The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Patamaporn Suriyuth, 2019-06-12 03:36:50

1545-file

1545-file

242

243

244

245

246

247

248

249

250

251

แบบสมั ภาษณ
โครงการศกึ ษาแนวทางการพฒั นากฎหมายการศกึ ษา
เพื่อการบรหิ ารจดั การการศกึ ษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

วตั ถปุ ระสงคของการศึกษา
1) เพื่อศึกษาหารูปแบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

สําหรับใชเปนขอมูลในการกําหนดแนวทางการพัฒนากฎหมายการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการ
การศึกษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ

2) เพ่ือศึกษาหาแนวทางการพัฒนากฎหมายการศึกษาใหสอดคลองกับการบริหารจัดการศึกษา
ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ

3) เพ่ือจัดทํารางกฎหมายการบริหารจัดการการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทส่ี อดคลอง
กับแนวทางการพัฒนากฎหมายการศึกษาเพอื่ การบริหารจัดการการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษท่ี
ไดจากการวจิ ยั

ประเด็นอภปิ รายกลุม (focus group discussion)

1. รปู แบบการบริหารจดั การศกึ ษาในพนื้ ท่เี ขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษในปจจบุ นั
1.1 ความมุงหมายของการบริหารจัดการศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในปจจุบัน

เปนอยางไร
- ดานผเู รยี น (คณุ ลกั ษณะของผูเรยี น)
- ดานสงั คม (เชน สงั คมแหงการเรียนรู)
- ดานกระบวนการเรยี นรู

1.2 หลกั การของการบรหิ ารจดั การศกึ ษาในพน้ื ท่เี ขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษในปจจบุ ันเปน
อยางไร

- การศึกษาตลอดชวี ติ
- การมีสวนรวมของสงั คม
- โครงสรางการจัดการศึกษา
- การกระจายอาํ นาจ

1.3 ทรพั ยากรสาํ หรบั ใชในการบริหารจัดการศกึ ษาในพื้นท่เี ขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษใน
ปจจุบนั เปนอยางไร

- แหลงทรัพยากรทางการศกึ ษา
- ปรมิ าณ (มากนอย เพยี งพอหรอื ไม)
- วธิ ีหรอื แนวทางการระดมทรัพยากร

252

1

2

1.4 ลักษณะการบริหารจัดการศึกษาในพืน้ ที่เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษในปจจบุ นั เปนอยางไร
- องคกรการบรหิ ารจดั การศึกษา (Formal organization, informal organization, Matrix

organization, Ad hoc Organization เปนตน)
- ความรวมมอื ในการบรหิ ารจัดการศึกษา (เชน แตละหนวยงานคนตางจัดการศึกษา/มกี าร

ประสานความรวมมือกนั เปนเครือขายการจัดการศกึ ษาทั้งภาครัฐและเอกชน การประสานความ
รวมมอื กันมลี ักษณะอยางไร เปนคณะกรรมการอยางเปนทางการ หรือเปนเครอื ขายนอกแบบเปนตน)

1.5 กระบวนการบรหิ ารจัดการศกึ ษาในพื้นท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษในปจจุบนั เปนอยางไร
- นโยบายการศกึ ษา (P-Policy)
- อํานาจการจัดการศึกษา (A- Authority)
- การวางแผนการศึกษา (P- Planning)
- การจัดองคการการศึกษา (O-Organizing)
- การบรหิ ารครแู ละบุคลากรทางการศึกษา (S-Staffing)
- การตัดสนิ ใจ/การวินจิ ฉัยส่ังการดานการศกึ ษา (D-Directing)
- การประสานงานดานการศึกษา (Co- Coordinating)
- การรายงานผลการจดั การศึกษา (R- Reporting)
- งบประมาณการศึกษา (B- Budgeting)

1.6 แนวการจดั การศกึ ษาในพ้นื ทีเ่ ขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษในปจจบุ นั เปนอยางไร
- แนวการจัดการศึกษาในระบบ
- แนวการจดั การศึกษานอกระบบ
- แนวการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั
- แนวการจดั การศึกษาสาํ หรับคนตางชาติท้ังท่อี ยูในประเทศอยางถูกตองตามกฎหมาย และ

ผิดกฎหมาย)

1.7 คุณภาพการศึกษาในพืน้ ทเ่ี ขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษในปจจบุ นั เปนอยางไร
- มาตรฐานการศึกษา
- ระบบการประกันคุณภาพ(การประเมนิ คุณภาพภายใน/การประเมินภายนอกจาก สมศ.)

253

3

2. รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีตองการ (หรือคาดหวัง) ใหเกิดข้ึนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พเิ ศษในอนาคต

2.1 ความมุงหมายของการบริหารจดั การศึกษาในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ
- ดานผเู รยี น (คณุ ลกั ษณะของผูเรียน)
- ดานสังคม (เชน สงั คมแหงการเรียนรู)
- ดานกระบวนการเรยี นรู

2.2 หลักการของการบรหิ ารจดั การศกึ ษาในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ
- การศึกษาตลอดชวี ิต
- การมสี วนรวมของสงั คม
- โครงสรางการจดั การศึกษา
- การกระจายอาํ นาจ

2.3 ทรัพยากรสาํ หรับใชในการบรหิ ารจดั การศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ
- แหลงทรัพยากรทางการศึกษา
- ปรมิ าณ (มากนอย เพียงพอหรอื ไม)
- วิธีหรือแนวทางการระดมทรัพยากร

2.4 ลักษณะการบริหารจดั การศกึ ษาในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ
- องคกรการบริหารจดั การศึกษา (Formal organization, informal organization, Matrix

organization, Ad hoc Organization เปนตน)
- ความรวมมือในการบริหารจัดการศึกษา (เชน แตละหนวยงานคนตางจัดการศึกษา/มีการ

ประสานความรวมมือกันเปนเครือขายการจัดการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน การประสานความ
รวมมือกนั มีลักษณะอยางไร เปนคณะกรรมการอยางเปนทางการ หรือเปนเครอื ขายนอกแบบเปนตน)

2.5 กระบวนการบรหิ ารจดั การศึกษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ
- นโยบายการศกึ ษา (P-Policy)
- อํานาจการจดั การศึกษา (A- Authority)
- การวางแผนการศึกษา (P- Planning)
- การจดั องคการการศกึ ษา (O-Organizing)
- การบรหิ ารครูและบุคลากรทางการศึกษา (S-Staffing)
- การตดั สนิ ใจ/การวินิจฉัยสงั่ การดานการศกึ ษา (D-Directing)
- การประสานงานดานการศึกษา (Co- Coordinating)
- การรายงานผลการจัดการศึกษา (R- Reporting)
- งบประมาณการศึกษา (B- Budgeting)

254

4
2.6 แนวการจัดการศึกษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ

- แนวการจดั การศึกษาในระบบ
- แนวการจัดการศึกษานอกระบบ
- แนวการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั
- แนวการจัดการศึกษาสําหรับคนตางชาติทง้ั ทอี่ ยูในประเทศอยางถูกตองตามกฎหมาย และ
ผิดกฎหมาย)
2.7 คุณภาพการศกึ ษาในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ
- มาตรฐานการศึกษา
- ระบบการประกนั คุณภาพ (การประเมนิ คุณภาพภายใน/การประเมินภายนอกจาก สมศ.)

255

98

แบบสอบถาม

โครงการศกึ ษาแนวทางการพฒั นากฎหมายการศกึ ษาเพอื่ การบริหารจดั การการศึกษา
ในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ

คําชีแ้ จง 1. โครงการศึกษาแนวทางการพฒั นากฎหมายการศึกษาเพือ่ การบริหารจัดการการศกึ ษา
ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ เปนโครงการท่ีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากรไดรับทุนการ

วิจยั จากสํานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา
2. แบบสอบถามนเี้ ปนแบบสอบถามความคดิ เห็นเก่ียวกับแนวทางในการพัฒนากฎหมาย

การศึกษาเพ่อื การบริหารจดั การการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

3. โปรดอานขอความแลวทําเครือ่ งหมาย √ ลงในชองทตี่ รงกบั ขอเทจ็ จริง หรอื ตรงกบั
ความคิดเห็นของทานมากท่ีสุด หากมีขอเสนอแนะหรือความคิดเห็นเพ่ิมเติม โปรดกรุณากรอก
ขอความลงในชองวาง

ตอนท่ี 1 ขอมลู ท่วั ไปของผูตอบแบบสอบถาม

ทานไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการหรอื กรรมาธิการชุดใด

คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ (กนพ.)

คณะกรรมาธิการปฏริ ูปการศึกษา และการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย

ตอนท่ี 2 แนวทางการพัฒนากฎหมายการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการการศึกษาในเขตพัฒนา

เศรษฐกิจพิเศษ

แนวทางการพัฒนากฎหมายการศกึ ษาเพือ่ การบรหิ าร นอย ระดบั ความคดิ เห็น มาก
จดั การการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ ทสี่ ดุ นอย ปาน มาก ที่สดุ

กลาง

ความมุงหมายของการบริหารจัดการศึกษาในเขต

พัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ

1. ทานคิดวาคุณลักษณะของผูเรียนดังตอไปน้ีควร

กาํ หนดเปนคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคของผูเรียนในเขต

พัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษเพียงใด

1) การเปนคนทมี่ ีความสมบูรณรอบดาน ทัง้ รางกาย

อารมณ สังคม และสติปญญา การมีความภาคภูมิใจใน

ความเปนไทย

2) ยอมรบั สงั คมพหวุ ัฒนธรรม

3) อนรุ ักษขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรม

และภมู ปิ ญญาไทย

4) ความมรี ะเบยี บวนิ ยั

5) ความรบั ผดิ ชอบ

6) ความซื่อสตั ยสจุ ริต

256

99

แนวทางการพัฒนากฎหมายการศึกษาเพอื่ การบริหาร นอย ระดับความคิดเห็น มาก
จดั การการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ท่สี ุด ทีส่ ุด
นอย ปาน มาก
7) ความเสียสละ กลาง
8) ความเปนประชาธปิ ไตย
9) ความอดทนมงุ มัน่ พยายาม (แรงจงู ใจใฝ
สมั ฤทธิ์)
10) ความสามารถในการสอ่ื สารดวยภาษาไทย
11) ความสามารถในการสอื่ สารดวยภาษาองั กฤษ
12) ความสามารถในการสอ่ื สารดวยภาษาของ
ประเทศเพือ่ นบานทจี่ ําเปน
13) ความรแู ละทกั ษะวชิ าอาชีพท่ีความสามารถ
นาํ ไปใชในการประกอบอาชีพเพ่ือการดาํ รงชวี ิตอยางมี
ความสุขในเขตเศรษฐกจิ พิเศษ
2. ทานคดิ วาลักษณะทางสงั คมดังตอไปนค้ี วรกาํ หนด
เปนลักษณะทางสังคมทีพ่ งึ ประสงคของเขตพฒั นา
เศรษฐกจิ พเิ ศษเพียงใด
1) ทุกคนและทกุ ภาคสวนในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ
พเิ ศษมีความใฝรูและพรอมท่จี ะเรียนรูอยเู สมอ
2) สงเสรมิ การเรยี นรผู านผรู ู สอื่ เทคโนโลยี
สารสนเทศ แหลงการเรยี นรู ภูมิปญญาทองถนิ่ และ
จากองคความรตู าง ๆ
3) สงเสรมิ ใหเกิดการถายทอดความรแู ลกเปลี่ยน
เรียนรูรวมกัน ทง้ั ภายใน และนอกเขตพฒั นา
เศรษฐกจิ พิเศษ

3. ทานคิดวากระบวนการเรียนรูในการจดั การศกึ ษา
ของเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษควรยดึ ศกั ยภาพของ
ผเู รยี นเปนสาํ คญั เพียงใด

257

แนวทางการพัฒนากฎหมายการศึกษาเพื่อการบริหาร นอย ระดบั ความคดิ เห็น มาก
จัดการการศกึ ษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ ทสี่ ุด ท่ีสดุ
นอย ปาน มาก
หลักการของการบริหารจัดการศึกษาในเขตพฒั นา กลาง
เศรษฐกจิ พเิ ศษ
4. ทานคิดวาการจัดการศึกษาของเขตพฒั นาเศรษฐกจิ
พิเศษควรยึดหลกั การดงั ตอไปนเ้ี พยี งใด

1) การศึกษาตลอดชีวติ ทีม่ ุงเนนในการตอบสนอง
ตอความตองการของสถานประกอบการในพฒั นา
เศรษฐกิจพเิ ศษเปนสาํ คญั

2) การเปดโอกาสใหสงั คมและสถานประกอบการ
เขามามีสวนรวมในการจดั การศกึ ษาท้งั ทางดาน
นโยบาย ระบบ โครงสราง กระบวนการจัดการศึกษา
และเงนิ งบประมาณ

3) การมีองคกรการบริหารจัดการศกึ ษาของเขต
พัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษทเี่ ปนนติ บิ ุคคล

4) การกระจายอาํ นาจการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
ใหแกเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษในการกําหนดนโยบาย
ระบบ โครงสราง และกระบวนการจัดการศึกษาทกุ
ระดบั และประเภทการศกึ ษา

5) การมเี อกภาพและเปนเอกลกั ษณเฉพาะของแต
ละเขต โดยไมขัดตอกฎหมาย

6) การกําหนดมาตรฐานการศกึ ษาสําหรบั การ
ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาทัง้ การประกนั คุณภาพ
ภายใน และการประกนั คุณภาพภายนอกในทกุ ระดบั
ทุกประเภทการศึกษา

7) การมีอสิ ระในการกาํ หนดหลกั เกณฑและ
ดาํ เนินการเกีย่ วกบั การบรหิ ารงานบคุ คล
ทรพั ยากรสาํ หรบั ใชในการบริหารจัดการศึกษาใน
เขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ
5. การบรหิ ารจดั การศึกษาของเขตพฒั นาเศรษฐกิจ
พิเศษควรเอาเงนิ งบประมาณและทรพั ยากรอ่นื ๆ จาก
แหลงดงั ตอไปนเี้ พียงใด

1) รัฐบาลใหการสนบั สนนุ ตามทม่ี กี ฎหมาย/
ระเบยี บกําหนด

258

101

แนวทางการพัฒนากฎหมายการศกึ ษาเพ่ือการบริหาร นอย ระดบั ความคดิ เห็น มาก
จัดการการศกึ ษาในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ ทสี่ ุด นอย ปาน มาก ท่ีสุด

