายในกองบัญชาการกองทัพภาคที่ ๑
๕๘ จารกึ แสดงวา่ ปนื ใหญ่กระบอกน้เี ปน็ ของบริษทั อินเดียตะวนั ออกของฮอลนั ดา
ทมี่ ีส�ำนักงานทเี่ มอื ง Middleburg แคว้น Zeeland หล่อปี ค.ศ. 1759 ตรงกบั ปี พ.ศ. ๒๓๐๒

๕๙

๖๐
๕๙ ตราปรพู๊ มาร์ค Amsterdam light house จารกึ บนล�ำกลอ้ งปืนแสดงวา่
ปืนไดผ้ ่านการทดสอบแลว้ ทโ่ี รงงานเมือง Amsterdam คล้ายกับตรา Tower ของประเทศองั กฤษ
๖๐ ปืนใหญส่ มยั อยธุ ยาของบรษิ ทั อินเดยี ตะวันออกของฮอลนั ดา มอี ายุราว ๓๗๑ ปี
ตัง้ ประดับดา้ นหน้าตึกไทยคู่ฟา้ ท�ำเนยี บรัฐบาล

62

๖๑ ๖๒

๖๑ จารึกรปู เรอื ใบสามเสากระโดง (Three masted full ridge ship)
แสดงถงึ การเดนิ ทางคา้ ขายไปยงั ทวปี อนั ไกลโพ้นของบริษทั อนิ เดยี ตะวันออกของฮอลนั ดา
๖๒ ปนื ใหญ่สมยั อยุธยาของบรษิ ัทอนิ เดียตะวนั ออกของฮอลันดา มีอายรุ าว ๓๔๕ ปี
ตง้ั ประดับภายในคา่ ยวชริ าวธุ กองทพั ภาคท่ี ๔ จังหวดั นครศรีธรรมราช

63

๖๓

๖๓ จารึกแสดงวา่ ปืนใหญ่กระบอกนเ้ี ป็นของบริษัทอินเดียตะวนั ออกของฮอลันดา หลอ่ ขึ้นปี พ.ศ. ๒๒๑๐
ทเี่ มือง Batavia ทตี่ ง้ั ส�ำนกั งานใหญข่ องบรษิ ัทอินเดียตะวันออกของฮอลนั ดา ปัจจุบันคอื เมอื ง Jakarta
ประเทศอินโดนีเซยี

64

๖๔

๖๕

๖๔ ปืนใหญเ่ หล็กสมัยอยุธยาของบรษิ ัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา มชี ่อื วา่ Finbanker of Dutch
pattern ปจั จบุ ันตง้ั ประดับภายในโรงเรียนประจ�ำจงั หวดั พทั ลงุ
๖๕ เพลาปืนหลอ่ นูนตวั อกั ษร F แสดงวา่ ปนื กระบอกน้หี ลอ่ มาจากท่ี Finspang เมอื ง Ostergotland
ประเทศสวเี ดน

65

ปนื ใหญ่อังกฤษ
ชาวองั กฤษเขา้ มาเปดิ สถานกี ารคา้ แหง่ แรกทปี่ ตั ตานใี น พ.ศ. ๒๑๕๕ มบี นั ทกึ วา่
กปั ตนั โทมสั เอสซงิ ตนั เขา้ เฝา้ สมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม ทลู เกลา้ ฯ ถวายพระราชสาสน์ ของ
พระเจ้าเจมสท์ ่ี ๑ ได้รับพระบรมราชานญุ าตให้เปดิ สถานกี ารค้าในกรุงศรอี ยุธยา
ปนื ใหญข่ ององั กฤษตรงกบั สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยามจี �ำนวนไมม่ าก แตม่ ตี ราสญั ลกั ษณ์
ทีศ่ ึกษาไดช้ ัดเจน เช่น ปนื ใหญแ่ บบ Rose and Crown Pattern มีจารึกรูปนนู รปู ดอก
กหุ ลาบภายใตม้ งกฎุ ซงึ่ เปน็ ตราพระราชลญั จกรของสมเดจ็ พระราชนิ แี อน (Queen Ann)
ครองราชสมบัตริ ะหว่าง พ.ศ. ๒๒๐๓ - ๒๒๕๗ ปัจจบุ ันพบทีม่ หาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
ศาลากลางจังหวัดตรัง หน้าสโมสรค่ายกาวิละ เชียงใหม่ หน้าพระบวรราชานุสาวรีย์
พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว โรงละครแห่งชาติ (ตั้งเป็นข้อสังเกตไว้ว่า บาง
กระบอกอาจน�ำเข้าสมยั ธนบรุ ี หรือสมัยต้นรัตนโกสินทร)์

๖๖ ๖๗
๖๖ ปนื ใหญเ่ หลก็ สมัยอยุธยาขององั กฤษ แบบ โรส แอนด์ คราวน์ มีอายุราว ๓๕๐ ปี
ตัง้ ประดับภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทา่ พระจันทร์
๖๗ พระราชลญั จกร มงกุฎ ประดบั เหนอื ดอกกุหลาบ ของสมเด็จพระราชินีแอน (Queen Ann)
แห่งประเทศองั กฤษ ครองราชยป์ ี พ.ศ. ๒๒๐๓ - ๒๒๕๗

66

ปืนใหญ่สเปน
บทความเร่ือง กรุงศรีอยุธยากับความสัมพันธ์สามเส้าตามเอกสารหลักฐาน
สเปน The Philippine Islands, 1493 - 1893 ใหค้ วามร้เู กย่ี วกับความสมั พนั ธ์ระหว่าง
กรงุ ศรอี ยธุ ยากับสเปน ซง่ึ ได้ปกครองฟลิ ปิ ปินส์มลี กั ษณะท่ไี ม่ราบร่นื และขอ้ มลู จากการ
ส�ำรวจดินแดนของกรุงศรีอยุธยา ก็เพ่ือแสวงหาทรัพยากร ซึ่งหวังจะเข้าพิชิตและเผยแผ่
คริสตศ์ าสนานิกายคาทอลกิ แต่ความสมั พันธ์ครัง้ น้ี ก็ประสบปัญหาโดยมีกรุงกมั พชู าเขา้
มาเกย่ี วขอ้ งดว้ ย เพราะกรงุ กมั พชู ากม็ งุ่ หวงั ใหส้ เปนคมุ้ ครองตนจากกรงุ ศรอี ยธุ ยา จงึ เปน็
ความสมั พันธ์สามเส้าที่มปี ัญหาอยมู่ าก
กล่าวเฉพาะสาระเร่ืองปืน มีเหตุการณ์ที่ท้าทายพระราชอ�ำนาจสมเด็จพระ
นเรศวรคราวหน่ึง เมอ่ื นายฟรานซสิ โก เด เตโย เด กูซมัน (Francisco de Tello de
Guzman) ผู้ว่าราชการฟลิ ปิ ปนิ ส์ แตง่ ต้ัง ฆวน เตโย (Joan Tello) เป็นราชทตู มาเจรญิ
ทางพระราชไมตรกี บั กรงุ ศรอี ยธุ ยา เดนิ ทางถงึ อยธุ ยากอ่ นวนั ที่ ๕ พฤษภาคม ค.ศ. ๑๕๙๘
ราชทตู ผนู้ ี้ ทจี่ รงิ เปน็ พอ่ คา้ มธี รุ กจิ ทกี่ รงุ ศรอี ยธุ ยา เมอ่ื เดนิ ทางมากม็ งุ่ จะด�ำเนนิ การคา้ และ
ธุรกิจของตน จงึ ระมดั ระวงั ประหยัดถ้วนถี่ในการถวายเครอ่ื งราชบรรณาการ
ที่น่าประหลาดใจอย่างย่ิงคือ การที่เขาเป็นพ่อค้ามากกว่านักการทูต ทั้งๆ ที่
ทราบวา่ สมเด็จพระนเรศวรทรงพอพระราชหฤทยั ปนื ใหญป่ ระจ�ำเรอื เขากลบั น�ำถ่วงน�้ำ
ไว้ คงเหลือเพยี งปืน ๑ กระบอก และปืนคาบศลิ าอกี เลก็ นอ้ ยผา่ นเขา้ มาถงึ พระนคร เมอ่ื
ด�ำเนินธุรกิจแล้วเห็นว่ามีผลก�ำไรน้อยและดูเหมือนสมเด็จพระนเรศวรไม่โปรดเท่าใดนัก
จึงลอบเดินทางกลับโดยไม่เข้าเฝ้ากราบถวายบังคมลาตามธรรมเนียมทางการทูต อีกท้ัง
ยังลักลอบน�ำบุคคลต้องโทษออกนอกพระราชอาณาจักร ทางการไทยจึงสั่งให้กองเรือไล่
ติดตาม ได้ยิงต่อสู้กันด้วยปืนใหญ่และปืนคาบศิลา ภายหลังกองเรือทูตของสเปนได้กู้ปืน
ใหญท่ ่แี อบซุ่มซอ่ นไว้กลับไปได้ นบั เป็นเร่อื งราวของปนื ใหญ่ประจ�ำเรือท่ีไดน้ �ำถว่ งน้�ำซอ่ น
ไว้แลว้ กู้กลบั ขึน้ ได้อยา่ งพิสดาร
ศริ ริ จั น์ วงั ศพา่ ห์ ไดศ้ กึ ษาพบ ปนื สเปน ทมี่ อี ยใู่ นสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ๒ กระบอก
ตัง้ แสดง ณ ห้องอาวุธไทย พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร มีชอื่ จารึกไวว้ ่า พลายเพ็ชร
และ เกล็ดนาค หล่อใน พ.ศ. ๒๑๕๓ ตรงกับรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม มีข้อควร
สังเกตวา่ เมือ่ นายเทานเ์ ซนด์ แฮรีส (Townsend Harris) ทูตอเมรกิ า เดนิ ทางเข้ามาใน
พ.ศ. ๒๓๙๙ เขาบันทึกไวว้ ่า ได้เห็น ปืนสเปน หลอ่ ขน้ึ ราว ๒๐๐ ปี ลว่ งมาแล้ว อย่บู นหลงั
ชา้ งในกระบวนรับทูต กน็ ่าจะเปน็ ปนื สเปน สมยั กรงุ ศรีอยุธยาทีต่ กทอดมา แตจ่ ะอยู่ ณ
ท่ีใดในปัจจบุ นั ยังคงเปน็ ค�ำถามท่รี อหาค�ำตอบอยู่

67

ปนื เดนมารก์
การได้พบ ปืนใหญเ่ ดนมารก์ ท่สี รา้ งขึน้ ตรงกับสมยั อยธุ ยา แม้มีจ�ำนวนไมม่ าก
แต่กเ็ ป็นสงิ่ ท่ีนา่ ศกึ ษาเช่นเดยี วกบั ปนื ใหญข่ องชาติอื่นๆ เพราะบริษทั เดนชิ อีสตอ์ นิ เดยี
ตั้งขึ้นเมอ่ื พ.ศ. ๒๑๕๙ ตามค�ำแนะน�ำของฮอลันดาได้มคี วามสมั พันธก์ บั ผ้สู �ำเร็จราชการ
เมอื งตะนาวศรซี งึ่ ขน้ึ กบั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ออกญาไชยาธบิ ดแี หง่ เมอื งตะนาวศรี ไดม้ ศี ภุ อกั ษร
อนุญาตให้กัปตันครัปเป ชาวเดนมาร์ก ตั้งสถานีการค้าอยู่ทางภาคใต้ของอินเดียเข้ามา
คา้ ขาย ณ กรงุ เทพทวาราวดีศรอี ยุธยาได้ พ่อค้าเดนมารก์ เป็นชาติหนงึ่ ที่จดั หาปืนใหญใ่ ห้
กรุงศรอี ยุธยาโดยไดช้ ้างซ่ึงเปน็ สนิ ค้าจากอยธุ ยากลับไป
ปนื ใหญเ่ ดนมารก์ ไดพ้ บอยทู่ ค่ี า่ ยวชริ าวธุ นครศรธี รรมราช ทสี่ ถานตี �ำรวจภธู ร
จงั หวดั นครศรธี รรมราช และสถานตี �ำรวจภธู รจงั หวดั ภเู กต็ มจี ารกึ นนู รปู มงกฎุ เหนอื อกั ษร
C และ เลข 5 เกี่ยวกัน และตวั อกั ษร OSTINDSCHE COMPAGNIE และ 1696 ซ่งึ เปน็
ตราของบรษิ ทั และปที สี่ ร้างปืน ปี พ.ศ. ๒๒๓๙ ตรงกับรชั กาลสมเด็จพระเพทราชา

68

๖๘

๖๙

๖๘ ปนื ใหญ่สมยั อยธุ ยาของสเปนมีชือ่ พลายเพ็ชร มีอายุราว ๔๐๒ ปี ๗๐
ปจั จบุ นั ตง้ั แสดง ณ พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร
๖๙ ปนื ใหญส่ มยั อยุธยาของเดนมารก์ มีอายรุ าว ๓๑๖ ปี 69
ปจั จุบันตัง้ ประดับภายในค่ายวชริ าวธุ กองทัพภาคที่ ๔ จงั หวัดนครศรีธรรมราช
๗๐ จารกึ แสดงวา่ ปนื ใหญ่กระบอกนเ้ี ป็นของบรษิ ทั อินเดยี ตะวนั ออกของเดนมาร์ก
หล่อในปี 1696 ตรงกบั พ.ศ. ๒๒๓๙