กลาง

2) สถานประกอบการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ

ใหการสนบั สนุน

3) รฐั บาลและสถานประกอบการในเขตพฒั นา

เศรษฐกจิ พเิ ศษใหการสนบั สนุนรวมกนั ใหการ

สนบั สนุน

4) การระดมเงินและทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ มา

ใชในการจัดการศกึ ษา

ลกั ษณะการบริหารจดั การศกึ ษาในเขตพัฒนา

เศรษฐกิจพเิ ศษ

6. การบรหิ ารจดั การศึกษาของเขตพฒั นาเศรษฐกิจ

พเิ ศษควรมีลกั ษณะดงั ตอไปนีเ้ พยี งใด

1) การมกี ฎหมายหรือระเบยี บในการบริหารจดั

การศึกษาของเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ

2) คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจังหวัดเปนคณะ

กรรมการบรหิ ารจดั การศึกษาของเขตพฒั นาเศรษฐกจิ

พเิ ศษ

3) มีคณะกรรมการบรหิ ารจดั การศึกษาของเขต

พัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษเปนการเฉพาะ เชน

คณะกรรมการการศกึ ษาของเขตพัฒนาเศรษฐกจิ

พเิ ศษ

4) คณะกรรมการบรหิ ารจดั การศกึ ษาของเขต

พฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ ควรมวี าระ 4 ป

5) มีองคกรการบรหิ ารจัดการศกึ ษาของเขตพฒั นา

เศรษฐกจิ พิเศษทเี่ ปนนิตบิ คุ คล เชน สํานกั งาน

คณะกรรมการการศึกษาของเขตพฒั นาเศรษฐกจิ

พิเศษ

6) องคกรการบริหารจัดการศกึ ษาของเขตพฒั นา

เศรษฐกจิ พิเศษควรมลี ักษณะเปนองคการมหาชน

259

102

แนวทางการพัฒนากฎหมายการศกึ ษาเพื่อการบริหาร นอย ระดับความคิดเห็น มาก
จัดการการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ ทส่ี ุด ทส่ี ุด
นอย ปาน มาก
7) การบรหิ ารจัดการศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกิจ กลาง
พเิ ศษควรปรบั เปลี่ยนใหสอดคลองกับบรบิ ทของแตละ
เขตโดยใหอาํ นาจในการบรหิ ารจดั การศึกษาแกเขต
พฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษอยางอสิ ระภายใตขอบเขตของ
กฎหมาย

8) เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษสามารถจดั ตง้ั
สถานศึกษาไดตามกฎหมาย

9) เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษสามารถรบั ถายโอน
สถานศกึ ษาจากกระทรวงศึกษาธิการได

10) สถานศึกษาของเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษมี
สถานะเปนนิติบคุ คล

11) คณะกรรมการบริหารจดั การศึกษาของเขต
พฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษเปนคณะกรรมการบรหิ าร
สถานศกึ ษา
กระบวนการบริหารจัดการศึกษาในเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ
7. การบรหิ ารจัดการศึกษาของเขตพฒั นาเศรษฐกจิ
พิเศษควรมกี ระบวนการดงั ตอไปนเี้ พยี งใด

1) มีอาํ นาจในการกําหนดนโยบายการศกึ ษาภายใต
ขอบเขตของกฎหมาย

2) มอี าํ นาจอสิ ระในการจัดการศึกษาภายใต
ขอบเขตของกฎหมาย

3) มอี ํานาจในการวางแผนพฒั นาการศกึ ษาท่ี
สอดคลองกบั ทิศทางการพฒั นาประเทศ

4) มอี ํานาจในการจัดตงั้ องคกรการบรหิ ารจดั
การศึกษาและสถานศึกษาภายใตขอบเขตของกฎหมาย

5) มีอาํ นาจในการออกกฎหมาย/ระเบียบในการ
บรหิ ารงานบคุ คล

260

แนวทางการพัฒนากฎหมายการศกึ ษาเพ่อื การบรหิ าร นอย ระดบั ความคดิ เห็น มาก
จดั การการศกึ ษาในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ ทสี่ ุด ทส่ี ุด
นอย ปาน มาก
กลาง

8) รายงานผลการจดั การศกึ ษาตอเขตพฒั นา

เศรษฐกจิ พเิ ศษ คณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั และ

กระทรวงศึกษาธิการ

9) องคกรการบรหิ ารจดั การศึกษาของเขตพฒั นา

เศรษฐกจิ พเิ ศษและสถานศกึ ษามีอาํ นาจอิสระในการ

บรหิ ารงบประมาณทางการศกึ ษาตามกฎหมาย/

ระเบียบ

แนวการจัดการศึกษาในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ

8. การบรหิ ารจัดการศกึ ษาของเขตพฒั นาเศรษฐกจิ

พิเศษควรมีแนวทางในการจดั การศกึ ษาดังตอไปน้ี

เพียงใด

1) จดั การศกึ ษาในระบบระดบั ใดระดบั หนงึ่ หรอื ทุก

ระดบั ทุกประเภท สาํ หรบั ผเู รยี นในสถานศึกษา

2) จดั การศกึ ษานอกระบบสาํ หรับผูเรียนนอก

สถานศึกษาตามความตองการของสถานประกอบการ

3) จดั การศึกษาตามอธั ยาศัยสาํ หรบั ผเู รียนนอก

สถานศกึ ษาตามความตองการของผเู รียน

4) จัดการศึกษาเพอื่ ผลติ แรงงานทม่ี คี วามรคู วบคู

ทักษะอาชีพ

5) จัดการศึกษาเพอื่ การวจิ ยั ทต่ี อบสนองความ

ตองการของสถานประกอบการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจ

พเิ ศษเปนสําคัญ

6) จัดการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานสําหรับคนตางชาติ

เฉพาะทีเ่ ขา-ออก หรอื อยูในประเทศอยางถกู ตองตาม

กฎหมายเทานน้ั

คณุ ภาพการศึกษาในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ

9. เขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษควรดาํ เนนิ การเกี่ยวกบั

คุณภาพการศกึ ษาในเรือ่ งดงั ตอไปนเ้ี พียงใด

261

104

แนวทางการพัฒนากฎหมายการศกึ ษาเพ่อื การ ระดบั ความคิดเห็น

บรหิ ารจดั การการศกึ ษาในเขตพฒั นาเศรษฐกิจ นอย นอย ปาน มาก มาก

พิเศษ ทส่ี ุด กลาง ท่สี ุด

1) เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษและสถานศึกษา

รวมกันกาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษา

2) จัดระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา (การ

ประเมนิ คุณภาพภายในและการประเมินภายนอก)

3) ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามมาตรฐาน

การศกึ ษาท่ีเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษและ

สถานศกึ ษากาํ หนดข้ึน

ขอเสนอแนะหรือความคิดเห็นอื่นๆ
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

262

พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพม่ิ เตมิ

มาตรา 1 พระราชบญั ญตั ินเ้ี รยี กวา “พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ.
2542”

มาตรา 2 พระราชบญั ญตั ินใี้ หใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป

มาตรา 3 บรรดาบทกฎหมาย กฎ ขอบงั คบั ระเบียบ ประกาศ และคําส่ังอ่ืนในสวน
ทีไ่ ดบญั ญตั ิไวแลวในพระราชบญั ญัตนิ ้ี หรอื ซ่งึ ขัดหรือแยงกบั บทแหงพระราชบัญญตั นิ ี้ ใหใชพระราชบญั ญตั ิ
น้แี ทน

มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี
“การศกึ ษา” หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล
และสงั คมโดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลง
ความกาวหนาทางวชิ าการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรู
และปจจัยเกือ้ หนุนใหบุคคลเรยี นรอู ยางตอเนื่องตลอดชีวิต
"การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน” หมายความวา การศกึ ษากอนระดบั อดุ มศกึ ษา
“การศึกษาตลอดชวี ิต” หมายความวา การศึกษาท่ีเกิดจากการผสมผสานระหวาง
การศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือใหสามารถพัฒนาคุณภาพ
ชวี ิตไดอยางตอเน่อื งตลอดชวี ติ
“สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน
วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษาหรือหนวยงานอ่ืนของรัฐหรือของเอกชน ที่มี
อาํ นาจหนาทหี่ รือมวี ตั ถุประสงคในการจัดการศกึ ษา
“สถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน” หมายความวา สถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
“มาตรฐานการศึกษา” หมายความวา ขอกาํ หนดเก่ยี วกบั คุณลกั ษณะ คณุ ภาพ ที่พึง
ประสงคและมาตรฐานท่ตี องการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักในการเทียบเคียง
สําหรับการสงเสรมิ และกํากับดแู ล การตรวจสอบ การประเมนิ ผล และการประกนั คณุ ภาพทางการศึกษา
“การประกันคุณภาพภายใน” หมายความวา การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาจากภายใน โดยบคุ ลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือ
โดยหนวยงานตนสังกัดที่มหี นาทก่ี ํากับดูแลสถานศึกษาน้นั
“การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความวา การประเมินผลและการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสํานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหนวยงานภายนอกที่สํานักงานดังกลาวรับรอง เพื่อเปน
การประกนั คุณภาพและใหมกี ารพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
“ผสู อน” หมายความวา ครแู ละคณาจารยในสถานศึกษาระดบั ตาง ๆ
"ครู" หมายความวา บุคลากรวิชาชพี ซึ่งทําหนาทีห่ ลักทางดานการเรยี นการสอนและ
การสงเสรมิ การเรยี นรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ ในสถานศกึ ษาท้งั ของรัฐและเอกชน
"คณาจารย" หมายความวา บุคลากรซงึ่ ทําหนาที่หลกั ทางดานการสอนและการวิจยั
ในสถานศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาของรัฐและเอกชน

263

2

“ผูบริหารสถานศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหาร
สถานศึกษาแตละแหง ทงั้ ของรัฐและเอกชน

“ผูบริหารการศกึ ษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษา
นอกสถานศกึ ษาตงั้ แตระดับเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาขึ้นไป

“บคุ ลากรทางการศกึ ษา” หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา
รวมทงั้ ผูสนบั สนนุ การศกึ ษาซ่ึงเปนผทู าํ หนาทีใ่ หบริการ หรือปฏิบตั งิ านเก่ยี วเนือ่ งกบั การจัดกระบวนการ
เรียนการสอน การนเิ ทศ และการบรหิ ารการศกึ ษาในหนวยงานการศกึ ษาตาง ๆ

“กระทรวง” หมายความวา กระทรวงการศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
“รฐั มนตร”ี หมายความวา รฐั มนตรผี รู กั ษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้
มาตรา 5 ใหรฐั มนตรีวาการกระทรวงการศึกษา รักษาการตามพระราบญั ญตั ิน้ี และ
มอี ํานาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพือ่ ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนัน้ เมื่อไดประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว ให
ใชบงั คับได
มาตรา 6 การจัดการศกึ ษาตองเปนไปเพอื่ พัฒนาคนไทยใหเปนมนษุ ยทสี่ มบรู ณทั้ง
รางกาย จติ ใจ สติปญญา ความรู และคณุ ธรรม มจี รยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดาํ รงชีวติ สามารถ
อยูรวมกับผอู ื่นไดอยางมีความสขุ
มาตรา 7 ในกระบวนการเรยี นรูตองมุงปลูกฝงจิตสํานึกท่ีถูกตองเกี่ยวกับการเมือง
การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ รจู กั รกั ษาและสงเสริมสิทธิ
หนาที่ เสรภี าพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักด์ิศรคี วามเปนมนษุ ย มีความภาคภูมิใจ
ในความเปนไทย รูจักรกั ษาผลประโยชนสวนรวมและของประเทศชาติ รวมท้ังสงเสริมศาสนา ศิลปะ
วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทย และความรูอันเปนสากล ตลอดจน
อนุรักษทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพ่ึงตนเอง มี
ความรเิ ร่มิ สรางสรรค ใฝรูและเรียนรดู วยตนเองอยางตอเน่ือง
มาตรา 8 การจดั การศกึ ษาใหยดึ หลักดงั นี้
(1) เปนการศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรับประชาชน
(2) ใหสังคมมีสวนรวมในการจดั การศกึ ษา
(3) การพฒั นาสาระและกระบวนการเรยี นรูใหเปนไปอยางตอเนอื่ ง
มาตรา 9 การจดั ระบบ โครงสราง และกระบวนการจดั การศกึ ษา ใหยึดหลกั ดงั นี้
(1) มีเอกภาพดานนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏบิ ัติ
(2) มกี ารกระจายอาํ นาจไปสเู ขตพ้ืนที่การศึกษา สถานศึกษา และองคกรปกครอง
สวนทองถ่ิน
(3) มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุก
ระดับและประเภทการศึกษา
(4) มีหลกั การสงเสริมมาตรฐานวิชาชพี ครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษา
และการพัฒนาครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษาอยางตอเน่ือง

264

3

(5) ระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ มาใชในการจดั การศกึ ษา
(6) การมสี วนรวมของบคุ คล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวน
ทองถนิ่ เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสงั คม
อื่น
มาตรา 10 การจัดการศึกษา ตองจัดใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับ
การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานไมนอยกวาสิบสองปที่รัฐตองจัดใหอยางทัว่ ถงึ และมคี ณุ ภาพโดยไมเกบ็ คาใชจาย
การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา
อารมณ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู หรือมีรางกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซ่ึงไม
สามารถพึ่งตนเองไดหรอื ไมมผี ดู แู ลหรือดอยโอกาส ตองจัดใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิและโอกาสไดรับ
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานเปนพิเศษ
การศึกษาสาํ หรบั คนพกิ ารในวรรคสอง ใหจัดต้ังแตแรกเกิดหรือพบความพิการโดย
ไมเสียคาใชจาย และใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิไดรับสิ่งอํานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และความ
ชวยเหลอื อน่ื ใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑและวิธีการท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง
การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ตองจัดดวยรูปแบบท่ี
เหมาะสมโดยคาํ นงึ ถึงความสามารถของบุคคลนั้น
มาตรา 11 บิดา มารดา หรอื ผูปกครองมีหนาท่ีจัดใหบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความ
ดูแลไดรับการศึกษาภาคบังคบั ตามมาตรา 17 และตามกฎหมายท่ีเกี่ยวของตลอดจนใหไดรับการศึกษา
นอกเหนอื จากการศึกษาภาคบงั คับตามความพรอมของครอบครัว
มาตรา 12 นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหบุคคล
ครอบครัว องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน
สังคมอน่ื มสี ิทธใิ นการจดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ทงั้ นี้ ใหเปนไปตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 13 บดิ า มารดา หรอื ผปู กครองมีสิทธไิ ดรบั สทิ ธปิ ระโยชน ดังตอไปนี้
(1) การสนบั สนุนจากรัฐ ใหมีความรูความสามารถในการอบรมเล้ียงดู และการให
การศกึ ษาแกบุตรหรือบุคคลซึ่งอยใู นความดูแล
(2) เงินอดุ หนนุ จากรฐั สําหรับการจัดการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยู
ในความดูแลท่ีครอบครวั จัดให ทั้งน้ี ตามทีก่ ฎหมายกําหนด
(3) การลดหยอนหรือยกเวนภาษสี ําหรับคาใชจายการศกึ ษาตามทกี่ ฎหมายกาํ หนด
มาตรา 14 บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอนื่ ซงึ่ สนับสนนุ หรือจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน มี
สิทธไิ ดรับสทิ ธปิ ระโยชนตามควรแกกรณี ดงั ตอไปน้ี
(1) การสนับสนุนจากรัฐใหมีความรูความสามารถในการอบรมเล้ยี งดูบุคคลซ่ึงอยูใน
ความดแู ลรับผิดชอบ
(2) เงนิ อดุ หนุนจากรฐั สาํ หรบั การจัดการศึกษาขั้นพ้นื ฐานตามทีก่ ฎหมายกาํ หนด
(3) การลดหยอนหรือยกเวนภาษีสาํ หรับคาใชจายการศกึ ษาตามท่ีกฎหมายกาํ หนด

265

4

มาตรา 15 การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอก
ระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

(1) การศึกษาในระบบ เปนการศึกษาที่กําหนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร
ระยะเวลาของการศึกษา การวดั และประเมนิ ผล ซ่ึงเปนเง่ือนไขของการสําเร็จการศึกษาท่แี นนอน

(2) การศกึ ษานอกระบบ เปนการศึกษาทม่ี ีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย
รูปแบบ วิธีการจดั การศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญ
ของการสาํ เรจ็ การศึกษา โดยเนอ้ื หาและหลกั สตู รจะตองมคี วามเหมาะสมสอดคลองกับสภาพปญหา
และความตองการของบคุ คลแตละกลมุ

(3) การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการศกึ ษาที่ใหผเู รียนไดเรียนรูดวยตนเองตามความ
สนใจ ศักยภาพ ความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอม
สือ่ หรอื แหลงความรอู ่นื ๆ

สถานศึกษาอาจจัดการศกึ ษาในรูปแบบใดรปู แบบหนงึ่ หรือท้ังสามรปู แบบกไ็ ด
ใหมีการเทยี บโอนผลการเรยี นท่ผี เู รยี นสะสมไวในระหวางรูปแบบเดียวกันหรือตาง
รูปแบบได ไมวาจะเปนผลการเรยี นจากสถานศกึ ษาเดียวกนั หรือไมก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรูนอก
ระบบ ตามอธั ยาศัย การฝกอาชพี หรอื จากประสบการณการทาํ งาน
มาตรา 16 การศกึ ษาในระบบมสี องระดบั คือ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และการศึกษา
ระดบั อุดมศกึ ษา
การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบดวย การศึกษาซึ่งจัดไมนอยกวาสิบสองปกอน
ระดับอุดมศึกษา การแบงระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหเปนไปตามท่ีกําหนดใน
กฎกระทรวง
การศึกษาระดบั อดุ มศึกษาแบงเปนสองระดับ คือ ระดับตํ่ากวาปริญญา และระดับ
ปรญิ ญา
การแบงระดบั หรือการเทียบระดบั การศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย
ใหเปนไปตามทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 17 ใหมีการศกึ ษาภาคบงั คับจาํ นวนเกาป โดยใหเด็กซ่ึงมีอายุยางเขาปท่ีเจ็ด
เขาเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุยางเขาปที่สิบหก เวนแตสอบไดช้ันปที่เกาของการศึกษา
ภาคบงั คบั หลักเกณฑและวธิ กี ารนับอายใุ หเปนไปตามทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง
มาตรา 18 การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาข้ันพื้นฐานใหจัดในสถานศึกษา
ดังตอไปนี้
(1) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ไดแก ศนู ยเดก็ เลก็ ศูนยพัฒนาเด็กเลก็ ศูนยพัฒนาเด็ก
กอนเกณฑของสถาบันศาสนา ศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเร่ิมของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความ
ตองการพเิ ศษ หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทีเ่ รยี กชื่ออยางอน่ื
(2) โรงเรียน ไดแก โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่สังกัดสถาบัน
พุทธศาสนาหรือศาสนาอ่ืน

266

5

(3) ศูนยการเรยี น ไดแก สถานท่เี รยี นทห่ี นวยงานจดั การศึกษานอกโรงเรียน บุคคล
ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบัน
ศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย สถานสงเคราะห และสถาบันสังคม
อนื่ เปนผูจดั

มาตรา 19 การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหจัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน
วิทยาลัย หรือหนวยงานที่เรียกช่ืออยางอ่ืน ทั้งน้ี ใหเปนไปตามกฎหมายเกี่ยวกับสถานศึกษา
ระดับอดุ มศึกษา กฎหมายวาดวยการจัดต้ังสถานศึกษาน้ัน ๆ และกฎหมายทเ่ี กย่ี วของ

มาตรา 20 การจดั การอาชีวศกึ ษา การฝกอบรมวิชาชพี ใหจัดในสถานศึกษาของรัฐ
สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความรวมมือระหวางสถานศึกษากับสถาน
ประกอบการ ทั้งนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการอาชวี ศกึ ษาและกฎหมายท่ีเก่ยี วของ

มาตรา 21 กระทรวง ทบวง กรม รฐั วสิ าหกจิ และหนวยงานอื่นของรฐั อาจจัดการศกึ ษา
เฉพาะทางตามความตองการและความชํานาญของหนวยงานนน้ั ได โดยคาํ นึงถงึ นโยบายและมาตรฐาน
การศกึ ษาของชาติ ท้งั น้ี ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่อื นไขทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 22 การจดั การศกึ ษาตองยึดหลกั วาผูเรยี นทุกคนมีความสามารถเรียนรูและ
พัฒนาตนเองได และถอื วาผูเรียนมีความสาํ คญั ท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียน
สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

มาตรา 23 การจดั การศกึ ษา ท้งั การศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษา
ตามอธั ยาศัย ตองเนนความสําคัญท้ังความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความ
เหมาะสมของแตละระดบั การศกึ ษาในเรอื่ งตอไปนี้

(1) ความรูเรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก
ครอบครวั ชุมชน ชาติ และสงั คมโลก รวมถึงความรูเกยี่ วกับประวตั ิศาสตรความเปนมาของสังคมไทย
และระบบการเมอื ง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ

(2) ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งความรูความเขาใจ
และประสบการณเรื่องการจัดการ การบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอมอยางสมดุลยง่ั ยนื

(3) ความรูเก่ยี วกับศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม การกีฬา ภูมปิ ญญาไทย และการประยุกตใช
ภูมิปญญา

(4) ความรู และทักษะดานคณิตศาสตร และดานภาษา เนนการใชภาษาไทยอยาง
ถกู ตอง

(5) ความรู และทกั ษะในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวติ อยางมคี วามสุข
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู ใหสถานศึกษาและหนวยงานทเ่ี กี่ยวของดําเนินการ
ดงั ตอไปน้ี
(1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของ
ผูเรยี น โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบคุ คล

267

6

(2) ฝกทกั ษะ กระบวนการคดิ การจดั การ การเผชญิ สถานการณ และการประยุกต
ความรูมาใชเพอ่ื ปองกนั และแกไขปญหา

(3) จดั กิจกรรมใหผูเรยี นไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิด
เปน ทาํ เปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนือ่ ง

(4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวน
สมดุลกัน รวมทงั้ ปลูกฝงคณุ ธรรม คานิยมท่ดี งี ามและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคไวในทกุ วิชา

(5) สงเสริมสนับสนุนใหผสู อนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรียน
และอํานวยความสะดวกเพ่อื ใหผูเรยี นเกดิ การเรียนรูและมีความรอบรู รวมทง้ั สามารถใชการวิจัยเปน
สวนหนงึ่ ของกระบวนการเรยี นรู ท้ังนี้ ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากส่ือการเรียนการ
สอนและแหลงวทิ ยาการประเภทตางๆ

(6) จัดการเรยี นรูใหเกดิ ข้นึ ไดทกุ เวลาทกุ สถานท่ี มีการประสานความรวมมือกบั บดิ า
มารดา ผปู กครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพื่อรวมกันพฒั นาผเู รียนตามศกั ยภาพ

มาตรา 25 รฐั ตองสงเสรมิ การดําเนินงานและการจัดต้ังแหลงการเรียนรูตลอดชีวิต
ทกุ รปู แบบ ไดแก หองสมดุ ประชาชน พิพธิ ภณั ฑ หอศิลป สวนสตั ว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร
อทุ ยานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนยการกีฬาและนันทนาการ แหลงขอมูล และแหลงการเรียนรู
อนื่ อยางพอเพยี งและมีประสิทธภิ าพ

มาตรา 26 ใหสถานศึกษาจัดการประเมินผูเรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของ
ผูเรยี น ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคูไปใน
กระบวนการเรยี นการสอนตามความเหมาะสมของแตละระดบั และรูปแบบการศกึ ษา

ใหสถานศึกษาใชวิธกี ารท่หี ลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเขาศึกษาตอ และให
นาํ ผลการประเมินผเู รียนตามวรรคหนึง่ มาใชประกอบการพิจารณาดวย

มาตรา 27 ใหคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานกําหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พน้ื ฐานเพอ่ื ความเปนไทย ความเปนพลเมอื งทด่ี ขี องชาติ การดาํ รงชีวิต และการประกอบอาชีพตลอดจน
เพอ่ื การศกึ ษาตอ

ใหสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมหี นาทีจ่ ัดทาํ สาระของหลกั สตู รตามวัตถุประสงคในวรรค
หนึ่งในสวนทีเ่ ก่ียวกับสภาพปญหาในชมุ ชนและสังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงค
เพือ่ เปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ

มาตรา 28 หลักสตู รการศึกษาระดบั ตาง ๆ รวมทั้งหลกั สูตรการศึกษาสําหรับบุคคล
ตามมาตรา 10 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ ตองมลี กั ษณะหลากหลาย ทงั้ น้ี ใหจดั ตามความเหมาะสม
ของแตละระดบั โดยมุงพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของบคุ คลใหเหมาะสมแกวัยและศักยภาพ

สาระของหลกั สูตร ท้ังทเี่ ปนวิชาการ และวชิ าชีพ ตองมุงพัฒนาคนใหมีความสมดุล
ท้งั ดานความรู ความคดิ ความสามารถ ความดีงาม และความรบั ผดิ ชอบตอสังคม

สําหรับหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศกึ ษา นอกจากคุณลักษณะในวรรคหน่ึง และ
วรรคสองแลวยงั มีความมุงหมายเฉพาะท่ีจะพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูงและการคนควา วิจัย เพ่ือ
พฒั นาองคความรแู ละพฒั นาสังคม

268

7

มาตรา 29 ใหสถานศึกษารวมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกร
ปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ
สถาบันสังคมอ่ืน สงเสริมความเขมแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรูภายในชุมชน เพื่อให
ชมุ ชนมกี ารจดั การศกึ ษาอบรม มกี ารแสวงหาความรู ขอมลู ขาวสาร และรูจกั เลือกสรรภูมิปญญาและ
วิทยาการตาง ๆ เพ่ือพัฒนาชุมชนใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ รวมท้ังหาวิธีการ
สนับสนุนใหมกี ารแลกเปล่ียนประสบการณการพัฒนาระหวางชุมชน

มาตรา 30 ใหสถานศกึ ษาพฒั นากระบวนการเรียนการสอนท่ีมปี ระสิทธภิ าพ รวมทง้ั
การสงเสรมิ ใหผสู อนสามารถวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรทู ่เี หมาะสมกับ ผเู รยี นในแตละระดับการศกึ ษา

มาตรา 31 กระทรวงมอี าํ นาจหนาท่เี ก่ียวกับการสงเสริม และกํากับดูแลการศึกษา
ทกุ ระดับและทุกประเภท กําหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากรเพื่อ
การศกึ ษา สงเสริมและประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬาเพื่อการศกึ ษา รวมท้ัง
การตดิ ตามตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาและราชการอ่ืนตามท่ีมีกฎหมายกําหนดให
เปนอาํ นาจหนาทขี่ องกระทรวงหรือสวนราชการทสี่ งั กดั กระทรวง

มาตรา 32 การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงใหมีองคกรหลักท่ีเปนคณะ
บุคคลในรูปสภาหรือในรูปคณะกรรมการจํานวนส่ีองคกร ไดแก สภาการศึกษา คณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา และคณะกรรมการการอดุ มศึกษา เพื่อพิจารณา
ใหความเหน็ หรอื ใหคําแนะนาํ แกรฐั มนตรี หรือคณะรัฐมนตรี และมีอํานาจหนาท่ีอื่นตามที่กฎหมาย
กําหนด

มาตรา 33 สภาการศึกษา มหี นาที่
(1) พิจารณาเสนอแผนการศกึ ษาแหงชาตทิ บี่ รู ณาการศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม
และกฬี ากบั การศึกษาทกุ ระดบั
(2) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศกึ ษาเพอื่ ดาํ เนนิ การใหเปนไป
ตามแผนตาม (1)
(3) พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนบั สนนุ ทรัพยากรเพอื่ การศึกษา
(4) ดําเนนิ การประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาตาม (1)
(5) ใหความเหน็ หรอื คาํ แนะนําเกีย่ วกบั กฎหมายและกฎกระทรวงทอ่ี อกตามความ
ในพระราชบญั ญัตนิ ้ี
การเสนอนโยบาย แผนการศกึ ษาแหงชาติ และมาตรฐานการศึกษา ใหเสนอตอ
คณะรัฐมนตรี
ใหคณะกรรมการสภาการศึกษา ประกอบดวย รัฐมนตรเี ปนประธาน กรรมการโดย
ตําแหนงจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ผูแทนองคกรเอกชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทน
องคกรวชิ าชีพ พระภกิ ษซุ ึง่ เปนผูแทนคณะสงฆ ผูแทนคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย
ผแู ทนองคกรศาสนาอ่นื และกรรมการผทู รงคุณวฒุ ิ ซง่ึ มจี ํานวนไมนอยกวาจํานวนกรรมการประเภท
อื่นรวมกัน

269

8

ใหสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เปนนิติบุคคล และใหเลขาธิการสภาเปน
กรรมการและเลขานุการ

จาํ นวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วธิ ีการสรรหา การเลอื กกรรมการ วาระการ
ดาํ รงตาํ แหนง และการพนจากตาํ แหนง ใหเปนไปตามทกี่ ฎหมายกําหนด

มาตรา 34 คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย
แผนพฒั นามาตรฐานและหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานที่สอดคลองกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ
และสังคมแหงชาติและแผนการศกึ ษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมินผลการจดั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษามหี นาท่พี จิ ารณาเสนอนโยบาย แผนพฒั นา มาตรฐาน
และหลกั สูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ ท่ีสอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาตแิ ละแผนการศกึ ษาแหงชาติ การสงเสริมประสานงานการจัดการอาชีวศกึ ษาของรัฐและ
เอกชน การสนบั สนุนทรพั ยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการอาชีวศึกษา โดย
คํานึงถึงคณุ ภาพและความเปนเลศิ ทางวิชาชพี

คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และ
มาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนบั สนนุ ทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศึกษาระดบั อดุ มศึกษา โดยคํานึงถงึ ความเปนอิสระและความเปนเลศิ ทางวิชาการของสถานศกึ ษา
ระดบั ปริญญาตามกฎหมายวาดวยการจดั ต้ังสถานศึกษาแตละแหง และกฎหมายทเ่ี ก่ยี วของ

มาตรา 35 องคประกอบของคณะกรรมการตามมาตรา 34 ประกอบดวย กรรมการ
โดยตําแหนงจากหนวยงานท่เี กย่ี วของ ผแู ทนองคกรเอกชน ผแู ทนองคกรปกครองสวนทองถิน่ ผูแทน
องคกรวชิ าชพี และผทู รงคุณวุฒิซง่ึ มจี ํานวนไมนอยกวาจาํ นวนกรรมการประเภทอน่ื รวมกนั

จํานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วธิ กี ารสรรหา การเลือกประธานกรรมการ
และกรรมการ วาระการดํารงตําแหนงและการพนจากตําแหนงของคณะกรรมการแตละคณะ ให
เปนไปตามที่กฎหมายกําหนด ท้ังน้ี ใหคํานึงถึงความแตกตางของกิจการในความรับผิดชอบของ
คณะกรรมการแตละคณะดวย

ใหสาํ นักงานคณะกรรมการตามมาตรา 34 เปนนิติบุคคล และใหเลขาธิการของแต
ละสํานกั งานเปนกรรมการและเลขานกุ ารของคณะกรรมการ

มาตรา 36 ใหสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเปนนิติบุคคล และ
อาจจดั เปนสวนราชการหรือเปนหนวยงานในกาํ กับของรัฐ ยกเวนสถานศึกษาเฉพาะทางตามมาตรา
21

ใหสถานศึกษาดงั กลาวดาํ เนนิ กิจการไดโดยอิสระ สามารถพฒั นาระบบบริหาร และ
การจัดการท่ีเปนของตนเอง มีความคลองตัว มเี สรีภาพทางวิชาการ และอยูภายใตการกํากับดูแลของ
สภาสถานศกึ ษา ตามกฎหมายวาดวยการจัดตง้ั สถานศึกษานน้ั ๆ

270

9

มาตรา 37 การบรหิ ารและการจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดย
คาํ นึงถงึ ระดบั ของการศึกษาข้ันพื้นฐาน จํานวนสถานศึกษา จํานวนประชากร วัฒนธรรมและความ
เหมาะสมดานอืน่ ดวย เวนแตการจดั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานตามกฎหมายวาดวยการอาชวี ศกึ ษา

ใหรฐั มนตรีโดยคําแนะนาํ ของสภาการศกึ ษา มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กําหนดเขตพ้ืนที่การศึกษาเพ่ือการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน แบงเปนเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษาและเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา

ในกรณีที่สถานศึกษาใดจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระดับประถมศึกษาและระดับ
มธั ยม ศกึ ษาการกาํ หนดใหสถานศึกษาแหงนนั้ อยูในเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาใด ใหยึดระดับการศึกษาของ
สถานศึกษาน้ันเปนสําคัญ ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดโดยคําแนะนําของคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

ในกรณีท่ีเขตพื้นท่ีการศึกษาไมอาจบริหารและจัดการไดตามวรรคหน่ึง กระทรวง
อาจจัดใหมีการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานดังตอไปน้เี พื่อเสริมการบริหารและการจัดการของเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
กไ็ ด

(1) การจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานสําหรับบุคคลท่ีมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ
สตปิ ญญา อารมณ สังคม การส่อื สารและการเรยี นรู หรอื มรี างกายพิการหรอื ทุพพลภาพ

(2) การจัดการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานที่จดั ในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษา
ตามอัธยาศัย

(3) การจดั การศึกษาขั้นพน้ื ฐานสําหรบั บคุ คลทีม่ ีความสามารถพิเศษ
(4) การจัดการศึกษาทางไกล และการจัดการศึกษาท่ีใหบริการในหลายเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา
มาตรา 38 ในแตละเขตพ้ืนที่การศึกษา ใหมีคณะกรรมการและสํานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษามีอํานาจหนาท่ีในการกํากับดูแล จัดต้ัง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในเขตพื้นที่
การศึกษาประสาน สงเสริมและสนบั สนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา ประสานและสงเสริม
องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ใหสามารถจัดการศึกษาสอดคลองกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา
สงเสรมิ และสนับสนนุ การจัดการศกึ ษาของบุคคล ครอบครัว องคกรชมุ ชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืนที่จัดการศึกษาในรูปแบบท่ีหลากหลายในเขต
พน้ื ท่กี ารศกึ ษา
คณะกรรมการเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประกอบดวย ผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกร
เอกชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนสมาคมผูประกอบวิชาชีพครู ผูแทนสมาคมผู
ประกอบวิชาชีพบริหารการศึกษา ผูแทนสมาคมผูปกครองและครู และผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา
ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
จํานวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ วิธกี ารสรรหา การเลอื กประธานกรรมการและ
กรรมการ วาระการตํารงตาํ แหนง และการพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง
ใหผอู ํานวยการสํานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาเปนกรรมการและเลขานกุ ารของ
คณะกรรมการเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา

271

10

ในการดําเนินการตามวรรคหน่ึงในสวนที่เกี่ยวกับสถานศึกษาเอกชนและองคกร
ปกครอง สวนทองถ่ินวาจะอยูในอํานาจหนาท่ีของเขตพื้นที่การศึกษาใด ใหเปนไปตามที่รัฐมนตรี
ประกาศกําหนดโดยคําแนะนําของคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

มาตรา 39 ใหกระทรวงกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ท้ังดาน
วิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบรหิ ารทวั่ ไปไปยงั คณะกรรมการ และสํานักงาน
เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา และสถานศกึ ษาในเขตพนื้ ท่ีการศึกษาโดยตรง

หลักเกณฑและวธิ ีการกระจายอาํ นาจดงั กลาว ใหเปนไปตามทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง
มาตรา 40 ใหมคี ณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระดับต่ํากวาปริญญา และสถานศึกษาอาชีวศึกษาของแตละสถานศึกษาเพ่ือทําหนาที่กํากับและ
สงเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ประกอบดวย ผูแทนผูปกครอง ผูแทนครู ผูแทนองคกร
ชมุ ชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนศิษยเกาของสถานศึกษา ผูแทนพระภิกษุสงฆหรือ
ผแู ทนองคกรศาสนาอ่ืนในพืน้ ที่ และผทู รงคณุ วุฒิ
สถานศึกษาระดบั อุดมศึกษาระดบั ต่าํ กวาปริญญาและสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาอาจมี
กรรมการเพ่มิ ข้ึนได ทัง้ น้ี ตามทีก่ ฎหมายกําหนด
จาํ นวนกรรมการ คณุ สมบัติ หลกั เกณฑ วธิ กี ารสรรหา การเลอื กประธานกรรมการและ
กรรมการ วาระการดํารงตาํ แหนง และการพนจากตาํ แหนง ใหเปนไปตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวง
ใหผบู รหิ ารสถานศึกษาเปนกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการสถานศึกษา
ความในมาตรานี้ไมใชบังคับแกสถานศึกษาตามมาตรา 18 (1) และ (3)
มาตรา 41 องคกรปกครองสวนทองถ่นิ มีสิทธจิ ัดการศกึ ษาในระดับใดระดบั หนึง่ หรือ
ทกุ ระดับตามความพรอม ความเหมาะสมและความตองการภายในทองถิ่น
มาตรา 42 ใหกระทรวงกาํ หนดหลกั เกณฑและวิธกี ารประเมินความพรอมในการจัด
การศกึ ษาขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน และมีหนาที่ในการประสานและสงเสริมองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นใหสามารถจัดการศึกษา สอดคลองกับนโยบายและไดมาตรฐานการศึกษา รวมท้ังการ
เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอดุ หนุนการจัดการศกึ ษาขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
มาตรา 43 การบรหิ ารและการจัดการศึกษาของเอกชนใหมีความเปนอิสระ โดยมี
การกาํ กับติดตาม การประเมินคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาจากรัฐ และตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ
การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาเชนเดยี วกบั สถานศกึ ษาของรฐั
มาตรา 44 ใหสถานศึกษาเอกชนตามมาตรา 18 (2) เปนนิตบิ คุ คล และมีคณะกรรมการ
บรหิ ารประกอบดวย ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาเอกชน ผูรับใบอนุญาต ผูแทนผูปกครอง ผูแทนองคกรชุมชน
ผูแทนครู ผแู ทนศิษยเกา และผทู รงคณุ วฒุ ิ
จาํ นวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ วธิ ีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการ
และกรรมการ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎระทรวง
มาตรา 45 ใหสถานศกึ ษาเอกชนจัดการศึกษาไดทุกระดับและทุกประเภท การศึกษา
ตามที่กฎหมายกําหนด โดยรัฐตองกาํ หนดนโยบายและมาตรการที่ชัดเจนเก่ียวกับการมีสวนรวมของ
เอกชนในดานการศึกษา

272

11

การกําหนดนโยบายและแผนการจัดการศึกษาของรัฐของเขตพื้นที่การศึกษาหรือ
ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ใหคาํ นึงถึงผลกระทบตอการจดั การศกึ ษาของเอกชน โดยใหรัฐมนตรี
หรือคณะกรรมการเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา หรอื องคกรปกครองสวนทองถน่ิ รับฟงความคดิ เหน็ ของเอกชน
และประชาชนประกอบการพจิ ารณาดวย

ใหสถานศึกษาของเอกชนที่จัดการศึกษาระดับปริญญาดําเนินกิจการได โดยอิสระ
สามารถพฒั นาระบบบริหารและการจัดการท่เี ปนของตนเอง มคี วามคลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ
และอยภู ายใตการกํากับดแู ลของสภาสถานศึกษา ตามกฎหมายวาดวยสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชน

มาตรา 46 รัฐตองใหการสนับสนุนดานเงินอุดหนุน การลดหยอนหรือการยกเวน
ภาษี และสิทธิประโยชนอยางอ่ืนท่ีเปนประโยชนในทางการศึกษาแกสถานศึกษาเอกชนตามความ
เหมาะสม รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนดานวิชาการใหสถานศึกษาเอกชนมีมาตรฐานและสามารถ
พงึ่ ตนเองได

มาตรา 47 ใหมีระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาทุกระดับ ประกอบดวย ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน และระบบการประกันคณุ ภาพ
ภายนอก

ระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ใหเปนไปตามท่ีกําหนดใน
กฎกระทรวง

มาตรา 48 ใหหนวยงานตนสงั กัดและสถานศกึ ษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพ
ภายใน สถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหน่ึงของกระบวนการบริหาร
การศึกษาท่ตี องดําเนินการอยางตอเนือ่ ง โดยมกี ารจดั ทํารายงานประจําปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด
หนวยงานที่เกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษา และเพอื่ รองรบั การประกันคุณภาพภายนอก

มาตรา 49 ใหมีสํานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะ
เปนองคการมหาชนทําหนาทพ่ี ัฒนาเกณฑ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทําการประเมินผล
การจัดการศึกษาเพื่อใหมีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคํานึงถึงความมุงหมายและ
หลักการและแนวการจัดการศึกษาในแตละระดับตามท่กี าํ หนดไวในพระราชบัญญัตินี้

ใหมีการประเมนิ คุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแหงอยางนอยหน่งึ ครง้ั ในทุกหาป
นับตง้ั แตการประเมนิ คร้ังสุดทาย และเสนอผลการประเมนิ ตอหนวยงานท่ีเก่ียวของและสาธารณชน

มาตรา 50 ใหสถานศกึ ษาใหความรวมมือในการจดั เตรยี มเอกสารหลกั ฐานตางๆ ท่มี ี
ขอมลู เกีย่ วของกบั สถานศกึ ษา ตลอดจนใหบคุ ลากร คณะกรรมการของสถานศึกษา รวมทง้ั ผูปกครอง
และผูที่มีสวนเก่ียวของกับสถานศึกษาใหขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่พิจารณาเห็นวา เก่ียวของกับการ
ปฏิบัติภารกิจของสถานศึกษา ตามคํารองขอของสํานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพ
การศึกษาหรือบุคคลหรือหนวยงานภายนอกที่สํานักงานดังกลาวรับรอง ท่ีทําการประเมินคุณภาพ
ภายนอกของสถานศกึ ษาน้ัน

มาตรา 51 ในกรณที ี่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไมไดตามมาตรฐาน
ที่กําหนด ใหสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จัดทําขอเสนอแนะ การ

273

12

ปรับปรุงแกไขตอหนวยงานตนสังกดั เพ่ือใหสถานศกึ ษาปรับปรุงแกไขภายในระยะเวลาที่กําหนด หาก
มิไดดําเนินการดังกลาว ใหสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารายงานตอ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หรือคณะกรรมการการอดุ มศึกษา
เพอื่ ดําเนินการใหมีการปรบั ปรงุ แกไข

มาตรา 52 ใหกระทรวงสงเสรมิ ใหมีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย
และบคุ ลากรทางการศึกษาใหมคี ุณภาพและมาตรฐานท่ีเหมาะสมกับการเปนวิชาชีพชั้นสูง โดยการ
กาํ กับและประสานใหสถาบันที่ทาํ หนาทผี่ ลติ และพฒั นาครู คณาจารย รวมท้งั บุคลากรทางการศึกษา
ใหมีความพรอมและมีความเขมแข็งในการเตรียมบุคลากรใหมและการพัฒนาบุคลากรประจําการ
อยางตอเนอื่ ง

รัฐพึงจดั สรรงบประมาณและจัดตง้ั กองทุนพฒั นาครู คณาจารย และบุคลากรทางการ
ศกึ ษาอยางเพียงพอ

มาตรา 53 ใหมีองคกรวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษา และผูบริหารการศึกษา มี
ฐานะเปนองคกรอิสระภายใตการบริหารของสภาวิชาชีพ ในกํากับของกระทรวง มีอํานาจหนาท่ี
กําหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กํากับดูแลการปฏิบัติตาม
มาตรฐานและจรรยาบรรณของวชิ าชีพ รวมท้ังการพฒั นาวชิ าชพี ครู ผูบริหารสถานศึกษาและผูบรหิ าร
การศกึ ษา

ใหครู ผูบริหารสถานศกึ ษา ผูบริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน ทั้ง
ของรฐั และเอกชนตองมีใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ตามท่ีกฎหมายกําหนด

การจัดใหมอี งคกรวชิ าชีพครู ผูบริหารสถานศกึ ษา ผบู รหิ ารการศกึ ษา และบุคลากร
ทางการศึกษาอ่ืน คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการในการออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบ
วิชาชพี ใหเปนไปตามทีก่ ฎหมายกาํ หนด

ความในวรรคสองไมใชบังคับแกบคุ ลากรทางการศึกษาที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย
สถานศกึ ษาตามมาตรา 18 (3) ผูบริหารการศกึ ษาระดับเหนือเขตพ้ืนที่การศึกษาและวิทยากรพิเศษ
ทางการศกึ ษา

ความในมาตรานี้ไมใชบังคับแกคณาจารย ผูบริหารสถานศึกษา และผูบริหาร
การศกึ ษาในระดับอุดมศกึ ษาระดบั ปริญญา

มาตรา 54 ใหมีองคกรกลางบริหารงานบุคคลของขาราชการครู โดยใหครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษาทัง้ ของหนวยงานทางการศึกษาในระดบั สถานศึกษาของรัฐ และระดับเขตพน้ื ที่
การศึกษาเปนขาราชการในสังกัดองคกรกลางบริหารงานบุคคลของขาราชการครู โดยยึดหลักการ
กระจายอํานาจการบริหารงานบุคคลสูเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษา ทั้งน้ี ใหเปนไปตามที่
กฎหมายกําหนด