ปืนฝรงั่ เศส
ความสัมพันธ์ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับฝร่ังเศส เริ่มข้ึนในรัชสมัยสมเด็จพระ
นารายณ์มหาราชด้วยบทบาทของคณะมิชชันนารี เพ่ือเผยแผ่คริสต์ศาสนาคาทอลิก ซ่ึง
เชิญพระราชสาส์นของพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ศุภอักษรของพระสันตปาปาเคลมองต์ท่ี ๙
และเคร่ืองราชบรรณาการเข้ามาถวายเพื่อขอบพระทัยที่ทรงอุปการะมิชชันนารีให้ได้รับ
ความรม่ เยน็ หลงั จากนนั้ บรษิ ทั อนิ เดยี ตะวันออกของฝรงั่ เศสกเ็ ข้ามาตงั้ ห้างคา้ ขายในกรงุ
ศรอี ยุธยา และยงั ได้รับพระราชานญุ าตใหไ้ ปคา้ ขายดีบกุ ทีเ่ มอื งถลาง รวมทัง้ ทรงยกเมือง
สงขลาใหบ้ รษิ ทั สรา้ งปอ้ มปราการได้ การตดิ ตอ่ ระหวา่ งกนั มเี รอ่ื งราวใหศ้ กึ ษามาก จากการ
ส่งคณะราชทูตไปมาเพ่ือเจริญทางพระราชไมตรี แต่ภายหลังได้มีข้อสงสัยในกลุ่มขุนนาง
ไทยในเร่ืองการโน้มน้าวให้สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงเปล่ียนไปนับถือคริสต์ศาสนา
และยงั มคี วามหวาดระแวงเรือ่ งการเขา้ มามอี ทิ ธพิ ลทางการเมอื ง การทหาร ซงึ่ เชือ่ กนั ว่า
มเี จา้ พระยาวไิ ชยเยนทรอ์ ยเู่ บอื้ งหลงั มงุ่ หาผลประโยชนท์ างการคา้ และการเมอื งไปพรอ้ ม
กัน สุดท้ายฝรั่งเศสก็หมดบทบาทไปคงเหลือแต่เพียงหลักฐานบันทึกไว้มากมายทั้งของ
มชิ ชนั นารี คณะทูต พอ่ ค้า และทหาร
การท่ีสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงสนพระราชหฤทัยวิทยาการตะวันตก
เช่น โปรดให้วิศวกรสร้างป้อมปราการในเมืองต่างๆ และสร้างหอดูดาวเพ่ือทรงศึกษา
ดาราศาสตร์ ในส่วนของอาวุธยุทธภัณฑ์ ได้มีข้อตกลงในสัญญาทางการค้าที่อนุญาตให้
น�ำของต้องห้าม เช่น อาวุธปืน ดินปืน ฯลฯ แต่ต้องขายให้แก่ทางการ เชื่อกันว่าคงมี
ปนื ฝรง่ั เศสเขา้ มาดว้ ย อยา่ งไรกต็ าม กลบั มเี หตกุ ารณท์ ที่ �ำใหส้ มเดจ็ พระนารายณม์ หาราช
ทรงขดั เคอื งพระราชหฤทยั เพราะคณะราชทตู ไดส้ งั่ หา้ มไมใ่ หแ้ พรง่ พรายเกย่ี วกบั ปนื ใหญ่
แบบใหม่และลกู แตกที่ทนั สมัยที่น�ำเขา้ มาดว้ ยในเวลาน้นั
ความจรงิ เรื่องฝรั่งเศสมี ปืนใหญ่และกระสุนลกู แตกน้ี เจา้ พระยาวไิ ชยเยนทร์
หรือ ฟอลคอน เป็นผู้รู้ก่อนและขอดู แต่ถูกราชทูตปฏิเสธ ถึงแม้เจ้าพระยาวิไชยเยนทร์
จะอ้างว่าสมเด็จพระนารายณ์ทรงสนพระราชหฤทัยที่จะทอดพระเนตร เซเบเรต์ก็อ้าง
เหตุผลบ่ายเบย่ี งต่างๆ นานาว่า การบรรทกุ อาวุธใหมม่ ายังลพบุรีมีความยากล�ำบากมาก
เซเบเรต์ดูเหมือนจะเข้าใจท่าทีของฝ่ายไทยท่ีต้องการจะได้อาวุธใหม่ไว้ เขาจึงกล่าวต่อ
ไปว่า ปืนและลูกแตกยังต้องอยู่ในความดูแลของทหารฝรั่งเศสตามพระราชประสงค์ของ
พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ แตใ่ นท่ีสดุ นายพลเดฟาชจ์ ไดม้ อบ ปืนใหญ่ ๑ กระบอก และ กระสนุ
ลกู แตกจ�ำนวน ๓ ลกู แก่ไทยเพอื่ สาธติ การยงิ ท่ลี ะโว้ อยา่ งไรกด็ ี เม่ือออกพระวิสทุ ธสุนทร
(โกษาปาน) เป็นราชทูตไปฝร่ังเศสได้มีโอกาสดูป้อมเมืองต่างๆ หลายเมือง รวมท้ังป้อม
แซงต์ฟรังซัวส์ท่ีเมืองแอร์ซ่ึงเป็นป้อมส�ำคัญท่ีแปลกกว่าป้อมอื่นๆ ชมการยิงปืนใหญ่
โรงหล่อปืนใหญ่ โรงเรียนการทหาร ฯลฯ ได้ท�ำรายงานกลับมาทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จ
พระนารายณ์มหาราชใหท้ รงทราบอย่างละเอยี ด

70

มีข้อควรสังเกตเก่ียวกับอาวุธปืนท่ีบันทึกอยู่ในบัญชีเคร่ืองมงคลบรรณาการ
ท้ังส่วนที่พระเจ้าหลุยส์ท่ี ๑๔ และพระราชวงศ์ โปรดให้ราชทูตเชิญมาถวายสมเด็จ
พระนารายณม์ หาราช รวมทง้ั พระราชทานเจา้ พระยาวไิ ชยเยนทรแ์ ละสมเดจ็ พระนารายณ์
โปรดใหจ้ ัดไปถวายพระเจ้าหลยุ สท์ ี่ ๑๔ เช่น
ในส่วนที่พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ พระราชทานมายังมองซิเออร์คอนซตันซ์
(เจ้าพระยาวิไชยเยนทร์) ได้แก่ ดาบฝักทองค�ำ ๑ เล่ม ที่มือจับท�ำอย่างแบบของไทย
ฝักฝังพลอย ส่วนปืนมีหลายชนิด ปืน ๓ กระบอก สลักลายดุน ลายภาพ ฝังลวดทอง
ปนื พก ๒ คู่ และปืนดา้ มงา ศีรษะรูปราชสีหส์ ลักลายอีก ๑ คู่ และยงั มีอานม้าของหลวง
อยา่ งงาม ๒ เครือ่ ง พน้ื ก�ำมะหย่แี ดงและเขยี วปกั ลายทอง เครือ่ งพร้อมทงั้ โกลนปดิ ทอง
ซองส�ำหรับใสป่ นื พก
อาวธุ พรอ้ มเครือ่ งประกอบทีพ่ ระราชทานฟอลคอนน้ี ให้ความกระจา่ งเก่ยี วกบั
ภาพจิตรกรรมแบบไทยประเพณี ที่มีรูปภาพฝร่ังชาติตะวันตกขี่ม้า แต่งกายสง่างามพก
อาวุธทันสมัยไดช้ ดั เจนขึ้น
สง่ิ ของบรรณาการแกฟ่ อลคอน ยงั มขี องจากมาควสิ เดเซเนเล เปน็ ปนื จากเมอื ง
คานาดา ๑ กระบอก ท�ำดว้ ยฝมี อื อยา่ งประณตี ใสถ่ งุ ท�ำด้วยหนังแดงปดิ ลายดอกไมท้ อง
นอกจากน้ยี ังมี ปืนแบบต่างๆ ท่ีพระเจา้ หลุยส์ที่ ๑๔ พระราชทานแกร่ าชทตู
ไทย ๓ คนรวมถึง ๓๐ กระบอก
เปน็ อนั วา่ มปี นื ฝรง่ั เศสซงึ่ ไมใ่ ชส่ นิ คา้ เขา้ มายงั กรงุ ศรอี ยธุ ยาจ�ำนวนไมน่ อ้ ยในรปู
ของเครอ่ื งบรรณาการ
ส่วนเครื่องบรรณาการจากสมเด็จพระนารายณ์มหาราชท่ีโปรดให้จัดไปถวาย
ตอบแทนแก่พระเจ้าหลุยส์ท่ี ๑๔ และพระราชวงศ์ มีสิ่งของล้�ำค่าไม่แพ้กันทั้งเคร่ือง
ราชูปโภคทองค�ำ ของมีคา่ จากญป่ี นุ่ จีน พรมฮนิ ดูซตัน ล้วนท�ำดว้ ยฝีมือช่างงดงาม มปี นื
ใหญ่ ๒ กระบอก มบี ันทกึ วา่ ยาว ๖ ฟตุ กลึงด้วยมอื เอาไฟเข้าหลอ่ มปี ลอกเงนิ ตั้งบนแทน่
มีล้อ ฝังลายเงิน ท่นี า่ สนใจย่งิ คือ ในเวลาต่อมาไดม้ ีส่วนในการปฏวิ ัตฝิ ร่งั เศส ค.ศ. ๑๗๘๙
ดว้ ย Thomas Carlyle เขียนไว้ในหนงั สอื The French Revolution บทที่ ๖ วา่ ดว้ ย
Strom and Victory July 14th 1789 วา่