มาตรา 55 ใหมกี ฎหมายวาดวยเงินเดือน คาตอบแทน สวัสดกิ าร และสิทธปิ ระโยชน
เก้อื กลู อื่น สําหรับขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาเพื่อใหมรี ายไดที่เพยี งพอและเหมาะสมกับ
ฐานะทางสังคมและวิชาชีพ

274

13

ใหมีกองทุนสงเสริมครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือจัดสรรเปนเงิน
อุดหนุนงานริเร่ิมสรางสรรค ผลงานดีเดน และเปนรางวัลเชิดชูเกียรติครู คณาจารย และบุคลากร
ทางการศกึ ษา ทัง้ นี้ ใหเปนไปตามทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง

มาตรา 56 การผลิตและพัฒนาคณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนา
มาตรฐาน และจรรยาบรรณของวิชาชพี และการบริหารงานบคุ คลของขาราชการหรือพนกั งานของรฐั
ในสถานศกึ ษาระดบั ปริญญาที่เปนนติ ิบุคคล ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการจัดต้ังสถานศึกษาแต
ละแหงและกฎหมายที่เกี่ยวของ

มาตรา 57 ใหหนวยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนใหมีสวนรวม
ในการจัดการศกึ ษาโดยนาํ ประสบการณ ความรอบรู ความชํานาญ และภูมิปญญาทองถิ่นของบุคคล
ดังกลาวมาใช เพื่อใหเกิดประโยชนทางการศึกษาและยกยองเชิดชูผูที่สงเสริมและสนับสนุนการจัด
การศกึ ษา

มาตรา 58 ใหมีการระดมทรัพยากรและการลงทุนดานงบประมาณ การเงิน และ
ทรัพยสิน ทั้งจากรัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชนเอกชน
องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น และตางประเทศ
มาใชจดั การศึกษาดังน้ี

(1) ใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยอาจ
จัดเกบ็ ภาษเี พื่อการศึกษาไดตามความเหมาะสม ท้ังนี้ ใหเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด

(2) ใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นเอกชน
องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ระดม
ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา โดยเปนผูจัดและมีสวนรวมในการจัดการศึกษา บริจาคทรัพยสินและ
ทรัพยากรอ่นื ใหแกสถานศึกษา และมีสวนรวมรับภาระคาใชจายทางการศึกษาตามความเหมาะสม
และความจําเปน

ท้ังน้ี ใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถ่ิน สงเสริมและใหแรงจูงใจในการระดม
ทรัพยากรดังกลาว โดยการสนับสนุน การอุดหนุนและใชมาตรการลดหยอนหรือยกเวนภาษี ตาม
ความเหมาะสมและความจาํ เปน ทง้ั น้ี ใหเปนไปตามท่กี ฎหมายกําหนด

มาตรา 59 ใหสถานศึกษาของรัฐท่ีเปนนิติบุคคล มีอํานาจในการปกครอง ดูแล
บํารุงรักษา ใช และจัดหาผลประโยชนจากทรัพยสินของสถานศึกษา ทั้งที่เปนที่ราชพัสดุ ตาม
กฎหมายวาดวยที่ราชพัสดุ และที่เปนทรัพยสินอื่น รวมท้ังจัดหารายไดจากบริการของสถานศึกษา
และเก็บคาธรรมเนียมการศึกษาท่ีไมขัดหรือแยงกับนโยบาย วัตถุประสงค และภารกิจหลักของ
สถานศึกษา

บรรดาอสังหารมิ ทรพั ยทส่ี ถานศึกษาของรฐั ทีเ่ ปนนติ บิ คุ คลไดมาโดยมีผอู ุทิศให หรอื
โดยการซ้อื หรอื แลกเปล่ยี นจากรายไดของสถานศึกษา ไมถอื เปนทีร่ าชพัสดุ และใหเปนกรรมสิทธ์ขิ อง
สถานศึกษา

บรรดารายไดและผลประโยชนของสถานศึกษาของรัฐท่ีเปนนิติบุคคล รวมทั้ง
ผลประโยชนทเ่ี กดิ จากทีร่ าชพสั ดุ เบีย้ ปรับท่ีเกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบี้ยปรับท่ีเกิดจาก

275

14

การผิดสญั ญาการซอื้ ทรพั ยสินหรอื จางทาํ ของทดี่ าํ เนิน การโดยใชเงินงบประมาณไมเปนรายไดที่ตอง
นําสงกระทรวงการคลังตามกฎหมายวา ดวยเงินคงคลงั และกฎหมายวาดวยวิธกี ารงบประมาณ

บรรดารายไดและผลประโยชนของสถานศึกษาของรัฐท่ีไมเปนนิติบุคคล รวมท้ัง
ผลประโยชนที่เกิดจากทรี่ าชพัสดุ เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบ้ียปรับที่เกิดจาก
การผิดสัญญาการซื้อทรัพยสินหรือจางทําของท่ีดําเนิน การโดยใชเงินงบประมาณใหสถานศึกษา
สามารถจัดสรรเปนคาใชจายในการจัดการ ศึกษาของสถานศึกษาน้ัน ๆ ไดตามระเบียบท่ี
กระทรวงการคลงั กําหนด

มาตรา 60 ใหรฐั จดั สรรงบประมาณแผนดนิ ใหกับการศกึ ษาในฐานะที่มีความสําคัญ
สงู สุดตอการพฒั นาที่ย่งั ยนื ของประเทศโดยจดั สรรเปนเงินงบประมาณเพอ่ื การศกึ ษา ดงั นี้

(1) จัดสรรเงินอุดหนุนท่วั ไปเปนคาใชจายรายบคุ คลท่เี หมาะสมแกผูเรียนการ ศกึ ษา
ภาคบังคับและการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานที่จดั โดยรัฐและเอกชนใหเทาเทยี มกัน

(2) จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกูยืมใหแกผูเรียนท่ีมาจากครอบครัวที่มี
รายไดนอยตามความเหมาะสมและความจําเปน

(3) จดั สรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศกึ ษาอ่ืนเปนพิเศษใหเหมาะสม และ
สอดคลองกบั ความจาํ เปนในการจัดการศึกษาสําหรับผูเรยี นท่ีมคี วามตองการเปนพเิ ศษแตละกลมุ ตาม
มาตรา 10 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี โดยคาํ นึงถงึ ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและ
ความเปนธรรม ทัง้ น้ี ใหเปนไปตามหลกั เกณฑและวิธกี ารที่กําหนดในกฎกระทรวง

(4) จัดสรรงบประมาณเปนคาใชจายดําเนินการ และงบลงทุนใหสถานศึกษาของรัฐ
ตามนโยบายแผนพฒั นาการศึกษาแหงชาติ และภารกิจของสถานศึกษา โดยใหมีอิสระในการบริหาร
งบประมาณและทรพั ยากรทางการศกึ ษา ทั้งนี้ ใหคํานึงถึงคุณภาพและความเสมอภาคในโอกาสทาง
การศึกษา

(5) จดั สรรงบประมาณในลักษณะเงนิ อดุ หนุนท่ัวไปใหสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ของรฐั ทีเ่ ปนนิติบคุ คล และเปนสถานศกึ ษาในกาํ กับของรัฐหรือองคการมหาชน

(6) จดั สรรกองทุนกยู มื ดอกเบีย้ ตา่ํ ใหสถานศึกษาเอกชน เพื่อใหพึง่ ตนเองได
(7) จดั ต้ังกองทุนเพอื่ พัฒนาการศกึ ษาของรัฐและเอกชน
มาตรา 61 ใหรัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล ครอบครัว องคกร
ชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ตาม
ความเหมาะสมและความจําเปน
มาตรา 62 ใหมีระบบการตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล
การใชจายงบประมาณการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับหลักการศึกษา แนวการจัดการศึกษาและ
คุณภาพมาตรฐานการศกึ ษา โดยหนวยงานภายในและหนวยงานของรฐั ทมี่ หี นาทีต่ รวจสอบภายนอก
หลกั เกณฑ และวธิ กี ารในการตรวจสอบ ติดตามและการประเมิน ใหเปนไปตามที่
กาํ หนดในกฎกระทรวง
มาตรา 63 รฐั ตองจัดสรรคล่ืนความถี่ สื่อตัวนาํ และโครงสรางพืน้ ฐานอน่ื ทจี่ ําเปนตอ
การสงวทิ ยุกระจายเสียง วิทยุโทรทศั น วิทยโุ ทรคมนาคม และการส่ือสารในรูปอ่ืน เพ่ือใชประโยชน

276

15

สาํ หรบั การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะ
และวัฒนธรรมตามความจําเปน

มาตรา 64 รฐั ตองสงเสริมและสนับสนุนใหมีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตํารา
หนังสอื ทางวชิ าการ สอ่ื ส่งิ พิมพอื่น วัสดอุ ุปกรณ และเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษาอ่นื โดยเรงรดั พฒั นาขีด
ความสามารถในการผลิต จัดใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิต และพัฒนา
เทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา ทงั้ น้ี โดยเปดใหมกี ารแขงขันโดยเสรอี ยางเปนธรรม

มาตรา 65 ใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผผู ลติ และผูใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
เพอื่ ใหมีความรู ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทง้ั การใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีคุณภาพ
และประสิทธิภาพ

มาตรา 66 ผูเรียนมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อ
การศกึ ษาในโอกาสแรกทท่ี าํ ได เพ่อื ใหมคี วามรแู ละทักษะเพยี งพอท่ีจะใชเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาใน
การแสวงหาความรูดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชวี ิต

มาตรา 67 รัฐตองสงเสรมิ ใหมีการวิจยั และพัฒนา การผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยี
เพ่ือการศึกษา รวมท้งั การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพ่ือใหเกิด
การใชที่คมุ คาและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรขู องคนไทย

มาตรา 68 ให มีการระดมทนุ เพอื่ จดั ตัง้ กองทนุ พัฒนาเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาจาก
เงนิ อุดหนนุ ของรฐั คาสมั ปทาน และผลกาํ ไรทไี่ ดจากการดําเนินกิจการดานส่ือสารมวลชน เทคโนโลยี
สารสนเทศ และโทรคมนาคมจากทุกฝายท่ีเกี่ยวของท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรประชาชน
รวมท้ังใหมีการลดอัตราคาบรกิ ารเปนพเิ ศษในการใชเทคโนโลยีดังกลาวเพ่อื การพัฒนาคนและสงั คม

หลักเกณฑและวิธีการจัดสรรเงินกองทุนเพ่ือการผลิต การวิจัยและการพัฒนา
เทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษา ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 69 รัฐตองจัดใหมีหนวยงานกลางทําหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผน
สงเสริมและประสานการวิจยั การพัฒนาและการใช รวมทั้งการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพ
ของการผลิตและการใชเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา

277

16

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และที่แกไข
เพ่ิมเติม

มาตรา 1 พระราชบญั ญตั นิ เี้ รียกวา “พระราชบญั ญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546” ……

มาตรา 6 ใหจดั ระเบียบราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ ดังนี้
(1) ระเบียบบรหิ ารราชการในสวนกลาง
(2) ระเบยี บบรหิ ารราชการเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา
(3) ระเบียบบรหิ ารราชการในสถานศกึ ษาของรฐั ท่ีจัดการศึกษาระดบั ปรญิ ญาทเ่ี ปน
นิติบคุ คล
มาตรา 7 การกาํ หนดตําแหนงและอัตราเงินเดือนของขาราชการในกระทรวงศึกษาธิการ
ใหคํานึงถงึ คุณวฒุ ิ ประสบการณ มาตรฐานวิชาชพี ลกั ษณะหนาที่ความรับผดิ ชอบ และคณุ ภาพของงาน
แลวแตกรณี การบรรจุและการแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงหนาที่ราชการตาง ๆ ใหเปนไปตาม
กฎหมายวาดวยการนน้ั
มาตรา 8 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี
และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศเพ่อื ปฏิบตั ติ ามพระราชบญั ญัตินี้ รวมทั้งใหมี
อาํ นาจตีความและวินิจฉัยชี้ขาดปญหาอันเกี่ยวกับการปฏิบัติการ อํานาจหนาท่ีของผูดํารงตําแหนง
หรอื หนวยงานตาง ๆ ตามทกี่ าํ หนดไวในบทเฉพาะกาลของพระราชบัญญัติน้ี
กฎกระทรวง ระเบยี บ และประกาศนนั้ เม่ือไดประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว ให
ใชบงั คบั ได
มาตรา 9 ใหจัดระเบยี บบรหิ ารราชการในสวนกลาง ดงั นี้
(1) สํานักงานปลัดกระทรวง
(2) สวนราชการที่มีหวั หนาสวนราชการข้นึ ตรงตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธกิ าร
มาตรา 10 การแบงสวนราชการในสวนกลางของกระทรวงศกึ ษาธิการใหเปนไปตาม
พระราชบญั ญัตินี้ โดยใหมหี ัวหนาสวนราชการข้ึนตรงตอรฐั มนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ดงั น้ี
(1) สาํ นกั งานรัฐมนตรี
(2) สาํ นกั งานปลัดกระทรวง
(3) สํานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา
(4) สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
(5) สาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(6) สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
สวนราชการตาม (2) (3) (4) (5) และ (6) มฐี านะเปนนติ ิบุคคลและเปนกรมตาม
กฎหมายวาดวย ระเบยี บบรหิ ารราชการแผนดนิ
มาตรา 11 การแบงสวนราชการภายในสวนราชการตามมาตรา 10 ใหออกเปน
กฎกระทรวงและใหระบอุ ํานาจหนาที่ของแตละสวนราชการไวในกฎกระทรวงวาดวยการแบงสวนราชการ
ดงั กลาว

278

17

มาตรา 12 กระทรวงศึกษาธิการมีรฐั มนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการเปนผูบังคับบัญชา
ขาราชการ และกําหนดนโยบาย เปาหมาย และผลสมั ฤทธข์ิ องงานในกระทรวงศึกษาธกิ ารใหสอดคลองกบั
นโยบายทีค่ ณะรัฐมนตรีแถลงไวตอรัฐสภา หรอื ท่คี ณะรัฐมนตรีกําหนดหรอื อนุมัติ โดยจะใหมรี ฐั มนตรชี วย
วาการกระทรวงศึกษาธกิ ารเปนผชู วยสั่งและปฏบิ ัติราชการก็ได

ในกรณที ่ีมีรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ การส่ังหรือการปฏิบัติราชการ
ของรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ ใหเปนไปตามท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
มอบหมาย

มาตรา 13 ในกรณีท่ีสภาการศกึ ษา คณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน คณะกรรมการ
การอดุ มศึกษา และคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เสนอความเห็นหรือคําแนะนําตอรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศึกษาธิการแลว ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการนําความเห็นหรือคําแนะนํามา
ประกอบการพจิ ารณาเพื่อใหเหมาะสมกบั การศกึ ษาของชาติ

มาตรา 14 ใหมีสภาการศึกษา มหี นาที่
(1) พิจารณาเสนอแผนการศกึ ษาแหงชาตทิ บ่ี รู ณาการศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม
และกีฬากบั การศึกษาทกุ ระดบั
(2) พจิ ารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศกึ ษาใหดาํ เนนิ การเปนไปตาม
แผนตาม (1)
(3) พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนบั สนนุ ทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา
(4) ดาํ เนินการประเมนิ ผลการจัดการศึกษาตาม (1)
(5) ใหความเห็นหรอื คําแนะนาํ ในเรือ่ งกฎหมายและกฎกระทรวงท่เี กย่ี วกบั
การศึกษา
การเสนอนโยบาย แผนการศกึ ษาแหงชาติ และมาตรฐานการศกึ ษา ใหเสนอตอ
คณะรฐั มนตรี
นอกจากหนาที่ตามวรรคหนึ่ง ใหสภาการศึกษามีหนาทีใ่ หความเห็นหรือคําแนะนําแก
รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการหรือคณะรัฐมนตรี และมีอํานาจหนาท่ีอ่ืนตามท่ีกฎหมายกําหนด
หรือตามท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการมอบหมาย
ใหคณะกรรมการสภาการศึกษา ประกอบดวยรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการโดย
ตําแหนงจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ผูแทนองคกรเอกชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทน
องคกรวิชาชีพ พระภิกษุ ซง่ึ เปนผูแทนคณะสงฆ ผูแทนคณะกรรมการกลางอิสลามแหงประเทศไทย
ผแู ทนองคกรศาสนาอนื่ และ กรรมการผทู รงคุณวุฒิซ่ึงมีจํานวนไมนอยกวาจํานวนกรรมการประเภท
อ่ืนรวมกนั
จาํ นวนกรรมการ คณุ สมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการสรรหา การเลือกกรรมการ วาระ
การดํารงตาํ แหนง และการพนจากตําแหนงของกรรมการใหเปนไปตามทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง
ใหสาํ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษาทําหนาท่ีรับผิดชอบงานเลขานุการของสภา
การศกึ ษาและมอี ํานาจหนาทีต่ ามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงวาดวยการแบงสวนราชการตามมาตรา 11
โดยมีเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาทําหนาท่ีเปนกรรมการและเลขานกุ ารของสภาการศึกษา

279

18

มาตรา 15 ใหมีคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย
แผนพัฒนา มาตรฐาน และหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตามตรวจสอบและ
ประเมินผลการจัดการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน และเสนอแนะในการออกระเบียบ หลักเกณฑ และประกาศท่ี
เก่ียวกับการบริหารงานของสาํ นกั งาน

นอกจากหนาท่ีตามวรรคหนึ่ง ใหคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานมีหนาท่ีให
ความเหน็ หรือใหคาํ แนะนําแกรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการหรือคณะรัฐมนตรี และมีอํานาจ
หนาทอ่ี ื่นตามที่กฎหมายกาํ หนดหรอื ตามทร่ี ฐั มนตรวี าการกระทรวงศึกษาธิการมอบหมาย

ใหคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประกอบดวย กรรมการโดยตําแหนงจาก
หนวยงานทเ่ี กยี่ วของ ผูแทนองคกรเอกชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูแทนองคกรวิชาชีพ
และกรรมการผูทรงคุณวฒุ ซิ ่ึงมีจํานวนไมนอยกวาจาํ นวนกรรมการประเภทอื่นรวมกัน

จาํ นวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ และวธิ กี ารสรรหา การเลือกประธานกรรมการ
และกรรมการ วาระการดาํ รงตาํ แหนงและการพนจากตําแหนงของกรรมการใหเปนไปตามทก่ี ําหนดใน
กฎกระทรวง

ใหสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ทําหนาทีร่ บั ผดิ ชอบงานเลขานกุ าร
ของ คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน และมอี าํ นาจหนาท่ตี ามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวงวาดวยการ
แบงสวนราชการตามมาตรา 11 โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทําหนาท่ีเปน
กรรมการและ เลขานกุ ารของคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

มาตรา 16 ใหมีคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย
แผนพัฒนา และ มาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
และแผนการศกึ ษาแหงชาติ การสนบั สนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศึกษาระดับอุดมศกึ ษา โดยคํานงึ ถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวชิ าการของสถานศกึ ษา
ระดับปริญญา ตามกฎหมายวาดวยการจัดต้ังสถานศึกษาแตละแหงและกฎหมายท่ีเก่ียวของ และ
เสนอแนะในการออกระเบยี บ หลกั เกณฑ และประกาศที่เกยี่ วกบั การบริหารงานของสาํ นกั งาน

นอกจากหนาทีต่ ามวรรคหนง่ึ ใหคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาท่ีใหความเห็น
หรือใหคําแนะนํา แกรัฐมนตรวี าการกระทรวงศึกษาธิการหรือคณะรัฐมนตรี และมีอํานาจหนาท่ีอื่น
ตามทก่ี ฎหมายกําหนดหรือตามท่ีรฐั มนตรีวาการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมอบหมาย ตลอดทงั้ ใหมอี าํ นาจ
เสนอแนะและใหความเห็นในการจัดสรรเงินอุดหนุนท่ัวไปใหแกสถานศึกษาระดับปริญญา ทั้งท่ีเปน
สถานศึกษาในสงั กดั และสถานศกึ ษาในกาํ กับแกคณะรัฐมนตรี

ใหคณะกรรมการการอุดมศึกษาประกอบดวย กรรมการโดยตําแหนงจากหนวยงาน
ท่ีเก่ียวของ ผแู ทนองคกรเอกชน ผแู ทนองคกรปกครองสวนทองถน่ิ ผูแทนองคกรวิชาชีพ และกรรมการ
ผูทรงคณุ วฒุ ิ ซงึ่ มีจํานวนไมนอยกวาจํานวนกรรมการประเภทอน่ื รวมกนั

จํานวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑ และวธิ กี ารสรรหา การเลอื กประธานกรรมการ
และกรรมการ วาระการดํารงตาํ แหนงและการพนจากตําแหนงของกรรมการ ใหเปนไปตามท่ีกําหนดใน
กฎกระทรวง

280

19

ใหสาํ นักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ทําหนาทร่ี บั ผดิ ชอบงานเลขานกุ ารของ
คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา และมอี าํ นาจหนาท่ีตามท่กี าํ หนดในกฎกระทรวงวาดวยการแบงสวน
ราชการตามมาตรา 11 โดยมเี ลขาธิการคณะกรรมการการอดุ มศึกษาทําหนาทเ่ี ปนกรรมการและ
เลขานุการของคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา

มาตรา 17 ใหมีคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย
แผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ ที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสงั คมแหงชาตแิ ละแผนการศกึ ษาแหงชาติ การสงเสรมิ ประสานงานการจดั การอาชีวศึกษาของรัฐ
และเอกชน การสนับสนุน ทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา
อาชีวศึกษา โดยคํานึงถึงคุณภาพและความเปนเลิศทางวิชาชีพ และเสนอแนะในการออกระเบียบ
หลักเกณฑ และประกาศท่เี กยี่ วกับการบริหารงานของสํานักงาน

เพื่อประโยชนในการพิจารณานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอาชีวศึกษา
ระดับปรญิ ญา ใหคณะกรรมการการอาชีวศึกษาพิจารณาใหสอดคลองกับนโยบาย แผนพัฒนา และ
เปนไปตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษาของคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา

นอกจากหนาท่ตี ามวรรคหนงึ่ ใหคณะกรรมการการอาชีวศึกษามหี นาทใี่ หความเห็น
หรือใหคําแนะนําแกรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการหรือคณะรัฐมนตรีและมีอํานาจหนาท่ีอื่น
ตามที่กฎหมายกําหนดหรือตามทรี่ ฐั มนตรวี าการกระทรวงศึกษาธกิ ารมอบหมาย

ใหคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ประกอบดวย กรรมการโดยตาํ แหนงจากหนวยงานท่ี
เก่ยี วของ ผแู ทนองคกรเอกชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิน่ ผแู ทนองคกรวชิ าชพี และกรรมการ
ผทู รงคุณวุฒิซงึ่ มีจาํ นวนไมนอยกวาจาํ นวนกรรมการประเภทอืน่ รวมกนั

จาํ นวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑ และวธิ กี ารสรรหา การเลอื กประธานกรรมการ
และกรรมการ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของคณะกรรมการ ใหเปนไปตามทก่ี าํ หนด
ในกฎกระทรวง

ใหสํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทาํ หนาที่รับผิดชอบงานเลขานุการของ
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา และมีอํานาจหนาที่ตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงวาดวยการแบงสวน
ราชการตามมาตรา 11 โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทําหนาท่ีเปนกรรมการและ
เลขานกุ ารของคณะกรรมการการ อาชวี ศึกษา

มาตรา 18 สภาการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คณะกรรมการการ
อุดมศึกษา และ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา อาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อ
พิจารณาเสนอความเหน็ ในเรือ่ งหนึง่ เรอ่ื งใด หรือมอบหมายใหปฏิบัติการอยางหน่ึงอยางใดอันอยูใน
อาํ นาจหนาท่ีของสภาหรอื คณะกรรมการกไ็ ด

มาตรา 19 สํานักงานรัฐมนตรีมีอํานาจหนาท่ีเก่ียวกับราชการทางการเมือง มี
เลขานกุ ารรฐั มนตรีซึ่งเปนขาราชการการเมืองเปนผูบงั คบั บัญชาขาราชการ และรบั ผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการของสํานักงานรัฐมนตรีซึ่งหัวหนาสวนราชการขึ้นตรงตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
และจะใหมีผชู วยเลขานุการรฐั มนตรซี ง่ึ เปนขาราชการการเมอื งคนหน่งึ หรอื หลายคนเปนผูชวยสง่ั หรอื
ปฏิบัติราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรกี ไ็ ด

281

20

มาตรา 20 ใหกระทรวงศึกษาธกิ ารมีผูตรวจราชการของกระทรวง เพื่อทําหนาที่ใน
การตรวจราชการ ศกึ ษา วิเคราะห วิจัย ติดตาม และประเมนิ ผลระดับนโยบาย เพ่ือนิเทศใหคําปรึกษา
และแนะนาํ เพอ่ื การปรับปรงุ พฒั นา

ในระดบั สาํ นกั งานคณะกรรมการหรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืน ใหทําหนาที่
ตดิ ตามและ ประเมินผลนโยบายตามภารกิจ ตลอดจนนิเทศ ใหคําปรึกษาและแนะนําเพ่ือปรับปรุง
พฒั นา

ในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ใหเปนการศึกษา วิเคราะห วิจัย นิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผลการ บริหารและการดําเนินการโดยมุงเนนผลสัมฤทธ์ิของหนวยงานและสถานศึกษาใน
สังกัดเขตพ้ืนที่การศึกษา เพื่อการเตรียมการรับการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลจากหนวยงาน
ภายนอก

การดําเนินการตามวรรคหนงึ่ และวรรคสาม ใหมคี ณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผล การจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
และนิเทศ การศกึ ษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา เปนผูรับผิดชอบดําเนินการ สําหรับกระทรวงศึกษาธิการ
หรือสาํ หรบั แตละเขตพื้นท่ีการศึกษา ท้ังนี้ จํานวน หลักเกณฑ และวิธีการไดมาของคณะกรรมการ
ดงั กลาวใหเปนไปตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง

การดาํ เนินการในเรือ่ งการตรวจราชการและการดําเนินการของคณะกรรมการตาง
ๆ ทก่ี ําหนดในมาตรานใี้ หเปนไปตามกฎหมาย กฎกระทรวง ระเบียบ หรือขอบังคับของกระทรวงหรอื
สวนราชการ หรือมติ คณะรฐั มนตรี หรอื คาํ สง่ั ของนายกรัฐมนตรี ทัง้ นี้ จะตองไมกระทบกระเทือนตอ
สาระการบรหิ ารและการจัดการของสถานศึกษาของรัฐทจี่ ัดการศึกษาระดบั ปริญญาที่เปนนิตบิ คุ คลใน
สายบังคับบัญชาของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาท่ีสามารถดําเนินกิจการไดโดยอิสระ
พัฒนาระบบบรหิ าร และการจดั การที่เปนของตนเอง มีความคลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยู
ภายใตการกาํ กบั ดแู ลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการจดั ต้ังสถานศึกษานนั้

มาตรา 21 ใหกระทรวงศึกษาธิการกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินความ
พรอมในการจัดการศกึ ษาขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน และมีหนาที่ในการประสานและสงเสริม
องคกรปกครองสวนทองถ่นิ ใหสามารถจัดการศึกษา สอดคลองกับนโยบายและไดมาตรฐานการศึกษา
รวมท้งั การเสนอแนะการจดั สรรงบประมาณอดุ หนุนการจัดการศกึ ษาขององคกรปกครองสวนทองถนิ่

หลกั เกณฑ และวธิ ีการประเมนิ ความพรอมในการจดั การศึกษาขององคกรปกครอง
สวนทองถน่ิ ใหเปนไปตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวง

มาตรา 22 ในกรณีท่ีเขตพ้ืนที่การศึกษาตามมาตรา 33 ไมอาจบริหารและจัดการ
การศึกษาข้ันพื้นฐานบางประเภทได และในกรณีการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับตํ่ากวา
ปริญญาบางประเภท สาํ นักงานปลัดกระทรวงหรือสํานักงานตางๆ ตามท่ีกําหนดในสวนท่ี 3 อาจจัด
ใหมีการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานหรือการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ํากวาปริญญา เพื่อเสริมการบริหาร
และการจดั การของเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาดงั ตอไปน้ีก็ได

(1) การจัดการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานสําหรับบุคคลท่ีมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ
สตปิ ญญา อารมณ สงั คม การสอ่ื สารและการเรยี นรู หรอื มรี างกายพิการ หรอื ทุพพลภาพ

282

21

(2) การจดั การศึกษาขั้นพื้นฐานท่จี ดั ในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษา
ตามอธั ยาศยั