...จอร์เจต์ (Georget) นายทหารเรือที่เพ่ิงเดินทางจากเมือง
เบรสต์ (Brest) ก�ำลงั สาละวนอยกู่ บั ปนื ใหญข่ องพระเจา้ แผน่ ดนิ สยาม
ซง่ึ ต่างฝ่ายก็ไม่ไดค้ ้นุ เคยกนั มาก่อน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปืนใหญ่ซ่ึงได้
มาอยทู่ นี่ ี่ (ประเทศฝรงั่ เศส) เปน็ เวลารอ้ ยปผี า่ นมาแลว้ และในเวลาตอ่
มาพวกเขา (จอรเ์ จต์ และปนื ใหญ)่ ไดเ้ ขา้ รว่ มในการตอ่ สดู้ ว้ ยกนั และ
ไดน้ �ำไปใชย้ งิ ประตคู กุ บาสตลิ (the Bastille) เมอ่ื วนั ที่ ๑๔ กรกฎาคม
๑๗๘๙ (พ.ศ. ๒๓๓๒)

71

ปืนใหญ่สยาม ท้ัง ๒ กระบอก ปัจจุบันยังตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ทหาร
Invalides ประเทศฝร่ังเศส
เรือ่ งของ ปืนฝร่งั เศส ทมี่ อบให้ราชส�ำนกั สยามคงสูญหายไปหมด เหลือไวเ้ พียง
ปืนใหญฝ่ รั่งเศสทพี่ พิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช บนล�ำตัวปนื มตี รา Fleur de
lis หรือ Flower of the lily ตราพระราชลัญจกรของพระมหากษตั รยิ ์ประเทศฝรั่งเศส
กรอบรูชนวนคลา้ ยรปู ขวด
อยา่ งไรกต็ าม ปนื ฝรง่ั เศส ผเู้ ชยี่ วชาญปนื และชา่ งหลอ่ ปนื ฝรงั่ เศสไดม้ บี ทบาท
ตอ่ มาในสมัยต้นรตั นโกสนิ ทร์
เม่อื กลา่ วถึงปืนในประวัตศิ าสตร์ความสัมพนั ธ์ไทยกับฝรง่ั เศสแล้ว ก็ต้องพดู ถงึ
ปืนใหญ่ในประวัติความสัมพันธ์ไทยกับญ่ีปุ่นในรัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถในสมัยกรุง
ศรอี ยธุ ยาไวด้ ้วย
พระราชสาส์นจากโชกุนอิเอยาสุ ส่งมาเจริญทางพระราชไมตรีกับสมเด็จ
พระเอกาทศรถใน พ.ศ. ๒๑๔๘ มคี วามตอนหนงึ่ ว่า

...ย่อมเป็นธรรมดาอยู่ว่าประเทศท้ังปวงถ้าได้สัมพันธไมตรีต่อ
เนอื่ งกนั อยแู่ ลว้ ถงึ ประเทศนน้ั จะตงั้ อยหู่ า่ งไกลกนั กอ็ าจจะด�ำรงความ
ไมตรตี ดิ ตอ่ กนั โดยสนทิ สนมเหมอื นกบั อยใู่ กลก้ นั ถา้ ประเทศไมม่ ที าง
พระราชไมตรีกนั อยู่แล้ว แมจ้ ะอย่ใู กลช้ ดิ กนั ก็ประดุจกับหา่ งไกลกนั
นับตัง้ ๔๐๐ โยชน์
ในโอกาสนี้ ข้าพเจ้ามีความประสงค์จะใคร่ได้ปืนใหญ่ และไม้
หอมอยา่ งดี ในประเทศอนั รงุ่ เรอื งของพระองค์ ถา้ พระองคจ์ ะมรี บั สงั่
ให้จัดหาและส่งไปยงั ประเทศญ่ปี ่นุ จะเป็นพระคุณอนั ลน้ พ้น ขา้ พเจ้า
ได้สง่ เกราะ ๓ ส�ำรบั ๆ หนงึ่ มี ๓ ช้ิน กบั ดาบญีป่ นุ่ อยา่ งยาว ๑๐ เล่ม
มาถวายเปน็ ราชบรรณาการ...
ตามพระราชสาส์นนี้ ไม่มีหลักฐานชัดเจนว่า กรุงศรีอยุธยาจัดหา ปืนใหญ่ไป
พระราชทานโชกนุ หรอื ไม่ แตใ่ นจดหมายเหตคุ วามสมั พนั ธต์ า่ งประเทศในปลายสมยั เอโดะ
ว่า มีส�ำเภาอยุธยาเดินทางมาถึง นายเรือส�ำเภาได้มอบหนังปลาฉลามแก่โชกุนโตกุงาวะ
อิเอยาสุ ใน พ.ศ. ๒๑๕๕ และอีก ๔ ปีต่อมา ทูตอยุธยาน�ำสาส์นจากพระยาพระคลัง
ถงึ เจา้ เมืองชคิ เุ ชน มอบกฤษณาให้
แตค่ ณะทตู ท่ีไปยังปราสาทเอโดะใน พ.ศ. ๒๑๖๔ ได้พบโชกุนทาดาฮิเดะ แห่ง
โตกงุ าวะ คนที่ ๒ ตรงกับรัชสมยั สมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม มสี ิง่ ของเครอ่ื งราชบรรณาการ
มอบไปหลายสง่ิ เช่น ดาบส้นั ดาบยาว อย่างละเล่ม รวมทั้ง ปนื ยาว ๒ กระบอก นับว่าได้
ส่งปืนใหญ่ไปในคราวนี้ด้วย ซ่ึงมีการถกเถียงกันต่อมาว่าน่าจะเป็น ปืนยุโรป ท่ี
กรงุ ศรีอยธุ ยาซ้อื ไว้ แตบ่ า้ งก็วา่ นา่ จะเป็น ปืนใหญ่ฝมี อื ชา่ งหลอ่ ของอยธุ ยา

72

๗๑ ๗๒

๗๑ ลูกกระสนุ แตกของฝรง่ั เศส แบบท่มี ีใชง้ านช่วงต้นพทุ ธศตวรรษที่ ๒๓
ลกู แตกภายในกลวงอัดดินด�ำไวแ้ น่นแล้วลา่ มสายชนวนออกมา
วิธกี ารยงิ ลกู แตกจะจดุ ชนวนทล่ี กู แตกก่อนแล้วบรรจุไปในล�ำกลอ้ งแล้วยิงออกมา
อีกวธิ หี น่ึงบรรจลุ ูกแตกในล�ำกลอ้ งเมื่อยงิ ปืนใหญ่ประกายไฟทเี่ กดิ จากการระเบดิ
ของดินด�ำจะติดชนวนถว่ งเวลาท่ีปักไวท้ ี่ลูกแตก แล้วจะไประเบิดเมอื่ พน้ ล�ำกล้องออกไป
รัศมกี ารท�ำลายจะเปน็ วงกว้าง
๗๒ ลกู กระสุนแตกสมยั รตั นโกสินทร์ ขดุ พบเปน็ จ�ำนวนมากคราวปรับปรงุ โรงละครแหง่ ชาติ กรมศิลปากร

73

๗๓

๗๓ ภาพแสดงสง่ิ ของตา่ งๆ รวมทัง้ ปนื ใหญ่ ๒ กระบอก
ทีส่ มเด็จพระนารายณม์ หาราชโปรดให้น�ำไปถวายพระเจ้าหลยุ ส์ท่ี ๑๔ เม่อื พุทธศกั ราช ๒๒๒๙

74

๗๔

๗๕

๗๔ ปนื ใหญ่แบบทสี่ มเด็จพระนารายณม์ หาราช ถวายพระเจ้าหลยุ สท์ ่ี ๑๔
ปจั จบุ ันจัดแสดง ณ พพิ ธิ ภณั ฑท์ หาร Invalides ประเทศฝรง่ั เศส
๗๕ ปนื ใหญแ่ บบที่สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ถวายพระเจ้าหลยุ สท์ ี่ ๑๔
ภายหลังกล่มุ ปฏวิ ตั ิฝรั่งเศสไดน้ �ำไปใชย้ ิงประตูคกุ บาสติล พทุ ธศักราช ๒๓๓๒
ปจั จุบันจัดแสดง ณ พพิ ิธภณั ฑท์ หาร Invalides ประเทศฝรง่ั เศส

75

๗๖

๗๗
๗๖ ปนื ใหญ่ของฝร่ังเศสสมยั อยธุ ยา ปัจจุบันตั้งแสดง ณ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช
๗๗ ตรา Fleur de lis หรือ Flower of the lily ตราพระราชลัญจกรของพระมหากษัตริย์ประเทศฝรง่ั เศส

76

ปนื ใหญ่ ปนื หลังช้าง ปนื เลก็

นอกจากความรเู้ รอ่ื งปนื ใหญก่ ระบอกส�ำคญั ๆ ทม่ี ชี อื่ ในประวตั ศิ าสตรใ์ ชป้ ระจ�ำ
ปอ้ มบา้ ง ใชร้ กั ษาบา้ นเมอื งบา้ งแลว้ การเรยี กชอ่ื ปนื ใหญต่ ามชนดิ และขนาด เปน็ ความรทู้ ่ี
ควรบอกเลา่ ไวด้ ว้ ย เพราะหากตอ้ งอา่ นเอกสารโบราณ หรอื พระราชพงศาวดาร จะไดเ้ หน็
ภาพและเขา้ ใจได้ เชน่

ปืนใหญ่

ปนื บะเหรยี ม หรอื บะเรยี ม เปน็ ปนื ใหญท่ หารราบ ทา้ ยปนื มน ปากกระบอก
เรยี วและแคบ

ปนื จ่ารงค ์ ปนื ใหญท่ หารราบใชล้ าก อกั ขราภธิ านศรบั ท์ ของหมอบรดั เล
วา่ มีล�ำกล้อง ๒ ก�ำเศษ ยาว ๒ ศอก ลกู เทา่ ลูกสม้ ไม่มีไก
มีแต่รูชนวน

ปืนมณฑก เป็นปืนใหญท่ หารราบใชล้ าก

ปืนนกสับ ปืนใหญท่ หารราบ ขนาดเล็ก มขี าหยงั่ ๒ ขา คล้ายขานกยาง
บางแห่งจงึ เรียก ปนื ขานกยาง จดั อยูใ่ นประเภทปนื เล็ก

ปืนจินดา ปืนใหญ่ทหารราบ ภายหลังใช้ยิงในพิธตี รษุ

ปนื หามแลน่ ปืนใหญ่ขนาดเบา ใชร้ บบนภูเขา

ปืนตะแบงแก้ว ปนื ใหญข่ องกรมพระต�ำรวจ ใชย้ งิ ตระแบงไปข้างหนา้

ปืนหลังชา้ ง

ศิริรัจน์ วังศพา่ ห์ อธบิ ายไวว้ ่า ช้างปนื ใหญ่ แต่ละตัว (เชือก) สวมเกราะตลอด
มปี ืนใหญห่ ันปลายออกข้างขวา ๑ กระบอก ซ้าย ๑ กระบอก กรงุ ศรอี ยธุ ยาสัง่ ปืนใหญ่
หลังชา้ งจากฮอลันดา ลกู ปืนท่ใี ช้ยิงมขี นาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลาง ๒ ฝา่ มอื นอกจากนี้ยังมปี ืน
ขอช้าง ปลายล�ำกล้องมขี อคล้ายขอทค่ี วาญช้างใช้

ปนื เล็ก

มีทงั้ ที่ท�ำข้นึ ใชเ้ องและสงั่ ซอื้ เขา้ มาใชใ้ นราชการ เช่น

ปนื คาบชดุ หรอื ปนื นกคมุ่ (The matchlock) เปน็ ปนื ขน้ั พนื้ ฐาน มนี ำ้� หนกั เบา
มไี กปนื ตดิ ตง้ั องิ อยกู่ บั กระเดอ่ื งนกปนื แทนไกปนื แบบยก ไกปนื เลก็ ๆ ตงั้ ภายในโกรง่ ไกปนื
(Trigger guard) ช่วยป้องกันการปล่อยประจทุ ี่ผดิ พลาด หมอบรดั เล อธิบายไวใ้ น อภิธาน
ศรับทว์ า่ ปนื นีม้ ีนกสบั ลงกับหน้าเพลิงเอาชุดจดุ ไฟใส่ไวใ้ นปากนกลน่ั ลง เปน็ ค�ำอธบิ ายที่
สน้ั กระชับชาวบา้ นเขา้ ใจไดง้ า่ ย