(3) การจัดการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานสาํ หรับบุคคลท่ีมคี วามสามารถพิเศษ
(4) การจัดการศึกษาทางไกล และการจัดการศึกษาท่ีใหบริการในหลายเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา
(5) การจัดการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาระดบั ตาํ่ กวาปริญญาในรปู แบบวิทยาลัยชุมชน
และรปู แบบอ่ืน
สําหรับสถานศกึ ษาของรัฐระดับอุดมศึกษาท่ีจัดการศึกษาระดับตํ่ากวาปริญญา ซึ่งไมมี
ฐานะเปนนิติบุคคลและมิไดมีกฎหมายอื่นกําหนดหลักเกณฑการบริหารงานไวโดยเฉพาะ ใหมี
คณะกรรมการสถานศกึ ษาและผูอาํ นวยการสถานศึกษาเปนผรู บั ผิดชอบ
การจัดตง้ั การบริหารงาน สังกดั และการจัดประเภทของสถานศึกษาของรัฐระดับอุดมศึกษา
ท่ีจัดการศึกษาระดับตํ่ากวาปริญญา ตลอดจนหลักเกณฑอ่ืนในการบริหารงานและการดําเนินการทาง
วชิ าการ ใหเปนไปตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง
มาตรา 23 กระทรวงศึกษาธกิ ารมีปลัดกระทรวงคนหนึง่ มอี าํ นาจหนาท่ี ดงั นี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจําในกระทรวง แปลงนโยบายเปนแนวทางและ
แผนปฏบิ ัติราชการ กํากับการทํางานของสวนราชการในกระทรวงใหเกิดผลสัมฤทธ์ิ และประสานการ
ปฏิบัติงานของสวนราชการในกระทรวงใหมเี อกภาพสอดคลองกัน รวมท้ังเรงรัดติดตามและประเมินผล
การปฏบิ ตั ิราชการของสวนราชการในกระทรวงใหเปนไปตามแผนงานของกระทรวง
(2) เปนผูบังคับบัญชาขาราชการของสวนราชการในสํานักงานปลัดกระทรวงรอง
จากรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสํานักงาน
ปลัดกระทรวง
ในการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงตามวรรคหน่ึง ใหมีรองปลัดกระทรวงเปน
ผูชวยสั่งและปฏิบัติ ราชการ และจะใหมีผูชวยปลัดกระทรวงเปนผูชวยสั่งและปฏบิ ัตริ าชการดวยก็ได ใน
กรณีที่มีรองปลดั กระทรวง หรือผูชวยปลัดกระทรวง หรอื มีท้งั รองปลดั กระทรวงและผชู วยปลดั กระทรวง
ใหรองปลัดกระทรวงหรอื ผูชวยปลดั กระทรวงเปนผบู งั คับบญั ชาขาราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการรองจากปลัดกระทรวง
ใหรองปลดั กระทรวง ผูชวยปลดั กระทรวง และผดู าํ รงตําแหนงท่เี รียกชื่ออยางอื่นใน
สํานักงาน ปลดั กระทรวง มีอํานาจหนาท่ีตามทปี่ ลัดกระทรวงกําหนดหรอื มอบหมาย
มาตรา 24 สาํ นกั งานปลัดกระทรวงมีอํานาจหนาท่ี ดังน้ี
(1) ดําเนินการเกี่ยวกับราชการประจําทวั่ ไปของกระทรวงและราชการท่ีคณะรัฐมนตรี
มไิ ดกําหนดใหเปนหนาที่ของสํานกั งานใดสํานักงานหนึ่งในสงั กัดกระทรวงโดยเฉพาะ
(2) ประสานงานตาง ๆ ในกระทรวง และดาํ เนินงานตาง ๆ ที่มีลักษณะเปนงานที่ตอง
ปฏบิ ตั ติ ามสายงานการบงั คบั บญั ชาอันเปนอํานาจหนาท่ีซึ่งจะตองมีการกําหนดไวในพระราชบัญญัติน้ี
หรอื กาํ หนดในกฎหมายอ่ืน

283

22

(3) จัดทํางบประมาณและแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง เรงรัด ติดตามและ
ประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการในกระทรวงใหเปนไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนปฏิบัติราชการ
ของกระทรวง

(4) ดําเนินการเก่ียวกับกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติที่มิไดอยูในอํานาจของ
สวนราชการอนื่

(5) ดําเนินการอ่นื ตามทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวงวาดวยการแบงสวนราชการ
มาตรา 25 สาํ นกั งานปลัดกระทรวง อาจแบงสวนราชการ ดงั นี้
(1) สํานักอาํ นวยการ
(2) สาํ นกั สํานกั บริหารงาน หรือสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอื่นท่ีมีฐานะเทียบเทา
สาํ นักหรือสํานัก บริหารงาน
ในกรณีท่ีมีความจําเปน สํานกั งานปลัดกระทรวงอาจแบงสวนราชการโดยใหมีสวน
ราชการอ่ืน นอกจาก (1) หรอื (2) กไ็ ด
สวนราชการตามวรรคหนง่ึ และวรรคสอง ใหมีอํานาจหนาท่ีตามท่ีกําหนดไวใหเปน
ของสวนราชการ นัน้ ๆ โดยใหมีผอู าํ นวยการสาํ นกั อาํ นวยการ ผูอํานวยการสาํ นัก ผอู าํ นวยการสํานัก
บริหารงาน หรือหวั หนาสวนราชการท่เี รยี กชื่ออยางอื่นทม่ี ฐี านะเทียบเทาสาํ นักหรอื สํานกั บริหารงาน
หรอื หวั หนาสวนราชการตามวรรคสอง เปนผบู งั คบั บัญชาขาราชการและรับผิดชอบปฏบิ ตั ริ าชการ
มาตรา 26 สํานักอํานวยการมีอํานาจหนาท่ีเกี่ยวกับราชการทั่วไปของสํานักงาน
ปลดั กระทรวง และราชการท่มี ไิ ดแยกใหเปนหนาที่ของสาํ นักงานหรือสวนราชการใดโดยเฉพาะ โดยมี
ผูอํานวยการสาํ นักอาํ นวยการเปนผูบงั คับบัญชาขาราชการและรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิราชการ
สํานักบริหารงานเปนสวนราชการของสํานักงานปลัดกระทรวง ซึ่งทําหนาท่ีเปน
หนวยบรหิ ารงานทัว่ ไปของคณะกรรมการทท่ี ําหนาท่ีกําหนดนโยบายหรือประสานงานหรอื บรหิ ารงาน
บคุ คล ซง่ึ มีกฎหมายหรือกฎกระทรวงกําหนดใหมขี นึ้ ตามความจําเปนและสภาพของภารกิจของสํานัก
บรหิ ารงานนั้น
สํานักบริหารงานมีผูอํานวยการสํานักบริหารงานคนหน่ึงเปนผูบังคับบัญชาและ
รับผิดชอบงานของสํานักบริหารงานใหเปนไปตามนโยบายหรือมติของคณะกรรมการท่ีสํานัก
บริหารงานน้นั เปนหนวยธรุ การ และเปนไปตามนโยบายและการสง่ั การของปลดั กระทรวง
มาตรา 27 ใหมคี ณะกรรมการสงเสรมิ สนบั สนนุ และประสานความรวมมือการศกึ ษา
นอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในสาํ นักงานปลดั กระทรวงทําหนาท่ีเปนองคกรใหคํา ปรึกษา
และมีอํานาจหนาที่ตามที่กําหนดไวในกฎหมาย กฎกระทรวง หรือประกาศกระทรวงวาดวยการ
ดังกลาว ท้ังน้ี จาํ นวน หลกั เกณฑ และวธิ ีการไดมาของคณะกรรมการดังกลาวใหเปนไปตามทก่ี ําหนด
ในกฎกระทรวง
มาตรา 28 ใหสํานักงานที่มีหัวหนาสวนราชการขึ้นตรงตอรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศึกษาธิการตามมาตรา 10 (3) (4) (5) และ (6) มีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการเปน
ผบู งั คับบัญชาขาราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสํานักงาน และอาจแบงสวนราชการ
ดังนี้

284

23

(1) สาํ นกั อํานวยการ
(2) สํานัก สาํ นกั บริหารงาน หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทา
สาํ นักหรือสํานกั บริหารงาน
สํานักงานใดมคี วามจาํ เปน อาจแบงสวนราชการใหมีสวนราชการอ่ืนนอกจาก (1) หรือ
(2) ก็ได
สวนราชการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหมีอํานาจหนาท่ีตามที่กําหนดไวใหเปน
ของสวนราชการน้ัน ๆ โดยใหมีผอู าํ นวยการสาํ นกั อํานวยการ ผอู ํานวยการสํานัก ผูอํานวยการสํานัก
บริหารงานหรือหัวหนาสวนราชการท่ีเรียกช่ืออยางอ่นื ท่มี ีฐานะเทียบเทาสํานักหรือสํานักบริหารงาน
หรือหวั หนาสวนราชการอื่นตามวรรคสอง เปนผบู ังคบั บญั ชาขาราชการและรับผดิ ชอบปฏิบัตริ าชการ
มาตรา 29 ให สวนราชการที่มีหวั หนาสวนราชการขน้ึ ตรงตอรัฐมนตรีวาการกระทรวง
ศึกษาธิการตามมาตรา 10 (3) (4) (5) และ (6) มีเลขาธิการซึ่งมีฐานะเทียบเทาปลัดกระทรวงเปน
ผบู งั คับบญั ชาและรบั ผดิ ชอบ ในการปฏิบตั ิราชการของสวนราชการนั้นใหเปนไปตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
มาตรา 30 เลขาธกิ ารซึง่ เปนผูบงั คับบัญชาของสวนราชการตามมาตรา 28 มีอาํ นาจ
หนาทีด่ ังตอไปน้ี
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาํ ในสํานักงาน แปลงนโยบายเปนแนวทางและ
แผนปฏิบัติการ กํากับการปฏิบัติงานของสวนราชการในสํานักงานใหเกิดผลสัมฤทธ์ิ รวมท้ังเรงรัด
ตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของสวนราชการในสาํ นกั งาน
(2) เปนผูบังคบั บัญชาขาราชการในสํานักงานรองจากรฐั มนตรีวาการกระทรวงศึกษาธกิ าร
และรับผิดชอบในการปฏบิ ัติราชการของขาราชการในสํานักงาน ตลอดจนการจัดทําแผนพัฒนาของ
หนวยงาน
ใหเลขาธิการสภาการศกึ ษารบั ผดิ ชอบบงั คับบญั ชาสาํ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
ตามมาตรา 10 (3)
ใหเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งรับผิดชอบบังคับบัญชา
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามมาตรา 10 (4) เปนผูบังคับบัญชาขาราชการใน
สาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาหรือในสถานศกึ ษาที่อยใู นสงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาดวย
ใหเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาซึ่งรับผิดชอบบังคับบัญชาสํานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศกึ ษาตามมาตรา 10 (5) เปนผูบังคับบัญชาขาราชการในสถานศึกษาของรฐั ใน
สังกัดที่เปนนิตบิ คุ คลทจี่ ัดการศึกษาระดับปริญญาดวย
มาตรา 31 สํานักอํานวยการมีอํานาจหนาที่เก่ียวกับราชการทั่วไปของสํานักงาน
และราชการท่มี ิไดแยกใหเปนหนาที่ของสํานักงานหรือสวนราชการใดโดยเฉพาะ โดยมีผูอํานวยการ
สํานักอํานวยการเปนผูบังคับบญั ชาขาราชการและรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิราชการ
สาํ นักบริหารงานเปนสวนราชการของสํานักงานที่ทําหนาท่ีเปนหนวยบริหารงาน
ทั่วไปของคณะกรรมการท่ีทาํ หนาที่กําหนดนโยบายหรือประสานงานหรือบริหารงานบุคคลซึ่งมี
กฎหมายหรือกฎกระทรวงกาํ หนดใหมขี นึ้ ตามความจําเปนและสภาพของภารกิจของสาํ นักบริหารงาน
นน้ั

285

24

สํานักบริหารงานมีผูอํานวยการสํานักบริหารงานคนหนึ่งเปนผูบังคับบัญชาและ
รบั ผิดชอบงานของสาํ นักบริหารงานใหเปนไปตามนโยบายหรอื มติของคณะกรรมการที่สํานักบริหารงาน
นัน้ เปนหนวยธุรการ และเปนไปตามนโยบายและการส่ังการของเลขาธกิ ารทเ่ี ปนผบู งั คบั บัญชาของสํานัก
บริหารงานนน้ั

มาตรา 32 ใหมีคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาพิเศษ ในสํานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานทาํ หนาท่เี ปนองคกรสงเสริมและใหคําปรึกษาเก่ียวกับการจัดการศึกษาสําหรับ
บคุ คล ซึ่งมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การส่ือสาร และการเรียนรู
หรอื มีรางกายพกิ าร หรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซ่ึงไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูดูแลหรือดอย
โอกาส และมีอาํ นาจหนาทตี่ ามทีก่ ําหนดไวในกฎหมาย กฎกระทรวง หรือประกาศกระทรวงวาดวย
การนัน้

ใหมีคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาสําหรับบุคคลซ่ึงมีความสามารถพิเศษใน
สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ทาํ หนาทเี่ ปนองคกรสงเสริมและใหคําปรึกษาเกี่ยวกับ
การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ และมีอํานาจหนาท่ีตามท่ีกําหนดไวใน
กฎหมาย กฎกระทรวง หรอื ประกาศกระทรวงวาดวยการนั้น

จาํ นวน หลกั เกณฑ และวิธีการไดมาของคณะกรรมการตามวรรคหนงึ่ และวรรคสอง
ใหเปนไปตามทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง

มาตรา 33 การบรหิ ารและการจดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐานใหยดึ เขตพนื้ ท่ีการศึกษาโดย
คํานงึ ถงึ ระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวนสถานศึกษา จํานวนประชากร วัฒนธรรมและความ
เหมาะสมดานอืน่ ดวย เวนแตการจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานตามกฎหมายวาดวยการอาชีวศกึ ษา

ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการโดยคําแนะนําของสภาการศึกษามีอํานาจ
ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษากําหนดเขตพ้ืนที่การศึกษาเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษา ขั้น
พนื้ ฐานแบงเปนเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาและเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา

ในกรณีท่ีสถานศึกษาใดจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระดับประถมศึกษาและระดับ
มัธยม ศึกษาการกําหนดใหสถานศึกษาแหงนั้นอยใู นเขตพน้ื ที่การศกึ ษาใด ใหยึดระดับการศึกษาของ
สถานศึกษานั้นเปนสําคัญ ทั้งน้ี ตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนดโดยคําแนะนําของคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

ใน กรณีทม่ี ีความจาํ เปนเพอ่ื ประโยชนในการจัดการศึกษาหรือมเี หตุผลความจําเปน
อยางอืน่ ตามสภาพการจัดการศึกษาบางประเภท คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานอาจประกาศ
กําหนดใหขยายการบริการการศึกษาขั้น พน้ื ฐานของเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาหน่ึงไปในเขตพื้นท่ีการศึกษา
อ่นื ได

มาตรา 34 ใหจัดระเบียบบรหิ ารราชการของเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา ดงั นี้
(1) สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
(2) สถานศกึ ษาทจี่ ดั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานหรอื สวนราชการท่เี รียกช่อื อยางอื่น

286

25

การแบงสวนราชการภายในตาม (1) ใหจัดทําเปนประกาศกระทรวงและใหระบุ
อํานาจหนาที่ของแตละสวนราชการไวในประกาศกระทรวง ท้ังนี้ โดยคําแนะนําของคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

การแบงสวนราชการภายในตาม (2) และอํานาจหนาท่ีของสถานศึกษาหรือสวน
ราชการทเ่ี รียกช่อื อยางอื่นใหเปนไป ตามระเบยี บท่ีคณะกรรมการเขตพ้ืนท่ีการศึกษาแตละเขตพื้นที่
การศึกษากาํ หนด

การแบงสวนราชการตามวรรคสองและวรรคสามใหเปนไปตามหลักเกณฑท่ีกําหนด
ในกฎกระทรวง

มาตรา 35 สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามมาตรา 34 (2) เฉพาะท่ีเปน
โรงเรยี น มีฐานะเปนนติ ิบุคคล