77

ปืนคาบศลิ า (Flint Arms) ปืนที่ใช้กลไกง่ายๆ ท�ำใหเ้ กดิ ประกายไฟดว้ ยการตี
หนิ เหลก็ ไฟใหโ้ ดนแผน่ ประกายไฟในทางเดียว เครอื่ งล่ันไกของปืนชนดิ น้ี คอื หินเหลก็ ไฟ
อย่ใู นปากประกับ ตรงปลายของแขนแกนเรยี กวา่ นกปนื แผน่ ประกายไฟอยู่บนแขนแกน
อีกข้างหนึ่งตรงข้ามกับนกปืน จานอยู่ต�่ำลงไปตรงกันกับแผ่นประกายไฟ เมื่อลั่นไกปืน
แหนบคัน ผลักนกปืนอันใหญ่จะเหวี่ยงนกปืนไปเป็นช่วงโค้งส้ันๆ เพ่ือให้หินเหล็กไฟไปตี
บนแผ่นประกายไฟ ท�ำใหเ้ กดิ ประกายไฟลงไปในจาน
ปืนคาบศิลา ชนิดแรกมาจากภาษาดัทช์ อธิบายการปฏิบัติงานของนกปืน คือ
ค�ำ Snaphaan หมายถึง snapping cock คือ นกปืนท่คี าบ (หิน) อภิธานศรับท์ของหมอ
บรัดเล อธิบายงา่ ยๆ วา่ มีนกสับกบั หนา้ เพลงิ แต่เอาศลิ าใส่ไวท้ ี่ปากนกลั่นลง
นอกจาก ปนื คาบชุด ปนื คาบศิลา ท่ีมใี ชก้ ันมาตลอดสมัยอยุธยา และตอ่ มาใน
สมยั รัตนโกสินทร์ ยังมชี ่อื ปืนเลก็ อน่ื ๆ เช่น ปืนนกโพรง ปนื ทองปราย หรอื บรันเดอร์บัส
มีปากกว้างเปน็ ปากล�ำโพง หรือประดิษฐเ์ ป็นรูปมังกร ปากเหมือนปืนใหญ่อยา่ งฝร่งั

78

๗๘

๘๐
๗๙
๗๘ ปืนบะเรียมอังกฤษแบบ บลมู ฟลิ ด์ ด้านท้ายปนื มีห่วงไว้สอดเชือกเพอ่ื ยดึ กบั หลักเพื่อรบั แรงสะทอ้ นเม่อื ยงิ
ปัจจบุ ันตง้ั แสดง ณ พิพธิ ภัณฑท์ หารเรือ จังหวดั สมุทรปราการ
๗๙ ปนื บะเรยี มฝรัง่ เศส งมได้ท่ีปากน้ำ� แหลมสิงห์ ปจั จุบนั ต้ังแสดง ณ ตึกแดง แหลมสงิ ห์ จงั หวัดจันทบุรี
๘๐ จารกึ นูนรูปนกอินทรคี าบงู เป็นตราสญั ลกั ษณ์ของจักรพรรดินโปเลียน โบนาปารต์ (Napoleon Bonaparte)

79

๘๑

๘๒
๘๑ ปนื บะเรียมสหรฐั อเมรกิ าแบบ ดาร์ลเกลน
ปจั จบุ นั ต้งั ประดบั บรเิ วณพระบรมราชานสุ าวรีย์พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว
ปอ้ มพระจลุ จอมเกล้า จังหวัดสมุทรปราการ
๘๒ จา่ รงค์ เป็นค�ำโบราณทใี่ ชเ้ รยี กปนื ใหญ่เหลก็ หลอ่ ข้ึนในประเทศ ดินด�ำท่ีใชม้ ขี นาดเพยี ง ๑ ช่ัง
ปืนจา่ รงคร์ กั ษาพระศาสนากระบอกส้นั ปัจจบุ นั ตัง้ แสดงท่ี พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช

80

๘๓
๘๔

๘๕

๘๓ ปนื หามแล่นเป็นปืนใหญส่ นามขนาดเล็ก ต้งั บนขา ๓ ขา
ขาค่หู น้าตงั้ เหมอื นทา่ ยนื ของนกกระยาง จงึ เป็นที่มาของชื่อ ปนื ขานกยาง
๘๔ ปนื หามแลน่ แตล่ ะกระบอกมีพลประจ�ำ ๓ คน
๘๕ เวลาเคล่อื นยา้ ยปืนหามแลน่ พลปนื ๒ คนสอดไม้หรอื เหลก็ ใต้หว่ งท่ียึดอยู่ทเ่ี พลาของตัวปืนและ
ยกดา้ นปลายไมห้ รอื เหล็กดา้ นซ้ายและขวา พลยงิ ๑ คน อยดู่ า้ นหลงั ยกขาหยั่งด้านหลงั
การกระท�ำเชน่ นนี้ า่ จะเปน็ ท่ีมาของช่ือ ปนื หามแลน่ กเ็ ป็นได้

81

๘๖

๘๗
๘๖ ชา้ งปืนใหญ่ จติ รกรรมฝาผนังโบสถ์วัดพระแก้ว วังหน้า ในโบสถว์ ัดบวรสถานสุทธาวาส
๘๗ ปืนขอ มขี อยน่ื ออกมาบรเิ วณปากล�ำกล้องคลา้ ยกับปฏักท่คี วาญชา้ งถอื สามารถใชต้ ่อสแู้ ละ
บงั คบั ชา้ งได้ในเวลาเดียวกัน ปรากฏหลักฐานว่ามีใชง้ านมาต้งั แตค่ ร้ังกรุงศรีอยธุ ยา ในสมยั รัตนโกสินทร์
พระแสงขอปนื กระบอกน้ีเปน็ เคร่อื งประกอบพระอิสริยยศในพระราชพิธีตั้ง สมเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธอ
เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี ขนึ้ เป็นสมเดจ็ ฯ กรมพระจักรพรรดิพงศ์ พุทธศกั ราช ๒๔๑๘

82

๘๘

๘๙

๘๘ ระบบจุดระเบดิ แบบคาบชุด ของพระแสงปืนขา้ มแม่น้ำ� สะโตง สร้างใหม่สมยั รชั กาลที่ ๑
๘๙ ระบบจดุ ระเบดิ แบบคาบศลิ า

83

แม้กรุงศรีอยุธยาจะมีอาวุธปืนสมัยใหม่เข้ามาใช้ในราชการ แต่ก็ยังคงมีอาวุธ
พ้ืนฐานใช้ต่อสู้ป้องกันตัวแต่โบราณใช้คู่กันสืบมา จนสมัยหลังเม่ือหมดหน้าท่ีการใช้เป็น
อาวุธยุทธภัณฑ์แล้ว ก็ยังใช้ในกระบวนแห่งานพระราชพิธี งานพิธีเป็นเกียรติยศ และน�ำ
จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์เป็นประโยชน์ทางการศึกษา เช่นเดียวกับในนานาอารยประเทศที่
มีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมอันยาวนาน จึงขอน�ำอาวุธพื้นฐานของไทยแต่โบราณมา
อธิบายโดยสังเขป จ�ำแนกเป็น
อาวุธฟนั แทง
ใช้ต่อส้ใู นระยะประชิดตัว ขนั้ ตะลุมบอน หรือประจญั บาน เปน็ อาวุธประจ�ำตวั
ค่กู าย ใชต้ ามความถนดั มือของแต่ละคน เช่น
ดาบ อาวธุ ส�ำหรบั ฟันและแทงก็ได้ ท�ำดว้ ยเหลก็ กล้าตีขน้ึ เป็นรูปดาบ ประกอบ
ด้วย กระบงั ดาบ เปน็ เครื่องป้องกนั มอื ของผถู้ อื มใิ ห้ดาบฝา่ ยตรงข้ามฟันถงึ นิ้วมอื ได้ ส่วน
บนกระบังดาบท�ำดว้ ยหนังหรอื ดา้ ยถกั ด้ามดาบ สวมติดกบั ก่นั ดาบใหจ้ ับดาบฟันแทงได้
ถนดั แม่นย�ำ ฝักดาบ เป็นปลอกส�ำหรับเก็บดาบด้านนอกท�ำด้วยโลหะ หนัง หรือไม้ ดา้ น
ในมีหนังหรอื ไม้อ่อนรองปอ้ งกันเสียง รบั การเสยี ดสีระหว่างฝักกับตวั ดาบ
การใชด้ าบมีทัง้ ดาบสองมือ คูก่ ับเขนเรียก ดาบเขน คกู่ ับด้ังเรียก ดาบดั้ง ใช้กบั
โลเ่ รยี ก ดาบโล่ และดาบทไ่ี มว่ จิ ติ รมากนกั เปน็ ของสว่ นตวั หรอื เอกชนเรยี ก ดาบเชลย หรอื
เปน็ ดาบทแี่ ปลกกวา่ ดาบอนื่ ๆ และยงั มดี าบสกลุ ชา่ งพนื้ เมอื งทม่ี รี ปู ลกั ษณะเฉพาะถน่ิ เชน่
ดาบไทยภาคกลาง ดาบสกุลชา่ งล้านนา สกลุ ช่างล้านช้าง สกลุ ชา่ งเมอื งนครศรธี รรมราช
ฯลฯ

84

๙๐

๙๑

๙๐ ลกั ษณะดาบไทยภาคกลาง ดา้ มดาบสร้างข้นึ ดว้ ยฝีมอื ชา่ งอันประณีต
โดยใชว้ สั ดโุ ลหะมคี ่าซึง่ แสดงถึงศักดิข์ องผู้ใช้
๙๑ ดาบศิลปะสกลุ ช่างลา้ นนา ดา้ มห้มุ เงนิ ดุนลาย ฝกั ดาบท�ำข้ึนด้วยวธิ ีการเขียนลายเช่นเดียวกบั แบบ “เครื่องเขิน”

85

๙๒
๙๓

๙๒ ดาบศิลปะสกุลชา่ งลา้ นชา้ ง
๙๓ ดาบศลิ ปะสกุลช่าง “เมอื งนครศรีธรรมราช” ดา้ มถมทอง

86

๙๔

๙๕

กระบ่ี ใชฟ้ นั แทง คลา้ ยดาบ ตวั กระบที่ �ำดว้ ยเหลก็ ตรี ปู ตรงปลายแหลม นำ้� หนกั
ไม่มากเหมาะส�ำหรับถอื มือเดยี ว มคี วามแคล่วคล่องว่องไว มีสว่ นประกอบ คอื ตัวกระบ่ี
ด้าม โกรง่ และฝกั
กั้นหยั่น หรือ กระบ่ีจีน เป็นดาบจีน ลักษณะเหมือนดาบไทย แต่เล็กและ
เบากว่า มคี มสองข้าง

๙๔ กระบ่จี ากยุโรป ทสี่ ่งั เข้ามาใช้ในราชการสยาม
๙๕ กระบ่แี บบอินเดียซง่ึ ปรากฏใชใ้ นราชการสยามในสมัยโบราณเชน่ กันในกลุ่มขนุ นางสายอินเดียและเปอรเ์ ซีย

87

๙๖

๙๘
๙๗
๙๖, ๙๗, ๙๘ กระบ่ี “ฝรง่ั ” สั่งท�ำขน้ึ เป็นพิเศษในชว่ งสมัยรชั กาลท่ี ๔ รัชกาลท่ี ๕ เพ่ือใช้ในราชการ
ที่โกรง่ กระบ่ปี ระดับรปู ตราแผ่นดนิ สยาม และช้างอนั ถือเป็นสัญลักษณแ์ หง่ ราชอาณาจักรสยามเช่นกัน

88

๙๙
๑๐๐

๙๙ กั้นหย่ัน แบบพิเศษ หรอื ก้นั หยน่ั แบบแฝดคอื มีสองเลม่ ในฝกั เดยี วกนั
ในการตอ่ สูส้ ามารถใชไ้ ดเ้ ชน่ เดยี วกับดาบสองมือของไทย
๑๐๐ ก้นั หยัน่ แฝดเมือ่ เก็บเขา้ ฝกั

89

๑๐๑

๑๐๒

หอก เป็นอาวุธส�ำหรับพลราบ ใช้เฉพาะแทงอย่างเดียว มีทั้งแบบมีกระบัง
และไม่มีกระบัง ตัวหอกท�ำด้วยเหล็กกล้า มีเหล่ียมส่ีเหลี่ยม คันหอกรูปกระบอกท�ำด้วย
เหล็กกล้า หรือไม้ หรือหวาย หอกท่ีดีต้องมีน้�ำหนัก ความยาวพอเหมาะแก่การใช้ เช่น
ปลายแหลมต้องอยู่ให้ตรงกับแนวแกนทางยาว หอกมีหลายชนิด เช่น หอกซัด หอกใบ
ขา้ ว หอกใบพาย ฯลฯ
ทวน เปน็ อาวุธยาวส�ำหรบั พลมา้ เป็นสว่ นใหญ่ คล้ายกบั หอก ไมม่ กี ระบงั และ
มพี ผู่ ูกเปน็ พวงที่คอใชไ้ ด้ท้งั บนหลังมา้ หลงั ชา้ งและพ้นื ราบ ทวนท่ัวไปมักมีความยาวกว่า
หอก คอทวนมีลกู แกว้ ปลายทวนมเี หลก็ หุม้ เป็นหัวเมด็ ใบทวนแหลมมคี มสองด้าน
งา้ ว และของ้าว เปน็ อาวธุ ประเภทเดยี วกัน ต่างแตข่ องา้ วมขี อส�ำหรบั ช้างติด
รวมอยดู่ ้วย ใช้ส�ำหรับรบบนหลังช้าง