เม่ือมกี ารยบุ เลกิ สถานศึกษาตามวรรคหน่ึง ใหความเปนนติ ิบุคคลสนิ้ สดุ ลง

มาตรา 36 ในแตละเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา ใหมีคณะกรรมการและสํานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษา มอี ํานาจหนาที่ในการกํากับดูแล จดั ตัง้ ยุบ รวม หรือเลกิ สถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานในเขตพื้นที่
การศึกษา ประสาน สงเสริม และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพ้ืนที่การศึกษา ประสานและ
สงเสริมองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหสามารถจัดการศึกษาสอดคลองกับนโยบายและมาตรฐาน
การศึกษา สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน องคกรเอกชน
องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่
หลากหลายในเขตพ้นื ที่การศกึ ษา และปฏิบตั หิ นาท่ีอื่นท่ีเกี่ยวของกบั อาํ นาจหนาท่ีทร่ี ะบุไวขางตน ทั้งน้ี
ตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง

คณะกรรมการเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประกอบดวย ผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกร
เอกชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูแทนสมาคมผูประกอบวิชาชีพครู ผูแทนสมาคมผู
ประกอบวชิ าชีพบริหารการศึกษา ผูแทนสมาคมผูปกครองและครู และผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา
ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม

จาํ นวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ วธิ ีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการ
และกรรมการ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงใหเปนไปตามท่ีกําหนดใน
กฎกระทรวง

ใหผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเปนกรรมการและเลขานุการของ
คณะกรรมการเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา

ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่งในสวนท่ีเกี่ยวกับสถานศึกษาเอกชนและองคกร
ปกครองสวนทองถน่ิ วาจะอยใู นอาํ นาจหนาที่ของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาใด ใหเปนไปตามที่รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศกึ ษาธิการประกาศกําหนดโดยคําแนะนําของ คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

287

26

มาตรา 37 ใหมีสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพ่ือทําหนาที่ในการดําเนินการให
เปนไปตามอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตามที่กําหนดไวในมาตรา 36 และใหมีอํานาจหนาที่
เกยี่ วกับการศึกษา ตามท่กี ําหนดไวในกฎหมายนห้ี รือกฎหมายอ่นื และมอี าํ นาจหนาที่ ดงั นี้

(1) อาํ นาจหนาทใี่ นการบริหารและการจดั การศึกษา และพัฒนาสาระของหลักสูตร
การศึกษาใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานของสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

(2) อํานาจหนาที่ในการพัฒนางานดานวิชาการและจัดใหมีระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษารวมกับสถานศกึ ษา

(3) รบั ผิดชอบในการพจิ ารณาแบงสวนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษา
และสาํ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา

(4) ปฏบิ ัติหนาทอ่ี ่นื ตามทกี่ ฎหมายกําหนด

สํานกั งานตามวรรคหนึ่ง มผี ูอํานวยการเปนผูบังคบั บญั ชาขาราชการและรับผิดชอบ
ในการปฏิบตั ริ าชการของสํานกั งานใหเปนไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของ
กระทรวง ในกรณีท่ีมีกฎหมายอื่นกําหนดอํานาจหนาที่ของผูอํานวยการไวเปนการเฉพาะการใช
อํานาจและการปฏิบัติหนาท่ีตามกฎหมายดังกลาวใหคํานึงถึงนโยบายท่ีคณะรัฐมนตรีกําหนดหรือ
อนุมัติแนวทางและแผนการปฏิบตั ิราชการของกระทรวงดวย

ในสาํ นกั งานตามวรรคหนง่ึ จะใหมรี องผอู าํ นวยการเปนผูบงั คับบัญชาขาราชการรอง
จากผูอํานวยการเพอ่ื ชวยปฏบิ ตั ริ าชการกไ็ ด

รองผอู ํานวยการหรือผดู าํ รงตําแหนงทเี่ รยี กช่ืออยางอื่นในสาํ นักงาน มีอาํ นาจหนาที่
ตามทผ่ี ูอํานวยการกาํ หนดหรอื มอบหมาย

มาตรา 38 ใหมคี ณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระดับต่ํากวาปริญญา และสถานศึกษาอาชีวศึกษาของแตละสถานศึกษา เพ่ือทําหนาที่กํากับและ
สงเสรมิ สนับสนุนกิจการของสถานศกึ ษา ประกอบดวยผูแทนผปู กครอง ผแู ทนครู ผแู ทนองคกรชมุ ชน
ผแู ทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนศษิ ยเกาของสถานศกึ ษา ผแู ทนพระภิกษสุ งฆและหรอื ผแู ทน
องคกรศาสนาอ่นื ในพืน้ ที่ และผทู รงคุณวฒุ ิ

จํานวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ วธิ กี ารสรรหา การเลอื กประธานกรรมการและ
กรรมการ วาระการดาํ รงตาํ แหนง และการพนจากตาํ แหนง ใหเปนไปตามท่กี ําหนดในกฎกระทรวง

องคประกอบ อํานาจหนาท่ี หลักเกณฑ วิธีการสรรหา และจํานวนกรรมการใน
คณะกรรมการสถานศึกษาสําหรับสถานศึกษาบางประเภทที่มีสภาพและ ลักษณะการปฏิบัติงาน
แตกตางไปจากสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐานโดยท่ัวไป อาจกําหนดใหแตกตางไปตามสภาพและลักษณะการ

288

27

ปฏิบัติงานตลอดท้ังความจําเปนเฉพาะของสถานศึกษาประเภทนั้นได ทั้งน้ี ตามที่กําหนดใน
กฎกระทรวง

ใหผูบริหารสถานศึกษาเปนกรรมการและเลขานกุ ารของคณะกรรมการสถานศกึ ษา

ความในมาตรานไี้ มใชบงั คบั แกสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั และศนู ยการเรยี น

มาตรา 39 สถานศึกษาและสวนราชการตามมาตรา 34 (2) มีอํานาจหนาที่ตามที่
กําหนดไวใหเปนหนาท่ีของสวนราชการนั้น ๆ โดยใหมีผูอํานวยการสถานศึกษา หรือหัวหนาสวน
ราชการทเี่ รียกชอ่ื อยางอื่นเปนผูบังคบั บญั ชาขาราชการและมอี าํ นาจหนาที่ ดังนี้

(1) บริหารกิจการของสถานศึกษาหรือสวนราชการใหเปนไปตามกฎหมาย กฎ
ระเบียบ ขอบังคับของทางราชการและของสถานศึกษาหรือสวนราชการ รวมท้ังนโยบายและ
วัตถุประสงคของสถานศึกษาหรอื สวนราชการ

(2) ประสานการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทงั้ ควบคุมดูแลบุคลากร การเงิน
การพสั ดุ สถานที่ และทรัพยสนิ อนื่ ของสถานศกึ ษาหรือสวนราชการใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ
และขอบงั คับของทางราชการ

(3) เปนผูแทนของสถานศกึ ษาหรือสวนราชการในกิจการทว่ั ไป รวมทัง้ การจดั ทํานิติ
กรรมสญั ญาในราชการของสถานศึกษาหรือสวนราชการตามวงเงินงบประมาณท่สี ถานศกึ ษาหรอื สวน
ราชการไดรบั ตามทีไ่ ดรับมอบอํานาจ

(4) จัดทํารายงานประจําปเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษาหรือสวนราชการเพ่ือ
เสนอตอคณะกรรมการเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา

(5) อาํ นาจหนาทใี่ นการอนมุ ตั ิประกาศนยี บตั รและวฒุ บิ ตั รของสถานศกึ ษาใหเปนไป
ตามระเบยี บท่คี ณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานกําหนด

(6) ปฏิบัติงานอื่นตามท่ีไดรับมอบหมายจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เลขาธิการ
คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และผูอํานวยการสํานักงาน
เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา รวมทงั้ งานอนื่ ท่กี ระทรวงมอบหมาย

สถานศึกษาและสวนราชการตามมาตรา 34 (2) จะใหมีรองผูอํานวยการหรือรอง
หวั หนาสวนราชการรองจากผูอํานวยการหรอื หวั หนาสวนราชการเพ่อื ชวยปฏิบตั ิราชการกไ็ ด

สถานศึกษาและสวนราชการตามมาตรา 34 (2) ใดที่ยังไมสามารถปฏิบัติงานบาง
ประการตามทก่ี าํ หนดในกฎหมายหรอื ทไ่ี ดรับมอบ หมายได อาจขอใหสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาท่ี
สถานศึกษาหรอื สวนราชการน้ันสังกัด เปนผูรับผิดชอบปฏิบตั งิ านเฉพาะอยางใหแทนเปนการช่ัวคราว
ได ทงั้ น้ี ตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และลักษณะของงานที่จะใหปฏบิ ตั ิแทนไดทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง

289

28

มาตรา 40 ระเบียบปฏบิ ตั ิราชการหรือระเบียบปฏิบัติงานของสถานศึกษาของรัฐที่
จดั การศึกษาระดบั อุดมศึกษาระดับปริญญาท่ีเปนนิติบุคคลท้ังที่เปนสถานศึกษาในสังกัดและท่ีเปน
สถานศึกษาในกาํ กบั ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการดังกลาว

การแบงสวนราชการภายในสถานศกึ ษาของรัฐที่จัดการศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษาระดับ
ปรญิ ญาทเี่ ปนสวนราชการและเปนนติ บิ ุคคลในสายการบังคบั บญั ชาของสํานักงานคณะ กรรมการการ
อดุ มศึกษาใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการจัดตัง้ สถานศึกษานัน้

มาตรา 41 เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามมาตรา 40 ใหรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศึกษาธิการมอี ํานาจหนาท่ี ดงั ตอไปน้ี

(1) เสนอแนะการจัดสรรเงินงบประมาณใหแกสถานศึกษาของรัฐท่ีจัดการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาในสังกัด สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาในกํากับ และ
สถานศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษาระดบั ต่ํากวาปริญญาตอคณะรฐั มนตรี

(2) ประสานงานจดั การศึกษาระหวางสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระดับปริญญาที่เปนนิติบุคคลในสังกัด สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาท่ีเปนนิติบุคคลใน
กํากับ สถานศกึ ษาเอกชนทีจ่ ดั การศกึ ษาระดบั ปริญญา และสถานศกึ ษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ํากวา
ปริญญา

(3) เสนอการจัดต้ัง ยุบ รวม ปรับปรุงและเลิกสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษา
ระดับอดุ มศึกษาระดับปริญญาที่เปนนติ ิบุคคลในสงั กดั และสถานศึกษาระดับอดุ มศึกษาระดับปรญิ ญา
ทีเ่ ปน นิติบุคคลในกํากบั

(4) วางระเบียบการปฏบิ ัตริ าชการเพื่อสงเสริมและสนับสนุนกิจการตาง ๆ รวมกัน
ของสถานศึกษาของรฐั ท่จี ดั การศกึ ษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาที่เปนนิติบุคคลในสังกัดอันมิใช
กิจการของสถาบันแหงหนง่ึ แหงใดโดยเฉพาะ

มาตรา 42 ใหมีคณะกรรมการขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยเรียกโดยยอวา
ก.ม. ทําหนาท่ีเปนองคกรบริหารงานบุคคลสําหรับขาราชการพลเรือนในสถานศึกษาของรัฐที่จัด
การศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาในสังกัด ตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในกฎหมายวาดวยการ
ดังกลาว

มาตรา 43 กระทรวงศึกษาธิการอาจขอใหกระทรวง ทบวง กรมอ่ืน และองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นที่มีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาในสังกัดเสนอโครงการและ
แผนงานเก่ยี วกับการศกึ ษาของสถานศกึ ษานน้ั ตลอดจนรายละเอียดทางวิชาการ การเงิน สถิติ และ
เรื่องท่ีจําเปนแกการปฏิบตั งิ านในอํานาจหนาทีไ่ ด

มาตรา 44 ใหปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และเลขาธิการคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษากระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษาท้ังดานวิชาการ งบประมาณ การ

290

29

บริหารงานบุคคล และการบริหารท่ัวไป ไปยังคณะกรรมการเขตพื้นท่ีการศึกษา และสํานักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง ในกรณีท่ีมีกฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาท่ีของ
ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เลขาธิการ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา และเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไวเปนการเฉพาะ ใหผู
ดํารงตําแหนงดังกลาวมอบอํานาจใหแกผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือผูอํานวยการ
สถานศกึ ษา แลวแตกรณี ท้ังน้ี ใหคํานึงถึงความเปนอิสระและการบริหารงานท่ีคลองตัวในการจัด
การศึกษาของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษา ภายใตหลักการบริหารงานการศึกษา
ดงั ตอไปน้ี

(1) อํานาจหนาท่ีในการพิจารณาใหความเห็นชอบเก่ียวกับงบประมาณและการ
ดําเนินการ ทางงบประมาณของผูอํานวยการสถานศึกษาหรือผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นท่ีการ
ศกึ ษา รวมตลอดถงึ หลกั การการใหสถานศกึ ษาหรือสาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามอี าํ นาจทาํ นติ ิกรรม
สญั ญาในวงเงนิ งบประมาณทไ่ี ดรับอนุมตั ิแลว

(2) หลักเกณฑการพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนา และดําเนินการทางวินัย
กับครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยสัมพันธกับแนวทางที่ กําหนดในกฎหมายวาดวยระเบียบ
ขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

การกระจายอํานาจและการมอบอํานาจตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามท่ีกําหนดใน
กฎกระทรวง

ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา และเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา อาจ
กําหนดใหหัวหนาสวนราชการในสงั กดั มอบอํานาจในสวนทเ่ี กี่ยวของกับภารกิจท่ีตนรับผิดชอบไปยัง
ผอู ํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาและผูอาํ นวยการสถานศึกษาในเขตพื้นทก่ี ารศึกษาโดยตรงก็
ได ท้ังน้ี ใหเปนไปตามหลักเกณฑท่ีผูดํารงตําแหนงในการบังคับบัญชาสวนราชการดังกลาวเปนผู
กําหนด

ผูอํานวยการสํานักบริหารงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวง และผูอํานวยการ
สาํ นกั บรหิ ารงานในสงั กัดสํานักงานคณะกรรมการตาง ๆ อาจมอบอํานาจในสวนท่ีเก่ียวกับภารกิจท่ี
ตนรบั ผดิ ชอบ หรือทไี่ ดรบั มอบหมายตามระเบียบขอบังคบั ตาง ๆ จากสํานักงานคณะกรรมการตาง ๆ
ไปยงั ผูอํานวยการสาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา หรอื ผูอํานวยการสถานศึกษา หรือหัวหนาหนวยงานท่ี
เรียกชื่ออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเทาผูอํานวยการสถานศึกษาโดยตรงได ท้ังน้ี โดยจะตองไมขัดตอ
นโยบายหรือการส่งั การของกระทรวง หรือคณะกรรมการตนสังกดั

มาตรา 45 อํานาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการหรือการ
ดําเนินการอ่ืนที่ผูดํารงตําแหนงใดในพระราชบัญญัตินี้จะพึงปฏิบัติหรือดําเนินการตามกฎหมาย
ระเบยี บ ขอบังคบั หรือคาํ ส่ังใด หรือมตขิ องคณะรัฐมนตรีในเร่ืองใด ถากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ
หรือคาํ ส่ังนัน้ หรอื มติของคณะรัฐมนตรีในเร่ืองน้ัน มิไดกําหนดเร่ืองการมอบอํานาจไวเปนอยางอ่ืน

291


Click to View FlipBook Version