๑๐๑ ใบหอกไทยทรง “ใบข้าว”
๑๐๒ ภาพเตม็ ของหอก ซ่ึงเป็นหอกทม่ี ลี กั ษณะพเิ ศษคือ ดา้ มหอกท�ำขึ้นด้วยเหลก็ ท้งั ชน้ิ
มีความแขง็ แรงมาก หอกชนิดน้ีใช้ได้ทั้งในรปู แบบถือตอ่ สู้และซัดพุ่ง

90

๑๐๓
๑๐๔
๑๐๕

๑๐๓ ลักษณะงา้ วอยา่ งไทย
๑๐๔ ลกั ษณะง้าวอยา่ งไทย
๑๐๕ ลกั ษณะง้าวจีน ท่คี อด้ามงา้ วหล่อเป็นรปู มังกรคาบใบงา้ ว

91

โตมร หรอื หอกใบโพธิ์ เปน็ อาวุธใชพ้ ุ่ง โตมรท�ำด้วยเหล็กรปู ใบโพธิ์มีคมแหลม
มฝี กั รูปใบโพธเิ์ ชน่ เดยี วกันสวมอยู่
แหลนและหลาว แหลนเปน็ เหลก็ แหลมยาวเรยี ว คอมกั เปน็ สเี่ หลยี่ ม ดา้ มเหมอื น
อยา่ งหอกใชพ้ งุ่ และแทง สว่ นหลาวเป็นไม้รวกเส้ียมปลายเปน็ ปากฉลามใชพ้ ุง่
มีด ใชฟ้ นั เชน่ เดยี วกบั ดาบและกระบี่ แตส่ นั้ กวา่ ตามปกติสวมอย่ใู นฝักท�ำดว้ ย
หนังหรือไม้
อาวุธตี ไดแ้ ก่
พลอง ท�ำด้วยไม้เหนียวไมห่ ักงา่ ย บางอนั ท�ำดว้ ยโลหะยาว ไม่มหี วั มที า้ ยเทา่
กนั ตลอด วิธจี ับพลอง จับตรงสว่ นกลางดว้ ยมอื ทง้ั สองข้าง ใชป้ ลายข้างไหนตกี ไ็ ดแ้ ลว้ แต่
ถนดั
ไม้สั้น เป็นท่อนไม้ไทรรูปสี่เหลี่ยมยาว ด้านในท�ำโค้งเป็นร่องเพื่อติดแนบกับ
ปลายแขนได้สนิท ดา้ นนอกโคง้ เลก็ น้อย ตอนปลายฝงั ไมก้ ลมเล็กแข็งแรงรปู เสาด้ัง ๑ คู่
เจาะรูร้อยเชือกขนาดน้ิวก้อยท�ำเป็นห่วงส�ำหรับสอดมือ เพ่ือปลอกรัดแขนใต้ศอกใช้มือ
จับและก�ำไมอ้ นั ท่หี นึ่ง อนั ทสี่ องมีไว้ป้องกัน นิ้วมือ ไม้สั้นใช้สวมกบั แขนทอ่ นปลายท้งั สอง
ตอ่ สูก้ บั พลอง

92

๑๐๖

๑๐๗ ๑๐๘

๑๐๖ การประดบั อาวุธภายในอาคารจากซ้าย ดาบเชลย หอกขวาน งา้ ว ทวน งา้ ว หอกขวาน ดาบเชลย
๑๐๗ ง้าวส�ำหรบั พลเดนิ เทา้
๑๐๘ ซ้ายขวาคือปงั กก๊ั ตรงกลางคอื สามงา่ มแบบไทย

93

๑๐๙
๑๑๐

๑๑๑

๑๐๙ ทวนทองใช้ในขบวนพระราชพธิ ีเพือ่ ประกอบพระราชอสิ รยิ ยศ
๑๑๐ อาวธุ ยาวประเภท สามงา่ มทรงอยา่ งไทยหรือตรีด้ามยาว
๑๑๑ หอกขวานเครอ่ื งศัสตราวธุ ประกอบขบวนพระราชพิธใี นสมัยโบราณ

94

อาวุธยิง ได้แก่
หนา้ ไม้ คลา้ ยธนู แตม่ บี นั้ ทา้ ย และโกรง่ ไกคลา้ ยปนื ใชย้ งิ ระยะไกลไดแ้ มน่ ย�ำกวา่
ธนู คนั หนา้ ไมม้ กั ท�ำดว้ ยกา้ นตน้ ลานแกจ่ ดั มคี วามยดื หยนุ่ ดี ลกู หนา้ ไมม้ ลี กั ษณะอยา่ งเดยี ว
กบั ลกู ศรแตท่ �ำดว้ ยไม้ไผ่ ปลายมักอาบยาพษิ คอื ยางน่อง หางลูกหนา้ ไมท้ �ำด้วยใบลานแก่
ตัดเปน็ รปู สีเ่ หลี่ยมข้าวหลามตัด หรอื ขนมเปยี กปูน หน้าไม้แบบจนี เรยี ก เกาทัณฑ์
ธนู คนั ธนทู �ำดว้ ยไมไ้ ผแ่ ก่ สายธนมู กั ท�ำดว้ ยเชอื กปา่ น หรอื เอน็ สตั ว์ ลกู ศรมกั ท�ำ
ดว้ ยไมไ้ ผเ่ สยี้ มปลายหมุ้ โลหะ สว่ นหางมกั ท�ำดว้ ยขนนกหรอื ขนไก่ ทา้ ยลกู ศรมกั ตรงกบั ขอ้
ไมไ้ ผบ่ ากเปน็ ร่องส�ำหรับพาดสายธนู ซึง่ มจี �ำนวนส�ำรองส�ำหรบั ใช้ มีซองหรอื กระบอกใส่
นอกจากอาวุธยิงประเภทต่างๆท่ีได้กล่าวถึงแล้วยังมีอาวุธสมัยอยุธยาอีกชนิด
หน่งึ คือ กรชิ ซงึ่ มกั ใชป้ ระดับเป็นเกยี รตยิ ศเจา้ นาย ขนุ นาง มากกว่าใชจ้ รงิ ดังท่เี ห็นได้
จากภาพจติ รกรรมเสมอ เชน่ ภาพลายเส้นราชทูตไปเจริญทางพระราชไมตรี ณ ราชส�ำนัก
ฝร่ังเศส พระยาวิสุทธสนุ ทร (โกศาปาน) และคณะทูตแตง่ กายสวยงามเหน็บ กริช กนั โดย
ถ้วนหน้า แต่ก็พบหลักฐานการใช้เป็นอาวุธประจ�ำใกล้ตัว หยิบจับใช้ได้ทันท่วงที จึงควร
อธิบายเก่ยี วกบั กริช ไว้ด้วย

95

๑๑๒ ๑๑๓ ๑๑๔

๑๑๖

๑๑๕

คณะทตู ไปเจริญทางพระราชไมตรี ณ ประเทศฝรัง่ เศส
๑๑๒, ๑๑๓ ออกพระวสิ ทุ ธสุนทร (โกศาปาน) ราชทตู
๑๑๔ ออกหลวงกลั ยาราชไมตรี อุปทตู
๑๑๕ ออกขุนศรวี ศิ าลวาจา ตรีทตู
๑๑๖ คณะทตู เหน็บกริชเป็นเครอื่ งยศทุกคน

96


Click to View FlipBook Version